ก
ก
คำนำ
นโยบายการกำกับดแู ลองคก์ ารท่ดี ี
สำนกั งานปลัดกระทรวง
กระทรวงศึกษาธิการ
เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕6๐
และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พุทธศักราช ๒๕๔๖ และ
ที่แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2562 รวมทั้งให้สอดคล้องกับการพัฒนาองค์การ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕65
ในความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ที่มีการประเมินความสำเร็จของการผู้นำ
องค์การ (Leadership) โดยให้ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
(Organizational Governance) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลให้การดำเนินงานของส่วนราชการ
เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี การบริหารราชการเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล อันจะทำให้ประชาชนเกิดความมัน่ ใจ ศรัทธาและไวว้ างใจในการบริหารงาน
ภาครฐั
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงได้จัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
อันประกอบด้วยนโยบายหลัก ๔ ด้าน คือ ด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสีย ด้านองค์การ และด้านผู้ปฏิบัติงาน รวมถึงได้กำหนดแนวทางปฏิบัติตามนโยบายหลักด้านต่าง ๆ
เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติและเป็นค่านิยมร่วมสำหรับองค์การและบุคลากรทุกคน พึงยึดถือเป็นแนวทาง
ปฏิบัตคิ วบค่กู บั กฎ ขอ้ บังคบั อนื่ ๆ อย่างทวั่ ถงึ
(นายสุภทั ร จำปาทอง)
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
วันท่ี 8 เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖5
ข
ประกาศเจตนารมณ์
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงานภาครัฐ สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
ปฏบิ ัติภารกจิ หลักดงั นี้
๑. ศึกษา วิเคราะห์ จัดทำข้อมูลเพ่ือใช้ในการกำหนดนโยบาย เป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์
ของกระทรวง
๒. พัฒนายทุ ธศาสตรก์ ารบรหิ ารของกระทรวง
๓. แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการปฏิบตั ิราชการ
๔. จดั ทำงบประมาณและแผนปฏิบัติราชการของกระทรวง
๕. ดำเนนิ การเกี่ยวกับการตรวจราชการและการตรวจสอบภายในราชการทว่ั ไปของกระทรวง
๖. ดำเนินการเก่ยี วกับงานลูกเสอื ยวุ กาชาดและกิจการนักเรียน
๗. ส่งเสริมสนับสนุนงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย คณะกรรมการ
การศกึ ษาเอกชน คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา และสถาบนั พัฒนาครู คณาจารย์
และบุคลากรทางการศกึ ษา
๘. สง่ เสริม ประสานการศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม และการกีฬา เพื่อการศึกษา ตลอดจน
งานอื่น ๆ ทม่ี ิไดก้ ำหนดใหเ้ ปน็ อำนาจหนา้ ทีข่ องสว่ นราชการใดในสังกัดกระทรวง
๙. ประสานงานกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง รวมทั้งดำเนินการเกี่ยวกับ
งานความช่วยเหลือและความร่วมมือกับต่างประเทศในส่วนที่มิได้อยู่ในอำนาจหน้าท่ี ของส่วนราชการใด
ในสังกัดกระทรวง
๑๐. พฒั นาระบบและเครอื ขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศเพ่อื การบริหารงานของกระทรวง
๑๑. ดำเนินการเกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยการศึกษาและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องซึ่งมิได้
อยใู่ นอำนาจหน้าท่ีของสว่ นราชการใดในสงั กัดกระทรวง
๑๒. ตรวจสอบการดำเนินงานภายในสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง
และสนบั สนนุ การปฏิบัติงานของสำนกั งานปลัดกระทรวงและกระทรวง
๑๓. พัฒนาการบริหารของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวง ให้เกิด
ผลสัมฤทธ์ิ มีประสทิ ธิภาพ และคุ้มคา่
๑๔. บูรณาการและขบั เคล่ือนแผนการป้องกันและปราบปรามการทุจริต และการส่งเสริม
คุม้ ครองจรยิ ธรรมในกระทรวง
15. ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดโดยการอำนวยการ ส่งเสริม สนับสนุน
และพัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานอื่น
หรือภาคสว่ นที่เกีย่ วข้องในพน้ื ทนี่ นั้ ๆ
16. ปฏิบัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษา
ตามกฎหมาย กำหนดการปฏบิ ัติราชการตามอำนาจหน้าท่ี นโยบาย และยุทธศาสตร์ของสว่ นราชการต่าง ๆ
ทีม่ อบหมาย
๑7. ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ
ของสำนักงานปลดั กระทรวงหรือตามท่รี ัฐมนตรหี รอื คณะรฐั มนตรีมอบหมาย
ค
ในฐานะผู้บริหารของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เห็นสมควรให้มีการจัดทำ
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อให้การปฏิบัติราชการ
ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีความชัดเจน โปร่งใส มีธรรมาภิบาล
เป็นที่ยอมรับของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง อันจะเป็นการเสริมสร้างความมีศักดิ์ศรีของการเป็นหน่วยงานภาครัฐ
พร้อมสร้างความมั่นใจ ศรัทธา และไว้วางใจจากประชาชน ผู้รับบริการ ผู้ปฏิบัติงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตลอดไป
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้รวบรวม
หลักการ นโยบายการปฏิบัติราชการ แนวทางปฏิบัติ รวมทั้งมาตรฐานการทำงาน ความประพฤติที่ดี
บนพื้นฐานธรรมาภิบาลของข้าราชการและพนักงานของรัฐโดยบุคลากรทุกระดับของสำนักงานปลัด
กระทรวงศึกษาธิการ จะสามารถนำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ไปเป็นแนวทางปฏิบัติในการดำเนินงาน
และจะไมล่ ะเลยการปฏบิ ตั ติ ามหลกั การท่ปี รากฏอยู่ในนโยบายการกำกบั ดแู ลองค์การทด่ี ีฉบับนี้
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้พิจารณาทบทวน และปรับปรุงนโยบายการกำกับ
ดูแลองค์การที่ดีของหน่วยงานเป็นประจำ ทั้งน้ี เพื่อให้มีความเหมาะสมและทันสมัยอยู่เสมอ อีกทั้ง
เพื่อเป็นการแสดงถึงพันธะสัญญาระหว่างหน่วยงานและบุคลากรของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
จึงขอให้ทุกคนได้ลงชื่อในหนังสือรบั ทราบดังท่ีแนบมาพร้อมกับคู่มือฉบับนี้ พร้อมทั้งใช้เป็นหลักการปฏิบัติ
ราชการ
(นายสภุ ทั ร จำปาทอง)
ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
วันที่ 8 เดอื น มนี าคม พ.ศ. ๒๕๖5
ง
ใบลงนามรบั ทราบของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน
สำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
สำนัก / หนว่ ยงาน....................................................
๑. ข้าพเจ้าได้รับทราบนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ซึ่งระบุไว้ในนโยบายการกำกับ
ดูแลองค์การที่ดีนีแ้ ล้ว
๒. ข้าพเจ้าได้อ่าน และมีความเข้าใจในนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีและแนวทาง
ปฏิบัติเป็นอย่างดี มีความมุ่งมั่นทีจ่ ะนำแนวทางปฏิบัติภายใตน้ โยบายการกำกบั ดูแลองค์การท่ีดีด้านต่าง ๆ
ซึ่งระบุในนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี ไปเป็นหลักปฏิบัติราชการ เพื่อส่งเสริมให้การปฏิบัติงาน
ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารมมี าตรฐานทางดา้ นธรรมาภบิ าลขัน้ สงู สุด
(ลงชือ่ )
(........…….......…………….…………………)
ตำแหน่ง….......…………………………………………
วนั ที่ .............. เดือน................................. พ.ศ. ..............
