New Normal กบั ผลกระทบทางสังคม
วัน ที่ 31 ธั น ว า ค ม 2562 ท า ง ก า รจีน “อ ยู่บ้ า น หยุดเชือ้ เพื่อ ช า ติ ” และ “Social
ได้ยืนยันว่าเกิดการระบาดของเชือ้ ไวรัสสายพันธ์ุ Distancing” และนายกรัฐมนตรีได้ประกาศใช้
ใหม่ในเมืองอู่ฮ่ัน หลังจากพบผู้ป่ วยด้วยโรคปอด พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน
อักเสบอย่างไม่ทราบสาเหตุ ต่อมา ทางการจีน พ.ศ. 2548 มีผลบังคับใช้ใน วันท่ี 26 มี.ค. 2563
และองค์การอนามัยโลกระบุว่า ไวรัสชนิดนีค้ ือ และได้ มีการประกาศคาสั่งเพ่ิมเติมเป็ นระยะ
"เชอื ้ ไวรสั โคโรนา" สายพนั ธ์ทุ ี่ 7 และองค์การอนามัย เช่น สั่งปิ ดพืน้ ที่เส่ียง ขอความร่วมมือให้งดหรือ
โลก ประกาศช่ือที่เป็ นทางการสาหรับใช้ เรียก หลีกเล่ียงการเดินทาง และประกาศเคอร์ ฟิ ว
ไวรสั ชนดิ นวี ้ า่ COVID-19 ทว่ั ประเทศ
ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ด้ รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ จ า ก
COVID-19 เช่นกัน ในวันที่ 12 มกราคม 2563
กระทรวงสาธารณสุขได้ แถลงว่าพบผู้ติดเชือ้
COVID-1 9 ร า ย แ ร ก ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย
เป็นนกั ทอ่ งเทยี่ วชาวจีนทเ่ี ดินทางมาจากเมืองอ่ฮู นั่
แ ล ะ ผู้ป่ ว ย เ ริ่ ม เ พ่ิ ม จ า น ว น ขึ ้น จ น ก ร ะ ท่ั ง
วันที่ 1 มีนา คม 2563 มีผู้เสียชีวิตด้ ว ยเชื อ้
COVID-19 รา ยแรก ภา ครัฐ เร่ิ ม ใช้ ร ณ ร ง ค์
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 3 (สสว.3)
เมื่อตัวเลขผู้ป่ วย COVID-19 ในประเทศ ช่องโทรทัศน์แทนการไปโรงเรี ยนตามปกติ
ไทยลดลง ศนู ย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาด จึงเป็ นท่ีมาของการเปลี่ยนแปลงการดาเนินชีวิต
ของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 หรือ ศบค. ในหลายด้ านท่ีเรียกว่า New Normal แม้ ไม่ใช่
ไ ด้ ป ระ กา ศม า ตรกา รผ่อ นป รนบ า งกิจ กา รและ คาศัพท์ใหม่ และถูกใช้ ครั้งแรกเพ่ืออธิบาย
กิจกรรม ให้ ดาเนินการได้ แต่ต้ องอยู่ภายใต้ ถึงสภาวะเศรษฐกิจโลก และถูกนากลับมาใช้
มาตรการป้ องกันท่ีกาหนดอย่างเคร่งครัด มีเวลา อีกครัง้ ในวิกฤตการณ์แพร่ระบาดของ COVID-19
เคอร์ ฟิ วช่วง 23.00 – 03.00 น. สถานการณ์ โ ด ย ร า ช บัณ ฑิ ต ย ส ภ า ไ ด้ ใ ห้ ค ว า ม เ ห็ น ใ น
ดูจะคล่ีคลาย แต่การป้ องกันตัวเองให้ปลอดภัย การบัญญัติศัพท์คาว่า “New normal” หมายถึง
จาก COVID-19 การปรับตวั ยังคงดาเนินต่อไป วิถี ความปรกติใหม่ ฐานวิถีชีวิตใหม่ คานีม้ ีที่ใช้ใน
