The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการเบิก-จ่ายเงินจากคลัง เผยแพร่โดย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการเบิก-จ่ายเงินจากคลัง เผยแพร่โดย

คู่มือการเบิก-จ่ายเงินจากคลัง เผยแพร่โดย

สารบญั หนา้

ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดฝกึ อบรม การจดั งาน และการประชมุ ระหว่างประเทศ 1
1
สาระสาคญั กฎหมายและระเบยี บทเ่ี ก่ยี วข้อง
 ความหมายของการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหวา่ งประเทศ 2
 หลักการของการกาหนดระเบียบ 2
 ประเภทของการฝกึ อบรม 3
 บคุ คลทีม่ ีสิทธิเบิกค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม 2
 การเทียบตาแหนง่ บุคคล 5
 ความหมายของค่าใช้จา่ ยในการจดั ฝึกอบรม 5
 ความหมายของวทิ ยากร 3 6
 ประเภทของวทิ ยากร 3
 คา่ สมนาคุณวิทยากร 4 9
 คา่ อาหารว่างและเคร่อื งด่ืม 10
 การเบกิ จา่ ยค่าอาหาร
- กรณสี ่วนราชการผจู้ ัดฝึกอบรมจัดอาหารและออกค่าใช้จ่าย 5 12
- กรณกี ารจดั การฝกึ อบรมท่ีส่วนราชการทีจ่ ัดการฝึกอบรมไมจ่ ดั อาหาร 12
ท่พี กั หรอื ยานพาหนะ
ค่าเชา่ ที่พกั 6 15
คา่ เบ้ยี เลย้ี ง 8
ค่าพาหนะเดนิ ทาง 8
 ค่าใชจ้ ่ายเก่ยี วกบั การฝกึ อบรมบุคคลภายนอก
 การจ้างจดั ฝึกอบรม 9
 หลกั ฐานประกอบการเบกิ จา่ ยเงิน
 คา่ ใช้จ่ายในการจดั งาน 11
 คา่ ใช้จ่ายในการประชมุ ระหว่างประเทศ 11

แนวทางการปฏิบตั ใิ นการฝึกอบรม/สมั มนา
 แผนผงั การปฏิบัตใิ นการฝกึ อบรม/สมั มนา
 ขั้นตอนการเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม/สัมมนา 13
 แผนผังการเบิกจ่ายเงนิ คา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม/สมั มนา 14

ประเด็นคาถาม – ขอ้ เสนอแนะท่ีพบบอ่ ย

ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 1 9
22
สาระสาคัญของกฎหมายและระเบียบทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 31
 การเดินทางไปราชการชวั่ คราว 33
 การเดินทางไปราชการประจา 34
 การเดินทางกลับภมู ิลาเนาเดมิ 48
 การเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศช่ัวคราว
49
การเบิกจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ 50
51
 การเบกิ ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจกั ร 52
- กรณีการเดินทางไปราชการชัว่ คราว 54
- กรณีการเดินทางไปราชการประจา 54
- กรณกี ารเดินทางกลับภมู ิลาเนาเดมิ 56
58
 การยมื เงนิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการในราชอาณาจกั ร
77
 การเบิกค่าใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศ
- กรณกี ารเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชวั่ คราว 79
- กรณกี ารเดินทางไปราชการประจาในตา่ งประเทศ
84
ประเด็นคาถาม – ขอ้ เสนอแนะท่พี บบ่อย

ภาคผนวก

 แบบใบสาคัญรบั เงนิ (สาหรบั วิทยากร) 75

 แบบใบสาคญั รบั เงินค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรมบุคคลภายนอก 76

 ใบสาคญั รับเงนิ

 ใบรับรองแทนใบเสร็จรบั เงนิ (แบบ บก 111 / แบบ 4231) 78

 สญั ญาการยืมเงิน (แบบ 8500)

 แบบรายงานขอเบิกค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708) (ส่วนท่ี 1) 81

 หลักฐานการจา่ ยเงนิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708) (สว่ นที่ 2) 83

เอกสารอ้างอิง

คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดฝึกอบรม การจัดงานและการประชมุ ระหวา่ งประเทศ

สาระสาคัญของกฎหมายและระเบยี บทเี่ ก่ยี วขอ้ ง

ความหมายของการฝกึ อบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ
“การฝกึ อบรม” หมายถึง การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารการสัมมนาทางวิชาการ

หรอื เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร การบรรยายพเิ ศษ การฝึกศึกษา การดงู าน การฝกึ งาน หรอื ทเ่ี รียกช่อื อย่างอ่นื ทั้งในประเทศ
และตา่ งประเทศ โดยมโี ครงการหรอื หลกั สตู รและช่วงเวลาจัดที่แนน่ อนท่ีมวี ัตถุประสงคเ์ พ่อื พัฒนาบุคคลหรอื เพม่ิ
ประสทิ ธิภาพในการปฏิบตั ิงาน โดยไมม่ กี ารรับปรญิ ญาหรอื ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี

“การดูงาน ” หมายถงึ การเพ่มิ พนู ความรู้หรอื ประสบการณ์ด้วยการสงั เกตการณ์ ซึ่งกาํ หนดไวใ้ น
โครงการหรือหลกั สูตรการฝกึ อบรม หรอื กาํ หนดไวใ้ นแผนการจดั การประชมุ ระหวา่ งประเทศ ให้มีการดูงาน ก่อน
ระหว่าง หรอื หลังการฝึกอบรมหรือการประชมุ ระหวา่ งประเทศและหมายความรวมถึงโครงการหรือหลกั สูตรการ
ฝกึ อบรมเฉพาะการดงู านภายในประเทศท่หี น่วยงานของรฐั จัดขนึ้

“การจัดงาน” หมายถงึ การจัดงานตามแผนงานโครงการตามภารกิจปกติหรอื ตามนโยบายของทางราชการ
“การประชุมระหว่างประเทศ ” หมายถงึ การประชุมหรือสมั มนาระหว่างประเทศที่สว่ นราชการหรอื
หนว่ ยงานของรัฐ รฐั บาลตา่ งประเทศหรือองคก์ ารระหวา่ งประเทศจัด หรอื จดั ร่วมกนั ในประเทศไทย โดยมีผู้แทน
จากสองประเทศขนึ้ ไปเขา้ รว่ มประชุมหรอื สัมมนา
“สว่ นราชการ” หมายความว่า สานกั นายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง กรม สว่ นราชการทีเ่ รยี กชอื่ อยา่ ง
อนื่ ท่ีมีฐานะเปน็ หรอื เทยี บเทา่ กระทรวง ทบวง กรม สว่ นราชการทเ่ี รยี กช่อื อยา่ งอ่นื ซึง่ ไม่มีฐานะเป็นกรมแตม่ ี
หวั หนา้ ส่วนราชการซ่ึงมฐี านะเปน็ อธิบดี
“บคุ ลากรของรฐั ” หมายความวา่ ขา้ ราชการทุกประเภท รวมทั้งพนกั งาน ลกู จา้ งของสว่ นราชการ
รฐั วสิ าหกจิ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
“เจา้ หนา้ ท่ี” หมายความว่า บคุ ลากรของรัฐทไี่ ด้รบั มอบหมายใหป้ ฏิบัตงิ านตามระเบียบน้ีและ ให้
หมายความรวมถึงบคุ คลอ่นื ทีไ่ ดร้ ับแตง่ ต้งั ใหป้ ฏิบัติงานและเจา้ หนา้ ทรี่ กั ษาความปลอดภัยดว้ ย
“เจ้าหน้าท่ปี ฏบิ ัติงานลกั ษณะพเิ ศษ” หมายความว่า บคุ คลซ่งึ มิได้เป็นบุคคลากรของรัฐและได้รบั แต่งตั้ง
จากหวั หน้าส่วนราชการผจู้ ัดการประชมุ ระหวา่ งประเทศใหป้ ฏบิ ัติงานในการประชุมระหวา่ งประเทศ อาทิเช่น
พนกั งานพมิ พ์ดีด พนกั งานบันทกึ ขอ้ มลู พนกั งานแปล ล่ามและผู้จดบนั ทกึ สรุปประเดน็ ในการประชมุ ระหวา่ ง
ประเทศ เปน็ ต้น

หลักการของการกาหนดระเบียบฯ
1. เพื่อการพัฒนาบุคคล หรือเพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติงาน
2. เพอื่ ความคลอ่ งตวั ในการปฏบิ ัตงิ านของหนว่ ยงานภาครัฐ ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑ์และอตั ราที่เปน็ มาตรฐาน
เดยี วกัน เพ่ือให้ปฏิบตั งิ านบรรลุเปา้ หมาย
3. เพอ่ื ให้หน่วยงานภาครฐั บริหารการใช้จา่ ยเงนิ ตามโครงการฝกึ อบรมภายในขอบเขตทก่ี ําหนดอย่างเหมาะสม
และประหยัด

2

ประเภทการจดั ฝกึ อบรม มี 3 ประเภท ไดแ้ ก่
1. การฝกึ อบรมประเภท ก หมายถึง การฝึกอบรมทีผ่ ูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมเกนิ กึ่งหนึ่งเป็นบคุ ลากรของรฐั ซ่งึ เปน็
ขา้ ราชการตาํ แหน่งประเภทท่วั ไประดบั ทกั ษะพเิ ศษ ข้าราชการตําแหน่งประเภทวชิ าการระดับเช่ยี วชาญและ
ระดับทรงคณุ วุฒิ ข้าราชการตาํ แหน่งประเภทอาํ นวยการระดบั สงู ข้าราชการตาํ แหนง่ ประเภทบริหารระดับต้น
และระดบั สงู หรอื ตาํ แหนง่ ทเี่ ทยี บเท่า
2. การฝกึ อบรมประเภท ข หมายถึง การฝึกอบรมทผี่ ู้เข้ารบั การฝึกอบรมเกนิ กึ่งหนงึ่ เปน็ บุคลากรของรัฐ ซงึ่ เป็น
ขา้ ราชการตําแหน่งประเภททว่ั ไประดับปฏิบตั ิงาน ระดับชาํ นาญงานและระดับอาวุโส ขา้ ราชการตําแหน่งประเภท
วชิ าการระดับปฏบิ ัตกิ าร ระดับชํานาญการและระดับชาํ นาญการพเิ ศษ ข้าราชการตาํ แหนง่ ประเภทอาํ นวยการ
ระดับตน้ หรอื ตาํ แหน่งทเ่ี ทียบเทา่
3. การฝึกอบรมบุคคลภายนอก หมายถงึ การฝกึ อบรมที่ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมเกนิ กง่ึ หนึง่ มิใช่บุคลากรของรฐั

บุคคลทม่ี ีสทิ ธิเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรม ไดแ้ ก่
1. ประธานในพธิ ีเปดิ -ปดิ การฝึกอบรม แขกผูม้ เี กียรติและผูต้ ิดตาม
2. เจา้ หนา้ ท่ี บุคลากรของรัฐหรือบุคคลภายนอกท่ไี ด้รบั มอบหมายให้ปฏบิ ตั งิ านตามระเบยี บ
3. วิทยากร
4. ผ้เู ขา้ รบั การฝกึ อบรม
5. ผู้สังเกตการณ์

การเทยี บตาแหน่งบุคคลตาม ขอ้ 1, 2, 3, 4 และ 5 ทมี่ ิไดเ้ ป็นบุคลากรของรัฐเพื่อเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยในการ
ฝกึ อบรม มดี งั น้ี (หนงั สอื กระทรวงการคลงั ที่ กค 0406.6/ว104 ลงวนั ที่ 22 กนั ยายน 2551)
1. บุคคลท่ีเคยเปน็ บุคลากรของรฐั มาแลว้ ใหเ้ ทยี บตามระดับตาํ แหนง่ หรอื ช้ันยศครง้ั สดุ ท้ายก่อนออกจากราชการ
หรอื ออกจากงาน แลว้ แตก่ รณี
2. บุคคลที่กระทรวงการคลงั ได้เทียบระดบั ตําแหน่งไว้แล้ว
3. วทิ ยากรในการฝึกอบรมประเภท ก ให้เทยี บเท่าข้าราชการตําแหน่งประเภทบริหารระดบั สูง สาํ หรบั วิทยากรใน
การฝกึ อบรมประเภท ข และวิทยากรในการฝกึ อบรมบุคคลภายนอกใหเ้ ทียบเทา่ ขา้ ราชการตําแหนง่ ประเภทอา
นวยการระดับต้น
4. นอกจากบคุ คลตามข้อ 1, 2 หรอื 3 ให้หวั หน้าส่วนราชการเจา้ ของงบประมาณพจิ ารณาเทยี บตําแหน่งตาม
ความเหมาะสม โดยถอื หลักการเทยี บตําแหนง่ ของกระทรวงการคลงั ตามข้อ 2 เปน็ เกณฑใ์ นการพิจารณา
5. การเทียบตาํ แหนง่ ผู้เขา้ รับการฝกึ อบรมทมี่ ิไดเ้ ปน็ บคุ ลากรของรฐั เพือ่ เบิกค่าใชจ้ ่าย ใหส้ ว่ นราชการที่เปน็ ผจู้ ัด
ฝึกอบรมเทียบตาํ แหนง่ ดังนี้

(1) ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมในการฝึกอบรมขา้ ราชการประเภท ก ให้เทยี บได้ไมเ่ กนิ สทิ ธขิ องข้าราชการ
ตําแหนง่ ประเภทบริหารระดับสงู

(2) ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมในการฝกึ อบรมข้าราชการประเภท ข ใหเ้ ทยี บไดไ้ มเ่ กนิ สิทธิของขา้ ราชการ
ตําแหนง่ ประเภทอํานวยการระดบั ตน้

3

คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั ฝึกอบรม ไดแ้ ก่ ๓

1. ค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกบั การใช้และการตกแต่งสถานทฝี่ กึ อบรม

2. ค่าใช้จ่ายในพธิ เี ปิด-ปิด การฝกึ อบรม

3. คา่ วัสดุ เคร่ืองเขยี น และอุปกรณ์

4. คา่ ประกาศนียบัตร

5. คา่ ถา่ ยเอกสาร คา่ พมิ พเ์ อกสาร และสิ่งพิมพ์

6. ค่าหนังสือสําหรับผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม

7. ค่าใชจ้ ่ายในการตดิ ตอ่ สือ่ สาร

8. คา่ เช่าอุปกรณ์ต่างๆ ในการฝึกอบรม

9. ค่าอาหารว่างและเคร่อื งดืม่

*** คา่ ใชจ้ ่ายตามข้อ 1 – 9 ให้เบกิ จา่ ยไดเ้ ท่าทจ่ี า่ ยจริง ตามความจาํ เปน็ เหมาะสมและประหยัด

10. คา่ กระเปา๋ หรอื สงิ่ ท่ใี ชบ้ รรจุเอกสารสําหรบั ผ้เู ข้ารบั การฝกึ อบรม ให้เบิกได้เทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ ไม่เกนิ อัตรา ใบละ

300 บาท

11. ค่าของสมนาคุณในการดูงาน ให้เบิกไดเ้ ทา่ ท่จี า่ ยจริง แห่งละไม่เกิน 1,500 บาท

12. คา่ สมนาคณุ วทิ ยากร

13. คา่ อาหาร

14. คา่ เชา่ ทพ่ี กั

15. คา่ ยานพาหนะ

***ค่าใช้จ่ายตามข้อ 12 – 15 ให้เบกิ ตามหลักเกณฑแ์ ละอัตราตามท่ีกาํ หนดไว้ในระเบียบ

หมายเหตุ

1. รายการค่าใช้จ่ายต้องดาํ เนินการจัดซอ้ื จัดจ้าง ตามพระราชบัญญัตกิ ารจดั ซอ้ื จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดุภาครฐั

พ.ศ. 2560 ยกเว้น คา่ อาหาร ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองด่ืม ค่าเชา่ ทพ่ี กั

2. กระเป๋าหรือส่งิ ท่ีใช้บรรจุเอกสารใหเ้ ฉพาะผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมเทา่ น้ัน

ความหมายของวทิ ยากร
วทิ ยากร ใหค้ าํ นิยามได้ดงั นี้
1. ผูบ้ รรยาย
2. ผู้อภิปราย
3. ผู้ทําหน้าทใี่ หค้ วามรู้ (วิทยากรประจํากลมุ่ )
4. ผู้ดําเนนิ การอภปิ ราย

ประเภทของวิทยากร ลกู จ้างของส่วนราชการ
1. วทิ ยากรทีเ่ ป็นบุคลากรของรฐั หมายถึง ขา้ ราชการทุกประเภทรวมท้ังพนกั งาน
รฐั วสิ าหกจิ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ
2. วทิ ยากรทีเ่ ปน็ บุคคลภายนอก หมายถงึ วทิ ยากรทีม่ ิใชบ่ คุ คลตามข้อ 1

4

ค่าสมนาคุณวิทยากร
การจา่ ยคา่ สมนาคุณวิทยากรใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑแ์ ละอตั รา ดงั นี้
1. หลักเกณฑก์ ารจ่ายค่าสมนาคณุ วิทยากร

(ก) ช่ัวโมงการฝึกอบรมทมี่ ลี กั ษณะการบรรยาย ใหจ้ า่ ยค่าสมนาคุณวทิ ยากรได้ไมเ่ กนิ 1 คน
(ข) ชว่ั โมงการฝกึ อบรมที่มลี กั ษณะเปน็ การอภิปรายหรอื สมั มนาเปน็ คณะ ใหจ้ ่ายค่าสมนาคณุ วิทยากรได้
ไมเ่ กนิ 5 คน โดยรวมถึงผดู้ ําเนินรายการอภิปรายหรอื สมั มนาทท่ี ําหนา้ ทเ่ี ช่นเดียวกับวิทยากรด้วย
(ค) ชว่ั โมงการฝกึ อบรมทม่ี ีลักษณะเปน็ การแบง่ กลุ่มฝกึ ภาคปฏบิ ัติ แบง่ กลุม่ อภปิ รายหรือสัมมนาหรือ
แบง่ กลุ่มทํากจิ กรรม ซ่งึ กาํ หนดไวใ้ นโครงการหรือหลักสตู รการฝกึ อบรมและจาํ เป็นต้องมวี ิทยากรประจํากลมุ่ ให้
จ่ายค่าสมนาคณุ วทิ ยากรได้ไมเ่ กนิ กลุ่มละ 2 คน
(ง) ชวั่ โมงการฝึกอบรมใดมวี ทิ ยากรเกนิ กว่าจาํ นวนทีก่ าํ หนดไว้ตาม (ก) (ข) หรือ (ค) ให้เฉล่ียจา่ ยค่า
สมนาคุณวทิ ยากรไมเ่ กินภายในจํานวนเงินทีจ่ า่ ยไดต้ ามหลักเกณฑ์
(จ) การนบั ช่วั โมงการฝกึ อบรมให้นับตามเวลาทกี่ าํ หนดในตารางการฝึกอบรม โดยไมต่ อ้ งหกั เวลาพัก
รับประทานอาหารวา่ งและเครอ่ื งดื่ม แต่ละช่ัวโมงการฝึกอบรมต้องมกี าํ หนดเวลาการฝึกอบรมไม่นอ้ ยกวา่ หา้ สิบ
นาที กรณีกาํ หนดเวลาการฝึกอบรมไม่ถึงห้าสิบนาที แต่ไมน่ ้อยกว่าย่สี บิ ห้านาที ใหจ้ า่ ยค่าสมนาคุณวทิ ยากรไดก้ งึ่
หน่ึง
2. อตั ราค่าสมนาคณุ วิทยากร
(ก) วทิ ยากรทีเ่ ปน็ บคุ ลากรของรฐั ไมว่ า่ จะสังกดั สว่ นราชการที่จดั การฝกึ อบรมหรือไมก่ ต็ าม ใหไ้ ด้รบั ค่า
สมนาคณุ สาหรับการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ก ไมเ่ กินชว่ั โมงละ 800 บาท ส่วนการฝึกอบรมข้าราชการ
ประเภท ข และการฝกึ อบรมบุคคลภายนอก ใหไ้ ด้รับค่าสมนาคุณไม่เกนิ ชั่วโมงละ 600 บาท
(ข) วทิ ยากรทไี่ มใ่ ช่บคุ คลตาม (ก) ให้ได้รบั ค่าสมนาคณุ สาํ หรบั การฝกึ อบรมขา้ ราชการประเภท ก ไม่เกิน
ช่วั โมงละ 1,600 บาท สว่ นการฝึกอบรมข้าราชการประเภท ข และการฝกึ อบรมบุคคลภายนอก ใหไ้ ดร้ ับคา่
สมนาคุณไมเ่ กินช่วั โมงละ 1,200 บาท
(ค) กรณที ่จี าํ เปน็ ตอ้ งใช้วทิ ยากรทมี่ ีความรู้ ความสามารถ และประสบการณเ์ ป็นพิเศษเพื่อประโยชน์ใน
การฝึกอบรมตามโครงการหรอื หลกั สตู รท่ีกําหนด จะให้วิทยากรไดร้ บั คา่ สมนาคณุ สูงกวา่ อัตราท่ีกําหนดตาม (ก)
หรือ (ข) ก็ได้ โดยให้อย่ใู นดุลพินจิ ของหัวหนา้ ส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ
(ง) การฝกึ อบรมทส่ี ว่ นราชการจัดหรือจัดรว่ มกบั หน่วยงานอืน่ ถา้ วิทยากรไดร้ บั คา่ สมนาคณุ จาก
หน่วยงานอนื่ แล้ว ใหส้ ว่ นราชการที่จัดการฝกึ อบรมงดเบกิ ค่าสมนาคณุ จากสว่ นราชการท่จี ดั การฝกึ อบรม เว้นแต่
จะทําความตกลงกบั กระทรวงการคลังเป็นอยา่ งอืน่
3. การจ่ายคา่ สมนาคุณวิทยากรใหใ้ ชแ้ บบใบสําคัญรบั เงินสาํ หรบั วทิ ยากร (เอกสารหมายเลข 1 ภาคผนวก) เป็น
หลักฐานการจา่ ย

5

อตั ราค่าสมนาคณุ วิทยากร วิทยากรทเ่ี ป็นบุคลากรของรฐั วทิ ยากรทเ่ี ป็นบคุ คลภายนอก
ประเภทการฝกึ อบรม ไมเ่ กินชวั่ โมงละ 800 บาท ไม่เกนิ ช่ัวโมงละ 1,600 บาท
การฝึกอบรมประเภท ก ไม่เกินช่วั โมงละ 600 บาท ไม่เกินชั่วโมงละ 1,200 บาท
การฝึกอบรมประเภท ข
และการฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก

ค่าอาหารว่างและเคร่ืองด่มื

การจดั ฝึกอบรมถา้ มีการจัดอาหารวา่ งและเครอื่ งดม่ื ให้ในระหวา่ งการฝึกอบรมให้เบกิ จ่ายเท่าทีจ่ า่ ยจรงิ

ตามความจาํ เป็น เหมาะสม และประหยดั

มตคิ ณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2556 เหน็ ชอบกําหนดอัตราค่าอาหารว่างและเครอื่ งดืม่ สาํ หรบั

การฝกึ อบรม ดังนี้

อตั ราคา่ อาหารวา่ งและเครอ่ื งดื่ม

สถานท่ีราชการ (บาท/มื้อ/คน) สถานท่เี อกชน (บาท/ม้อื /คน)

ไมเ่ กิน 35 บาท ไม่เกิน 50 บาท

หมายเหตุ : การเบกิ คา่ อาหารวา่ งและเครอื่ งดม่ื ตามระเบยี บฯใหเ้ บกิ ไดเ้ ท่าที่จา่ ยจรงิ แตเ่ นื่องจาก
มมี าตรการบรรเทาผลกระทบฯ ใหเ้ บกิ ในอัตราไม่เกิน 35 บาท (สถานท่รี าชการ) ไม่เกนิ 50 บาท (สถานทเ่ี อกชน)
จึงใหเ้ บกิ จ่ายตามมาตรการแตห่ ากสว่ นราชการผจู้ ัดไมส่ ามารถปฏิบตั ติ ามมาตรการฯ ได้ ให้ขออนุมตั หิ วั หนา้ ส่วน
ราชการเจา้ ของงบประมาณ เพื่อขอเบกิ จา่ ยเกินกว่ามาตรการฯ

การเบกิ จ่ายคา่ อาหาร
1. กรณที ี่สว่ นราชการผู้จดั ฝกึ อบรมจัดอาหารและออกคา่ ใชจ้ ่าย ใหใ้ ช้ดุลพนิ จิ โดยคํานงึ ถงึ ความจําเปน็ เหมาะสม
ประหยัด มีหลกั เกณฑด์ ังนี้

1.1 การจัดอาหารใหจ้ ัดในชว่ งระหว่างการฝึกอบรม
1.2 กรณจี ําเปน็ ต้องพักแรมในชว่ งระหวา่ งการฝกึ อบรม ใหส้ ่วนราชการผจู้ ัดฝกึ อบรมสามารถจัดอาหาร
เชา้ กลางวนั เย็น ให้กบั ผู้ทพี่ ักแรมได้
1.3 กรณีมีความจําเป็นตอ้ งจัดอาหารให้เฉพาะวทิ ยากรโดยไม่จัดใหก้ บั บคุ คลอนื่ ใหอ้ ยู่ในดลุ พนิ จิ ของ
หวั หนา้ สว่ นราชการ โดยพจิ ารณาตามความจาํ เป็นและเหมาะสม
1.4 ในโครงการหรือหลกั สตู รการฝึกอบรมทม่ี กี ารจดั อาหารใหแ้ ก่ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรม ให้เบกิ ค่าอาหาร
ไดเ้ ทา่ ทจี่ า่ ยจริงแตไ่ มเ่ กินอตั ราตามบัญชีหมายเลข 1 ดงั น้ี

6
บัญชีหมายเลข 1

อัตราค่าอาหารในการฝกึ อบรม
บาท : คน : วัน

การฝึกอบรมในสถานท่ขี องทางราชการ การฝึกอบรมในสถานที่ของเอกชน

ประเภท /รัฐวิสาหกิจ/หน่วยงานอ่นื ของรฐั
การฝึกอบรม
ในประเทศ ในต่าง ในประเทศ ในต่าง
ระเบียบ ประ ประ
จดั ครบทกุ ม้ือ จดั ไมค่ รบทุกมื้อ เทศ จัดครบทกุ ม้ือ จัดไม่ครบทุกมอื้ เทศ
การฝึกอบรม
ข้าราชการประเภท ก ฉ.3 ว.5 ฉ.3 ว.5 ฉ.3 ว.5 ฉ.3 ว.5 ไมเ่ กนิ
การฝกึ อบรม (2555) (2555) (2555) (2555) 2,500
ขา้ ราชการประเภท ข ไมเ่ กนิ
การฝกึ อบรม ไม่เกนิ ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกิน ไม่เกนิ ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไม่เกิน 2,500
บคุ คลภายนอก
700 850 500 600 2,500 1,000 1,200 700 850

ไม่เกิน ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไม่เกิน ไม่เกิน ไมเ่ กิน

500 600 300 400 2,500 800 950 600 700

ไม่เกนิ - ไมเ่ กิน - ไม่เกนิ - ไม่เกิน -

500 300 800 600

หมายเหตุ : 1. ฉ3 (2555) คือ ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยคา่ ใช้จา่ ยในการฝึกอบรม การจัดงานและการประชมุ ระหว่าง
ประเทศ พ.ศ. 2549 แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2555

2. ว5 คอื หนงั สือกระทรวงการคลังด่วนที่สุด ที่ กค 0406.4/ว5 ลงวนั ที่ 14 มกราคม 2556 เรอื่ งมาตรการบรรเทา
ผลกระทบจากการปรับอตั ราคา่ จ้างขน้ั ต่ําปี 2556

2. การจัดการฝึกอบรมทีส่ ว่ นราชการท่จี ดั การฝกึ อบรมไมจ่ ดั อาหาร ที่พัก หรอื ยานพาหนะ ทั้งหมดหรือจดั ให้
บางส่วน ให้ส่วนราชการผจู้ ดั ฝึกอบรมเบกิ จ่ายคา่ ใชจ้ า่ ยทง้ั หมดหรือสว่ นที่ขาดใหแ้ ก่ ประธานในพิธเี ปดิ -ปิดการ
ฝกึ อบรมและผตู้ ดิ ตาม แขกผู้มเี กียรตแิ ละผตู้ ิดตาม เจ้าหน้าทผี่ ไู้ ดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏบิ ัตหิ นา้ ทใ่ี นการจัดฝกึ อบรม
วทิ ยากร ผเู้ ข้ารับการฝกึ อบรม และผูส้ งั เกตการณ์ แตถ่ ้าผู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมหรือผสู้ งั เกตการณ์เปน็ บุคลากรของ
รัฐใหเ้ บิกจ่ายจากตน้ สงั กดั ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธีการทีก่ าํ หนด ดงั น้ี

2.1 คา่ เชา่ ทพ่ี กั ใหเ้ บิกคา่ เชา่ ท่พี กั ไดเ้ ท่าที่จา่ ยจรงิ แตไ่ ม่เกนิ อัตราตามบัญชหี มายเลข 2 และ 3 โดยมี
หลักเกณฑ์ ดังนี้

