The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศว.ยะลา แผน, 2020-05-01 05:47:10

รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ 2562

รายงานผลการดำเนินงาน ปี 2562

รายงานผลการดาเนนิ งาน

ประจาปีงบประมาณ 2562

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา

สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษายะลา เป็นสถานศึกษา สังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ
มีภารกิจในการให้บริการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและส่ิงแวดล้อม
ให้กับนักเรียน นักศึกษา ทั้งในและนอกระบบโรงเรียนทุกระดับช้ัน ตลอดจนประชาชนทั่วไป ในเขต
พื้นที่รับผิดชอบ ประกอบด้วยจังหวัด ได้แก่ ยะลา สงขลาและสตูล พร้อมทั้งดาเนินการส่งเสริม
กลุ่มเป้าหมายให้ได้รับโอกาสทางการเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม โดยการจัด
กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายให้ผู้รับบริการ เรียนรู้ได้ตามสภาพความต้องการ รวมท้ังสนับสนุน
เครือข่ายทั้งหน่วยงานภาครัฐ และเอกชน ร่วมดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัย
ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดล้อม

รายงานผลการดาเนินงาน ประจาปีงบประมาณ 2562 ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา
ยะลาเล่มนี้ ได้รวบรวมข้อมูลกิจกรรมที่ได้ดาเนินการ ในปีงบประมาณ 2562 เพื่อเผยแพร่ให้
หน่วยงานทีเ่ กยี่ วข้องไดร้ บั ทราบข้อมูลต่อไป

ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษายะลา
ตุลาคม 2562

สำรบัญ หนำ้

คำนำ ข
สำรบัญ
บทที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐำนของสถำนศึกษำ 1
1
ชื่อสถานศึกษา 1
สถานท่ตี ั้ง 2
สงั กัด 2
ประวัตคิ วามเปน็ มาของสถานศกึ ษา 3
เขตพ้ืนท่ีให้บริการ 6
กจิ กรรมท่ีให้บรกิ าร 6
วัตถปุ ระสงค์ของการจัดตง้ั 7
บทบาทหน้าที่ของศนู ย์วิทยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษายะลา 8
บุคลากร 9
ปรัชญา วิสัยทศั น์ อัตลักษณ์ เอกลักษณ์
พันธกิจ เปา้ ประสงค์และตวั ชี้วดั ความสาเร็จ 11
บทท่ี 2 ปัจจยั ส่งเสริมสนับสนุนกำรจัดกจิ กรรม 12
โครงสรา้ งการบริหารงาน 13
จานวนบคุ ลากร 15
งบประมาณที่ได้รบั จดั สรร
อาคารสถานทีแ่ ละสงิ่ อานวยความสะดวก 16
บทที่ 3 ผลกำรดำเนนิ งำน ประจำปีงบประมำณ 2561 18
ผลการดาเนินงานดา้ นปริมาณ 18
ผลการดาเนนิ งานด้านสุขภาพ 19
ปญั หาและอุปสรรค
โครงการ/กจิ กรรม ประจาปีงบประมาณ 2561 21
ผลการดาเนินงานตามนโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 71
พ.ศ.2561 71
บทที่ 4 เปำ้ หมำยกำรดำเนินงำน ปีงบประมำณ 2561 88
สรปุ ผลการประเมนิ ตนเองของศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษา
เปา้ หมายการดาเนินงานปีงบประมาณ 2561
คณะผ้จู ัดทำ

บทท่ี 1 ขอ มูลพน้ื ฐานของสถานศึกษา

ช่ือสถานศกึ ษา

ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา

สถานท่ตี ้งั

อาณาเขตท่ีต้ังสถานศึกษา : ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา ต้ังอยูเลขท่ี 1/29 ถนน
อาคารสงเคราะห ตําบลสะเตง อําเภอเมือง จังหวัดยะลา รหัสไปรษณีย 95000 โทรศัพท
0-7321-4920 โทรสาร 0-7321-6755 E-mail : [email protected] Website gg.gg/yalasci.ac.th

สังกัด

ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา เปนสถานศึกษาในราชการบริหารสวนกลาง ต้ังอยูใน
ภมู ิภาค สังกัดสาํ นักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยสาํ นักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธิการ

รายงานผลการดําเนินงานประจําป 2562
ศูนยวิทยาศาสตรเ พอื่ การศึกษายะลา 1

ประวตั ิความเปนมาของสถานศกึ ษา

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา เปนหนวยงานของรัฐ สังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เรียกโดยยอวา “ศว.ยะลา” ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา
ต้งั อยูเ ลขที่ 1/29 ถนนอาคารสงเคราะห ตําบลสะเตง อําเภอเมอื ง จงั หวัดยะลา รหัสไปรษณีย 95000
โทรศัพท 0-7321-4920, 0-7321-5292 โทรสาร 0-7321-6755 E-mail : [email protected]
Website gg.gg/yalasci.ac.th

เดิมสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มีศูนยวิทยาศาสตรเพื่อ
การศึกษาแหงชาติท่ีเอกมัย กรุงเทพมหานคร เพียงแหงเดียวซ่ึงไมพอเพียงตอความตองการ ของ
ผูใชบริการ กอรปกับนโยบายของรัฐบาลที่เรงรัดการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหสอดคลองกับการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมของชาติโดยเฉพาะในดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังน้ัน เมื่อวันท่ี 16 สิงหาคม
2537 คณะรัฐมนตรีในสมัยน้ัน จึงอนุมัติใหกระทรวงศึกษาธิการดําเนินโครงการศูนยวิทยาศาสตรเพื่อ
การศึกษาและเครือขาย โดยกรมการศึกษานอกโรงเรียน (สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศัยในปจจบุ ัน) เปนผูรับผดิ ชอบ โดยอนมุ ัติใหจดั ตัง้ อุทยานวทิ ยาศาสตรพระจอมเกลา
ณ หวากอ ท่ีจังหวัดประจวบคีรีขันธ ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษารังสิต จังหวัดปทุมธานีและจัดตั้ง
ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาจังหวัดอีกจํานวน 12 แหง ใน 12 เขตการศึกษาท่ัวประเทศ ไดแก ศูนย
วิทยาศาสตรเพื่อการศึกษาจังหวัดขอนแกน อุบลราชธานี นครราชสีมา สระแกว สมุทรสาคร
พระนครศรีอยุธยา กาญจนบุรี นครสวรรค ลําปาง ตรัง นครศรีธรรมราชและศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือ
การศึกษาจังหวัดยะลา ซึ่งในปจจุบันเปลี่ยนช่ือเปนศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา ตามประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารเม่ือวันที่ 26 มีนาคม 2551

เขตพ้นื ท่ใี หบ ริการ

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา รับผิดชอบใหบริการทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอมใหแกนักเรียน นักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียน และประชาชนท่ัวไปมีพ้ืนที่รับผิดชอบ
5จังหวัดประกอบดวย คือ จังหวัดยะลา สงลา สตูล (ปตตานีและนราธิวาส ดูแลพื้นที่การปฏิบัติงาน
จนกวา ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศึกษานราธิวาสจะพรอ มดําเนินการ)

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป 2562
ศูนยว ทิ ยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา 2

กจิ กรรมทใี่ หบริการ

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา เปนแหลงบริการความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอม ในลักษณะแหลงเรียนรูตามอัธยาศัยและแหลงสงเสริมการเรียนการสอนตาม
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช 2551 และการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามความตองการของ
โรงเรียน ทองถ่ิน ชุมชน ที่เนนผูเรียนเปนสําคัญและการนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน ซึ่งได
กาํ หนดใหมีกิจกรรมท่ีให บริการใน 4 ลักษณะ คือ คายวิทยาศาสตร นทิ รรศการ กิจกรรมการศึกษาและ
บรกิ ารวชิ าการ ซ่งึ มรี ายละเอียดดังนี้

1. การจัดกิจกรรมเสริมทักษะและนิทรรศการวิทยาศาสตร เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม รูปแบบกิจกรรมเปนการจัดการเรียนรูผานส่ือนิทรรศการ
โดยจัดแสดงความรูดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอมผานนิทรรศการสื่อประสมท่ีทันสมัย ทั้ง
ส่ือแสง สี เสียง หุนจําลอง เกมโดยใหผูเขาชมสามารถเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม ในการฝกปฏิบัติหรือ
คนหาคําตอบ ซึ่งผูเขารวมจะไดท้ังความสนุกสนานและความรูในการจัดกิจกรรมตางๆ เชน
นทิ รรศการถาวร : เรยี นรหู าคําตอบในนิทรรศการภายในศูนยวทิ ยาศาสตรเ พอื่ การศึกษายะลา
นทิ รรศการชว่ั คราว : เรียนรกู ับนทิ รรศการวันสําคัญ เหตุการณท ่สี าํ คัญ กบั กิจกรรมวทิ ยาศาสตร
นิทรรศการเคล่อื นที่ : นาํ กจิ กรรมการเรียนรูเขาในชุมชน/พนื้ ท่กี ลมุ เปา หมาย

1.1 นิทรรศการวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน เปนการจัดแสดงความรูวิทยาศาสตรพ้ืนฐาน
ประกอบดวย เครื่องเลนที่ใชประสาทสัมผัสและเกมแสนสนุกท่ีสงเสริมความรูทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร ท้ังสื่อแสง สี เสียง หุนจําลอง เกมโดยใหผูเขาชมสามารถเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรม
ในการฝกปฏิบตั ิหรอื คนหาคําตอบ ซง่ึ ผเู ขา รว มจะไดทั้งความสนุกสนานและความรใู นการจดั กิจกรรม

1.2 นทิ รรศการวทิ ยาศาสตรกลางแจง พบกับเร่ืองราวของแรงและการเคลื่อนที่
เชน นกั วิทยาศาสตรสะพานแขวน นาฬิกาแดด โฟกสั ซาวน คาน รอก เปน ตน

1.3 นิทรรศการดาราศาสตร กลมุ ดาวฤกษ กลุมดาวจักรราศี การเกิดสรุ ิยุปราคา
จนั ทรุปราคา น้าํ ข้ึนน้าํ ลง ฤดกู าลของโลกและของประเทศไทย การใชป ระโยชนจากดวงดาวของมนุษย
ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน อิทธิพลของดวงดาวที่มีตอชีวิตมนุษย และการลงมือทํากิจกรรมภาคปฏิบัติใน
การประดิษฐและการใชแผนทด่ี าวฯลฯ จัดแสดงดวยทองฟาจาํ ลองหรือหองฉายดาว นิทรรศการเสมือน
จรงิ และการดูดาวจากทอ งฟาจรงิ ดวยกลองโทรทรรศน

1.4 นิทรรศการความหลากหลายทางชีวภาพ เปนนิทรรศการที่จัดแสดงไว
ท้ังภายในและภายนอกอาคาร ที่แสดงถึงความหลายของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตว นานาชนิดและนานา
พันธุตลอดจนใหความรูในการใชประโยชนจากความหลากหลายในระบบนิเวศ อันเปนธรรมชาติเปน
แหลง ที่อยูอาศัยการรบกวนและทําสภาพแวดลอ มและธรรมชาติของมนุษยจะทําใหเกิดผลกระทบกับการ
เปลี่ยนแปลงทางชีวภาพของโลกในอนาคต จึงเปนการเรียนรูเพื่ออนุรักษและรักษาดุลยภาพแหง
สภาพแวดลอมและธรรมชาติ

1.5 นิทรรศการสวนวิทยาศาสตร เปนนิทรรศการภายนอกอาคาร สนุกกับเครื่อง
เลนที่เกิดจากการคนควาทดลองและเชาวปญญาของมวลมนุษยควบคูกับการเรียนรูหลักการและทฤษฎี
ตางๆ เพ่ือนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน จัดแสดงความรูเก่ียวกับธรณีวิทยา เร่ืองหินประเภทตางๆ
พลงั งานนา้ํ โดยมีการตกแตงบรเิ วณใหเ ปน สวนหยอ มเพอ่ื การพักผอนไปดว ย

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพ่ือการศกึ ษายะลา 3

1.6 นิทรรศการเกษตรธรรมชาติ เปนนิทรรศการภายนอกอาคาร ใหความรูเรื่อง
การทําการเกษตรทไ่ี มใ ชสารเคมี เชน สวนสมุนไพร การทาํ ปุย พืชสด ปยุ นํา้ ชวี ภาพ ปุยหมกั มีแปลงสาธิต
การปลูกพชื ปลอดสารพษิ จากปุยชวี ภาพท่ีผลิตเองและการบรโิ ภคอาหารเพ่ือสขุ ภาพ

1.7 นทิ รรศการเคลอ่ื นที่วิทยาศาสตร เปนรถนิทรรศการเคลอ่ื นที่ที่นําเสนอของเลน
และของใชพื้นบาน ที่เกิดจากความชาญฉลาดในการประดิษฐสรางสรรค รูจักการนําวิทยาศาสตร
มาใชโดยผานกระบวนการคิด คนควา ทดลอง แลวเกิดการสั่งสมแกไขและดัดแปลงใหเหมาะสมแลว
นํามาใช เพื่อการดํารงชีวิตประจําวันในทองถ่ิน ตลอดจนถายทอดความงดงาม ความประณีต
แสดงใหเห็นถงึ คุณคาของภูมิปญญาทองถิ่น และวัฒนธรรมความเปนอยูของสังคมนอกจากนี้ยังมีการจัด
นิทรรศการเคล่ือนท่ีออกใหบริการตามความตองการหนวยงานและสถานศึกษาท่ีขอรับบริการ
ประกอบดวยชุดเคร่ืองเลนและเกมลับสมอง ที่สามารถสัมผัสไดทดลองได เหมาะสําหรับการเรียนรู
ในระยะเวลาอันส้ัน นอกจากน้ันยงั มีกจิ กรรมท่ีสามารถฝก ปฏิบตั ิดวยตนเอง โดยมีวิทยากรใหความรูและ
นําการปฏบิ ตั ิ เชน เกมลับสมอง กังหนั ลม กจิ กรรมเสรมิ อื่นๆ ฯลฯ

2. การจัดกิจกรรมคายวิทยาศาสตร เปนกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีอีกรูปแบบหนึ่ง ท่ีมีคุณคายิ่ง เปนกิจกรรมที่จัดใหผูรับบริการมาพักแรมอยูรวมกัน
ในบรรยากาศแบสบายๆเปนกันเอง ไดท้ังความรูและความสนุกสนานพรอมกับปฏิบัติกิจกรรมตางๆ
ท่ีถูกจัดไวอยางผสมผสานกลมกลืนตลอดระยะเวลาการอยูคาย ท้ังกิจกรรมวิชาการและกิจกรร
นันทนาการที่เนนกระบวนการคิดปลูกจิตวิทยาศาสตร การแกไขปญหา ดวยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตรสงเสริมความคิดริเร่ิมสรางสรรคและการสรางความรูดวยตนเองจากการแลกเปล่ียนเรียนรู
รวมกันในกลุม การไดลงปฏิบัติในกิจกรรมภาคสนามและใหองปฏิบัติการ อีกทั้งยังไดฝกทักษะ
ในการทํางานรวมกับผูอื่น มีความรับผิดชอบตอสวนรวม และมีระเบียบวินัย ซึ่งคุณสมบัติเหลานี้
เปนคุณลักษณะของบุคคลที่มีจิตวิทยาศาสตรซ่ึงเปนเปาหมายของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร
ท่ีเยาวชนควรไดรับการพัฒนาและสงเสริม ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา ไดพัฒนาหลักสูตรคาย
วิทยาศาสตรไวหลายหลักสูตร เพื่อใหผูรับบริการไดเลือกตามความสนใจและความตองการ ไดแก
คายคณิตคิดสนุก คายรักษส่ิงแวดลอม คายอนุรักษพลังงาน คายดาราศาสตร คายเรียนรูวิทยาศาสตร
เทคโนโลยแี ละสิง่ แวดลอ ม คา ยฤดูรอน ฯลฯ

ในการใหบริการกิจกรรมคายวิทยาศาสตร มีทั้งคายไป – กลับ คายพักแรม ใหบริการจัด
กิจกรรมทางวิทยาศาสตร ท้ังในบริเวณของศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา และนอกสถานที่ตาม
ความตอ งการของผูบ รกิ ารในเขตพน้ื ทร่ี ับผดิ ชอบ

3. การจดั กิจกรรมการเรียนรกู ิจกรรมการศึกษา เปนโปรแกรมการเรียนรูที่จัดข้นึ เพื่อใหบริการ
การเรียนรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม และอ่ืนๆ แกผูรับบริการทั้งในลักษณะกิจกรรม
การเรียนรูสาํ หรับนักเรียน นกั ศกึ ษากิจกรรมเสรมิ ทกั ษะกระบวนการทกั ษะ เชิงวิทยาศาสตรก ิจกรรมการ
ประกวดและการแขงขันดานวิทยาศาสตร ดาราศาสตรและส่ิงแวดลอมและการจัดกิจกรรมการเรียนรู
เคลื่อนท่ีสูชุมชน ทั้งในผลการปฏิบัติงานประจํารูปแบบการจัดกิจกรรมเองและการรวมกับหนวยงาน
เครือขา ยในการจดั กิจกรรม

