The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

SAR 2564 โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by worawut.won, 2022-07-06 09:45:55

SAR 2564 โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก

SAR 2564 โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก



คำนำ

รายงานการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษาปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นบา้ นแมอ่ ้อ
นอกฉบับนี้ จัดทำข้ึนตามกฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 3 ระบุให้
สถานศึกษาจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแล
สถานศึกษาเป็นประจำทุกปีเพ่ือรายงานผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษาท่ีสะท้อนผลการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็นผลสำเร็จจากการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาในระดบั ปฐมวยั 3 มาตรฐาน ได้แก่ คุณภาพของเดก็ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
การจัดประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 3 มาตรฐานได้แก่
คุณภาพของผูเ้ รยี นกระบวนการบรหิ ารและการจดั การกระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี น
เป็นสำคญั เพือ่ นำเสนรายงานผลการจัดการศึกษาในรอบปีท่ีผ่านมาต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงาน
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ตลอดจนเผยแพร่ต่อสาธารณชนไดร้ ับทราบ และเตรียมความพรอ้ มในการรับการประเมิน
ภายนอก โดยสำนักงานรับรองมาตรฐานการศกึ ษาและประเมินคุณภาพการศึกษา(องคก์ ารมหาชน)
ตอ่ ไป

ขอขอบคุณคณะครู ผู้ปกครอง นักเรียน คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน
และผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่ายทีม่ ีส่วนรว่ มในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาปี
การศึกษา 2564 ฉบับนี้ คณะผจู้ ัดทำหวงั เป็นอยา่ งยิ่งว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี จะเปน็ ประโยชนต์ ่อ
การนำไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนบ้านแมอ่ ้อนอก ในปกี ารศึกษา 2565ตอ่ ไป

โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก
ผูจ้ ดั ทำ

สารบญั ข

เรือ่ ง หนา้
คำนำ ก
สารบัญ ข
บทสรุปสำหรับผูบ้ รหิ าร 1
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา 3
3
ขอ้ มูลทว่ั ไป 3
ข้อมูลครแู ละบุคลากร 4
ข้อมูลนกั เรยี น 5
ข้อมูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั สถานศกึ ษาปกี ารศึกษา 2564 8
ผลการทดสอบระดบั ชาตขิ องผู้เรยี น 9
ส่วนที่ 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย 9
ระดับปฐมวัย 9
ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั 9
12
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ 13
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 16
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ี่เน้นเดก็ เปน็ สำคญั 16
ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน 16
ผลการประเมนิ มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 18
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น 19
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 21
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ 21
ส่วนที่ 3 สรุปผลและแนวทางการพฒั นา 23
ระดับปฐมวยั 27
ระดับการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก
สำเนาประกาศมาตรฐานสถานศกึ ษาและคา่ เป้าหมาย ปกี ารศึกษา 2564
สำเนาคำสั่งตา่ ง ๆ
ภาพถา่ ย

บทสรุปสำหรบั ผบู้ ริหาร
โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก ต้ังอยู่เลขที่ 281 หมู่ 13 ตำบลแม่อ้อ อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย
สังกัดสำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เปิดสอนตั้งแต่ระดับช้ันอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 มี
บุคลากรสายบริหาร 1 คน ได้รบั การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม เมอื่ วันท่ี 7,8,11 กุมภาพันธ์
พ.ศ. 2556 มีการจัดการศึกษา 2 ระดับ คือ ระดับระดับการศึกษาปฐมวัย มีครูจำนวน 3 คน
นักเรียนจำนวน 27 คน ระดบั การศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน มคี รจู ำนวน 10 คน พนกั งานอ่นื ๆ จำนวน 3 คน
นักเรยี นจำนวน 98 คน รวมท้งั สถานศึกษา มีบคุ ลากรครูจำนวน 13 คน นักเรยี นจำนวน 125 คน

จดุ เดน่

ผู้เรียน
1. ผู้เรียนอ่านหนังสือออก และอา่ นคล่อง รวมทั้งสามารถเขยี นเพ่ือการสอ่ื สารได้ สามารถใช้
เทคโนโลยีในการแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียน อยู่ใน
ระดับดี มีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) สูงกว่าระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา
ส่วนการทดสอบในระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 (National Test : NT) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
นกั เรียน อยใู่ นระดับทนี่ ่าพงึ พอใจ
2. ผู้เรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีสมรรถภาพทางกายและน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มี
ระเบียบวินัยจนเป็น เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา เปน็ ท่ียอมรับของชุมชนโดยรอบในเรื่องความมีวินัย
เคารพกฎกติกา ระเบยี บของสงั คม
ครู
1. ครูมีความตั้งใจ มุ่งมั่นพัฒนาการเรียน การสอน โดยจัดกิจกรรมให้นักเรียนไดเ้ รียนรู้ โดย
การคดิ การปฏิบัตจิ รงิ ด้วยวธิ ีการและแหล่งเรยี นร้ทู หี่ ลากหลาย
2. ครสู ง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นแสวงหาความรู้ จากส่อื เทคโนโลยีด้วยตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง
3. ครู และนกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการเรยี นรู้
4. ครมู ีการพัฒนานวัตกรรมมาใชใ้ นการแก้ปัญหา การจดั การเรียนการสอน
การบรหิ ารและการจดั การ
1. ผู้บริหารมีความต้ังใจ มีความมุ่งม่ัน มีหลักการบริหาร และมีวิสัยทัศน์ที่ดีในการ
บริหารงาน และคณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง มีความต้ังใจ และมีความพร้อม ใน
การปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามบทบาท
2. โรงเรียนมีการบริหารและการจัดการ อย่างเป็นระบบ โรงเรียนได้ใช้เทคนิคการประชุมท่ี
หลากหลายวิธี เช่น การประชุมแบบมีส่วนร่วม การประชุมกลุ่ม เพื่อให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการ
กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายท่ีชัดเจน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
แผนปฏิบตั ิการประจำปีท่ีสอดคล้องกับผลการจัด การศึกษา สภาพปญั หา ความต้องการพัฒนา และ

นโยบายปฏิรูปการศึกษาท่ีมุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียน มีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตรของสถานศึกษา
ครูผู้สอนพัฒนาตนเองและสามารถจัดการเรียนรู้ได้ อย่างมีคุณภาพ มีการดำเนินการนิเทศ กำกับ
ติดตาม ประเมินผล การดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการจัดการศึกษา และโรงเรียนได้ใช้
กระบวนการวิจัยในการรวบรวมข้อมูลมาใช้เป็นฐาน ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา
โรงเรยี น มกี ารจัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทดี่ ี กระตนุ้ ใหผ้ ู้เรยี นใฝ่รู้
จดุ ควรพัฒนา
ผูเ้ รยี น

1. ผู้เรยี นควรได้รับการส่งเสริมนสิ ยั รักการอ่าน/ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น อย่างต่อเนอ่ื ง
2. ควรเพม่ิ เตมิ การทักษะในการแสวงหาความร้/ู การสงั เกต/ สำรวจ /เชื่อมโยง ใหก้ ับผเู้ รียน
3. ส่งเสรมิ และพัฒนาด้านการคิดและกระบวนการเรยี นรู้ โดยฝกึ ปฏบิ ัตจิ รงิ พร้อมท้ังประสาน

ความรว่ มมอื จากหน่วยงาน อนื่ ๆ เนน้ การพัฒนาผู้เรียนอยา่ งย่งั ยนื
4. นกั เรยี นควรได้รับการพฒั นาการคิดวิเคราะหส์ ังเคราะห์ การสร้างความคิดรวบยอด

ความคิดสร้างสรรค์
5. มพี ฒั นาแหลง่ เรียนรู้ต่าง ๆ เช่น หอ้ งสมุด บรเิ วณ โรงเรยี น และนอกโรงเรยี น ให้เปน็ แหลง่

การเรียนรทู้ ม่ี ีคุณภาพเพ่อื ให้นกั เรยี นสามารถใช้เป็นแหลง่ เรียนรู้ได้เป็นอยา่ งดี
ครู

1. ครูสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนมสี ่วนร่วมในการวเิ คราะห์ ดว้ ยตนเองกำหนดเนอ้ื หาสาระกิจกรรมท่ี
สอดคลอ้ งกับ ความสนใจและความถนดั เปน็ รายบุคคลอย่างเป็น รปู ธรรมทง้ั ระบบ

2. ครูส่งเสริมผเู้ รยี นไดเ้ รยี นร้ดู ว้ ยกระบวนการวจิ ยั อยา่ งเป็นรปู ธรรมและต่อเน่อื ง
3. ครูนำภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ให้เข้ามามีสว่ นร่วมในการ จัดกจิ กรรมใหน้ ักเรียนได้เรียนร้แู ละ

ร่วมกิจกรรมการ เรียนการสอนอยา่ งเปน็ รูปธรรมและต่อเนือ่ ง
การบรหิ ารและการจัดการ

๑.นโยบายด้านการศกึ ษาจากหน่วยงานต้นสงั กัดไมค่ วรเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา เพ่ือใหก้ าร
พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นเป็นไปอย่างต่อเน่อื งมคี ุณภาพตามท่ตี อ้ งการและไม่
เป็นภาระเพิ่มเตมิ ให้กบั ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
๒.ควรสง่ เสริมการพัฒนาครูใหส้ ามารถนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจดั กระบวนการเรียนการสอน
ได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
นวตั กรรมหรอื ตัวอยา่ งการปฏิบตั ทิ ีด่ ี (Best Practice) ของสถานศกึ ษา (ถา้ มี)
การเรียนรู้โครงงานคุณธรรมจิตอาสา โรงเรียนได้จัดการเรียนรู้ท่ีบูรณาการเข้ากับกิจกรรม
พฒั นาผู้เรียนดา้ นกจิ กรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ ส่งเสริมให้นักเรยี นสามารถพัฒนาตนเอง
ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง
เน้นให้ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม จริยธรรม จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนคิดสร้างสรรค์และบำเพ็ญตน

ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และทอ้ งถ่ินตามความสนใจ เพ่ือแสดงความรับผิดชอบ ความดีงาม
ความเสียสละตอ่ สังคม น้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารจัดการเรยี นรู้ คอื การนำหลักคิด
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นวิธีคิดก่อนตัดสินใจกระทำการใด ๆ ในทุกเรื่อง
พอเพยี งอย่างท่เี ราเป็น ผา่ นโครงการคุณธรรม จรยิ ธรรม

ส่วนท่ี 1
ข้อมลู พืน้ ฐาน

1.1 ข้อมลู ท่วั ไป โรงเรียนบา้ นแม่อ้อนอก
เลขที่ 281 หมู่ ๑๓ ตำบลแม่อ้อ อำเภอพาน จงั หวดั เชียงราย
ชื่อโรงเรยี น สำนักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาเชยี งราย เขต 2
ที่อยู่ 0882635487 E-mail : [email protected]
สังกัด
โทรศพั ท์ อนุบาล 1 ถงึ ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
โทรสาร
เปดิ สอนระดับชนั้

1.2 ข้อมลู บุคลากรของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564
1) จำนวนบุคลากร

บุคลากร ผู้บริหาร ครผู ู้สอน พนกั งาน ครู เจ้าหน้าท่ี รวม
ราชการ อัตรา อ่นื ๆ ท้งั หมด
จา้ ง
2
ปกี ารศกึ ษา 2564 1 8 2 3 16

2) วฒุ 0ิก.า0ร90ศ.%5ึก2ษ%าสงู ส1ุด%ของบ0ุค.0ล0า%กร 0.00% ปริญญาเอก
54% ปรญิ ญาโท
ปริญญาตรี
36% ประกาศนยี บัตรบณั ฑิต
ปวส.
ปวช.
ตา่ ก่วา ปวช.

