928
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ วิศวกรน้อย
รหัสวชิ า ว22103 รายวิชา เทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์
ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เวลา ๑๐ ช่ัวโมง
1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชี้วดั
สาระ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐานการเรยี นรู้
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดารงชีวิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืนๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ
พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง
เหมาะสมโดยคานงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ติ สงั คม และสิง่ แวดล้อม
ตวั ชีว้ ัด
ว 4.1 ม.2/2 ระบุปัญหาหรือความต้องการในชุมชนหรือท้องถ่ิน สรุปกรอบของปัญหา รวบรวม
วเิ คราะห์ขอ้ มูลและแนวคดิ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับปัญหา
ว 4.1 ม.2/3 ออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บ และตัดสินใจเลือกข้อมลู ที่จาเป็น
ภายใตเ้ งอื่ นไขและทรพั ยากรท่ีมีอยู่ นาเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจ วางแผนข้นั ตอนการทางาน
และดาเนินการแก้ปญั หาอยา่ งเป็นข้นั ตอน
ว 4.1 ม.2/4 ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธบิ ายปญั หาหรือข้อบกพรอ่ งท่ีเกิดขึ้น ภายใต้กรอบเงอ่ื นไข
พรอ้ มทั้งหาแนวทางการปรบั ปรงุ แก้ไข และนาเสนอผลการแกป้ ญั หา
ว 4.1 ม.2/5 ใช้ความรูแ้ ละทกั ษะเก่ยี วกับวัสดุอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือ กลไก ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เพ่อื
แกป้ ัญหาหรือพฒั นางานไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม และปลอดภยั
2. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
2.1 วัสดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ พลาสติก จึงต้องมีการวิเคราะห์สมบัติเพื่อ
เลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมกับลักษณะของงาน
2.2 การสร้างชนิ้ งานอาจใชค้ วามรูเ้ ร่อื งกลไก เชน่ เฟอื ง รอก ล้อ เพลา
2.3 อปุ กรณ์และเคร่อื งมอื ในการสรา้ งชน้ิ งานหรอื พัฒนาวธิ ีการมีหลายประเภท ต้องเลือกใช้ให้ถกู ต้อง
เหมาะสม และปลอดภัย รวมทงั้ รู้จกั เกบ็ รักษา
3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. กระบวนการเทคโนโลยี
2. ววิ ัฒนาการของเทคโนโลยี
929
ทกั ษะ/กระบวนการ
1. ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์
2. ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
3. ทักษะกระบวนการสืบค้น
4. ทักษะกระบวนการนาเสนอ
5. ทักษะกระบวนการสร้างเจตคติ
เจตคติ
1. มวี ินยั
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มุง่ ม่ันในการทางาน
4.สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ
5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ
2. มีวินัย
3. ใฝเ่ รยี นรู้
4. มุ่งมน่ั ในการทางาน
5. การประเมินผลรวบยอด
6. การประเมินผลรวบยอด
ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน
- ใบงานท่ี 16.1 กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมสาหรับแขนกล
- ใบงานที่ 17.1 ทดลองต่อวงจรไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์
- ใบงานท่ี 17.2 การเลอื กใช้เครือ่ งมือชา่ งที่เหมาะสมกบั ลกั ษณะของงาน
- ใบงานท่ี 17.3 ความปลอดภัยในการปฏิบัตงิ าน
- ใบงานท่ี 18.1 เรอื่ ง ออกแบบแขนกลด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
- ใบงานท่ี 18.2 เรอ่ื ง จาลองระบบแขนกลด้วย tinkercad หรือ micro:bit
- ใบงานท่ี 19 เรื่อง การสรา้ งแขนกลอย่างงา่ ย
930
เกณฑก์ ารประเมนิ ผลชิ้นงานหรอื ภาระงาน
เกณฑ์การให้คะแนนช้นิ งานด้วยการวดั และประเมนิ ตามสภาพจรงิ
ประเด็นการประเมนิ ระดบั คะแนน
กระบวนการเทคโนโลยี
43 2 1
วิวฒั นาการของ บอกระบบ และ
เทคโนโลยี เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ กระบวนการ
เทคโนโลยไี ด้
ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ อธิบายระบบ อธบิ ายระบบ และ อธิบายระบบ และ
อ้างองิ ทักษะการคดิ บอกวิวัฒนาการ
วเิ คราะห์ (2548:5) กระบวนการ กระบวนการ กระบวนการ ของเทคโนโลยไี ด้
สพฐ.