จ
สารบญั หนา้
คำนำ ก
ประกาศเจตนารมณ์ ข
ใบลงนามรบั ทราบของผปู้ ฏิบตั งิ าน ง
หมวดที่ ๑ บททั่วไป ๑
๑.๑ ข้อมลู องค์การ ๑
วสิ ัยทศั น์ ๑
พันธกิจ ๑
คา่ นยิ มหลักขององค์การ ๑
วัฒนธรรม ๒
โครงสรา้ งองค์การ ๓
แผนภูมกิ ารกำกับดแู ลองค์การที่ดี 4
คณะผ้บู ริหาร 5
คณะกรรมการดำเนินงาน 5
6
๑.๒ หลักการและแนวคดิ 7
๑.๓ วัตถุประสงคใ์ นการจดั ทำนโยบายการกำกบั ดูแลองค์การท่ีดี
8
หมวดที่ ๒ นโยบายการกำกับดแู ลองคก์ ารท่ีดี
8
๒.๑ นโยบายการกำกับดแู ลองค์การทดี่ ี 9
นโยบายการกำกับดแู ลองคก์ ารทด่ี ีดา้ นรฐั สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม 10
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีดา้ นผ้รู บั บริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสยี 10
นโยบายการกำกับดูแลองคก์ ารทดี่ ีด้านองค์การ 11
นโยบายการกำกับดแู ลองคก์ ารที่ดดี ้านผู้ปฏบิ ัติงาน 12
๒.๒ โครงการ/กิจกรรมรองรับนโยบายการกำกบั ดแู ลองค์การทีด่ ี 18
ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
19
หมวดท่ี 3 แนวทางส่งเสริมและผลักดันการปฏบิ ัตติ ามนโยบายการกำกบั ดูแลองคก์ ารทดี่ ี
50
• แผนการดำเนนิ งานตามนโยบายการกำกบั ดูแลองคก์ ารท่ีดีของสำนกั งานปลดั กระทรวง
ศึกษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
• ตวั ชี้วดั ความสำเร็จของโครงการ/กจิ กรรมตามนโยบายการกำกบั ดแู ลองคก์ ารที่ดี
ของสำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕65
๑
หมวดท่ี ๑
บททว่ั ไป
๑.๑ ขอ้ มลู องคก์ าร
วสิ ยั ทัศน์
การบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนได้รับการเรียนรู้
ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพและมีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษที่ 21
พนั ธกจิ
1. ส่งเสริมสนับสนุนการบริหารและจัดการศึกษาแบบบูรณาการทุกระดับ ทุกพื้นที่
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ ส่งผลต่อการพัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รยี น
2. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ให้สอดคล้องกับทกั ษะท่ีจำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
3. ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถึงการศึกษา
อย่างท่วั ถึง ตามศกั ยภาพของผเู้ รยี น เพอื่ ลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา
4. ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบการบริหารงานบุคคลและพัฒนาสมรรถนะ
ของขา้ ราชการ ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทสี่ ่งผลต่อการพัฒนาทักษะท่ีจำเป็นของผู้เรยี นในศตวรรษที่ 21
คา่ นิยมหลักขององคก์ าร
ค่านยิ มของสำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ คอื TEAMWINS
T = Teamwork การทำงานเป็นทีม หมายถึง บุคลากรมีความสามัคคีประสานงานกัน
ทำงานเพื่อองค์กรมีการระดมความคิดในการแก้ปัญหาร่วมกันพัฒนางานร่วมกันมีลักษณะเป็นหนึ่งเดียว
ในด้านการบริหารจัดการการปฏิบัติงานและด้านกฎหมาย มีทีมงานที่สามารถนำนวัตกรรมใหม่ ๆ มาใช้
พัฒนาการทำงานขององค์กรชักชวนให้คนในองค์กรช่วยกันขบั เคลื่อนให้เกิดการปฏิบัติจริงเพื่อการทำงาน
ทน่ี ำไปสเู่ ป้าประสงคข์ ององค์กร
E = Equality of Work ความเสมอภาคในการทำงาน หมายถึง ผ้บู รหิ ารให้ความสำคัญ
ในการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคนโดยให้ความเสมอภาคและความเป็นธรรมสร้างขวัญกำลังใจทีด่ ีให้กับ
ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน
A = Accountability ความรบั ผดิ ชอบ หมายถึง บคุ ลากรมีความรบั ผิดชอบในหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายและงานที่ต้องมีส่วนร่วมต่าง ๆ ปฏิบัติด้วยความตั้งใจอย่างเต็มความสามารถบรรลุ
ผลสำเร็จตามเป้าหมายตระหนักในความรับผิดชอบพร้อมที่จะให้ตรวจสอบสามารถอธิบายถึงพฤติกรรม
การกระทำของตนเองหรือหน่วยงานได้รวมถงึ ความรับผิดชอบในผลการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายด้วย
M = Moral and Integrity การมีศีลธรรมและมีความซื่อสัตย์ หมายถึง บุคลากร
ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและถูกต้องเพื่อนำพาองค์กรให้เป็นที่น่าเชื่อถือและก้าวไปข้างหน้า
อย่างภาคภมู ิ
๒
W = Willful ความมุ่งมั่นตั้งใจทำงานอย่างเต็มศักยภาพ หมายถึง บุคลากรปฏิบัติ
หน้าทีด่ ว้ ยความเต็มใจ เต็มความรู้ เตม็ ความสามารถและเตม็ เวลา เพอื่ มงุ่ สคู่ วามสำเร็จขององค์กร
I = Improvement การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ หมายถึง บุคลากร
มุ่งมั่นแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงและพัฒนางานในหน้าท่ี
ให้มีประสิทธิภาพ
N = Network and Communication การเป็นเครือข่ายที่มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
หมายถึง บุคลากรยิ้มแย้มต่อกันและกัน กล่าวคำทักทายซึ่งกันและกันเมื่อพบหน้ากันทุกครั้ง มีน้ำใจ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ บุคลากรให้ความร่วมมือแก่คนในองค์กรท่ีมาติดต่อเป็นอย่างดีรวมทั้งการนำข่าวสารใหม่ ๆ ดี ๆ
มาเผยแพร่เล่าสู่กันฟัง มีการจัดให้มีการพบปะสังสรรค์ระหวา่ งบุคลากรในองค์กร ตลอดทั้งยิ้มแย้มแจ่มใส
ตอ่ ผมู้ าใช้บริการ
S = Service Mind การมีจิตมุ่งบริการ หมายถึง บุคลากรให้บริการแก่ทุกคนที่มา
ติดต่อด้วยความเต็มใจยิ้มแย้มแจ่มใส มีใจในการให้บริการด้วยกัลยาณมิตร มีการประสานสัมพันธ์กัน
ในองค์กรพร้อมใจบริการเพอ่ื ความพึงพอใจผู้ใชบ้ ริการ
“ ทำงานรว่ มกนั แบ่งปันหนา้ ที่ ดีรับผิดชอบ ร้รู อบคณุ ธรรม
เตม็ ทำเต็มใจ ใฝ่ในเรียนรู้ สรา้ งผรู้ ่วมงาน บรกิ ารประทับใจ ”
วัฒนธรรม
มีการทำงานเป็นทีมและมจี ิตมงุ่ บรกิ าร
ก
๓
แผนภมู แิ สดงการกำกับดแู ลองค์การทด่ี
รฐั มนตรวี ่าการก
ปลัดกระท
(นายสภุ ัท
รองปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร รองปลดั กร
(นายธนู ขวัญเดช) (นายวีร
- สำนักงาน กศน. - สำนักงาน ก.ค.ศ
- สำนกั อำนวยการ - สำนกั นโยบายแล
- สำนักนติ กิ าร - กองสง่ เสรมิ และ
- สำนกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค
- สำนกั งานศกึ ษาธิการจังหวัด ภูมิภาค
- ศูนย์ปฏิบัติการตอ่ ตา้ นการทจุ ริต - ศนู ยเ์ ทคโนโลยสี
- สำนกั งานเลขาน
การศกึ ษา
- สำนักความสัมพ
- สำนกั คณะผู้แทน
ยูเนสโก
หมายเหตุ : 1. คำสั่ง สป. ที่ 2086/2563 ลงวนั ที่ 1 ตุลาคม 2563 เรือ่ ง มอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวงศ
ศกึ ษาธกิ าร และผู้ชว่ ยปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปฏิบตั ริ าชการแทน
2. คำสง่ั สป. ท่ี 2109/2563 ลงวันท่ี 6 ตลุ าคม 2563 เรื่อง แก้ไขเพ่มิ เติมคำส่งั สำนักงานปลัด
ใหร้ องปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ผตู้ รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และผชู้ ว่ ยปลดั กระทรวง
3. คำสง่ั สป. ท่ี 1149/2564 ลงวนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2564 เรือ่ ง แกไ้ ขเพิม่ เตมิ คำสง่ั สำนกั งานป
เร่อื ง มอบอำนาจให้รองปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และผูช้ ว่
4. คำสัง่ สป. ท่ี 1679/2564 ลงวันที่ 27 สงิ หาคม 2564 เรอื่ ง มอบอำนาจใหผ้ ชู้ ว่ ยปลดั กระท
5. สำนักความสัมพนั ธต์ า่ งประเทศและสำนกั คณะผแู้ ทนถาวรไทยประจำองค์การยเู นสโก ยังมไิ ดม้ คี
ท้ังนี้ ในทางปฏบิ ัติการเสนอเร่ืองกลัน่ กรองผ่านรองปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายวีระ แขง็ กสกิ
ข
ดี สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ
คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมินผลการจดั การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการคณะกรรมการ
ตรวจสอบและประเมนิ ผลประจำกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ทรวงศกึ ษาธกิ าร
ทร จำปาทอง)
กลุ่มตรวจสอบภายใน
กระทรวงศึกษาธิการ รองปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
ระ แข็งกสิการ) (นายสทุ ิน แก้วพนา)
ศ.