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป 2562
ศนู ยวิทยาศาสตรเพอ่ื การศกึ ษายะลา 4

3.1 หองเรียนวิทยาศาสตร เปนกิจกรรมสงเสริมการเรียนรู ทั้งในระบบหลักสูตร
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2554 กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 8 สาระ ไดแก สาระที่ 1 ส่ิงมีชีวิตกับ
กระบวนการดํารงชีวิต สาระท่ี 2 ชีวิตกับส่ิงแวดลอม สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร สาระท่ี 4
แรงและการเคล่ือนที่ สาระท่ี 5 พลังงาน สาระที่ 6 กระบวนการเปล่ียนแปลงของโลก สาระท่ี 7
ดาราศาสตรและอวกาศ และสาระท่ี 8 ธรรมชาติและเทคโนโลยี และหลักสูตรการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 โดยเลือกเฉพาะเนื้อหามีความจําเปนตองทําการทดลอง
หรือฝกปฏิบัติจริงจึงจะเขาใจไดดีมาจัดโดยจัดทําเปนกิจกรรมการเรียนรูเรื่อยๆเรื่องละประมาณ
3-6 ชั่วโมง เชน ไฟฟานาทดลอง เคมีหรรษา พลังแมเหล็ก โลกตนเลนส การทดสอบสารอาหาร ฯลฯ
ท่ีเนนการเรียนรูจากการทดลองในหองปฏิบัติการและการฝกปฏิบัติจริงเพ่ือใหผูบริการไดทําการทดลอง
จริง ไดเรียนรูจากการสังเกตเห็น ฟง ดม ชิม สัมผัส เรียนรูจากอุปกรณการทดลองที่ทันสมัย เรียนรู
จากกระบวนการกลุม จนเกิดการคนพบและสามารถสรุปเปนองคความรูไดดวยตนเอง ในการจัด
กระบวนการเรียนรู จะมีวิทยากรเปนผูใหความรู แนะนําการทดลองหรือฝกปฏิบัติ ควบคุมการทํา
กิจกรรมและรวมสรุปผลการทํากิจกรรมหองเรียนวิทยาศาสตรจึงเปนกิจกรรมท่ีชวยใหผูรับบริการไดรับ
ความรเู พมิ่ เติมจากท่เี รียนรูในโรงเรียน

3.2 การอบรมใหความรูทางวชิ าการแกค รูทั้งในและนอกระบบโรงเรียน โดยการจัด
อบรมสัมมนาเชิงวิชาการแกครู / นักวิชาการทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน มีเปาหมาย
สําคัญเพื่อใหครูมีทักษะในการจดั การเรยี นรดู า นวิทยาศาสตรอยา งมปี ระสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน นอกจากการ
ดําเนินการอบรมโดยหนวยงานเองแลว ยังไดมีการประสานงานกับหนวยงานตางๆ เชน กศน. สพฐ.
มหาวิทยาลัยราชภัฎ องคกรปกครองสวนทองถ่ิน หนวยงานเครือขายตางๆ ในการจัดอบรมความรูดาน
วิทยาศาสตรแกครูผูสอนอกี ดว ย

3.3 การประกวดและการแขงขันทางวิทยาศาสตร เปนกิจกรรมที่จัดข้ึนเพื่อสงเสริม
และเพิ่มพูนทักษะดานวิทยาศาสตร อธิบายหลักการและทฤษฎีทางวิทยาศาสตร ดวยวิธกี ารที่สนุกสนาน
เราใจ ไดแก การประกวดการแสดงทางวิทยาศาสตร (Science Show) การแขงขันการตอบปญหา
วิทยาศาสตร การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร การแขงขันประดิษฐและการยิงจรวดขวดน้ํา ฯลฯ
ที่จัดประกวดแขงขันที่ไดรับความสนใจจากโรงเรียนในระบบและสถานศึกษานอกระบบตาง ๆ สงเขา
ประกวดทง้ั ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย

4. การจัดกิจกรรมการเรียนรูบริการวิชาการ เปนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ทางวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม ในรูปแบบตาง ๆ เชน การใหความรูโดยผานเอกสาร Internet รายการวิทยุ
เผยแพรวารสารและหนังสือพิมพ เปนตน รวมถึงเปนวิทยากรกิจกรรมฝกอบรม ประชุม สัมมนาและ
บรรยายพเิ ศษ แกผรู บั บรกิ ารเชน

1. การใหบรกิ ารสญั ญาณอินเทอรเ น็ตไรสาย
2. การบรกิ ารขา วสารบนเวป็ ไซต ชื่อเว็ปไซต http://www.yalasci.com
3. การจดั ทาํ เอกสารและรายการวดี ที ัศนแนะนําศนู ยแ ละกิจกรรมตางๆทใ่ี หบริการ
4. แผนพับเผยแพร “วทิ ยาศาสตรและกจิ กรรมของศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา”
5. จดหมายขาว ศว.ยะลา
6. เผยแพรค วามรูดา นวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสงิ่ แวดลอ ม

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป 2562
ศูนยวิทยาศาสตรเพ่อื การศึกษายะลา 5

วัตถุประสงคของการจัดตั้ง

1. เพื่อเปนการขยายโอกาสทางการศึกษาในดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอมจาก
สวนกลางไปสูสวนภูมิภาค สําหรับกลุมเปาหมาย ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกระบบโรงเรียน ตลอดจน
เยาวชนและประชาชนท่ัวไป

2. เพื่อเปนแหลงวิทยาการเพ่ือการเรียนรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม โดย
ผานการจัดกิจกรรมการศึกษาหลากหลายรูปแบบ เชน ฐานการเรียนรู หองเรียนวิทยาศาสตร คาย
วิทยาศาสตร นิทรรศการเคลื่อนท่ีการแสดงทางวิทยาศาสตร (Science Show) การพัฒนาบุคลากรดาน
วทิ ยาศาสตร การประกวดสง่ิ ประดิษฐท างวทิ ยาศาสตร การประชุมสมั มนาทางวิชาการ เปน ตน

3. เพ่ือสงเสริมใหผูรับบริการมีความรูทางวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอมอยาง
กวางขวาง มีความสนใจและตดิ ตามวทิ ยาการใหมๆทางวทิ ยาศาสตร มจี ิตวทิ ยาศาสตรห รอื มีเจตคตทิ ี่ดตี อ
วทิ ยาศาสตร ตลอดจนสามารถนําความรทู างวทิ ยาศาสตรมาใชใ หเกดิ ประโยชนใ นชีวติ ประจาํ วัน

บทบาทหนาท่ขี องศนู ยวทิ ยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา

ศนู ยว ิทยาศาสตรเพ่ือการศกึ ษายะลา เรียกโดยยอวา ศว.ยะลา มหี นาท่ดี ังตอ ไปน้ี
1. จัดและบริการการเรียนรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอมใหแกนักเรียน นักศึกษา
ทั้งในและนอกระบบโรงเรยี นและประชาชนในพืน้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบ
2. ศึกษา คนควา วิจัย และพัฒนารูปแบบกิจกรรม หลักสูตร สื่อ และกระบวนการเรียนรู
ดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอม อาทิ ดาราศาสตร ธรรมชาติวิทยา เทคโนโลยี
ที่เหมาะสม
3. เผยแพรและบริการรูปแบบกิจกรรม หลักสูตร ส่ือ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรูดาน
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอ ม
4. พฒั นาครู อาจารย วิทยากร และบคุ ลากรทางการศึกษา ผูรบั ผิดชอบการจัดกิจกรรมการเรยี นรู
ทางดา นวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอม
5. สง เสริม สนับสนุน และประสานงานรวมกบั ภาคเี ครือขายในการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู างดาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอม
6. ปฏบิ ัติงานอืน่ ๆ ตามทไ่ี ดร บั มอบหมาย

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพอ่ื การศกึ ษายะลา 6

บคุ ลากร

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา จัดโครงสรางการบริหารงานออกเปน 4 สวน โดยมี
อัตรากําลังเปนผูบริหาร 1 อัตรา ขาราชการครู 4 อัตรา รวม 5 อัตรา พนักงานราชการ 9 คน จางเหมา
บริการ 12 อัตรา รวมทั้งสน้ิ 26 อัตรา

ประเภท ชื่อ-สกุล ตาํ แหนง วุฒิ สาขาวชิ าเอก
1. ผูบรหิ าร การศึกษา
2. ครู นายณฐั ภูมินทร สงั ขพงศ ผูอาํ นวยการ
3. พนักงาน ดาํ รงตําแหนงวนั ท่ี 4 ก.ย.60 ครูชาํ นาญการ ปรญิ ญาโท บริหารการศึกษา
ราชการ 1) นายภัทรพล ทองหลอ ครชู ํานาญการ
2) นายมะยารี ยาฝาด ครชู ํานาญการ ปริญญาโท บรหิ ารการศกึ ษา
4. จางเหมา 3) นางรอฮานา สาเมาะ ครู ปริญญาโท บริหารการศึกษา
บริการ 4) นางสาวนูรดี า สาและ วทิ ยากรนาํ ชม ปรญิ ญาตรี จลุ ชีววิทยา
1) นายสถาพร สตั ยารักษ วทิ ยากรนําชม ปรญิ ญาโท บรหิ ารการศึกษา
(จางเหมาตาม 2) นายคณุ ากร สายธารจิตต วทิ ยากรนําชม
ระเบียบพสั ด)ุ 3) นายธนาธิป ชเู มือง วทิ ยากรนาํ ชม ปริญญาโท เทคโนโลยีและการสอ่ื สาร
4) นางสาวนูรใอนี ดอเลาะ นกั วชิ าการศึกษา ปรญิ ญาตรี
5) นางกานตธดิ า พระธานี นกั วิชาการเงนิ และบัญชี ปรญิ ญาตรี ชีววทิ ยาประยุกต
6) นางสาวรอดีฮะ ลาเตะ นักวิชาการเงินและบัญชี ปริญญาตรี ทรพั ยากรมนษุ ย
7) นางสาวสาอดี ะ เจะ มะ นกั วชิ าการศกึ ษา ปรญิ ญาโท การตลาด
8) นางสาวรอฮานี มีซา เจา หนา ทีพ่ สั ดุ ปรญิ ญาตรี
9) นางสาวหทยั รัตน นาคเสน นักวชิ าการวทิ ยาศาสตรศึกษา ปรญิ ญาตรี บรหิ ารการศึกษา
1) นางวรรณี อามะ นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตรศึกษา ปรญิ ญาตรี
2) นายฐานันดร สทุ ธิศักดา นกั วชิ าการวิทยาศาสตรศ ึกษา ปวส. ประกนั ภัย
3) นายอาเรฟ หะยดี อื เระ นกั วชิ าการวทิ ยาศาสตรศึกษา
4) นางสาวซัยยานี โตะเปะ นักวเิ คราะหน โยบายและแผน การเงินและบัญชี
5) นางสาวพชิ ยา วฒั นะนกุ ลู นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร
6) นายเพาซนั ดีแม นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร พัฒนาสงั คม
7) นายมูฮมั หมัดชารฟี เปาะสา นกั จดั การงานทวั่ ไป บรหิ ารธุรกจิ คอมพวิ เตอร
8) นางสาวชมุ นุมพร อุทัย พนักงานบริการ (แมบา น) ปริญญาตรี เทคโนโลยีคอมฯ
9) นางสาวลนิ ดา บินเมรนุ ี นักการภารโรง ปรญิ ญาตรี ภมู สิ ารสนเทศฯ
10) นายจริ ยทุ ธ ยามาสาเระ พนกั งานบริการ (คนสวน) ปริญญาตรี อนามัยสิง่ แวดลอ ม
11) นายอสิ มาแอ สนิ พนักงานขบั รถ ปรญิ ญาตรี ชีววิทยา
12) นายมะอูเซ็ง ดีนา ปริญญาตรี สารสนเทศสถิติ
ปรญิ ญาตรี นวัตกรรมออกแบบ
ปริญญาตรี คอมพิวเตอรธุรกจิ
ปริญญาตรี บรหิ ารโรงพยาบาล
ม.6
ม.6
ปรญิ ญาตรี เทคโนโลยีสารสนเทศ
ม.6

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป 2562
ศนู ยวทิ ยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา 7

ปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา ไดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู
ตามนโยบายดานวิทยาศาสตรข องสาํ นักงาน กศน. ประจําป 2562 ดังนี้ ตามแผนงานขยายโอกาสและ
พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา ผลผลิตที่ 5 และการศกึ ษาตามอัธยาศัยและยุทธศาสตรที่ 1 ลดความเหล่อื มลํ้า
สรางโอกาส และยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ยทุ ธศาสตรท ี่ 2 สรางอุดมการณ รกั ชาติ ศาสน กษตั ริย และ
สรางคานิยมท่ีพึงประสงค ยุทธศาสตรที่ 3 จัดการศึกษาเพื่อสงเสริมการเรียนรูทุกชวงวัยและพัฒนา
คณุ ภาพชีวิต ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาการศกึ ษาในเขตพฒั นาพิเศษจงั หวัดชายแดนภาคใต ยุทธศาสตร
ท่ี 5 พัฒนา กศน.ตําบลใหเปนกลไกการขับเคล่ือนการจัดและสงเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือสรางและ
กระจายโอกาสในการเรียนรตู ลอดชวี ติ ในชุมชน

สงเสริมสนับสนุนใหสถานศึกษา และหนวยจัดบริการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย นําภูมิปญญาทองถิ่น ปราชญชาวบาน หรือภูมิปญญาพ้ืนบาน และแหลงวิทยาการชุมชนทุก
ประเภทในพ้ืนที่มาใชประโยชนในการจัดการศึกษาใหเกิดประสิทธิภาพ และมีการอนุรักษสืบสาน
ประยุกต ใชตอยอดสรางสรรค และพัฒนา เพื่อความยั่งยืนและความเขมแข็งของชุมชน และทองถ่ิน
ตลอดจนการพัฒนาประเทศอยา งเปน ระบบรวมท้งั พัฒนากลุมเปาหมายใหมคี วามคิดวิเคราะห มีเหตุมผี ล
และมจี ิตวทิ ยาศาสตร

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา ในฐานะสถานศึกษาท่ีทําหนาที่ในการสงเสริมสนับสนุน
และจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ไดนําเอานโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน ของสํานักงาน กศน.
ปงบประมาณ 2561 มาวิเคราะหสูการปฏิบัติตามศักยภาพ และเปาหมายในการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา ซ่งึ ในรอบระยะเวลาท่ีผานมาบุคลากรของศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา ไดร ว มมอื กัน
ดําเนินงานตามภารกิจ เพื่อตอบสนองนโยบายของสํานักงาน กศน. ไดดําเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการ
ประจําปง บประมาณ 2561 ดงั น้ี

ปรชั ญา

สรางระบบคดิ ปลกู จติ วทิ ยาศาสตร

วิสยั ทศั น

ศนู ยวทิ ยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลาสง เสรมิ สนับสนุนสงั คมแหงการเรยี นรู ดว ยการสราง
ระบบคิด ปลูกจติ วทิ ยาศาสตร

อตั ลักษณ

คิดเปน เนน การมีสวนรวม เกิดทกั ษะวทิ ยาศาสตร

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพือ่ การศึกษายะลา 8

เอกลักษณ

เรยี นรูวิทยาศาสตรก บั วิถชี วี ิต

พนั ธกิจ

1. จัดและสงเสรมิ กระบวนการเรียนรดู า นวิทยาศาสตร ทุกรปู แบบ ทัง้ ในระบบนอกระบบ
และอธั ยาศัย สําหรบั เด็ก เยาวชนและประชาชนทั่วไป

2. วิจยั และพัฒนา นวตั กรรมการจัดกระบวนการเรยี นรแู ละการบริการจัดการองคก ร
ดานวทิ ยาศาสตร

3. สงเสริมพฒั นาบคุ ลากรที่เกย่ี วของในการจัดการเรียนรู ดา นวทิ ยาศาสตรอ ยางตอ เนอื่ ง
4. นาํ นวัตกรรมการบรหิ ารจดั การภาครฐั แนวใหม มาใชในการบรหิ ารงานศนู ย
5. จดั ขยาย และแสวงหาเครอื ขา ย แหลง การเรยี นรดู า นวทิ ยาศาสตร
6. สง เสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาเครือขาย ในดานการจดั กระบวนการเรียนรู