หลายบริบท ไม่ใช่เฉพาะในทางธุรกิจหรือวิถีชีวิต
ชี วิ ต ป ร ะ จ า วั น เ ร่ิ ม เท่านนั้ จึงเป็นการยากท่ีจะหาคากลาง ที่จะใช้ได้
เปลี่ยนแปลง ผู้คนเร่ิม ในทุกบริบท จึงเห็นควรเขียนคานีโ้ ดยทับศัพท์
ภาษาองั กฤษวา่ "นิวนอร์มลั "
คุ้น ชิ น กับ ก า ร ส ว ม
หน้ ากากอนามัยหรือ
ห น้ า ก า ก ท า ง เ ลื อ ก ก่ อ น อ อ ก จ า ก บ้ า น
พกเจลแอลกอฮอร์ สาหรับล้ างมือ เว้ นระยะ
ห่างทางสังคม ใช้ บริการส่ังและรับส่งอาหาร
แทนการไปรับประทาน
อาหารที่ร้ าน ทางาน
จากที่บ้าน Work from
Home โดยใช้ช่องทาง
ออนไลน์ติดต่อสื่อสาร
ประชมุ ผา่ น Video conference ส่วนเด็กนกั เรียนก็
ทาการเรียนแบบออนไลน์ผ่านอินเตอร์เนต็ หรือ
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วิชำกำร 3 (สสว.3)
แต่อีกด้านหนึ่งของสงั คมการใช้ชีวิต ปัญหาที่สะสมมาก่อนหน้านีค้ นที่ไม่มี
แ บ บ New Normal แ ท บ จ ะ เ ป็น ไ ป ไ ม ่ไ ด้ รายได้อยู่เดิม ไม่มีแม้ที่อยู่อาศัย ขาดผู้ดูแล
เมื่อความพร้อมหรือต้นทนุ ชีวิตของแต่ละคน ใช้ชีวิตเพียงลาพงั และอาจไม่สามารถช่วยเหลือ
มีไม่เท่ากนั จากการสารวจของสวนดุสิตโพล ตัวเองได้ คนกล่มุ เปราะบางในสังคม ซ่ึงกระทรวง
ร ะ ห ว่ า ง วั น ที่ 12-15 พ ฤ ษ ภ า ค ม 2563 การพฒั นาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
“รายได้ – หนีส้ ิน – เงินออม” ของคนไทยเม่ือเทียบ (พม . ) มีหน้า ที่ในกา ร พฒั นา คุณ ภา พชีวิต
กับช่วงเวลาก่อนโควิด-19 ระบาด กับ ณ วันนี ้ ของคนไทย เพื่อสร้างสงั คมที่ดีและมีคุณภาพ
รายได้ประจา ลดลง 25.16% รายได้พิเศษ ลดลง มีภารกิจในการดูแลคนทกุ ช่วงวัย
35.38% เงินออม ลดลง 27.91% หนีส้ ิน เพ่ิมขึน้
25.07% เห็นได้ชัดเจนว่ารายได้ที่ลดลงมาพร้อม “ตัง้ แต่แรกเกิดสู่เชิงตะกอน”
กบั หนีส้ ินท่ีเพ่ิมมากขึน้ เมื่อธุรกิจหลายภาคส่วน
ป รับ โครงสร้า งทา งธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็ นการ เป รียบ เสมือ น กา ร ดูแ ล แม่นา้ ตัง้ แต ่ต้น นา้
ท่องเท่ียว บริการ และธุรกิจต่าง ๆ ลดจานวน ไปจนกระท่ังถึงปลายนา้
พ น ัก ง า น พ น ัก ง า น ห ล า ย ค น ถ ูก เ ล ิก จ้า ง
และกิจการทงั้ ขนาดเล็กและใหญ่หลายกิจการต้อง “พากลุ่มเป้ าหมายเข้าให้ถึงสิทธิ”
ปิ ดตัว ลง เป็ นปั ญ หาที่ต้ องได้ รับการแก้ ไข
และในช่วงเวลานี ้ การทางานจากที่บ้านของ คือ สิ่งที่สาคญั ที่สุด เป็นสิ่งที่ พม. ตระหนกั
ผู้ใหญ่หรือการเรียนออนไลน์ของเด็ก ล้วนต้องใช้ และทาเสมอมา