ละยุทธศาสตร์ - สำนกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ะพัฒนาการบริหารการศกึ ษาใน - สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากร
สารสนเทศและการสอ่ื สาร ทางการศกึ ษา
นุการกองทนุ พฒั นาเทคโนโลยีทาง - สำนกั ตรวจราชการและติดตามประเมินผล
- ศนู ย์ขับเคล่อื นการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้
- สำนกั การลกู เสอื ยวุ กาชาดและกิจการนักเรยี น
พันธต์ า่ งประเทศ ผชู้ ่วยปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
นถาวรไทยประจำ องคก์ าร (นายสมใจ วิเศษทักษณิ )
ศกึ ษาธกิ าร ผู้ตรวจราชการกระทรวง - กลุม่ พัฒนาระบบบริหาร
- กลุ่มขับเคล่ือนการปฏิรูปประเทศ ยทุ ธศาสตร์
ชาติ และการสร้าง
ดกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง มอบอำนาจ ความสามคั คีปรองดอง
งศกึ ษาธกิ าร ปฏิบัตริ าชการแทน
ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร 4
วยปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปฏิบัตริ าชการแทน
ทรวงศกึ ษาธกิ าร ปฏบิ ตั ิราชการแทน
คำส่ังมอบอำนาจใหผ้ ูใ้ ดปฏบิ ตั ิราชการแทน
การ)
๕
คณะผู้บรหิ าร
ท่ีปรึกษา
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (นายธนู ขวัญเดช)
รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (นายวีระ แขง็ กสกิ าร)
รองปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (นายสุทนิ แกว้ พนา)
คณะกรรมการดำเนนิ งาน
คณะกรรมการอำนวยการ
คณะกรรมการอำนวยการ จำนวน ๑8 คน ประกอบด้วย ผู้ช่วยปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เป็นประธาน เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เลขาธิการสำนักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ เปน็ รองประธาน และกรรมการ ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสำนักอำนวยการ
ผอู้ ำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ผู้อำนวยการสถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
ผู้อำนวยการสำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล ผู้อำนวยการสำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ
ผู้อำนวยการสำนักนิติการ ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้อำนวยการสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด
และกิจการนักเรียน ผู้อำนวยการกองส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการศึกษาในภูมิภาค ผู้อำนวยการ
กลุ่มตรวจสอบภายใน หัวหน้าศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต หัวหน้าสำนักงานรัฐมนตรี ผู้อำนวยการ
ศูนย์ขับเคลื่อนการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ และผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบบริหาร เป็นกรรมการ
และเลขานุการ
หนา้ ทแี่ ละอำนาจ ของคณะกรรมการอำนวยการ
๑. กำหนดนโยบายตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี วางกรอบ
แนวทางและทิศทางการดำเนินการ การจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัด
กระทรวงศึกษาธกิ าร
๒. ส่งเสริม สนับสนุน และให้คำปรึกษาแนะนำแก่คณะทำงาน เพื่อให้การดำเนินการเป็นไป
ตามกรอบ ทศิ ทาง และแนวทางทก่ี ำหนด
๓. ตดิ ตาม และกำกับ ดูแล ใหก้ ารนำนโยบายการกำกับดูแลองค์การท่ีดีของสำนักงานปลัด
กระทรวงศึกษาธิการไปสู่การปฏิบัติ ดำเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมปี ระสิทธิภาพ
คณะทำงานจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองคก์ ารทีด่ ี
คณะทำงานจัดทำนโยบายการกำกับดแู ลองค์การทดี่ ี ประกอบดว้ ย ผอู้ ำนวยการกลมุ่ พัฒนา
ระบบบรหิ าร เป็นประธาน และผแู้ ทนจากส่วนราชการในสังกดั จำนวน 24 คน
หน้าทีแ่ ละอำนาจ ของคณะทำงาน
๑. ดำเนินการจัดเตรียมและสนับสนุนข้อมูลในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับนโยบายการกำกับดูแล
องคก์ ารทด่ี ี เพอื่ ประกอบการดำเนินการของสำนักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
๒. ทบทวนและจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัดกระทรวง
ศกึ ษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
๓. รายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัด
กระทรวงศกึ ษาธิการ ต่อผบู้ ริหารระดับสงู ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
๔. ปฏบิ ัตงิ านอ่นื ๆ ตามท่คี ณะกรรมการอำนวยการมอบหมาย
๖
๑.๒ หลกั การและแนวคิด
หลักการ
การจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
นับเป็นการสนองตอบต่อแนวคิดธรรมาภิบาล โดยมีภาพรวมดังน้ี
1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา ๗๖ รัฐพึงพัฒนา
ระบบการบริหารราชการแผ่นดินทั้งราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และงานของรัฐอย่างอ่ืน
ให้เป็นไปตามหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยหน่วยงานของรัฐต้องร่วมมือและช่วยเหลือกันในการ
ปฏิบัติหน้าที่ เพื่อให้การบริหารราชการแผ่นดิน การจัดทำบริการสาธารณะ และการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อประโยชนส์ ุขของประชาชน รวมตลอดทั้งพัฒนาเจ้าหน้าที่ของรัฐให้มคี วามซื่อสตั ย์
สุจริต และมีทัศนคติเป็นผูใ้ ห้บริการประชาชนให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ไม่เลือกปฏิบัติ และปฏิบัติหน้าที่
อยา่ งมีประสิทธิภาพ
๒. การกำหนดให้มีการจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีนี้ ถือเป็นส่วนหน่ึง
ของการนำหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดหี รือธรรมาภิบาลเข้ามาประยุกตใ์ ช้ในการเปลีย่ นแปลงระบบ
การบริหารราชการแผ่นดินของไทย อันเป็นไปตามเจตนารมณ์ที่ปรากฏอย่างชัดเจนในมาตรา ๓/๑
แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๔๕ มุ่งเน้นให้ส่วนราชการใช้วิธีการบริหารกิจการ
บา้ นเมืองท่ดี มี าเป็นแนวทางในการปฏิบัติราชการ กลา่ วคอื
การบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจ
ของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ
และยบุ เลกิ หน่วยงานท่ไี ม่จำเป็น การกระจายภารกจิ และทรพั ยากรใหแ้ ก่ท้องถ่ิน
การกระจายอำนาจตัดสินใจ การอำนวยความสะดวก และการตอบสนอง
ความต้องการของประชาชน ทง้ั นี้ โดยมผี รู้ ับผิดชอบตอ่ ผลงาน
การจัดสรรงบประมาณและการบรรจุแต่งตั้งบุคคลเข้าดำรงตำแหน่ง หรือปฏิบัติ
หนา้ ท่ีต้องคำนงึ ถงึ หลักการตามวรรคหน่ึง
ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการต้องใช้วิธีการบริห ารกิจการบ้านเมืองที่ดี
โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล
การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งน้ี ตามความเหมาะสมของภารกจิ
เพื่อประโยชน์ในการดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรานี้ จะตราพระราชกฤษฎีกา
กำหนดหลกั เกณฑ์ และวธิ ีการในการปฏบิ ตั ิราชการและการส่งั การให้ส่วนราชการและขา้ ราชการปฏบิ ตั ิก็ได้
3. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 ยุทธศาสตร์ที่ 6 ยุทธศาสตร์ชาติด้านการ
ปรบั สมดุล และพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ มเี ป้าหมายการพัฒนาที่สำคัญเพื่อปรับเปล่ียนภาครัฐที่ยึด
หลัก “ภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่เหมาะสมกับ
บทบาทภารกิจ แยกแยะบทบาทหน่วยงานของรัฐที่ทำหน้าที่ในการกำกับหรือในการให้บริการในระบบ
เศรษฐกจิ ทีม่ ีการแข่งขัน มสี มรรถนะสูง ยึดหลกั ธรรมาภบิ าล ปรบั วฒั นธรรมการทำงานให้มุ่งผลสัมฤทธิ์และ
ผลประโยชนส์ ่วนรวม มคี วามทนั สมัย และพรอ้ มทจี่ ะปรับตวั ให้ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงของโลกอยู่ตลอดเวลา
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีข้อมูลขนาดใหญ่ ระบบการทำงานที่เป็นดิจิทัลเข้ามา
ประยุกตใ์ ช้อยา่ งคุม้ ค่า และปฏิบัตงิ านเทียบได้กับมาตรฐานสากล รวมทง้ั มลี กั ษณะเปิดกว้าง เช่ือมโยงถึงกัน
และเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว และโปร่งใส โดยทุกภาคส่วนในสังคมต้องร่วมกันปลูกฝังค่านิยมความซื่อสัตย์สุจริต ความมัธยัสถ์
และสรา้ งจติ สำนึกในการปฏิเสธไม่ยอมรับการทุจริตประพฤติมิชอบอย่างสน้ิ เชิง นอกจากนน้ั กฎหมายต้องมี