ดา นวทิ ยาศาสตร

เปาประสงค และตัวชว้ี ัดความสําเร็จ

เปาประสงค ตวั ชี้วัดความสําเรจ็
1. ผรู บั บริการไดรับความรู เกิดทักษะ 1. จาํ นวนผรู บั บรกิ าร
กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร และเจตคตเิ ชงิ 2. รอ ยละความพึงพอใจของผูร บั บริการ
วทิ ยาศาสตรต ลอดจนมีความพึงพอใจในการรบั 3. รอยละของผูรับบริการท่ีมีความรู ทักษะ
บรกิ าร และเจตคตเิ ชิงวิทยาศาสตร
2. มีองคก รภาคสวนตาง ๆ รว มเปนภาคีเครือขาย 4. จาํ นวนภาคีเครือขา ย
ในการสนับสนุนและจัดกิจกรรมการเรยี นรดู าน 5. จํานว นส่ือ หลักสูตร รูปแบบกิจกรรม
วิทยาศาสตรอ ยา งตอเนอ่ื ง ผลงานวจิ ัย และนวตั กรรม
3. มีงานวิจัย หลักสูตร สื่อ นิทรรศการและ 6. จํานวนชุมชนที่ไดรับความรูและทักษะ
รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรียนรูท่หี ลากหลาย ทางวทิ ยาศาสตร
ทันสมัยและมีคณุ ภาพพรอมการเขา สูป ระชาคม 7. จํานวนบุคลากรท่ไี ดร ับการพฒั นา
อาเซียน 8. จํานวนระบบฐานขอ มูลสารสนเทศ
4. ชุมชนไดรับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู 9. หนวยงานผานการประเมินคณุ ภาพ
และมีสวนรวมในการแกปญหาเพ่ือพัฒนา 10.ระบบโครงสรางพื้นฐานที่ไดรับการพัฒนา
ชุมชน โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร และปรับปรงุ
5. มีระบบการบริหารจดั การทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยวทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษายะลา 9

กลยทุ ธใ นการดาํ เนนิ งาน

ในปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา มียุทธศาสตรในการดําเนินงาน
จํานวน 5 ยุทธศาสตรด งั นี้

ยทุ ธศาสตรที่ 1 พัฒนาคุณภาพผเู รยี น/ผรู ับบริการ
ยทุ ธศาสตรท ่ี 2 พัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา/การใหบริการ
ยทุ ธศาสตรท ี่ 3 พัฒนาภาคเี ครอื ขา ยการจดั การศึกษา
ยุทธศาสตรท ่ี 4 พัฒนาระบบการบริหารองคก รใหม ปี ระสิทธิภาพ
ยุทธศาสตรท ่ี 5 พฒั นาองคกร สถานศึกษา เพ่ือเขาสูมาตรฐาน

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพ่อื การศกึ ษายะลา 10

บทที่ 2 ปจ จยั สง เสริมสนบั สนุนการจดั กิจกรรม

โครงสรา งการบรหิ ารงาน

ปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา แบงโครงสรางการบริหารเปน
4 สว น และมสี ายการบรหิ ารงาน ดงั แผนภมู ิ

โครงสรา งการบริหารงานศูนยวทิ ยาศาสตรเ พอื่ การศึกษายะลา
ผอู ํานวยการสถานศกึ ษา

คณะกรรมสถานศึกษา

สว นอาํ นวยการ สวนวิชาการ สวนสงเสรมิ และบริการ โดมทอ งฟา จําลอง
กลมุ อํานวยการ กลมุ วิชาการ กลุม สงเสริมและบริการ กลมุ สงเสริมและบรกิ าร

● งานธุรการ งานสาร ● งานวิจัย สาธติ ทดลอง ● งานนิทรรศการ ● งานแสดง
บรรณ ● งานนวตั กรรมและ ● งานคา ยวิทยาศาสตร ● งานพัฒนาสอ่ื
● งานบุคลากร เทคโนโลยี ● งานกจิ กรรมการศึกษา ● งานจดั และใหบ รกิ าร
● งานการเงนิ และบัญชี ● งานประกนั คุณภาพ ● งานบริการวิชาการและ ทอ งฟาจาํ ลอง
การศึกษา ฝกอบรม
- งานการเงิน ● งานหลกั สูตร สื่อ ● งานผลติ และเผยแพร
- งานบญั ชี กระบวนการเรียนรู พฒั นา ● งานสงเสรมิ มาตรฐาน
● งานพัสดแุ ละสินทรพั ย รูปแบบกจิ กรรม การศกึ ษา
- งานพสั ดุ ● งานสงเสรมิ และสนับสนนุ
● งานแผนงานโครงการ เครอื ขาย
● งานควบคุมและ ● งานการตลาด
ตรวจสอบภายใน
● งานเทคโนโลยแี ละ
สารสนเทศ
● งานประชาสัมพันธ
● งานสวสั ดิการ
- งานยานพาหนะ
- งานอาคารสถานท่ี
- งานซอ มบาํ รุง

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป 2562
ศนู ยวิทยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษายะลา หนา 11

จํานวนบคุ ลากร

ปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา มีบุคลากรปฏิบัติงาน
ทั้งสิ้น 26 คน แบง เปน
1. ขา ราชการ 5 คน
1.1 ผบู รหิ าร 1 คน
1.2 ขา ราชการครู 4 คน
2. พนักงานราชการ 9 คน
3. ลกู จา งเหมาตามระเบียบพัสดุ 12 คน

จางเหมาบรกิ าร12 คน ผูบรหิ าร 1 คน
ขา ราชการ 4 คน

พนกั งานราชการ 7 คน

แผนภมู ิที่ 1 แสดงจํานวนบุคลากรของศูนยว ทิ ยาศาสตรเพอ่ื การศึกษายะลา
ปง บประมาณ 2562 จาํ แนกตามประเภท

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป 2562
ศูนยวทิ ยาศาสตรเ พือ่ การศึกษายะลา หนา 12

งบประมาณทีไ่ ดรับจดั สรร

ปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา มีงบประมาณในการดาํ เนินงาน
จดั กิจกรรมการเรยี นรูวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอ ม ดงั น้ี

1. เงินงบประมาณ ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา ไดรับจัดสรรงบประมาณใน
แผนงาน บุคลากรภาครัฐ ไดรับเงินจัดสรร จํานวน 2,688,350 บาท และแผนงาน พ้ืนฐานดานการ
พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพคน ผลผลิตที่ 5 ผูรับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ไดรับเงินจัดสรร
จํานวน 5,681,865 บาท และมีการเบิกจายเงินงบประมาณประจําปงบประมาณ 2562 โดยมี
รายละเอียดดงั ตารางที่ 1

ตารางที่ 1 ขอ มูลงบประมาณทไ่ี ดรับจัดสรรและการเบิกจาย ประจาํ ป 2562

รายการ ไดร บั จดั สรร ราคาจัดซือ้ / เบิกจาย รอ ยละ
จัดจาง ของการเบกิ จาย

แผนงาน : บุคลากรภาครฐั 2,688,350.- 2,642,250.- 98.29
รายการคาใชจ ายบคุ ลากรภาครฐั ยกระดบั
คุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรตู ลอดชวี ิต 2,101,020.- 2,077,170.- 98.86
1. งบบคุ ลากร 42,000.-
293,500.- 42,000.- 100.00
(คา ตอบแทนพนกั งานราชการ) 175,000.- 285,000.- 97.10
2. งบดําเนินงาน 76,830.- 162,000.- 92.57

2.1 คาตอบแทน 76,080.- 99.02
2.2.1 คาเชา บา น
2.2.2 คาตอบแทนพิเศษรายเดอื นสาํ หรับ
ผปู ฏบิ ตั ิงานในเขตพื้นท่พี เิ ศษ
2.2.3 คาพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาในพื้นที่
จังหวดั ชายแดนภาคใต

2.2 คาใชสอย
2.2.1 เงินประกันสังคม

แผนงาน : พน้ื ฐานดา นการพฒั นาและ 5,681,865.- 5,681,865.- 100.00
เสรมิ สรางศักยภาพคนผลผลิตที่ 5 ผรู ับบริการ
การศกึ ษาตามอธั ยาศัย 907,840.- 907,840.- 100.00
1. งบดาํ เนินงาน 288,000.- 288,000.- 100.00
953,200.- 953,200.- 100.00
1.1 คาตอบแทนใชสอบและวัสดุ 1,560,000.- 1,560,000.- 100.00
1.1.1 งบบรหิ าร 365,665.-
1.1.2 คา เชา รถ 340,000.- 365,665.- 100.00
1.1.3 งบจัดกิจกรรม 8,370,215.-
1.1.4 งบโครงการพัฒนาคณุ ภาพ 340,000.- 100.00
การศึกษา 8,324,115.- 99.44

1.2 คา สาธารณปู โภค
2. งบลงทุน

2.1 เครอ่ื งถายเอกสาร
รวมทั้งสิน้

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป 2562
ศูนยวิทยาศาสตรเพอ่ื การศึกษายะลา หนา 13

แผนภมู ทิ ่ี 2 แสดงงบประมาณทีไ่ ดรับจดั สรรและทใ่ี ชไป ปงบประมาณ 2562

2. เงนิ นอกงบประมาณ ในปงบประมาณ 2562 ศนู ยวิทยาศาสตรเพื่อการศกึ ษายะลา มีรายได
สถานศึกษา จํานวน 1,229,97779.49 บาท และมีการเบิกจายจํานวนทั้งสิ้น 626,042.01 บาท
มรี ายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 2
ตารางที่ 2 ขอ มูลยอดรบั เงินรายไดสถานศกึ ษาและการเบิกจาย ปงบประมาณ 2562

ยอดรับ ไดรบั เบกิ จาย คงเหลอื
- ยอดยกมาจากปงบประมาณ 2561 603,937.48.-
497,879.98.-
รายรับ
- รายไดสถานศกึ ษา 264,658.00.-
- เงินสนบั สนุน 264,658.00.-
- ดอกเบ้ยี รับ
- อืน่ ๆ 1,253.51.-
117,088.00.-
รวมรบั 1,229,979.49.-
เบกิ จา ย
-
1. คา ตอบแทน 472,542.01.-
2. คาใชส อย 11,900.00.-
3. คาวัสดุ 141,600.00.-
4. คา ครภุ ณั ฑ 626,042.01.-
รวมเบิกจาย
คงเหลอื

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศูนยวิทยาศาสตรเ พื่อการศกึ ษายะลา หนา 14

อาคารสถานท่ีและส่งิ อํานวยความสะดวก

ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา พ้ืนที่บริเวณทั้งหมดมีไวสําหรับจัดกิจกรรม
การใหความรูดานวิทยาศาสตรพื้นฐาน วิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม วิทยาศาสตรสุขภาพ
และดาราศาสตร โดยมีการปรับภูมิทัศน และพัฒนาพื้นท่ีโดยรอบเพ่ือใหมีบรรยากาศท่ีรมร่ืนสวยงาม
เอ้ือตอการเรียนรูใหเปนแหลงเรียนรูทีม่ ีคุณภาพ สามารถรองรับการจัดกิจกรรมไดเหมาะสม เพียงพอ
มีประสิทธิภาพ ใหบริการแกกลุมเปาหมาย นักเรียน นักศึกษา ท้ังในระบบและนอกระบบ รวมถึง
ประชาชนผสู นใจท่วั ไป ตลอดจนสิง่ อํานวยความสะดวก ประกอบดวย

1. อาคารสํานักงานและจัดแสดงนทิ รรศการ จาํ นวน 1 หลงั
2. อาคารนิทรรศการพลังงานและไฟฟาในชีวติ ประจําวนั จํานวน 1 หลงั

3. อาคารหองปฏบิ ัติการทางวิทยาศาสตร จํานวน 1 หลงั

4. หองนทิ รรศการโลกเมอื งเด็ก จํานวน 1 หลงั

5. อาคารจดั กิจกรรมการแสดงทางวิทยาศาสตร จาํ นวน 1 หลงั

6. อาคารจัดกจิ กรรมการเรียนรู 3 ชน้ั จํานวน 1 หลัง

7. คอมพิวเตอร จาํ นวน 14 เครือ่ ง

8. รถบรรทุกเฉพาะกิจ “นทิ รรศการเคล่ือนที่ ความหลากหลายทางชีวภาพ” จํานวน 1 คัน

9. รถยนตเฉพาะกิจ “นิทรรศการพลังงาน” จาํ นวน 1 คัน

10. รถยนตโดยสาร 12 ท่ีน่งั (รถเชา สัญญา 5 ป ปง บประมาณ 2558 - 2562) จาํ นวน 1 คัน

11. รถกระบะ จาํ นวน 1 คนั

12. หอ งสุขา หอ งอาบน้าํ จํานวน 2 หลงั

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยวิทยาศาสตรเพอ่ื การศึกษายะลา หนา 15

บทที่ 3 ผลการดาํ เนนิ งาน ประจําปงบประมาณ 2562

ผลการดําเนนิ งานดา นปรมิ าณ

ปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา ไดดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู
วิทยาศาสตร และการศึกษาตามอัธยาศัยในหลากหลายรูปแบบตาง ๆ ซ่ึงมีผลการปฏิบัติงานในแตละ
กิจกรรม ดงั ตารางที่ 3

ตารางท่ี 3 สรุปผลการปฏบิ ัตงิ านประจําปง บประมาณ 2562 จําแนกตามกิจกรรม

กิจกรรม เปา หมาย นักเรียน ครูใน จาํ นวนผูรับบริการ
ในระบบ ระบบ ประชาชน นักศกึ ษา คดิ เปน
ทัว่ ไป นอกระบบ ครู กศน. รวม รอ ยละ

1. นิทรรศการ 49,440 34,972 3,150 22,095 16,251 1,988 78,456 100.00

2. คายวิทยาศาสตร 10,300 22,868 1,588 38 6,162 1,300 31,956 100.00
3. กจิ กรรมการศึกษา 30,900 13,676 1,986 10,501 8,323 1,821 36,307 100.00
4. บริการวชิ าการ 32,960 9,036 1,200 9,694 6,964 640 27,534 100.00

รวมท้ังสนิ้ 123,600 80,552 6,894 42,328 37,700 5,749 174,253 100.00

แผนภูมทิ ี่ 3 เปรียบเทียบจํานวนผรู บั บรกิ ารกบั เปา หมาย ปง บประมาณ 2562

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป 2562
ศูนยว ิทยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษายะลา หนา 16

1. การเรียนรผู านนิทรรศการ ในปงบประมาณ 2562 ไดจัดแสดงความรดู า นวิทยาศาสตร เทคโนโลยี
และสิ่งแวดลอม ซ่ึงผูเขาชมสามารถเขาไปมีสวนรวมในการทดลองฝกปฏิบัติหรือคนหาคําตอบจาก
การเลนเกมตาง ๆ ซ่ึงผูชมไดรับความรูและความสนุกสนาน เกิดความสนใจในการเรียนรูวิทยาศาสตร
และสามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได ซึ่งมีการจัดแสดง ทั้งนิทรรศการถาวร ภายในและนอก
อาคาร นอกจากนี้ยังจัดนิทรรศการชั่วคราวเคลื่อนที่สูหนวยงานและชุมชนตาง ๆ และเคลื่อนท่ีภายในและ
นอกอาคาร นอกจากนี้ยังจัดนิทรรศการชั่วคราวเคลื่อนท่ีสูหนวยงานและชุมชนตางๆ และเคล่ือนที่
จัดกิจกรรมตามโครงการวิทยาศาสตรสัญจรสูชุมชน โดยมีผูรับบริการการเรียนรูผานนิทรรศการจํานวน
ท้ังส้ิน 78,456 คน โดยจําแนกผูรับบริการเปน นักเรียนในระบบโรงเรียน จํานวน 34,972 คน คิดเปน
รอยละ70.73 ครูในระบบโรงเรียน จํานวน 3,150 คน คิดเปนรอยละ 6.37 นักศึกษานอกระบบโรงเรียน
จาํ นวน 16,251 คน คิดเปนรอยละ 32.87 ครนู อกระบบโรงเรียน จํานวน 1,988 คน คิดเปนรอยละ 4.02
และประชาชนทัว่ ไป จาํ นวน 22,095 คน คดิ เปน รอยละ 44.69