(1) ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมประเภท ข และบคุ คลภายนอก ผู้สงั เกตการณแ์ ละเจ้าหนา้ ท่ตี าํ แหน่งประเภท
อํานวยการระดบั ต้น ประเภทวิชาการระดับปฏบิ ัตกิ าร ชาํ นาญการ ชํานาญการพเิ ศษ ประเภททวั่ ไป ระดบั
ปฏบิ ตั ิงาน ชาํ นาญงาน อาวโุ ส โดยให้พักรวมกันตั้งแต่ 2 คนขนึ้ ไปให้พกั ห้องพกั คู่ เว้นแต่ไมเ่ หมาะสมหรอื มีเหตุ
จําเปน็ ไม่อาจพกั ร่วมกับผ้อู ่ืนได้ หวั หนา้ สว่ นราชการผูจ้ ดั ฝกึ อบรมอาจจัดใหพ้ ักห้องพกั คนเดยี วได้

(2) ผ้สู ังเกตการณแ์ ละเจา้ หน้าทต่ี าํ แหน่ง ประเภทบรหิ ารระดับตน้ ระดบั สูง หรอื ตาํ แหนง่ ทีเ่ ทยี บเทา่
ตาํ แหนง่ ประเภทอาํ นวยการระดบั สูง ประเภทวิชาการ ระดบั เช่ยี วชาญ ทรงคุณวุฒิ ประเภททว่ั ไป ระดบั ทกั ษะ
พิเศษ อาจจดั ให้พักหอ้ งพักคนเดียวก็ได้

(3) สําหรับประธานในพธิ ีเปดิ – ปิด แขกผูม้ เี กยี รติและผตู้ ดิ ตาม หรือวทิ ยากร ใหพ้ กั หอ้ งพกั คนเดียวหรอื
หอ้ งพักค่กู ็ได้ และเบิกค่าเชา่ ทีพ่ ักได้ไมเ่ กินอัตราตามประเภทการจดั ฝึกอบรม

7

บัญชีหมายเลข 2

อตั ราคา่ เชา่ ทพ่ี กั ในการฝกึ อบรมในประเทศ

บาท : คน : วนั

ประเภทการฝึกอบรม อัตราคา่ เชา่ ห้องพกั คนเดยี ว อัตราคา่ เช่าหอ้ งพกั คู่
ระเบยี บ
ประเภท ก ฉ.3 (2555) ว.5 ฉ.3 (2555) ว.5
ประเภท ข
ไมเ่ กนิ 2,000 ไม่เกิน 2,400 ไมเ่ กิน 1,100 ไม่เกิน 1,300
บคุ คลภายนอก
ไม่เกิน 1,200 ไมเ่ กนิ 1,450 ไมเ่ กนิ 750 ไม่เกิน 900

ไม่เกิน 1,200 - ไมเ่ กนิ 750

บัญชหี มายเลข 3

อัตราคา่ เชา่ ทีพ่ กั ในการฝกึ อบรมในต่างประเทศ

บาท : คน : วัน

การฝึกอบรมใน รัฐ เมอื ง ประเภท ก

ประเภทการฝึกอบรม อตั ราคา่ เชา่ หอ้ งพักคนเดียว อตั ราค่าเช่าหอ้ งพักคู่

ประเภท ก ไม่เกนิ 8,000 ไม่เกนิ 5,600

ประเภท ข ไม่เกิน 6,000 ไมเ่ กนิ 4,200

บัญชหี มายเลข 3

อตั ราคา่ เชา่ ท่พี กั ในการฝึกอบรมในตา่ งประเทศ

บาท : คน : วัน

การฝกึ อบรมใน รฐั เมือง ประเภท ข

ประเภทการฝกึ อบรม อัตราค่าเช่าหอ้ งพกั คนเดียว อตั ราคา่ เช่าหอ้ งพักคู่

ประเภท ก ไม่เกนิ 5,600 ไมเ่ กนิ 3,900

ประเภท ข ไม่เกิน 4,000 ไม่เกนิ 2,800

บญั ชหี มายเลข 3

อตั ราคา่ เชา่ ทพ่ี กั ในการฝึกอบรมในต่างประเทศ

บาท : คน : วนั

การฝกึ อบรมใน รัฐ เมอื ง ประเภท ค

ประเภทการฝกึ อบรม อตั ราค่าเชา่ หอ้ งพกั คนเดยี ว อตั ราค่าเชา่ หอ้ งพกั คู่

ประเภท ก ไมเ่ กิน 3,600 ไมเ่ กนิ 2,500

ประเภท ข ไม่เกนิ 2,400 ไมเ่ กนิ 1,700

หมายเหตุ ประเภท ก ข และ ค หมายถงึ ประเทศ รฐั เมอื ง ตามบญั ชแี นบทา้ ยในภาคผนวก

2.2 คา่ เบี้ยเล้ยี ง ตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่ีกาํ หนด ดงั น้ี

จดั อาหารครบทกุ มอ้ื จดั อาหาร 2 ม้ือ จัดอาหาร 1 มอื้

งดเบิก เบิกได้ไมเ่ กิน 1 ใน 3 ของอัตรา เบิกได้ไมเ่ กิน 2 ใน 3 ของอตั รา

เบี้ยเลยี้ งเดนิ ทางเหมาจ่าย เบย้ี เล้ียงเดนิ ทางเหมาจ่าย

8

การนบั เวลาเพอื่ คานวณเบยี้ เล้ยี งเดินทางกรณีระหวา่ งการฝึกอบรมมีการจดั อาหาร

ให้นับต้ังแตเ่ วลาทีเ่ ดินทางออกจากสถานทีอ่ ยู่หรือสถานทีป่ ฏิบัติราชการปกตจิ นกลับถึงสถานทีอ่ ยู่หรือ

สถานทปี่ ฏิบตั ริ าชการปกติ แลว้ แตก่ รณีโดยใหน้ ับ 24 ชว่ั โมงเปน็ 1 วนั ถ้าไมถ่ ึง 24 ช่ัวโมงหรือเกิน 24 ชวั่ โมง

และสว่ นท่ีไม่ถึง 24 ชว่ั โมงหรือเกนิ 24 ช่วั โมงนนั้ ถา้ เกินกวา่ 12 ชว่ั โมงให้ถือเป็นเป็น 1 วนั แลว้ นําจาํ นวนวนั

ทัง้ หมดมาคูณกับอัตราเบยี้ เล้ยี งเดินทาง ในกรณีทีผ่ ู้จัดการฝกึ อบรมจดั อาหารบางมอ้ื ในระหวา่ งการฝกึ อบรมให้หกั

เบย้ี เลย้ี งเดนิ ทางท่ีคํานวณไดใ้ นอตั รามอื้ ละ 1 ใน 3 ของอตั ราเบ้ยี เลี้ยงเดินทางต่อวนั

ตวั อย่าง นางสาว ซ่อนยา่ ข้าราชการระดบั ปฏบิ ัตกิ าร ออกเดินทางจากบ้านพกั วนั ที่ 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2556

เวลา 07.00 น. เพื่อเขา้ รับการฝกึ อบรมฯ ระหว่างวนั ที่ 8 -10 กมุ ภาพันธ์ 2556 เปิดการฝึกอบรมและเร่ิมการ

ลงทะเบยี นวนั ท่ี 8 กมุ ภาพนั ธ์ 2556 เวลา 08.00 – 09.30 น. และปดิ การฝกึ อบรม ในวันท่ี 10 กมุ ภาพันธ์ 2556

เวลา 16.30 น. เดนิ ทางกลับถงึ บา้ นพกั วนั ท่ี 10 กุมภาพนั ธ์ 2556 เวลา 20.00 น. ในระหว่างการจดั อบรมมีการ

จดั เล้ียงอาหารกลางวนั ทุกวัน

คานวณเบย้ี เลย้ี ง ดังนี้

วนั ที่ 7 ก.พ. 56 เวลา 07.00 น. - วนั ท่ี 10 ก.พ. 56 เวลา 20.00 น. = 3 วัน 13 ชั่วโมง คดิ เป็นจํานวนวนั ที่จะ

ได้รับเบย้ี เลย้ี งเดนิ ทาง 4 วนั

นางสาว ก จะได้รบั เบี้ยเลย้ี ง ดังน้ี

เบี้ยเล้ยี งทัง้ หมด (4 x 240) = 960 บาท

หัก ค่าอาหารที่ผ้จู ัดอบรมจดั เลยี้ ง 3 ม้อื (3 x 80) = 240 บาท

รวมเบกิ เบีย้ เลย้ี งท้งั ส้นิ (960 – 240) = 720 บาท

หมายเหตุ ให้ทาํ รายงานการเดนิ ทาง พรอ้ มทงั้ แนบโครงการหรือหลักสตู รการฝึกอบรมและหลกั ฐานการอนุมัติให้

เดนิ ทางไปฝกึ อบรมประกอบการขอเบิกเงิน

2.3 คา่ พาหนะเดินทาง กรณีส่วนราชการผูจ้ ัดฝกึ อบรมจดั พาหนะก่อน ระหว่างหรอื หลงั การฝกึ อบรม ให้

เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์โดยให้เบกิ จ่ายเทา่ ที่จา่ ยจริงตามความจาํ เปน็ เหมาะสม และประหยัด ดงั นี้

(1) ใช้ยานพาหนะของสว่ นราชการเอง หรือยืมจากสว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานอืน่ ให้เบกิ จ่ายคา่ นํ้ามนั

เชื้อเพลงได้เท่าท่จี ่ายจริง

(2) ยานพาหนะประจาํ ทางหรอื เชา่ เหมายานพาหนะ ให้จดั ตามพระราชกฤษฎีกาค่าใชจ้ า่ ยในการ

เดินทางโดยอนโุ ลม ดังน้ี

- การฝกึ อบรมประเภท ก ใหจ้ ดั ตามสทิ ธิข้าราชการตาํ แหนง่ ประเภทบรหิ ารระดบั สงู เว้นแตก่ ารเดินทาง

โดยเครอื่ งบินใหใ้ ชช้ น้ั ธุรกจิ กรณไี มส่ ามารถเดนิ ทางได้ใหเ้ ดินทางโดยชนั้ หนึ่ง

- การฝึกอบรมประเภท ข ให้จัดตามสิทธิข้าราชการตําแหน่งประเภททวั่ ไประดบั ชํานาญงาน

- การฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก ใหจ้ ดั ยานพาหนะตามสทิ ธิของข้าราชการตําแหนง่ ประเภททั่วไประดับ

ปฏิบัตงิ าน

*** การเบกิ จ่ายค่าใช้จา่ ยจากต้นสงั กดั จะทาํ ได้เมอื่ ส่วนราชการทจ่ี ดั การฝกึ อบรมร้องขอและส่วน

ราชการตน้ สงั กัดตกลงยนิ ยอม

9

ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกับการฝึกอบรมบุคคลภายนอก

กรณีผูจ้ ัดการฝึกอบรม ไม่จัดอาหาร ทพี่ ักหรอื ยานพาหนะ ทั้งหมดหรือบางส่วน ใหผ้ ู้จัดการฝึกอบรมเบิก

คา่ ใชจ้ ่ายให้แก่ผู้เขา้ รับการฝึกอบรม ดงั นี้

(1) คา่ อาหาร

ไมจ่ ดั อาหาร 3 มือ้ จัดอาหาร 1 มอ้ื จัดอาหาร 2 ม้อื

เหมาจา่ ยไดไ้ มเ่ กินคนละ เหมาจ่ายได้ไม่เกนิ คนละ เหมาจ่ายไดไ้ ม่เกนิ คนละ 80

240 บาทต่อวัน 160 บาทต่อวนั บาทต่อวัน

(2) ค่าพาหนะเดนิ ทาง ให้เบกิ จ่ายตามสทิ ธิของขา้ ราชการตาํ แหน่งประเภททัว่ ไป ระดบั ปฏิบตั ิงาน

(3) คา่ เชา่ ทพี่ ักใหเ้ บิกเหมาจา่ ยไม่เกนิ คนละ 500 บาท ต่อวนั

การเบกิ จ่ายค่าลงทะเบยี น
ค่าใชจ้ ่ายทเ่ี ปน็ คา่ ลงทะเบยี น ค่าธรรมเนยี ม หรอื ค่าใชจ้ า่ ยทํานองเดยี วกันทเี่ รียกชอ่ื อย่างอื่น ให้ผู้เข้ารบั
การฝึกอบรมเบกิ จา่ ยไดเ้ ทา่ ท่จี า่ ยจรงิ แต่ไมเ่ กนิ อัตราทีส่ ว่ นราชการหรอื หน่วยงานทีจ่ ดั การฝึกอบรมเรียกเกบ็ ดงั น้ี

- กรณคี า่ ลงทะเบียนได้รวมค่าอาหาร ค่าเชา่ ทีพ่ ัก หรือคา่ พาหนะไวท้ ั้งหมดแลว้ ให้ผเู้ ขา้ รับการ
ฝกึ อบรมหรอื ผสู้ ังเกตการณ์งดเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยดังกล่าว

- กรณีค่าลงทะเบียนไม่รวมค่าอาหาร คา่ เชา่ ทีพ่ ัก หรอื ค่าพาหนะ หรอื รวมไว้บางสว่ น ใหผ้ ู้เข้ารบั การ
ฝกึ อบรมหรอื ผู้สงั เกตการณ์เบกิ คา่ ใช้จา่ ยดงั กลา่ วท้ังหมดหรอื เฉพาะสว่ นท่ีขาดไดต้ ามหลักเกณฑ์ที่กําหนดไวใ้ น
ระเบยี บฯ ข้อ 18

การจ้างจดั ฝึกอบรม
กรณสี ่วนราชการทีจ่ ดั การฝึกอบรมประสงค์จะจ้างจดั ฝกึ อบรมในโครงการหรือหลักสูตรการฝึกอบรมไมว่ ่า
ทั้งหมดหรอื บางสว่ นให้ดาํ เนนิ การไดต้ ามหลกั เกณฑ์และอตั ราค่าใชจ้ ่ายตามระเบียบนี้
การจา่ ยเงนิ ค่าจา้ งจดั ฝกึ อบรมให้ใชใ้ บเสร็จรับเงินของผู้รับจา้ งเป็นหลักฐานการจา่ ยแต่ถ้าเปน็ การจ่ายเงนิ
โดยกรมบญั ชกี ลางเพ่ือเขา้ บญั ชีให้กับผรู้ บั จ้างหรือผูม้ ีสทิ ธริ ับเงนิ โดยตรงให้ใชร้ ายงานในระบบตามท่ี
กระทรวงการคลังกําหนดเปน็ หลักฐานการจ่าย

หลกั ฐานประกอบการเบิกจ่ายเงิน มีดังนี้
เอกสารประกอบการเบิกคา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม มีดังนี้
1. โครงการฝกึ อบรมท่ไี ด้รับการอนมุ ตั ิ
2. สาํ เนาสัญญายมื เงิน
3. บนั ทึกขออนมุ ัตเิ ดนิ ทาง (ใช้ในกรณกี ารเดินทางไปจดั ฝกึ อบรมนอกสถานทฯี่ )
4. แบบรายงานการเดินทางไปราชการ
5. เอกสารอืน่ ทเี่ ก่ยี วข้อง (ถา้ มี) เช่น ตารางการฝึกอบรม (กําหนดการฝึกอบรมหรือหลักสตู รกา ร
ฝึกอบรม)

10

หลักฐานประกอบการเบิกคา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรม ควรมีรายละเอยี ด ดังน้ี

ประเภทค่าใชจ้ า่ ย หลกั ฐานประกอบการเบิกจา่ ย

1. คา่ อาหาร 1. ใบเสร็จรับเงนิ หรอื ใบสาํ คัญรบั เงิน(ภาคผนวก)พร้อมแนบสาํ เนาบตั รประชาชนของผ้รู บั จ้าง

อาหารว่างและ 2. ลายมอื ชื่อผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมในแต่ละวัน ยกเวน้ ประธานในพิธเี ปดิ ปิด การฝึก อบรม

เครอ่ื งด่มื วิทยากร แขกผู้มีเกยี รตแิ ละผ้ตู ดิ ตาม (แต่ต้องมีรายละเอียดให้งานการเงินฯ ทราบ)

2. คา่ สมนาคณุ 1. ใบสําคญั รับเงนิ สําหรับวทิ ยากร ใหใ้ ชต้ ามแบบฟอรม์ ทีก่ ระทรวงการคลังกาํ หนดไว้ท้าย

วิทยากร ระเบียบ ฉบบั ที่ 3 พ.ศ. 2555 (เอกสารหมายเลข 1)

2. สําเนาหนังสอื เชิญ หรอื หนังสือตอบรบั การเปน็ วิทยากร

หมายเหตสุ าํ เนาบตั รประชาช/บนัตรประจาํ ตวั เจา้ หนา้ ท่ีของรจฐัะใชใ้ นกรณที ี่ส่วนราชการต้องการหลักฐาน

เพ่อื ใหเ้ ป็นไปตามหลกั การควบคุมภายในของสว่ นราชกาเนรนอ่ื ั้นงจๆากระเบียบฯไม่ไดก้ าํ หนดไว้

3. คา่ วัสดุฝกึ อบรม ใบสาํ คัญค่าวัสดฝุ ึกอบรม ประกอบด้วย

- แบบอนมุ ัติจดั ซือ้ จดั จา้ ง

- ใบเสนอราคา

- ใบสั่งซ้ือ สั่งจ้าง

- ใบสง่ ของ

- แบบสรุปความเห็นเพ่ือเสนอผมู้ อี าํ นาจรบั ราคา/คําสง่ั แต่งตั้งกรรมการตรวจรับ

- ใบตรวจรบั พัสดุ

- ใบเสร็จรับเงนิ

4. ค่าพาหนะ 1. ใบรับรองแทนใบเสร็จรบั เงิน (แบบ บก.111/4231) (ภาคผนวก) ใช้ในกรณดี ังต่อไปนี้

- การจา่ ยเงนิ รายหน่งึ ๆ เป็นจํานวนเงนิ ไมถ่ งึ สบิ บาท

- การจา่ ยเงนิ ค่ารถ หรอื คา่ เรือรับจ้าง

- การจา่ ยเงนิ เปน็ ค่าโดยสารรถไฟ รถยนตป์ ระจาทาง หรือเรอื ยนตป์ ระจาํ ทาง

การใชใ้ บรับรองแทนใบเสร็จรับเงนิ กรณีดงั กลา่ วข้างผตูจ้ ้น่ายเงินไมต่ อ้ งชีแ้ จงเหตุผลที่ไม่อาจเรียกใบเสร็จรับเงินได้

2. การเบิกคา่ นํา้ มันเชอื้ เพลงิ ใช้หลักฐานประกอบการเบิกจ่ายดงั น้ี

- ใบเสร็จรับเงนิ

- สาํ เนาใบขออนญุ าตใช้รถสว่ นกลาง

3. กรณีผู้จดั การอบรม ประสงคจ์ ะเบกิ คา่ พาหนะสว่ นตัวให้กบั วทิ ยากร ให้ผู้จัดการฝึกอบรม

ขออนุมตั ิคา่ ใช้จ่ายคา่ พาหนะส่วนตัวของวทิ ยากรไวใ้ นโครงการด้วย

5. คา่ เชา่ ทพี่ ัก 1. ใบเสรจ็ รับเงนิ ต้องมสี าระสําคัญอย่างนอ้ ยดงั นี้

- ชอ่ื สถานที่อยู่ หรือทที่ าํ การของผู้รบั เงิน

- วัน เดือน ปี ทีร่ ับเงนิ

- รายการแสดงการรับเงินระบวุ า่ เปน็ ค่าอะไร

- จํานวนเงนิ เป็นตัวเลข และตัวอักษร

- ลายมอื ชอื่ ผ้รู บั เงิน

2. ใบแจ้งรายการของท่ีพกั (Folio) แสดงรายชื่อ วนั ท่เี ข้า-ออก จํานวนเงินของผู้เขา้ พัก

6. คา่ เบีย้ เลีย้ ง แบบใบเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชก(าแรบบ8708) ในกรณที ว่ี ิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ
7.คา่ ใช้จา่ ยอ่นื ๆเช่น
ค่าจา้ งถ่ายเอกสาร ใบเสร็จรบั เงิน ใบสําคญั รับเงิน และหลกั ฐานตาม ข้อ 3

คา่ เชา่ ห้องประชุมและ
อปุ กรณต์ ่างๆฯลฯ

11

ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั งาน
ใหห้ ัวหนา้ สว่ นราชการพจิ ารณาอนุมัตกิ ารเบิกจ่ายคา่ ใช้จา่ ยในการจดั งานไดเ้ ทา่ ที่จ่ายจรงิ ตามความ

จาํ เป็นเหมาะสมและประหยัด
กรณที ส่ี ว่ นราชการทจ่ี ัดงานจัดอาหาร ทีพ่ ัก หรือยานพาหนะ ใหแ้ กป่ ระธานในพธิ ี แขกผู้มีเกยี รติ

ผู้ตดิ ตาม เจ้าหนา้ ท่ีหรือผ้เู ข้าร่วมงาน ให้ส่วนราชการทจี่ ัดถอื ปฏบิ ตั ิเชน่ เดยี วกบั ค่าใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม
กรณีจ้างจดั งานให้ดําเนนิ การตามกฎหมายและระเบียบทีเ่ กยี่ วข้องกับการพัสดุ โดยใชใ้ บเสร็จรับเงินของผู้

รบั จา้ งเปน็ หลักฐานการจ่าย

ค่าใชจ้ า่ ยในการประชมุ ระหวา่ งประเทศ
เงื่อนไข
1. จดั ในประเทศไทย
2. จดั ร่วมกัน 2 ประเทศขึน้ ไป
3. มีผแู้ ทนจาก 2 ประเทศขน้ึ ไปเข้ารว่ มประชุมหรอื สมั มนา

หลกั เกณฑ์
1. เป็นคา่ ใชจ้ ่ายทเ่ี กิดขน้ึ กอ่ น ระหว่าง หลังการจัดประชุม
2. เบิกเทา่ ทจี่ ่ายจรงิ ตามความจาํ เปน็ เหมาะสม และประหยัด ยกเวน้

2.1 ค่าสมนาคุณวทิ ยากรเบกิ จ่ายตามหลกั เกณฑแ์ ละอตั ราทเ่ี หมาะสม โดยอยูใ่ นดลุ พินจิ ของหัวหนา้ สว่ น
ราชการเจา้ ของงบประมาณ

2.2 คา่ เงินรางวลั ของเจ้าหน้าท่ี จา่ ยเฉพาะวนั ที่ปฏบิ ตั ิงานคนละไม่เกนิ 200 บาทต่อวนั
2.3 ค่าอาหาร และเครื่องด่ืม

- กรณีจดั ครบทกุ ม้อื ไมเ่ กนิ คนละ 1,200 บาท/วนั
- กรณีจัดไมค่ รบทุกมอ้ื ไม่เกนิ คนละ 800 บาท/วัน
2.4 คา่ เช่าที่พัก ไมเ่ กนิ คนละ 2,000 บาท/วัน
2.5 ค่าพาหนะ เบิกจ่ายไดเ้ ท่าท่จี า่ ยจรงิ ตามความจําเปน็ และเหมาะสม โดยอยใู่ นดลุ พินจิ ของหวั หนา้ สว่ น
ราชการเจ้าของงบประมาณ
3. เจ้าหน้าทผ่ี ้ปู ฏิบตั งิ านในลักษณะพิเศษ ใหเ้ บิกจา่ ยค่าตอบแทนเฉพาะในวนั ท่ปี ฏิบัตงิ านตามหลกั เกณฑ์ที่อตั รา
และหัวหนา้ ส่วนราชการเจา้ ของงบประมาณกําหนด
4. ค่าใช้จ่ายในการลงทะเบยี น คา่ ธรรมเนียม หรือค่าใชจ้ ่ายทาํ นองเดยี วกนั ให้เบกิ จา่ ยเท่าท่ีจ่ายจริงในอตั ราที่
ผ้จู ัดการประชมุ ระหว่างประเทศเรียกเก็บ
4.1 กรณที ่รี วมค่าอาหาร ค่าเช่าที่พัก หรือค่าพาหนะของผเู้ ขา้ ร่วมประชุมไวท้ ้ังหมดให้ผู้เข้ารว่ มประชุมงด
เบิกจ่ายคา่ ใช้จ่าย
4.2 กรณีไมร่ วมค่าอาหาร ค่าเช่าทพี่ กั หรอื ค่าพาหนะ หรือรวมไว้บางส่วน ใหผ้ เู้ ข้าร่วมประชมุ เบกิ จ่าย
คา่ ใชจ้ า่ ยทัง้ หมดหรอื เฉพาะส่วนทข่ี าด
5. กรณีส่วนราชการผ้จู ดั การประชุมได้รับความชว่ ยเหลือ ค่าใช้จ่าย จากสว่ นราชการหรือหนว่ ยงานในประเทศ
หรอื ต่างประเทศ ใหเ้ บิกจา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยสมทบเฉพาะในสว่ นท่ขี าด
6. กรณีจ้างจัดการประชมุ ระหวา่ งประเทศให้ดําเนนิ การได้ โดยอยใู่ นดุลพินจิ ของหวั หนา้ ส่วนราชการเจ้าของ
งบประมาณ และใหใ้ ชใ้ บเสรจ็ รับเงินของผู้รับจ้างเปน็ หลักฐานการเบกิ จ่าย

12

แนวทางการปฏบิ ตั ิในการฝกึ อบรม/สมั มนา
การจดั ฝึกอบรม/สัมมนา มวี ธิ กี าร หรือกระบวนการตงั้ แตเ่ รมิ่ ตน้ จนกระทงั่ สําเรจ็ สรุปเปน็ กระบวนการ

หลักได้ 7 กระบวนการ ซ่งึ สามารแสดงใหเ้ หน็ ตามแผนผัง (Flowchart) ตอ่ ไปนี้

Flowchart การปฏบิ ัติในการฝกึ อบรม/สัมมนา

ลา ผังกระบวนการ รายละเอยี ดงาน มาตรฐาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ดับ กระบวนการ
โครงการฝึกอบรม - ร่างหล-ักสตู รโครงการฝกึ อบรม - ผจู้ ดั ทาํ
1 ขออนุมตั ิโครงการ - ติดต่อป- ระสานงานผทู้ ่ีเกีย่ วข้อง - ความถกู ตอ้ ง
- ทําบันทึกขออนมุ ัตโิ ครงการและ - ความครบถว้ น โครงการ
2 งบประมาณ
ของเอกสาร - ผจู้ ดั ทาํ
ไมอ่ นุมตั ิ - ตรวจส-อบเอกสารโครงการ
รายละเ-อียด กาํ หนดการฝึกอบรม - ความถกู ตอ้ ง โครงการ
3 อนมุ ตั ิ และวงเงนิ งบประมาณโครงการ - ความครบถ้วน - หวั หนา้ สว่ น
ราชการ
4 ของเอกสาร
- ผจู้ ดั ทํา
ไมอ่ นุมตั ิ จดั ทาสัญญายมื เงนิ - บนั ทึก-ขออนมุ ตั โิ ครงการพรอ้ มท้งั แนบ- ความถูกตอ้ ง
ทดรองราชการ โครงกา-รทมี่ งี บประมาณและกาํ หนดก-ารความครบถว้ น โครงการ

ตรวจสอบสญั ญา - สญั ญายมื เงนิ ทดรองราชการ ของเอกสาร - ฝา่ ย/กอง
ยมื เงิน
- ตรวจส-อบสัญญายืมเงินทดรอง - ความถกู ตอ้ ง การเงิน
ราชการ-พร้อมท้ังเอกสารแนบต่างๆ - ความครบถ้วน - ผมู้ ีอาํ นาจ
อนมุ ัติ
- ไม่อนมุ ตั สิ ง่ เร่อื งกลบั ไปแกไ้ ข ของเอกสาร
อนมุ ตั ิ - อนุมตั ไิ ด้รับเงินตามสญั ญายมื เงนิ

5 - ดําเนนิ -การดา้ นสถานทท่ี ีใ่ ชใ้ น - ความถูกตอ้ ง - ผู้จัดทาํ

การฝึก-อบรม/สมั มนา - ความครบถ้วน โครงการ
- ผทู้ ่เี ก่ยี วข้อง
ดาเนินการจัดฝกึ อบรม - ดําเนินการดา้ นวิทยากร ของเอกสาร

- ดาํ เนนิ การด้านธรุ การการจดั ฝกึ อบรม

- ดาํ เนนิ การดา้ นการเงนิ สาํ หรบั ใช้

ในการจดั ฝึกอบรม

6 - สรปุ แบ- บประเมนิ ผลการฝกึ อบรม จัด-ทคําวามถูกตอ้ ง - ผจู้ ดั ทาํ

เสร็จสน้ิ การฝึกอบรม รายงาน-เสนอหัวหนา้ สว่ นเจ้าของโครง-กาครวามครบถ้วน โครงการ

- สรปุ คา่ ใช้จา่ ยของทั้งโครงการ ทํา ของเอกสาร
รายงานเสนอหวั หนา้ ส่วนราชการ

7 - ตรวจส-อบหลักฐานใบสาํ คญั ตา่ งๆ - ความถูกต้อง - ฝ่าย/กอง

สง่ ใบสาคัญชดใชเ้ งินยมื และ ใบเสรจ็ -รบั เงนิ เงนิ คงเหลอื สรุป - ความครบถ้วน การเงนิ
ชาระเงนิ คืน
รายละเอียดการใชจ้ า่ ยเงิน พร้อมทํา ของเอกสาร