1.3 ข้อมลู นกั เรียน 125 คน
จำนวนนกั เรยี นปีการศกึ ษา 2564 รวมทัง้ ส้นิ

ระดับชั้นเรยี น จำนวนหอ้ งเรียน จำนวนนักเรยี น เฉลีย่ ตอ่
ชาย หญงิ รวม ห้อง
อ.1 1 8 5 13 13
อ.2 1 628 8
อ.3 1 606 6
รวม 3 20 7 27 27
ป.1 1 8 3 11 11
ป.2 1 13 8 21 21
ป.3 1 7 7 14 14
ป.4 1 12 8 20 20
ป.5 1 13 8 21 21
ป.6 1 5 6 11 11
รวม 6 58 40 98 98
รวมท้ังหมด 9 79 47 125 125

เปรยี บเทยี บขอ้ มูลจำนวนนกั เรยี นปีกำรศกึ ษำ 2562-2564

140 102 98 125 125
85 108
120
ประถมฯ รวมทงั้ หมด
100

80

60

40 23 23 27
20

0
ปฐมวยั

2562 2563 2564

1.4 ข้อมูลผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนระดับสถานศึกษาปกี ารศึกษา 2564

ระดบั ปฐมวัย

รอ้ ยละของนกั เรยี นที่มีผลการประเมินพฒั นาการแตล่ ะดา้ นในระดับ 3 ขึ้นไป

ระดับชน้ั ผลการประเมินพัฒนาการนกั เรยี นดา้ น ครบทั้ง 4 ดา้ น

ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สังคม สติปัญญา

อ.1 7 7 77 7

อ.2 5 5 53 5

อ.3 9 9 99 9

รวม 21 21 21 19 20

คดิ เป็นรอ้ ยละ 91.30 91.30 91.30 82.60 86.95

ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
1) รอ้ ยละของนกั เรยี นทีม่ เี กรดเฉล่ียผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นแต่ละรายวิชาในระดบั 3 ข้นึ ไป

ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ปกี ารศึกษา 2564

รายวชิ า(พ้นื ฐาน)

ระดบั ชน้ั ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ัสงคม ึศกษาฯ
ประวั ิตศาสตร์
ุสข ึศกษาฯ
ิศลปะ
การงานอา ีชพ
ภาษา ัองกฤษ
อังกฤษ(เพิ่มเ ิตม)
ภาษา ีจน (เพิ่มเ ิตม)

ป.1 76.92 76.92 69.23 100.00 100.00 76.92 100.00 100.00 84.62 84.62 100.00
ป.2 65.00 60.00 60.00 65.00 100.00 65.00 85.00 100.00 60.00 65.00 100.00
ป.3 78.57 78.57 71.43 78.57 85.71 71.43 100.00 100.00 71.43 71.43 100.00
ป.4 70.00 60.00 55.00 80.00 95.00 95.00 100.00 100.00 55.00 75.00 70.00
ป.5 71.43 19.05 52.38 80.95 85.71 95.24 100.00 100.00 61.90 61.90 57.14
ป.6 54.55 45.45 63.64 63.64 81.82 90.91 90.91 100.00 54.55 54.55 63.64
รวม 416.47 340.00 371.68 468.16 548.25 494.50 575.91 600.00 387.49 412.49 490.78
คดิ เปน็
ร้อยละ 69.41 56.67 61.95 78.03 91.37 82.42 95.98 100.00 64.58 68.75 81.80

2) รอ้ ยละของนกั เรียนทมี่ ีผลการประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น ในระดบั ดีข้นึ ไป

ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2564

ระดับช้นั จำนวน ผลการประเมิน ระดับดี ร้อยละ
นกั เรยี น ขึน้ ไป
ป.1 ไมผ่ า่ น ผ่าน ดี ดีเยีย่ ม 100.00
ป.2 13 00 2 11 13 80.00
ป.3 21 04 11 5 16 78.57
ป.4 14 03 92 11 100.00
ป.5 20 00 12 8 20 71.43
ป.6 21 06 78 15 81.82
รวม 11 02 63 9 85.30
100 0 15 47 37 84

3) ร้อยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดขี ้ึนไป
ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1 ถึงระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2564

ระดับช้นั จำนวน ผลการประเมนิ ระดับดี ร้อยละ
นักเรียน ข้นึ ไป
ป.1 ไม่ผา่ น ผา่ น ดี ดีเย่ยี ม 100.00
ป.2 13 00 0 13 13 80.95
ป.3 21 04 11 6 17 100.00
ป.4 14 00 77 14 94.44
ป.5 20 01 3 14 17 95.24
ป.6 21 01 1 19 20 81.82
รวม 11 02 36 9 92.08
100 08 25 65 90

4) รอ้ ยละของนักเรียนทีม่ ีผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้
พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2564 ของผเู้ รยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ในระดบั ผ่านขึ้นไป

ระดับช้นั จำนวน ผลการประเมนิ ระดับดี รอ้ ยละ
นกั เรียน ข้นึ ไป
ป.1 ไม่ผ่าน ผ่าน ดี ดเี ยี่ยม 100.00
ป.2 13 00 2 11 13 100.00
ป.3 21 02 3 15 18 100.00
ป.4 14 03 74 11 100.00
ป.5 20 00 13 7 20 100.00
ป.6 21 00 14 7 21 100.00
รวม 11 01 37 10 100.00
100 06 42 51 93

1.5 ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดับชาติ (NT) ระดับช้ัน

ประถมศกึ ษาปที ี่ 3

1) ผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ปีการศึกษา 2564

ความสามารถ คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ
ระดับโรงเรียน ระดับสพฐ. ระดบั ประเทศ

ด้านภาษาไทย 49 55.48 56.14

ด้านคณิตศาสตร์ 45.5 48.73 49.44

รวมความสามารถท้ัง 2 ด้าน 47.25 52.11 52.80

2) การเปรียบเทียบผลการประเมนิ ทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (NT)

ปกี ารศกึ ษา 2563- 2564

ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ร้อยละของผลตา่ ง
2563 2564 ระหว่างปีการศึกษา

ดา้ นภาษาไทย 46.02 49 +2.98

ดา้ นคณติ ศาสตร์ 47.90 45.5 -2.4

รวมความสามารถทัง้ 2 ดา้ น 46.96 47.25 +0.29

1.6 ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขน้ั พน้ื ฐาน (O-NET)

ระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6

1) ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ัน้ พื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564

รายวชิ า ระดบั โรงเรียน คะแนนเฉล่ยี ระดบั ประเทศ
ระดบั สพฐ.

ภาษาไทย 56.15 49.54 50.38

คณิตศาสตร์ 29.88 35.85 36.83

วทิ ยาศาสตร์ 38.00 33.68 34.31

ภาษาอังกฤษ 38.75 35.46 39.22

2) การเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET)

ปกี ารศึกษา 2563 - 2564

รายวิชา คะแนนเฉลยี่ ระดับประเทศ
ปีการศึกษา 2563 ปกี ารศึกษา 2564

ภาษาไทย 58.78 56.15 50.38

คณิตศาสตร์ 31.94 29.88 36.83

วทิ ยาศาสตร์ 37.20 38.00 34.31

ภาษาอังกฤษ 45.00 38.75 39.22

1.7 ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นออกของผ้เู รียน (Reading Test : RT)

ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบ้านแมอ่ ้อนอก ปีการศึกษา 2564

ระดับ/รายวชิ า อา่ นออกเสยี ง อา่ นรูเ้ ร่ือง

คะแนนเฉลย่ี ของโรงเรียน 74.00 59.27

คะแนนเฉล่ียระดบั จงั หวดั 68.09 67.52

คะแนนเฉลี่ยสงั กดั สพป.ชร.2 70.94 67.70

คะแนนเฉลี่ยระดบั ประเทศ 69.95 72.79

เปรยี บเทียบผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านออกของผเู้ รียน (Reading Test : RT)

ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นบา้ นแม่ออ้ นอก ปกี ารศึกษา 2563-2564

รายวิชา ปี 2563 ปี 2564 ผลต่าง
อา่ นออกเสยี ง 74.11 74.00 -0.11
อา่ นรเู้ รือ่ ง 57.88 59.27 +1.39

ส่วนท่ี 2 ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

ระดบั ปฐมวัย

รอ้ ยละของนักเรยี นทม่ี ีผลการประเมินพฒั นาการแต่ละด้านในระดบั 3 ขนึ้ ไป

ระดับช้ัน ผลการประเมินพฒั นาการนักเรยี นด้าน
ครบทง้ั 4 ด้าน

รา่ งกาย อารมณ์ จิตใจ สงั คม สติปญั ญา

อ.1 13 13 13 11 12
อ.2 6 7 75 6
อ.3 6 6 66 6
รวม 25 26 26 22 24
คดิ เป็นร้อยละ 92.59 96.29 96.29 81.48 88.88

ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ปกี ารศกึ ษา 2564 ระดับคุณภาพ

มาตรฐานการศกึ ษา : ดเี ลศิ ดเี ลศิ
มาตรฐานการศึกษา ดี
ดีเลศิ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเดก็
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ทีเ่ น้นเดก็ เป็นสำคญั

มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ปฐมวยั
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก อยใู่ นระดบั ดีเลิศ

ผลการพฒั นาการเดก็ ในด้านร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ัญญา
ดังน้ี

๑.๑ มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ัยทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเอง
ได้

เด็กระดับอนุบาล 1 -3 มีผลพัฒนาการคิดเป็นร้อยละ 92.59 ของโรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก
มพี ัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยท่ีดี เด็กมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน เคล่อื นไหว
รา่ งกายคล่องแคลว่ ทรงตัวไดด้ ี ใชม้ ือและตาประสานสัมพันธ์ได้ดี และดูแลรกั ษาสุขภาพอนามัยส่วน
ตนและปฏิบัติตนเป็นนิสยั ปฏิบตั ิตนตามข้อตกลงเกยี่ วกบั ความปลอดภัยของตนเอง หลีกเล่ียงสภาวะ

ท่ีเส่ียงต่อโรค สิ่งเสพติด และระวังภัยจากบุคคล ส่ิงแวดล้อมและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตรายได้ โดย
ทางโรงเรียนไดจ้ ดั ให้มโี ครงการอาหารกลางวนั ให้เด็กทุกคนไดร้ ับประทานอาหารกลางวนั ที่มคี ุณภาพ
ถกู สุขลักษณะ และได้รบั อาหารเสรมิ นมฟรที ุกวัน มกี ารจัดประสบการณ์ให้กับได้อย่างหลากหลายฝึก
ให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติได้ด้วยตนเอง เช่น กิจกรรมประจำวัน ๖ กิจกรรมหลัก ได้แก่กิจกรรมศิลปะ
สร้างสรรค์และการเล่นตามมุม ใหเ้ ด็กได้ ระบายสี การเป่าสี การฉีกตัดปะ การปัน้ ดินนำ้ มัน กิจกรรม
เคลื่อนไหวและจังหวะ เด็กได้เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ ของร่างกายอย่างอิสระตามจังหวะ โดยใช้
เสียงเพลง เคร่ืองเคาะจังหวะต่างๆ ท่องคำคล้องจอง การเล่นน้ิวมือ ปรบมือ กิจกรรมการเล่น
กลางแจ้ง โดยใหเ้ ด็กไดเ้ ล่นเครอื่ งเล่นสนาม เกมการละเล่นต่างๆ

เคล่ือนไหวร่างกายอย่างอิสระ คล่องแคล่ว มีความสุขในการออกกำลังกาย และเรียนรู้การ
ระมัดระวงั รกั ษาความปลอดภัยของตนเองและของผู้อ่ืน กิจกรรมเกมการศึกษาช่วยพัฒนาสตปิ ัญญา
เด็กรู้จักสังเกต คิดหาเหตุผลและเกิดความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสี รูปร่าง จำนวน ประเภท
ความสัมพันธ์เก่ียวกับพ้ืนที่ ระยะ และรู้จักการปฏิบัติตนตามกฎเกณฑ์ข้อตกลงของการเล่นได้ และ
กิจกรรมเสริมประสบการณเ์ ดก็ รู้จักชว่ ยเหลือตนเองไดเ้ หมาะสมกับวัยมคี วามรู้ และความคดิ รวบยอด
ในการเรียนรู้เก่ียวกับตัวเอง บุคลคลและสถานท่ีแวดล้อมเด็ก ธรรมชาติรอบตัว และสิ่งต่างๆรอบตัว
เด็ก ท้ังนี้ได้จัดโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์น้อยแห่งประเทศไทย
โครงการระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพอนามัย โครงการกีฬาสสี ัมพันธช์ ุมชน
โครงการสาธารณูปโภค