ความชัดเจน มีเพียงเท่าที่จำเป็น มีความทันสมัย มีความเป็นสากล มีประสิทธิภาพ และน่าไปสู่การลดความ
เหลื่อมล้ำและเอื้อต่อการพัฒนา โดยกระบวนการยุติธรรมมีการบริหารที่มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม ไม่เลือก
ปฏิบัติ และการอำนวยความยุตธิ รรมตามหลักนิติธรรม
๗
4. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐในด้านการนำองค์การ (Leadership)
เพือ่ ส่งเสริมและสนับสนนุ ใหส้ ว่ นราชการไดน้ ำนโยบายการกำกบั ดแู ลองค์การที่ดมี าใช้ในการสรา้ งบรรยากาศ
ที่ดีภายในองค์การ ทั้งในด้านของภาวะผู้นำ และวัฒนธรรมการทำงานเป็นทีม ซึ่งจะช่วยให้การดำเนินการ
ของส่วนราชการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยให้ส่วนราชการ/ผู้บริหารต้องมีการกำหนดนโยบาย
การกำกับดูแลองค์การที่ดี (Organizational Governance) เพื่อเป็นเครื่องมือในการกำกับดูแลให้การ
ดำเนนิ งานของส่วนราชการเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกจิ การบา้ นเมืองทด่ี ี เพอ่ื ประโยชน์สุข
ของประชาชนใน ๔ ด้าน คือ ๑) ด้านรัฐ สังคมและสิ่งแวดล้อม ๒) ด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
๓) ด้านองค์การ และ ๔) ดา้ นผปู้ ฏิบัตงิ าน
5. การประเมินสถานะของหน่วยงานภาครัฐในการเป็นระบบราชการ 4.0 ด้านการ
นำองคก์ าร เพอ่ื ใหร้ ะบบการนำองค์การของส่วนราชการมุง่ เน้นสัมฤทธผิ ลและสร้างความยั่งยนื ให้กับองค์การ
โดยส่วนราชการกำหนดวิสัยทัศน์และแผนยุทธศาสตร์ที่นำไปสู่การบรรลพุ นั ธกจิ และสอดรับกบั ยทุ ธศาสตรช์ าติ
กำหนดนโยบายในการกำกับดูแลที่มีประสิทธิผลในเรื่องการป้องกันทุจริตและการสร้างความโปร่งใส
สร้างสภาพแวดล้อมภายในที่มุ่งเน้นการบรรลุผลสัมฤทธิ์ของส่วนราชการส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมและ
การแก้ไขปัญหารว่ มกับเครือข่าย ติดตามประเมินผลการดำเนินการของส่วนราชการและผลกระทบท่ีเกิดขนึ้
ทั้งระยะสั้นและระยะยาวอย่างต่อเนื่องและทันการณ์ (ด้วยกลไกของเทคโนโลยีดิจิทัล) โดยคำนึงถึง
ผลกระทบตอ่ สงั คมและมุ่งเน้นให้เกดิ ผลลัพธท์ น่ี ำไปสู่การพัฒนาประเทศตามทศิ ทางยทุ ธศาสตร์
๑.๓ วตั ถปุ ระสงค์ในการจัดทำนโยบายการกำกบั ดูแลองค์การท่ีดี
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี โดยมี
วัตถุประสงค์ดังนี้
1) เพ่ือแสดงความม่งุ ม่ันในการบรหิ ารราชการโดยใช้หลกั ธรรมาภบิ าล
2) เพื่อให้มีนโยบายและแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนสำหรับส่งเสริมธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้น
ในหนว่ ยงาน และสามารถนำไปปฏิบตั ิและตดิ ตามผลไดอ้ ย่างเป็นรปู ธรรม
3) เพื่อสร้างการยอมรับ ความน่าเชื่อถือ ความมั่นใจและศรัทธาให้เกิดขึ้นกับผู้รับบริการ
ประชาชนท่ัวไป และผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสีย ทงั้ ภายในและภายนอกหน่วยงาน
โดยสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ไดด้ ำเนินการทบทวนและจัดทำนโยบายการกำกับ
ดูแลองค์การที่ดี เพื่อให้มีผลในการปฏิบัติอย่างแท้จริงและเกิดประโยชน์กับทุกฝ่าย ในการดำเนินงานได้ยึด
หลกั การทสี่ ำคัญ ดงั น้ี
๑) เพื่อให้คณะทำงานและบคุ ลากรผูเ้ กย่ี วขอ้ งในสังกดั สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
มีองคค์ วามรูเ้ กีย่ วกับการจดั ทำนโยบายการกำกับดูแลองคก์ ารที่ดี ที่มคี วามเหมาะสมกับบริบทขององค์การ
๒) เพื่อทบทวนและจัดทำนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธกิ าร
๓) เพื่อให้มีนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีเป็นแนวทางสำหรับยึดถือเป็นหลักการ
และนำไปสกู่ ารปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ รปู ธรรม
๔) เพ่อื ส่งเสริมให้สำนัก/หน่วยงานใหส้ ังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้นำนโยบาย
การกำกับดูแลองค์การที่ดีไปกำกับให้บุคลากรปฏิบัติราชการด้วยความโปร่งใส มีมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ทีช่ ัดเจน
๘
หมวดที่ ๒
นโยบายการกำกับดูแลองค์การท่ีดี
เพื่อแสดงความมุ่งมั่นต่อการบริหารราชการตามหลักธรรมาภิบาล การปฏิบัติราชการ
ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการมีระบบการบริหารจัดการที่ดี มีความชัดเจน โปร่งใส มีคุณธรรม
จริยธรรม และธรรมาภิบาล ทำให้ประชาชนเกิดความมั่นใจ ศรัทธา และไว้วางใจในการบริหารราชการ
แผ่นดินของรัฐบาล สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายการกำกับดูแลองค์การท่ีดี
โดยมอี งค์ประกอบสำคัญ คอื (๑) ปณิธานองค์การ (๒) นโยบายการกำกับดูแลองค์การท่ีดี ๔ ดา้ น ประกอบด้วย
นโยบายด้านรัฐ สังคม และสิ่งแวดล้อม นโยบายด้านผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย นโยบาย
ด้านองคก์ าร และนโยบายด้านผปู้ ฏิบัตงิ าน และ (๓) แนวทางการนำนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ทิ ั้ง ๔ ด้าน
๒.๑ นโยบายการกำกับดูแลองคก์ ารทด่ี ี
เพื่อแสดงความมุ่งมั่นต่อการบริหารราชการตามแนวธรรมาภิบาล สำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายการกำกับดูแลองคก์ ารท่ีดไี ว้ รวม ๔ ด้าน
รนรัฐสนฐัสโง่ิ โยสงิ่แยสบแงั วบังควาดคามยดลมยดล้อดแา้้อแมลา้นมลนะะ นโยบายดา้ น
ผนรู้ บัโยบบราิกยาดรา้ น
และผผ้รู มู้ ับสี บว่ รนิกไาดร้
แสล่วะนผเมู้ สีสียว่ นได้
สว่ นเสยี
นนโโยยบบาายยดดา้ า้ นน นนโโยยบบาายยดดา้้านน
ผผปู้ ู้ปฏฏบิ ิบตั ัติงงิ าานน อองงคค์ก์กาารร
๙
นโยบายดา้ นรฐั สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ พึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีด้านรัฐ
สงั คมและส่งิ แวดล้อม โดยจะดำเนนิ การ ดงั น้ี
นโยบายหลักท่ี ๑ เร่งรัด ส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษา
ท้ังในระบบ นอกระบบและตามอัธยาศยั
แนวทางปฏิบัติ
๑. กำหนดระเบียบ ประกาศ หลกั เกณฑ์และแนวทางการปฏบิ ัติสำหรับการบริหารจดั การศกึ ษา
2. มีคณะกรรมการบรหิ ารจัดการศึกษาท่ีมสี ่วนรว่ มจากทกุ ภาคส่วน
3. สรา้ งกลไกการกำกบั ดูแล ตรวจติดตามการมีส่วนร่วม
4. ยกย่อง ชมเชยหน่วยงานดา้ นบรหิ ารจดั การศึกษาแบบมีสว่ นร่วม
5. สรา้ งกลไกสนบั สนุนและเปิดโอกาสใหท้ ุกภาคสว่ นเข้ามามสี ว่ นรว่ ม
นโยบายหลักที่ ๒ มุ่งมน่ั พัฒนาการใหบ้ ริการจดั การศกึ ษาให้เกิดประสิทธิภาพ และประสทิ ธิผลอย่างท่ัวถึง
แนวทางปฏิบัติ
๑. จัดทำฐานข้อมูลทางด้านการศึกษา และฐานข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้มีความ
ถกู ตอ้ ง ทนั สมัย ส่งเสริม สนับสนุนทางการศึกษา
๒. พัฒนารูปแบบการให้บริการทางการศึกษาที่หลากหลาย ที่มีคุณภาพ และสอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย
๓. ส่งเสริม สนับสนุน การใช้เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศกึ ษาที่ทันสมัย
นโยบายหลักที่ 3 ส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้
ใหส้ อดคล้องกบั วิถชี ีวิตของประชาชนในชุมชน
แนวทางปฏิบตั ิ
๑. จัดและส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิต โดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้
ให้สอดคล้องกับวถิ ีชีวติ ของประชาชนในชมุ ชน
๒. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการสร้างเครือข่ายเพ่อื ใหม้ สี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารจัดการศึกษา
๓. พฒั นาเครอื ขา่ ยให้มศี กั ยภาพในการบรหิ ารจดั การศึกษาให้สอดคล้องกบั วิถีชวี ติ อย่างย่งั ยืน
๔. ยกยอ่ งชมเชยเครอื ขา่ ยดีเด่น
นโยบายหลักที่ ๔ สรา้ งจติ สำนกึ และความรับผิดชอบตอ่ สงั คมและการอนุรักษ์สง่ิ แวดล้อม
แนวทางปฏิบัติ
๑. รณรงค์และจดั กิจกรรมเพ่ือสร้างจติ สำนึกความรับผิดชอบต่อสงั คมและการอนรุ ักษส์ ิ่งแวดล้อม
๒. ส่งเสริม สนับสนุน และสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานในสังกัดมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
รบั ผิดชอบต่อสังคมและการอนรุ ักษส์ ่ิงแวดล้อม
นโยบายหลกั ที่ ๕ เร่งรดั พฒั นาจดั การศกึ ษาในเขตพ้นื ทพ่ี ิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
แนวทางปฏบิ ตั ิ
๑. จัดการศึกษาให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม ขนบธรรมเนียม ประเพณี
อตั ลกั ษณ์ และความต้องการของพื้นท่ี
๒. ปรับปรุงรูปแบบการให้บริการทางการศึกษาให้สอดคล้องกับอัตลักษณ์ และความต้องการ