บันทกึ เพื่อเสนอส่งใช้เงนิ ยมื ตามสญั ญ-าความทันเวลา

13

ข้นั ตอนการเบิกจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม/สัมมนา
ตามแนวทางการปฏิบัตใิ นการฝกึ อบรม/สมั มนาข้างต้น กระบวนการขัน้ ตอนท่ี 3 เรอ่ื งการจัดทาํ สัญญายมื

เงนิ ทดรองราชการ เป็นกระบวนการท่เี ก่ียวข้องกับการเบกิ จ่ายคา่ ใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม ซ่ึงมขี ั้นตอนดําเนินการ
ดังน้ี

1. ผจู้ ัดฝึกอบรมสรปุ ผลการจัดฝึกอบรม เพือ่ ขออนมุ ตั เิ บกิ ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม
2. รับเอกสารใบสําคัญคา่ ใช้จา่ ยในการฝกึ อบรมและรบั คนื เงินเหลือจา่ ยจากการฝึกอบรม เพื่อตรวจสอบ
ใบสาํ คญั และหักลา้ งเงินยืมราชการภายใน 30 วัน นับจากสิ้นสุดการฝึกอบรม
3. นําเอกสารใบสําคญั คา่ ใช้จ่ายในการฝึกอบรมมาตรวจสอบโดยพจิ ารณาจากเอกสารประกอบการเบิก
เงินคา่ ใช้จ่ายในการฝึกอบรมวา่ ถูกตอ้ งตามระเบียบฯ หรอื ไม่ เชน่

3.1 การเบกิ จา่ ยค่าใช้จา่ ยเก่ยี วกับการใช้และตกแต่งสถานท่ฝี ึกอบรมถูกตอ้ งหรือไม่
3.2 การเบิกจ่ายคา่ ของสมนาคุณในการดงู าน เบกิ จ่ายถูกต้องหรอื ไม่
3.3 การเบิกจ่ายค่ากระเป๋าเอกสารสาํ หรับผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรม เบิกจา่ ยถูกต้องหรอื ไม่
3.4 การเบิกจา่ ยท่ีเกีย่ วข้องกบั พสั ดุ มกี ารปฏิบัติถกู ตอ้ งตามระเบียบพสั ดหุ รอื ไม่
3.5 การเบิกจา่ ยค่าอาหารว่างและเคร่อื งดื่ม เบกิ จา่ ยตามบญั ชีหมายเลข 2 หรอื ไม่
3.6 การเบกิ จ่ายคา่ อาหารผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมเบิกจ่ายตามหลกั เกณฑ์และอัตราทกี่ าํ หนดหรือไม่
3.7 การเบกิ จ่ายค่าสมนาคุณวทิ ยากร เบิกจ่ายตามหลักเกณฑแ์ ละอัตราทกี่ ําหนดหรือไม่
3.8 มกี ารนับเวลาในการจ่ายคา่ สมนาคุณวทิ ยากรถูกตอ้ งหรือไม่
3.9 คา่ เชา่ ท่พี กั เบกิ จ่ายตามหลกั เกณฑแ์ ละอัตราทกี่ ําหนดหรอื ไม่
3.10 มีการคํานวณการเบกิ จา่ ยค่าเบ้ียเลี้ยงในการเดนิ ทางไปฝึกอบรมถูกต้องหรือไม่
3.11 ลายมือชือ่ ผู้เข้ารับการอบรมครบถ้วนถกู ตอ้ งและสมั พันธก์ ับการเบิกค่าใช้จ่ายหรือไม่
4. เมอ่ื ตรวจสอบใบสาํ คัญค่าใชจ้ ่ายในการฝึกอบรมเรยี บรอ้ ยแล้ว จึงออกใบเสรจ็ รบั เงนิ และใบสําคญั เพอ่ื
เปน็ หลักฐานในการหักลา้ งเงินยมื
5. นําใบสําคัญค่าใชจ้ า่ ยฯ เสนอผ้บู งั คับบัญชา เพ่ือขออนุญาตค่าใชจ้ ่าย
6. จัดเกบ็ เอกสารทไี่ ด้รบั การอนุมัตคิ ่าใช้จา่ ยเรียบร้อยแลว้ เพื่อรอรบั การตรวจสอบจากหนว่ ยงาน
ตรวจสอบ ตามขัน้ ตอนท้งั 6 ข้อที่กลา่ วขา้ งตน้ นี้ สามารถแสดงให้เหน็ ตามแผนผัง (Flowchart) ดงั ต่อไปนี้

14

Flowchart การเบิกจ่ายเงินคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝกึ อบรม/สัมมนา

ลา ผงั กระบวนการ รายละเอยี ดงาน มาตรฐาน ผู้รับผดิ ชอบ
ดบั กระบวนการ

1 - บันทกึ -ขออนมุ ตั โิ ครงการพรอ้ ม - ความถกู ตอ้ ง - ผจู้ ดั ทํา

ผยู้ มื เขียนสัญญายืมเงิน ท้ังแนบ- โครงการท่มี ีงบประมาณ - ความครบถว้ น โครงการ
และกาํ หนดการ
ของเอกสาร
- สัญญายืมเงนิ ทดรองราชการ

2 - ตรวจส-อบสัญญายืมเงนิ พร้อม - ความถกู ต้อง - ฝา่ ย/กอง

ตรวจสอบสัญญา เอกสาร-ประกอบการพจิ ารณา - ความครบถ้วน การเงิน
ยืมเงิน อนมุ ัติเงนิ ยืม
ของเอกสาร
ไมอ่ นมุ ตั ิ อนมุ ัติ

3 - ทําการ-ขอเบกิ เงนิ จากคลัง - ความถกู ต้อง - ฝ่าย/กอง

- ทาํ การ-จ่ายเงินจากคลงั และ - ความครบถว้ น การเงนิ

เบิกจา่ ยเงนิ ตาม จา่ ยเงนิ ใหแ้ กผ่ ู้ทาํ สัญญายืมเงิน ของเอกสาร - ผู้มีอํานาจ
สญั ญาเงนิ ยมื อนุมตั ิ

- ผูจ้ ดั ทํา

โครงการ

4 - การใช-้จา่ ยเงนิ ในการบริหาร - ความถกู ต้อง - ผจู้ ดั ทํา

บริหารคา่ ใช้จา่ ยในการ โครงกา-รฝึกอบรม/สัมมนาตาม - ความครบถว้ น โครงการ
ฝกึ อบรม/สัมมนา ระเบียบค่าใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม ของเอกสาร
- ผูม้ อี าํ นาจ

สั่งการ

- ผู้ที่

เก่ยี วขอ้ ง

5 - หลักฐา-นการยมื เงนิ - ความถกู ต้อง - ผู้จัดทํา

- หลักฐา-นการจ่ายเงิน - ความครบถ้วน โครงการ

ล้างเงนิ ยมื ส่งใช้เงนิ ยืม - ใบสาํ คญั รับเงนิ (กรณีจา่ ยค่า ของเอกสาร - ฝา่ ย/กอง

หรือเบิกเพ่ิม สมนาคุณวิทยากร หรอื การจา้ ง - ความทันเวลา การเงิน

บคุ คลภายนอก)

- ใบรับรองแทนใบเสร็จรบั เงนิ

แบบ บก.111 (กรณจี ่ายให้

เจา้ หน้าทข่ี องส่วนราชการ)

6 - สรุปค่า-ใช้จ่ายของทง้ั โครงการ ทาํ - ความถูกตอ้ ง - ผู้จัดทาํ

รายงานผลการใชจ้ า่ ยเงนิ รายงาน-เสนอหัวหน้าส่วนราชการ - ความครบถ้วน โครงการ

ของเอกสาร - หวั หนา้

ส่วนราชการ

ประเดน็ คาถาม - ขอ้ เสนอแนะ ท่พี บบ่อย 15

ประเดน็ คาถาม ข้อเสนอแนะ

1. นบั เวลาเพื่อคาํ นวณเบี้ยเลีย้ งในการเดินทางเข้ารับ 1. ชแี้ จงเจา้ หน้าท่ผี ้ขู อเบิกในวิธีการคาํ นวณเบี้ยเลย้ี งท่ี
การฝึกอบรมผิด กรณีมกี ารลงทะเบยี นและเลย้ี ง ถกู ตอ้ งเพือ่ ป้องกนั ข้อผดิ พลาดทจี่ ะเกิดขึ้น
อาหาร

2. ไม่แนบเรื่องเดิมเชน่ อนุมัติในหลกั การจดั ฝึกอบรม 2. ขอเอกสารเรอ่ื งเดิมท่เี กยี่ วขอ้ งจากผจู้ ัดฝึกอบรม
หนงั สือเชิญประชมุ สัมมนาเนื่องจากมีผลกับการ

คํานวณเบีย้ เลีย้ ง

3. เอกสารการเบิกค่าเชา่ ทพ่ี กั ไมถ่ ูกตอ้ ง เช่น 3.1 ช้ีแจงผเู้ บิกจา่ ยให้ทราบถึงการเบกิ จ่ายคา่ เช่าทพี่ กั
ใบเสรจ็ รับเงินมีสาระสําคัญไม่ครบถ้วน โดยให้ตรวจสอบสาระสาํ คญั ของใบเสรจ็ รบั เงินและใบแจง้
รายการการเขา้ พกั
3.2 ระเบียบการเบกิ จ่ายเงินจากคลัง การเกบ็ รกั ษาเงนิ
และการนําเงนิ ส่งคลงั พ.ศ. 2551 ขอ้ 43 กรณขี ้าราชการ
หรือลูกจ้างของส่วนราชการจา่ ยเงนิ ไป โดยได้รับ
ใบเสร็จรบั เงิน ซงึ่ มรี ายการไมค่ รบถว้ นตามข้อ 41 หรือซงึ่
ตามลักษณะไม่อาจเรียกใบเสรจ็ รับเงินจากผรู้ บั เงินได้ ให้
ข้าราชการหรือลูกจ้างนน้ั ทําใบรับรองการจ่ายเงินเพอื่
นาํ มาเป็นเอกสารประกอบการขอเบกิ เงินต่อสว่ นราชการ
และเมื่อมีการจา่ ยเงินแล้ว ให้ขา้ ราชการหรอื ลกู จ้างน้นั
ทําใบสําคญั รบั เงินและลงชื่อในใบสาํ คัญรับเงนิ นั้นเพื่อเป็น
หลกั ฐานการจ่าย

4. มีการเบกิ คา่ พาหนะเกินสทิ ธิ เชน่ มีการเบกิ ค่า 4. ชีแ้ จงผูเ้ บิกจ่ายให้ทราบถงึ ระเบียบการเบกิ ค่าพาหนะ

พาหนะรบั จ้าง (แทก็ ซี่) ระหว่างทพ่ี ักกบั สถานที่ ในการฝกึ อบรม โดยให้เบกิ จา่ ยเฉพาะค่าพาหนะประจํา

ฝึกอบรม ทางเทา่ นั้น

5. มกี ารเบิกคา่ อาหาร คา่ อาหารว่างและเครื่องดืม่ ไม่ 5. ชแ้ี จงให้ผู้จัดฝกึ อบรมเขา้ ใจถึงวธิ ีการเบกิ ค่าอาหาร

สมั พันธก์ บั ลายมือชื่อผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรม ค่าอาหารวา่ งและเครอื่ งด่มื ซงึ่ ตอ้ งเท่ากับจํานวนผ้เู ขา้ รบั

การฝกึ อบรม ยกเวน้ ประธานในพธิ ีเปดิ ฝกึ อบรม วิทยากร

แขกผู้มีเกยี รติและผตู้ ดิ ตาม และต้องไม่เกินอตั ราทกี่ าํ หนด

- กรณีทมี่ าน้อยกวา่ และไม่สามารถแจ้งลดจํานวนลงได้ ให้

ทาํ บนั ทกึ ขอ้ อนุมัติเบิกเทา่ จาํ นวนที่ประมาณการ

- กรณีที่มามากกวา่ ให้นาํ เงนิ เหลอื จา่ ยจากรายการอน่ื ของ

โครงการมาถัวจา่ ย ถา้ ไมพ่ อให้ขออนมุ ตั ิวงเงินเพิ่ม

16

ประเดน็ คาถาม ข้อเสนอแนะ

6. การเบิกจ่ายค่ากระเปา๋ หรือสง่ิ ท่ใี ชบ้ รรจุเอกสาร 6. ช้แี จงใหผ้ ู้จดั ฝึกอบรมทราบถงึ การจัดซือ้ กระเปา๋ หรอื สิ่งที่

สําหรับผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรม มากกว่าจานวนผู้เข้ารับ ใช้บรรจุเอกสาร เพอื่ ใชส้ ําหรับแจกผ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรม

การฝึกอบรมและไม่มีกระเปา๋ เหลอื เทา่ น้นั ซงึ่ ไม่รวมถึงวทิ ยากรและหากซ้ือมากกว่าจาํ นวนผู้เขา้

รบั การฝึกอบรมใหน้ าํ ไปใชส้ าหรับการฝกึ อบรมคร้ังต่อไป

7. มกี ารเบกิ จ่ายค่าเช่าสถานท่ีทใ่ี ช้ในการจัดฝึกอบรม 7. กอ่ นการจัดฝกึ อบรมให้เจา้ หน้าท่ผี ้จู ดั ฝึกอบรม ประสาน

แตไ่ มม่ ีการจัดซอื้ จดั จา้ งตามระเบียบพัสดุ กับเจ้าหน้าทพี่ สั ดใุ นเรื่องการจดั ซือ้ จัดจ้างคา่ ใชจ้ ่ายตา่ งๆ ที่

เก่ยี วขอ้ งกับระเบียบพสั ดุ

8. การเบกิ จา่ ยค่าสมนาคณุ วทิ ยากรมีใบสําคญั รับเงนิ 8. การเบิกค่าสมนาคุณวิทยากรต้องมีใบสาํ คญั รับเงินสาํ หรบั

คา่ วิทยากร แตไ่ ม่แนบสําเนาบตั รประชาชน หรือบตั ร วิทยากร (เกสารหมายเลข 1) สําเนาหนงั สือเชิญหรอื หนังสือ

ข้าราชการ ตอบรับการเปน็ วทิ ยากร

สาํ หรบั สําเนาบตั รประชาชน/บัตรข้าราชการ จะใชใ้ นกรณีท่ี

ส่วนราการตอ้ งการหลกั ฐานเพ่ือใหเ้ ป็นตามหลกั การควบคมุ

ภายในของสว่ นราชการน้ันๆ เน่ืองจากระเบียบไมไ่ ดก้ าํ หนด

ไว้

9. ผูย้ ืมเงิน /ผู้จัดฝกึ อบรมส่งเอกสารใบสาํ คญั 9. ระเบยี บกาเบกิ จ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงนิ และ

คา่ ใชจ้ า่ ย และเงนิ เหลือจ่าย (ถ้ามี) เพือ่ หกั ลา้ งเงินยืม การนาํ เงนิ สง่ คลัง พ.ศ. 2551 วรรค 1 ขอ้ 60 (3) การยมื

เกนิ กาํ หนด เงนิ เพอ่ื ปฏิบตั ิราชการนอกจาก (1) กรณเี ดนิ ทางไปประจาํ

ต่างสํานกั งาน หรอื การเดนิ ทางไปราชการประจําใน

ต่างประเทศ หรอื กรณเี ดนิ ทางกลับภูมิลําเนาเดมิ ให้ส่งแก่

ส่วนราชการผู้ใหย้ มื โดยทางไปรษณีย์ลงทะเบยี นหรือ

ธนาณตั ิ แล้วแต่กรณภี ายในสามสิบวันนับจากวันได้รบั เงนิ

หรือ (2) กรณเี ดนิ ทางไปราชการอ่นื รวมทัง้ การเดนิ ทางไป

ราชการตา่ งประเทศชัว่ คราว ให้สง่ แก่สว่ นราชการยมื

ภายในสิบหา้ วันนบั จากวันกลับมาถึง ใหส้ ง่ แก่สว่ นราชการ

ผใู้ หย้ ืมภายในสามสบิ วันนบั จากวันได้รับเงนิ

วรรค 2 ข้อ 63 ในกรณที ผี่ ้ยู มื เงนิ มิได้ชําระคืนเงนิ ยืม

ภายในระยะเวลาทกี่ าํ หนด ให้ผูอ้ าํ นวยการกองคลัง เรยี ก

ใหช้ ดใชเ้ งินยมื ตามเง่อื นไขในสญั ญาการยมื เงินให้เสร็จส้ิน

ไปโดยเร็ว อย่างชา้ ไมเ่ กินสามสบิ วนั นบั แต่วนั ครบกาํ หนด

วรรค 3 ในกรณีท่ไี ม่อาจปฏบิ ัตติ ามวรรคหน่ึงได้ ให้

ผู้อาํ นวยการกองคลังรายงานให้หัวหน้าสว่ นราชการหรอื

ผูว้ ่าราชการจงั หวัดแลว้ แตก่ รณที ราบ เพ่อื พิจารณาสง่ั การ

บังคับใหเ้ ปน็ ไปตามสัญญาการยมื เงนิ ตอ่ ไป

17

ประเดน็ คาถาม ข้อเสนอแนะ
10. ใบเสรจ็ คา่ ลงทะเบียนไปอบรมเบิกได้เฉพาะ 10. คา่ ลงทะเบียน 4,000 บาท เบกิ ได้เทา่ ทีจ่ ่ายจริงแต่ไม่
คา่ ลงทะเบยี น 4,000 บาท ใชห่ รือไม่ เกนิ จาํ นวนทห่ี นว่ ยงานผู้จัดเรียกเกบ็ หากการลงทะเบียน
ไดร้ วมคา่ อาหาร ค่าเชา่ ทีพ่ ักหรือค่าพาหนะไวแ้ ลว้ ผูเ้ ขา้
อบรมงดเบิกคา่ ใชจ้ ่ายดังกล่าว แตถ่ ้าไม่รวมกส็ ามารถเบิก
คา่ อาหาร คา่ เช่าทพี่ ักหรือค่าพาหนะได้ตามสิทธิ

11.ค่าธรรมเนยี มหนงั สือเดนิ ทางของทางราชการ 11 .คา่ ธรรมเนยี มหนังสอื เดนิ ทางของทางราชการ
(passport) เบิกได้หรอื ไม่ (passport) สามารถนาํ มาเบิกจา่ ยจากราชการได้

12 .คา่ ใชจ้ ่ายในการดาํ เนนิ การจัดสถานทเ่ี พ่อื ให้ 12. ตาม ว 96 ลงวันที่ 16 กนั ยายน 2553 ขอ้ 4 กําหนด
ผูบ้ รหิ ารและพนกั งานหรอื ผ้มู าตดิ ตอ่ ร่วมถวายความ รายการเบกิ จ่ายดงั น้ี ค่าพานพมุ่ ดอกไมพ้ านประดับพุ่มดอกไม้
อาลัย ซง่ึ ประกอบดว้ ย เคร่อื งประกอบในเครอ่ื งทอง พานพุ่มเงนิ พมุ่ ทองกรวยดอกไมพ้ วงมาลยั ช่อดอกไม้ กระเช้า
น้อย การจดั ชดุ เคร่ืองทองนอ้ ย สามารถเบิกค่าใชจ้ ่าย ดอกไม้ หรือพวงมาลาสาหรบั วางอนสุ าวรีย์หรอื ใช้ในการจดั
ตามระเบยี บบรหิ ารส่วนราชการไดห้ รือไม่ ตาม ว 96 งาน การจดั กิจกรรมเฉลมิ พระเกยี รติในวโรกาสตา่ งๆค่าหรดี
ขอ้ 4 หรือพวงมาลา สาหรบั สักการะศพ ใหเ้ บกิ จ่ายในนามของสว่ น

ราชการเปน็ สว่ นรวม เฉพาะสกั การะศพผู้ทีเ่ คยให้ความ
ชว่ ยเหลอื หรอื เป็นผู้เคยทาํ ประโยชน์ใหแ้ ก่ประเทศหรอื ช่วย
ราชการจนเปน็ ที่ประจกั ษช์ ัด เบิกไดต้ ามกําหนด ซง่ึ
ประกอบดว้ ย เครอื่ งประกอบในเครอ่ื งทองน้อย การจัดชุด
เคร่ืองทองนอ้ ย
- หากเปน็ ลกั ษณะการจัดงานตามนโยบายของราชการ ให้
เบกิ ตามระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยคา่ ใชจ้ ่ายในการ
ฝกึ อบรม การจัดงาน และการประชมุ ระหวา่ งประเทศ ตาม
หนังสอื ดว่ นทสี่ ุด ที่ กค 0408.4/ ว 414 ลงวนั ท่ี 19
ตลุ าคม 2559 และหนังสอื ดว่ นทีส่ ุด ท่ี กค 0408.4/ ว 2
ลงวนั ท่ี 9 มกราคม 2560

13.ค่านาํ้ มนั เช้อื เพลงิ สําหรบั รถราชการใชใ้ นการเดนิ ทาง 13.ค่านา้ํ มันเช้อื เพลิงสําหรบั รถราชการทใ่ี ช้ในการรับ -ส่ง
ไปรับ-สง่ วทิ ยากร จะเบกิ เปน็ ค่าใชส้ อยรายการค่า วทิ ยากร ถือเป็นคา่ ใชจ้ ่ายภาคสาํ นกั งานของผู้จดั จงึ ตอ้ ง
พาหนะหรือค่าวสั ดุเช้อื เพลิง กรณเี ป็นค่าวัสดุเชอื้ เพลงิ ปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญตั ิการจดั ซ้ือจดั จา้ งและการบรหิ าร
ต้องดาํ เนินการตามพระราชบัญญตั ิการจัดซ้อื จัดจา้ ง พสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560
และการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560หรอื ไม่

14.ค่านํ้ามันเชอื้ เพลิงสาํ หรับรถราชการที่บุคลากรขอใช้ 14.ค่านา้ํ มนั เชอื้ เพลงิ สาหรบั รถราชการทบ่ี ุคลากรขอใช้ใน

ในการเดินทางไปราชการจะเบิกเปน็ ค่าใช้สอยรายการค่า การเดินทางไปราชการ ถือเป็นคา่ ใช้จา่ ยของผู้เดนิ ทาง จงึ

พาหนะหรอื ค่าวสั ดเุ ชือ้ เพลงิ กรณเี ปน็ ค่าวสั ดเุ ชอ้ื เพลงิ เบกิ จ่ายในลักษณะค่าใชส้ อย (ค่าพาหนะในรายงานการ

ต้องดําเนนิ การตามพระราชบัญญตั กิ ารจัดซ้ือจัดจา้ ง เดนิ ทาง) ไมต่ อ้ งปฏิบัตติ าม ตามพระราชบญั ญตั ิการจดั ซอื้

และการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560หรือไม่ จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

18

ประเด็นคาถาม ขอ้ เสนอแนะ

15.ข้าราชการเดนิ ทางไปอบรมโดยเครอื่ งบิน และซ้อื 15. เดนิ กรณเี ดนิ ทางไปอบรมโดยเครือ่ งบินและซอื้ ต๋วั

ตวั๋ เคร่ืองบนิ จองผ่านตวั แทน ดงั น้นั จะใชใ้ บแสดงการ เคร่ืองบินผ่านตวั แทน หรอื กรณีซ้ือต๋ัวผ่านระบบ E- ticket

รับเงินเปน็ หลกั ฐานการจ่ายเงนิ ไดห้ รอื ไม่ ใหใ้ ช้ใบรับเงินทแ่ี สดงรายละเอยี ดการเดนิ ทางซึ่งระบุอยา่ ง

น้อย 5 รายการ ดังนี้

1. ชือ่ สายการบิน วนั ท่อี อกตัว๋

2. ชื่อ/สกลุ ของผเู้ ดนิ ทางฯ

3. เท่ียวบนิ ตน้ ทาง –ปลายทาง เลขท่เี ทย่ี วบิน และ วนั /

เวลาเดินทาง

4. จาํ นวนค่าโดยสาร คา่ ธรรมเนียมอื่น ๆ และ

5. จาํ นวนเงนิ รวม

ซึง่ มลี ายเซ็นelectronic เปน็ หลกั ฐานประกอบการเบิกจา่ ย

16. การจา่ ยเงินคา่ ตอบแทนวทิ ยากรและคา่ พาหนะรับจา้ 1ง6. เขยี นรายงานการเดินทางไปราชการ โดยเรียนหัวหน้า
ตามระเบยี บฝกึ อบรมให้ใช้ใบสําคญั รบั เงนิ วิทยากรหาก สว่ นราชการเจา้ ของโครงการอบรม พรอ้ มแนบเอกสาร
วิทยากรมคี ่าเช่าที่พกั และค่าเบย้ี เลยี้ งการจะขอเบิกต้อง หลักฐานการจ่ายเงินค่าเชา่ ทพ่ี ัก
เขียนรายงานการเดินทางไปราชการหรือไม่

17. กรณีสว่ นกลางจดั อบรมเปน็ ผอู้ อกค่าใช้จ่ายในการ 17. เน่ืองจากคา่ ยานพาหนะในกรณสี ่วนราชการทจ่ี ัดอบรม

ฝกึ อบรมใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมทง้ั หมด โดยจัดอบรมท่ี จดั ยานพาหนะหรือรบั ผิดชอบค่ายานพาหนะสําหรับบุคคล

ส่วนกลาง และให้ผเู้ ขา้ รับการอบรมเดนิ ทางมาอบรม ทีเ่ บกิ ค่าใชจ้ า่ ยไดต้ ามข้อ 10 ของระเบยี บค่าใชจ้ า่ ยอบรมฯ

ที่ส่วนกลางเอง กรณนี ีผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมจะขออนุญาต กําหนดใหเ้ บิกจา่ ยตามหลักเกณฑแ์ ละอตั ราตามทกี่ าํ หนด

เดินทางโดยใชร้ ถยนต์ส่วนตัวและเบกิ ค่าน้ํามันชดเชย ไวใ้ นระเบยี บฯ ดงั นัน้ ค่าใช้รถยนตส์ ว่ นตวั และการเบกิ ค่า

พาหนะส่วนตัวไดห้ รือไม่ นา้ํ มนั ชดเชยพาหนะส่วนตวั ไมส่ ามารถนาํ มาเบิกได้ แต่ถา้

ส่วนราชการทจ่ี ดั อบรมไมไ่ ด้รบั ผดิ ชอบค่ายานพาหนะ ใหผ้ ู้

เข้ารบั การอบรมเบิกจา่ ยจากต้นสังกัด ตามหลกั เกณฑ์และ

วธิ กี ารทกี่ าํ หนดไว้ในพระราชกฤษฎกี าคา่ ใชจ้ ่ายในการ

เดนิ ทางไปราชการ

18. กรณีวทิ ยากรอยคู่ นละจังหวัดกบั สถานทีจ่ ัด 18. ได้ แตผ่ ู้จัดตอ้ งขออนุมัติคา่ พาหนะสว่ นตวั ของวิทยากร
ฝึกอบรม หรืออยสู่ ถานท่เี ดยี วกับสถานทจ่ี ดั ฝกึ อบรม ไว้ก่อน
และผจู้ ดั ฝึกอบรมไมไ่ ดจ้ ัดยานพาหนะให้วิทยากร แต่
ออกค่าใชจ้ า่ ยให้วทิ ยากร วทิ ยากรเดนิ ทางไปบรรยาย
ขออนุญาตใชร้ ถยนตส์ ว่ นตวั รถยนตข์ องทางราชการ
ในการเดินทาง สามารถ เบิกคา่ พาหนะสว่ นตวั ได้
หรอื ไม่

ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ

สาระสาคญั ของกฎหมายและระเบียบทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชกพา.รศ. 2526 (แกไ้ ขเพ่มิ เติมถึงฉบับท9่ี พ.ศ. 2560)
มาตรา 4 ในพระราชกฤษฎกี าน้ี
“ขา้ ราชการ ” หมายความว่า ข้าราชการพลเรอื นตามกฎหมายวา่ ดว้ ยระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น
ขา้ ราชการครตู ามกฎหมายว่าด้วยระเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ข้าราชการพลเรือนใน
สถาบนั อดุ มศึกษาตามกฎหมายวา่ ด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบนั อดุ มศึกษา ข้าราชการรฐั สภาตาม
กฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บข้าราชการรัฐสภา ขา้ ราชการตํารวจตามกฎหมายวา่ ดว้ ยตํารวจแห่งชาติ และขา้ ราชการ
ทหารตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ ข้าราชการทหาร
“ลกู จ้าง ” หมายความวา่ ลูกจ้างซ่ึงไดร้ บั คา่ จา้ งจากเงินงบประมาณรายจา่ ย เว้นแตล่ ูกจ้าง
ชาวตา่ งประเทศที่มสี ญั ญาจ้าง
“ภมู ิลาเนาเดิม” หมายความวา่ ท้องที่ทีเ่ ริ่มรับราชการ กลบั เขา้ รบั ราชการใหม่ หรือได้รับการบรรจเุ ปน็
ลกู จา้ งครง้ั แรกหรอื ครงั้ สุดทา้ ยแล้วแต่กรณี
“บุคคลในครอบครวั ” หมายความว่าบคุ คลซ่ึงอยใู่ นอุปการะและร่วมอาศยั อยกู่ ับผเู้ ดนิ ทางไปราชกาดรงั นี้
(1) คสู่ มรส
(2) บุตร
(3) บดิ ามารดาของผู้เดินทางและหรอื บดิ ามารดาของคู่สมรส
(4) ผู้ตดิ ตาม