2. คายวิทยาศาสตร ในปงบประมาณ 2562 ไดจัดกิจกรรมคายวิทยาศาสตร ซ่ึงครอบคลุมเนื้อหา
ทักษะทางวิทยาศาสตรท ้งั วทิ ยาศาสตรพ ้ืนฐาน ชวี วทิ ยา เคมี ฟสิกส ส่ิงแวดลอม ดาราศาสตร วทิ ยาศาสตร
เพื่อชีวิตการพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งผูเขารวมกิจกรรมคายไดรับทั้งความรูและความสนุกสนาน พรอมท้ัง
ปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ที่ถูกจัดไวอยางผสมผสานกลมกลืนตลอดเวลาการอยูคาย ท้ังกิจกรรมวิชาการและ
นันทนาการ ท่ีเนนกระบวนการคิดปลูกจิตวิทยาศาสตรการแกปญหาดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร
สงเสริมความคดิ รเิ ร่มิ สรา งสรรคแ ละการสรางความรดู วยตนเองจากการแลกเปลี่ยนเรยี นรูร ว มกัน การลงมือ
ปฏิบัติกิจกรรมภาคสนาม และหองปฏิบัติการ โดยกิจกรรมคายท่ีจัดประกอบดวย คายพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา คายดาราศาสตร คายพลังงาน คายภาคฤดูรอน สรางระบบคิด ปลูกจิตวิทยาศาสตร มีจํานวน
ผูรับบริการทั้งสิ้น 31,956 คน โดยจําแนกผูรับบริการเปนนักเรียนในระบบโรงเรียน จํานวน 22,868 คน
คดิ เปนรอยละ 100.00 ครูในระบบโรงเรยี นจํานวน 1,588 คน คดิ เปนรอยละ 15.41 นักศึกษานอกระบบ
โรงเรียน 6,162 คิดเปนรอยละ 59.84 และครูนอกระบบโรงเรียน จํานวน 1,300 คน คิดเปนรอยละ
12.62

3. กิจกรรมการศึกษา ในปงบประมาณ 2562 ไดจัดกิจกรรมตามโครงการสะเต็มศึกษา STEM
EDUCATION สําหรับครู กศน. โครงการพัฒนาครูสะเต็มศึกษาดวยระบบทางไกล สําหรับครู กศน.
โครงการประกวด แขง ขนั ทักษะทางวิทยาศาสตรเพื่อการเรียนรูชายแดนใต ตลอดจนสงเสริมใหผูรบั บรกิ าร
พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร ปลูกจิตวิทยาศาสตรใหกับผูรับบริการ โดยการจัดกิจกรรมการ
ประกวดแขงขันทางวิทยาศาสตร มีจํานวนผูรับบริการท้ังสิ้น 36,307 คน โดยจําแนกผูรับบริการเปน
นักเรียนในระบบโรงเรียน จํานวน 13,676 คน คิดเปนรอยละ 44.25 ครูในระบบโรงเรียนจํานวน 1,986
คน คิดเปนรอยละ 6.42 นักศึกษานอกระบบโรงเรียน จํานวน 8,323 คน คิดเปนรอยละ 26.93
ครูนอกระบบโรงเรียน จํานวน 1,821 คน คิดเปนรอยละ 5.89 ประชาชนทั่วไป จํานวน 10,501 คน
คิดเปน รอ ยละ 33.98

4. บริการวิชาการ ในปงบประมาณ 2562 ไดบริการและเผยแพรส่ือ ในรูปแบบของจดหมายขาว
เว็บไซต www.yalasci.com / Facebook และเอกสารประชาสมั พันธทางสถานีวทิ ยุชมุ ชน และสถานวี ิทยุ
มีผูรับบริการทั้งส้ิน 27,534 คน โดยจําแนกผูรับบริการเปนนักเรียนในระบบโรงเรียนจํานวน 9,036 คน
คิดเปนรอยละ 27.41 ครูในระบบโรงเรียน จํานวน 1,200 คน คิดเปนรอยละ 3.64 นักศึกษานอกระบบ
โรงเรียน จํานวน 6,964 คน คิดเปนรอยละ 21.12 ครูนอกระบบโรงเรียน จํานวน 640 คน คิดเปนรอยละ
1.94 และประชาชนทั่วไป จํานวน 9,694 คน คิดเปน รอ ยละ 29.41

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศูนยวิทยาศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษายะลา หนา 17

ผลการดาํ เนนิ งานดานคุณภาพ

1. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผูรับบริการ ที่เก็บจากขอมูลผูรับบริการการจัดการศึกษาใน
ภาพรวมของศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา ในปงบประมาณ 2562 พบวาผูรับบริการไดคะแนน
ระดบั ดขี ึน้ ไป คดิ เปน รอ ยละ 93.45

2. ความพึงพอใจของผูรับบริการ ที่เก็บจากขอมูลผูรับบริการทั้งการจัดการศึกษาวิทยาศาสตร
การศึกษาตามอัธยาศัยในภาพรวมของศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา ปงบประมาณ 2562 พบวา
ผรู บั บริการมคี วามพึงพอใจอยใู นระดับมากขน้ึ ไป คดิ เปนรอ ยละ 94.15

ปญ หา และอุปสรรค

จากการดําเนินงานจัดการศึกษาตามอัธยาศัยทางดานวิทยาศาสตร ของศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือ
การศึกษายะลา ในปงบประมาณ 2562 ตามนโยบายของสํานักงาน กศน. มีปญหา และอุปสรรค
บางประเด็นที่จะตองแกไข และบางประเด็นสะทอนถึงความสําเร็จในการจัดกิจกรรมทางดานวิทยาศาสตร
เทคโนโลยแี ละ สงิ่ แวดลอม ซึง่ อาจจะวเิ คราะหไดดังน้ี

1. ดา นการจดั สรรงบประมาณ
1.1 งบประมาณในการดําเนินงานและจัดกิจกรรมการศึกษาทางดานวิทยาศาสตร ท่ีไดรับ

จัดสรร มีไมเพียงพอกับการบริหารจัดการ คาสาธารณูปโภค คาวัสดุการซอมแซมวัสดุอุปกรณ ส่ือ
นทิ รรศการตางๆ ทีม่ ีอยไู มท ันสมัยและชํารดุ เสยี หายจํานวนมาก

2. ดานบุคลากร ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา มีอัตรากําลัง จํานวน 26 อัตรา แยกเปน
ผูบริหารสถานศึกษา 1 อัตรา ขาราชการครู จํานวน 4 อัตรา พนักงานราชการ 9 อัตรา จางเหมาบริการ
จํานวน 12 อัตรา โดยเปนตามระบบจางเหมาตามระเบียบพัสดุฯ จากงบดําเนินงาน ไมใชลูกจางชั่วคราวท่ี
เบิกจายจากงบประมาณหมวดเงินเดือนและคาจาง จึงไมไดรับสวัสดิการจากรัฐเหมือนลูกจางประเภทอื่น
เชน เงินสมทบในระบบประกันสังคมหรือการยกฐานะใหเปนพนักงานราชการ เปนตน ทําใหขาดความ
มั่นคงในอาชีพขาดขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติงานทําใหปฏิบัติงานไดไมเต็มที่ มีการลาออกไปประกอบ
อาชีพอ่ืนที่ม่ันคงกวา ทําใหตองฝกบุคลากรท่ีจางเหมา เขามาใหมอยูบอยคร้ัง ซึ่งสงผลใหการจัดกิจกรรม
บางเรอ่ื งขาดความตอ เนื่อง

รายงานผลการดําเนินงานประจาํ ป 2562
ศนู ยวิทยาศาสตรเ พ่อื การศกึ ษายะลา หนา 18

จากประเด็นยุทธศาสตรในแผนปฏิบัติราชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของ
กระทรวงศึกษาธิการ และนโยบายและจุดเนนการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย ปงบประมาณ 2562 และแผนงานขยายโอกาสและพฒั นาคุณภาพการศึกษา ประจาํ ปงบประมาณ
2562 ของศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา และขอมูลจากผลการดําเนินงานจากการประเมินตนเอง
ของสถานศกึ ษา (SAR) ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ไดจ ัดทําโครงการ/กิจกรรม เพือ่ สนองตามนโยบายและ
จดุ เนนการดําเนินงาน ในปง บประมาณ 2562 ดงั ตอ ไปน้ี

โครงการ/กจิ กรรม ประจาํ ปงบประมาณ 2562
(1 ตลุ าคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562) ผลผลติ ที่ 5 ผรู บั บริการการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

ลําดบั ท่ี ยุทธศาสตร ชือ่ ยุทธศาสตร โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ รายได
1 1 พฒั นาคุณภาพ โครงการจัดการเรียนรผู า นนิทรรศการ สถานศึกษา
ผูเรียน/ผรู บั บริการ ทางดานวทิ ยาศาสตร 180,000.-

โครงการคายวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และ 250,000.-
สงิ่ แวดลอม สาํ หรับนักศึกษา กศน.
โครงการบริการวชิ าการสูพนื้ ที่จังหวัด 180,000.-
ชายแดนใต
โครงการกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือสนบั สนุน 110,000.-
การเรียนรูทางวิทยาศาสตร
โครงการเทศกาลภาพยนตรว ิทยาศาสตร 75,000.-
2018 คร้งั ท่ี 14
2 2 พฒั นาคณุ ภาพการ โครงการเสริมสรา งศักยภาพบุคลากร 300,000
จัดการศกึ ษา/การ ศนู ยว ิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา
ใหบ ริการ โครงการวทิ ยาศาสตรส คู วามเปนเลศิ เพื่อ 300,000
การเรยี นรชู ายแดนใต

โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารโครงงาน 300,000
วิทยาศาสตร สาํ หรบั กศน.
โครงงานวทิ ยาศาสตรเ พอื่ ชีวิตและชุมชน 300,000
คนชายแดนใต

3 3 พัฒนาภาคีเครือขาย โครงการวิทยาศาสตรส ัญจรสูพน้ื ทช่ี ายแดน 360,000
การจัดการศึกษา ใต

รายงานผลการดําเนินงานประจําป 2562
ศูนยว ิทยาศาสตรเพอื่ การศึกษายะลา หนา 19

ลาํ ดบั ท่ี ยุทธศาสตร ชอ่ื ยุทธศาสตร โครงการ/กจิ กรรม งบประมาณ รายได
สถานศึกษา
4 4 พฒั นาระบบการ โครงการบรหิ ารศูนยว ทิ ยาศาสตรเพื่อการศกึ ษา 3,206,865
บริหารองคกรใหมี ยะลา ประจาํ ป 2562
ประสิทธิภาพ
โครงการประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารการประกนั 20,000
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาปง บประมาณ 2562
โครงการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา 20,000
20,000
โครงการพัฒนาระบบขอ มลู สารสนเทศเพอ่ื การ
บริหารจดั การ -
20,000
โครงการบริหารความเสีย่ ง
40,000
โครงการนเิ ทศภายในสถานศึกษา

5 5 พฒั นาองคกร โครงการพฒั นาภมู ิทศั นศูนยว ทิ ยาศาสตร
สถานศกึ ษา เพอื่ การศึกษายะลา
เพือ่ เขา สมู าตรฐาน

รวมทั้งสน้ิ 5,681,865 75,000

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป 2562
ศูนยวทิ ยาศาสตรเ พือ่ การศึกษายะลา หนา 20

ผลการดาํ เนนิ งานตามนโยบาย และจุดเนน การดาํ เนินงาน
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2562

ในปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา ไดนําเอานโยบายและจุดเนน
การดําเนินงานของสํานักงาน กศน. ป 2562 มาวิเคราะหสูการปฏิบัติตามศักยภาพ และเปาหมายใน
การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษา
1. ชื่อโครงการ โครงการจัดการเรียนรผู า นนิทรรศการดา นทางวทิ ยาศาสตร
2. สอดคลอ งกบั ยุทธศาสตรแ ละจดุ เนน การดําเนนิ งาน ของสาํ นักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562

ยุทธศาสตรที่ 5 ยทุ ธศาสตรดานสงเสรมิ และจดั การศึกษาเพอ่ื เสริมสรางคณุ ภาพชีวิตที่เปนมติ รกับ
ส่ิงแวดลอม

5.1 สงเสริมใหมกี ารใหความรกู บั ประชาชน เก่ียวกับการปองกนั ผลกระทบและปรบั ตัวตอการ
เปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ

5.2 สรา งความตระหนกั ถึงความสาํ คัญของการสรา งสงั คมสีเขยี ว สงเสริมความรูใ หกับ
ประชาชนเกี่ยวกบั การคัดแยก การแปรรปู และการกาจดั ขยะ รวมทงั้ การจัดการมลพิษในชุมชน

5.3 สง เสรมิ ใหห นวยงานและสถานศึกษาใชพลังงานทเี่ ปน มิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม รวมท้งั ลดการใช
ทรพั ยากรทส่ี งผลกระทบตอส่ิงแวดลอ ม

3. สอดคลองกับพนั ธกจิ ศูนยวทิ ยาศาสตรเพื่อการศกึ ษายะลา
ขอท่ี 1 จัดและสงเสริมกระบวนการเรยี นรดู า นวทิ ยาศาสตร ทุกรูปแบบ ทง้ั ในระบบนอกระบบ
และอธั ยาศยั สาํ หรบั เดก็ เยาวชนและประชาชนท่วั ไป
ขอ ที่ 2 วิจัยและพฒั นา นวตั กรรมการจดั กระบวนการเรยี นรูแ ละการบริการจดั การองคก ร
ดา นวทิ ยาศาสตร

4. หลกั การและเหตุผล
ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา เปนสถานศึกษาสังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอก

ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยทางดานวิทยาศาสตรแกนักเรียน นักศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน
รวมทั้งประชาชนทั่วไปในพ้ืนท่ี 3 จังหวัดชายแดนใต ซึ่งไดกําหนดใหมีกิจกรรมที่ใหบริการ 4 ลักษณะ คือ
กจิ กรรมนิทรรศการ คายวิทยาศาสตร กิจกรรมการศกึ ษา และกิจกรรมบริการวิชาการ โดยมวี ัตถุประสงคที่
จะใหผูรับบริการมีความรูและทักษะทางดานวิทยาศาสตร สามารถนําความรูไปพัฒนาคุณภาพชีวิตและ
อาชพี ของตนเอง และครอบครัวใหด ีขึ้น

การใหบริการนิทรรศการฐานการเรียนรูวิทยาศาสตร เปนกิจกรรมการจัดแสดงความรูดาน
วิทยาศาสตร เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอม ผา นนิทรรศการสื่อประสมท่ีทันสมัย นาสนใจ ทั้งส่ือ แสง สี เสียง
ของเลน ของจริง หุนจําลอง เกม ฯลฯ สื่อที่จัดแสดงสวนใหญเปนสื่อประเภท Hand on ท่ีผูเขารับบริการ
สามารถเขาไปมีสวนรวมในการลองเลน ลองฝกปฏิบัติหรือคนหาคําตอบจากการเลนเกมตางๆ ซ่ึงผูเขาชม
จะไดร ับท้ังสาระความรูพรอ มความสนกุ สนานไปพรอ มๆ กัน โดยจดั แสดงนิทรรศการทัง้ ในอาคาร และนอก
อาคาร ศูนยวทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศึกษายะลา เล็งเห็นความสําคัญในการใหบ ริการกิจกรรมดังกลาวจึงจัดทํา
โครงการจัดการเรียนรูผา นนิทรรศการดานทางวิทยาศาสตรข้ึน

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป 2562
ศูนยวิทยาศาสตรเพือ่ การศึกษายะลา หนา 21

5. วตั ถุประสงค
5.1 เพอ่ื กระตุน และสง เสรมิ ใหกลมุ ผรู บั บรกิ ารเกิดความสนใจในการเรยี นรูวิชาวิทยาศาสตร
5.2 เพ่ือใหผูรับบริการนําความรูท่ีไดรับไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ
และสามารถพฒั นาตนเอง ครอบครัว และชุมชน กอ ใหเ กิดคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดขี น้ึ

6. เปาหมาย
6.1 เปา หมายเชิงปริมาณ
นกั เรียน นกั ศกึ ษา ทงั้ ใน/นอกระบบ รวมท้ังประชาชนทั่วไป จํานวน 49,440 คน
6.2 เปาหมายเชิงคณุ ภาพ
กลุมเปาหมาย นักเรียน นักศึกษาท้ังในระบบและนอกระบบโรงเรียน รวมท้ังประชาชนท่ัวไป

ไดรวมจัดกิจกรรมการเรียนรูดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม ในรูปแบบกิจกรรมบริการ
นิทรรศการวิทยาศาสตร และสามารถนําความรูที่ไดรับไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางมี
ประสิทธิภาพและสามารถพัฒนาตนเอง ครอบครัว และชุมชน กอใหเกิดคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น นอกจากนี้ยัง
เปนเครือขายในการจัดการและสงเสริมกิจกรรมการเรียนรูดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม
ใหก ับชุมชน

7. ผลการดาํ เนินงาน

วธิ ดี าํ เนินการ งบประมาณ เปาหมาย เปาหมายเชิงคุณภาพ
1. จดั กิจกรรมในรปู แบบบริการ จัดสรร 180,000.- เชิงปริมาณ 1. ผูรับบริการ เกิดความ
เย่ยี มชมนทิ รรศการผานฐานการ เบิกจาย 180,000.- กลมุ เปา หมาย ส น ใ จ ใ น ก า ร เ รี ย น รู ท า ง
เรยี นรูวิทยาศาสตรภายในศนู ย คดิ เปน รอยละ 100.00 จํานวน 49,440 คน วิทยาศาสตร อยูในระดับ
วิทยาศาสตรเ พื่อการศึกษายะลา ผูเ ขารว มกิจกรรม ดี คิดเปนรอยละ 94.01
2. จัดนทิ รรศการ จํานวน 78,456 คน 2. ผูรับบริการนําความรูท่ี
เพือ่ การเรยี นรู ไดรับ ไป ป ระยุกตใชใน
3. ประเมินผลและสรปุ ผลการ ชีวิตประจําวันไดอยางมี
ดําเนนิ งาน ประสิทธิภาพ อยูในระดับ
ดี คดิ เปน รอยละ 95.45