ของท้องถ่ิน
๓. ส่งเสริม สนับสนุนใหม้ กี ารบูรณาการการศึกษาและการมีสว่ นร่วม
๔. สนบั สนุนทนุ การศกึ ษา
๑๐
นโยบายดา้ นผู้รับบริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ พึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดี
ดา้ นผูร้ ับบรกิ ารและผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสยี โดยจะดำเนนิ การ ดงั น้ี
นโยบายหลักท่ี ๑ มุง่ มั่นให้บริการด้วยความโปรง่ ใส เปน็ ธรรม ทัว่ ถงึ
แนวทางปฏิบัติ
๑. กำหนดมาตรฐานการให้บริการทดี่ ีเพื่อเปน็ แนวทางปฏบิ ตั แิ กผ่ ู้ปฏบิ ตั ิงาน
๒. รณรงคค์ ่านิยมและวัฒนธรรมการทำงานดา้ นการบริการท่ีดี
๓. ศึกษาความพึงพอใจ และความไม่พึงพอใจ รวมถึงความต้องการของผู้รับบริการและ
ผ้มู ีส่วนไดส้ ่วนเสยี
๔. ปรบั ปรุงคณุ ภาพการให้บริการอย่างตอ่ เนอ่ื งและเปน็ ระบบ
๕. พฒั นาบคุ ลากรเกีย่ วกบั การใหบ้ ริการทดี่ ี
๖. พัฒนาและปรับปรุงช่องทางการสื่อสารให้ง่ายต่อการเข้าถึงของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี
๗. จัดใหม้ กี ารเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์มาตรฐานการใหบ้ ริการทด่ี ี
๘. ใหบ้ ริการดว้ ยความโปร่งใส เป็นธรรม ทัว่ ถึง
นโยบายหลกั ท่ี ๒ พฒั นาและส่งเสริมการนำเทคโนโลยที ่ีทันสมัยมาใช้ เพื่อให้บรกิ ารทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ
แนวทางปฏบิ ตั ิ
๑. จดั ทำระบบการเผยแพรผ่ ่านสอื่ ต่าง ๆ เพ่อื เผยแพรข่ ้อมลู การใหบ้ ริการแกป่ ระชาชน
๒. พัฒนาและสง่ เสริมการนำเทคโนโลยีดิจทิ ลั ทท่ี นั สมยั มาใชเ้ พอ่ื ให้บรกิ ารทมี่ ปี ระสทิ ธิภาพ
๓. ผลักดันการใช้ระบบการบริการลูกค้าสัมพันธ์ (Customer Relationship Management)
มาใชใ้ นการใหบ้ รกิ าร
๔. พัฒนาองคค์ วามรเู้ ก่ยี วกับการสรา้ งสรรค/์ ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยกี ับงานบริการ
นโยบายดา้ นองคก์ าร
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการพึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การท่ีดีด้านองค์การ
โดยจะดำเนนิ การ ดงั น้ี
นโยบายหลักท่ี ๑ สง่ เสริมการบริหารจดั การท่ีมปี ระสทิ ธิภาพตามหลกั ธรรมาภิบาล
แนวทางปฏิบัติ
๑. กำหนดมาตรการ แนวปฏบิ ัติที่ใชใ้ นการปฏิบัติงานรว่ มกนั
๒. จดั ทำระบบการควบคุมภายในให้มปี ระสิทธิภาพ
๓. บรหิ ารจัดการความเสี่ยงทั่วทงั้ องคก์ าร
๔. พฒั นา เผยแพร่ ติดตามการใชก้ ฎหมายอย่างถูกต้องและเป็นธรรม
๕. สง่ เสริม สนบั สนนุ สร้างความรู้ ความเขา้ ใจในการใช้กฎหมาย
๖. ส่งเสรมิ คณุ ธรรม จริยธรรม และสร้างความโปรง่ ใสในการปฏบิ ตั ิงาน
๗. กำหนดตัวชวี้ ดั ผลการปฏบิ ตั ิงาน และการรายงานผลการดำเนินงาน
๘. สรา้ งระบบการติดตามประเมนิ ผลที่มีประสทิ ธภิ าพ
๙. สร้างบุคลากรและหน่วยงานตน้ แบบของการบริหารจัดการที่โดดเด่น
๑๑
นโยบายหลกั ที่ ๒ พัฒนาและส่งเสรมิ การนำเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ใหเ้ กิดประสิทธิภาพ
แนวทางปฏิบัติ
๑. ผลกั ดนั แผนปฏบิ ตั ิการดจิ ิทลั เพอื่ บริหารจดั การการศกึ ษาไปสู่การปฏิบตั ิ
๒. ผลักดันให้ทุกหน่วยงานใช้ระบบสำนักงานอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัตงิ าน
๓. พัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศให้มีความถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและสามารถ
เชอ่ื มโยงแลกเปลีย่ นข้อมูลได้
๔. พฒั นาและปรับปรุงโครงสร้างพน้ื ฐานด้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ใหม้ ีประสิทธิภาพและท่วั ถึง
๕. พฒั นาขดี สมรรถนะดา้ นเทคโนโลยดี จิ ิทลั ของบคุ ลากรอยา่ งต่อเน่ือง
นโยบายหลักท่ี ๓ ส่งเสริม สนับสนนุ การจดั หาพสั ดุ ครภุ ัณฑ์ และสาธารณูปโภค เพอื่ ใหก้ ารทำงานเกิด
ประสิทธภิ าพสงู สดุ
แนวทางปฏบิ ตั ิ
๑. จัดสรรงบประมาณเพื่อจดั หาพัสดทุ จ่ี ำเปน็ ในการปฏบิ ัติงาน
๒. จัดหาพสั ดุ บำรงุ รกั ษา เพื่อให้การทำงานเกิดประสิทธิภาพและทันสมัย
๓. ดูแล ปรับปรุง รักษา สภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน
ของทางราชการ
นโยบายดา้ นผู้ปฏิบัตงิ าน
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการพึงส่งเสริมนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีด้านผู้ปฏิบัติงาน
โดยจะดำเนินการ ดงั นี้
นโยบายหลักที่ 1 ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาทรัพยากรบุคคลและความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติงาน
อยา่ งเปน็ ระบบดว้ ยความเสมอภาคและเป็นธรรม
แนวทางปฏบิ ัติ
๑. จดั ทำแผนเสน้ ทางความก้าวหนา้ ทางวิชาชีพของบุคลากรทุกตำแหนง่
๒. จัดทำเกณฑ์การคัดเลือกตามแผนเส้นทางสร้างความก้าวหน้าทางวิชาชีพของบุคลากร
อยา่ งเสมอภาคและเป็นธรรม
๓. จดั ทำแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาข้าราชการของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
๔. จัดทำแผนกลยุทธ์การบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
๕. จัดทำแผนพฒั นาบุคลากรตามผลการประเมนิ การปฏิบตั ริ าชการ
๖. พัฒนาบุคลากรขององค์การให้มีความรู้ ความสามารถ ตามแผนที่กำหนดและปฏิบัติงาน
ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
นโยบายหลักที่ ๒ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการทำงาน
และคณุ ภาพชีวิตที่ครอบคลุมทุกกลุ่ม
แนวทางปฏิบัติ
๑. จดั ทำแผนสร้างความผาสุกและความผูกพันของบคุ ลากรในสงั กัด
๒. จดั กจิ กรรมตามแผนสร้างความผาสุกและความผูกพัน หรอื บรกิ ารเพื่อเสริมสร้างสุขภาพที่ดี
แก่บุคลากรในหน่วยงาน
๓. ปรับภูมิทัศน์สภาพแวดล้อมสถานที่ทำงานให้เป็นการสร้างบรรยากาศในการทำงาน
ของผ้ปู ฏิบัตงิ าน
๔. จัดสวสั ดิการและสวัสดภิ าพให้แกบ่ คุ ลากร
๒.๒ โครงการ/กจิ กรรม รองรับนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำ
นโยบายด้านรัฐ สังค
นโยบายหลกั แนวทางปฏิบตั ิ
๑. เร่งรัด สง่ เสริม ๑. กำหนดระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์และแนวทาง
สนบั สนุน ให้ทุกภาค สำหรบั การบริหารจัดการศึกษา
สว่ นมสี ว่ นรว่ มในการ ๒. มคี ณะกรรมการบรหิ ารจดั การศกึ ษาท่มี สี ่วนร่วมจาก
บรหิ ารจัดการศกึ ษา ๓. สร้างกลไกการกำกบั ดแู ล ตรวจตดิ ตามการมสี ่วน
ท้งั ในระบบ นอกระบบ ๔. ยกย่อง ชมเชยหนว่ ยงานด้านบรหิ ารจดั การศึกษาแบบ
และตามอธั ยาศยั ๕. สรา้ งกลไกสนับสนนุ และเปดิ โอกาสให้ทุกภาคสว่ นเขา้
๒. มงุ่ มน่ั พฒั นาการ ๑. จัดทำฐานข้อมูลทางด้านการศกึ ษา และฐานข้อมูล
ใหบ้ รกิ าร จัดการศกึ ษา แหล่งการเรียนรู้ ตลอดชีวิตให้มคี วามถูกตอ้ ง ทันส
ใหเ้ กิดประสิทธิภาพ สนบั สนุนทางการศึกษา
และประสิทธผิ ลอย่าง ๒. พัฒนารปู แบบการใหบ้ ริการทางการศึกษาที่หลากห
ทว่ั ถงึ ท่มี ีคุณภาพและสอดคลอ้ งกบั ความต้องการของกล
๓. สง่ เสริม สนบั สนุน การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
การศกึ ษาที่ทนั สมยั
๓. ส่งเสริมการศึกษา ๑. จดั และสง่ เสรมิ การศึกษาตลอดชีวติ โดยน้อมนำห
ตลอดชีวิต โดยนอ้ มนำ ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใช้ใหส้ อดคลอ้ งกบั วถิ
หลกั ปรชั ญาของ ของประชาชนในชมุ ชน
เศรษฐกจิ พอเพียง ๒. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การสร้างเครือขา่ ยเพื่อให้มีส
มาปรบั ใช้ใหส้ อดคล้อง บรหิ ารจดั การศกึ ษา
กับวิถีชีวติ ๓. พฒั นาเครือขา่ ยให้มีศักยภาพในการบรหิ ารจัดการ
ของประชาชนในชมุ ชน สอดคล้องกับวถิ ีชวี ติ อยา่ งยง่ั ยืน
๔. ยกย่องชมเชยเครือข่ายดีเดน่
๑๒
ำนักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5
คม และสง่ิ แวดล้อม
งการปฏิบัติ โครงการ/กจิ กรรม ผู้รับผดิ ชอบ
กสภ.
กทุกภาคสว่ น 1. กจิ กรรมในการขบั เคล่ือนแผนปฏิบตั กิ ารด้านการ
นร่วม ธำรงรกั ษาสถาบนั หลักแหง่ ชาติ กสภ.
บมสี ่วนรว่ ม
ามามีสว่ นร่วม ๒. โครงการสร้างและส่งเสรมิ ความเปน็ พลเมืองดี กสภ.
ล ตามรอยพระยุคลบาทด้านการศกึ ษาสู่การปฏิบัติ
สมยั ส่งเสริม สกก.
3. โครงการขบั เคลื่อนการจดั การศึกษาและแก้ไข สกก.
หลาย ปญั หาสถานะทางทะเบยี นราษฎร์ของเด็กนกั เรียน สช.
ลมุ่ เป้าหมาย ทม่ี ีเลขประจำตัวขึ้นตน้ ดว้ ยตัวอกั ษร G
มทาง กศน.
4. โครงการเยาวชนรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม
หลักปรชั ญา 5. โครงการ ศธ. จติ อาสาบำเพญ็ ประโยชน์ ศค.จชต.