๑.๒ มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้
เด็กระดับอนุบาล 1 - ๓ ร้อยละ 96.29 ของโรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก เด็กมีพัฒนาการด้าน
อารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้เหมาะสมกับวัย เด็กร่าเริงแจ่มใสแสดงออกทาง
อารมณ์ความรู้สึกได้อย่างเหมาะสม รู้จักยับยั้ง ช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรับและพอใจใน
ความสามารถและผลงานของตนเองและผู้อื่น มีจิตสำนึกและค่านิยมท่ีดี มีความม่ันใจ กล้าพูดกล้า
แสดงออก ช่วยเหลือแบ่งปัน เคารพสิทธ์ิ ร้หู น้าทรี่ ับผิดชอบ อดทนอดกล้นั ซือ่ สัตย์สุจริต มีคุณธรรม
จริยธรรม ตามที่สถานศึกษากำหนด ชื่นชมและมีความสุขกับศิลปะ ดนตรีและการเคล่ือนไหว โดย
ทางโรงเรียนได้จัดกิจกรรม ประจำวัน ๖ กิจกรรมหลัก ให้เหมาะสมกับวัย และได้จัดให้เด็กเข้าร่วม
การแสดงตา่ งๆ ในวนั สำคัญ และกจิ กรรมตา่ งๆ ของโรงเรียนทกุ กจิ กรรม เพื่อสง่ เสริมให้เด็กมีส่วนร่วม
ในการแข่งขันนำเสนอผลงานตนเอง ฝึกให้เด็กมีความมั่นใจในตนเอง กล้าพดู กล้าแสดงออก ยอมรับ
และพอใจในผลงานของผูอ้ ่ืน เช่น โครงการวันสำคัญ โครงการส่งเสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ โดย
สนบั สนุนให้เด็กเข้ารว่ มการแข่งขันทักษะวิชาการ โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและความเป็น
ไทย โครงการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี ฝึกให้เด็กปฏิบัติตนเป็นคนดี มีความซื่อสัตย์ สุจริต
อดทน

๑.๓ มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสงั คม
เด็กระดับอนุบาล 1 - ๓ ร้อยละ 96.29 ของโรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก เด็กมีพัฒนาการด้าน
สังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตร
ประจำวันมีวินัยในตนเอง ประหยัดและพอเพียง มีส่วนร่วมดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในและนอก
ห้องเรียน มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่นการไหว้ การยิ้ม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่
เป็นต้น ยอมรับหรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เช่น ความคิด พฤตกิ รรม พื้นฐานครอบครัว
เช้อื ชาติ ศาสนา วัฒนธรรมเปน็ ต้น เลน่ และทำงานร่วมกับผอู้ ่ืนได้ แก้ไขข้อขัดแย้ง โดยปราศจากการ
ใช้ความรุนแรง โดยโรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมประจำวัน ๖ กิจกรรมหลักท่ีสอดคล้องกับ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖0 ที่เน้นให้เด็กได้ปฏิบัติจริง ช่วยเหลือตนเองในการ
ปฏิบัติกจิ วตั รประจำวันได้ และมีการดำเนินโครงการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนเพื่อปลกู ฝังให้
เด็กทุกคนร่วมกันดำเนินกิจกรรมในการปฏิบัติตนในการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข
ภายใต้กฎระเบียบที่ตกลงร่วมกัน เด็กมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบช่วยกันดูแลส่ิงแวดล้อมท้ังภายใน
และภายนอก และช่วยกันดูแลเก็บกวาดขยะรอบๆ บริเวณอาคารเรียนอนุบาล ซึ่งเด็กทุกคนมีส่วน
ร่วมในกระบวนการปฏิบัติ ทั้งการแก้ปัญหาในการทำงานรว่ มกนั การรู้จักการกล่าวขอโทษ ขอบคุณ
การให้อภัยด้วยตนเอง โดยไม่ใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหา เด็กทุกคนร่วมกันปฏิบัติตามข้อตกลง
ของห้องท่ีเด็กร่วมกันสร้างขึ้น และการปฏิบัติตนตามกฎระเบียบของโรงเรียน เช่น การแต่งกาย
ประจำวัน เป็นการฝึกให้เด็กรู้จักการปฏิบัติตนตามวฒั นธรรมประเพณีของสังคมที่ตนอาศัยอยู่ และ
การปฏบิ ัตติ นตามข้อตกลงของหอ้ งเรียนและของโรงเรียนได้
๑.๔ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มที ักษะการคิดพืน้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้
เดก็ ระดับอนุบาล 1 - ๓ รอ้ ยละ 81.48 ของโรงเรยี นบ้านแม่ออ้ นอก เด็กสนทนาโตต้ อบและ
เลา่ เรื่องให้ผ้อู ่ืนเข้าใจ ต้ังคำถามในส่ิงท่ีตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคำตอบ อ่านนิทาน
และเลา่ เร่ืองท่ีตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวัย มีความสามารถในการคดิ รวบยอด การคิดเชิงเหตผุ ลทาง
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กรคิดแก้ปัญหาและสามารถตัดสนิ ใจในเรื่องง่ายๆได้ สร้างสรรค์ผลงาน
ตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคล่ือนไหวท่าทาง การเล่นอิสระ และการใช้ส่ือ
เทคโนโลยี เช่นแว่นขยาย แม่เหล็ก เป็นต้น เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ได้ โดย
โรงเรียนได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้กับเด็กอย่างหลากหลาย เช่น การจัดกิจกรรมประจำวัน ๖
กิจกรรมหลักที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ โครงการส่งเสริม
ประสทิ ธิภาพการจดั ประสบการณว์ ิทยาศาสตร์น้อยแหง่ ประเทศไทย เปน็ กิจกรรมท่ีฝึกใหเ้ ด็กมที ักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เด็กรู้จักการสังเกต การคิด การสืบเสาะหาคำตอบ
ดว้ ยตนเอง การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และเดก็ เกิดความคิดรวบยอดในการเรียนรู้สิง่ ตา่ งๆ เรียนรู้
อย่างมีความสขุ

จดุ เดน่
เด็กมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัยของ

โรงเรียน มีความซ่ือสัตย์ สุจริต รับผิดชอบต่องานท่ีได้รับมอบหมาย มีกิริยามารยาทที่เหมาะสม มี
สัมมาคารวะพูดจาไพเราะอ่อนหวาน มาโรงเรียนทันเวลา สนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีได้
มอบหมาย มีมารยาทในการรับประทานอาหาร เข้าแถวรออาหารอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย รู้จัก
ประหยดั อดออม เหน็ คุณค่าของทรพั ย์สิน ใช้ทรัพยากรของตนเอง ของสว่ นรวมอย่างคมุ้ ค่าโดยได้รับ
การปลกู ฝงั จากครแู ละสอดแทรกในกิจกรรมการเรยี นการสอน จัดกิจกรรมโครงการตา่ ง ๆ ป้ายนิเทศ
นทิ รรศการผลงานของนกั เรียน กระต้นุ ให้ผู้เรยี นเกิดจติ สำนกึ ทด่ี ี เขา้ ใจโทษของสิ่งเสพติดสิ่งมอมเมา
ผู้เรียนมีการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา มีการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนกิจกรรมเสริมหลกั สูตร แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินในการเรียนการสอน
เกิดการพัฒนาตนเองอย่างสร้างสรรค์ และต่อเนื่อง เน้นการทำงานเป็นทีม ทำงานร่วมกัน ผู้เรียนมี
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ชอบช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพอิสระ มีความสามารถใน
การคดิ วิเคราะห์ คดิ สังเคราะห์ มคี วามคดิ สร้างสรรค์ คิดไตรต่ รอง มีสุขนิสยั สุขภาพกาย สขุ ภาพจิต
ทดี่ ี ร่าเรงิ แจม่ ใส รู้จักทักทายคนอนื่ กล้าแสดงออก ชา่ งซักถาม มีสุนทรียภาพและลักษณะนสิ ัย ดา้ น
ศลิ ปะ ดา้ นดนตรี และกีฬา เขา้ ร่วมกจิ กรรมตา่ ง ๆอยา่ งเหมาะสม และพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง

ขอ้ จำกัดของการดำเนินงาน
จุดทค่ี วรพัฒนา

โรงเรยี นบ้านแมอ่ ้อนอก มีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเพื่อส่งเสริมการเรยี นรู้ กิจกรรม
เสริมหลักสูตร เพ่ือฝกึ ฝนให้ ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการคิด ซ่ึงผเู้ รียนส่วนใหญ่ขาดทักษะใน
การคิดวิเคราะห์คดิ สงั เคราะห์ การสรปุ ความคดิ รวบยอด การตรวจสอบความถกู ตอ้ ง นำสาระมาสรุป
เช่อื มโยงไตร่ตรองอย่างมเี หตุผลและมวี ิจารณญาณ การนำความรูเ้ ดมิ มาสรา้ งเปน็ องคค์ วามรู้ใหม่ การ
ประเมนิ ความคิดเห็นการคาดการณ์ในการเรียน การคิดริเริ่มพัฒนาสิ่งใหม่ ๆ การคาดการณ์กำหนด
เป้าหมายการเรียนการทำงานในอนาคตผู้เรียนยังทำได้ไม่เด่นชัดการจัดกระบวนการเรียนการสอน
และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลาง และหลักสูตรสถานศึกษา จัด
วิธีการสอนที่หลากหลาย มีเคร่ืองเล่นสนามสำหรับเด็กปฐมวัยท่ีค่อนข้างเก่า ทำให้เด็กปฐมวัยขาด
โอกาสในการเล่นเครื่องเล่นสนามต่างๆ ที่สามารถเสริมสร้างและพัฒนาความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ใหญ่ผ่านการเคล่ือนไหวร่างกายในการเล่นเครือ่ งเลน่ สนามต่างๆ อย่างเหมาะสมกับวัย

มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
อยู่ในระดับ ดี

ผลกระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดงั นี้
๒.๑ มหี ลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ัง ๔ ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของท้องถิ่น
สถานศึกษา มีหลักสูตรสถานศึกษาท่ียืดหยุ่น และสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษา
ปฐมวัย โดยสถานศึกษาออกแบบการจัดประสบการณ์ท่ีเตรียมความพรอ้ มและไม่เรง่ รัดวชิ าการ เน้น
การเรียนรู้ผ่านการเลน่ และการลงมือปฏิบัติ ตอบสนองความต้องการและความแตกต่างของเด็กปกติ
และกลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะ และสอดคลอ้ งกบั วิถีชีวิตของครอบครวั ชุมชนและท้องถิ่น
๒.๒ จดั ครใู หเ้ พยี งพอกับช้นั เรียน
สถานศึกษาจดั ครูใหเ้ หมาะสมกบั ภารกจิ การเรยี นการสอนหรือจัดครทู ี่จบการศึกษา
ปฐมวัยหรือผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัยอย่างพอเพียงกบั ช้นั เรยี น
๒.๓ ส่งเสริมให้ครมู คี วามเชีย่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์
สถานศึกษา พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถในการวิเคราะห์และ
ออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก ใช้
ประสบการณ์สำคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม มีการสังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็น
รายบคุ คล มปี ฏิสมั พันธท์ ด่ี ีกบั เด็กและครอบครัว
๒.๔ จดั สภาพแวดลอ้ มและส่ือเพ่ือการเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัยและเพียงพอ
สถานศึกษา จดั สภาพ แวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่คำนึงถึงความปลอดภัย
ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ มีมุมประสบการณ์
หลากหลาย มสี ือ่ การเรยี นรเู้ ช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สอื่ จากธรรมชาติ สอื่ สำหรบั ใหเ้ ด็กฝกึ การทรง
ตัว สอ่ื เทคโนโลยี เพอื่ สบื เสาะหาความรู้
๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นรู้เพอ่ื สนบั สนนุ การจดั
ประสบการณ์สำหรบั ครู
สถานศึกษา อำนวยความสะดวก และให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศวัสดุ และ
อุปกรณ์ เพื่อสนับสนนุ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาครู

๒.๖ มีระบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม
สถานศึกษา กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษากำหนด จดั ทำแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดรบั กับมาตรฐานท่ี
สถานศึกษากำหนดและดำเนินการตามแผน มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ติดตามผลการดำเนินงาน และจัดทำรายงานผลการประเมินตนเองประจำปี นำผลการ
ประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพถานศกึ ษา โดยผูป้ กครองและผ้เู กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมีส่วนร่วมและ
จดั ส่งรายงานผลการประเมนิ ตนเองให้หนว่ ยงานตน้ สังกดั

จุดเด่น
ในด้านผลการประเมินสถานศึกษามีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศกึ ษาและนำสู่การ

ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพมีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัด
การศึกษาปฐมวัยจัดกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งความตระหนกั รู้และความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกบั ผูป้ กครอง ชมุ ชนและท้องถิ่น และจัดสง่ิ อำนวยความ
สะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน สภาพแวดล้อมดีขึ้น มีความปลอดภัยและเอื้อต่อการพัฒนา
นักเรยี นมากข้ึน
ข้อจำกดั ของการดำเนนิ งาน
จดุ ทีค่ วรพัฒนา

สถาน ศึกษ าควร ให้ความสำคัญ ใน การสร้างการมีส่ว น ร่ว มและ แสวง หาความร่ว มมือกับ
ผู้ปกครองชุมชนและท้องถ่ิน ในการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาเด็กนักเรียนให้มี
ความพรอ้ มไดต้ ามวัย พัฒนาด้านอาคารสถานท่ีควบคู่กบั การพัฒนาบคุ ลากรใหม้ ีความสามารถในการ
จดั กิจกรรม

มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เปน็ สำคญั
อย่ใู นระดบั ดีเลิศ

ผลการจดั ประสบการณ์ทเี่ น้นเดก็ เป็นสำคัญดงั นี้
๓.๑ จดั ประสบการณ์ที่ส่งเสรมิ ให้เดก็ มีพฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ
ครูจัดประสบการณ์ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ รู้จักเด็กเป็น
รายบุคคลและสร้างโอกาสให้เด็กทุกคนได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและลงมือกระทำผ่านประสาท
สัมผัส จัดบรรยากาศท่ีเอ้ือต่อการเรียนรู้ ใช้ส่ือและเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย มีการติดตามและ
ประเมนิ ผลพัฒนาการเดก็ อยา่ งมีระบบ
๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏบิ ตั ิอยา่ งมคี วามสขุ
ครูจัดประสบการณ์ที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมให้เด็กมโี อกาสเลือกทำกิจกรรมอย่าง
อิสระ ตามความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ตอบสนองต่อวิธีการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย เด็กได้
เลือกเล่น เรยี นรู้ ลงมอื กระทำ และสร้างองค์ความรดู้ ว้ ยตนเอง
๓.๓ จดั บรรยากาศท่เี ออ้ื ตอ่ การเรียนรู้ ใช้ส่อื และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวยั
ครูจัดห้องเรียนให้สะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มีพ้ืนที่แสดงผลงานของเด็ก พ้ืนท่ี
สำหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรมเด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน เช่น
ป้ายนิเทศ การดูแลต้นไม้ เป็นต้น ครูใช้ส่ือและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับช่วงอายุ ระยะความสนใจ
และวิถีการเรียนรู้ของเด็ก เช่น คอมพิวเตอร์ สำหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย ส่ือของเล่นที่กระตุ้นให้คิด
และหาคำตอบ เป็นตน้

๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไป
ปรบั ปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก

ครูประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและวัตรประจำวันด้วยเคร่ืองมือและวิธีท่ี
หลากหลาย ไมใ่ ช้แบบทดสอบ วิเคราะห์ผลการประเมินพัฒนาการเดก็ โดยผู้ปกครองและผู้เกย่ี วข้องมี
ส่ว น ร่ วม แ ล ะ น ำ ผ ล ก ารป ระ เมิ น ที่ ไ ด้ ไป พั ฒ น า คุ ณ ภ าพ เด็ ก แ ล ะ แ ล ก เป ลี่ ย น ก าร เรีย น รู้ก าร จั ด
ประสบการณ์ทีม่ ีประสิทธิภาพ
จุดเด่น

ในด้านผลการประเมินการกำหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยสถานศึกษาจัดทำและ
ดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาจัดระบบข้อมูลสารสนเทศและในสารสนเทศในการบริหารจัดการติดตาม
ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษานำ
ผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในภายนอกไปใช้วางแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาตอ่ เนื่องและจัดทำ
รายงานประจำปีท่ีเป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในและมีระบบประกันคุณภาพที่เป็นระบบ
และดำเนินการต่อเนอ่ื ง
ข้อจำกดั ของการดำเนนิ งาน จดุ ท่คี วรพัฒนา

สถานศึกษาควรมีการเชอื่ มโยงและแลกเปลีย่ นข้อมูลกับแหลง่ เรยี นร้แู ละภูมิปัญญาในท้องถ่ิน

เพยี งบางกลมุ่ การจัดทำหลักสตู รระดบั สถานศึกษาควรให้แหล่งเรียนรู้ ภมู ิปญั ญา และชุมชนเข้ามามี

สว่ นรว่ มมากขึ้น

ระดบั ปฐมวัย
สรปุ ผล

จดุ เดน่ จุดควรพัฒนา

 คุณภาพของเดก็  คุณภาพของเดก็

ผู้เรียน มีคุณ ธรรม จริยธรรม และ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อ

ค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบ ส่งเสริมการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมหลักสูตร เพ่ือ

วินัยของโรงเรียน มีความซ่ือสัตย์ สุจริต ฝกึ ฝนให้ ผเู้ รียนมีทกั ษะความสามารถในการคิด

รับ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ง าน ท่ี ได้ รับ ม อ บ ห ม าย มี ซึ่งผเู้ รียนส่วนใหญ่ขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์

กิริยามารยาทที่เหมาะสม มีสัมมาคารวะพูดจา คิดสังเคราะห์ การสรุปความคิดรวบยอด การ

ไพเราะอ่อนหวาน มาโรงเรียนทันเวลา สนใจใน ตรวจสอบความถูกต้อง น ำสาระมาสรุป

กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีได้มอบหมาย มี เช่ือ ม โยงไตร่ตรอ งอ ย่างมีเห ตุผลและ มี

จดุ เดน่ จดุ ควรพฒั นา

มารยาทในการรับประทานอาหาร เข้าแถวรอ วจิ ารณญาณ การนำความรเู้ ดิมมาสร้างเป็นองค์

อาหารอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย รู้จักประหยัด ความรู้ใหม่ การประเมินความคิดเห็นการ

อดออม เห็นคุณค่าของทรัพย์สิน ใช้ทรัพยากร คาดการณ์ในการเรียน การคิดริเริ่มพัฒนาส่ิง

ของตนเอง ของส่วนรวมอย่างคุ้มค่า ทำงาน ใหม่ ๆ การคาดการณ์กำหนดเป้าหมายการ

ร่วมกัน ผู้เรียนมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ชอบ เรียนการทำงานในอนาคตผู้เรียนยังทำได้ไม่

ช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ เด่นชัดการจัดกระบวนการเรียนการสอนและ

อิสระ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ

สงั เคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ คดิ ไตร่ตรอง มี หลักสูตร แกนกลาง และหลักสูตรสถานศึกษา

สขุ นิสัย สขุ ภาพกาย สุขภาพจิตท่ีดี ร่าเริงแจ่มใส จดั วธิ กี ารสอนท่ีหลากหลาย

รจู้ ักทักทายคนอื่น กล้าแสดงออก ชา่ งซกั ถาม มี  กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
สุนทรียภาพและลักษณะนิสัย ด้านศิลปะ ด้าน

ดนตรี และกีฬา เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆอย่าง สถ าน ศึ ก ษ ามี ก าร เชื่ อ ม โย งแ ล ะ

เหมาะสม และพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนือ่ ง แลกเปล่ียนข้อมูลกับแหล่งเรยี นรูแ้ ละภูมปิ ัญญา

 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ในท้องถิ่นเพียงบางกลุ่ม การจัดทำหลักสูตร
ระดบั สถานศึกษาควรใหแ้ หล่งเรียนรู้ ภมู ิปัญญา

ครูผู้สอนในสถานศึกษาทุกคนมีความรู้ และชมุ ชนเขา้ มามสี ่วนร่วมมากข้ึน

ความเข้าใจในเป้าหมายของการศึกษา และ  การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เด็กเป็นสำคญั
เป้าหมายของหลักสูตรมีความตระหนัก ความ

เขา้ ใจ และความพยายามในการจดั การเรียนการ การจัดทำแผน การเรียน รู้และจัด

สอนท่ีเน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ จบการศึกษาระดับ กจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายโดยเน้นผู้เรียน

ปริญญาตรี มีความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีความ เป็นสำคัญและเน้นให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้

รบั ผดิ ชอบของตนเองในการจัดการศกึ ษาไดส้ อน จากแหล่งเรียนรู้ จากส่ือต่างๆ รวมทง้ั การนำผล

ตามความถนัดและความสามารถ ได้รับการ การประเมินมาใช้ปรับการเรียนการสอนให้

อบรมเสริมความรู้ด้านต่าง ๆ ในวิชาท่ีสอนอยู่ เหมาะสมกับผู้เรียน มีการนิเทศ ติดตาม

เสมอและได้รบั การพัฒนา มผี ลงานเป็นที่ยอมรับ ประเมินผล และหาแนวทางพัฒนาการจัดการ

และช่ืนชมของบุคลากรที่เก่ียวข้อง เพ่ือน เรียนการสอนอย่างตอ่ เนอ่ื ง

จุดเด่น จดุ ควรพฒั นา

ร่วมงาน และชุมชน

 การจัดประสบการณท์ ีเ่ นน้ เดก็ เปน็ สำคัญ

สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและมีการ
เชื่อมโยงแลกเปล่ียนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้ เข้า
ม า มี ส่ ว น ร่ ว ม ใน ก า ร จั ด ท ำ ห ลั ก สู ต ร ใน ร ะ ดั บ
สถานศึกษา

ระดับการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐาน

ผลการประเมินมาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานการศึกษา : ดี ดี
มาตรฐานการศึกษา ดี
ดีเลิศ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคัญ

มาตรฐานการศกึ ษา ระดับขั้นพ้นื ฐาน
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผู้เรียน : ระดบั ดี

ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอกมีกระบวนการพัฒนาผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย ครูจัดการ

เรียนรู้ให้ เป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียนและเป็นไปตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรมีการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน พัฒนาให้ผู้เรียนทุกคนอ่านคล่องและเขียนคล่อง
ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยี ในการสืบค้นข้อมูลและพัฒนาตนเอง พัฒนาครูทุกคนให้มีความสามารถใน
การนำเทคนิควิธสี อนให้ตรงตามศักยภาพของผู้เรียน ใช้ส่อื เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนใน
ช้ันเรียน มีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ มีการวัดและประเมินผลแบบบูรณาการ นอกจากน้ี
โรงเรยี นได้มีการดำเนินการเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและภูมิปัญญาท้องถ่ินเพื่อให้ผู้เรียนอยู่ในสังคมได้