จุดเดน ของโครงการ
1. เปน การนาํ นิทรรศการทางวิทยาศาสตรไ ปเผยแพรส ชู ุมชน
2. นทิ รรศการมีความทันสมยั เหมาะสมกับเหตกุ ารณ
3. กลมุ เปาหมาย สามารถเรยี นรไู ดด วยตนเองผานการชมนิทรรศการ

รายงานผลการดําเนินงานประจําป 2562
ศนู ยว ิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา หนา 22

จดุ ควรพฒั นา
1. ควรการออกแบบนิทรรศการใหม คี วามเหมาะสม สะดวกตอ การเคล่ือนท่ี และนาสนใจ
2. ควรจัดกจิ กรรมใหส อดคลองกับนิทรรศการ

แนวทางการดําเนินงานตอ ไป
1. พัฒนานิทรรศการใหมลี ักษณะทเี่ หมาะสม สวยงาม นาสนใจมากยง่ิ ขนึ้
2. พฒั นากจิ กรรมใหส อดคลองกบั นทิ รรศการทจ่ี ดั แสดงมากย่ิงขนึ้
โครงการจดั การเรยี นรูผานนทิ รรศการดา นทางวิทยาศาสตร

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป 2562
ศูนยวทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศึกษายะลา หนา 23

1. ชอ่ื โครงการ โครงการคายวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และสิง่ แวดลอม สาํ หรับนักศกึ ษา กศน.
2. สอดคลองกับยทุ ธศาสตรและจดุ เนนการดําเนนิ งาน ของสาํ นักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2562

ยุทธศาสตรท ี่ 5 ยุทธศาสตรด า นสงเสริมและจดั การศกึ ษาเพ่ือเสริมสรา งคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน มิตรกับ
สิ่งแวดลอม

5.1 สง เสริมใหมีการใหความรูกบั ประชาชน เกยี่ วกบั การปองกนั ผลกระทบและปรบั ตัวตอการ
เปล่ยี นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภยั พิบัติธรรมชาติ

5.2 สรา งความตระหนกั ถึงความสาํ คัญของการสรางสงั คมสเี ขียว สงเสริมความรูใหกับประชาชน
เกย่ี วกบั การคัดแยก การแปรรปู และการกาจดั ขยะ รวมทง้ั การจัดการมลพิษในชุมชน

5.3 สง เสริมใหหนวยงานและสถานศึกษาใชพลงั งานทีเ่ ปนมิตรกบั สิ่งแวดลอม รวมท้งั ลดการใช
ทรพั ยากรท่ีสงผลกระทบตอสง่ิ แวดลอ ม

3. สอดคลอ งกับพันธกิจ ศนู ยว ิทยาศาสตรเ พ่ือการศกึ ษายะลา
ขอท่ี 1 จัดและสงเสริมกระบวนการเรยี นรดู านวิทยาศาสตร ทุกรูปแบบ ทง้ั ในระบบนอกระบบ
และอธั ยาศยั สําหรับเดก็ เยาวชนและประชาชนทัว่ ไป
ขอท่ี 2 วิจยั และพฒั นา นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรยี นรแู ละการบรกิ ารจัดการองคก รดานวิทยาศาสตร
ขอที่ 3 สงเสรมิ พัฒนาบุคลากรท่ีเกีย่ วขอ งในการจดั การเรียนรู ดา นวิทยาศาสตรอยา งตอเนอื่ ง

4. หลกั การและเหตผุ ล
ศูนยวทิ ยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา เปนสถานศึกษาสังกัดสํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ใหบริการความรู
ทางดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ในเขตพื้นที่รับผิดชอบการใหบรกิ าร 3 จังหวดั ไดแก ยะลา
สงขลา และสตูล รูปแบบการใหบริการ คือ คายวิทยาศาสตร เปนการใหความรูดานวิทยาศาสตร มีการจัด
กิจกรรมในรูปแบบการเรียนรดู วยการลงมือปฏิบัตดิ วยตนเอง กจิ กรรมกลุมสัมพนั ธเพ่อื สงเสริมกระบวนการมี
สวนรว มและลงมอื ปฏบิ ัติรว มกนั เปน กลมุ หรือหมคู ณะ

ในปงบประมาณ 2562 ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา มีแนวคิดท่ีจะจัดกิจกรรมคาย
วิทยาศาสตร ใหกับนักศึกษา กศน. เพื่อใหบริการความรูเกี่ยวกับ วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม
การปองกันผลกระทบและปรับตัวตอการเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติธรรมชาติ การคัดแยก
การแปรรูป และการกาจดั ขยะ รวมท้งั การจดั การมลพษิ ในชุมชน ที่เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระวิทยาศาสตร
กับหลักสูตรการเรียนรูวิทยาศาสตรของนักศึกษา กศน. จึงจัดใหมีคายวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ
สิ่งแวดลอ ม สําหรบั นกั ศึกษา กศน. ขนึ้
5. วัตถุประสงค

5.1 เพ่อื ใหกลมุ เปาหมายเรียนรเู น้อื หาของวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยแี ละสงิ่ แวดลอม
5.2 เพือ่ ใหกลุมเปาหมายเขา ใจหลกั การทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยแี ละส่ิงแวดลอม
5.3 เพ่ือใหก ลุมเปาหมายมีทักษะในการใชห ลกั การทางวิทยาศาสตรเ พ่ือนําไปในชีวิตประจําวัน

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป 2562
ศูนยว ิทยาศาสตรเพือ่ การศกึ ษายะลา หนา 24

6. เปาหมาย
6.1 เชิงปริมาณ
- รนุ ท่ี 1 นกั ศึกษา กศน. จังหวดั ยะลา จํานวน 80 คน
บคุ ลากรเจาหนาที่ศูนยวทิ ยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา จํานวน 10 คน
- รุนท่ี 2 นักศึกษา กศน. จงั หวดั สตูล จาํ นวน 80 คน
บุคลากรเจาหนาที่ศูนยวทิ ยาศาสตรเพื่อการศกึ ษายะลา จํานวน 10 คน
- รุน ท่ี 3 นักศกึ ษา กศน. จงั หวัดสงขลา จํานวน 80 คน
บคุ ลากรเจา หนาท่ีศูนยว ทิ ยาศาสตรเพอ่ื การศึกษายะลา จํานวน 10 คน

6.2 เชงิ คุณภาพ
กลุมเปาหมายมีความรูการปองกันผลกระทบและปรับตัวตอการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและ

ภัยพิบัติธรรมชาติ รวมทั้งการจัดการคัดแยกขยะในชุมชน และมีทักษะทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และ
ส่ิงแวดลอ ม
7. ผลการดําเนินงาน

วธิ ดี ําเนนิ การ งบประมาณ เปา หมายเชิงปรมิ าณ เปาหมายเชิงคุณภาพ
1. ประชมุ วางแผน จัดสรร 250,000.- กลุมเปา หมาย 1. ผูเขารวมโครงการ มคี วามรคู วามเขาใจ
และเสนอขออนุมัติ ใชจ าย 250,000.- จาํ นวน 270 คน
โครงการคา ยฯ คดิ เปนรอยละ 100 ผรู วมกจิ กรรม ตามวตั ถปุ ระสงคของหลักสตู รระดับดี
2. ดําเนนิ การจดั จํานวน 270 คน ข้นึ ไปรอยละ 93.13
กจิ กรรมคายฯ คดิ เปนรอ ยละ 100.00 2. ผเู ขารว มโครงการ มีทักษะพน้ื ฐาน
3. ประเมินผล วิทยาศาสตรจ ํานวน 5 ทกั ษะระดบั ดีขนึ้ ไป
4. สรปุ รายงานผล คิดเปนรอยละ 97.89
3. ผเู ขารวมโครงการ มีความพึงพอใจใน
การเขา รวมกิจกรรมระดบั ดขี ้ึนไป
รอ ยละ 98.54

จุดเดนของโครงการ
1. วิทยากรและบุคลากรสามารถถา ยทอดความรูและจดั กิจกรรมไดด ีและเหมาะสม
2. กจิ กรรมมีหลากหลายทําใหผ รู ับบริการสามารถเลือกไดตามความสนใจ
3. ผรู บั บริการมคี วามสนุกสนานกับการเรียนรู ที่หาไมไดจากหองเรียน

จดุ ควรพฒั นา
1. ควรจัดเตรยี มสอื่ ใหมๆ และทันสมัย ในการจัดคายในครั้งตอ ๆไป
2. ควรจัดเตรยี มวสั ดุอปุ กรณทใ่ี ชใ นการจดั กจิ กรรมใหมีเพียงพอสําหรับการใชงาน
3. ควรจดั เปลีย่ นสถานทีใ่ หเหมาะสมตอการจัดกิจกรรมในแตละครงั้

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป 2562
ศูนยว ิทยาศาสตรเพ่อื การศึกษายะลา หนา 25

แนวทางการดําเนินงานตอไป
1. พฒั นากิจกรรมทเ่ี หมาะสมกบั กลุมเปา หมาย
2. พัฒนาสถานท่แี ละกิจกรรมใหดีขึ้น

โครงการคา ยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม สําหรบั นกั ศึกษา กศน.

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป 2562
ศนู ยว ิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา หนา 26

1. ชื่อโครงการ โครงการบริการวิชาการสูพ ้นื ทจี่ ังหวดั ชายแดนใต
2. สอดคลองกับยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงาน ของสํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2562
ยุทธศาสตรที่ 5 ยุทธศาสตรดานสงเสริมและจัดการศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับ

สิง่ แวดลอ ม
5.1 สงเสริมใหมีการใหความรูกับประชาชน เก่ียวกับการปองกันผลกระทบและปรับตัวตอการ

เปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพบิ ัตธิ รรมชาติ
5.2 สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรางสังคมสีเขียว สงเสริมความรูใหกับประชาชน

เก่ยี วกบั การคดั แยก การแปรรูป และการกาจดั ขยะ รวมท้ังการจดั การมลพิษในชมุ ชน
5.3 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศึกษาใชพลังงานที่เปนมิตรกับส่ิงแวดลอม รวมท้ังลดการใช

ทรพั ยากรทส่ี ง ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอม
3. หลักการและเหตผุ ล

ศนู ยวทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศึกษายะลา เปนสถานศึกษาสังกัดสํานกั งานสงเสริมการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยทางดานวิทยาศาสตรแกนักเรียน นักศึกษาท้ังในและนอกระบบโรงเรียน รวมทั้งประชาชนทั่วไปใน
พ้ืนที่ 3 จังหวัดชายแดนใต ซ่ึงประกอบดวยยะลา สงขลา สตูล และมีกิจกรรมนิทรรศการ คายวิทยาศาสตร
กิจกรรมการศึกษา และกิจกรรมบริการวิชาการ เพื่อเปนแหลงบริการขอมูลขาวสารทางวิชาการดาน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ ผานระบบเครือขา ย INTERNET ที่เปนระบบและมีประสิทธิภาพ และ
เกิดแรงจูงใจใหผูรับบริการเขาถึงแหลงขอมูลทางวิชาการเพิ่มมากขึ้น ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา
จึงไดศึกษาแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูรับบริการ โดยเฉพาะ
ผูรับบรกิ ารทเี่ ปน ประชาชน ซึ่งเปนกลมุ เปา หมายทีอ่ ยูในพน้ื ท่จี ังหวดั ชายแดนใต

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา ไดเล็งเห็นความสําคัญของเหตุผลดังกลาวขางตน จึงจัดทํา
โครงการบรกิ ารวชิ าการสพู ้ืนทจี่ ังหวัดชายแดนใต เพอ่ื ใหกลมุ งานสงเสริมและบรกิ าร ของศูนยวทิ ยาศาสตรเพ่ือ
การศึกษายะลา เปนจุดบริการขอมูลขาวสารและการบริการวิชาการทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สารสนเทศ โดยเนนพัฒนาระบบเครือขายอินเตอรเน็ต ภายในองคกรและภายนอก ที่เปนระบบและ
มีประสิทธิภาพ ในการเผยแพรป ระชาสัมพันธงานวิชาการทางวิทยาศาสตร งานแนะแนว งานบริการ และเกิด
แรงจูงใจใหผูรับบริการเขาถึงแหลงขอมูล จนเกิดความตระหนักในกระบวนการเรียนรูทางวิทยาศาสตรและ
เขารว มในกจิ กรรมวทิ ยาศาสตรของศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพื่อการศกึ ษายะลา เพมิ่ มากขึน้
4. วตั ถปุ ระสงค

4.1 เพื่อเปนแหลง บรกิ ารขอมูลขา วสารทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
4.2 เพ่อื พัฒนาระบบเครือขา ยอนิ เตอรเน็ต ภายในองคกรและภายนอก ที่เปน ระบบและมปี ระสทิ ธิภาพ
4.3 เพอ่ื เผยแพรป ระชาสมั พันธขอมลู ทางวิชาการผานส่อื วทิ ยุกระจายเสียง

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป 2562
ศูนยวทิ ยาศาสตรเ พื่อการศึกษายะลา หนา 27

5. เปาหมาย
5.1 เชิงปรมิ าณ
- ระบบเครือขา ยอนิ เตอรเน็ตในศนู ยวิทยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษายะลา จํานวน 1 แหง
- สื่อเอกสารประชาสัมพันธก ิจกรรมศนู ยวิทยาศาสตรเพ่อื การศึกษายะลา ในพน้ื ท่รี ับผดิ ชอบ
3 จงั หวดั ชายแดนใต ประกอบดว ย ยะลา สงขลา สตูล
- เผยแพรประชาสัมพนั ธผา นส่ือวทิ ยุ จาํ นวน 1 แหง

5.2 เชิงคณุ ภาพ
ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลามีระบบเครือขายอินเตอรเน็ตท่ีมีประสิทธิภาพที่เผยแพร

บริการขอ มลู ทางวิชาการทางดา นวทิ ยาศาสตร งานบรกิ ารและแนะแนว ไปสชู มุ ชนในเขตพ้ืนทร่ี บั ผิดชอบ 3
จังหวดั ยะลา สงขลา สตูล

6. ผลการดําเนินงาน

วิธีดําเนนิ การ งบประมาณ เปาหมายเชิงปรมิ าณ เปาหมายเชิงคุณภาพ
1. ประชมุ ช้แี จงการปฏบิ ัตงิ าน จดั สรร 180,000.- กลุมเปา หมาย 1. ผูเขา รว มโครงการ มีความรู
2. ดาํ เนินงานตามโครงการ ดังนี้ ใชจ า ย 180,000.- จํานวน 32,960 คน ความเขาใจ ตามวัตถปุ ระสงค
คิดเปนรอ ยละ 100 ผรู ว มกจิ กรรม ของหลักสูตรระดับดี รอยละ
- พัฒนาเครือขา ยอินเตอรเน็ต จํานวน 27,534 คน 94.15
ในศูนยวิทยาศาสตรเพอ่ื คดิ เปน รอยละ 83.53 2. ผูเขารวมโครงการ มที ักษะ
การศกึ ษายะลา พ้นื ฐานวิทยาศาสตรจํานวน 5
- ส่ือ แผนพับ ปา ย คูม ือ ทกั ษะระดับดี รอยละ 97.89
ประชาสัมพนั ธ 3. ผูเ ขารว มโครงการ มีความพงึ
- เผยแพรป ระชาสัมพนั ธผาน พอใจใน การเขารว มกิจกรรม
สือ่ วทิ ยกุ ระจายเสียงฯ ระดับดีขึน้ ไป รอ ยละ 98.54
3. ประเมินผลการดาํ เนินงาน
4. สรุปผลการดาํ เนนิ งาน

จดุ เดนของโครงการ
1. วิทยากรและบุคลากรสามารถถายทอดความรแู ละจัดกิจกรรมไดดีและเหมาะสม
2. กิจกรรมมีหลากหลายทําใหผ ูรบั บรกิ ารสามารถเลือกไดตามความสนใจ
3. ผรู ับบริการมคี วามสนุกสนานกบั การเรยี นรู ท่ีหาไมไดจากหองเรยี น

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป 2562
ศูนยวทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศกึ ษายะลา หนา 28

จดุ ควรพฒั นา
1. ควรจดั เตรยี มสือ่ ทที่ ันสมัย ในการใหบรกิ ารกลุมเปา หมาย
2. ควรจัดเตรยี มวัสดุอุปกรณทใ่ี ชใ นการจัดกจิ กรรมใหมเี พียงพอสําหรับการใชงาน
3. ควรจดั เปลยี่ นสถานทใ่ี หเ หมาะสมตอการจัดกจิ กรรมในแตละครง้ั