ถชี วี ติ 6. โครงการพฒั นาสมรรถนะการจดั การเรยี นการสอน
สำหรับศตวรรษท่ี 21 (ประเภทโรงเรียนนอกระบบ)
7. โครงการฝึกอาชพี จงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ตามแนวทางโรงเรยี นพระดาบส
8. โครงการส่งเสริมการอยู่รว่ มกันในสงั คม
พหุวัฒนธรรมจงั หวัดชายแดนภาคใต้
ส่วนรว่ มในการ
รศกึ ษาให้
๑2
นโยบายหลกั แนวทางปฏิบัติ
๔. สรา้ งจติ สำนกึ และ ๑. รณรงค์และจัดกิจกรรม เพื่อสรา้ งจิตสำนกึ ความร
ความรบั ผดิ ชอบ ต่อสังคม และการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
ตอ่ สังคมและการ ๒. สง่ เสริม สนับสนนุ และสรา้ งแรงจงู ใจให้หนว่ ยงานใ
อนุรกั ษ์ส่งิ แวดล้อม
มีสว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรมรับผิดชอบ ต่อสังคมแล
๕. เร่งรัด พัฒนาจดั สง่ิ แวดล้อม
การศึกษา ๑. จัดการศกึ ษาให้เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพเศร
ในเขตพน้ื ทีพ่ เิ ศษ ขนบธรรมเนยี ม ประเพณี อตั ลักษณ์และความต้อ
เฉพาะกิจจังหวัด ๒. ปรับปรงุ รปู แบบการใหบ้ รกิ ารทางการศกึ ษาใหส้ อ
ชายแดนภาคใต้ อัตลกั ษณ์ และความต้องการของทอ้ งถ่ิน
๓. ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหม้ ีการบูรณาการการศึกษาและ
๔. สนับสนุนทุนการศึกษา
โครงการ/กิจกรรม ๑๓
ผ้รู บั ผิดชอบ
รับผดิ ชอบ
ในสังกัด
ละการอนุรักษ์
รษฐกิจ สงั คม
องการของพื้นที่
อดคลอ้ งกับ
ะการมีสว่ นร่วม
๑3
นโยบายด้านผู้รบั บรกิ าร
นโยบายหลัก แนวทางปฏิบตั ิ
๑. มุ่งมั่นให้บริการด้วย
๑. กำหนดมาตรฐานการให้บริการทดี่ ีเพ่ือเป็นแนวทาง
ความโปร่งใส เป็นธรรม แก่ผ้ปู ฏบิ ัติงาน
ทั่วถงึ
๒. รณรงคค์ า่ นยิ มและวัฒนธรรมการทำงานด้านการ
๒. พฒั นาและส่งเสริม ๓. ศึกษาความพึงพอใจและความไมพ่ ึงพอใจ รวมถึงควา
การนำเทคโนโลยีที่
ทันสมัยมาใช้ เพื่อ ของผรู้ ับบรกิ ารและผ้มู สี ว่ นได้ส่วนเสีย
ให้บรกิ ารทม่ี ี ๔. ปรบั ปรงุ คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่องและเ
ประสิทธภิ าพ ๕. พฒั นาบุคลากรเก่ยี วกบั การให้บริการที่ดี
๖. พฒั นาและปรบั ปรงุ ช่องทางการสือ่ สารให้ง่ายต่อก
ของผู้รับบรกิ ารและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสีย
๗. จัดให้มกี ารเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์มาตรฐานการใ
๘. ให้บริการดว้ ยความโปรง่ ใส เป็นธรรม ทวั่ ถงึ
๑. จัดทำระบบการเผยแพร่ผ่านส่ือต่าง ๆ เพ่ือเผยแพ
ใหบ้ รกิ ารแก่ประชาชน
๒. พฒั นาและส่งเสริมการนำเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ทีท่ นั ส
บรกิ ารท่ีมปี ระสิทธิภาพ
๓. ผลกั ดันการใช้ระบบการบรกิ ารลูกค้าสมั พันธ์ (Cu
Relationship Management) มาใช้ในการให้บร
๔. พัฒนาองค์ความรู้เกีย่ วกับการสร้างสรรค์/ประยุกต
กบั งานบริการ
รและผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ๑๔
งปฏิบตั ิ โครงการ/กิจกรรม ผรู้ บั ผิดชอบ
กศน.
รบริการทีด่ ี 1. โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน กศน.
ามต้องการ 2. โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชุมชน สช.
3. การสง่ เสริมการออมในสถานศกึ ษาเอกชน ก.ค.ศ.
เป็นระบบ 4. การจัดทำขอ้ กำหนดและเสรมิ สรา้ งความรู้ความ
สคบศ.
การเขา้ ถงึ เขา้ ใจเกยี่ วกับระเบียบ ก.ค.ศ. ว่าด้วยระบบ
ทะเบยี นประวตั ขิ ้าราชการครูและบุคลากรทางการ สคบศ.
ใหบ้ รกิ ารท่ีดี ศกึ ษา
5. โครงการพฒั นาทักษะดา้ นดจิ ทิ ลั ของขา้ ราชการครู สคบศ.
พร่ข้อมูลการ และบุคลากรทางการศึกษาของ สกก.
กระทรวงศกึ ษาธิการ
สมัยมาใช้เพ่ือให้ 6. โครงการพฒั นาสมรรถนะวชิ าชีพของขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา ประจำปงี บประมาณ
ustomer พ.ศ. 2565
ริการ 7. โครงการพฒั นานกั บรหิ ารระดบั สูง
ต์ใชเ้ ทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร รุ่นท่ี 12
8. โครงการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการเอาทักษะ
การเอาตวั รอดในภาวะวิกฤตและภยั ธรรมชาติ
๑4
นโยบายดา้
นโยบายหลัก แนวทางปฏิบัติ
๑. สง่ เสรมิ การบริหาร ๑. กำหนดมาตรการ แนวปฏิบตั ิทีใ่ ช้ในการปฏิบัตงิ าน
จัดการท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ ๒. จัดทำระบบการควบคมุ ภายในให้มปี ระสิทธภิ าพ
ตามหลักธรรมาภิบาล ๓. บรหิ ารจัดการความเส่ียงท่ัวท้ังองค์การ
๔. พัฒนา เผยแพร่ ติดตามการใช้กฎหมายอยา่ งถกู ต
เป็นธรรม
๕. ส่งเสรมิ สนบั สนุน สร้างความรู้ ความเขา้ ใจในการ
กฎหมาย
๖. ส่งเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมและสรา้ งความโปร่งใส
ปฏิบัติงาน
๗. กำหนดตวั ช้วี ดั ผลการปฏบิ ตั งิ านและการรายงานผล
ดำเนินงาน
๘. สร้างระบบการติดตามประเมนิ ผลทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ
๙. สร้างบคุ ลากรและหนว่ ยงานต้นแบบของการบรหิ า
ทโี่ ดดเด่น
านองคก์ าร ๑๕
ผรู้ ับผิดชอบ
นร่วมกัน โครงการ/กิจกรรม
ก.ค.ศ.
ต้องและ 1. โครงการพัฒนาระบบการบริหารงานบคุ คล สน.
รใช้ และการใหบ้ ริการงานบุคคลผ่านระบบดจิ ิทัล
สในการ ศทก.
ลการ 2. กิจกรรมการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาวินัยขา้ ราชการ ศปท.
พ สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปี
ารจัดการ งบประมาณ พ.ศ. 2565 ศค.จชต.
สอ.
3. โครงการประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการจัดทำแผนปฏบิ ตั ิการ
ดจิ ทิ ัลของกระทรวงศึกษาธกิ าร
4. กิจกรรมการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส
ในการดำเนนิ งานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity &
Transparence Assessment: ITA) ของสำนักงาน
ปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจำปงี บประมาณ
พ.ศ. 2565
5. โครงการเสรมิ ศักยภาพการบูรณาการระบบข้อมูล
สารสนเทศดา้ นการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
6. กิจกรรมการบรหิ ารความพร้อมตอ่ สภาวะวิกฤต
(แผนการบริหารความพร้อมต่อสภาวะวิกฤต (BCP))
๑5
นโยบายหลกั แนวทางปฏบิ ัติ
๒. พัฒนาและสง่ เสริม ๑. ผลกั ดนั แผนปฏบิ ัตกิ ารดิจิทลั เพ่อื บริหารจดั การกา
การนำเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ
มาใช้ให้เกดิ ๒. ผลกั ดันใหท้ ุกหนว่ ยงานใชร้ ะบบสำนกั งานอิเล็กทรอ
ประสิทธิภาพ
เพอ่ื เพ่มิ ประสิทธิภาพในการปฏิบัตงิ าน
๓. พัฒนาและปรับปรุงระบบสารสนเทศใหม้ ีความถูก
ครบถว้ น เปน็ ปัจจุบนั และสามารถเชื่อมโยงแลกเป
ขอ้ มลู ได้
๔. พัฒนาและปรบั ปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานดา้ นเทคโนโล
ให้มีประสิทธภิ าพและท่วั ถึง
๕. พฒั นาขดี สมรรถนะด้านเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของบคุ ล
อยา่ งต่อเนื่อง
๓. สง่ เสริม สนับสนุน ๑. จัดสรรงบประมาณเพ่ือจัดหาพสั ดุทจ่ี ำเป็นในการป
การจดั หาพัสดุ ครุภณั ฑ์ ๒. จัดหาพัสดุ บำรุงรักษา เพ่ือให้การทำงานเกดิ ประส
และสาธารณปู โภค และทนั สมยั
เพื่อให้การทำงาน ๓. ดแู ล ปรบั ปรุง รักษา สภาพแวดลอ้ มในการทำงาน
เกิดประสิทธภิ าพสูงสุด ปลอดภยั
โครงการ/กจิ กรรม ๑๖
ผ้รู บั ผดิ ชอบ
ารศกึ ษา
อนิกส์
กต้อง
ปลย่ี น
ลยีดจิ ทิ ลั
ลากร
ปฏบิ ัติงาน
สิทธภิ าพ
นให้มีความ
16
นโยบายด้าน
นโยบายหลัก แนวทางปฏิบัติ
๑. สง่ เสริม สนบั สนนุ การ ๑. จัดทำแผนเส้นทางความก้าวหน้า
พัฒนาทรัพยากร ทางวิชาชพี ของบคุ ลากรทกุ ตำแหนง่
บุคคลและ ๒. จดั ทำเกณฑ์การคัดเลือกตามแผนเส้นทางสรา้ ง
ความก้าวหน้าของ
ผู้ปฏบิ ัติงานอย่างเป็น ความก้าวหนา้ ทางวิชาชพี ของบุคลากรอย่างเสมอภ
ระบบดว้ ยความ เป็นธรรม
เสมอภาคและเป็น ๓. จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพฒั นาขา้ ราชการของสำ
ธรรม ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
๔. จัดทำแผนกลยทุ ธก์ ารบรหิ ารทรัพยากรบุคคล
๒. สง่ เสรมิ คุณภาพชีวติ ๕. จัดทำแผนพัฒนาบุคลากร
ท่ดี ี ของผปู้ ฏบิ ัตงิ าน ตามผลการประเมินการปฏิบัติราชการ
เพื่อให้เกิดความสมดลุ ๖. พัฒนาบุคลากรขององค์การให้มีความรู้ ความสาม
ระหว่างการทำงาน แผนท่กี ำหนด
และคณุ ภาพชวี ติ และปฏิบัติงานไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ
ท่ีครอบคลุมทุกกล่มุ ๑. จดั ทำแผนสรา้ งความผาสกุ และความผูกพันของบคุ
ในสงั กดั
๒. จดั กจิ กรรมตามแผนสรา้ งความผาสุกและความผูกพ
บริการเพ่ือเสริมสร้างสุขภาพที่ดีแกบ่ ุคลากรในหนว่
๓. ปรบั ภูมทิ ัศนส์ ภาพแวดลอ้ ม สถานที่ทำงานให้เป็น
บรรยากาศในการทำงานของผปู้ ฏิบตั งิ าน
๔. จดั สวัสดกิ ารและสวสั ดิภาพใหแ้ ก่บุคลากร
นผปู้ ฏิบัตงิ าน ๑๗
ภาคและ โครงการ/กิจกรรม ผรู้ บั ผดิ ชอบ
ำนักงาน กศน.