อุปกรณ์ ทรัพยากรที่ไม่มีอยู่เดิม และต้องหาซือ้
เพิ่มเติม รายจ่ายและหนีส้ ินยังคงมีอยู่ทุกวัน
ในสถานการณ์เช่นนี ้ เพียงแค่มีอาชีพ มีรายได้
พอที่จะเลีย้ งปากท้องและครอบครัว ก็ดีไม่น้อย
ไปกวา่ การอยรู่ อดปลอดภยั จาก COVID-19
สำนกั งำนสง่ เสริมและสนบั สนนุ วชิ ำกำร 3 (สสว.3)
ผู้ที่ประสบกบั ปัญหาทุกคนล้วนแต่เป็ น ผู้ประสบปัญหาให้ได้มากที่สุด นอกจากนี ้ สถิติ
กลุ่มเป้ าหมายของ พม. ทัง้ ผู้ที่ประสบกับปัญหา จากศูนย์ปฏิบัติการกระทรวง พม. พบว่าข้อมูล
ทัง้ ก่อนเกิดการแพร่ระบาด ขณะที่เกิดการแพร่ วันที่ 1-30 เมษายน 2563 พบว่า คนไทยพยายาม
ระ บ า ด รว ม ไ ป จ นถึงหลงั กา ร แพ ร่ร ะ บ า ด ฆ่าตวั ตายทัง้ หมด 84 รายและผู้ก่อเหตุเสียชีวิต
ของ COVID-19 หน้าที่ของ พม. ยงั คงดาเนิน ถึง 62 ราย โดยมีสาเหตุมาจาก ปัญหาส่วนตัว
ต่อไป ในห้วงเวลาที่กลุ่มเป้ าหมายกาลังเผชิญ หนีส้ ิน ตกงาน ปัญหาสุขภาพ เป็นโรคซึมเศร้า
ก ับ ค ว า ม ย า ก ล า บ า ก ใ น ก า ร ด า เ น ิน ช ีว ิต ปัญหาครอบครัว ไม่ได้รับเงินเยียวยา 5,000
การทางานของ พม. จึงปรับเป็นการทางานเชิงรุก บาท และได้รับผลกระทบจากวิกฤต COVID-19
ตามลาดบั กระทรวง พม. จึงเพิ่มสายด่วน พม.
แ ล ะ เ ป็น ร ูป ธ ร ร ม ม า ก ขึ น้ โ ด ย ย ึด ห ล กั 1300 จากเดิม 15 คู่สาย เป็น 60 คู่สาย ตลอด
การให้ประชาชนเป็นศนู ย์กลาง การเข้าถึงเพื่อ 24 ชั่วโมง เพื่อรับฟังและหาหนทางช่วยเหลือ
รับรู้ปัญหาของประชาชน ดาเนินการแก้ไข ให้กบั ผู้ที่กาลงั ประสบปัญหา เพื่อช่วยลดสถิติ
บรรเทาความเดือดร้อนอย่างรวดเร็ว ทนั ท่วงที การฆ่าตวั ตายให้เหลือน้อยท่ีสุด
และรอบคอบ มีการกาหนดมาตรการเพื่อบรรเทา
เ ย ีย ว ย า ค ว า ม เ ด ือ ด ร้อ น ข อ ง ป ร ะ ช า ช น เมื่อยังไม่พบวิธีท่ีจะเอาชนะ COVID-19
ผ่านทกุ หน่วยงานของ พม. โดยมีโครงการเพื่อ จึงไ ม่สา มารถจะบอกได้ ว่าเรา ต้ องใช้ ชีวิต
ช ่ว ย เ ห ลือ เ ยีย ว ย า ก ลุ่ม เ ป้ า ห ม า ย ที ่ไ ด้ร ับ อยู่ท่ามกลางการแพร่ระบาดของไวรัสร้ ายนี ้
ผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ ไปอีกนานแค่ไหน เหตุการณ์ที่ทาให้คนท่ัวโลก
COVID-19 มากกว่า 30 โครงการ เพื่อเข้าถึง ต่ืนตระหนกนีจ้ ะดาเนินต่อไป อย่างไร จะพบ
จุดหมายปลายทางเมอื่ ไหร่ ส่ิงท่ีเราควรทาในเวลา
ที่ยังไม่มีคาตอบเช่นนี ้ คือการป้ องกันตัวเอง
และครอบครัวให้ปลอดภัยจาก COVID-19 และ
ช่วยกันประคับประคองชุมชน สังคม ให้ดาเนิน
ตอ่ ไปในแบบ New Normal ได้อย่างสมบูรณ์
สำนกั งำนส่งเสริมและสนบั สนนุ วิชำกำร 3 (สสว.3)