คาอธบิ าย
บุคคลผ้มู สี ทิ ธิตามพระราชกฤษฎีกาฉบับน้ี ประกอบด้วย
1. ขา้ ราชการทงั้ 6 ประเภท ทีไ่ ดร้ บั คาส่ังไปปฏบิ ตั ิราชการ

1.1 ขา้ ราชการพลเรอื นตามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บข้าราชการพลเรือน
1.2 ขา้ ราชการครตู ามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
1.3 ข้าราชการพลเรอื นในสถาบันอดุ มศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบยี บขา้ ราชการพลเรือนใน
สถาบันอดุ มศกึ ษา
1.4 ข้าราชการรัฐสภาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบขา้ ราชการรฐั สภา
1.5 ขา้ ราชการตาํ รวจตามกฎหมายว่าดว้ ยระเบยี บตํารวจแห่งชาติ
1.6 ขา้ ราชการทหารตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบขา้ ราชการทหาร

20

2. ลูกจ้าง ทีไ่ ดร้ บั คาสงั่ ใหไ้ ปปฏิบัตริ าชการ
ลกู จา้ ง หมายความวา่ ลูกจา้ งซ่งึ ไดร้ บั คา่ จ้างจากเงนิ งบประมาณรายจา่ ย เวน้ แตล่ ูกจ้างชาวต่างประเทศที่

มีสัญญาจา้ ง
ลูกจ้างประจํา คอื ลกู จา้ งทีผ่ ู้มีอํานาจสั่งจา้ งลกู จา้ งประจาํ เป็นไปตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ย

ลกู จ้างประจําของส่วนราชการ พ.ศ. 2526
ลกู จา้ งชั่วคราวของทางราชการ จะตอ้ งมีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี
1. ค่าจา้ งต้องเบกิ จากเงนิ งบประมาณรายจา่ ยไมว่ ่าจะเปน็ หมวดรายจา่ ยใดก็ตาม
2. มีคาํ สั่งจา้ งลกู จา้ งชั่วคราว โดยผู้มีอาํ นาจสงั่ จ้างลกู จา้ งช่ัวคราวน้นั เปน็ ไปตามนัยหนงั สือ

กระทรวงการคลัง ที่ กค 0510/37778 ลงวันท่ี 2 สงิ หาคม 2526
พนักงานราชการ หมายถึง บคุ คลซ่ึงไดร้ ับการจ้างตามสัญญาจ้าง โดยได้รับค่าตอบแทนจากงบประมาณ

ของสว่ นราชการเพอ่ื เปน็ พนกั งานของรัฐในการปฏบิ ตั งิ านใหก้ ับส่วนราชการนั้น
บคุ คลภายนอก ไดแ้ ก่
1. บุคคลตามทีก่ ระทรวงการคลังกําหนดเทยี บตําแหน่งขา้ ราชการพลเรอื นหรอื ประโยชน์ในการเบกิ

ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการ (หนงั สอื กระทรวงการคลงั ที่ กค 0406.6/ ว 104 ลงวันท่ี 22 กันยายน 2551
และ หนงั สอื กระทรวงการคลงั ที่ กค 0406.6/ว 105 ลงวนั ท่ี 22 กนั ยายน2551)

2. ผูซ้ ง่ึ เคยรับราชการ
3. ภมู ลิ าเนาเดิม หมายความวา่

3.1 ท้องที่ทเ่ี ร่มิ รับราชการ
3.2 ทอ้ งทท่ี ี่กลับเข้ารับราชการใหม่ หรือ
3.3 ทอ้ งท่ที ่ไี ดร้ ับการบรรจเุ ปน็ ลูกจา้ งคร้ังแรกหรือครัง้ สุดทา้ ย
ตัวอย่าง นาย ก เป็นคนจงั หวดั สรุ นิ ทร์ สอบบรรจเุ ปน็ ขา้ ราชการได้และมีคาํ สง่ั ใหไ้ ปรายงานตัวและปฏบิ ตั หิ นา้ ทท่ี ่ี
จังหวดั นครราชสีมา ดงั น้นั ภูมลิ าํ เนาเดมิ ของนาย ก คือจงั หวดั นครราชสมี า ต่อมานาย ก ลาออกจากราชการไป
รับสมคั รเลือกตงั้ เป็นสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร แต่ไม่ได้ จงึ ขอกลับเข้ารบั ราชการใหม่โดยมีคําส่ังบรรจเุ ข้ารับ
ราชการครง้ั ใหม่ท่จี ังหวดั ชยั ภูมิ ดงั นน้ั ภมู ลิ าํ เนาเดมิ ของนายก คอื จังหวดั ชยั ภมู ิ เพราะถอื ว่าเป็นทอ้ งทท่ี ี่กลบั เข้า
ราชการใหม่ สาํ หรบั จังหวดั นครราชสีมาเปน็ อันยกเลกิ ไปเพราะลาออกจากราชการแลว้
4. บคุ คลในครอบครวั หมายความว่า บุคคลซง่ึ อยใู่ นอุปการะและรว่ มอาศัยอยกู่ บั ผเู้ ดินทางไปราชการ มดี ังน้ี
4.1 คสู่ มรส ทชี่ อบด้วยกฎหมาย
4.2 บตุ รที่ชอบดว้ ยกฎหมาย
4.3 บดิ ามารดาของผู้เดนิ ทางและหรือบดิ ามารดาของคสู่ มรส
4.4 ผตู้ ิดตาม
7มาตรา 8 สิทธิท่จี ะได้รับค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการเกดิ ข้ึนตง้ั แต่วันทีไ่ ดร้ บั อนุมตั ใิ หเ้ ดนิ ทางไป
ราชการ หรือวันที่ออกจากราชการแล้วแต่กรณี
ให้ผ้มู ีอํานาจอนุมัติการเดนิ ทางอนมุ ตั ริ ะยะเวลาในการเดินทางไปราชการ ตามความจําเปน็ และเหมาะสม
ตามหลักเกณฑ์ท่ีกระทรวงการคลังกาํ หนด

21

คาอธบิ าย

สิทธใิ นการเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางเกดิ ข้นึ ต้งั แต่วันท่ีได้รบั อนุมัติให้เดนิ ทางไปราชกเชารน่ นางสมพร รักดี

สังกดั สาํ นักงานพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์จงั หวดั นครสวรรคผ์ บู้ ังคับบัญชาส่ังใหเ้ ดนิ ทางไปร่วมประชมุ ที่

กรงุ เทพฯ ระหวา่ งวนั ท1่ี 0 ถงึ 11 มิถุนายน 2552 นางสมพรรกั ดี ขออนุมตั เิ ดินทางไปราชการวนั ที่ 9 ถงึ 12 มิถุนายน

2552 เมื่อผู้บงั คบั บัญชาอนมุ ตั ติ ามคําขอดงั นั้นสทิ ธกิ ารเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยเดินทางไปราชการขอนงางสมพรรักดี เกดิ ขน้ึ ตั้งแต่

วันที่ 9 มิถนุ ายน2552 เหตทุ กี่ ารอนมุ ัติให้ขา้ ราชการเดินทางไปราชกมารีกาํ หนดเวลาเร่มิ ตน้ และสน้ิ สุดเพราะเจตนารมณ์

ตอ้ งการให้ผู้บงั คับบญั ชาได้ทราบชว่ งเวลาทีผ่ ูใ้ ต้บังคบั บญั ชาไปปฏบิ ตั ิราชการทใี่ เดพอ่ื ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานสําคัญในการเบิก

ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทาไงปราชการหรือเปน็ หลกั ฐานในการพิจารณาบาํ เหน็จความหชาอกบมกี รณีถึงแกค่ วามตาย
7มาตรา 8/1 ถ้าผูเ้ ดนิ ทางไปราชการมคี วามจําเป็นตอ้ งออกเดินทางลว่ งหน้าหรอื ไม่สามารถเดนิ ทางกลบั

ทอ้ งท่ตี ั้งสํานักงานปกตเิ ม่อื เสร็จส้ินการปฏิบตั ิราชการ เพราะมีเหตุส่วนตัว โดยไดร้ ับอนมุ ัติให้ลากิจหรือลาพกั ผ่อน

ตามระเบียบว่าดว้ ยการน้นั และไดร้ ับอนมุ ตั ริ ะยะเวลาดงั กล่าวจากผ้มู ี อาํ นาจอนมุ ตั ิการเดินทางตามหลักเกณฑ์ท่ี

กระทรวงการคลงั กาํ หนดดว้ ยแล้ว ใหม้ ีสิทธิได้รับคา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการตามที่พระราชกฤษฎกี าน้ี

กําหนดไว้ตอ่ เมื่อไดม้ ีการปฏบิ ตั ิราชการตามคําสัง่ ของทางราชการแลว้

คาอธิบาย
กรณีผูเ้ ดนิ ทางไปราชการไดร้ บั อนุมตั ใิ หล้ ากิจ หรอื ลาพกั ผ่อน ก่อนการปฏบิ ตั ิราชการ ใหน้ ับเวลาตัง้ แต่

เร่ิมปฏิบัติราชการ เชน่ ถ้าหากกําหนดการประชุมเริม่ เวลา 09.00 น. เวลาทเี่ รม่ิ นับสําหรบั คดิ เบ้ียเล้ียงเดินทางจะ
นับเวลาตั้งแต่ 09.00 น. จนถงึ การเดินทางกลับถึงทบ่ี า้ นพัก/สํานกั งาน

กรณผี เู้ ดนิ ทางไปราชการได้รับอนุมตั ใิ หล้ ากจิ หรือลาพกั ผอ่ น หลังการปฏบิ ตั ริ าชการ ให้นับเวลาราชการ
ถึงเวลาเสรจ็ ส้ินการปฏิบตั ริ าชการ เช่น กําหนดเวลาประชุมเลกิ เวลา 16.30 น. การนบั เวลาเพอ่ื คดิ เบย้ี เลย้ี ง
เดินทาง จะเปน็ เวลาตั้งแตอ่ อกจากบ้านพกั หรอื สํานกั งานจนถงึ เวลา 16.30 น. ของการประชมุ

มาตรา 9 ข้าราชการซ่ึงได้รบั การแต่งตงั้ ให้ดาํ รงตาํ แหน่งระดับ ชน้ั หรอื ยศ สูงขน้ึ ภายหลังวันทไ่ี ด้เดินทาง
ไปราชการแล้ว ใหม้ สี ิทธิทจ่ี ะรับคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางตามอตั ราสาํ หรบั ตําแหนง่ ระดบั ช้นั หรือยศท่สี ูงขึน้ นับ
แต่วันที่มคี าํ สง่ั แต่งตัง้ ดังกลา่ ว แม้คาํ ส่ังนนั้ จะใหม้ ีผลยอ้ นหลังไปถึงหรอื กอ่ นวนั ออกเดินทางก็ตาม

คาอธบิ าย
พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2526 และทแี่ ก้ไขเพิม่ เตมิ มีวตั ถปุ ระสงค์ทีจ่ ะ

ให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนเก่ยี วกบั ค่าใช้จา่ ยต่างๆ แก่ขา้ ราชการ ซง่ึ เดนิ ทางไปปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื
ประโยชนข์ องทางราชการตามหน้าทค่ี วามรับผดิ ชอบปกติของข้าราชการหรือส่วนราชการโดยตรง

ตวั อย่าง ขา้ ราชการกองกลางสอบเลือ่ นระดับไดต้ าํ แหน่งนักพัฒนาสังคมชํานาญการพเิ ศษ สํานกั งานปลัด
มีคําส่งั ให้ไปดํารงตําแหนง่ ใหม่ทจ่ี ังหวัดอื่น ขณะท่ีเดินทางไปดํารงตาํ แหน่งใหมน่ ้นั ดาํ รงตําแหนง่ นักพฒั นาสงั คม
ชํานาญการ เพราะสาํ นกั งานปลดั จะมคี าํ สง่ั บรรจุแตง่ ตั้งให้ดํารงตําแหนง่ นักพฒั นาสังคมชาํ นาญการพเิ ศษ ก็
ตอ่ เม่ือประเมนิ ผลงานผา่ น ซึ่งคาํ สั่งจะมผี ลยอ้ นหลงั ไปต้งั แต่วันที่ประเมนิ ผลงานผา่ น ดงั นัน้ ข้าราชการรายน้ี
สามารถเบกิ ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการได้ในตําแหน่งนักพัฒนาสงั คมชาํ นาญ การพเิ ศษ ตง้ั แต่วนั ที่เดนิ ทาง
ไปดํารงตาํ แหนง่ ใหม่ถงึ แม้ขณะเดนิ ทางจะดํารงตําแหนง่ นักพฒั นาสังคมชาํ นาญการ

22

มาตรา 10 ขา้ ราชการซง่ึ เดินทางไปรักษาการในตาํ แหนง่ หรอื รกั ษาราชการแทนให้ได้รบั ค่าใช้จ่ายในการ
เดนิ ทางไปรักษาการในตาํ แหนง่ หรือรักษาราชการแทนตามอตั ราสําหรบั ตาํ แหนง่ ระดบั ช้ัน หรือยศทต่ี นดํารงอยู่
แต่การเดนิ ทางระหว่างที่รักษาการในตําแหน่งหรอื รกั ษาราชการแทนรวมทัง้ การเดนิ ทางกลบั มาดํารงตาํ แหน่งเดิม
ใหไ้ ดร้ ับคา่ ใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการตามอตั ราสาํ หรับตําแหน่งระดบั ชัน้ หรือยศท่ตี นรักษาการในตาํ แหน่ง
หรอื รกั ษาราชการแทน

ในกรณีที่เปน็ การเดินทางไปรกั ษาการในตาํ แหน่งหรอื รกั ษาราชการแทนในตาํ แหนง่ ระดบั ช้นั หรอื ยศทต่ี าํ่
กว่าใหผ้ ู้เดนิ ทางมีสิทธไิ ด้รับค่าใช้จา่ ยในอัตราสาํ หรับตาํ แหนง่ ระดบั ชน้ั หรอื ยศท่ตี นดาํ รงอยู่

คาอธบิ าย
ข้าราชการซงึ่ เดนิ ทางไปรักษาการในตําแหนง่ หรือรักษาราชการแทน ให้ได้รบั คา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางไป

รักษาการในตาํ แหน่งหรือรกั ษาราชการแทนตามอตั ราสาํ หรบั ตาํ แหน่งระดับ ช้นั หรอื ยศทต่ี นดํารงอยู่ เช่น
นักพฒั นาสงั คมชํานาญการพเิ ศษ เดนิ ทางไปรักษาการในตาํ แหน่ง ผอ.สสว. 4 (ระดับ 9) ขณะทเ่ี ดนิ ทางไป
รักษาการในตําแหนง่ ดงั กล่าว ข้าราชการรายนี้จะเบิกค่าใช้จ่ายเดนิ ทางไปราชการได้ในระดบั นกั พฒั นาสงั คม
ชาํ นาญการพิเศษ (ระดับ 8) แตร่ ะหว่างท่รี กั ษาราชการแทน ผอ.สสว. 4 (ระดับ 9) ถา้ มคี า่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไป
ราชการเกิดขน้ึ ข้าราชการรายน้ีสามารถเบกิ ค่าใช้จ่ายเดินทางไปราชการได้ในสิทธขิ อง ผอ.สสว. 4 (ระดบั 9)

ตัวอย่าง นางสาวยินดี อนรุ ักษ์ ตําแหน่งนักพฒั นาสงั คมชาํ นาญการพเิ ศษ สังกดั สาํ นกั งานพัฒนาสงั คม
และความมัน่ คงของมนษุ ยจ์ งั หวัดนครศรธี รรมราช ไดร้ ับแต่งต้งั จากผ้วู ่าราชการจังหวัดรกั ษาราชการพฒั นาสังคม
และความมน่ั คงของมนุษย์จงั หวัดอดุ รธานี เน่ืองจาก พมจ.นครศรีธรรมราชย้ายไปดาํ รงตําแหนง่ ผอ.สสว. 1
จังหวดั ปทมุ ธานี กรณนี ี้ถา้ หากนางสาวยนิ ดี อนุรักษ์ ต้องเบิกค่าใช้จา่ ยในเดินทางไปราชการ จะเบกิ ได้ตามสิทธิ
ตาํ แหน่งนกั พัฒนาสงั คมชํานาญการพิเศษ แตถ่ า้ เปน็ กรณีปลดั กระทรวงส่ังการให้นางสาวยนิ ดี อนรุ กั ษ์ ไปรกั ษา
ราชการแทน พมจ.พัทลุง (ผ้อู าํ นวยการระดบั สูง ระดบั 9) ขณะเดินทางไปนางสาวยินดี เบกิ คา่ ใช้จา่ ยในการ
เดนิ ทางไปราชการในตาํ แหนง่ นักพัฒนาสังคมชาํ นาญการพิเศษ แต่ระหวา่ งท่รี กั ษาราชการแทน พมจ.พัทลุง ถ้ามี
การเดินทางไปราชการ จะเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยในระดบั ผอู้ านวยการระดบั สงู (ระดับ 9) และเม่ือเดนิ ทางกลับมาอย่ทู ่ี
จงั หวดั นครศรีธรรมราชเชน่ เดมิ กจ็ ะเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยเดินทางกลบั ในระดับผอู้ านวยการระดับสูง(ระดับ 9)

การเดนิ ทางไปราชการชว่ั คราว
มาตรา 13 การเดนิ ทางไปราชการช่วั คราวไดแ้ ก่
(1) การไปปฏิบตั ริ าชการช่ัวคราวนอกท่ีตง้ั สาํ นกั งานซึง่ ปฏบิ ตั ริ าชการปกติตามคําสั่งผู้บังคับบัญชาหรอื
ตามหนา้ ทที่ ีป่ ฏิบัติราชการโดยปกติ
5(2) ยกเลิก
(3) การไปสอบคัดเลอื กหรอื รบั การคัดเลือกตามท่ีไดร้ ับอนุมตั จิ ากผ้บู งั คับบัญชา
(4) การไปช่วยราชการไปรักษาการในตาํ แหนง่ หรอื ไปรกั ษาราชการแทน
(5) การเดินทางไปราชการเฉพาะระหว่างเวลาทอี่ ยใู่ นราชอาณาจกั รของผู้ซ่งึ รบั ราชการประจําใน
ตา่ งประเทศ
(6) การเดินทางขา้ มแดนช่วั คราวเพือ่ ไปปฏบิ ตั ิราชการในดนิ แดนตา่ งประเทศตามขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ

23
คาอธบิ าย

การเดินทางไปราชการชั่วคราว จะมีระยะเวลาสนั้ และมกี ําหนดเวลาแนน่ อน เช่น 2 วัน เนอื้ งานเสร็จสิ้น
เม่ือครบกาํ หนดเวลา เช่น การไปเป็นพยานตามหมายเรียกของศาล กรณีทางราชการตกเปน็ จําเลย

1. นอกที่ตงั้ สํานกั งานซ่ึงปฏิบัตริ าชการปกตติ ามคาํ สั่งผูบ้ ังคับบัญชา หรือตามหนา้ ท่ที ี่ปฏบิ ัติราชการโดย
ปกติ หมายถงึ สถานทท่ี ีข่ า้ ราชการ /ลกู จ้างประจําไดร้ ับแตง่ ต้งั ใหด้ ํารงตาํ แหนง่ และปฏบิ ัติราชการประจาํ /ไดร้ บั
คาํ สง่ั ใหป้ ฏิบตั ริ าชการในลักษณะประจาํ ตามหลกั เกณฑ์ทกี่ ระทรวงการคลังกาํ หนด (หน้าท่ีท่ปี ฏบิ ตั ิราชการโดย
ปกติคอื การปฏิบัตงิ านประจาํ เชน่ เจา้ หนา้ ทีก่ ารเงินงานประจาํ อยู่ท่ีในสาํ นกั งาน เจา้ หนา้ ทีต่ าํ รวจจราจรประจํา
อยู่กลางถนน เจา้ หนา้ ทป่ี า่ ไมห้ นา้ ทปี่ ระจําอย่ใู นป่า ) โดยพิจารณาจากลกั ษณะงานตามภาระหนา้ ทีท่ ่ขี า้ ราชการผู้
นนั้ ดํารงอยู่ ไมใ่ ชพ่ ิจารณาเฉพาะตัวอาคารสถานทต่ี ้ังเพยี งอยา่ งเดียว

2. ยกเลกิ
3. สอบคดั เลอื ก/รบั การคดั เลือก ตามท่ไี ดร้ บั อนมุ ตั ิจากผู้บังคบั บญั ชา
4. ไปช่วยราชการ/รักษาการในตําแหนง่ /รกั ษาราชการแทน
5. ขา้ ราชการประจาํ ต่างประเทศระหวา่ งอยใู่ นประเทศ
6. เดินทางข้ามแดนช่วั คราวเพือ่ ไปปฏิบัติราชการในดนิ แดนต่างประเทศตามข้อตกลงระหวา่ งประเทศเช่น
สนธิสัญญาระหว่างไทยกบั มาเลเซียเรื่องการสง่ ผู้ร้ายข้ามแดน
มาตรา 14 คา่ ใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการชั่วคราว ไดแ้ ก่

(1) เบีย้ เลยี้ งเดินทาง
(2) คา่ เชา่ ทพี่ กั
(3) คา่ พาหนะ รวมถงึ คา่ เชา่ ยานพาหนะ ค่าเช้ือเพลงิ หรือพลงั งานสาํ หรบั ยานพาหนะ คา่ ระวาง
บรรทกุ คา่ จา้ งคนหาบหาม และอ่ืนๆ ทํานองเดียวกัน
(4) คา่ ใชจ้ ่ายอืน่ ทจ่ี ําเปน็ ต้องจา่ ยเน่อื งในการเดินทางไปราชการ
คาอธิบาย
(1) เบีย้ เล้ียงเดนิ ทาง
(2) ค่าเช่าทพี่ กั
(3) ค่าพาหนะรวมถงึ ค่าเชา่ ยานพาหนะ คา่ เชอ้ื เพลงิ หรอื พลังงานสาํ หรับยานพาหนะ ค่าระวางบรรทุก
ค่าจ้างคนหาบหาม และอน่ื ๆ ทํานองเดียวกนั
(4) ค่าใช้จ่ายอ่นื ท่ีจาํ เป็นต้องจ่าย เนือ่ งในการเดินทางไปราชการ
(คา่ ใช้จา่ ยอ่นื ท่ีจําเป็นต้องจ่าย คือ คา่ ใชจ้ า่ ยทไี่ มม่ ีกฎหมาย ระเบียบ รองรับใหเ้ บิกจ่ายได)้
หมายเหตุ ค่าใชจ้ า่ ยผา่ นทางดว่ นพิเศษ ใหเ้ บกิ จา่ ยจากหมวดคา่ ใชส้ อยแยกต่างหากจากคา่ ใชจ้ ่าย
เดินทางไปราชการ

8มาตรา 15 เบ้ียเลย้ี งเดินทางใหเ้ บิกไดใ้ นลกั ษณะเหมาจ่ายภายในวงเงนิ และเงือ่ นไขท่กี ระทรวงการคลงั
กําหนด

ประเภท/ระดบั ของขา้ ราชการ 24
ประเภททว่ั ไป ปฏิบตั งิ าน / ชํานาญงาน / อาวุโส บญั ชีหมายเลข 2
ประเภทวิชาการ ปฏบิ ตั กิ าร / ชํานาญการ / ชํานาญการพิเศษ อัตรา (บาท/คน/วัน)
ประเภทอานวยการตน้ / ระดบั 8 ลงมา / ตาํ แหน่งท่เี ทียบเท่า 240
ข้าราชการตุลาการ เงนิ เดือนชนั้ 2 ลงมา / ผ้ชู ่วยผพู้ ิพากษา / ดาโตะ๊ ยตุ ิธรรม
ขา้ ราชการอัยการ เงนิ เดือนชั้น 3 ลงมา 270
ขา้ ราชการทหาร / ตาํ รวจพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอกลงมา / พนั ตาํ รวจเอกลงมา
ระเภทท่วั ไป ทักษะพิเศษ 240
ประเภทวิชาการเช่ียวชาญ / ทรงคุณวฒุ ิ
ประเภทอํานวยการสูง
ประเภทบริหารตน้ / สงู / ระดบั 9 ข้ึนไป / ตําแหน่งทเี่ ทยี บเท่า
ขา้ ราชการตุลาการ เงนิ เดือนชนั้ 3 ขัน้ ต่าํ ขนึ้ ไป
ขา้ ราชการอยั การ เงินเดอื นชน้ั 4 ขึ้นไป
ข้าราชการทหาร / ตํารวจพนั เอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงนิ เดือน พนั เอก
พิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษขน้ึ ไป
พันตาํ รวจเอก อัตราเงินเดอื นพันตํารวจเอกพเิ ศษขึ้นไป
ลูกจ้างทเี่ ทียบเทา่ ระดบั 1 - 3
บคุ คลภายนอกใหเ้ บิกเทียบเท่าขา้ ราชการระดับ 1 – 8

7มาตรา 16 การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการเพ่อื คาํ นวณเบ้ยี เล้ยี งเดนิ ทางให้นบั ตั้งแตเ่ วลาออกจากสถานท่ี
อยหู่ รือสถานทีป่ ฏบิ ตั ริ าชการตามปกติจนกลับถึงสถานทอี่ ยู่หรือสถานทีป่ ฏิบตั ริ าชการตามปกตแิ ลว้ แต่กรณี

เวลาเดนิ ทางไปราชการในกรณีที่มีการพกั แรม ใหน้ ับย่ีสิบสีช่ ั่วโมงเป็นหน่ึงวัน ถา้ ไม่ถึงยี่สบิ ส่ชี ่ัวโมงหรอื
เกนิ ย่ีสิบสี่ชั่วโมงและสว่ นทไี่ มถ่ ึงหรือเกนิ ยส่ี ิบส่ชี ว่ั โมงนนั้ นับไดเ้ กินสิบสองชั่วโมง ใหถ้ ือเปน็ หนึง่ วัน

เวลาเดินทางไปราชการในกรณีทม่ี ไิ ด้มกี ารพักแรม หากนบั ไดไ้ ม่ถึงยส่ี บิ ส่ชี ั่วโมงและสว่ นทไ่ี มถ่ ึงนั้นนบั ได้
เกินสบิ สองชัว่ โมงให้ถือเปน็ หนงึ่ วนั หากนับไดไ้ มเ่ กินสบิ สองช่ัวโมงแตเ่ กินหกชัว่ โมงข้ึนไป ใหถ้ อื เปน็ คร่ึงวนั

ในกรณีท่ผี ู้เดนิ ทางไปราชการมีความจําเป็นต้องออกเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลบั ทอ้ งที่
ต้ังสํานกั งานปกตเิ ม่อื เสรจ็ สิน้ การปฏบิ ัติราชการ เพราะมเี หตุสว่ นตัวตามมาตรา8 /1 การนับเวลาเดินทางไป
ราชการเพ่อื คาํ นวณเบี้ยเลี้ยงเดินทางกรณลี ากิจหรอื ลาพักผอ่ นก่อนปฏิบตั ิราชการใหน้ ับเวลาตงั้ แต่เริม่ ปฏบิ ัติ
ราชการเปน็ ต้นไป และกรณีลากจิ หรอื ลาพักผ่อนหลงั เสร็จสิ้น การปฏิบัตริ าชการใหถ้ ือวา่ สทิ ธใิ นการเบกิ จา่ ยเบี้ย
เลี้ยงเดินทางสน้ิ สดุ ลงเม่อื สิน้ สดุ เวลา การปฏิบัติราชการ

คาอธบิ าย
ตั้งแตอ่ อกจากทอี่ ย่หู รอื ที่ทาํ งานปกติจนกลบั ถึงทีอ่ ยหู่ รือทํางานปกติ
1. กรณีพักแรม นบั 24 ชม. เป็น 1 วนั เศษท่ี เกิน 12 ชม. นับเปน็ 1 วัน
2. กรณไี มม่ กี ารพักแรมไมถ่ งึ 24 ชม. แต่เกนิ 12 ชม.นบั เป็น 1 วัน เกิน 6 ชม.นบั เป็น ครงึ่ วัน

25

วธิ คี านวณ

ไปราชการ ตงั้ แตว่ ันท่ี 2 – 5 ก.พ. 56 ออกเดินทางตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 ก.พ. 56

ตาม พ.ร.ฎ. คา่ ใช้จ่าย 4 วนั 12 ช.ม. 30 นาที = 5 วัน
ในการเดนิ ทางไป
ราชการ ปี2553 12 34 5

9.00 9.00 9.00 9.00 9.00

วนั ออกเดินทาง วนั เดนิ ทางกลบั
จากท่ีพัก 09.00 น. ถงึ ที่พกั 21.30 น.