อยา่ งมีความสุข เนน้ การพฒั นาด้านคุณธรรมจริยธรรมตามโครงการโรงเรยี นวิถพี ุทธทีเ่ หมาะสมกบั วัย
ของผู้เรียน และตามจุดเน้นของ สพป.ชร. เขต 2 เร่ืองการขับเคล่ือนCR2ACTS , CR2Q Ed Model
และคุณธรรมพ้ืนฐาน จัดกิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อเพอื่ การมีงานทำ ส่งเสริมให้นักเรยี นมีสุขภาพ
กายและสขุ ภาพจิตที่ดี สร้างพฤติกรรมสขุ ภาพที่เหมาะสม ส่งเสริมให้นกั เรยี นมีทักษะให้การแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง โดยจัด กิจกรรมห้องสมุด 3D
กิจกรรมมุมรักการอ่านในห้องเรียน กิจกรรมอ่านคล่องเขียนคล่อง ให้ครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ทุกรายวชิ า จดั กิจกรรม ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากแหล่งเรยี นรตู้ ่าง
ๆทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน โรงเรียนได้จัดแสดงผลงานนักเรียนและ ผลผลิตของนักเรียน
ปลายปกี ารศึกษา เนน้ การมสี ว่ นรว่ มจากองคก์ รเอกชน ชมุ ชน ผู้ปกครอง ร่วมจดั การศึกษา

ผลการดำเนนิ งาน
ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สารในระดับท่ดี รี อ้ ยละ 70 ตามมาตรฐาน

การอ่านแตล่ ะระดับช้ัน และมีผลการทดสอบระดับชาติ (NT) ในปีที่ผ่านมา อยู่ในระดับท่นี ่าพึงพอใจ
(O NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ในปีที่ผ่านมามีค่าคะแนนเฉล่ียสูงกว่าประเทศ ได้แก่ วิชา
วิทยาศาสตร์ รู้จักการวางแผน ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าค่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา
กำหนด มีความสามารถและแสวงหาความรู้จากส่ือเทคโนโลยีด้วยตนเอง รู้เท่าทันสื่อและสังคมท่ี
เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว สามารถวิเคราะห์แยกแยะส่ิงตา่ ง ๆ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น ร่วม
แลกเปล่ียนแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ โดยวิเคราะห์จากผลการประเมินสมรรถนะสำคัญ
ของผู้เรียน ผ้เู รยี นมีสุขภาพกายสขุ ภาพจิตทด่ี ี เลือกรับประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์ รักการออกกำลัง
กาย ตระหนักถงึ โทษและพิษภัยของส่งิ เสพติด มีความภาคภมู ิใจในท้องถิ่น โดยเข้าร่วมประเพณีของ
ท้องถ่ินอยู่เสมอ เพ่ือเป็นการสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมอันดี เรียนรู้ เข้าใจและยอมรับความ
แตกตา่ งระหว่างบุคคล ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ และเจตคตทิ ี่ดตี ่ออาชีพสจุ รติ ได้อยา่ งเหมาะสมตามวัย
โดยผู้เรียนท่ีจบการศึกษาเข้ารับการศึกษาต่อในสายวิชาชีพและสายสามัญร้อยละ 90.91 นอกจากน้ี
ผูเ้ รียนมีความรกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ มีวนิ ัยและพอเพียง เป็นตน้ แบบด้านการทำความดมี ีจติ อาสาต่อ
สงั คมชมุ ชนจนเปน็ ท่ยี อมรับ

ข้อจำกัดของการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก ยังขาดงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องเล่นสำหรับเด็กปฐมวัย

เพิ่มเติม ทำให้เด็กขาดโอกาสในการเล่นเครื่องเล่นสนามที่สามารถเสริมสร้าง และพัฒนาความ
แข็งแรงของกลา้ มเน้ือใหญ่ผ่านการเคลื่อนไหวร่างกายอย่างเหมาะสมกับวยั และขาดงบประมาณใน
การปรบั ปรุงซอ่ มแซมอาคารสถานที่รวมจนถึงงบประมาณท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

จดุ ทตี่ ้องการพัฒนา
ตอ้ งการไดร้ บั การสนบั สนุนด้านงบประมาณในการบริหารจัดการ เพ่ือพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน

ให้มีคุณภาพ

แผนพัฒนาเพอื่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานที่สงู ขึน้
๑. ส่งเสริมกิจกรรมการทำโครงงานทุกชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดและแก้ปัญหา
อย่างมเี หตุผล และก่อให้เกดิ ความมีระเบียบวนิ ยั ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ ความพอเพยี งให้สูงข้ึน
๒. ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้คำศัพท์และประโยคภาษาอังกฤษและภาษาจีนเพื่อการ
สื่อสารทกุ ช้ันเรยี น
๓. ส่งเสริมการทำวิจยั ในช้ันเรียนและพฒั นาสื่อนวตั กรรมของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๔. ใชก้ ิจกรรมฝกึ สติ สมาธกิ อ่ นการเรียนการสอน
๕. น้อมนำปรชั ญา เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในการพฒั นาผเู้ รยี นอย่างรอบด้าน
๖. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนค่ายวิชาการและส่งเสริมความเป็นเลิศทาง
วชิ าการ
๗. กิจกรรมสง่ เสริมและสร้างนิสยั รักการอ่าน
๘. โครงการจ้างครูผู้สอนภาษาจีนและทำบันทึกข้อตกลงประสานความร่วมมือกับ
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายเพ่ือสนับสนุนนักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิชาชพี

มาตรฐานท่ี ๒ มาตรฐานกระบวนการบริหารและการจดั การ : ระดับดี

ผลการดำเนินงาน
การบรหิ ารและการจัดการสถานศกึ ษาทางโรงเรียนบา้ นแมอ่ อ้ นอกไดน้ อ้ มนำหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลท่ี ๙ มาประยุกต์ใช้โดย ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู
คณะกรรมการสถานศึกษาได้ร่วมกันวิเคราะห์ วางแผน กำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ
สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา ความต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๒ แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ แผน
ยุทธศาสตร์จังหวัดเชียงรายภายใต้วิสัยทัศน์ที่ว่า“เมืองแห่งการค้า การลงทุน การเกษตร และการ
ท่องเท่ียว” ด้านปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสอดคล้องกับปรัชญาท่ีว่า “ผู้มีความรูใ้ นทางที่ดีเป็นผู้
เจริญ”มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ครอบคลุมท้ัง ๔ ฝ่ายงาน ได้แก่ ๑. งานด้านวิชาการ ๒.
งานบริหารงานบคุ คล ๓.งานดา้ นงบประมาณ ๔.งานบรหิ ารงานทั่วไป โดยใชก้ ระบวนการบริหารวงจร
เดมม่ิง PDCA ทุกข้ันตอนมีการจัดโครงการประเมินประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาเป็นตัว
ขับเคล่ือนการบริหารจัดการ มีการแต่งต้ังคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา จัดทำ
มาตรฐานสถานศึกษา ตั้งค่าเป้าหมายในการพัฒนา โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ
มีการควบคุม กำกบั ตดิ ตามและประเมินผล โดยคณะกรรมการศูนยเ์ ครอื ข่ายพฒั นาคุณภาพการศึกษา
พานบูรพา มีการจัดทำโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตาม
นโยบายและความต้องการของภาคีเครือขา่ ย มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รสถานศึกษา
ทุกกลุ่มสาระ มีการประเมินผลการใช้หลักสูตรระดับปฐมวัยปีการศึกษา ๒๕๖๐ และหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานปี 2551 เพื่อนำผลมาปรับปรุงใช้ในปีการศึกษา ๒๕๖4 ให้ครูมีการ
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลทุกชั้นเรียนแล้วนำผลการวิเคราะห์ผู้เรียนมาใช้วางแผนการจัดการ
เรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบคุ คล มีการคดั กรองผู้เรียนทมี่ คี วามบกพร่องดา้ นต่าง ๆ
เพอ่ื จัดการเรียนรไู้ ด้ตรงกับความสามารถ จัดทำโครงการระบบดแู ลช่วยเหลือ มีการเยยี่ มบ้านรอ้ ยละ
๑๐๐ นักเรียนร้อยละ๙๐ ได้รับทุนการศึกษา ทางโรงเรียนสร้างขวญั กำลังคณะครใู นการปฏิบัติงาน
โดยการจัดทำโครงการนิเทศภายในสถานศึกษา มีการแต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศจากครูทุกช่วงช้ัน
จัดทำคู่มือการนิเทศ ปฏิทินการนิเทศ เครื่องมือการนิเทศ โดยมีการนิเทศแบบกัลยาณมิตรช้ันเรยี น
ภาคเรียนละ 2 คร้ัง นำผลการนิเทศมาปรับปรุง พัฒนาการบริหาร ส่งเสริมให้ครูจัดทำผลงานทาง
วิชาการ และพัฒนาหาความรู้อย่างเป็นระบบเพิ่มเติมตลอดเวลาร้อยละ ๑๐๐ และนำความรู้ที่ได้รับ
พัฒนาตนเอง นักเรียนและโรงเรยี น

นอกจากนั้นสถานศึกษาได้จัดทำโครงการพัฒนาอาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อมโดยจัด
สภาพแวดล้อม ทางกายภาพทั้งภายใน ภายนอกและสภาพแวดล้อมทางสังคมให้สะอาดน่าอยู่มีการ

จัดสวนหย่อม น้ำตก จัดทำป้ายห้องเรียนท้ังภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บอกทิศทางอาคารเรียน
ตา่ ง ๆ และเน้นความปลอดภยั ของผเู้ รียนเป็นสำคญั

มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาบริหารจัดการเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วในกา ร
ให้บริการ มีการจัดข้อมูลสารสนเทศให้เป็นระบบ จัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบอินเตอร์เน็ต
ความเร็วสูง สำหรับใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนทุกห้องเรียนเพ่ือให้เป็นSmart Classroomใช้
ประโยชน์คุ้มค่า จัดทำให้มีห้องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร์ ห้อง ICT มีการใช้จัดการเรียนการสอน มี
ห้องสมุด จำนวน ๑ หลัง เพ่ือให้ครู นักเรียนมาใช้ในการสืบค้น ส่งผลให้สถานศึกษาเป็นแหล่งศึกษา
เรียนรู้

ขอ้ จำกดั ของการดำเนนิ งาน
งบประมาณท่ีได้รับไม่เพียงพอในการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ บางโครงการท่ี

โรงเรียนได้เข้าร่วมหรือได้รับคัดเลือกเป็นต้นแบบ ไม่ได้รับงบประมาณสนับสนุนต่อเนื่อง แต่ทาง
โรงเรียนต้องมีความจำเป็นพัฒนาต่อไปเนื่องจากเป็นต้นแบบทำใหผ้ ลการดำเนินงานไม่มีคุณภาพตาม
เป้าหมายท่ีวางไวเ้ นื่องจากทางโรงเรยี นมงี บประมาณจำกดั

จดุ ที่ต้องการพฒั นา
๑.นโยบายด้านการศึกษาจากหน่วยงานต้นสังกัดไม่ควรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เพ่ือให้การ

พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนเป็นไปอย่างต่อเน่ืองมีคุณภาพตามท่ีต้องการและไม่เป็นภาระ
เพิ่มเติมใหก้ ับครูและบุคลากรทางการศกึ ษา

๒.ควรส่งเสริมการพัฒนาครูให้สามารถนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนการ
สอนได้อยา่ งต่อเนือ่ ง
มาตรฐานท่ี ๓ คุณภาพการจัดการเรยี นการสอน : ระดับดีเลิศ
ผลการดำเนนิ งาน