1. โครงการพฒั นาครูสอนคนพิการเพ่อื เพมิ่ ประสทิ ธิภาพ
ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา สอ.
ตามอธั ยาศยั สำหรบั คนพิการ สอ.
สอ.
2. โครงการการเสรมิ สร้างและพัฒนาทักษะ สมรรถนะ
ข้าราชการและบคุ ลากรภาครัฐของ สป.
3. การจดั ทำแผนเสน้ ทางก้าวหน้า (Career Path)
4. กจิ กรรมสรา้ งความผูกพนั
มารถตาม
คลากร
พัน หรือ
วยงาน
นการสรา้ ง
17
๒๐
หมวดท่ี 3
แนวทางส่งเสรมิ และผลักดนั การปฏิบัตติ ามนโยบายการกำกบั ดแู ลองคก์ ารทด่ี ี
เพื่อให้การปฏิบัติงานมีผลดีตามนโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีของสำนักงานปลัด
กระทรวงศึกษาธกิ าร จงึ กำหนดหลักปฏบิ ตั ทิ ี่สำคัญดังน้ี
๑. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจะส่ือสารให้บุคลากรทุกคนได้รับทราบและมีความ
เข้าใจเก่ียวกบั นโยบายการกำกบั ดแู ลองค์การทีด่ ีอย่างทวั่ ถงึ
๒. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการจัดระบบบริหารธรรมาภิบาลที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้
ทุกคนมั่นใจว่าบุคลากรและองค์การจะปฏิบัติตนตามแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายการกำกับดูแล
องค์การทดี่ ฉี บับนี้อย่างเคร่งครดั โดยจะถือเสมือนว่าเป็นข้อปฏบิ ัติขององค์การข้อหนึ่ง ที่บุคลากรทุกระดับ
ต้องทำความเข้าใจ ยึดมั่น และปฏิบัติให้ถูกต้องในการทำงานประจำวัน และไม่มีบุคคลใดที่จะมีสิทธิ หรือ
อนุญาตใหบ้ ุคลากรของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ คนใด กระทำการใดทขี่ ัดตอ่ นโยบายฉบบั น้ี
๓. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการคาดหวังให้บุคลากรทุกคนมีการรายงานโดยสุจริตถึง
การปฏิบัติที่ขัดหรือสงสัยว่าจะขัดต่อหลักการต่าง ๆ ในนโยบายฉบับนี้ ต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรง หรือ
ในกรณีที่ไม่อาจรายงานต่อผู้บังคับบัญชาได้ อาจขอคำปรึกษาจากผู้บริหารระดับสูง หรือกลุ่มบริหาร
งานบุคคล สำนักอำนวยการ โดยข้อมูลที่ให้นั้นให้ถือปฏิบัติเป็นข้อมูลลับ ทั้งนี้ ผู้บังคับบัญชาเอง มีหน้าที่
ในการสอดส่องดูแล และให้คำแนะนำผู้ใต้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น ให้ปฏิบัติให้สอดคล้องกับแนวทาง
ปฏิบตั ติ ามนโยบายการกำกบั ดูแลองค์การที่ดฉี บบั น้ี
๔. นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีฉบับนี้ จะได้รับการพิจารณาปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันทุกปี
โดยกลุม่ พฒั นาระบบบริหาร หรือสว่ นราชการทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
๕. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จะกำหนดแนวทางการประเมินการปฏิบัติ
ตามนโยบายการกำกบั ดแู ลองคก์ ารท่ดี ี รวมทงั้ มกี ารประเมนิ ตนเองอย่างสมำ่ เสมอ
๖. หากผู้ใดมีข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย แนวทางปฏิบัติ หรือต้องการคำแนะนำเกี่ยวกับ
นโยบายการกำกับดูแลองค์การที่ดีฉบับนี้ สามารถติดต่อหรือสอบถามได้ที่ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร โทร ๐ ๒๖๒๘ ๖๔๐๙
แผนการดำเนินงานตามนโยบายการกำกบั ดแู ลองค์ก
ประจำปีงบประมาณ
นโยบายดา้ นรัฐ สงั คม และส่งิ แวดล้อม
โครงการ/กจิ กรรม กจิ กรรมในการขบั เคลอ่ื นแผนปฏบิ ัติการด้านการธำรงรักษาสถาบันห
ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕64 – กันยายน ๒๕65
ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.
1. การประชุมภายในหน่วยงาน
2. การมอบหมายเจา้ หนา้ ท่รี ับผิดชอบ
ของหน่วยงาน
3. จดั ทำปฏทิ นิ ดำเนนิ กจิ กรรมตามกรอบ
แนวทางการดำเนินงานในการขบั เคลอ่ื น
แผนปฏิบัติการดา้ นการธำรงรักษาสถาบนั หลัก
ของชาติ
4. รายงานผลการดำเนินงานกิจกรรมให้
กองส่งเสรมิ ฯ ภายใน 20 ของทกุ เดือน
(มกราคม - กนั ยายน 2565)
5. สรปุ ผลการขบั เคล่อื นแผนปฏิบัตกิ ารดา้ นการ
ธำรงรักษาสถาบันหลักของชาติ ส่งให้
กองส่งเสริมฯ ภายในวันที่ 10 กันยายน 2565
๒๐
การทดี่ ขี องสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ณ พ.ศ. ๒๕65
หลกั แหง่ ชาติ
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตวั ช้ีวดั ค่าเป้าหมาย ผู้รับผดิ ชอบ
ระดบั 5 กสภ.
เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ระดับความสำเรจ็ ในการ
ขับเคล่ือนแผนปฏิบตั ิการ
ด้านการธำรงรักษา
สถาบนั หลักของชาติ
19
นโยบายดา้ นรฐั สงั คม และสง่ิ แวดล้อม
โครงการ/กจิ กรรม โครงการสรา้ งและส่งเสริมความเปน็ พลเมืองดีตามรอยพระยคุ ลบาทด
ระยะเวลาดำเนินการ ตลุ าคม ๒๕64 – กันยายน ๒๕65
ขั้นตอนการดำเนินงาน ปีงบประมาณ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
1. ช้แี จงการดำเนินงานโครงการปี 2565
(ผา่ นระบบ Zoom)
2. ประชุมพจิ ารณาโครงการและงบประมาณในการ
พัฒนาการศกึ ษาตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี
3. โอนจดั สรรงบประมาณ ให้ ศธจ. 77 จังหวัด
พร้อมกบั เงนิ สำหรับยกระดบั คณุ ภาพงาน
โครงการในสว่ นภูมิภาค
4. กำกบั ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานโครงการ
ในส่วนภมู ิภาค
5. แลกเปล่ยี นเรียนรแู้ ละนำเสนอผลการดำเนนิ งาน
โครงการ
6. สรปุ ผลการดำเนินงานและจดั ทำรายงานผล
๒๑
ด้านการศึกษาสกู่ ารปฏิบตั ิ
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตัวชวี้ ดั คา่ เป้าหมาย ผู้รับผดิ ชอบ
ร้อยละ 100 กสภ.
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
รอ้ ยละของผเู้ ข้ารว่ ม
โครงการมคี วามรักและ
เทดิ ทนู ในสถาบัน
พระมหากษัตริยแ์ ละ
ยึดมน่ั ในการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตรยิ ์
ทรงเป็นประมุข
20
นโยบายดา้ นรฐั สังคม และส่ิงแวดลอ้ ม
โครงการ/กิจกรรม โครงการขับเคลอื่ นการจัดการศึกษาและแก้ไขปัญหาสถานะทางทะเบ
ระยะเวลาดำเนนิ การ ตุลาคม ๒๕64 – กันยายน ๒๕65
ขน้ั ตอนการดำเนินงาน ปีงบประมาณ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
1. รับฟังปญั หาและขอ้ เสนอจากพื้นทเี กีย่ วกบั การ
จดั การศกึ ษาและแก้ไขปัญหาสถานะทาง
ทะเบียนราษฎรของเด็กนักเรียนท่ีมีเลขประจำตวั
ขน้ึ ต้นดว้ ยตวั อักษร G ผา่ นระบบ ZOOM
2. ประชมุ คณะอนุกรรมการประสานงานและ
ตดิ ตามการดำเนนิ การกำหนดสถานะบุคคล
ในสถานศึกษา
3. คณะกรรมการดำเนนิ การจดั การศึกษาแก่บคุ คล
ท่ไี มม่ ีหลักฐานทะเบียนราษฎรหรือไม่มสี ัญชาติไทย
4. ประชมุ ช้ีแจงแนวทางการขบั เคล่ือนการจดั
การศกึ ษาและแก้ไขปัญหาสถานะทางทะเบียน
ราษฎรของเด็กนักเรียนท่มี เี ลขประจำตัวข้ึนต้น
ด้วยตัวอักษร G ในระดับจงั หวดั ผา่ นระบบ zoom
5. โอนจดั สรรงบประมาณ ให้ ศธจ. นำรอ่ ง 6
จงั หวดั ประกอบดว้ ย จังหวัดเชียงใหม่ เชยี งราย
ตาก กรุงเทพมหานคร กาญจนบุรี และชลบุรี
๒๒
บียนราษฎรของเด็กนักเรยี นที่มเี ลขประจำตัวขึ้นต้นดว้ ยตวั อกั ษร G
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตัวชวี้ ัด ค่าเป้าหมาย ผู้รับผดิ ชอบ
รอ้ ยละ 80 กสภ.
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
รอ้ ยละของเจา้ หน้าที่
ทเ่ี กย่ี วข้องในจงั หวดั
นำรอ่ ง 6 จังหวัด
(จงั หวัดเชียงใหม่
เชยี งราย ตาก
กรุงเทพมหานคร
กาญจนบรุ ี และชลบุรี)
ได้รบั ความร้เู ก่ียวกับ
ขบั เคลอื่ นการจดั
การศกึ ษาและแก้ไข
ปัญหาสถานะทาง
ทะเบยี นราษฎรของเดก็
นักเรียนทีม่ เี ลขประจำตวั
ขึ้นตน้ ด้วยตัวอกั ษร G
21
ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ
6. ศธจ. นำรอ่ ง 6 จงั หวัด ประกอบด้วย จงั หวดั ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.