5 วัน x อตั ราเบีย้ เลย้ี งตามสทิ ธิ ซี 1 – 8 วนั ละ 240 = 1,200 บาท

กรณีผู้เดินทางมีการลาพักผ่อน /ลากจิ กอ่ นหรือหลงั การเดนิ ทางไปราชการเพราะมเี หตสุ ว่ นตวั
ตามมาตรา 8/1 ใหเ้ สนอผู้มีอาํ นาจอนมุ ตั เิ ดินทางครอบคลมุ วนั ลาน้ันด้วย การนับเวลาคาํ นวณเบ้ียเลีย้ ง

1. กรณลี าพักผ่อน/ลากิจ กอ่ นปฏบิ ตั ิราชการ ใหน้ บั เวลาตัง้ แต่เริ่มปฏิบัตริ าชการเปน็ ต้นไป จนกลับถงึ ท่ี
อยูห่ รอื ทํางานปกติ

2. กรณีลาพกั ผ่อน/ลากจิ หลังเสร็จสิ้นการปฏบิ ตั ริ าชการ ให้ถือว่าสทิ ธกิ ารเบิกเบ้ียเล้ียงฯ สิน้ สดุ ลงเมอ่ื
สนิ้ สดุ เวลาปฏิบตั ริ าชการ

8มาตรา 17 การเดนิ ทางไปราชการท่จี าํ เป็นตอ้ งพักแรม เวน้ แต่การพกั แรมซ่ึงโดยปกตติ ้องพกั แรมใน
ยานพาหนะ หรอื การพักแรมในทีพ่ กั แรมซ่ึงทางราชการจดั ทพ่ี ักไว้ใหแ้ ล้ว ให้ผูเ้ ดนิ ทางไปราชการเบกิ ค่าเชา่ ทพี่ ักใน
ลกั ษณะเหมาจ่ายหรือในลกั ษณะจ่ายจรงิ ก็ได้ ทงั้ น้ี ภายในวงเงินและเงื่อนไขทกี่ ระทรวงการคลังกําหนด

* ผเู้ ดินทางไปราชการมสี ิทธิเลือกค่าเชา่ ที่พักได้ทั้งจา่ ยจริงหรือเหมาจ่าย ภายในวงเงินและเงอื่ นไขที่
กระทรวงการคลังกําหนด แต่ถา้ เดนิ ทางเปน็ หม่คู ณะ การเลือกว่าจะเบิกจ่ายจรงิ หรอื เหมาจา่ ยต้องเหมือนกันทงั้
คณะ

* กรณเี ดนิ ทางเปน็ หมคู่ ณะ ตอ้ งเลือกเหมือนกนั ทัง้ คณะ และตลอดการเดินทาง เช่น เลือกเบกิ คา่ เช่าท่พี ัก
แบบเหมาจ่ายทุกคนตอ้ งเบิกแบบเหมาจ่ายถ้าเลือกแบบจา่ ยจริงทกุ คนตอ้ งเบกิ แบบจา่ ยจรเิงป็นต้น

26

อตั ราค่าเช่าทพี่ กั

ขา้ ราชการ เหมาจ่าย จ่ายจริง
ไมเ่ กิน พักคนเดียว พักคู่
ประเภททั่วไป อาวโุ สลงมา 800.-
ประเภทวิชาการชาํ นาญการพิเศษลงมา 1,500.- 850.-
ประเภทอาํ นวยการตน้ / ระดบั 8 ลงมา / ตาํ แหนง่ ทเ่ี ทียบ ไมเ่ กนิ
ข้าราชการตลุ าการเงนิ เดือนชั้น 2 ลงมา / ผู้ชว่ ยผู้พพิ ากษา /ดาโต๊ะ 1,200.- 2,200.- 1,200.-
ยตุ ิธรรม
ขา้ ราชการอัยการ เงินเดอื นชนั้ 3 ลงมา ไมเ่ กนิ 2,500.- 1,400.-
ขา้ ราชการทหาร พนั เอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ลงมา 1,200.-
ข้าราชการตาํ รวจ พนั ตํารวจเอกลงมา
ประเภททว่ั ไป ทกั ษะพเิ ศษ
ประเภทวชิ าการเช่ยี วชาญขน้ึ ไป
ประเภทอํานวยการสงู
ประเภทบริหารตน้ / ระดบั 9 ขึ้นไป / ตําแหน่งทีเ่ ทียบเท่า
ข้าราชการตลุ าการ เงนิ เดอื นชั้น 3 ขน้ั ต่าํ ข้ึนไป
ขา้ ราชการอัยการ เงินเดอื นชน้ั 4 ข้นึ ไป
ข้าราชการทหาร พันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอกอตั ราเงินเดือน
พันเอกพเิ ศษ นาวาเอกพเิ ศษ นาวาอากาศเอกพเิ ศษ ข้ึนไป
ขา้ ราชการตํารวจ พนั ตาํ รวจเอกอัตราเงินเดือนพนั ตํารวจเอกพเิ ศษ
ขน้ึ ไป
ประเภทบริหารระดบั สูง
ประเภทวชิ าการทรงคณุ วฒุ ิ / ระดับ 10 ข้นึ ไป
ข้าราชการตลุ าการ ซ่งึ รบั เงินเดือนช้ัน 3 ขั้นสงู ข้นึ ไป ขา้ ราชการ
อัยการ เงนิ เดือนช้นั 5
ข้าราชการทหารยศพลตรี พลเรอื เอก พลอากาศเอก ขา้ ราชการ
ตํารวจยศพลตํารวจตรี ข้ึนไประดบั 10 ข้นึ ไป

หมายเหตุ กรณเี ดินทางเปน็ หมคู่ ณะ (ตัง้ แต่สองคนขึน้ ไป) ต้องเลือกเหมือนกนั ทงั้ คณะ และตลอดการ
เดนิ ทาง

2มาตรา 18 การเบิกเบีย้ เลย้ี งเดินทางสําหรับการเดินทางไปราชการเร่อื งหนึง่ เร่ืองใดในสถานทีป่ ฏิบัติ

ราชการแห่งเดยี วกนั ให้เบิกได้เพยี งระยะเวลาไม่เกินหนึง่ รอ้ ยยีส่ บิ วนั นับแต่วันทีอ่ อกเดนิ ทาง ถ้าเกินตอ้ งได้รับ
อนุมัติจากปลัดกระทรวงเจ้าสังกดั สําหรับส่วนราชการใดที่ไม่มปี ลดั กระทรวงใหผ้ ูบ้ งั คับบญั ชาทีม่ ีอํานาจ

เชน่ เดียวกับปลัดกระทรวงเปน็ ผ้อู นุมตั ิ ท้ังน้ี ใหพ้ จิ ารณาถงึ ความจาํ เปน็ และประหยดั ดว้ ย

27
คาอธบิ าย

- ให้เบกิ ไดใ้ นระยะเวลาไมเ่ กนิ 120 วนั นับแตว่ ันที่ออกเดินทาง
- ถา้ เกนิ 120 วนั ขออนมุ ตั ปิ ลัดกระทรวงเจ้าสังกดั ถ้าไมม่ ีปลัดกระทรวงให้ผูบ้ งั คบั บญั ชาทม่ี อี าํ นาจ
เชน่ เดียวกับปลัดกระทรวงเป็นผอู้ นมุ ัติ
- ให้พิจารณาถงึ ความจาํ เป็นและประหยัด
- งดเบกิ เบย้ี เลี้ยงประจํา
มาตรา 21 ในกรณที ี่ผ้เู ดนิ ทางไปราชการเจ็บป่วยและจําเป็นต้องพักเพ่อื รกั ษาพยาบาล ใหเ้ บิกค่าเบ้ยี เลี้ยง
เดนิ ทางและคา่ เชา่ ท่พี ักสาํ หรบั วนั ทพี่ กั นนั้ ได้ แต่ท้ังน้ี ต้องไม่เกนิ สบิ วนั
ภายใตบ้ ังคับวรรคหนงึ่ ในกรณีท่ผี ูเ้ ดินทางเจบ็ ป่วยและต้องเขา้ พกั รกั ษาตัวในสถานพยาบาลให้งดเบิกค่า
เช่าทพ่ี ัก เว้นแต่กรณีจําเป็น
การเจ็บป่วยตามวรรคหนึ่งต้องมใี บรบั รองแพทยท์ ท่ี างราชการรบั รอง ในกรณีไมม่ แี พทยท์ ี่ทางราชการ
รับรองอยใู่ นทอ้ งท่ที เี่ กิดเจบ็ ป่วย ผเู้ ดนิ ทางต้องชแี้ จงประกอบ
กรณีเจ็บปว่ ยระหว่างเดนิ ทาเบงกิ คา่ เชา่ ท่ีพักไดไ้ ม่เกนิ 10 วัน หากมีสมั ภาระสงิ่ ของเคร่ืองใช้ของทางราชกจาํ รเป็น
ทจี่ ะต้องเช่าพักแรมเพื่อเกบ็ รักษาส่ิงของเคร่ืองใช้ดังกหลรา่ ือวเกิดเจ็บป่วยโดยปัจจบุ ันทันด่วแนจ้งยกเลกิ การเชา่ ท่พี ักไมท่ นั

คาอธบิ าย
- เบิกเบี้ยเลย้ี งเดนิ ทางและค่าเช่าทีพ่ กั ได้ แต่ทัง้ น้ตี อ้ งไมเ่ กนิ 10 วัน
- กรณีตอ้ งเข้ารักษาตวั ในสถานพยาบาลให้งดเบิกค่าเชา่ ที่พกั เว้นแต่ กรณจี ําเป็น เช่น สมั ภาระยงั อย่ทู ี่

หอ้ งพกั ยงั ไม่ไดแ้ จง้ โรงแรม และเมอ่ื กลับมาเขยี นรายงานเบิกต้องชแี้ จงเหตผุ ลความจําเป็น
- ต้องมีใบรบั รองแพทยท์ ี่ทางราชการรบั รอง
7มาตรา22 การเดนิ ทางไปราชการโดยปกติใหใ้ ช้ยานพาหนะประจําทางและใหเ้ บิกค่าพาหนะได้โดยประหยดั
ในกรณที ่ไี มม่ ยี านพาหนะประจาํ ทางหรอื มีแต่ต้องการความรวดเรว็ เพ่ือประโยชนแ์ ก่ราชการใหใ้ ชพ้ าหนะอื่น

ได้ แต่ผูเ้ ดนิ ทางไปราชการจะตอ้ งช้ีแจงเหตผุ ลและความจาํ เปน็ ไว้ในหลกั ฐานการขอเบกิ คา่ พาหนะนนั้
การเบกิ ค่าพาหนะรบั จา้ งใหเ้ บกิ ไดส้ ําหรบั กรณี ดังตอ่ ไปนี้
(1) การเดนิ ทางไปกลบั ระหวา่ งสถานท่อี ยทู่ ่ีพกั หรอื สถานที่ปฏิบตั ริ าชการกบั สถานยี านพาหนะประจาํ ทาง

หรอื กับสถานที่จัดพาหนะท่ตี ้องใช้ในการเดนิ ทางไปยังสถานทป่ี ฏบิ ัติราชการภายในเขตจังหวัดเดียวกนั
(2)การเดนิ ทางไปกลับระหว่างสถานทอี่ ยู่ท่พี กั หรอื สถานทป่ี ฏิบัติราชการภายในเขตจงั หวดั เดยี วกนั สวอันงเลทะย่ี ไวมเ่ กนิ
(3) การเดินทางไปราชการในเขตกรงุ เทพมหานคร
การเดนิ ทางตาม (1) หากเป็นการเดนิ ทางข้ามเขตจังหวัด ใหเ้ บิกค่าพาหนะรับจา้ งไดเ้ ทา่ ทจ่ี า่ ยจรงิ แตต่ ้อง

ไมเ่ กินอตั ราท่กี ระทรวงการคลังกําหนด
การเดินทางไปสอบคัดเลอื กหรอื รบั การคัดเลอื กผู้เดนิ ทางไปราชการจะเบิกค่าพาหนะรับจ้างตาม(2) ไม่ได้
ในกรณีทผ่ี ูเ้ ดนิ ทางไปราชการมีความจําเปน็ ตอ้ งออกเดินทางลว่ งหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลบั ทอ้ งท่ี

ต้งั สาํ นกั งานปกติ เมอื่ เสร็จสิ้นการปฏิบตั ิราชการเพราะมเี หตุส่วนตัวตามมาตรา 8/1 ให้เบกิ คา่ พาหนะเท่าที่จ่าย
จรงิ ตามเส้นทางท่ีได้รบั คาํ สงั่ ให้เดินทางไปราชการ กรณที ่ีมีการเดินทางนอกเสน้ ทางในระหวา่ งการลานั้น ให้เบิก
คา่ พาหนะไดเ้ ทา่ ท่ีจ่ายจรงิ โดยไม่เกินอัตราตามเส้นทางท่ีได้รับคําสั่งใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ

28

คาอธบิ าย
1. การเดินทางไปราชการโดยปกติให้ใช้ยานพาหนะประจาํ ทางและให้เบิกโดยประหยัดในเสน้ ทางท่ีสั้น

ตรง ไม่ยอ้ นเสน้ ทาง เปน็ เส้นทางท่ีไม่อันตราย สาหรับการเดินทางโดยรถด่วนหรือ รถดว่ นพเิ ศษ ชัน้ ท่ี 1 น่ังนอน
ปรบั อากาศ (บนอ.ป.) ให้เบิกไดเ้ ฉพาะระดับ 6 ขนึ้ ไป (ทว่ั ไป – ชาํ นาญงานข้นึ ไป วิชาการ - ชํานาญการข้ึนไป)

ค่าพาหนะ หมายถงึ
- คา่ โดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ
- ค่าเช้อื เพลิง ค่าระวางบรรทกุ
- คา่ จ้างคนหาบหามสิง่ ของของผ้เู ดนิ ทาง
นิยามยานพาหนะประจาทางหมายถึงรถไฟ รถโดยสารประจําทางเรือ เคร่ืองบนิ และยานพาหนะอื่นใดท่ี
- บรกิ ารแก่บคุ คลท่วั ไปประจาํ
- เสน้ ทางแนน่ อน
- คา่ โดยสาร คา่ ระวางทแ่ี นน่ อน

หลักเกณฑก์ ารเบกิ คา่ พาหนะประจาทางใหเ้ บิกได้ตามจรงิ แตไ่ ม่เกนิ สทิ ธิ ดังน้ี

สิทธกิ ารเบกิ

ผู้มสี ิทธิ รถโดยสารประจา รถไฟ เครอ่ื งบนิ หมายเหตุ
ทาง

ขา้ ราชการซี 1 - 5 หรอื ประเภท ตามจ่ายจรงิ ตัง้ แต่ชน้ั ที่ 2 นงั่ ไม่มสี ทิ ธิ (ยกเว้น

ทว่ั ไประดบั ปฏิบัตงิ านและประเภท นอน กรณมี ีความจาํ เปน็

วชิ าการระดบั ปฏบิ ตั กิ าร ปรบั อากาศ เรง่ ดว่ นเพอ่ื

พนกั งานราชการ ลงมา ประโยชน์แกท่ าง

(ยกเวน้ กลุ่มเชี่ยวชาญ) ราชการและได้รบั

ลูกจา้ งทุกประเภท อนุมัติจากอธิบดี)

ขา้ ราชการซี 6 - 8 หรือประเภท ตามจา่ ยจรงิ ตามจ่ายจริง ช้นั ประหยดั

ทวั่ ไประดับชํานาญงาน – อาวโุ ส

และประเภทวชิ าการระดบั ชาํ นาญ

การ - ระดับชาํ นาญการพิเศษและ

ประเภทอาํ นวยการระดบั ตน้

ข้าราชการซี 9 ข้นึ ไป ตามจ่ายจริง ตามจ่ายจริง ช้ันประหยดั

หรือประเภทท่วั ไประดบั ทกั ษะ

พิเศษประเภทวชิ าการระดับเชยี่ วชาญ

ทรงคุณวฒุ ิ ประเภทอํานวยการ

ระดับสงู และประเภทบริหาร

พนักงานราชการกลมุ่ เชยี่ วชาญพเิ ศษ

อธบิ ดี ตามจ่ายจรงิ ตามจา่ ยจริง ชัน้ ประหยัด

29

2. ในกรณีท่ีไมม่ ีพาหนะประจําทางหรอื ต้องการความรวดเร็วใหใ้ ชพ้ าหนะอยา่ งอ่ืนได้ แตผ่ ูเ้ ดินทางตอ้ ง
ชแี้ จงเหตุผลและความจําเปน็ ไวใ้ นหลกั ฐานขอเบิก

หลักเกณฑพ์ าหนะรับจา้ ง
1. ไมม่ ีพาหนะประจําทาง
2. มพี าหนะประจาํ ทาง แต่มีเหตุจาํ เปน็ และตอ้ งชี้แจงเหตผุ ลไวใ้ นรายงานการเดินทางด้วย

ระดับ หลกั เกณฑ์การเบกิ
ทุกระดบั * ไป - กลบั ระหวา่ งทอ่ี ย่ทู ี่พัก หรอื ทป่ี ฏิบัติราชการกบั สถานยี านพาหนะประจาํ ทาง
หรอื สถานท่จี ดั พาหนะในเขตจังหวัดเดยี วกนั

- การเดินทางขา้ มเขตจังหวดั
1. ขา้ มเขตจังหวดั ระหว่างกรุงเทพ กบั จงั หวดั ทีม่ เี ขตตดิ ต่อกับกรงุ เทพ หรือการ
เดินทางขา้ มเขตจงั หวัดผา่ นเขตกรุงเทพใหเ้ บกิ เท่าทีจ่ า่ ยจรงิ ไม่เกินเทย่ี วละ 600 บาท
2. การเดินทางขา้ มเขตจงั หวัดอนื่ ให้เบิกเทา่ ทจี่ ่ายจรงิ ไม่เกนิ เทย่ี วละ 500 บาท
* ไป – กลับระหว่างทอ่ี ยูท่ ่พี กั กับทที่ าํ งานช่ัวคราว (ยกเว้นการสอบคดั เลอื ก)
* ไปราชการในเขต กทม.
* การเดนิ ทางไป - กลบั ระหวา่ งท่ีอยู่ทพ่ี ัก หรอื สถานทปี่ ฏิบตั ริ าชการในเขตจังหวัด
เดยี วกนั ไม่เกินวนั ละ 2 เทย่ี ว

กรณีมีความจาํ เปน็ ต้องเดนิ ทางลว่ งหน้า หรอื ไมส่ ามารถเดินทางกลบั ที่ตง้ั สาํ นักงานเมอ่ื ปฏบิ ัติราชการ
เสร็จสิ้น เพราะเหตสุ ่วนตวั เบิกคา่ พาหนะเทา่ ที่จา่ ยจรงิ ตามเสน้ ทางที่ได้รบั คําส่งั ให้ไปราชการ
กรณีการเดนิ ทางนอกเสน้ ทางระหวา่ งการลา ให้เบิกคา่ พาหนะเทา่ ท่ีจ่ายจรงิ โดยไมเ่ กินอัตราตาม
เสน้ ทางทีไ่ ด้รบั คาํ สัง่ ให้ไปราชการ

มาตรา 25 การใชพ้ าหนะสว่ นตัวเดนิ ทางไปราชการ ผ้เู ดนิ ทางจะต้องไดร้ ับอนุญาตจากผบู้ งั คบั บัญชา
ดังตอ่ ไปน้ี และต้องใชพ้ าหนะนน้ั ตลอดเส้นทางจงึ จะมีสทิ ธิเบิกเงนิ ชดเชยเป็นคา่ พาหนะในลักษณะเหมาจา่ ยไดค้อื

(1) อธิบดขี ึ้นไปหรอื ตาํ แหน่งที่เทียบเท่า สาํ หรบั ราชการบรหิ ารสว่ นกลาง
(2) หัวหน้าสํานกั งาน สําหรับราชการบรหิ ารสว่ นกลางท่มี ีสํานักงานอยู่ในสว่ นภมู ภิ าค หรอื มีสํานักงาน
แยกตา่ งหากจากกระทรวง ทบวง กรม
(3) หวั หน้าสว่ นราชการในภูมิภาค สําหรับราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ในกรณผี ้เู ดนิ ทางไม่สามารถใช้พาหนะสว่ นตวั ได้ตลอดเสน้ ทาง ตอ้ งช้ีแจงเหตุผลความจําเปน็ ต่อ
ผู้บังคับบัญชาตาม (1) (2) หรือ (3) เพอื่ พิจารณาอนุญาต
มาตรา 26 เงนิ ชดเชยเปน็ ค่าพาหนะตามมาตรา 25 ใหเ้ บิกจา่ ยในประเภทค่าพาหนะตามหลกั เกณฑ์ และ
อตั ราที่กระทรวงการคลงั กาํ หนด

30
คาอธิบาย

พาหนะสว่ นตวั หมายถึง รถยนต์สว่ นบุคคลหรือรถจักรยานยนต์สว่ นบุคคลซึ่งมใิ ชข่ องทางราชการทัง้ นี้ไมว่ า่
จะเป็นกรรมสิทธ์ขิ องผ้เู ดินทางไปราชการหรอื ไม่กต็ ามใหเ้ บกิ ชดเชยในลักษณะเหมาจ่ายตามหลกั เกณฑด์ งั น้ี

หลักเกณฑ์ อตั รา

1. ต้องไดร้ ับอนมุ ตั ิจากผ้บู งั คับบัญชาหรือผู้มอี าํ นาจให้ - รถยนตส์ ่วนบุคคล กโิ ลเมตรละ 4 บาท

เดินทางไปราชการโดยพาหนะส่วนตัวกอ่ นเดนิ ทาง - รถจกั รยานยนต์ กิโลเมตรละ 2 บาท

2. การคาํ นวณระยะทางใหใ้ ช้ระยะทางตามเส้นทางของ (ดว่ นท่สี ุดท่ี กค 0409.6/ว 42 ลงวันท่ี

กรมทางหลวงในเส้นทางทีส่ นั้ และตรงถ้าไมม่ ีเส้นทาง 26 กรกฎาคม 2550)

ของกรมทางหลวงและของหนว่ ยงานอ่ืนใหผ้ เู้ ดินทาง

เปน็ ผู้รับรองระยะทาง ในการเดนิ ทาง

มาตรา 27 การเดนิ ทางไปราชการโดยเครอ่ื งบนิ ตามหลกั เกณฑ์ ดงั น้ี สทิ ธิการเบกิ
ผ้มู ีสทิ ธิ ช้นั ธรุ กิจ
ชน้ั ประหยัด
1. หัวหน้าคณะผแู้ ทนรฐั บาล ประธานรัฐสภา และรองประธานรัฐสภา ประธานวฒุ สิ ภา
และรองประธานวุฒสิ ภา ประธานสภาผแู้ ทนราษฎรและรองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ชน้ั ธุรกิจ
รฐั มนตรี และผู้ดาํ รงตําแหน่งประเภทบรหิ ารระดบั สงู ตําแหน่งหวั หนา้ ส่วนราชการระดบั
กระทรวง หรือตาํ แหนง่ ทเ่ี ทียบเทา่ สมหุ ราชองครักษ์ ผบู้ ญั ชาการทหารสูงสุด ผูบ้ ัญชาการ
ทหารบก ผบู้ ัญชาการทหารเรอื ผบู้ ัญชาการทหารอากาศ และผูบ้ ญั ชาการตาํ รวจแห่งชาติ
2. ผู้ดํารงตาํ แหนง่ ประเภทบริหารระดบั สูง ไดแ้ ก่ รองปลดั กระทรวง ผูต้ รวจราชการ อธบิ ดี
หรือตําแหน่งทเี่ ทยี บเท่า ผวู้ า่ ราชการจังหวัด เอกอัครราชทตู ตําแหน่งประเภทวิชาการ
ระดบั ทรงคณุ วุฒิ ตําแหน่งประเภทบรหิ ารระดบั ตน้ ตาํ แหนง่ ประเภทอาํ นวยการระดับสงู
หรือตาํ แหนง่ ทเ่ี ทียบเทา่ หรอื ข้าราชการทหารซง่ึ มียศพลตรี พลเรือตรี พลอากาศตรี ขนึ้ ไป
หรอื ขา้ ราชการตาํ รวจซ่ึงมยี ศพลตํารวจตรีขน้ึ ไป
3. ผดู้ ํารงตาํ แหน่งประเภทวชิ าการระดบั เช่ยี วชาญ ตําแหนง่ ประเภทท่วั ไประดับทักษะ
พิเศษ ตาํ แหน่งประเภทอํานวยการระดบั ตน้ ตาํ แหนง่ ประเภทวิชาการระดับชาํ นาญการ
พิเศษ ตําแหนง่ ประเภทท่วั ไประดับอาวุโส ตาํ แหนง่ ประเภทวชิ าการระดับชาํ นาญการ
ตําแหนง่ ประเภททวั่ ไประดบั ชาํ นาญงานหรอื ขา้ ราชการทหารซึ่งมยี ศพนั โท นาวาโท นาวา
อากาศโท ข้ึนไป หรอื ข้าราชการตํารวจซงึ่ มยี ศพนั ตาํ รวจโทข้นึ ไป
4. ผู้ดํารงตาํ แหน่งระดบั หรือยศ ตาํ่ กวา่ ที่ระบุใน (1) หรอื (2) เฉพาะกรณีทีม่ คี วามจาํ เปน็
รีบดว่ นเพ่อื ประโยชน์แก่ทางราชการ
ในกรณผี เู้ ดินทางตาม ขอ้ 2. มีความจาํ เป็นต้องโดยสารเคร่ืองบินในช้นั ทส่ี ูงกว่าสิทธิ ให้ผู้
ดํารงตาํ แหน่งที่เดินทางดงั กล่าวสามารถเดินทางและเบกิ ค่าโดยสารเครื่องบนิ ในช้นั ทีส่ งู
กว่าสทิ ธิไดโ้ ดยตอ้ งได้รบั อนุมตั ิจากปลัดกระทรวงเจา้ สงั กดั ผู้บัญชาการหนว่ ยบญั ชาการ

31

ผ้มู ีสิทธิ สทิ ธกิ ารเบกิ

ถวายความปลอดภยั รกั ษาพระองค์ สมุหราชองครกั ษ์ ผ้บู ญั ชาการทหารสูงสุด ผบู้ ญั ชาการ

ทหารบก ผู้บญั ชาการทหารเรือ ผูบ้ ญั ชาการทหารอากาศ และผบู้ ัญชาการตาํ รวจแหง่ ชาติ

สาํ หรับสว่ นราชการใดที่ไมม่ ปี ลัดกระทรวง ให้ผบู้ ังคบั บัญชาท่ีมีอาํ นาจเชน่ เดียวกบั

ปลัดกระทรวงเปน็ ผอู้ นมุ ตั ิ

ไม่เขา้ หลกั เกณฑต์ าม 1. –4. ให้เบกิ ได้เทียบเท่า

ภาคพื้นดนิ

หลักฐานท่ใี ช้ประกอบการเบกิ
- คา่ โดยสารเครื่องบินใหใ้ ชห้ ลักฐานการจ่าย ดังน้ี (หนังสอื ท่ี กค 0408.4/ว 165 ลงวันที่ 22 ธนั วาคม

2559)
หลกั ฐานการเบิกจ่ายเงนิ ค่าบัตรโดยสารเครือ่ งบนิ
1. กรณสี ่วนราชการเป็นผู้ดําเนนิ การจัดซื้อบตั รโดยสารเครอ่ื งบนิ ให้ใช้ใบแจ้งหน้ีของบริษัทสายการบนิ

หรือตวั แทนจําหนา่ ย หรือผูป้ ระกอบธรุ กิจนําเทีย่ วเป็นหลกั ฐานประกอบการเบกิ ค่าบัตรโดยสารเคร่ืองบิน และใช้
ใบเสรจ็ รบั เงนิ เป็นหลกั ฐานการจ่ายของสว่ นราชการ

2. กรณีผู้เดินทางเปน็ ผ้ดู าํ เนนิ การจดั ซื้อบัตรโดยสารเครอ่ื งบนิ ให้ใช้ใบเสร็จรบั เงนิ ของบรษิ ัทสายการบิน
หรอื ตัวแทนจําหน่าย หรือผปู้ ระกอบการธรุ กจิ นําเท่ยี ว หรอื ใบรับเงนิ ที่แสดงรายละเอยี ดการเดนิ ทาง ซ่ึงระบชุ อ่ื
สายการบิน วนั ทอี่ อก ช่ือ/สกลุ ผู้เดินทาง ต้นทาง - ปลายทาง เลขท่เี ทีย่ วบิน วนั เวลา ท่เี ดนิ ทาง จาํ นวนเงนิ ท่ี
พิมพ์ออกจากระบบอิเล็กทรอนิกส์เปน็ หลกั ฐานประกอบการเบิกคา่ บตั รโดยสารเครอ่ื งบิน และใชแ้ บบใบเบกิ
ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการเปน็ หลกั ฐานการจ่ายของสว่ นราชการ

การเดนิ ทางไปราชการประจา
7มาตรา 32 การเดนิ ทางไปราชการประจําไดแ้ ก่
(1) การเดนิ ทางไปประจําตา่ งสํานักงาน ไปรักษาการในตาํ แหนง่ หรอื รกั ษาราชการแทน เพอื่ ดาํ รง
ตาํ แหน่งใหม่ ณ สาํ นักงานแหง่ ใหม่
(2) การเดินทางไปประจาํ สํานกั งานแหง่ เดิม ในทอ้ งทแ่ี หง่ ใหม่ในกรณยี า้ ยสาํ นักงาน
(3) การเดินทางไปปฏบิ ตั ิงานตามโครงการหรอื การเดนิ ทางไปช่วยราชการท่ีมกี าํ หนดเวลาสิน้ สุดของ
โครงการหรือการช่วยราชการไว้ชัดเจน ซ่งึ มีกําหนดเวลาตัง้ แตห่ นง่ึ ปขี ้นึ ไป
(4) การเดินทางไปช่วยราชการท่ไี มอ่ าจกําหนดระยะเวลาสนิ้ สุดหรอื มีกาํ หนดเวลาไม่ถงึ หน่งึ ปซี ่ึงตอ่ มา
ภายหลัง สว่ นราชการมคี วามจาํ เปน็ ต้องใหข้ ้าราชการผู้นั้นอย่ชู ่วยราชการ ณ สถานทแ่ี หง่ เดมิ นั้น ใหน้ ับเวลาการ
ช่วยราชการตอ่ เน่อื งและให้ถือเวลาการช่วยราชการตั้งแตว่ นั ท่คี รบกําหนดหน่ึงปเี ป็นต้นไปเป็นการเดนิ ทางไป
ราชการประจํา