แนวทางการดําเนนิ งานตอ ไป
1. พัฒนารปู แบบสอ่ื นวตั กรรมใหทันสมยั ในทกุ ป
2. พฒั นาสถานทีแ่ ละกจิ กรรมใหดีขึ้นในทุกป
โครงการบรกิ ารวิชาการสูพนื้ ทจี่ ังหวัดชายแดนใต

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป 2562
ศนู ยวทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศึกษายะลา หนา 29

1. ช่อื โครงการ โครงการกิจกรรมการศกึ ษาเพ่อื สนับสนุนการเรยี นรูทางวิทยาศาสตร
2. สอดคลองกับยทุ ธศาสตรและจดุ เนน การดําเนนิ งาน ของสํานกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562

ยุทธศาสตรท่ี 5 ยุทธศาสตรดานสงเสริมและจดั การศึกษาเพอ่ื เสริมสรางคุณภาพชีวติ ทเ่ี ปน มติ รกับ
สิ่งแวดลอม

5.1 สงเสรมิ ใหมกี ารใหค วามรูกับประชาชน เก่ยี วกับการปองกันผลกระทบและปรับตวั ตอการ
เปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบตั ิธรรมชาติ

5.2 สรางความตระหนักถึงความสําคัญของการสรางสังคมสีเขียว สงเสริมความรูใหกับ
ประชาชนเกยี่ วกบั การคดั แยก การแปรรูป และการกาจดั ขยะ รวมทัง้ การจัดการมลพิษในชมุ ชน

5.3 สงเสริมใหหนวยงานและสถานศึกษาใชพลังงานท่ีเปนมิตรกับส่ิงแวดลอม รวมทั้งลดการ
ใชท รพั ยากรทีส่ ง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอ ม

3. หลกั การและเหตุผล
ศูนยวทิ ยาศาสตรการศึกษายะลา มีบทบาทหนาที่ในการสงเสริมและสนับสนุนการจัดบรกิ ารการ

เรียนรูตามอัธยาศัย ทางดานวิทยาศาสตรที่มีคุณภาพใหกับกลุมเปาหมายทั้งนักเรียนในระบบโรงเรียน
นักศึกษานอกโรงเรียน และประชาชนทั่วไป อยางทั่วถึงตามนโยบายของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ และ
สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อ การพัฒนาสังคมและคนใหมี
คุณภาพ เพ่ือสนองนโยบายดังกลาวศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา จึงได จัดกิจกรรมโครงการ
วิทยาศาสตรสัญจร ไปยังนักศึกษาการศึกษานอกโรงเรียนในทุกจังหวัดและเครือขายตางๆ ในพื้นท่ี
รับผิดชอบท้ัง 3 จังหวัด ซ่ึงไดแก จังหวัด ยะลา สงขลา และสตูล โดยจัดกิจกรรมการเรียนรูวิทยาศาสตร
ผาน นิทรรศการท่ีหลากหลายรูปแบบ ตามสาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร การแสดงทางวทิ ยาศาสตรแ ละจัด
กิจกรรมการศึกษา ท้ังนี้เพ่ือจัดและสงเสริมกิจกรรมการเรียนรู ประชาสัมพันธกิจกรรมการเรียนรูดาน
วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม ใหผูรับบริการไดพัฒนากระบวนการเรียนรูทางวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี และสงิ่ แวดลอม และอาชพี ใหม ีประสทิ ธิภาพยิง่ ขึ้น

ศนู ยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา ไดเล็งเห็นความสําคัญในการกระตนุ ใหก ลุมเปาหมายไดรับ
โอกาสในการแสดงความสามารถ ทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม ซ่งึ เปนเวทสี ําหรบั กลุมหมาย
ไดมีโอกาสแสดงความคิดสรางสรรค โดยทีมท่ีไดรับคัดเลือกในแตละภูมิภาค จะไดเขารวมประกวดในรอบ
ชิงชนะเลิศระดับประเทศ ณ ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษา นอกจากน้ี เปาหมายในระยะยาวของ
โครงการยังมุงสงเสริมใหกลุมเปาหมายนําความรูท่ีไดไปพัฒนาตอยอด พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยีและ
ส่ิงแวดลอม จึงไดจดั ทาํ โครงการกจิ กรรมการศึกษาเพื่อสนับสนุนการเรียนรทู างวทิ ยาศาสตร ข้ึน
4. วัตถุประสงค

4.1 เพื่อสงเสริมความรูวิทยาศาสตรดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม รวมท้ังสราง
ทศั นคติทดี่ ตี อ การเรยี นรูว ทิ ยาศาสตร

4.2 เพื่อสงเสริมกลุมเปาหมายไดรับโอกาสในการแสดงความสามารถ ทางวิทยาศาสตร
เทคโนโลยแี ละส่งิ แวดลอ ม

4.3 เพื่อสงเสริมกลุมเปาหมายนําความรูที่ไดไปพัฒนาตอยอด พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยี และ
สิง่ แวดลอม

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศึกษายะลา หนา 30

5) เปาหมาย
5.1 เปาหมายเชิงปรมิ าณ
นักศึกษา กศน. เยาวชนทุกระดับการศึกษา พื้นท่ีรับผิดชอบ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต
จาํ นวน 30,900 คน
5.2 เปา หมายเชิงคุณภาพ
กลุมเปาหมายเกิดการเรียนรูกระบวนการทางวิทยาศาสตร นําความรูที่ไดไปพัฒนา
ตอยอด พัฒนานวัตกรรม เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม

6. ผลการดาํ เนินงาน

วธิ ีดาํ เนินการ งบประมาณ เปา หมายเชิงปริมาณ เปาหมายเชิงคณุ ภาพ
1. ประชมุ /ติดตอ ประสานงาน จัดสรร 110,000.- กลุม เปาหมาย 1. ผเู ขารวมโครงการ มคี วามรู
ใชจ าย 110,000.- จํานวน 30,900 คน ความเขา ใจ ตามวัตถปุ ระสงค
ผูเกี่ยวของ/รับสมคั รผูเขารว ม คดิ เปนรอยละ 100 ผูรว มกจิ กรรม ของหลกั สูตรระดบั ดี รอยละ
กจิ กรรม/เตรียมกจิ กรรม จาํ นวน 36,307 คน 95.13
2. ดําเนินตามโครงการ คดิ เปนรอ ยละ 100.00 2. ผเู ขา รวมโครงการ มีทักษะ
- การประกวด พืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรจ ํานวน 5
- การแขงขนั ทกั ษะระดับดี รอยละ 94.70
3. สรุปผลการดาํ เนนิ งาน 3. ผเู ขา รวมโครงการ มีความพงึ
พอใจใน การเขารวมกิจกรรม
ระดับดี รอยละ 94.45

จุดเดนของโครงการ
1. วิทยากรและบคุ ลากรสามารถถายทอดความรแู ละจดั กิจกรรมไดดีและเหมาะสม
2. กิจกรรมมีหลากหลายทําใหผ รู ับบริการสามารถเลือกไดตามความสนใจ
3. ผูรบั บริการมีความสนกุ สนานกบั การเรียนรู ทีห่ าไมไดจ ากหองเรยี น

จุดควรพัฒนา
1. ควรพฒั นาส่อื ใหมีความทันสมยั ในการจดั กิจกรรม
2. ควรจัดเตรียมวัสดุอปุ กรณทีใ่ ชในการจดั กิจกรรมใหม เี พียงพอสําหรับการใชง าน
3. ควรจัดเปล่ียนสถานท่ใี หเหมาะสมตอการจัดกิจกรรมในแตล ะคร้ัง

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ิทยาศาสตรเ พ่อื การศึกษายะลา หนา 31

แนวทางการดาํ เนินงานตอไป
1. พัฒนาส่ือ กจิ กรรมใหมๆทุกป เพื่อใหผ ูรับบรกิ ารจะไดมีทางเลือกท่ีหลากหลายปรับปรุง
2. พัฒนาสถานทแี่ ละกิจกรรมตา งๆ ใหด ีข้ึนทกุ ๆป
โครงการกจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื สนบั สนนุ การเรยี นรทู างวิทยาศาสตร

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ิทยาศาสตรเ พ่ือการศึกษายะลา หนา 32

1. ชอื่ โครงการ โครงการเทศกาลภาพยนตรวทิ ยาศาสตรเ พ่ือการเรยี นรู 2018 ครั้งท่ี 14
2. สอดคลองกับยุทธศาสตรและจุดเนนการดําเนินงาน ของสํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2562

ยุทธศาสตรที่ 4 ดา นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท ี่ 5 ดา นการสรางการเติบโตบนคณุ ภาพชวี ติ ทเ่ี ปน มิตรตอสงิ่ แวดลอ ม
3. สอดคลองกับพนั ธกิจ ศนู ยวทิ ยาศาสตรเพอ่ื การศึกษายะลา

ขอ ที่ 1 จัดและสงเสรมิ กระบวนการเรยี นรูดานวทิ ยาศาสตร ทกุ รปู แบบ ทงั้ ในระบบนอกระบบและ
อธั ยาศยั สําหรับเดก็ เยาวชนและประชาชนทว่ั ไป

ขอ ที่ 2 สง เสรมิ สนับสนุน และพัฒนาเครือขา ย ในดา นการจัดกระบวนการเรียนรูดานวทิ ยาศาสตร
4. หลกั การและเหตผุ ล

เทศกาลภาพยนตรวิทยาศาสตรเพื่อการเรียนรูเปนการรวมกันของศาสตรดานศิลปะผนวกกับ
ความรูดานวิทยาศาสตรผานสื่อภาพยนตรและโทรทัศน กลุมเปาหมายหลักของเทศกาลฯคือกลุมเด็กและ
เยาวชนจุดประสงคในการจัด เทศกาลฯเพ่ือกระตุนและเสริมสรางการสังเกตและการตั้งคําถามเพ่ือนําไปสู
การเรียนรูท่ีไมไดเพียงเพื่อเพ่ิมคุณคาใหชีวิตแตถือหลักการงายๆเพื่อความสนุกในการเรียนรูรวมท้ังการ
เขา ถงึ ความรเู ปน สทิ ธิมนุษยชนข้ันพืน้ ฐานที่เราพงึ จะไดรับและไมไดคํานงึ เพยี งแคว าจะฉายภาพยนตรแตใน
เมอื งหลวงเพยี งเทาน้ัน แตค วรนาํ ความรูไปสูก ลุมผูชมทอ่ี ยูตามตา งจงั หวัด

สาํ หรับประเทศไทยปนเ้ี ปนปท ่ี 14 กําหนดชวงการจัดฉายท่ัวประเทศ ต้ังแต 1 พฤศจกิ ายน ถึง 23
ธันวาคม 2561 ในระดบั ประชาคมอาเซียนนนั้ มจี ัดฉายใน 7 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย กัมพูชา มาเลเซีย
ฟลิปปนส เวียดนาม พมา และ ประเทศไทย โดยมีจํานวนผูเขาชมเกินกวา 400,000 คน จากทั่วโลก
โดยมีหนวยงานดานวิทยาศาสตรทั่วประเทศรวมสนับสนุนเทศกาลฯ อาทิเชน สถาบันสงเสริมการสอน
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) สํานักงานพัฒนา
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) และกลุมศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศกึ ษา 20 แหงทวั่ ประเทศ
เพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม ผานสื่อภาพยนตรบันเทิง
ใหกบั ผคู นในสงั คมไทย ภาพยนตรที่เขา ฉายในคร้ังน้ีจะนาํ เสนอเรื่องราวทางวิทยาศาสตรใหเปนท่เี ขา ใจงา ย
และมีความเพลิดเพลินในการรับชม เหมาะสําหรับทุกเพศทุกวัย และในปนี้ไดนําเสนอหัวขอ
“การปฏิวตั อิ าหาร” เทศกาลฯของเราจะพาทุกทานไปรวมสํารวจเทคโนโลยที ่ีจะมาเปล่ยี นโลกของเรา โดย
ผานส่ือภาพยนตรวิทยาศาสตรท่ีชนะการประกวดจากทั่วโลก โดยทุกเรื่องมีการกําหนดอายุของผูชมเอาไว
และบรรยายเปนภาษาไทยเรียบรอยแลว จึงนับเปนภาพยนตรคุณภาพที่ผานคัดสรรและเปนภาพยนตร
ทีใ่ หความรคู คู วามบันเทิงอยางแทจ ริง
5. วตั ถุประสงค

5.1 เพ่อื จัดฉายภาพยนตรวิทยาศาสตรในเขตพนื้ รบั ผดิ ชอบจงั หวัดชายแดนภาคใต
5.2 เพ่ือเผยแพรความรูดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอ มในปจจบุ ัน
5.3 เพ่อื ใหผูรบั บริการมคี วามพงึ พอใจในการชมภาพยนตรวิทยาศาสตร

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศูนยว ทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษายะลา หนา 33

6. เปา หมาย
6.1 เชงิ ปริมาณ
ผรู บั ชมภาพยนตรว ทิ ยาศาสตรในเขตพนื้ รับผดิ ชอบจังหวัดชายแดนภาคใตจํานวน ไมตํา่ กวา 20,000 คน
6.2 เชิงคุณภาพ
ผูรับชมภาพยนตรวิทยาศาสตรเกิดเจตคติท่ีดีตอวิทยาศาสตรและนําความรูท่ีไดรับไปใชประยุกต
ในชีวติ ประจําวัน

7. ผลการดาํ เนนิ งาน งบประมาณ เปาหมายเชิงปริมาณ เปาหมายเชิงคุณภาพ
วิธดี ําเนินการ จดั สรร 75,000.- กลุมเปาหมาย ความพึงพอใจของผรู บั ชม
ใชจ า ย 75,000.- จาํ นวน 20,000 คน ภาพยนตรว ิทยาศาสตร
ฉายภาพยนตร คิดเปน รอยละ 100 ผูร วมกจิ กรรม ระดับดี รอยละ 86.25
วิทยาศาสตรเพื่อการ จํานวน 33,213 คน
เรยี นรู 2018 คิดเปน รอ ยละ 100
ครง้ั ท่ี 14

จดุ เดน ของโครงการ
1. ภาพยนตรท นี่ าํ มาจดั ฉายนัน้ มกี ารคุม ครองลิขสทิ ธภิ์ าพยนตรว ิทยาศาสตร หาชมไมไดจากที่อ่นื
2. ภาพยนตรท่ีนํามาจัดฉายเปนภาพยนตรท่ีไดรับการคัดเลือกจากทั่วประเทศ พรอมท้ังไดรับ
การแปลและพากยเสียงเปนภาษาไทยแลว
3. มีการจัดฉายภาพยนตรรวมกับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตรที่สอดคลองกับเน้ือหาในภาพยนตร
ซึง่ จะใหผูชมภาพยนตรไดร ว มตอบคําถาม ทาํ การทดลอง เพื่อใหเกิดกระบวนการเรียนรดู วยตนเอง

จุดควรพฒั นา
1. การฉายภาพยนตรใ นรอบแรกชากวา กําหนดเพราะตองรอโรงเรยี นมาใหครบตามท่สี ํารองที่น่ัง
2. ระดับเสียงภาพยนตรแตล ะเร่อื งไมเทา กัน
3. ภาพยนตรทมี่ ีความยาวเกิน 15 นาที เดก็ ไมส นใจ
4. โปรเจค็ เตอรบางโรงเรียนคุณภาพไมค อยดี ทาํ ใหสีภาพยนตรเปล่ยี นแปลง
5. รอบฉายทม่ี ผี เู ขาชมมากเกิน 200 คน ทาํ กิจกรรมประกอบ ไมท่วั ถึง
6. การเดินทางไปฉายตามจงั หวัดตา ง ๆ เพื่อกระจาย โอกาสใหเ ด็กไดช มภาพยนตรว ิทยาศาสตร
อยา งท่ัวถงึ ตองใชง บประมาณเกินกวา ทีไ่ ดรบั
7. รอบท่ีมผี ชู มจํานวนมาก ประมาณ 700 - 1,000 คน ทําใหเ สยี เวลาในการเปลี่ยนรอบ

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศึกษายะลา หนา 34

แนวทางการดําเนนิ งานตอไป
1. ภาพยนตรไ มควรมีความยาวเกิน 15 นาที
2. ภาพยนตรควรมีระบบเสยี งทไ่ี ดม าตรฐาน
3. ภาพยนตรส วนใหญเปนเชิงสารคดที าํ ใหผ ชู มละความสนใจงาย ควรเปน ภาพยนตรเ ชงิ ทดลอง
เชิงทองเที่ยว ฯลฯ
4. ควรมีกิจกรรมประกอบภาพยนตรท เี่ หมาะสาํ หรบั ผใู หญ เชน ทําเปน คลปิ ฉายแทนการปฏบิ ตั ิจริง
5. ควรสง มอบภาพยนตรใ หเร็วกวา เดมิ เพื่อใหเ วลาคณะทํางานในการเตรยี มงานไดประสานงาน
และประชาสมั พนั ธอ ยางทัว่ ถึง
โครงการเทศกาลภาพยนตรวิทยาศาสตรเพือ่ การเรียนรู 2018 ครัง้ ท่ี 14