เชียงใหม่ เชียงราย ตาก กรงุ เทพมหานคร
กาญจนบรุ ี และชลบรุ ี ขบั เคล่ือนงานในพืน้ ที่
7. แลกเปลยี่ นเรยี นรูผ้ ลการดำเนนิ งานการจัด
การศกึ ษาและแก้ไขปัญหาสถานะทางทะเบยี น
ราษฎรของเด็กนักเรยี นทม่ี ีเลขประจำตวั ขน้ึ ต้น
ด้วยตวั อักษร G ของจังหวัดนำร่อง 6 จังหวัด
ผา่ นระบบ ZOOM
8. สรปุ ผลการดำเนนิ งานและรายงานผล
การดำเนินงาน
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตัวชี้วดั ๒๓
คา่ เปา้ หมาย ผู้รับผดิ ชอบ
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
22
นโยบายด้านรัฐ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม
โครงการ/กิจกรรม โครงการเยาวชนรกั ษ์สง่ิ แวดล้อม
ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕64 – กันยายน ๒๕65
ขัน้ ตอนการดำเนินงาน ปงี บประมาณ
1. จัดทำรายละเอียดโครงการและงบประมาณ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
2. ขออนมุ ตั ิโครงการและวางแผนการดำเนินการ
3. โอนจัดสรรงบประมาณให้ ศลยก.
4. ดำเนนิ การ กจิ กรรมที่ 1 จัดโครงการเยาวชน
รักษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม
5. ดำเนนิ การ กิจกรรมที่ 2 ตดิ ตามประเมนิ ผล
การจดั โครงการเยาวชนรกั ษส์ ิง่ แวดลอ้ ม
ตามแนวทางทกี่ ำหนด
6. ดำเนินการ กจิ กรรมท่ี 3 การประชมุ
เชิงปฏบิ ตั ิการสรปุ ผลการจัดโครงการเยาวชน
รักษส์ ง่ิ แวดล้อม
๒๔
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตัวช้ีวดั คา่ เป้าหมาย ผู้รับผดิ ชอบ
ร้อยละ 80 สกก.
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
รอ้ ยละของนักเรียน
นกั ศกึ ษาที่เขา้ รว่ ม
โครงการ
23
นโยบายด้านรัฐ สงั คม และสงิ่ แวดล้อม
โครงการ/กิจกรรม โครงการ ศธ. จติ อาสาบำเพ็ญประโยชน์
ระยะเวลาดำเนินการ ตุลาคม ๒๕64 – กนั ยายน ๒๕65
ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ
1. ขออนมุ ัติโครงการและงบประมาณ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
2. ประชุมคณะกรรมการดำเนินงานโครงการ
3. ประชมุ ชแี้ จงแนวทางการดำเนินงานโครงการ
ใหแ้ ก่สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั ทุกจงั หวดั
ผ่านระบบออนไลน์ ดว้ ยโปรแกรม Zoom
4. โอนจดั สรรงบประมาณให้แกส่ ำนกั งาน
ศึกษาธิการจังหวัดทุกจังหวดั
5. ประสานงานกบั หน่วยงานท่เี ก่ียวข้องในการ
กิจกรรมจติ อาสาบำเพ็ญประโยชน์ (สว่ นกลาง)
6. จัดพธิ เี ปิดโครงการ ศธ.จติ อาสาบำเพญ็
ประโยชน์ ณ กระทรวงศึกษาธกิ าร
7. จัดกิจกรรมจติ อาสาบำเพ็ญประโยชน์
ในพนื้ ท่ีกรงุ เทพมหานคร จำนวน ๔ แหง่
8. สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ
(ส่วนกลาง)
9. สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการฯ
(สว่ นภมู ิภาค) และสรุปรายงานผลภาพรวม
ของกระทรวงศึกษาธิการ
๒๕
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตวั ชี้วดั คา่ เป้าหมาย ผู้รับผดิ ชอบ
ร้อยละ 85 สกก.
เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
รอ้ ยละความพึงพอใจ
ของผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม
ศธ. จติ อาสาบำเพญ็
ประโยชน์
24
นโยบายด้านรฐั สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม
โครงการ/กจิ กรรม โครงการพฒั นาสมรรถนะการจัดการเรยี นการสอนสำหรบั ศตวรรษที่
ระยะเวลาดำเนนิ การ ตุลาคม ๒๕64 – กนั ยายน ๒๕65
ข้ันตอนการดำเนนิ งาน ปีงบประมาณ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
1. สำรวจความตอ้ งการในการพัฒนาผรู้ บั ใบอนุญาต
ผูบ้ รหิ าร ครู ผู้สอน และบุคลากรโรงเรยี นนอก
ระบบ
2. ดำเนินการอบรมผ้รู ับใบอนุญาต ผู้บริหาร ครู
ผูส้ อน และบุคลากรโรงเรยี นนอกระบบ เพื่อ
พัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนผา่ นสอื่
เทคโนโลยดี ิจทิ ัล
3. ตดิ ตามและประเมินผลสมั ฤทธิ์การพฒั นาการ
จัดการเรยี นการสอน
4. ประชุมสรปุ และรายงานผลการดำเนินโครงการ
๒๖
21 (ประเภทโรงเรียนนอกระบบ)
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตวั ช้วี ัด ค่าเปา้ หมาย ผู้รับผดิ ชอบ
รอ้ ยละ 65 สช.
เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ร้อยละของผผู้ า่ นเกณฑ์
การประเมินผลสัมฤทธ์ิ
จากการฝึกอบรม/พัฒนา
ดา้ นสมรรถนะการจดั
การเรียนการสอน
ในศตวรรษท่ี 21
25
นโยบายดา้ นรฐั สงั คม และสงิ่ แวดลอ้ ม
โครงการ/กิจกรรม โครงการฝึกอาชพี จังหวัดชายแดนภาคใต้ตามแนวทางโรงเรียนพระดา
ระยะเวลาดำเนินการ ตลุ าคม ๒๕64 – กนั ยายน ๒๕65
ขนั้ ตอนการดำเนินงาน ปีงบประมาณ
1. เสริมสร้างทักษะชีวิต เตรียมความพร้อมศิษย์ ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
พระดาบส รุ่นที่ 12
2. จดั กระบวนการเรยี นรู้ฝกึ ทักษะอาชีพระยะสัน้
และพัฒนาคุณภาพชวี ิต รุ่นที่ 12
3. จดั กระบวนการเรียนรู้ฝกึ ทกั ษะอาชีพระยะส้นั
และพัฒนาคณุ ภาพชีวิต รนุ่ ที่ 12
4. สง่ เสริมการเรยี นรู้คู่อาชพี เพอ่ื พฒั นาการเกษตร
ทย่ี ัง่ ยนื
5. พระดาบสเคลือ่ นที่ร่วมกบั กศน.บรกิ ารประชาชน
6. พฒั นาคุณภาพสถานศึกษา
- พัฒนาบคุ ลากรและพัฒนาศิษย์
- พัฒนาสถานศกึ ษา
7. สรปุ และรายงานผลการดำเนินโครงการ
๒๗
าบส
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตวั ชี้วัด ค่าเป้าหมาย ผู้รับผดิ ชอบ
รอ้ ยละ 85 ศค.จชต.
เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ร้อยละ 100 ของผู้เรียน
จบหลกั สตู รการฝกึ อาชพี
ตามแนวทางโรงเรยี น
พระดาบสจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ มคี วาม
มน่ั คงในการประกอบ
อาชีพ มีรายได้ และนำ
ความรูท้ ไี่ ด้รับไปศกึ ษา
ต่อในระดับทส่ี งู กวา่
26
นโยบายด้านรฐั สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม
โครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสรมิ การอยรู่ ว่ มกันในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมจงั หวดั ชายแดน
ระยะเวลาดำเนนิ การ ตุลาคม ๒๕64 – กนั ยายน ๒๕65
ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค.
1. ตดิ ตาม ขยายผล การใชค้ มู่ ือแนวทางการบูรณาการ
ความรู้ ความเขา้ ใจในการอยู่ร่วมกนั ในสงั คม
พหวุ ฒั นธรรมสสู่ ถานศกึ ษา
1.1 ประชุมเชงิ ปฏิบัติการเตรียมความพร้อม
คณะทำงานการอยูร่ ว่ มกันในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม
จังหวัดชายแดนภาคใต้
1.2 เสริมสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และขยายผล
การใช้ค่มู ือแนวทางการบูรณาการความรู้ ความ
เขา้ ใจในการอย่รู ่วมกันในสงั คมพหวุ ฒั นธรรมสู่
สถานศกึ ษา
2. ค่าย“ประวัตบิ ้านตำนานเมือง”รเู้ ขา รเู้ รา สรา้ ง
สนั ติสขุ ชายแดนใต้ (พฒั นาความรู้ ความเข้าใจ
และทักษะการดำเนินชีวิตบนความแตกตา่ งและ
หลากหลายทางวฒั นธรรม)
3. อาสาพัฒนาแหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน เสริมสรา้ ง
สังคมพหวุ ฒั นธรรมท่เี ข้มแขง็
4. สรปุ ผลการดำเนนิ งานและเผยแพรผ่ ลงาน
4.1 ประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ ารสรปุ ผลการดำเนินงาน
4.2 สร้างการรับรแู้ ละเผยแพรผ่ ลงาน
๒๘
นภาคใต้
ณ พ.ศ. ๒๕65 ตัวชวี้ ัด ค่าเปา้ หมาย ผู้รับผดิ ชอบ
ระดบั ความสำเร็จในการ รอ้ ยละ 90 ศค.จชต.
เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. สง่ เสรมิ การอยรู่ ่วมกันใน ของกลุ่ม
สังคมพหวุ ฒั นธรรม เปา้ หมายทเี่ ข้า
จังหวัดชายแดนภาคใต้ รว่ มกิจกรรม
และดำเนินงาน
เป็นไปตาม
กิจกรรมท่ี
กำหนด
(ทัง้ 4
กจิ กรรม)
27