32
คาอธิบาย

การเดินทางไปราชการในลักษณะประจาํ ตอ้ งเขา้ หลักเกณฑเ์ หลา่ น้ี ใหด้ ชู ่วงระยะเวลาประกอบด้วย
อยา่ งเชน่ ไปปฏิบัตงิ านหรอื ช่วยราชการเกนิ 1 ปีข้นึ ไป คาํ สัง่ ในลกั ษณะนี้ถือเปน็ ไปราชการในลกั ษณะประจาํ หรอื
ในคําสั่งทีก่ าํ หนดว่า ท้งั นี้ ตัง้ แต่บดั นีเ้ ป็นต้นไป หรือไม่ไดก้ ําหนดระยะเวลาไว้ หรอื ในคาํ สั่งกําหนดวา่ ต้ังแต่บัดน้ี
เปน็ ต้นไป จนกวา่ จะมีการเปลีย่ นแปลงเปน็ อยา่ งอ่นื ถอื วา่ ไปราชการในลักษณะประจาํ เชน่ เดียวกนั

7มาตรา 33 ผูเ้ ดินทางไปราชการประจําซ่งึ มใิ ชผ่ ้ซู ง่ึ ได้รบั คาํ ส่งั ใหเ้ ดนิ ทางไปประจําสํานักงานแห่งใหม่ตามคํา
ร้องขอของตนเองใหเ้ บกิ คา่ ใชจ้ า่ ยไดต้ ามมาตรา 14 และกรณที ผ่ี ู้เดนิ ทางดังกล่าวมคี วามจําเป็นต้องยา้ ยท่อี ยูใ่ หม่ ให้
เบกิ ค่าขนย้ายส่งิ ของสว่ นตัวในลกั ษณะเหมาจา่ ยได้ภายในวงเงนิ และเงือ่ นไขท่กี ระทรวงการคลงั กําหนด

คาอธบิ าย
1. ค่าใช้จา่ ยทสี่ ามารถเบกิ จ่ายได้ ในกรณเี ดินทางไปราชการในลกั ษณะประจาํ มดี งั นี้
1.1 เบย้ี เล้ียง ไม่เหมือนการเดินทางไปราชการช่วั คราว จะแตกต่างโดยสิ้นเชงิ
ตัวอยา่ ง กรณเี ดินทางไปราชการช่วั คราว 3 เดอื น แมก้ ระทัง่ นอนอยทู่ ่พี ักแรมยังเบิกได้ และหากผู้จดั จดั

เลีย้ งอาหาร (ไม่ใช้เข้ารับการอบรม ) ไม่หักค่าเบย้ี เลี้ยงเพราะเบี้ยเลี้ยงไปราชการ นับให้ต้งั แตอ่ อกจากบา้ นพักจน
กลับถงึ บ้านพกั เลี้ยงอาหารหรอื ไม่ ไมส่ นใจ แต่การนบั เพอ่ื เบกิ จ่าย คา่ เบี้ยเล้ียงกรณไี ปราชการประจําให้นบั จากที่
อยูท่ บ่ี า้ นพัก ถึงสถานทีพ่ ักแห่งใหมต่ ามคําสง่ั เบ้ียเล้ียงนบั ได้กีช่ ่ัวโมงได้เทา่ นัน้

1.2 ค่าเช่าที่พกั หากบุคคลในครอบครัวทีร่ ว่ มอาศัยอยรู่ ่วมเดินทางไปดว้ ย กม็ ีสิทธเิ ลือกว่าจะเบกิ จา่ ย
จรงิ หรือจะเบกิ เหมาจา่ ยกไ็ ด้ แตต่ ้องเลอื กเหมือนกันทั้งหมคู่ ณะ

1.3 คา่ พาหนะ
1.4 ค่าใช้จ่ายอนื่ ท่ีจาํ เปน็ ต้องจ่าย
1.5 คา่ ขนย้ายเปน็ สิ่งทเ่ี พ่ิมขนึ้ มาเบิกในลักษณะเหมาจ่าย จะใช้สิทธไิ ดเ้ ม่ือทา่ นมกี ารเดินทางและ ขน
ยา้ ยจริงเทา่ นนั้
7มาตรา 36 ผเู้ ดนิ ทางไปราชการประจําจะเบกิ ค่าเช่าท่ีพกั และค่าพาหนะสาหรับบุคคลในครอบครวั ไดโ้ ดย
ประหยดั
8การเบิกค่าเชา่ ท่ีพักและคา่ พาหนะสาหรบั ผตู้ ดิ ตามใหเ้ บกิ ได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) หนึง่ คน สาํ หรบั ขา้ ราชการซึง่ ดาํ รงตาํ แหน่งประเภททัว่ ไประดบั ชาํ นาญงาน ตาํ แหน่งประเภทวิชาการ
ระดบั ปฏิบัตกิ าร ตําแหน่งประเภทท่วั ไประดบั ปฏบิ ตั งิ าน หรอื ตําแหนง่ ท่ีเทยี บเท่า หรอื ข้าราชการทหารซึ่งมยี ศพนั
โท นาวาโท นาวาอากาศโท ลงมา หรอื ข้าราชการตาํ รวจซึ่งมยี ศ พนั ตํารวจโท ลงมา
(2) ไม่เกนิ สองคน สาหรบั ขา้ ราชการซ่งึ ดํารงตําแหนง่ ประเภทบรหิ ารระดับสงู ตําแหนง่ ประเภทวชิ าการ
ระดับทรงคณุ วุฒิ ตาํ แหน่งประเภทบริหารระดับตน้ ตําแหนง่ ประเภทอํานวยการระดับสงู ตําแหนง่ ประเภท
วชิ าการระดบั เช่ียวชาญ ตาํ แหน่งประเภทท่ัวไประดับทักษะพิเศษ ตําแหน่งประเภทอาํ นวยการระดับตน้ ตาํ แหน่ง
ประเภทวชิ าการระดับชํานาญการพิเศษ ตาํ แหน่งประเภทท่วั ไประดับอาวโุ ส ตําแหน่งประเภทวชิ าการระดับ
ชํานาญการ หรอื ตําแหนง่ ทเี่ ทยี บเทา่ หรอื ข้าราชการทหารซึง่ มียศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก ขน้ึ ไป หรือ
ข้าราชการตํารวจซง่ึ มียศพนั ตาํ รวจเอก ข้นึ ไป

33

คาอธบิ าย
1. ผู้มสี ทิ ธใิ นการเบกิ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการประจํา
1.1 ผู้มีสิทธิเบกิ คือ ตนเอง และบคุ คลในครอบครวั
1.2 บุคคลในครอบครัว ไดแ้ ก่ คู่สมรส บุตร บิดามารดาทงั้ ของตนเองและของคู่สมรส รวมถึงผตู้ ดิ ตาม

ซ่งึ นยิ ามของคาํ ว่าบุคคลในครอบครัว หมายถึง อยใู่ นความอุปการะ ร่วมอาศยั อยูก่ ับผเู้ ดนิ ทาง
1.3 ข้อพิจารณา กรณีไปส่งและอยดู่ ว้ ยกนั อาทติ ย์เดียวแลว้ กลับ เบิกได้หรือไม่ คาํ ตอบ เบกิ ไมไ่ ด้

เพราะถอื ว่าไมม่ เี จตนาทจี่ ะไปอย่ดู ้วยกนั
1.4 คูส่ มรสตอ้ งเป็นคสู่ มรสท่จี ดทะเบยี นถกู ต้องตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1.5 ขอ้ พิจารณา กรณีข้าราชการนับถือศาสนาอสิ ลามปฏบิ ัตริ าชการปกติอยู่ จังหวัดปัตตานี ซง่ึ

กฎหมายอสิ ลามใชก้ ับ 4 จงั หวัด ภาคใต้ คอื ยะลา ปัตตานี นราธวิ าส สตูล ไมใ่ ห้นําประมวลแพง่ ฯ มาใช้กับ 4
จงั หวดั น้ใี นเรอ่ื งมรดก โดยขา้ ราชการทา่ นนมี้ ภี รรยา 4 คน (อิสลาม มภี รรยาได้ 4 คน) ซึ่งอยูด่ ้วยกันที่ จงั หวดั
ปตั ตานี ตอ่ มาได้รับคาสง่ั ให้ไปปฏบิ ตั ริ าชการประจําท่โี คราช ค่สู มรสทงั้ 4 คน เบกิ ได้หรอื ไม่ คาํ ตอบ ได้หารอื กบั
กฤษฎกี า สรปุ วา่ หลักเกณฑก์ ารเบิกใชก้ ฎหมายเดียวคือ ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ คือภรรยาท่ีจด
ทะเบียนสมรสถูกตอ้ งตามกฎหมายแพ่งและพาณิชยส์ ามารถเบิกได้ ภรรยาทเ่ี หลอื อีก 3 คนเบิกไมไ่ ด้ เพราะฉะน้นั
ตอ้ งจดทะเบยี นกบั ใครคนใดคนหน่งึ ใน 4 คน แตถ่ ้าข้าราชการผู้นม้ี ภี รรยา 4 คน และเลีย้ งดูไดเ้ ป็นอยา่ งดี การเบกิ
ค่าขนยา้ ยอีก 3 คน คงไมเ่ ปน็ ปญั หา

1.6 บุตร ต้องเป็นบุตรท่ีชอบด้วยกฎหมาย หรอื จดทะเบยี นรบั รองบตุ ร หรอื บตุ รบุญธรรม ก็ต้องให้
ถูกตอ้ ง

1.7 ผู้ตดิ ตาม หรือผูร้ บั ใช้ ทีส่ ามารถติดตามไปอยู่กบั เราได้ ถา้ ระดบั 6 ลงมาเบกิ ได้ 1 คน ระดับ 7 ขน้ึ
ไปเบิกได้ 2 คน

2. หลักเกณฑ์ทป่ี รบั ใหม่ หากเดินทางไปประจาํ ตา่ งสงั กดั ใหเ้ บกิ ทางสังกัดใหมท่ ่ไี ปประจําน้นั ไมเ่ บิกกับ
สังกัดเดมิ คาํ วา่ สังกัดในท่ีน้ี หมายถึง กระทรวง ทบวง กรม เท่านน้ั ถา้ เปน็ การยา้ ยในภูมิภาคหรือภมู ิภาคยา้ ยเขา้
สว่ นกลาง หรือส่วนกลางไปภมู ภิ าค และหากมกี ารยา้ ยระหวา่ งหนว่ ยงานซงึ่ เปน็ กรมเดยี วกนั ไมเ่ ข้าหลักเกณฑ์น้ี

การเดินทางกลับภูมิลาเนาเดิม
มาตรา 42 การเดนิ ทางกลบั ภูมิลําเนาเดิม ให้หมายความถงึ การเดินทางเพ่ือกลับภูมลิ าํ เนาเดิมของผู้
เดินทางไปราชการประจาํ ในกรณีท่อี อกจากจากราชการหรือถกู สงั่ พกั ราชการ

คาอธบิ าย
การเดินทางกลับภูมลิ าํ เนา ภูมิลาํ เนาหลายคนเขา้ ใจว่ากลับไปจงั หวัดท่มี ีชอ่ื ในทะเบยี นบา้ นหรอื เปลา่
บา้ นเกิดหรอื ไม่ต้องบอกวา่ ภูมิลาํ เนาในทนี่ คี้ ือท้องท่ีๆ รับราชการครง้ั แรกหรือกลับเข้ารบั ราชการใหม่
มาตรา 43 ขา้ ราชการซึ่งออกจากราชการหรือลกู จา้ งซึ่งทางราชการเลิกจา้ ง จะเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการ
เดนิ ทางสาํ หรบั ตนเองและบคุ คลในครอบครวั ไดเ้ ฉพาะค่าเชา่ ทพ่ี ัก ค่าพาหนะ และคา่ ขนย้ายสง่ิ ของสว่ นตัวเพือ่
กลับภูมลิ าํ เนาเดิมของขา้ ราชการหรือลกู จ้างผู้นน้ั ตามอตั ราสาํ หรบั ตําแหนง่ ระดบั ชั้น หรอื ยศคร้ังสุดท้ายก่อนออก
จากราชการ หรือเลกิ จ้าง

34

ในกรณีท่ีข้าราชการหรือลูกจา้ งถึงแก่ความตาย ให้สิทธิในการเบกิ ค่าใช้จ่ายตามวรรคหนึ่ง ตกแกท่ ายาท
ผใู้ ดผ้หู น่งึ ท่ีอยู่กับขา้ ราชการหรอื ลกู จา้ งขณะถงึ แกค่ วามตาย

ในกรณที ี่ไมม่ ีทายาททีอ่ ยกู่ บั ข้าราชการหรือลูกจ้างขณะถงึ แก่ความตาย หรอื มที ายาทแตไ่ มส่ ามารถ
จัดการได้ ใหส้ ทิ ธใิ นการเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยตามวรรคหน่งึ ตกแก่ทายาทผใู้ ดผูห้ นง่ึ ท่มี ิได้ไปอยูด่ ว้ ย ถา้ ทายาทผู้น้นั ต้อง
เดนิ ทางไปจดั การดงั กลา่ วให้เบกิ คา่ ใชจ้ ่ายตามวรรคหนงึ่ สาํ หรบั ตนเองไดเ้ ฉพาะการเดนิ ทางกลบั

การเดินทางและการขนย้ายสิง่ ของตามมาตราน้ี ให้กระทาํ ภายในหนง่ึ ร้อยแปดสบิ วนั นับแต่วนั ออกจาก
ราชการ เลิกจา้ ง หรอื ตาย ถา้ เกินตอ้ งไดร้ บั ความตกลงจากกระทรวงการคลัง

มาตรา 44 ข้าราชการซึง่ ถกู ส่ังพกั ราชการหรือลูกจ้างซึ่งถูกพกั การจา้ ง จะเบิกคา่ ใช้จ่ายสาํ หรับตนเองและ
บุคคลในครอบครวั เฉพาะค่าเช่าท่พี กั ค่าพาหนะ และคา่ ขนย้ายสง่ิ ของสว่ นตวั เพอื่ กลบั ภูมิลําเนาเดมิ ของ
ข้าราชการหรอื ลูกจ้างผนู้ ้นั โดยจะไมร่ อผลการสอบสวนถงึ ทสี่ ุดกไ็ ด้

มาตรา 45 ในกรณีที่ผมู้ ีสทิ ธเิ บิกค่าใช่จา่ ยในการเดนิ ทางกลับภมู ิลาํ เนาเดมิ ตามมาตรา 43 และมาตรา 44
จะขอเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไปยังท้องทอี่ ่ืน ซึง่ มิใชภ่ ูมลิ าํ เนาเดิมโดยเสยี ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไม่สูงกว่า ให้
กระทาํ ได้เมอ่ื ไดร้ ับอนญุ าตจากผู้บังคับบญั ชาซ่ึงดํารงตาํ แหน่งอธิบดขี ้ึนไป หรอื ตําแหนง่ ทเี่ ทยี บเทา่ สําหรบั
ราชการบรหิ ารส่วนกลาง หรอื ผู้วา่ ราชการจังหวดั สาํ หรับราชการบรหิ ารสว่ นภมู ิภาค

คาอธบิ าย
คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางกลบั ภมู ลิ ําเนาที่เบิกให้มี 3 รายการ คอื คา่ เชา่ ทีพ่ กั ค่าพาหนะ และค่าขนยา้ ย

ส่งิ ของสว่ นตัว คา่ เบย้ี เลยี้ งไม่ใหเ้ พราะเปน็ กรณที อี่ อกจากราชการแลว้ อาหารในระหว่างทีเ่ ดินทางกลบั ต้อง
รับภาระเอง

1. สิทธิในการเบิกไดท้ ุกกรณี แมเ้ สียชีวิตก็สามารถเบิกได้ ออกจากราชการกเ็ บิกได้ หรอื โดนไลอ่ อก ไมไ่ ด้
คํานึงถึงผลการสอบสวนว่าจะผิดหรือไมผ่ ดิ อยา่ งไร เม่ือมีคาํ สัง่ ใหอ้ อกจากราชการทกุ กรณี สามารถเบิกคา่ ใชจ้ า่ ย
กลบั ภมู ลิ ําเนาได้

2. กรณีที่เสียชวี ิตมีหนงั สือสัง่ การกาํ หนดว่า ถา้ ในระหว่างที่ข้าราชการไปราชการและเสียชีวิต ในระหวา่ ง
ที่ไปราชการนั้น ค่าใช้จ่ายท่ีเกดิ ข้ึนดงั กล่าวจะจ่ายให้แกท่ ายาท เพราะถอื เปน็ มรดกตกทอดใหก้ บั ทายาทของ
ผ้เู สียชวี ิตนัน้ คาํ วา่ ทายาทในท่นี ี้ตอ้ งเป็นตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

3. ต้องเดนิ ทางและขนย้ายภายใน 180 วัน นบั แตอ่ อกจากราชการ ถูกเลกิ จา้ ง หรอื ตาย หากเกินเวลาที่
กาํ หนดให้ข้อตกลงกบั กระทรวงการคลัง

การเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชัว่ คราว
7มาตรา 47 การเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศชั่วคราว ได้แก่
(1) การเดินทางของผูร้ บั ราชการประจาํ ในประเทศไทซยง่ึ เดนิ ทางไปราชการนอกราชอาณาจกั รเพอ่ื ปฏบิ ตั ิงาน

การประชุมเจรจาธุรกิจดูงาน ตรวจสอบบัญชีหรือปฏบิ ัติหนา้ ท่ีอยา่ งอืน่ เป็นคร้ังคราวตามความจําเปน็
(2) การเดนิ ทางของผูร้ บั ราชการประจําในต่างประเทศ ซง่ึ เดนิ ทางไปราชการ ณ ที่ใดๆ ในตา่ งประเทศ

หรอื มายังประเทศไทย เฉพาะเวลาทเี่ ดินทางอยู่นอกราชอาณาจักร เพอ่ื ปฏิบัติงานนอกที่ตง้ั สาํ นกั งานในเขตอาณา
หรอื เขตพ้นื ท่ีรับผิดชอบ หรือ

35

(3) การเดนิ ทางของผู้รับราชการประจําในตา่ งประเทศ ซง่ึ เดนิ ทางไปชว่ ยราชการ รักษาการในตาํ แหนง่
หรอื รกั ษาราชการแทนตา่ งสํานักงานในตา่ งประเทศ เฉพาะเวลาที่ออกเดินทางจากทพ่ี กั ซ่ึงเป็นทตี่ ง้ั สํานักงานแห่ง
เดิมจนถึงทพ่ี กั ซึง่ เปน็ ที่ต้ังสาํ นกั งานแหง่ ใหม่

ถา้ ผูเ้ ดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชว่ั คราวได้รบั ความชว่ ยเหลอื จากตา่ งประเทศ หรือจากหนว่ ยงานใดๆ
ในเรื่องค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางแลว้ ไมม่ สี ทิ ธเิ บกิ คา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการตามพระราชกฤษฎีกานีอ้ ีก แต่
หากความชว่ ยเหลอื ทีไ่ ด้รบั น้อยกว่าสิทธิทจี่ ะพงึ มตี ามพระราชกฤษฎีกาน้ี ให้เบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยสมทบได้ตามเงอื่ นไขท่ี
กระทรวงการคลังกาํ หนด

คาอธบิ าย
ผมู้ สี ิทธเิ บิกค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ไดแ้ ก่
1. ข้าราชการประจําในไทย เดนิ ทางไปตา่ งประเทศเพ่อื ประชมุ เจรจาธุรกิจ ดูงาน ตรวจสอบบัญชี ปฏิบัติ

หนา้ ท่ีอื่นตามความจําเป็น
2. ข้าราชการประจําในตา่ งประเทศ เดินทางไป ณ ทีใ่ ดๆ ในต่างประเทศหรอื มาประเทศไทย เฉพาะเวลา

ที่เดินทางอย่นู อกประเทศไทย
3. ข้าราชการประจาํ ต่างประเทศ ไปชว่ ยราชการ รักษาการในตาํ แหน่ง รกั ษาราชการแทน ต่างสํานกั งาน

ในตา่ งประเทศ เฉพาะเวลาทอ่ี อกเดนิ ทางจากที่พกั เดิมถึงท่พี กั สาํ นกั งานแหง่ ใหม่
กรณีขา้ ราชการที่เดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ได้รบั เงนิ ช่วยเหลอื เปน็ คา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทาง

จากหน่วยงานอื่นแล้ว จะไมม่ สี ิทธิเบกิ ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางฯ แต่หากน้อยกวา่ สิทธทิ ่ตี นเองไดร้ บั ให้เบิก
ค่าใชจ้ า่ ยสบทบได้

การขออนุมตั เิ ดนิ ทางไปราชการต่างประเทศช่วั คราวจะมีเวลากําหนดไวแ้ ยกเปน็ แตล่ ะทว-ีปประเทศ ดงั น้ี

ก่อนเรมิ่ ปฏบิ ัตริ าชการ (ช.ม.) ทวีป-ประเทศ หลังเสร็จสิ้นการปฏิบตั ิ
ราชการ (ช.ม.)

ไม่เกิน 24 ชม. ทวีปเอเซยี ไมเ่ กนิ 24 ชม.

ไมเ่ กิน 48 ชม. ออสเตรเลีย นิวซแี ลนด์ ไมเ่ กิน 48 ชม.

ทวีปยุโรป อเมรกิ าเหนือ

ไม่เกิน 72 ชม. ทวปี อเมรกิ าใต้ แอฟรกิ า ไม่เกนิ 72 ชม.

ท้งั นี้ การนับเวลาขออนมุ ัตเิ ดินทางไปราชการตา่ งประเทศ ให้เร่ิมนบั ตงั้ แต่ประทบั ตราหนงั สอื เดนิ ทางออก

จากสนามบนิ ที่บินออกนอกประเทศ จนถงึ เมืองนั้น ๆ เชน่ ถ้าปฏิบตั ิราชการอยทู่ จ่ี ังหวัดเชยี งใหม่ จะเดนิ ทางไป

ราชการประเทศนวิ ซแี ลนดไ์ ม่มเี ครอ่ื งบินทบ่ี ินตรงจากจังหวดั เชียงใหม่ไปประเทศนิวซแี ลนด์ จึงตอ้ งนงั่ เครื่องจาก

สนามบนิ เชยี งใหม่ มาสนามบินสวุ รรณภมู ิ แลว้ จงึ บินไปประเทศนวิ ซีแลนด์ กใ็ หข้ ออนุมตั เิ ดนิ ทางก่อนเริม่ ปฏิบัติ

ราชการ โดยเรม่ิ นับเวลาจากประทับตรา ณ สนามบนิ สุวรรณภูมิ จนถงึ ประเทศนิวซีแลนด์ ตอ้ งไม่เกิน 48 ชั่วโมง

ไมใ่ ช่นับจากสนามบนิ จงั หวดั เชยี งใหม่ เปน็ ต้น

36

มาตรา 48 คา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชัว่ คราว ได้แก่
(1) เบ้ียเลย้ี งเดินทาง
(2) คา่ เช่าท่ีพัก
(3) คา่ พาหนะรวมท้งั คา่ เช่ายานพาหนะ ค่าเชอื้ เพลงิ หรือพลังงานสําหรับยานพาหนะ คา่ ระวางบรรทกุ
ค่าจา้ งคนหาบหาม และอ่ืน ๆ ทํานองเดียวกนั
(4) ค่ารบั รอง
(5) ค่าใช้จ่ายอนื่ ท่จี ําเปน็ เน่ืองในการเดินทางไปราชการ

คาอธิบาย
ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชัว่ คราว ประกอบด้วย ค่าเบ้ยี เลี้ยงเดนิ ทาง /คา่ อาหาร คา่

เช่าที่พัก คา่ พาหนะ คา่ รบั รอง และค่าใช้จ่ายอ่นื ท่ีจาํ เปน็ ฯ
7มาตรา 49 เบี้ยเล้ยี งเดินทางไปราชการต่างประเทศชวั่ คราวให้เบกิ ไดใ้ นลกั ษณะเหมาจ่ายภายในวงเงินท่ี

กระทรวงการคลังกาํ หนด
ผ้เู ดินทางไปราชการตา่ งประเทศชั่วคราวท่มี ิไดเ้ บิกเบ้ียเล้ยี งเดนิ ทางตามวรรคหนึง่ ใหเ้ บิกคา่ อาหารและ

คา่ เครื่องดืม่ รวมทั้งคา่ ภาษแี ละค่าบริการท่ีโรงแรม ภตั ตาคาร หรอื ร้านคา้ เรยี กเกบ็ จากผู้เดินทางไปราชการได้
เท่าท่ีจ่ายจรงิ ภายในวงเงินและเงอ่ื นไขท่กี ระทรวงการคลงั กําหนดและใหเ้ บิกค่าใชส้ อยเบ็ดเตลด็ ได้ในลกั ษณะ
เหมาจา่ ยภายในวงเงินท่ีกระทรวงการคลังกาํ หนด

หากผเู้ ดินทางไปราชการตา่ งประเทศช่ัวคราวตามวรรคสองไปราชการต้ังแตเ่ จด็ วนั ขนึ้ ไปให้เบิกค่าทาํ ความ
สะอาดเสอ้ื ผ้าสําหรับระยะเวลาทเ่ี กินเจ็ดวนั ไดเ้ ท่าทจ่ี ่ายจรภงิ ายในวงเงนิ และเงื่อนไขที่กระทรวงการคลังกาํ หนด

ผู้เดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชว่ั คราวจะเลอื กเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายตามวรรคหน่งึ หรือวรรคสองได้เพียงอย่าง
เดียว ตลอดระยะเวลาของการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชัว่ คราวนั้นไม่วา่ จะเดนิ ทางไปประเทศเดียว หรือ
หลายประเทศกต็ าม

การเดินทางไปราชการชว่ั คราวของผู้รับราชการประจําในต่างประเทศภายในประเทศทีผ่ ู้น้นั ประจาํ อยู่ ให้
เบกิ เบยี้ เลยี้ งเดนิ ทางไดใ้ นอัตรากง่ึ หนงึ่

ในกรณที ่ผี ู้เดนิ ทางไปราชการเจบ็ ป่วยและจาํ เป็นต้องพักเพื่อรักษาพยาบาล ใหน้ าํ มาตรา 21 มาใช้บงั คบั
โดยอนุโลม

การเดนิ ทางไปราชการของลกู จ้างท่สี ว่ นราชการในตา่ งประเทศเปน็ ผู้จา้ ง ใหเ้ บิกเบ้ียเลย้ี งเดินทางและค่า
เช่าทพี่ กั ไดต้ ามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกําหนด

7มาตรา 50 การนับเวลาเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศเพ่ือคาํ นวณเบยี้ เลี้ยงเดนิ ทางสาํ หรับผูร้ ับราชการ
ประจาํ ในประเทศไทย ใหน้ ับตงั้ แต่ประทับตราหนงั สือเดินทางออกจากประเทศไทยจนถงึ เวลาท่ีประทบั ตรา
หนงั สือเดินทางเข้าประเทศไทย สําหรบั ผู้รบั ราชการประจําในตา่ งประเทศ ใหน้ บั ตั้งแต่เดนิ ทางจากท่พี กั ประจาํ ใน
ตา่ งประเทศหรือสถานที่ปฏิบตั ิราชการตามปกติจนกลับถึงทพี่ ักประจาํ ในตา่ งประเทศ หรือสถานท่ีปฏบิ ตั ิราชการ
ตามปกติ แลว้ แต่กรณี แตใ่ นกรณที ีเ่ ดนิ ทางมายงั ประเทศไทย มิใหร้ วมเวลาต้ังแต่ประทบั ตราหนังสือเดนิ ทางเข้า
ประเทศไทยจนถงึ เวลาที่ประทบั ตราหนังสอื เดินทางออกจากประเทศไทย

37

ในกรณีการเดนิ ทางของขา้ ราชการในส่วนราชการทีใ่ ช้เอกสารอยา่ งอื่นซึง่ มใิ ช่หนังสอื เดินทางเวลาที่ถอื ว่า
เปน็ เวลาเข้าและออกจากประเทศไทยใหใ้ ช้เวลาประทับตราเขา้ และออกในเอกสารนนั้

เวลาเดินทางไปราชการในกรณที มี่ กี ารพักแรม ให้นับยส่ี บิ ส่ชี ัว่ โมงเปน็ หน่ึงวัน ถ้าไมถ่ ึงย่ีสบิ สช่ี วั่ โมง หรอื
เกินยีส่ บิ สชี่ ั่วโมงและส่วนท่ไี มถ่ ึง หรือเกนิ ยสี่ บิ ส่ชี ว่ั โมงนนั้ นับได้เกินสิบสองชัว่ โมง ให้ถือเปน็ หนงึ่ วนั เวลาเดนิ ทาง
ไปราชการในกรณที ่ีมิได้มีการพกั แรม หากนบั ไดไ้ ม่ถึงยสี่ ิบส่ชี ัว่ โมงและส่วนที่ ไมถ่ งึ น้ันนบั ได้ เกินสบิ สองชว่ั โมง
ใหถ้ ือเปน็ หนึง่ วัน หากนับไดไ้ มเ่ กินสิบสองชว่ั โมง แต่เกินหกช่วั โมงข้นึ ไป ใหถ้ อื เปน็ คร่งึ วนั

ในกรณที ่ผี ้เู ดินทางไปราชการมคี วามจาํ เปน็ ต้องออกเดนิ ทางล่วงหนา้ หรอื ไมส่ ามารถเดินทางกลบั ทอ้ งที่
ตง้ั สํานกั งานปกติเมื่อเสร็จส้นิ การปฏิบัตริ าชการ เพราะมเี หตุส่วนตวั ตามมาตรา 8/1 การนับเวลาเดนิ ทางไป
ราชการเพ่อื คาํ นวณเบีย้ เล้ียงเดนิ ทางกรณลี ากิจหรอื ลาพักผอ่ นกอ่ นปฏบิ ัตริ าชการ ใหน้ ับเวลาตง้ั แตเ่ รมิ่ ปฏบิ ตั ิ
ราชการเป็นต้นไป ยกเว้นในกรณที ่ผี ู้เดนิ ทางไปราชการมเี หตจุ าํ เป็นต้องพกั แรมในทอ้ งทที่ ป่ี ฏิบัติราชการก่อนวัน
เร่มิ ปฏิบัตริ าชการให้นบั เวลาเพ่อื คาํ นวณเบยี้ เล้ียงเดินทางตงั้ แตเ่ วลาเข้าที่พักในทอ้ งทที่ ี่ปฏิบัติราชการ ทงั้ น้ี ไม่
เกนิ ยสี่ ิบสช่ี ั่วโมงเมอ่ื นบั ถึงเวลาเร่ิมปฏิบตั ิราชการ และกรณลี ากจิ หรอื ลาพกั ผอ่ นหลงั เสรจ็ สิ้นการปฏิบัติราชการให้
ถอื วา่ สิทธใิ นการเบกิ จ่ายเบยี้ เล้ยี งเดนิ ทางส้ินสุดลงเมื่อสน้ิ สดุ เวลาการปฏบิ ตั ิราชการ

คาอธิบาย
การนับเวลาเดินทางไปราชการต่างประเทศ เพอ่ื คาํ นวณเบ้ียเล้ียงเดินทาง
1. กรณีเปน็ ขา้ ราชการประจาํ ในประเทศไทย ให้นับตั้งแต่ประทับตราหนังสอื เดนิ ทางออกจากประเทศ

ไทย จนถึงประทับตราหนังสือเดินทางเข้าประเทศไทย
2. กรณีเป็นขา้ ราชการประจําในต่างประเทศ ให้นบั ต้งั แต่ออกจากท่ีอยูห่ รอื ท่ีทํางานปกติจนกลับถึงที่อยู่

หรือท่ที าํ งานปกติ แต่ถ้ามาราชการชวั่ คราวในประเทศไทย จะไมร่ วมช่วงเวลาทอี่ ยูใ่ นไทย
3. กรณพี กั แรม/ไมพ่ กั แรม
(1) กรณที ี่มกี ารพกั แรม ให้นบั 24 ช.ม. เป็น 1 วัน เศษที่เกนิ 12 ช.ม. นบั เปน็ 1 วัน
(2) กรณที ไ่ี ม่ไดพ้ ักแรม ใหน้ ับ 24 ช.ม. เป็น 1 วนั เศษทีเ่ กิน 12 ช.ม. นับเป็น 1 วนั ถา้ เศษเกิน 6 ช.