คณะครูโรงเรียนบ้านแม่อ้อนอกได้จัดทำหลกั สตู รสถานศกึ ษาท่ีใช้องคป์ ระกอบของหลักสูตร
แกนกลาง ตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด จัดหน่วยการเรยี นรสู้ ู่แผนการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับ อัตลักษณ์ของ
โรงเรียน มีการวเิ คราะหผ์ ู้เรยี น ที่ส่งเสริมให้ผู้เรยี นมีสว่ นรว่ มในการวิเคราะห์ตนเอง กำหนดกิจกรรม
การจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของนักเรียนเป็นรายบุคคล มีการ
บริหารจัดการชั้นเรียนโดยเน้นปฏิสัมพันธ์เชิงบวก จัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิดให้
นักเรียนได้ปฏิบัติจริง ฝึกทักษะ การแสดงออก การนำเสนอผลงาน โดยผ่านการจัดทำโครงงาน
คุณธรรม โครงงานอาชีพ โครงงานวิทยาศาสตร์ การทำงานเปน็ กลุม่ การสาธิต การบูรณาการระหว่าง
กลุ่มสาระในการจัดกิจกรรมโดยใช้ทักษะในรายวิชาต่าง ๆ ดำเนินกิจกรรม โดยการสบื ค้นจากแหล่ง
เรียนรู้ท่ีหลากหลายทั้งในชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใชเ้ ทคโนโลยีในการสืบค้น สอดแทรก

การใช้ระบบสืบค้นอย่างมีคุณธรรม มีระบบการอ้างอิงที่ถูกวิธี คณะครูร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้และ
ประสบการณเ์ พื่อนำไปใชใ้ นการปรบั ปรุง มกี ารสร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรพู้ ัฒนาการจดั การเรยี นรทู้ ุก
สัปดาห์ คณะครูดำเนินการประเมินผเู้ รยี นจากสภาพจรงิ ดว้ ยเครื่องมือการประเมนิ ที่หลากหลาย มี
การดำเนินการให้คุณภาพของเคร่ืองมือท่ีใช้ในการประเมินโดยผ่านขั้นตอนกระบวน พัฒนาส่ือ
นวัตกรรม และมีการจัดระบบการวดั ประเมินผลโดยการมีสว่ นร่วมระหว่างครูผู้สอนและนักเรยี น มี
การใช้เทคโนโลยี ประกอบการวดั ผลประเมินผลมีข้อมูลย้อนกลบั ให้นักเรยี นได้ทราบผลทนั ทีและเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองหลังจากทราบผลการประเมินแล้วนักเรียนสามารถพัฒนาผลงาน
ตามทคี่ รูเสนอแนะและขอสง่ ผลงานทพ่ี ฒั นาแลว้ ตามขอ้ เสนอแนะของผูส้ อนเพอ่ื เพมิ่ คะแนน

โดย การดำเนิ น ก าร ดั งกล่ าว ดำเนิ น ก าร ผ่าน กิจก รรม โค รงก ารส่ งเสริ ม คว าม เป็น เลิศทาง
วชิ าการ โครงการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ท้ัง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้
โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โครงการ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน โครงการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม โครงการพัฒนาระบบเครือข่าย
อินเทอร์เน็ตและห้องคอมพิวเตอร์ โครงการบรกิ ารสารสนเทศ ICT ตามนโยบายเรียนฟรี เรียนดี
15 ปี โครงการนิเทศชั้นเรียน โครงการเศรษฐกิจพอเพียง โครงการลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้
โครงการห้องสมุด3Dเพื่อสรา้ งนิสัยรักการอา่ น กิจกรรมรักการอา่ นเพอ่ื พฒั นาการคดิ วเิ คราะห์

ขอ้ จำกัดของการดำเนินงาน
1. ครบู างสว่ นยังไม่ให้ความสำคญั ต่อการสอนแบบโครงงาน
2. งบประมาณไมเ่ พยี งพอในการจดั การเรยี นการสอน

จดุ ท่ตี ้องการพฒั นา
1. ส่งเสรมิ ใหค้ รจู ดั การเรยี นการสอนในรูปแบบโครงงานให้มากขน้ึ
2. ต้องการสนบั สนนุ งบประมาณในการจดั การเรียนการสอนเพ่ือพฒั นาศักยภาพของผเู้ รยี น

สว่ นที่ 3
สรุปผล และแนวทางการพฒั นา

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาถือเป็นข้อมูลสารสนเทศสำคัญท่ีสถานศึกษาจะต้อง
นำไปวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือสรุปนำไปสูก่ ารเชื่อมโยงหรอื สะท้อนภาพความสำเร็จกับแผนพฒั นา
การจัดการศึกษาของสถานศึกษา(3-5 ปี) และนำไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา ดังน้ันจากผลการดำเนินงานของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินในภาพรวม
ของจุดเด่น จุดควรพัฒนาของแต่ละมาตรฐาน พร้อมท้ังแนวทางการพัฒนาเพื่อให้ได้มาตรฐานท่ี
สงู ข้นึ ดังนี้

ระดับปฐมวัย
สรปุ ผล

จดุ เด่น จุดควรพัฒนา

คณุ ภาพของเดก็ คณุ ภาพของเด็ก

ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือ

ท่ีพึงประสงค์ ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัยของ ส่งเสริมการเรียนรู้ กิจกรรมเสริมหลักสูตร เพ่ือ

โรงเรียน มีความซ่ือสตั ย์ สุจริต รบั ผิดชอบต่องาน ฝึกฝนให้ ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการคิด

ที่ได้รับมอบหมาย มีกิริยามารยาทท่ีเหมาะสม มี ซ่ึงผู้เรียนส่วนใหญ่ขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์

สมั มาคารวะพดู จาไพเราะอ่อนหวาน มาโรงเรียน คิดสังเคราะห์ การสรุปความคิดรวบยอด การ

ทันเวลา สนใจในกิจกรรมการเรียนการสอนที่ได้ ตรวจสอบความถูกต้อง นำสาระมาสรุปเช่ือมโยง

มอบหมาย มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไตร่ตรองอย่างมีเหตุผลและมีวิจารณญาณ การ

เข้าแถวรออาหารอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย นำความรู้เดิมมาสร้างเป็นองค์ความรู้ใหม่ การ

รู้จักประหยัด อดออม เห็นคุณค่าของทรัพย์สิน ประเมินความคิดเห็นการคาดการณ์ในการเรียน

ใช้ทรพั ยากรของตนเอง ของส่วนรวมอย่างคุ้มค่า การคิดริเริ่มพัฒนาส่ิงใหม่ ๆ การคาดการณ์

ทำงานร่วมกนั ผู้เรียนมีความรับผดิ ชอบตอ่ หน้าท่ี กำหนดเป้าหมายการเรียนการทำงานในอนาคต

ชอบช่วยเหลือซง่ึ กันและกนั มีเจตคติท่ีดตี ่ออาชีพ ผเู้ รยี นยังทำได้ไม่เดน่ ชดั การจดั กระบวนการเรยี น

อิสระ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิด การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้

สงั เคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรอง มี สอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลาง และหลักสูตร

สขุ นิสัย สุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ร่าเริงแจ่มใส สถานศกึ ษา จดั วิธกี ารสอนท่ีหลากหลาย

รู้จักทักทายคนอื่น กลา้ แสดงออก ช่างซกั ถาม มี

สุนทรียภาพและลักษณะนิสัย ด้านศิลปะ ด้าน

จุดเดน่ จดุ ควรพฒั นา

ดนตรี และกีฬา เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆอย่าง
เหมาะสม และพฒั นาตนเองอย่างต่อเนอ่ื ง

กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ กระบวนการบริหารและการจัดการ

ครูผู้สอนในสถานศึกษาทุกคนมีความรู้ ส ถ า น ศึ ก ษ ามี ก าร เชื่ อ ม โย ง แ ล ะ

ความเข้าใจในเป้าหมายของการศึกษา และ แลกเปล่ียนข้อมูลกับแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา

เป้าหมายของหลักสูตรมีความตระหนัก ความ ในทอ้ งถน่ิ เพียงบางกลมุ่ การจัดทำหลักสูตรระดับ

เข้าใจ และความพยายามในการจัดการเรียนการ สถานศึกษาควรให้แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญา และ

สอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จบการศึกษาระดับ ชมุ ชนเข้ามามสี ว่ นรว่ มมากขนึ้

ปริญญาตรี มีความเข้าใจในบทบาทหน้าท่ีความ การจัดประสบการณ์ท่เี น้นเดก็ เป็นสำคัญ

รบั ผิดชอบของตนเองในการจัดการศึกษาได้สอน ก ารจัด ท ำแผ น ก าร เรียน รู้และ จั ด

ตามความถนัดและความสามารถ ได้รบั การอบรม กิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลายโดยเน้นผู้เรียน

เสรมิ ความร้ดู ้านตา่ ง ๆ ในวิชาท่ีสอนอยเู่ สมอและ เป็นสำคัญและเน้นให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้

ได้รับการพัฒนา มีผลงานเป็นท่ียอมรับ และช่ืน จากแหล่งเรียนรู้ จากสื่อต่าง ๆ รวมทั้งการนำผล

ชมของบุคลากรท่ีเก่ียวข้อง เพ่ือนร่วมงาน และ การประเมินมาใช้ปรับการเรียนการสอนให้

ชุมชน เหมาะสมกั บ ผู้เรียน มี ก ารนิเท ศ ติดตาม

การจดั ประสบการณ์ท่ีเน้นเดก็ เป็นสำคญั ประเมินผล และหาแนวทางพัฒนาการจัดการ

สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียน เรียนการสอนอยา่ งต่อเน่อื ง

ก าร ส อ น โด ย เน้ น ผู้ เรีย น เป็ น ส ำคั ญ แ ล ะ มี ก า ร

เชอื่ มโยงแลกเปล่ยี นข้อมลู กบั แหลง่ เรยี นรู้ เขา้ มา

มีส่วน ร่วมใน ก ารจัดท ำห ลัก สูตรใน ระดับ

สถานศกึ ษา

ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
สรปุ ผล

จุดเดน่ จุดควรพฒั นา

คณุ ภาพของเดก็ คุณภาพของเด็ก

นักเรียนได้มีการพัฒนาอย่างทั่วถึง มี 1. ผู้เรียนควรได้รับการส่งเสริมนิสัยรัก

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีการพัฒ นาขึ้น มี การอา่ น/ใฝ่รูใ้ ฝ่เรยี น อย่างตอ่ เนอ่ื ง

ความสามารถด้านการอ่าน เขยี น คิดวิเคราะห์ตาม 2. ค วร เพ่ิ ม เติ ม ก ารทั ก ษ ะ ใน ก าร

เกณฑ์ มีความสามารถทางด้านวิชาการ วิชางาน แสวงหาความรู้/การสังเกต/ สำรวจ /เช่ือมโยง

วิชาชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึง ใหก้ ับผู้เรียน

ประสงค์ มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนา 3. ส่งเสริมและพัฒนาด้านการคิดและ

ส่ิงแวดล้อม มีความรู้และทักษะจำเป็นตาม กระบวนการเรียนรู้ โดยฝึกปฏิบัติจริงพร้อมทั้ง

หลักสูตร มีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน ประสานความร่วมมือจากหน่วยงาน อื่นๆ เน้น

สามารถทำงาน ร่วมกับผู้อ่ืนได้ และมี เจตคติท่ีดี การพฒั นาผ้เู รยี นอยา่ งยงั่ ยนื

ตอ่ อาชีพสจุ รติ มีทักษะในการ แสวงหาความรู้ดว้ ย 4. นักเรียนควรได้รับการพัฒนาการคิด

ตนเอง รักการเรียนรู้และ พัฒนาตนเองอย่าง วิเคราะห์สังเคราะห์ การสร้างความคิดรวบยอด

ต่อเนอ่ื ง ผู้เรยี นมีสุขนสิ ัย สุขภาพกาย สขุ ภาพจิตท่ี ความคดิ สร้างสรรค์

ดี มีสุขภาพแข็งแรง มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์ที่ 5. มีพัฒ นาแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น

กำหนด เน่ืองจาก โรงเรียนมีโครงการอาหาร หอ้ งสมดุ บริเวณ โรงเรียน และนอกโรงเรียน ให้