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ิทยาศาสตรเพ่ือการศกึ ษายะลา หนา 35

1. ชอื่ โครงการ โครงการเสรมิ สรางศกั ยภาพบุคลากรของศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พือ่ การศกึ ษายะลา
2. สอดคลองกับยุทธศาสตรนโยบายและจุดเนนการดําเนินงานของสํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2562 ขอท่ี 6 ยุทธศาสตรดา นการพฒั นาประสทิ ธิภาพระบบบรหิ ารจดั การ
3. สอดคลอ งกับพันธกิจ ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศกึ ษายะลา

ขอที่ 2 วิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนรูและการบริการจัดการองคกร
ดานวทิ ยาศาสตร

ขอที่ 3 สงเสริมพฒั นาบุคลากรที่เกีย่ วขอ งในการจดั การเรียนรู ดา นวิทยาศาสตรอยางตอ เน่ือง
4. หลักการและเหตผุ ล

ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา เปนสถานศึกษาสังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร มีบุคลากรเปน
ขาราชการครู พนักงานราชการ และพนักงานจางเหมาบริการ ซึ่งมีบทบาทหนาท่ีในการใหบริการดาน
วิทยาศาสตรเทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม โดยมีรูปแบบการจัดกิจกรรมการศึกษา 4 รูปแบบ ไดแก
การจัดกิจกรรมการเรียนรูผานนิทรรศการ กิจกรรมคายวิทยาศาสตร, การบริการวิชาการ และกิจกรรม
การศึกษา กลุมเปาหมายที่ใหบริการไดแกนักเรียน นักศึกษา ท้ังในและนอกระบบโรงเรียน และประชาชน
ท่ัวไป

ดังนั้น ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา เห็นถึงความสําคัญในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
ในหนวยงาน จึงไดจัดทําโครงการเสริมสรางพัฒนาศักยภาพบุคลากรของศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษา
ยะลา ประจําปงบประมาณ 2562 ใหบุคลากรไดรับพัฒ นาสมรรถนะหลักดานมุงผลสัมฤทธิ์
(Achievement Motivation) สมรรถนะอยางตอเนื่อง เกิดทักษะในการปฏิบัติงานและมีทัศนคติที่ดีตอ
การปฏิบัติงานในองคกร โดยศึกษาแหลงเรียนรูทางวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอมจากหนวยงาน
หรือสถานท่ีอน่ื ๆ และนํามาประยุกตใ ชใ นการปฏิบัตงิ านในองคกร ท่ีเปน ประโยชนตอกลมุ เปา หมายไดอยาง
มีประสทิ ธภิ าพ
5. วัตถปุ ระสงค

5.1 เพอ่ื ใหบ ุคลากรไดร บั พฒั นาสมรรถนะหลักดา นมุง ผลสัมฤทธ์ิ (Achievement Motivation)
5.2 เพ่ือใหบุคลากรไดรับพัฒนาสมรรถนะอยางตอเน่ือง และใหเห็นถึงศักยภาพและสามารถดึง

ศกั ยภาพของตนเองมาใชใ นการปฏบิ ตั ิงานไดอยางมีประสิทธภิ าพ
5.3 เพือ่ ใหบุคลากรเกดิ ทักษะในการปฏบิ ตั งิ านและมีทัศนคติทด่ี ีตอการปฏิบัติงานและตอองคกร
6. เปาหมาย
6.1 เปาหมายเชิงปริมาณ

บคุ ลากรศูนยว ทิ ยาศาสตรเ พื่อการศกึ ษายะลาไดร บั การพัฒนา ไมตํา่ กวา 20 ชว่ั โมง
6.2 เปาหมายเชิงคุณภาพ

บคุ ลากรท่ีเขา รว มโครงการสามารถเกดิ นําองคความรูป ระสบการณต รง ทักษะ ทศั นคติ
ที่ดแี ละ นํามาพฒั นาการปฏบิ ตั ิงาน

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศูนยว ิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา หนา 36

7. ผลการดําเนนิ งาน

วธิ ีดาํ เนินการ งบประมาณ เปาหมายเชิงปรมิ าณ เปา หมายเชิงคณุ ภาพ
1. สาํ รวจความตองการ จัดสรร 300,000.- 1. จํานวนเปา หมาย ความพึงพอใจของ
การพฒั นาของบคุ ลากร ใชจ า ย 300,000.- กจิ กรรมท่จี ดั ใหก บั ผูเขา รวมโครงการระดบั ดี
2. วเิ คราะหขอมูลและจดั ทาํ คิดเปนรอ ยละ 100 บุคลากร จํานวน รอ ยละ 97.20
แผนการอบรม 25 คน
3. จัดกิจกรรมตามแผน 2. จัดกิจกรรมอบรมเพ่ิม
การอบรม ประสิทธิภาพบคุ ลากร
- อบรมการสรางส่ือการ ดานการบูรณาการ
เรยี นการสอน การมสี วนรวมของ
- ศึกษาดงู านเทคนิคการ ประชาชนในการ
ทาํ เกษตรธรรมชาติ ปองกนั และปราบ
- กจิ กรรมการพฒั นา ปรามการทจุ รติ
สมรรถนะ และเสรมิ สรา ง 3. บคุ ลากรไดร บั การ
ความสมั พนั ธระหวาง พฒั นาตามกิจกรรม
บคุ ลากร และภาคี ทีจ่ ัด รอยละ 100.00
เครือขา ย
3.4 การทําวจิ ยั อยา งงา ย
3.5 อบรมเพ่มิ ประสทิ ธิภาพ
บคุ ลากรดา นการ
บูรณาการการมีสว นรวม
ของประชาชนในการ
ปองกนั และปราบ
ปรามการทจุ ริต
4. สรุปผลและรายงานผล

จุดเดน ของโครงการ
เปนโครงการท่ีบุคลากร ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลาท่ีทุกคน มีสวนรวมในการ

พัฒนาการตนเอง รวมถงึ เปน การสรางจิตสํานึกทด่ี ใี นการปฏบิ ตั งิ าน และการดาํ เนินชวี ิต

จดุ ควรพฒั นา
ควรดําเนินการต้งั แตต น ปง บประมาณ

แนวทางการดําเนนิ งานตอ ไป
ควรดาํ เนินโครงการอยา งตอเนื่องเพ่ือสรางจิตสํานึกทดี่ ีแกบุคลากร และจัดกจิ กรรมที่สอดคลอง

กับการพฒั นาบคุ ลากรอยางแทจ ริง

รายงานผลการดําเนินงานประจําป 2562
ศนู ยว ิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา หนา 37

โครงการเสรมิ สรางศกั ยภาพบุคลากรของศูนยวิทยาศาสตร
เพือ่ การศกึ ษายะลา

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป 2562
ศนู ยวิทยาศาสตรเ พอื่ การศกึ ษายะลา หนา 38

1. ช่ือโครงการ โครงการวิทยาศาสตรส คู วามเปน เลิศเพ่อื การเรยี นรชู ายแดนใต
2. สอดคลองกับยุทธศาสตรนโยบายและจุดเนน การดาํ เนนิ งานของสํานักงาน กศน. ประจําปง บประมาณ

พ.ศ. 2562
ขอที่ 2 ยทุ ธศาสตรดา นการพฒั นากาํ ลังคน การวิจยั และนวัตกรรมเพ่ือสรางขีดความสามารถ

ในการแขงขันของประเทศ
ขอท่ี 5 ยุทธศาสตรดานสงเสริมและจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสรางคุณภาพชีวิตท่ีเปนมิตรกับ

สง่ิ แวดลอ ม
3. สอดคลอ งกับพันธกจิ ศนู ยวิทยาศาสตรเ พ่อื การศึกษายะลา

ขอ ท่ี 1 จัดและสง เสรมิ กระบวนการเรียนรดู านวิทยาศาสตร ทุกรูปแบบ ท้งั ในระบบนอกระบบ
และอธั ยาศยั สาํ หรบั เดก็ เยาวชนและประชาชนท่ัวไป

ขอท่ี 2 วจิ ยั และพฒั นา นวตั กรรมการจดั กระบวนการเรยี นรแู ละการบริหารจัดการองคก ร
ดา นวทิ ยาศาสตร

ขอท่ี 3 สง เสรมิ พฒั นาบคุ ลากรทเี่ ก่ยี วขอ งในการจดั การเรียนรู ดานวิทยาศาสตรอยางตอเน่อื ง
ขอท่ี 4 สงเสริม สนับสนนุ และพัฒนาเครือขาย ในดานการจดั กระบวนการเรยี นรูดา น

วิทยาศาสตร
4. หลักการและเหตุผล

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา เปนสถานศึกษาสังกัดสํานักงานสงเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะเปนแหลงวิทยาการเพื่อการเรียนรู
ดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม โดยมีรูปแบบการจัดกิจกรรมการศึกษา 4 รูปแบบ คือการจัด
กิจกรรมบริการนิทรรศการ การจัดกิจกรรมคายวิทยาศาสตร การจัดกิจกรรมบริการวิชาการและการจัด
กิจกรรมการศึกษา ซ่ึงกลุมเปาหมายท่ีใหบริการไดแกนักเรียน นักศึกษา ท้ังในและนอกระบบโรงเรียน
และประชาชนทวั่ ไป โดยจัดบรกิ ารครอบคลุมพืน้ ที่ 3 จังหวัด คอื ยะลา สงขลา และสตูล

การศึกษาเปนกระบวนการที่สําคัญยิ่งในการพัฒนาคนใหมีคุณภาพ มีความสามารถท่ีจะปรับตัว
ได อยางรูเทาทันการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ และมีคุณลักษณะตามท่ีประเทศชาติพึงประสงคจากนโยบาย
ทางการปฏิรูปการศึกษาท่ีใหความสําคัญสูงสุดกับการปฏิรูปการเรียนรู โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ มีการจัด
กระบวนการเรียนรูท่ีสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของผูเรียน เนนการปลูกฝง คุณธรรมจริยธรรม
เพ่ือใหคนสามารถพัฒนาสูการเปนคนที่สมบูรณ คือ เปนคนดี คนเกง และมีความสุขอยางแทจริง และ
เนือ่ งจากวนั ที่ 18 สิงหาคม ของทุกป เปน "วนั วิทยาศาสตรแหงชาติ" ซึ่งคณะรฐั มนตรกี าํ หนดขน้ึ เพื่อเปน
การนอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ และเปนการเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
รัชกาลท่ี 4 ซึ่งพระองคทรงคํานวณการเกิดสุริยุปราคาที่หมูบานหวากอ ตําบลคลองวาฬ อําเภอเมือง
จังหวัดประจวบคีรีขันธ เมื่อวันท่ี 18 สิงหาคม พ.ศ.2411 ไดอยางแมนยํา พระองคจึงไดรับสมญานามวา
"พระบดิ าแหง วทิ ยาศาสตรไ ทย"

ศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา จึงไดกําหนดจัดโครงการวิทยาศาสตรสูความเปนเลิศเพื่อ
การเรียนรูชายแดนใต เพ่ือใหก ลุมเปาหมายไดเขารว มกิกรรมการเรยี นรแู ละสามารถนําเอาความรทู ่ีไดรับไป
ใชใหเกดิ ประโยชนใ นชวี ติ ประจาํ วันได

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พ่ือการศึกษายะลา หนา 39

5. วัตถปุ ระสงค
5.1 เพอื่ มุงเนน ใหก ลุมเปาหมายมีความเปนเลศิ ทางดา นวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี และส่งิ แวดลอม
5.2 เพ่ือพัฒนากลุมเปาหมายมีศักยภาพทางวิทยาศาสตร สามารถเขาสูการแขงขันความรู
ความสามารถทางดา นวทิ ยาศาสตร ทัง้ ภมู ภิ าคและระดับประเทศ
5.3 เพื่อสนับสนุนผลงานทางวิทยาศาสตรของกลุมเปาหมายและนําไปประยุกตใชประโยชน
ในชวี ิตประจาํ วนั

6. เปา หมาย
6.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษา กศน. นักเรียนในระบบโรงเรียน และประชาชนท่ัวไป ในพ้ืนท่ี 3 จังหวัดชายแดน
ใต ประกอบดวย ยะลา สงขลา และสตลู จาํ นวน 15,000 คน
6.2 เปาหมายเชงิ คุณภาพ
กลุมเปา หมายที่เขา รว มกจิ กรรมไดร ับความรู ทักษะทางวทิ ยาศาสตร และนําไปประยุกตใ ช
ในชวี ติ ประจําวนั ได

7. วิธีการดาํ เนนิ งาน

วิธดี าํ เนนิ การ งบประมาณ เปา หมายเชิงปรมิ าณ เปาหมายเชิงคณุ ภาพ
1. ประชุมชี้แจง จดั สรร 300,000.- จํานวนกลุมเปาหมายทีเ่ ขา รวมประชุม มผี รู วมการประชุม
หลักเกณฑการ ใชจ า ย 300,000.- ช้ีแจงหลักเกณฑก ารประกวดทักษะทาง จาํ นวน 87 คน คดิ เปน
ประกวดทักษะทาง คดิ เปนรอยละ 100 วิทยาศาสตร จํานวน 113 คน รอยละ 76.99
วิทยาศาสตร
2.การประกวด 1. จาํ นวนกลุมเปาหมายท่เี ขารว ม ความพึงพอใจของ
การแสดง ประกวดการแสดงทางวทิ ยาศาสตร ผูรวมกิจกรรมการ
ทางวิทยาศาสตร จาํ นวน 100 คน มีผูร ว มการประกวด แสดงทางวิทยาศาสตร
(Science Show) จํานวน 159 คน คิดเปน รอยละ 100 ระดับดี รอยละ 94.34
2. จาํ นวนกลมุ เปา หมาย จํานวน 15,000
คน มผี ูรวมชมการประกวดจาํ นวน
17,101 คน คดิ เปนรอยละ 100

3. การประกวด จาํ นวนกลมุ เปาหมายเขารว มการ ความพึงพอใจของ
โครงงาน ประกวดโครงงานวิทยาศาสตรจาํ นวน ผรู วมกจิ กรรมโครงงาน
วิทยาศาสตร 100 คน มีผูเขา รวมการประกวดจาํ นวน วทิ ยาศาสตรร ะดับดี
4. กิจกรรมเสริม 141 คน คดิ เปนรอยละ 100 รอ ยละ 84.75
ทักษะทาง จํานวนกลมุ เปาหมายทเ่ี ขารวมกจิ กรรม ความพึงพอใจของ
วทิ ยาศาสตร เสรมิ ทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร จํานวน ผูรวมกจิ กรรมเสริม
15,000 คน มผี เู ขา รว มการประกวด ทักษะทางวิทยาศาสตร
จํานวน 13,021 คน รอยละ 86.80 ระดับดี รอ ยละ 87.25

รายงานผลการดําเนินงานประจําป 2562
ศูนยว ิทยาศาสตรเ พ่ือการศึกษายะลา หนา 40

จดุ เดน ของโครงการ
ในภาพรวมของผูเขารวมงานและชมกิจกรรมแขงขัน/ผูเขาชมการประกวด มีความพึงพอใจใน

รูปแบบการจัดกิจกรรมประกวดแขงขันของศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา รูปแบบและวิธีการจัด
ประกวดแขง ขันมีความเหมาะสม ผูจัดการประกวดแขงขนั สามารถดําเนินการภายในเวลาที่กําหนด รวมถึง
ผูดําเนนิ การอํานวยความสะดวกในการติดตอประสานงานเปน อยางดี
จดุ ท่ีควรพฒั นา

1. เครอ่ื งเสียงมเี สียงแทรกรบกวน
2. ควรมีไมคไรสายแบบเก่ยี วหูใหผ ูเขาแขง ขนั บางรายการอาทิ การแสดงทางวทิ ยาศาสตร
3. สถานท่ีจดั กิจกรรมบางรายการอยใู กลก บั เตน็ ทจดั นทิ รรศการทาํ ใหม ีเสยี งดังรบกวน
แนวทางการดําเนินงานตอ ไป
1. ปรบั ปรงุ เครื่องเสยี งท่ีเขา มารบกวน
2. มไี มคไรส ายแบบเกีย่ วหใู หผ เู ขา แขงขนั
3. มกี ารประชาสัมพันธลวงหนาใหมากขน้ึ และหลากหลายชอ งทาง