ม. นบั เป็นครง่ึ วนั
4. กรณลี ากจิ /ลาพกั ผ่อน
(1) ลาก่อนปฏิบัตริ าชการ (เดินทางล่วงหน้า) ให้นบั ตั้งแต่เรมิ่ ปฏิบตั ริ าชการ ยกเว้น มีเหตจุ าํ เปน็ ตอ้ ง

พกั แรม ใหน้ ับต้ังแต่เขา้ ห้องพักในทอ้ งทที่ ีป่ ฏบิ ัตริ าชการ ทัง้ นไ้ี ม่เกิน 24 ช.ม. ถึงเวลาเรมิ่ ปฏบิ ตั ริ าชการ
(2) ลาหลงั เสรจ็ สนิ้ การปฏบิ ัตริ าชการ (ยังไมเ่ ดนิ ทางกลับ) ให้นับถงึ สน้ิ สดุ เวลาปฏิบตั ริ าชการ
7มาตรา 51 การเดินทางไปราชการต่างประเทศช่วั คราวทีจ่ ําเปน็ ตอ้ งพักแรม เว้นแตก่ ารพกั แรมซึ่งโดย

ปกตติ อ้ งพักแรมในยานพาหนะ หรอื การพักแรมในท่ีพักแรมซึง่ ทางราชการจัดที่พักไวใ้ ห้แล้ว ให้ผูเ้ ดินทางไป
ราชการเบกิ ค่าเช่าท่พี ักได้เท่าท่ีจา่ ยจริงตามสทิ ธิทีต่ นเองได้รบั ในการพักอาศยั คนเดียว ทง้ั นภ้ี ายในวงเงนิ และ
เงอื่ นไขท่กี ระทรวงการคลังกําหนด

38

8การเดนิ ทางไปราชการเปน็ หม่คู ณะ ใหผ้ ู้เดนิ ทางไปราชการเบิกคา่ เชา่ ทพ่ี ักได้ ดังต่อไปนี้
(1) ผดู้ ํารงตาํ แหน่งประเภทอาํ นวยการระดับตน้ ตําแหนง่ ประเภทวิชาการระดบั ชํานาญการพเิ ศษตําแหนง่
ประเภททัว่ ไประดับอาวุโสตําแหนง่ ประเภทวชิ าการระดบั ชํานาญการตาํ แหนง่ ประเภทท่ัวไประดับปฏบิ ัติงานตําแหน่ง
ประเภทวชิ าการระดบั ปฏบิ ตั ิการตําแหน่งประเภทท่ัวไประดับปฏิบตั งิ านหรือตําแหน่งท่เี ทียบเทา่ หรอื ขา้ ราชการทหาร
ซงึ่ มยี ศพันเอกนาวาเอกนาวาอากาศเอกลงมา หรือข้าราชการตํารวจซงึ่ มียศพนั ตํารวจเอกลงมา ใหพ้ กั แรมรวมกันสอง
คนต่อหน่ึงหอ้ งโดยใหเ้ บิกค่าเชา่ ท่ีพักได้เทา่ ท่จี ่ายจรงิ ในอตั ราคา่ เชา่ หอ้ งพักคคนู่ ละไม่เกนิ รอ้ ยละเจด็ สบิ ของอัตราค่าเชา่
หอ้ งพกั คนเดียวถา้ ผู้ดํารงตําแหน่งดงั กล่าวแยกพกั หอ้ งพักคนเดยี วใหเ้ บกิ ได้อัตราเดยี วกเันวน้ แต่เป็นกรณที ่ีไมเ่ หมาะสม
จะพกั รวมกนั หรือมีเหตุจําเป็นทไ่ี ม่อาจพักรวมกับผอู้ ่ืนไใดห้ ้เบิกได้เทา่ ท่จี า่ ยจรงิ ในอตั ราค่าเช่าห้องพคกั นเดยี ว
(2) ผู้ดาํ รงตาํ แหน่งประเภทบริหารระดับสูง ตําแหน่งประเภทวิชาการระดับทรงคณุ วฒุ ิตําแหน่งประเภท
บริหารระดบั ตน้ ตําแหน่งประเภทอํานวยการระดับสูง ตาํ แหนง่ ประเภทวชิ าการ ระดับเชีย่ วชาญ ตาํ แหนง่ ประเภท
ท่วั ไประดบั ทกั ษะพิเศษ หรอื ตําแหนง่ ทีเ่ ทียบเทา่ หรือข้าราชการทหารซ่งึ มยี ศพนั เอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก
อัตราเงนิ เดอื นพันเอกพิเศษนาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอกพิเศษขึน้ ไป หรอื ข้าราชการตาํ รวจซง่ึ มยี ศพนั ตํารวจเอก
อตั ราเงินเดือนพนั ตํารวจเอกพิเศษขึ้นไป ใหเ้ บิกคา่ เชา่ ท่ีพกั ไดเ้ ท่าทจี่ า่ ยจรงิ ในอัตราคา่ เชา่ หอ้ งพกั คนเดยี ว
(3) ผู้ดํารงตาํ แหน่งประเภทบรหิ ารระดับสูง หรอื ตาํ แหนง่ ประเภทวิชาการระดบั ทรงคุณวฒุ ิหรือตาํ แหน่งท่ี
เทียบเท่า หรอื ขา้ ราชการทหารซง่ึ มียศพลตรี พลเรอื ตรี พลอากาศตรี ขนึ้ ไป หรือขา้ ราชการตํารวจซ่ึงมียศพลตาํ รวจ
ตรี ขึ้นไป ซึ่งเปน็ หัวหน้าคณะ หากมคี วามจําเป็นต้องใช้สถานทใ่ี นทีเ่ ดียวกนั กบั ท่ีพักเพือ่ เปน็ ทป่ี ระสานงานของคณะ
หรอื กับบคุ คลอื่น ใหเ้ บิกคา่ เชา่ ที่พกั ได้เพ่ิมขึน้ สําหรบั ห้องพกั อกี ห้องหน่งึ ในอตั ราค่าเช่าห้องพกั คนเดียวหรอื จะเบิกค่า
เช่าห้องชุดแทนก็ได้แต่ทั้งนต้ี อ้ งมีอัตราไม่เกนิ สองเทา่ ของอตั ราค่าเชา่ ห้องพักคนเดยี ว
7ในกรณที ่ีเปน็ การสมควรกระทรวงการคลังอาจกําหนดให้ผู้ดาํ รงตาํ แหน่งระดบั ใหดรอื ตาํ แหน่งใดเบกิ คา่ เช่าท่ี
พักเพิ่มขึ้นเป็นพิเศษไดส้ าํ หรับหอ้ งพักอกี ห้องหน่ึงในอตั ราค่าเช่าห้องพักคนเดียหวรือจะเบิกค่าเชา่ หอ้ งชุดแทนก็ได้
ในกรณที ี่ผเู้ ดินทางไปราชการมคี วามจําเป็นตอ้ งออกเดินทางลว่ งหน้ากอ่ นเรมิ่ ปฏิบัติราชการเพราะมเี หตุ
ส่วนตวั ตามมาตรา 8/1 และมเี หตจุ ําเป็นตอ้ งพกั แรมในทอ้ งท่ีทีป่ ฏบิ ตั ริ าชการก่อนวนั เร่มิ ปฏิบตั ริ าชการ ใหเ้ บิก
ค่าเช่าทพี่ ักกอ่ นวนั เร่มิ ปฏิบัติราชการดงั กล่าวไดไ้ ม่เกินหน่งึ วัน
ในกรณีท่ผี เู้ ดินทางไปราชการกบั บุคคลอ่นื ท่ไี ม่มสี ิทธเิ บิกคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปพกั รวมอยดู่ ว้ ยให้ผู้
เดนิ ทางไปราชการรบั ภาระคา่ ใชจ้ ่ายสว่ นทเี่ พ่ิมขึ้นจากสิทธทิ ่พี ึงจะได้รบั จากทางราชการ
คาอธิบาย การเบิกค่าเชา่ ทีพ่ ักในการเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชวั่ คราว มหี ลกั เกณฑ์ดังนี้
1. การเดินทางไปราชการตา่ งประเทศช่วั คราวท่จี าํ เปน็ ตอ้ งพกั แรม
2. ใหเ้ บกิ คา่ เชา่ ที่พักไดเท้ ่าท่ีจ่ายจรงิ ตามสทิ ธิทตี่ นเองไดร้ ับภายในวงเงนิ และเงือ่ นทไข่กี ระทรวงการคลงั กําหนด
3. ระดบั 8 ลงมา พัก 2 คนต่อหอ้ งเบิกได้เท่าทีจ่ ่ายจริงในอัตราคา่ เช่าหอ้ งพักคู่ (ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 70 ของ
อตั ราค่าเช่าห้องพักคนเดียว/คน)
4. ระดบั 9 ขนึ้ ไป เบกิ ได้เท่าทจี่ า่ ยจรงิ ในอตั ราค่าเชา่ หอ้ งพกั คนเดยี ว
ขอ้ ห้ามมิให้เบิกคา่ เชา่ ท่พี ัก
1. พกั ในยานพาหนะ 2. ทางราชการจดั ท่ีพกั ให้ 3. พกั บ้านตนเอง / คสู่ มรส / ญาติพีน่ ้อง

39

เหตไุ มเ่ หมาะสมจะพักรว่ มกัน

1. ต่างเพศ มิได้เป็นคู่สมรส
2. หวั หนา้ คณะระดบั 8
3. หวั หน้าสํานักงาน หรือหน่วยงาน ระดับ 7 - 8 ไม่ต้องพักรวมกบั ระดับอื่น
4. มสี ิทธกิ ารเบกิ ตา่ งอตั รากนั
5. ขอ้ กาํ หนดพเิ ศษของทหาร / ตาํ รวจ

เหตจุ ําเป็นท่ไี มพ่ ักรว่ มกบั ผู้อนื่
1. เป็นโรคติดต่ออนั ตรายตอ่ ผู้พักรว่ มด้วย
2. สมัครใจแยกพักเพยี งฝา่ ยเดียว

การเบิกคา่ เช่าทพี่ ักในตา่ งประเทศ ใหเ้ บกิ เทา่ ทีจ่ า่ ยจรงิ แตไ่ มเ่ กนิ อตั ราตามบัญชีหมายเลข 7ท้ายระเบยี บ
กระทรวงการคลังวา่ ด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2554 ดงั น้ี

อตั ราค่าเชา่ ท่ีพักในต่างประเทศ

บาท : วัน

ระดบั ประเภท ก ประเภท ข ประเภท ค ประเภท ง ประเภท จ
เด่ียว คู่ เดี่ยว คู่ เดย่ี ว คู่
เดีย่ ว คู่ เดย่ี ว คู่
ไม่เกนิ ไมเ่ กิน ไมเ่ กนิ ไม่เกนิ
8 ลง ไม่เกิน ไม่เกิน 5,000 3,500 3,100 2,170 เพิม่ ขึน้ จาก ไมเ่ กินร้อยละ เพิ่มขนึ้ จาก ไม่เกินรอ้ ยละ

มา 7,500 5,250 ไม่เกิน ประเภท ก 70 ของอตั รา ประเภท ก 70 ของอัตรา
4,500
อกี ไม่เกนิ ร้อย คา่ เชา่ หอ้ งพกั อีกไมเ่ กนิ คา่ เช่าห้องพัก

ไมเ่ กิน ละ 40 คนเดยี ว ร้อยละ 25 คนเดียว
7,000
9 ข้นึ ไม่เกนิ เพมิ่ ขึน้ จาก เพิม่ ข้นึ จาก
ไป 10,000
ประเภท ก ประเภท ก

อกี ไม่เกินรอ้ ย อีกไมเ่ กนิ

ละ 40 รอ้ ยละ 25

ทั่วไป วชิ าการ อานวยการ บริหาร

ปจั จุบัน สูง C 10-11 บส .เดมิ หน.สรก. หมายเหตุ
ตน้ C 9 บส. รองหน.สรก.
ระดบั 8 ลงมา สูง C 9 บส. ผอ.สานัก ไมก่ ระทบเร่อื ง
พัก 2 คนต่อหอ้ ง ตน้ C 8 บก. ผอ.กอง เงนิ เพียงแต่
ระดบั 9 ขนึ้ ไป ทรงคุณวฒุ ิ C 10 วช/ชช แกไ้ ขประเภท
พักคนเดยี ว เช่ยี วชาญ C 9 วช/ชช ตําแหน่งใหม่
ชานาญการพเิ ศษ C 8ว-วช
ชานาญการ C 6-7
ปฏบิ ัตกิ าร C 1-5
ทกั ษะพเิ ศษ C 9
อาวโุ ส C 7-8
ชานาญงาน C 5-6
ปฏบิ ตั ิงาน C 1-4

40

ข้าราชการระดับ 10 ข้ึนไป ซงึ่ เปน็ หัวหนา้ คณะ หากจาํ เปน็ ต้องใชส้ ถานที่ท่ีเดียวกนั กบั ทพี่ กั เพอ่ื
ประสานงานกับคณะหรือบคุ คลอนื่ ใหเ้ บิกคา่ เช่าทีพ่ กั ไดเ้ พ่ิมขน้ึ สาหรับห้องพกั อีกหน่ึงหอ้ ง ในอตั ราค่าเชา่ หอ้ งพัก
คนเดยี วหรอื คา่ เช่าห้องชดุ แทนกไ็ ด้ แตต่ อ้ งไมเ่ กิน 2 เท่าของอัตราค่าเชา่ ห้องพกั คนเดยี ว

ในกรณีที่เป็นการสมควร กระทรวงการคลงั อาจกําหนดให้ผ้ดู ํารงตาํ แหน่งระดบั /ตาํ แหนง่ ใด เบกิ ค่าเชา่ ที่
พกั เพิม่ ขึ้นเป็นพิเศษไดส้ าหรบั ห้องพักอกี หนงึ่ ห้องในอตั ราค่าเช่าห้องพักคนเดียวหรือ คา่ เช่าหอ้ งชุด

ในกรณีเดินทางลว่ งหนา้ ก่อนเรม่ิ ปฏิบัตริ าชการเนอื่ งจากลากิจ /ลาพักผอ่ น และจําเป็นต้องพักแรมใน
ทอ้ งท่ีปฏิบัตริ าชการก่อนวนั เรมิ่ ปฏิบัตริ าชการใหเ้ บิกค่าเช่าที่พกั ก่อนได้ไมเ่ กิน 1 วัน

ในกรณที ีผ่ เู้ ดนิ ทางไปราชการกับบุคคลอื่นท่ไี มม่ สี ทิ ธิเบกิ ค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปพักรวมอยดู่ ว้ ย ใหผ้ ู้
เดินทางไปราชการรับภาระค่าใช้จ่ายในสว่ นท่เี พม่ิ ขน้ึ เอง

ในกรณีที่ผู้เดินทางมตี ําแหน่งตามท่กี าํ หนดในบญั ชหี มายเลข 5 ทา้ ยระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ดว้ ยการ
เบกิ ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 ให้เบิกค่าเช่าที่พักเท่าท่จี า่ ยจริง ตามความจําเปน็ เหมาะสม
โดยประหยัด

บัญชีหมายเลข 5

ตาํ แหน่ง ผู้มสี ิทธิเบกิ คา่ เช่าที่พักเท่าทีจ่ ่ายจริงตามความจาเปน็ และเหมาะสม

1. องคมนตรี 2. รฐั บุรษุ 3. นายกรฐั มนตรี 4. รองนายกรฐั มนตรี 5 รฐั มนตรี 6. ประธานศาลฎีกา
7. รองประธานศาลฎีกา 8. ประธานศาลอทุ ธร9ณ. ์ประธานศาลปกครองสูงสุด 10.ประธานศาลรฐั ธรรมนญู
11. ประธานวฒุ ิสภา 12. ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร 13. เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร 14. เลขาธิการวฒุ สิ ภา
15. ผ้วู า่ ราชการกรุงเทพมหานคร 16. ปลดั กระทรวง 17. ปลดั ทบวง 18. รองปลดั กระทรวงกลาโหม
19. สมุหราชองครักษ์ 20. จเรทหารทว่ั ไป 21. ผูบ้ ญั ชาการทหารสูงสดุ 22. รองผบู้ ัญชาการทหารสูงสุด
23. เสนาธิการทหาร 24. ผบู้ ญั ชาการทหารบก 25. ผู้บญั ชาการทหารเรือ 26. ผู้บัญชาการทหารอากาศ
27. ผู้บัญชาการตํารวจแห่งชาติ 28. อยั การสงู สดุ 29. เลขาธกิ ารนายกรัฐมนตรี 30. เลขาธิการคณะรัฐมนตรี
31. เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎกี า 32. เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรอื น 33. เลขาธกิ ารสํานกั พระราช
34. ราชเลขาธกิ าร 35. นายกราชบณั ฑติ ยสถาน 36. ผอู้ ํานวยการสาํ นกั งบประมาณ 37. ผูว้ ่าการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ
38. ผู้อาํ นวยการสํานกั ขา่ วกรองแห่งชาติ 39. เลขาธกิ ารสภาความมัน่ คงแห่งชาติ
40. เลขาธิการคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 41. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐา
42. เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 43. เลขาธิการสภาการศึกษา 44. เลขาธิการคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษ
45. เลขาธกิ ารคณะกรรมการพเิ ศษเพอื่ ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดําริ

ใหห้ ัวหน้าสว่ นราชการเจ้าของงบประมาณพจิ ารณาใหผ้ ู้เดินทางไปราชการตา่ งประเทศชว่ั คราวเบกิ ค่าเช่าทพ่ี กั
ได้เทา่ ท่จี า่ ยจริงตามความจําเป็นเหมาะสมและประหยัดหรือจะเบิกตามสทิ ธิของตนกไ็ ด้ในกรณดี งั ต่อไปนี้

1) การตาม เสด็จพระบรมวงศานุวงศ์ หรอื การเดนิ ทางไปปฏบิ ัติภารกจิ ร่วมกบั หัวหน้าคณะท่ีดํารง
ตาํ แหนง่ ตามบญั ชหี มายเลข 5 ซง่ึ มสี ิทธิเบกิ ค่าเชา่ ที่พกั ไดเ้ ทา่ ท่จี ่ายจรงิ

2) การเดินทางไปปฏิบัตภิ ารกจิ ร่วมกบั หัวหนา้ คณะผูด้ าํ รงตําแหน่งระดบั 9 ขึ้นไป หรือเทียบเท่า ทั้งน้ี
ตอ้ งไมเ่ กนิ สิทธขิ องหวั หน้าคณะน้ัน

41

3) การเดนิ ทางไปประชุมระหวา่ งประเทศ การเจรจาธรุ กจิ หรอื ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่อี ยา่ งอน่ื ซงึ่ หนว่ ยงานท่ีเชิญ
หรอื ประเทศเจ้าภาพกาํ หนดใหผ้ ู้เดินทางพกั แรมในสถานท่ีทจ่ี ัดเตรียมไวใ้ ห้ หรอื สํารองท่ีพักให้ ซงึ่ ไมใ่ ชก่ รณที ี่ส่วน
ราชการหรอื ผเู้ ดินทางรอ้ งขอหรือกระทาํ การใดๆ เพ่ือให้หน่วยงานที่เชิญหรอื ประเทศเจ้าภาพกําหนดทพ่ี กั หรอื
จดั เตรียมทพี่ ักตามความตอ้ งการของสว่ นราชการหรือผูเ้ ดินทาง

4) การเดินทางไปประเทศทม่ี สี ถานการณไ์ ม่ปลอดภยั ยากจน ทุรกันดาร หรอื อยใู่ นช่วงฤดูกาลท่องเท่ยี ว
หรอื สถานทีพ่ ักแรมทมี่ อี ตั ราค่าเชา่ ตามสิทธถิ กู สํารองหมด

การเบกิ ค่าเช่าท่พี ักในตา่ งประเทศ ผู้เดินทางจะใชใ้ บแจง้ รายการคา่ เชา่ ท่ีพกั ทบี่ นั ทึกด้วยเครื่อง
อเิ ล็กทรอนกิ สท์ ี่แสดงว่าไดร้ ับชาํ ระเงินแลว้ เป็นหลักฐานในการขอเบิกโดยไม่ต้องมีลายมือชื่อเจา้ หน้าท่รี บั เงินของ
โรงแรม/ท่พี ักกไ็ ด้ แต่ผูเ้ ดินทางจะตอ้ งลงลายมือชอ่ื รับรองวา่ ไดช้ ําระคา่ เช่าทพ่ี กั ตามจาํ นวนทเ่ี รยี กเกบ็ น้ัน

7มาตรา 52 การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราวโดยปกตใิ ห้ใชย้ านพาหนะประจําทางและให้เบกิ
คา่ พาหนะได้เทา่ ท่ีจ่ายจรงิ โดยประหยัด

ในกรณีทีไ่ มม่ ยี านพาหนะประจาํ ทางหรอื มแี ตต่ อ้ งการความรวดเร็วเพ่ือประโยชนแ์ กร่ าชการให้ใชพ้ าหนะ
อนื่ ไดแ้ ตผ่ เู้ ดินทางจะต้องชแ้ี จงเหตผุ ลและความจาํ เปน็ ไวใ้ นหลักฐานการขอเบิกคา่ พาหนะนัน้

ในกรณีที่ผู้เดนิ ทางไปราชการมคี วามจาํ เปน็ ตอ้ งออกเดนิ ทางล่วงหน้าหรือไมส่ ามารถเดินทางกลบั ท้องท่ตี ้งั
สํานกั งานปกตเิ ม่ือเสรจ็ สิ้นการปฏบิ ัติราชการเพราะมีเหตสุ ว่ นตัวตามมาตรา 8/1 ให้เบกิ คา่ พาหนะไดเ้ ท่าทจี่ า่ ยจรงิ
ตามเส้นทางท่ีไดร้ บั คําสัง่ ใหเ้ ดินทางไปราชการกรณที ม่ี ีการเดนิ ทางนอกเสน้ ทางในระหวา่ งการลานนั้ ให้เบกิ ค่า
พาหนะได้เทา่ ท่ีจา่ ยจรงิ โดยไม่เกนิ อัตราตามเส้นทางทไ่ี ด้รับคาํ สัง่ ให้เดินทางไปราชการ

คาอธบิ าย
คา่ พาหนะเดินทางไปราชการต่างประเทศชวั่ คราว ประกอบดว้ ย
1. ค่าโดยสาร ค่าเช่ายานพาหนะ
2. ค่าเชอ้ื เพลิง ค่าระวางบรรทกุ
3. ค่าจ้างคนหาบหามสิง่ ของของผูเ้ ดนิ ทาง

นิยามคา่ พาหนะเดินทาง ที่จะนาํ ไปเบกิ ได้ คอื
1. บรกิ ารทั่วไปประจาํ
2. เสน้ ทางแน่นอน
3. คา่ โดยสาร คา่ ระวางแน่นอน

การเบกิ คา่ พาหนะในต่างประเทศ ให้เบกิ ได้เทา่ ทีจ่ ่ายจริงโดยประหยดั
ในกรณที ี่ไมม่ ยี านพาหนะประจาํ ทาง หรอื มีแตต่ ้องการความรวดเรว็ เพ่อื ประโยชนข์ องทางราชการ ให้ใช้
พาหนะอน่ื ได้ แต่ตอ้ งชี้แจงเหตผุ ลและความจําเปน็ ประกอบการขอเบิก
ในกรณลี ากจิ /ลาพักผ่อน ทั้งก่อนหรือหลงั เสรจ็ สิน้ การปฏบิ ตั ิราชการ ใหเ้ บกิ ค่าพาหนะไดเ้ ท่าทจ่ี า่ ยจริง
ตามเส้นทางทีไ่ ด้รับคําสง่ั ใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ กรณีเดนิ ทางออกนอกเสน้ ทางในระหวา่ งลา ใหเ้ บิกค่าพาหนะได้
เทา่ ท่จี ่ายจรงิ ไมเ่ กินเส้นทางท่ีไดร้ ับคําสง่ั ใหเ้ ดนิ ทางไปราชการ

42

7มาตรา 53 การเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศโดยเครอ่ื งบนิ จากประเทศไทยไปต่างประเทศหรือจาก
ต่างประเทศกลบั ประเทศไทยหรือการเดนิ ทางในตา่ งประเทศสาํ หรบั ผ้ดู ํารงตําแหน่งดงั ต่อไใปหน้เดี้ ินทางโดยชัน้ หน่ึง

(1) หัวหน้าคณะผู้แทนรฐั บาล
(2) ประธานรฐั สภา และรองประธานรฐั สภา
(3) ประธานวฒุ ิสภา และรองประธานวฒุ ิสภา
(4) ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร และรองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร
(5) รัฐมนตรี
(6) ผู้ดาํ รงตําแหน่งประเภทบริหารระดบั สงู ตาํ แหน่งหัวหน้าสว่ นราชการระดับกระทรวงหรือตําแหน่งท่ี
เทียบเทา่ สมหุ ราชองครกั ษ์ ผบู้ ญั ชาการทหารสูงสุด ผ้บู ญั ชาการทหารบก ผบู้ ญั ชาการทหารเรอื ผูบ้ ัญชาการ
ทหารอากาศ ผบู้ ญั ชาการตํารวจแห่งชาติ

คาอธิบาย
หลักเกณฑ์ การเบกิ คา่ เคร่อื งบินในการเดินทางไปราชการต่างประเทศชวั่ คราว มดี งั น้ี