กลางวัน 100 % และมีอาหารเสริมนมให้นักเรียน เปน็ แหล่งการเรียนรทู้ ม่ี ีคุณภาพ

ด่ืม มีอาหารเช้าให้นักเรียน และมีสุนทรียภาพ เพื่อให้นักเรียนสามารถใช้เป็นแหล่ง

ตลอดจน ลักษณะนิสัยด้าน ศิลปะ ดนตรี และ เรียนร้ไู ด้เป็น อยา่ งดี

กฬี า กระบวนการบริหารและการจัดการ

กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ๑. นโยบายด้านการศึกษาจากหน่วยงาน

๑. ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ อุดมการณ์ความ ต้นสังกัดไม่ควรเปล่ียนแปลงตลอดเวลา เพ่ือให้

มุง่ ม่ันต้ังใจและมีการประสานความรว่ มมือกับภาคี การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน

เครือข่ายผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกภาคส่วนในการ เป็นไปอย่างต่อเน่ืองมีคุณภาพตามที่ต้องการ

พัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการกำหนดโครงสร้าง และไม่เป็นภาระเพิ่มเติมให้กับครูและบุคลากร

การบริหารงานของโรงเรียนอย่างชัดเจน มีการ ทางการศกึ ษา

ประชุมวางแผน กำกับติดตาม นิเทศครูด้วย ๒.ควรส่งเสริมการพัฒนาครูให้สามารถนำ

เคร่อื งมอื ท่หี ลากหลาย เทคโนโลยมี าใช้ในการจดั กระบวนการเรียนการ

๒. ผู้บริหารมีนวตั กรรมหรือเคร่ืองมือรวมท้ัง สอนไดอ้ ย่างตอ่ เนื่อง

นำเทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงในการบริหาร การจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเป็นสำคญั

จดุ เด่น จุดควรพัฒนา

จัดการคุณภาพศึกษาของโรงเรยี นอย่างเป็นระบบ 1. ส่งเสริมกิจกรรมการทำโครงงานทุกชั้น

เพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพการศึกษาของ เรียนเพื่อส่งเสริมกระบวนการคิดและแก้ปัญหา

โรงเรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาข้ัน อย่างมีเหตุผล และก่อให้เกิดความมีระเบียบ

พืน้ ฐานและหน่วยงานต้นสังกดั ทไี่ ดก้ ำหนดไว้ วินยั ซ่ือสตั ย์ สุจรติ ความพอเพยี งให้สงู ขน้ึ

๓.ผู้บริหารให้การสนับสนุน ส่งเสริมให้ครูและ 2. ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้คำศัพท์และ

บุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมในการ ประโยคภาษาองั กฤษเพือ่ การส่ือสารทุกชน้ั เรยี น

พัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนตลอดจนมี 3. ใช้กิจกรรมฝึกสติ สมาธิก่อนการเรียน

ความเช่ียวชาญและเป็นผู้นำทางวิชาชีพทางการ การสอน

ศกึ ษา 4. น้อมนำปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้

การจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเปน็ สำคญั ในการพัฒนาผ้เู รยี นอย่างรอบด้าน

โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมการเรียนการ 5. โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ

สอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและมีการเชื่อมโยง เรียนค่ายวิชาการสะเตม็ ศึกษาและส่งเสริมความ

แลกเปล่ยี นข้อมูลกบั แหล่งเรยี นรู้ เข้ามามีส่วนร่วม เป็นเลศิ ทางวิชาการ

ในการจัดทำหลกั สูตรในระดบั สถานศกึ ษา 6. กิจกรรมส่งเสริมและสร้างนิสัยรักการ

อ่าน

แผนพฒั นาเพือ่ ใหไ้ ดม้ าตรฐานทส่ี งู ขึน้
๑. คณุ ภาพผ้เู รียน
๑) ด้านการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ

มีโครงการโครงการพัฒนาวิชาการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการวิจัยและ
พัฒนานวตั กรรม โครงการลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้ อ่านเขียนเรียนสนกุ มกี จิ กรรมภาษาไทยวนั ละคำ
ภาษาองั กฤษวนั ละคำ
๒) ด้านการคิดวเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ การแก้ปญั หา

มีการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตร มีการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาวิชาการเพื่อ
ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น โครงการวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม โครงการลดเวลาเรยี น
เพ่ิมเวลารู้
๓) ด้านการสร้างนวัตกรรม

มีการส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครแู ละบุคลาการมกี ารวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมอย่างตอ่ เนื่อง
๔) ด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

มกี ารดำเนนิ งานตามโครงการ
1. โครงการพัฒนาระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตและห้องคอมพิวเตอร์
2. โครงการบรกิ ารสารสนเทศ ICT ตามนโยบายเรยี นฟรี เรยี นดี 15 ปี

๕) ด้านผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา
มกี ารดำเนนิ งานตามโครงการ
1. โครงการพัฒนาวิชาการเพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
2. โครงการวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรม
3. โครงการลดเวลาเรียนเพ่มิ เวลารู้

๖) ดา้ นความรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ีด่ ตี ่องานอาชีพ
มีโครงการโครงการพัฒนาวิชาการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โครงการลดเวลา

เรียนเพมิ่ เวลารู้ อา่ นเขยี นเรียนสนกุ มีกิจกรรมภาษาไทยวันละคำ ภาษาอังกฤษวันละคำ
๗) ด้านคณุ ลกั ษณะและค่านยิ มท่ีดี

มีการดำเนินงานตามโครงการสง่ เสริมคุณลักษณะและค่านิยมท่ีดีผ่านโครงการประชาธิปไตย
ในโรงเรียน
๘) ดา้ นความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย

มกี ารนำนักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมด้านภมู ิปัญญาท้องถน่ิ วัฒนธรรมประเพณีท้งั ทอ้ งถิ่น และ
สากล และโครงการวันสำคัญต่าง ๆ
๙) ด้านการอยรู่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย

มีการดำเนินงานตามโครงการประชาธปิ ไตยในโรงเรียน ผ่านกจิ กรรมสภานักเรียน
๑๐) ดา้ นสขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสงั คม

มีการดำเนินงานตามโครงการส่งเสริมสุขภาพ โครงการโรงเรยี นสีขาว โครงการเสริมสร้าง
พฤตกิ รรมและพัฒนาวินัยนกั เรียน

๒. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจดั การ
๑) ด้านการปรับเปา้ หมายวิสยั ทัศน์และพนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา
-
๒) ดา้ นระบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษา

มกี ารใช้นวัตกรรม และเครอ่ื งมือทางการบรหิ ารและนำเทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วนหน่ึงในการ
บรหิ ารจัดการคณุ ภาพการศึกษาท้งั ระบบ
๓) ด้านการพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม หลักสูตรสถานศึกษา และทุก
กลุ่มเปา้ หมาย

มีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศกึ ษาทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รียนตามบริบท ด้านภาษาไทย
ภาษาอังกฤษและภาษาจนี ตลอดจนความรดู้ า้ นเทคโนโลยีใหค้ ลอบคลุมทกุ ระดับชัน้ เรียน
๔) ด้านการพัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชพี

มีการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนให้มีความรู้ ความสามารถด้านเทคโนโลยี
และสามารถนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรูส้ ำหรับนักเรียนตลอดจนนำมาเป็นส่วน
หนงึ่ ในการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียนอยา่ งเป็นรูปธรรม
๕) ด้านการจดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เออ้ื ต่อ การจัดการเรียนรอู้ ยา่ งมคี ุณภาพ

มีการปรับปรุง ซ่อมแซมอาคารสถานที่ตลอดจนสภาพแวดล้อมทางกายภาพให้มีความ
เหมาะสมและเอ้อื ต่อการเรยี นรสู้ ำหรบั ผ้เู รยี นไดเ้ รียนร้อู ยา่ งต่อเนอื่ ง
๖) จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ สนบั สนนุ การบริหารจดั การ และการจดั การเรียนรู้

ส่งเสริมครใู ชเ้ ทคโนโลยี และนวัตกรรมในการจดั การเรยี นรใู้ นทกุ ระดับชนั้

๓. กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
๑) ดา้ นการจดั การเรยี นร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจรงิ และ สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ได้

ครูมีการจัดการเรียนการสอน แบบ Activelearning ส่งเสริมให้นักเรียนเรียนรู้ผ่าน
กระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริง
๒) ด้านการใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ ีเ่ ออื้ ตอ่ การเรียนรู้

มีการนำสื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ท่ีเอ้ือต่อ การเรียนรู้มาใช้ในการจัดการ
เรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง
๓) ด้านการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชงิ บวก

เน้นการบรหิ ารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวกในทกุ ชนั้ เรียน
๔) ด้านการตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรยี นอย่างเปน็ ระบบ และ นำผลมาพฒั นาผเู้ รียน

มีการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อนำผลมาพัฒนา
ผเู้ รียน
๕) ด้านการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละการให้ข้อมูลสะท้อนกลับ เพื่อพฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้

มีการประชุมวางแผน แลกเปลย่ี นเรียนรรู้ ว่ มกัน เพื่อพฒั นาและปรับปรุงการจดั การเรยี นรู้

สว่ นท่ี 4
ภาคผนวก

- สำเนาประกาศมาตรฐานสถานศึกษาและค่าเปา้ หมาย ปีการศกึ ษา 2564
- ภาพถา่ ย
- เอกสารประชาสมั พนั ธ์

ประกาศโรงเรยี นบา้ นแม่ออ้ นอก

เรื่อง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ระดับปฐมวัย และระดับการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

-------------------------------------------------

โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวงศึกษาธิการ กฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. 2561 ให้ไว้ ณ วันท่ี 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาท่ี
กำหนดเป้าหมาย และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทย และการศึกษาไทยในอนาคต นโยบาย
ปฏิรปู ระบบการประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้นพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาขั้น
พ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561 โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก จึงได้ปรับ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ท้ัง
บุคลากรทุกคนในโรงเรียน ผู้ปกครอง และประชาชน ชุมชน ให้เหมาะสมและสอดคล้องกัน เพ่ือ
นำไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายใน
และรองรับการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานใน
การประชุม คร้ังที่ 1 เม่ือวันที่ 29 พฤษภาคม 2564 เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพ และมาตรฐาน
การศกึ ษาของโรงเรียนบา้ นแมอ่ ้อนอก มคี ณุ ภาพและมาตรฐาน จึงกำหนดคา่ เป้าหมายการพฒั นาคณุ ภาพ
ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัย และการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ตามเอกสารแนบท้าย
ประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๖4

(นายกิตติ โพธสิ ิทธ์)ิ
ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านแมอ่ อ้ นอก

(นายสมชาย นรรัตน์)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

คา่ เปา้ หมายระดบั คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ระดับการศึกษาข้นั พ้นื ฐานเพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564
เรือ่ ง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

โรงเรียนบา้ นแม่ออ้ นอก ศนู ยเ์ ครือข่ายพานบรู พา สพป.ชร.เขต 2

มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/
ประเด็นการพจิ ารณา
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ค่า ระดบั
๑.๑ ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน เปา้ หมาย คุณภาพ

๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สารและการคดิ คำนวณ 3 ดี
๒) มีความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ละคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ อภิปราย 3 ดี
3 ดี
แลกเปลี่ยนความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา 3 ดี
๓) มีความสามารในการสรา้ งนวัตกรรม
๔) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่อื สาร 3 ดี
๕) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 3 ดี
๖) มีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและเจตคติท่ดี ีตอ่ งานอาชีพ 3 ดี
๑.๒ คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของผเู้ รียน 4 ดีเลิศ
๑) การมคี ุณลักษณะและคา่ นิยมทีด่ ีตามที่สถานศึกษากำหนด 4 ดีเลิศ
๒) ความภูมิใจในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย 4 ดเี ลิศ
๓) การยอมรับที่จะอยูร่ ว่ มกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4 ดเี ลศิ
๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม 4 ดเี ลิศ
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจัดการ 3 ดี
๒.๑ การมเี ปา้ หมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกิจท่สี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน 3 ดี
๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 3 ดี
๒.๓ ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเี่ น้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลกั สุตรสถานศึกษา 3 ดี
3 ดี
และทกุ กลุ่มเปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลกรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชพี 4 ดีเลศิ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ ออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณู ภาพ 4 ดีเลศิ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การ 4 ดเี ลศิ