โครงการวทิ ยาศาสตรส คู วามเปน เลศิ เพ่ือการเรียนรชู ายแดนใต

รายงานผลการดาํ เนินงานประจําป 2562
ศูนยว ทิ ยาศาสตรเพอ่ื การศกึ ษายะลา หนา 41

1. ชอ่ื โครงการ โครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารโครงงานทางวทิ ยาศาสตรสําหรับ กศน.
2. สอดคลองกับยุทธศาสตรนโยบายและจุดเนนการดําเนินงาน ของสํานักงาน กศน. ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2562
ขอที่ 2 ยทุ ธศาสตรด า นการพฒั นากาํ ลังคน การวจิ ัย และนวัตกรรมเพ่ือสรา งขีดความสามารถ

ในการแขง ขันของประเทศ
3. สอดคลอ งกับพันธกจิ ศูนยว ทิ ยาศาสตรเ พ่อื การศกึ ษายะลา

ขอท่ี 1 จัดและสงเสริมกระบวนการเรียนรูดานวิทยาศาสตร ทุกรูปแบบ ท้ังในระบบนอกระบบและ
อธั ยาศยั สาํ หรับเดก็ เยาวชนและประชาชนท่ัวไป

ขอท่ี 2 วิจัยและพัฒนา นวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนรูและการบริหารจัดการองคกร
ดา นวทิ ยาศาสตร

ขอที่ 3 สง เสริมพัฒนาบุคลากรท่เี ก่ียวขอ งในการจดั การเรยี นรู ดานวิทยาศาสตรอ ยางตอเนอื่ ง
ขอที่ 6 สงเสริม สนบั สนนุ และพฒั นาเครอื ขาย ในดานการจดั กระบวนการเรยี นรดู า นวทิ ยาศาสตร
4. หลักการและเหตุผล

ในปจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก มีการเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี การส่ือสาร
การคมนาคม ประชาชนมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป ขาดโอกาสทางการศึกษา การคิด วิเคราะหสถานการณ
ตางๆอยางมีเหตุผล ในการจัดกระบวนการเรียนรูเพ่ือตอบสนองตอแนวทางการปฏิรูปการศึกษาน้ัน
ครเู ปนเคร่ืองมืออันสําคญั ทีจ่ ะนํานโยบายการปฏริ ูปการศึกษา ไปสกู ารปฏบิ ัติใหป ระสบผลสําเรจ็ เพราะครู
เปนสื่อกลางในการนําความรูไปสูผูเรียน และเปนผูเอ้ืออํานวยการสงเสริมใหผูเรียนเกิดกระบวนการเรยี นรู
เพื่อใหบรรลุเปาหมายของหลักสูตร และการจัดกระบวนการเรียนรูการศึกษานอกระบบโดยเฉพาะการจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐานนั้น สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกําหนดใหมีครู
ศูนยการเรียนชุมชน เปนผูรับผิดชอบการจัดการเรียนรู เพ่ือใหเปนไปตามเปาหมายของการจัดการศึกษา
ใหแกประชาชนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ ดังน้ันบุคลากรของสถานศึกษาจึงเปนบุคคลสําคัญ
ในการท่ีจะนํานโยบายไปสูความสําเร็จตามเปาหมายได ในการน้ีจําเปนตองมีการพัฒนาศักยภาพของครู
และบุคลากรของสถานศึกษาใหมีความรู ความเขาใจและทักษะในการดําเนินการจัดกระบวนการเรียนรูท่ี
มุง เนน ใหผูเรยี นไดใ ชก ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร คอื การสังเกต การคิดอยางมเี หตผุ ล การวิเคราะหต างๆ

โค ร ง ก า ร อ บ ร ม เชิ ง ป ฏิ บั ติ ก า ร ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น รู ด ว ย โ ค ร ง ง า น วิ ท ย า ศ า ส ต ร
ปงบประมาณ 2562 เปนอีกรูปแบบหนึ่งในการสอน ท่ีชว ยกระตุนและสงเสริมกระบวนการแสวงหาความรู
อยางมรี ะบบตามวธิ ีการทางวิทยาศาสตร มคี วามคดิ รเิ รม่ิ สรางสรรค สรา งเจตคตวิ ทิ ยาศาสตร และผเู ขา รวม
อบรม สามารถนําความรูที่ไดรับไปเผยแพร สรางสรรคผลงานนวัตกรรมผานทางโครงงานวิทยาศาสตร
เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอมใหก ับนักศึกษาหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดอ ยาง
ทวั่ ถึงและมีประสิทธภิ าพ อันนําไปสูกระบวนการคิดและการตดั สินใจที่มเี หตผุ ลในการดาํ เนินชวี ิตประจําวัน
อยางมีความสขุ

รายงานผลการดําเนนิ งานประจําป 2562
ศูนยว ทิ ยาศาสตรเพ่อื การศึกษายะลา หนา 42

5. วตั ถุประสงค
5.1 เพ่อื ใหก ลุมเปาหมายมอี งคความรู โครงงานวทิ ยาศาสตร
5.2 เพ่ือใหก ลมุ เปา หมายมที ักษะดวยกระบวนการเรียนรทู างโครงงานทางวทิ ยาศาสตร
5.3 เพอื่ ใหกลมุ เปาหมายนําความรคู วามคิดและประสบการณ สรา งสรรคผ ลงานนวัตกรรมผา นทาง

โครงงานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสง่ิ แวดลอม ทเ่ี ปนประโยชนต อ ชีวิตประจาํ วนั ชมุ ชนและสงั คม

6. เปา หมาย
6.1 เชิงปรมิ าณ พน้ื ท่รี ับผิดชอบจาํ นวน 3 จงั หวดั และจาํ นวน 31 อําเภอ (ยะลา สงขลา สตลู )
- ขาราชการครูและบคุ ลาการทางการศึกษา
ครู กศน.ตําบล และ ครู ศรช. อําเภอละ 1 คน จํานวน 31 คน
- นกั ศึกษา กศน. อําเภอละ 3 คน จาํ นวน 93 คน
- บุคลากรศนู ยวทิ ยาศาสตรเพอื่ การศึกษายะลา จํานวน 10 คน
กลมุ เปาหมายท้ังหมด จํานวน 134 คน
6.2 เชิงคุณภาพ
ผูเ ขารับการอบรมมคี วามรู ทักษะ ความสามารถในสรา งสรรคผลงานนวัตกรรมผานทาง
โครงงานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

7. ผลการดาํ เนนิ งาน งบประมาณ เปาหมายเชิงปรมิ าณ เปา หมายเชิงคุณภาพ
วิธีดาํ เนนิ การ จัดสรร 300,000.- กลมุ เปา หมาย 1. ผูเ ขา รบั การอบรมมี
ใชจา ย 300,000.- จํานวน 134 คน ความรคู วามเขาใจ
1. ประชุมวางแผนการจัดโครงการ คดิ เปนรอ ยละ 100 ผรู ว มกิจกรรม ตามวัตถุประสงคของ
- ออกแบบ/รปู แบบการจดั โครงการ จาํ นวน 134 คน หลกั สูตรระดบั ดี
- เผยแพรป ระชาสมั พนั ธ คิดเปน รอยละ 100 รอ ยละ 79.69
กลุม เปาหมาย 2. ผูเ ขา รบั การอบรม
มีความพงึ พอใจในการ
2. ดาํ เนนิ จดั อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารตาม เขา รว มอบรมระดับดี
โครงการ รอยละ 87.03
กิจกรรมหลกั ที่ 1

- อบรมเชงิ ปฏิบัติกาตามโครงการ
กจิ กรรมหลกั ท่ี 2
นาํ เสนอผลงาน/นวัตกรรมโครงงาน

- การนําเสนอโครงงานและมอบ
เกยี รตบิ ตั ร ระดบั จงั หวัด

- รางวัลชนะเลิศเปนตวั แทนเขา
แขง ขันระดับประเทศ
3. นเิ ทศ/ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานตาม
โครงการ

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเ พอื่ การศกึ ษายะลา หนา 43

จดุ เดนของโครงการ
1. ผูเ ขารบั การอบรมไดรับความรู ความเขาใจในสิ่งท่ีไดรบั จาการอบรมมากย่ิงข้ึน และผูเขารับการ
อบรมสามารถนําความรทู ี่ไดรับในทาํ โครงงานและวิธกี ารไปใชเ ปนแนวทางในการทําโครงงานได
2. ผรู ับการอบรมสามารถคิดสรา งสรรคโครงงานทางวทิ ยาศาสตรไดอยา งอิสระ
3. ผรู บั การอบรมมีทกั ษะในการจัดทําโครงงานวิทยาศาสตรมากย่ิงข้นึ

จุดควรพัฒนา
1. ควรมีอุปกรณ สําหรับการทาํ โครงงานวทิ ยาศาสตรใหผูเขา อบรม
2. ควรสนบั สนนุ เงนิ ในการออกแบบโครงงานวิทยาศาสตร
3. ควรเพมิ่ ระยะเวลาในการจัดอบรม

แนวทางการดาํ เนนิ งานตอไป
1. การติดตามโครงงานทผี่ เู ขาอบรมไดอ อกแบบไว เพ่ือใหผลงานสําเร็จตามเปาหมาย
2. การเพิ่มระยะเวลาในการทํากิจกรรม เพือ่ ใหผูเขา อบรมไดล งมือปฏบิ ัติมากย่ิงขนึ้
โครงการอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารโครงงานทางวทิ ยาศาสตรสาํ หรบั กศน.

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจําป 2562
ศูนยว ิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา หนา 44

1. ชือ่ โครงการ โครงการวทิ ยาศาสตรเ พื่อชีวติ และชมุ ชนคนชายแดนใต
2. สอดคลองกับยุทธศาสตรน โยบายและจดุ เนน การดําเนินงานของสํานกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ

พ.ศ. 2562
ยทุ ธศาสตรท่ี 5 ดา นสง เสริมและจัดการศึกษาเพอ่ื เสรมิ สรางคณุ ภาพชวี ติ ทเี่ ปน มิตรกับส่งิ แวดลอม
3. สอดคลองกับพันธกจิ ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศกึ ษายะลา

ขอที่ 1 จดั และสง เสริมกระบวนการเรียนรูดา นวทิ ยาศาสตร ทุกรปู แบบ ทงั้ ในระบบนอกระบบ
และอัธยาศยั สาํ หรับเดก็ เยาวชนและประชาชนทวั่ ไป

ขอที่ 6 สงเสริม สนับสนุน และพัฒ นาเครือขาย ในดานการจัดกระบวนการเรียนรู
ดา นวิทยาศาสตร

4. หลักการและเหตุผล
การจัดการศึกษากิจกรรมการเรียนการสอนท่ีใชเพื่อพัฒนาความสามารถของผูเรียน โดยเฉพาะ

การตอบสนองตอกระบวนการเรียนรูท่ีเนนผูเรียนเปนสําคัญไดเปนอยางดี เทากับเปนการปฏิรูปผูเรียน
ยุคใหมในสังคมไทยใหรูจักสรางวัฒนธรรมในการเสาะแสวงหาความรูดวยตนเองจากส่ือท่ีหลากหลาย
เปนการศึกษาตลอดชีวิต (Life Long Education) การจัดการเรียนรูทางวิทยาศาสตร จึงต้ังอยูบนพื้นฐาน
ความเช่ือและหลักการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู คือ เชื่อม่ันในศักยภาพการเรียนรูของผูเรียนภายใต
หลักการจัดการเรียนรูท ย่ี ดึ ผเู รียนเปนสาํ คญั และสอดคลองกบั สภาพความเปน จริงในทองถน่ิ

สําหรับศูนยวิทยาศาสตรเพ่ือการศึกษายะลา เปนการจัดการศึกษานอกระบบโรงเรียนที่เนน
การศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งเปนจัดกิจกรรมการเรียนรูทางวิทยาศาสตรใหแกนักศึกษา กศน. ประชาชน
ในสังกัดสาํ นักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ไดแก ศูนยการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอ ศูนยก ารเรียนชุมชน กศน.ตําบล และชุมชน ไดดําเนินการจัดการเรียน
การสอนในรูปแบบ กศน. เปนกระบวนการเรียนรูตามสภาพจริงท่ียึดผูเรียนเปนสําคัญอยางดีแลว
แตอยางไรก็ตาม การจัดการเรียนการสอนอาจยังไมครอบคลุมกระบวนการทางวิทยาศาสตรเทาที่ควร
จึงควรพัฒนาสงเสริมคุณภาพชีวิตกลุมเปาหมาย ในรูปแบบกิจกรรมการเรียนรูทางวิทยาศาสตร
ใหม ีคุณภาพย่งิ ขน้ึ

เพ่ือใหกลุมเปาหมายใหเขาถึงกระบวนการทางวิทยาศาสตรและนําความรูไปประยุกตใชได
ในชีวิตประวันและสงผลตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้น ศูนยวิทยาศาสตรเพื่อการศึกษายะลา
จึงจัดทําโครงการวิทยาศาสตรเ พ่อื ชีวิตและชมุ ชนคนชายแดนใตข้นึ
5. วตั ถปุ ระสงค

5.1 เพอื่ เสรมิ สรางการเรียนรูในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูทางวทิ ยาศาสตร
5.2 เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการเรยี นรู ทกั ษะชีวติ ทางวิทยาศาสตร
5.3 เพอื่ นาํ องคความรูไปประยกุ ตใ ชในชีวิตและพฒั นาชีวติ สงั คมและชุมชน

รายงานผลการดาํ เนินงานประจาํ ป 2562
ศนู ยวทิ ยาศาสตรเ พอ่ื การศึกษายะลา หนา 45

6. เปาหมาย
6.1 เชิงปริมาณ
- ครู กศน.ตําบล นักศึกษา กศน. ประชาชนทวั่ ไป ในพื้นที่ 3 จงั หวัดชายแดนใต
(ยะลา สงขลา สตลู ) เขา รบั การอบรม จํานวน 210 คน
- บุคลากรศูนยวทิ ยาศาสตรเ พอื่ การศึกษายะลา จาํ นวน 10 คน
6.2. เชงิ คุณภาพ
- กลุมเปา หมายมคี วามรู ความเขาใจ ในกระบวนการเรยี นรูทางวิทยาศาสตรแ ละนาํ ไป
ประยุกตใชใ นชีวติ ตอ การพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีดี

7. ผลการดาํ เนนิ งาน งบประมาณ เปาหมายเชิงปรมิ าณ เปา หมายเชิงคุณภาพ
วิธีดําเนินการ จดั สรร 300,000.- กลมุ เปา หมาย 1. ผเู ขารวมกจิ กรรมมีความรู
ใชจาย 300,000.- จํานวน 210 คน ความเขา ใจตาม
1. ประชุมผูเก่ยี วของเพื่อ คิดเปน รอยละ 100 วตั ถปุ ระสงคของโครงการ
เตรียมการจัดโครงการ ระดับดี รอ ยละ 87.20
2. ดาํ เนินการตามกิจกรรม ผูรว มกจิ กรรม 2. ผเู ขา รวมกิจกรรมมีทกั ษะ
หลกั ของโครงการ จํานวน 210 คน กระบวนการทําทาง
คิดเปนรอ ยละ 100 วทิ ยาศาสตรต าม
- การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร วัตถุประสงคข องโครงการ
แหลงเรยี นรชู ุมชนดา น รอยละ 91.24
สมุนไพร การแปรรูป 3. ผูเขา รวมกจิ กรรมมีความ
ผลิตภัณฑและการนาํ พงึ พอใจในการเขา รวม
สมนุ ไพรมาใชประโยชนใน กิจกรรมระดับดี
รูปแบบตา งๆ รอยละ 88.23

- การอบรมเชงิ ปฏิบัติการ
วิทยาศาสตรส ูชมุ ชน
3. สรปุ ผลการดําเนนิ งาน

จุดเดนของโครงการ
1. กลมุ เปา หมายไดรับประสบการณที่ดแี ละสามารถนําไปประยุกตใ ชในชวี ิตประจําวันได
2. กลุมเปาหมายเห็นความสําคัญของสมนุ ไพรในชุมชน และสามารถนํามาเพิ่มมลู คา หรือแปรรูปได

จุดควรพฒั นา
1. ควรจดั เตรยี มวัสดุ อปุ กรณใหพ รอมสาํ หรับการลงมือปฏิบัติ
2. ควรประเมินความตองการของกลุมเปาหมายวาสนใจในเร่ืองใด

แนวทางการดําเนนิ งานตอ ไป
1. จดั เตรียมวัสดุ อุปกรณเ ปนกลมุ ใหพรอ มตอการลงมือปฏบิ ัติ
2. การอธบิ ายเน้ือหาในการอบรม เพือ่ ใหก ลุม เปาหมายเขา ใจไดอยางชดั เจน

รายงานผลการดําเนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยว ทิ ยาศาสตรเพ่อื การศึกษายะลา หนา 46

โครงการวิทยาศาสตรเ พ่อื ชีวิตและชมุ ชนคนชายแดนใต

รายงานผลการดาํ เนนิ งานประจาํ ป 2562
ศนู ยวิทยาศาสตรเ พื่อการศึกษายะลา หนา 47


Click to View FlipBook Version