1. ชนั้ หน่ึง สาํ หรบั
(1) หวั หนา้ คณะผ้แู ทนรฐั บาล
(2) ประธานรัฐสภา และรองประธานรฐั สภา
(3) ประธานวุฒิสภา และรองประธานวุฒสิ ภา
(4) ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร และรองประธานสภาผแู้ ทนราษฎร
(5) รัฐมนตรี
(6) ผู้ดํารงตําแหน่งประเภทบรหิ ารระดับสูงตาํ แหน่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกระทรวงหรอื ตําแหน่ง

ที่เทยี บเท่า สมุหราชองครักษ์ ผู้บญั ชาการทหารสูงสดุ ผู้บัญชาการทหารบก ผู้บญั ชาการทหารเรือ ผู้บัญชาการ
ทหารอากาศ ผู้บัญชาการตาํ รวจแห่งชาติ

มาตรา 53/1 การเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศโดยเครือ่ งบนิ จากประเทศไทยไปต่างประเทศหรอื จาก
ต่างประเทศกลบั ประเทศไทย หรือการเดินทางในตา่ งประเทศท่ีมรี ะยะเวลาในการเดินทางตั้งแต่เก้าช่วั โมงข้ึนไป
ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ดงั ต่อไปนี้

(1) ชน้ั หนงึ่ สาํ หรับผูด้ ํารงตาํ แหนง่ ประเภทบริหารระดับสงู ได้แก่ รองปลดั กระทรวง ผู้ตรวจราชการ
อธบิ ดี หรอื ตาํ แหนง่ ทีเ่ ทยี บเท่า ผูว้ า่ ราชการจังหวดั เอกอัครราชทูต หรอื ตาํ แหน่งประเภทวิชาการระดับ
ทรงคณุ วฒุ ิ หรอื ตาํ แหน่งทเี่ ทยี บเท่า หรอื ขา้ ราชการทหารซงึ่ มยี ศพลเอก พลเรอื เอก พลอากาศเอก พลโท พลเรือ
โท พลอากาศโท หรือขา้ ราชการตาํ รวจซ่งึ มียศพลตาํ รวจเอก พลตาํ รวจโท

(2) ช้ันธุรกิจหรอื ช้นั ระหว่างชั้นหนงึ่ กบั ชัน้ ประหยดั สาํ หรับผดู้ ํารงตําแหน่งประเภทบรหิ ารระดบั ตน้
ตาํ แหนง่ ประเภทอาํ นวยการระดบั สงู หรือตําแหน่งที่เทียบเท่า หรือข้าราชการทหารซง่ึ มยี ศพลตรี พลเรือตรี
พลอากาศตรี หรอื ข้าราชการตาํ รวจซึ่งมียศพลตาํ รวจตรี

(3) ชนั้ ประหยดั สําหรบั ผดู้ าํ รงตาํ แหนง่ ระดับ ช้ัน หรอื ยศ นอกจากท่รี ะบุใน (1) และ (2)

43
ในกรณีผเู้ ดนิ ทางตาม(2) มีความจําเปน็ ต้องโดยสารเครอ่ื งบินในชนั้ ที่สงู กวา่ สทิ ธใิหผ้ ้ดู าํ รงตาํ แหน่งที่เดินทาง
ดังกลา่ วสามารถเดินทางและเบิกค่าโดยสารเครอ่ื งบินในช้ันทส่ี งู กว่าสิทธิไดโ้ ดยตอ้ งไดร้ ับอนมุ ตั ิจากปลัดกระทรวงเจา้
สงั กดั ผ้บู ญั ชาการหน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ สมหุ ราชองครักษ์ ผ้บู ัญชาการทหารสงู สุด ผู้
บญั ชาการทหารบกผูบ้ ัญชาการทหารเรือผู้บัญชาการทหารอากาศและผบู้ ัญชาการตาํ รวจแห่งชาตสิําหรับส่วนราชการใด
ที่ไมม่ ปี ลดั กระทรวงใหผ้ ้บู งั คบั บัญชาทมี่ ีอํานาจเชน่ เดยี วกับปลัดกระทรวงเปน็ ผู้อนุมัติ

คาอธิบาย

กรณี ท่ีมีระยะเวลาในการเดนิ ทางตง้ั แต่เก้าชั่วโมงขึ้นไป
(1) ชนั้ หน่งึ สําหรับผ้ดู ํารงตําแหน่งประเภทบรหิ ารระดบั สงู ได้แก่ รองปลัดกระทรวง ผตู้ รวจราชการ
อธบิ ดี หรอื ตาํ แหนง่ ที่เทียบเทา่ ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั เอกอคั รราชทูต หรือตําแหน่งประเภทวชิ าการระดบั
ทรงคุณวฒุ ิ หรือตําแหน่งท่เี ทียบเท่า หรอื ข้าราชการทหารซึ่งมียศพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลโท พลเรอื
โท พลอากาศโท หรอื ขา้ ราชการตํารวจซ่งึ มยี ศพลตํารวจเอก พลตาํ รวจโท
(2) ชั้นธุรกิจหรือช้นั ระหว่างชั้นหนงึ่ กับช้ันประหยดั สําหรบั ผดู้ าํ รงตาํ แหน่งประเภทบรหิ ารระดับตน้
ตําแหน่งประเภทอาํ นวยการระดบั สงู หรอื ตําแหน่งทเี่ ทยี บเท่า หรอื ขา้ ราชการทหารซึ่งมยี ศพลตรี พลเรอื ตรี
พลอากาศตรี หรือข้าราชการตาํ รวจซ่งึ มียศพลตํารวจตรี
(3) ชนั้ ประหยดั สําหรบั ผ้ดู ํารงตาํ แหนง่ ระดับชน้ั หรอื ยศ นอกจากท่รี ะบุใน(1) และ (2) ในกรณผี ้เู ดนิ ทางตาม
(2) มคี วามจาํ เป็นตอ้ งโดยสารเครือ่ งบนิ ในชั้นท่ีสงู กว่าสิทใธหิ ผ้ ้ดู ํารงตําแหน่งท่ีเดินทางดังกล่าวสามารถเดินทางและเบิก
ค่าโดยสารเคร่ืองบนิ ในชั้นทีส่ ูงกวา่ สิทธไิ ดโด้ ยต้องไดร้ ับอนมุ ัตจิ ากผูบ้ งั คับบัญชาตามมาตร5า3/1
มาตรา 53/2 การเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศโดยเครอื่ งบนิ จากประเทศไทยไปต่างประเทศหรือจาก
ตา่ งประเทศกลบั ประเทศไทย หรือการเดนิ ทางในตา่ งประเทศท่ีมีระยะเวลาในการเดินทางตาํ่ กวา่ เก้าช่วั โมง ให้
เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ดงั ต่อไปน้ี
(1) ชัน้ ธรุ กิจ สําหรบั ผ้ดู าํ รงตําแหนง่ ประเภทบริหารระดับสูง ไดแ้ ก่ รองปลัดกระทรวง ผตู้ รวจราชการ
อธบิ ดี หรือตาํ แหนง่ ท่เี ทียบเท่า ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เอกอัครราชทูต หรือตาํ แหนง่ ประเภทวชิ าการระดับ
ทรงคุณวุฒิ หรอื ตําแหนง่ ท่เี ทียบเท่า หรอื ขา้ ราชการทหารซงึ่ มียศพลเอก พลเรอื เอก พลอากาศเอก พลโท
พลเรอื โท พลอากาศโท ขา้ ราชการตํารวจซงึ่ มยี ศพลตาํ รวจเอก พลตํารวจโท
(2) ช้ันประหยดั สาํ หรบั ผูด้ าํ รงตาํ แหนง่ ประเภทบริหารระดับตน้ ตําแหน่งประเภทอํานวยการระดบั สงู
ตําแหนง่ ประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ ตําแหนง่ ประเภททั่วไประดบั ทกั ษะพเิ ศษ ตาํ แหน่งประเภทอํานวยการ
ระดบั ต้น ตาํ แหนง่ ประเภทวชิ าการระดบั ชํานาญการพเิ ศษ ตาํ แหน่งประเภทท่ัวไประดับอาวโุ ส ตําแหนง่ ประเภท
วชิ าการระดบั ชาํ นาญการ ตาํ แหนง่ ประเภทท่ัวไประดบั ชาํ นาญงาน ตําแหนง่ ประเภทวชิ าการระดับปฏิบตั กิ าร
ตําแหนง่ ประเภททัว่ ไประดบั ปฏบิ ัตงิ าน หรอื ตําแหน่งที่เทยี บเทา่ หรือขา้ ราชการทหาร ซ่ึงมียศพลตรี พลเรือตรี
พลอากาศตรี ลงมา หรือขา้ ราชการตาํ รวจซงึ่ มียศพลตาํ รวจตรี ลงมา
ในกรณีผู้เดนิ ทางตาม (1) และ (2) มคี วามจาํ เป็นตอ้ งโดยสารเคร่ืองบนิ ในชนั้ ทสี่ งู กว่าสิทธิ ให้ผูด้ ํารง
ตําแหน่งทีเ่ ดนิ ทางดงั กล่าวสามารถเดนิ ทางและเบิกคา่ โดยสารเครือ่ งบนิ ในชัน้ ทส่ี ูงกว่าสทิ ธไิ ด้ โดยตอ้ งไดร้ บั อนมุ ัติ
จากปลัดกระทรวงเจ้าสังกดั ผูบ้ ญั ชาการหนว่ ยบัญชาการถวายความปลอดภัยรกั ษาพระองค์ สมุหราชองครักษ์
ผู้บัญชาการทหารสงู สดุ ผบู้ ัญชาการทหารบก ผูบ้ ัญชาการทหารเรือ ผบู้ ัญชาการทหารอากาศ และผ้บู ญั ชาการ

44

ตาํ รวจแห่งชาติ สําหรบั สว่ นราชการใดท่ไี มม่ ีปลัดกระทรวงให้ผบู้ ังคบั บัญชาทม่ี อี ํานาจเชน่ เดียวกับปลัดกระทรวง
เป็นผู้อนมุ ตั ิ เวน้ แต่ผดู้ ํารงตาํ แหน่งประเภทวิชาการระดับเชีย่ วชาญ ตําแหน่งประเภททั่วไประดบั ทกั ษะพเิ ศษ
ตาํ แหนง่ ประเภทอํานวยการระดบั ต้น ตําแหน่งประเภทวิชาการระดับชํานาญการพเิ ศษ ตาํ แหนง่ ประเภททว่ั ไป
ระดบั อาวุโส ตาํ แหนง่ ประเภทวชิ าการระดบั ชาํ นาญการ ตาํ แหนง่ ประเภททวั่ ไประดบั ชํานาญงาน ตาํ แหนง่
ประเภทวิชาการระดับปฏิบตั กิ าร ตําแหนง่ ประเภททวั่ ไประดับปฏิบัตงิ าน หรือตาํ แหน่งทเี่ ทียบเท่า หรือข้าราชการ
ทหารซ่งึ มยี ศพันเอก นาวาเอก นาวาอากาศเอก อัตราเงินเดอื นพันเอกพิเศษ นาวาเอกพิเศษ นาวาอากาศเอก
พิเศษ ลงมา หรือข้าราชการตาํ รวจซึง่ มยี ศพันตํารวจเอก อัตราเงินเดือนพันตาํ รวจเอกพิเศษ ลงมา ให้โดยสารช้ัน
ประหยดั

คาอธิบาย
กรณที ี่มรี ะยะเวลาในการเดนิ ทางตํ่ากวา่ เก้าชว่ั โมง
1. ชัน้ ธรุ กิจ สําหรับผดู้ ํารงตาํ แหน่งประเภทบรหิ ารระดบั สูง ได้แก่ รองปลัดกระทรวง ผ้ตู รวจราชการ

อธิบดี หรอื ตําแหน่งท่ีเทยี บเท่า ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั เอกอัครราชทตู หรอื ตําแหน่งประเภทวชิ าการระดบั
ทรงคณุ วุฒิ หรอื ตําแหนง่ ที่เทยี บเท่า หรือขา้ ราชการทหารซ่งึ มียศพลเอก พลเรือเอก พลอากาศเอก พลโท พลเรือ
โท พลอากาศโท หรอื ข้าราชการตาํ รวจซง่ึ มยี ศพลตาํ รวจเอก พลตํารวจโท

2. ช้ันประหยดั สาหรบั ผู้ดาํ รงตาํ แหน่งประเภทบรหิ ารระดบั ตน้ ตาํ แหน่งประเภทอํานวยการระดับสูง
ตําแหนง่ ประเภทวิชาการระดบั เชี่ยวชาญ ตําแหน่งประเภทท่วั ไประดบั ทกั ษะพิเศษ ตําแหน่งประเภทอํานวยการ
ระดบั ตน้ ตําแหนง่ ประเภทวชิ าการระดบั ชํานาญการพเิ ศษ ตําแหนง่ ประเภทท่วั ไประดับอาวโุ ส ตาํ แหนง่ ประเภท
วิชาการระดบั ชาํ นาญการ ตาํ แหน่งประเภททว่ั ไประดับชาํ นาญงาน ตาํ แหน่งประเภทวขิ าการระดับปฏบิ ัตกิ าร
ตาํ แหน่งประเภททัว่ ไประดับปฏิบตั ิงาน หรือตําแหน่งทเ่ี ทยี บเทา่ หรอื ข้าราชการทหาร ซง่ึ มียศพลตรี พลเรอื ตรี
พลอากาศตรี ลงมา หรือข้าราชการตํารวจซ่ึงมยี ศพลตาํ รวจตรี ลงมา

ในกรณีผู้เดนิ ทางตาม 1 และ 2 มีความจําเป็นตอ้ งโดยสารเคร่ืองบนิ ในช้ันทีส่ ูงกวา่ สทิ ธใิ หผ้ ู้ดํารงตําแหน่ง
ทีเ่ ดนิ ทางดงั กลา่ วสามารถเดนิ ทางและเบิกคา่ โดยสารเครื่องบนิ ในชน้ั ท่สี ูงกวา่ สิทธิได้ โดยตอ้ งได้รบั อนมุ ตั จิ าก
ผูบ้ ังคับบญั ชาตามมาตรา 53/2

7มาตรา 53 ทวิ ผู้เดินทางไปราชการต่างประเทศในหนา้ ทเ่ี ลขานุการกับผบู้ งั คบั บญั ชาซึง่ เป็นหัวหนา้ คณะ
ผูแ้ ทนรฐั บาล หรือซ่ึงดาํ รงตาํ แหนง่ ประธานรัฐสภา ประธานวฒุ ิสภา ประธาน สภาผูแ้ ทนราษฎร รองประธาน
รัฐสภา รองประธานวฒุ ิสภา รองประธานสภาผู้แทนราษฎร หรอื รฐั มนตรี ให้เบิกค่าพาหนะไดเ้ ทา่ กบั ที่
ผู้บงั คับบัญชามีสทิ ธเิ บิกและให้พกั แรมในที่เดียวกับผูบ้ ังคบั บัญชา โดยเบิกคา่ เช่าทพี่ ักไดเ้ ท่าท่ีจ่ายจริงตามสทิ ธทิ ี่
ตนเองได้รบั หรือเบกิ ในอัตราตํา่ สุดของท่ีพักนนั้ แล้วแต่จํานวนใดจะสูงกวา่

5ในกรณที ผ่ี ้เู ดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศในหน้าท่เี ลขานุการกบั ผ้บู งั คบั บญั ชามีหลายคน ใหม้ สี ทิ ธเิ บกิ
คา่ พาหนะและคา่ เช่าท่พี ักตามวรรคหนงึ่ ไดเ้ พยี งหนึ่งคน สว่ นผเู้ ดินทางไปราชการในหน้าทีเ่ ลขานุการคนอนื่ ๆ ให้
เบกิ คา่ พาหนะและคา่ เช่าท่ีพกั ได้ตามสทิ ธิของตน

45
คาอธิบาย

การเบิกคา่ ใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการต่างประเทศช่ัวคราว กรณผี เู้ ดินทางทาํ หนา้ ทเ่ี ลขานกุ ารมี
หลกั เกณฑ์ดังนี้

1. ทําหน้าทเ่ี ลขานุการ ใหก้ บั ผบู้ ังคับบัญชา ซงึ่ เป็นหัวหนา้ คณะผู้แทนรัฐบาล หรอื ผูด้ ํารงตาํ แหนง่
ประธาน /รองประธานศาลฎีกาประธาน /รองประธานสภา ประธาน /รองประธานวฒุ ิสภา ประธาน /รอง
ประธานสภาผแู้ ทนราษฎร ประธาน/รองประธานศาลอทุ ธรณ์ หรอื รัฐมนตรี

2. จาํ เป็นตอ้ งเดินทางพร้อมกัน
(1) เบิกคา่ พาหนะได้เท่ากบั ผบู้ งั คับบัญชา
(2) ใหพ้ กั แรมท่ีเดียวกัน โดยเบกิ ค่าเช่าที่พักได้เทา่ ที่จา่ ยจรงิ ตามสิทธทิ ตี่ นเองไดร้ บั หรือในอัตรา

ตํา่ สุดของท่ีพกั นั้นแต่ต้องไมเ่ กนิ สิทธขิ องผบู้ ังคับบัญชา
ในกรณีที่เลขานกุ ารมีหลายคนใหม้ ีสิทธิเบกิ ค่าพาหนะและคา่ เช่าที่พกั ตามทกี่ ลา่ วมา (ขอ้ 2) ไดเ้ พยี งคน

เดียว ทเ่ี หลือใหเ้ บิกตามสทิ ธขิ องตน
7มาตรา54 ค่ารบั รองและค่าใชจ้ ่ายอน่ื ทจี่ ําเปน็ ตอ้ งจา่ ยเน่ืองในการเดินทางไปราชการ ให้เบิกได้ภายใน

วงเงินและเงื่อนไขทีก่ ระทรวงการคลงั กําหนด

คาอธิบาย
คา่ รับรองและค่าใชจ้ ่ายอ่นื ท่จี าํ เปน็ ในการเดนิ ทางไปราชการตา่ งประเทศช่วั คราว ให้เบิกได้ภายในวงเงิน

และเงื่อนไขทีก่ ระทรวงการคลงั กําหนด ดงั นี้
 คา่ รบั รอง มีหลกั เกณฑ์ดงั นี้
1. ผเู้ ดนิ ทางซงึ่ ดํารงตาํ แหนง่ ดังต่อไปนี้ ให้เบกิ ไดเ้ ทา่ ทจี่ ่ายจรงิ ไดแ้ ก่
(1) ประธานองคมนตรี/องคมนตรี
(2) นายกรัฐมนตรี/รองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี
(3) ประธาน/รองประธานสภานติ บิ ัญญัติ
(4) ประธาน/รองประธานศาลฎกี า หรือประธานศาลอทุ ธรณ์
2. ผเู้ ดินทางนอกจาก 1 ให้เบิกเทา่ ท่จี า่ ยจรงิ ท้งั กรณีเดนิ ทางเปน็ คณะหรอื คนเดียว ไม่เกินอัตรา

ดังตอ่ ไปนี้
(1) กรณเี ดนิ ทางไมเ่ กนิ 15 วนั ไม่เกิน 67,000 บาท
(2) กรณเี ดินทางเกิน 15 วนั ไม่เกิน 100,000 บาท

3. การเดนิ ทางท่ีจะเบิกคา่ รับรองตามขอ้ 2 ได้ ตอ้ งเป็นการเดินทางกรณใี ดกรณีหนึ่ง ดังน้ี
(1) ไปเขา้ รว่ มประชุมระหวา่ งประเทศในฐานะผแู้ ทนรฐั บาล ผแู้ ทนรฐั สภา หรอื ผ้แู ทนส่วน

ราชการ แต่ไม่รวมถงึ การประชุมหรือการสัมมนาทางวิชาการ
(2) ไปเจรจาธรุ กจิ เจรจากูเ้ งิน หรอื ขอความช่วยเหลือจากต่างประเทศในฐานะผู้แทนรฐั บาลไทย
(3) ไปปรกึ ษาหารือหรอื เข้าร่วมประชมุ เกีย่ วกับความร่วมมอื ระหวา่ งหน่วยงานของรัฐบาลไทยกับ

หน่วยงานต่างประเทศ
(4) ไปเยอื นตา่ งประเทศในฐานะทูตสนั ถวไมตรหี รอื ในฐานะแขกของรัฐบาลตา่ งประเทศ

46

(5) ไปร่วมในงานรฐั พิธีตามคําเชญิ ของรัฐบาลต่างประเทศ
(6) ไปจัดงานแสดงสินค้าไทย หรอื ส่งเสรมิ สินค้าไทยในต่างประเทศหรอื ส่งเสรมิ การลงทนุ ของ
ต่างประเทศในประเทศไทย หรอื ส่งเสริมการลงทนุ ของไทยในต่างประเทศ
(7) ไปเผยแพร่ศิลปะหรือวัฒนธรรมไทยในต่างประเทศ

คา่ ใชจ้ ่ายอ่นื ที่จาเป็นตอ้ งจ่ายเนือ่ งในการเดินทางไปราชการ ใหเ้ บิกได้ตามเงอ่ื นไขท่กี ระทรวงการคลงั กําหนดได้
เทา่ ทีจ่ ่ายจริง เชน่ คา่ ธรรมเนยี มเข้าประเทศ (ค่าวีซ่า) และค่าธรรมเนยี มทําหนังสือเดินทาง (PASSPORT) ซ่งึ ถือ
เปน็ คา่ ใช้จ่ายอืน่ ทจ่ี าํ เป็นต้องจา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศ

คา่ ใช้จ่ายสมทบกรณีได้รบั ความช่วยเหลือ ผเู้ ดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชว่ั คราว โดยได้รบั ความชว่ ยเหลอื
จากต่างประเทศ หรอื จากหนว่ ยงานใด ๆ นอ้ ยกวา่ สทิ ธทิ พี่ ึงไดร้ ับ ใหเ้ บกิ คา่ ใชจ้ ่ายสบทบได้ ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. คา่ เครอื่ งบิน
 ไมไ่ ดร้ บั ความชว่ ยเหลือ เบกิ ได้ตามสิทธิ
 ไดร้ บั ความชว่ ยเหลอื ท้งั ไป - กลับ งดเบิก (แม้จะตํา่ กว่าสิทธทิ ี่พึงได้รับ)
 ไดร้ บั ความช่วยเหลือเทย่ี วเดียว เบกิ อกี หนึ่งเที่ยว ในช้ันเดียวกัน แต่ไมส่ งู กวา่ สิทธิ

2. เบยี้ เลยี้ งเดนิ ทาง
 ไดร้ ับความช่วยเหลอื ต่ํากว่าสิทธิ เบิกสบทบส่วนทีข่ าด รวมแล้วตอ้ งไมเ่ กนิ สทิ ธิ
 จดั ลย้ี งอาหารใหท้ กุ ม้ือ งดเบิก
 จัดเลย้ี งอาหาร 2 มอ้ื เบิก 1 ใน 3
 จดั เลย้ี งอาหาร 1 มื้อ เบิก 2 ใน 3

3. ค่าเชา่ ทพี่ ัก
 ไม่ได้รับความชว่ ยเหลอื เบิกได้ตามสทิ ธิ
 ไดร้ บั ความชว่ ยเหลือต่ํากวา่ สทิ ธิ เบิกสบทบสว่ นท่ขี าด รวมแล้วตอ้ งไม่เกินสทิ ธิ
 จัดให้ งดเบกิ

4. คา่ เคร่ืองแตง่ ตัว/ค่าพานะ/คา่ ใชจ้ ่ายอน่ื ท่จี าํ เปน็
 ไมไ่ ด้รับความชว่ ยเหลือ เบิกได้ตามสิทธิ
 ได้รบั ความช่วยเหลอื ตํ่ากว่าสิทธิ เบิกสบทบสว่ นทีข่ าด รวมแลว้ ตอ้ งไมเ่ กนิ สทิ ธิ

5. ค่ารบั รอง
 ใหผ้ ู้เดนิ ทางมีสิทธไิ ด้รับเงนิ ตามหลักเกณฑท์ ่กี ําหนดแล้วขา้ งตน้

การเดนิ ทางเพ่อื ดูงาน ใหเ้ บิกคา่ ใชจ้ ่ายสบทบได้ แต่ไมเ่ กินวงเงินทีไ่ ด้รบั ความชว่ ยเหลอื
มาตรา 57 ผูเ้ ดินทางไปราชการตา่ งประเทศชวั่ คราวจะเบกิ ค่าเครื่องแตง่ ตัวสาํ หรับตนเองและค่สู มรสมิได้
เว้นแตก่ รณจี ําเปน็ ตามหลกั เกณฑ์ทกี่ ระทรวงการคลงั กาํ หนด

47

คาอธิบาย

ผ้เู ดนิ ทางไปราชการต่างประเทศช่ัวคราว จะเบิกคา่ แต่งตัวสําหรับตนเองและคู่สมรสไมไ่ ด้ เวน้ แต่กรณี

จําเป็นตามหลกั เกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี

1. เปน็ กรณที จ่ี าํ เป็นตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งแต่งตวั พิเศษ หรอื กรณจี าํ เปน็ อืน่ โดยได้รับอนุมัติจากหัวหนา้ ส่วน

ราชการเจา้ ของงบประมาณ

2. เป็นการเดินทางไปราชการต่างประเทศ ซ่งึ มใิ ชป่ ระเทศตามรายชื่อที่กําหนดไวใ้ นบัญชีหมายเลข 9

ท้ายระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการเบกิ จ่ายค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 หรอื ท่ี

กระทรวงการคลงั จะกาํ หนดเพ่ิมเตมิ

3. ผู้ซึง่ เคยได้รับค่าเครื่องแตง่ ตวั ในการเดินทางไปราชการตามระเบียบนีม้ าแลว้ หรอื เคยได้รับคา่ เครอื่ ง

แต่งตวั จากสว่ นราชการ รัฐวิสาหกจิ หรอื หน่วยงานอ่ืนของรัฐตามกฎหมายหรือระเบียบอื่นใด ไมว่ า่ จะเบิกจา่ ยจาก

เงนิ งบประมาณ เงินนอกงบประมาณ หรือเคยไดร้ บั ความชว่ ยเหลือคา่ เครอื่ งแต่งตัวจากหน่วยงานใด ๆ ทั้งใน

ประเทศและต่างประเทศ มสี ิทธเิ บกิ คา่ เครือ่ งแตง่ ตัวไดเ้ มื่อการเดนิ ทางไปราชการต่างประเทศชัว่ คราวคร้งั ใหม่มี

ระยะห่างจากการเดินทางไปราชการตา่ งประเทศชว่ั คราวครงั้ สดุ ท้ายทีไ่ ด้รบั เครือ่ งแตง่ ตัว เกินกวา่ 2 ปนี ับแต่วนั ที่

เดินทางออกจากประเทศไทย หรือเมือ่ การเดินทางไปราชการต่างประเทศช่วั คราวครั้งใหมม่ รี ะยะเวลาเกนิ กวา่ 2

ปี นับแต่วนั ทเี่ ดินทางกลับถึงประเทศไทยสาํ หรับผูท้ ่รี ับราชการประจําในตา่ งประเทศ

กรณที ที่ างราชการสั่งงดการเดินทางโดยไม่ใชค่ วามผดิ ของผู้เดินทาง และผเู้ ดินทางไดจ้ า่ ยค่าเครื่องแตง่ ตวั

ไปแล้วหรอื มขี อ้ ผูกพันท่ีจะตอ้ งจ่ายค่าเคร่อื งแตง่ ตัวโดยสจุ รติ โดยมีหลักฐาน ก็ใหเ้ บิกค่าเครือ่ งแตง่ ตัวได้ และให้

ถอื ว่าวนั ที่ไดร้ ับค่าเคร่ืองแต่งตวั นน้ั เป็นวนั เดนิ ทางออกจากประเทศไทย

ให้ผูเ้ ดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว เบิกคา่ เคร่ืองแตง่ ตัวตามบญั ชีหมายเลข 8 ทา้ ยระเบียบ

กระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการเบกิ ค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2554 ดังนี้

1) ให้เบกิ คา่ เครื่องแตง่ ตัว ในลกั ษณะเหมาจ่าย

 ระดบั 5 ลงมา คนละ 7,500 บาท

 ระดบั 6 ขน้ึ ไป คนละ 9,000 บาท

2) ค่าเครือ่ งแตง่ ตัวสาหรับคู่สมรส ให้เบิกในอัตราเดียวกับผูเ้ ดินทาง

ท่ัวไป วิชาการ อานวยการ บรหิ าร

ปัจจุบัน สูง C 10-11 บส .เดมิ หน.สรก. หมายเหตุ
ตน้ C 9 บส. รองหน.สรก.
ระดบั 5 ลงมา สูง C 9 บส. ผอ.สานัก ระดับ 5 ซึ่งอยูใ่ น
7,500 บาท ตน้ C 8 บก. ผอ.กอง ตําแหน่งประเภท
ทรงคุณวฒุ ิ C 10 วช/ชช ทั่วไประดับ
ระดบั 6 ขึ้นไป เช่ยี วชาญ C 9 วช/ชช ชํานาญงานจะมี
9,000 บาท ชานาญการพเิ ศษ C 8ว-วช สทิ ธิเพม่ิ ข้ึน
ชานาญการ C 6-7
ปฏบิ ัตกิ าร C 1-5
ทกั ษะพเิ ศษ C 9
อาวโุ ส C 7-8
ชานาญงาน C 5-6
ปฏบิ ตั ิงาน C 1-4


Click to View FlipBook Version