เรียนรู้

2.7 ส่งเสรมิ ให้ครูมนี วัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 3 ดี
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ สำคญั 4 ดีเลิศ
๓.๑ จดั การเรียนรูผ้ ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ น 3
ดี
ชวี ติ ได้ 4
๓.๒ ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรูท้ เ่ี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ 4 ดเี ลศิ
๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชิงบวก 4 ดีเลศิ
๔.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผ้เู รยี น 3 ดเี ลิศ
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพือ่ พัฒนาและปรับปรุงการ
3 ดี
จัดการเรยี นรู้
สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา ดี

การกำหนดรอ้ ยละค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
เพอ่ื การประกนั คุณภาพภายในของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

เรอ่ื ง กำหนดค่าเป้าหมายระดบั คุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน

โรงเรียนบ้านแมอ่ อ้ นอก ศูนยเ์ ครือข่ายพานบูรพา สพป.ชร.เขต 2

มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา รอ้ ยละที่โรงเรียน
กำหนดคา่ เปา้ หมาย /
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรียน ประเดน็ การพจิ ารณา
๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางวชิ าการของผูเ้ รยี น
รอ้ ยละ 74
๑) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสือ่ สารและการคิดคำนวณ
๒) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปราย ร้อยละ 70
รอ้ ยละ 70
แลกเปล่ียนความคิดเห็น และแกป้ ญั หา
๓) มีความสามารในการสรา้ งนวตั กรรม รอ้ ยละ 70
๔) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร รอ้ ยละ 70
๕) มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 70
๖) มีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคติท่ดี ีต่องานอาชีพ ร้อยละ 80
๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ของผ้เู รยี น
๑) การมีคุณลักษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามท่ีสถานศึกษากำหนด รอ้ ยละ 80
๒) ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย รอ้ ยละ 80
๓) การยอมรบั ท่ีจะอยู่ร่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย รอ้ ยละ 80
๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม รอ้ ยละ 70
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ รอ้ ยละ 74.28
๒.๑ การมเี ป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดชัดเจน รอ้ ยละ 70
๒.๒ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา รอ้ ยละ 70
๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการที่เน้นคุณภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลกั สุตรสถาน ร้อยละ 70
ศึกษาและทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลกรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชพี รอ้ ยละ 80
๒.๕ จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเี่ อื้อตอ่ การจดั การเรียนรู้อยา่ งมี รอ้ ยละ 80
คุณภาพ
๒.๖ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจัดการ ร้อยละ 80

เรยี นรู้ ร้อยละ 70
2.7 สง่ เสริมให้ครมู นี วตั กรรมในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน รอ้ ยละ 76
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนน้ ผ้เู รียนเปน็ สำคัญ รอ้ ยละ 70
๓.๑ จดั การเรียนร้ผู ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ ร้อยละ 80
๓.๒ ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ท่เี อื้อต่อการเรียนรู้ ร้อยละ 80
๓.๓ มกี ารบริหารจัดการชน้ั เรยี นเชงิ บวก ร้อยละ 80
3.๔ ตรวจสอบและประเมนิ ผ้เู รียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนาผ้เู รียน รอ้ ยละ 70
๓.๕ มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นร้แู ละใหข้ อ้ มูลสะท้อนกลบั เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงการ
ร้อยละ 74.76
จัดการเรยี นรู้
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา

การกำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
เพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖4
เรอื่ ง กำหนดค่าเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย
โรงเรยี นบา้ นแมอ่ ้อนอก ศูนยเ์ ครือข่ายพานบูรพา สพป.ชร เขต 2

..................................................................................................

มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ร้อยละ
ค่าเป้าหมายมาตรฐาน/
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเดก็ ประเด็นการพิจารณา
๑.๑ มกี ารพัฒนาดา้ นร่างกาย แขง็ แรง มสี ขุ นิสยั ทดี่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของ
๘0.00
ตนเองได้ ๘0.00
๑.๒ มกี ารพฒั นาดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้
๑.๓ มีการพัฒนาการดา้ นสังคม ชว่ ยแหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชกิ ทีด่ ีของสังคม ๘0.00
๑.๔ มีพัฒนาการดา้ นสติปัญญา ส่อื สารได้ มที กั ษะการคิดพ้นื ฐานและแสวงหา ๘0.00
ความร้ไู ด้ ๘0.00
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและจดั การ
๒.๑ มหี ลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ด้าน สอดคลอ้ งกบั บริบทขอองทอ้ งถ่นิ ๗2.85
๒.๒ จดั ครุใหเ้ พยี งพอกบั ชั้นเรยี น ๗๐.00
๒.๓ ส่งเสริมให้ครมู ีความเชยี่ วชาญดา้ นกากรรจัดประสบการณ์ ๘0.00
๒.๔ จดั สภาพแวดลอ้ มและสื่อเพอื่ การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภยั และเพียงพอ ๘0.00
๒.๕ ให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสือ่ การเรียนรเู้ พ่ือสนับสนนุ การจดั ๗๐.00
ประสบการณ์ ๗๐.00
๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพทเี่ ปดิ โอกาสให้ผ้เู กี่ยวขอ้ งทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม
๒.๗ ส่งเสริมให้ครูมนี วตั กรรมในการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ๗๐.00
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณ์ที่เน้นเดก็ เป็นสำคัญ ๗๐.00
๓.๑ จัดประสบการณ์ที่สง่ เสริมใหเ้ ด็กมกี ารพัฒนาการทกุ ดา้ นอยา่ งสมดุลเตม็ 78.00
ศักยภาพ ๘0.00
๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมีความสขุ
๓.๓ จดั บรรยากาศทเี่ ออ้ื ต่อการเรียนรู้ใช้สือ่ เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั ๘0.00
๓.๔ ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจริงแลละนำผลประเมินพัฒนาการเด็กไป ๗๐.00
ปรับปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก ๘0.00

๓.๕ จดั ประสบการณ์สง่ เสรมิ และพัฒนาทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ได้ฝกึ การสงั เกต ๘0.00
รจู้ ักคดิ ตงั้ คำถามและค้นหาคำตอบดว้ ยตนเอง ๗๖.9๕

สรปุ ผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

การกำหนดคา่ เป้าหมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
เพื่อการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖4
เร่อื ง กำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวยั

โรงเรียนบ้านแมอ่ ้อนอก ศนู ยเ์ ครอื ข่ายพานบรู พา สพป.ชร2
..................................................................................................

คา่ เปา้ หมายมาตรฐาน/

มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ประเดน็ การพิจารณา
ค่าเปา้ หมาย ระดับ

คณุ ภาพ

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของเดก็ ๔ ดเี ลศิ

๑.๑ มีการพฒั นาด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนสิ ยั ทีด่ ี และดแู ลความปลอดภยั ของ ๔ ดเี ลศิ

ตนเองได้

๑.๒ มกี ารพฒั นาด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ แลและแสดงงอออกทางอารมณ์ได้ ๔ ดเี ลิศ

๑.๓ มกี ารพัฒนาการด้านสังคม ช่วยแหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ีดีของสังคม ๔ ดีเลิศ

๑.๔ มพี ัฒนาการด้านสตปิ ญั ญา ส่อื สารได้ มที กั ษะการคิดพืน้ ฐานและแสวงหาความรู้ ๔ ดเี ลิศ

ได้

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและจัดการ ๓ ดี

๒.๑ มหี ลกั สูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคล้องกับบริบทขอองท้องถนิ่ ๓ ดี

๒.๒ จดั ครุให้เพียงพอกับช้นั เรียน ๔ ดีเลศิ

๒.๓ สง่ เสริมให้ครมู คี วามเชี่ยวชาญดา้ นกากรรจัดประสบการณ์ ๔ ดเี ลิศ

๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพือ่ การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพยี งพอ ๓ ดี

๒.๕ ใหบ้ ริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและสอื่ การเรยี นรเู้ พือ่ สนบั สนุนการจัด ๓ ดี

ประสบการณ์

๒.๖ มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ่วนร่วม ๓ ดี

๒.๗ สง่ เสรมิ ให้ครูมีนวัตกรรมในการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ๓ ดี

มาตรฐานท่ี ๓ การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เป็นสำคัญ ๔ ดีเลิศ

๓.๑ จัดประสบการณท์ ่ีส่งเสริมใหเ้ ด็กมกี ารพฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเตม็ ศกั ยภาพ ๔ ดีเลิศ

๓.๒ สร้างโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัตอิ ยา่ งมคี วามสุข ๔ ดเี ลศิ
๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ใชส้ ่ือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบั วัย ๓ ดี
๓.๔ ประเมนิ พัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ แลละนำผลประเมินพัฒนาการเดก็ ไป ๔ ดีเลศิ
ปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก
๓.๕ จดั ประสบการณ์ส่งเสริมและพัฒนาทักษะทางวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ฝกึ การสังเกต รจู้ ัก ๔ ดีเลิศ
คิด ตงั้ คำถามและค้นหาคำตอบดว้ ยตนเอง
๓ ดี
สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

การกำหนดค่าเปา้ หมาย

๑. ศึกษาข้อมลู เดิม ผลการประเมนิ ตา่ งๆ ทผี่ ่านมา เพ่อื เปน็ ขอ้ มลู ฐานในการกำหนดคา่ เป้าหมาย

๒. การกำหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน กำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ เพื่อให้

สอดคลอ้ งกับ

การประเมิน ดงั น้ี

ระดบั 5 ยอดเยี่ยม รอ้ ยละ 90

ระดบั 4 ดีเลศิ รอ้ ยละ 80

ระดบั 3 ดี ร้อยละ 70

ระดบั 2 ปานกลาง ร้อยละ 60

ระดบั 1 กำลังพฒั นา รอ้ ยละ 50

๓. การกำหนดค่าเป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกำหนดเป็นระดับคุณภาพ หรือ

เปน็ ร้อยละ ตามความเหมาะสมกบั บริบทของสถานศึกษา

การให้ความเหน็ ชอบ

ประกาศกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
ระดับการศึกษาปฐมวัย และระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านแม่อ้อนอก ประจำปีการศึกษา 2564
-------------------------------------------------

ในการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ครั้งท่ี 1/2564 เม่ือวนั ที่ 29 พฤษภาคม
2564 ณ หอ้ งประชุมโรงเรียนบ้านแม่ออ้ นอก สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต
2 คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ได้พจิ ารณาคา่ เป้าหมายการพฒั นาตามมาตรฐานการศกึ ษาของ
สถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 ของโรงเรียนบ้านแม่ออ้ นอก มมี ติเหน็ ชอบให้ดำเนินการประกาศได้

(นายสมชาย นรรัตน์)
ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาโรงเรียนบา้ นแมอ่ อ้ นอก

สง่ เสรมิ พฒั นำกำรดำ้ นรำ่ งกำยโดยใชก้ ลำ้ มน้วิ มอื มดั เลก็ ในกำรสรำ้ งสรรคผ์ ลงำน

เดก็ รจู้ กั จำแนก เปรยี บเทยี บ จดั หมวดหมไู่ ด้

เดก็ มพี ฒั นำกำรดำ้ นรำ่ งกำยสมวยั

เดก็ สามารถทำงานรว่ มกบั ผู้อนื ได้

กจิ กรรมโครงการบ้านวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย

มสี อื อุปกรณอ์ ำนวยความสะดวกในการสบื คน้ และศกึ ษาหาความรู้แกเ่ ดก็

ออกแบบกำรจดั ประสบกำรณ์ เพอ่ื สนองตอ่ ควำมแตกต่ำงระหว่ำงบคุ คล

ไดร้ บั การนเิ ทศช้นั เรยี นจากฝา่ ยวชิ าการทกุ ภาคเรียน


Click to View FlipBook Version