เทคโนโลยีได้ เทคโนโลยีได้ เทคโนโลยไี ด้ ระบแุ ละจาแนก
เรือ่ งหรอื ปัญหา
ครบถ้วน และ ครบถว้ น บางสว่ น ได้
แสดงแผนภาพ
ระบบ
กระบวนการ
เทคโนโลยีได้
อธบิ าย อธิบายวิวัฒนาการ อธบิ ายววิ ัฒนาการ
วิวัฒนาการของ ของเทคโนโลยไี ด้ ของเทคโนโลยีได้
เทคโนโลยีได้ และการเลือกใช้ได้
เลอื กใช้ไดอ้ ย่าง อยา่ งเหมาะสม
เหมาะสม และ
อธิบาย
ผลกระทบของ
เทคโนโลยีได้
เกณฑ์การประเมินดา้ นทักษะและกระบวนการ
ระบุเรื่องหรือ ระบุเร่อื งหรือปญั หา ระบุเร่อื งหรือปัญหา
ปัญหา การ การจาแนกแยกแยะ การจาแนกแยกแยะ
จาแนกแยกแยะ การเปรียบเทยี บ การเปรียบเทียบ
การเปรียบเทียบ ขอ้ มลู อน่ื ๆ และ ข้อมูลได้
ข้อมูลอืน่ ๆ ตรวจสอบข้อมูล
ตรวจสอบขอ้ มลู อยา่ งชานาญ
อยา่ งชานาญ
และหาข้อมลู
เพ่ิมเติมเพื่อให้
และแมน่ ยา
931
ประเด็นการประเมิน 4 ระดับคะแนน 1
ทกั ษะกระบวนการ เพียงพอแกก่ าร 32
แก้ปญั หา ระบุปญั หาและ
ตัดสนิ ใจ ความตอ้ งการได้
ทักษะกระบวนการ
สบื คน้ ระบปุ ญั หา ระบปุ ญั หา ความ ระบุปญั หา ความ กาหนด
จดุ ประสงค์การ
ทักษะกระบวนการ ความต้องการ ตอ้ งการ สบื คน้ ตอ้ งการ และสืบค้น สบื คน้ ข้อมลู ได้
นาเสนอ อย่างชัดเจน
สบื ค้นข้อมูลท่ี ขอ้ มลู ท่ีเก่ยี วข้องกับ ข้อมูลที่เก่ียวข้องกบั
พดู บรรยาย
เกี่ยวข้องกับ ปัญหา และ ปัญหาได้ อธิบาย สอ่ื สาร
ใหผ้ ้อู ืน่ เขา้ ใจ
ปัญหา ออกแบบ ออกแบบวาง เน้อื หา ผลงาน ท่ี
ต้องการสอื่ สาร
วางแผนการ แผนการแก้ปัญหาได้ ได้
แก้ปญั หา และ
ถา่ ยทอด
ความคดิ แนว
ทางการ
แก้ปญั หาได้
กาหนด กาหนดจุดประสงค์ กาหนดจุดประสงค์
จดุ ประสงค์การ การสืบค้นข้อมลู ได้ การสบื ค้นข้อมูลได้
สบื ค้นข้อมูลได้ อยา่ งชัดเจน เลอื ก อยา่ งชัดเจน เลอื ก
อยา่ งชดั เจน แหล่งข้อมลู ท่ี แหล่งข้อมลู ท่ี
เลอื ก หลากหลายและมี หลากหลาย
แหล่งขอ้ มลู ท่ี ความน่าเชอ่ื ถือ
หลากหลาย มี
ความน่าเชือ่ ถือ
และเลือกใช้
ข้อมลู ได้อย่าง
ถกู ต้อง
พดู บรรยาย พูดบรรยาย อธบิ าย พดู บรรยาย อธิบาย
อธิบาย สาธิต สาธติ และใชส้ ่ือ และสาธติ เพื่อ
และใชส้ ่ือ มัลติมเี ดยี ร์ สอื่ สารให้ผอู้ ื่นเข้าใจ
โซเชยี ลมีเดยร์ ประกอบการ เน้อื หา ผลงาน ที่
เทคโนโลยอี นื่ นาเสนอเพื่อสือ่ สาร ตอ้ งการสือ่ สารได้
ประกอบการ ใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจเน้ือหา
นาเสนอเพ่ือ ผลงาน ทตี่ อ้ งการ
สอื่ สารใหผ้ ู้อ่ืน สื่อสารได้
932
ประเดน็ การประเมิน ระดบั คะแนน
ทักษะกระบวนการ 43 2 1
สร้างเจตคติ
อ้างอิง คณุ ลักษณะอัน เขา้ ใจเนือ้ หา พดู และ
พงึ ประสงค์การศึกษา แสดงออกเพือ่
ขนั้ พน้ื ฐาน สพฐ. ผลงาน ที่ โนม้ นา้ วใหผ้ อู้ น่ื
แสดงพฤติกรรม
มีวินัย ต้องการสอื่ สาร ตามคณุ ลักษณะ
อนั พึงประสงค์ได้
ใฝเ่ รยี นรู้ ได้ 1-2 ข้อ
พูดและ พดู และแสดงออก พูดและแสดงออก ไม่ค่อยปฏบิ ตั ิ
ตามกฎระเบียบ
แสดงออกเพอื่ เพือ่ โน้มนา้ วให้ผู้อ่ืน เพ่ือโน้มน้าวใหผ้ ู้อ่ืน กตกิ า ของ
โรงเรียน ของ
โน้มน้าวใหผ้ ูอ้ ่ืน แสดงพฤติกรรมตาม แสดงพฤติกรรมตาม ห้องเรยี น ของ
กลุม่ ก่อกวน
แสดงพฤติกรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ คณุ ลกั ษณะอนั พึง ความราคาญให้
ครูและเพื่อนใน
ตามคุณลักษณะ ประสงค์ได้5-6 ขอ้ ประสงค์ได้ 3-4 ขอ้ ห้องเรยี น
เปน็ บางคร้ัง
อันพงึ ประสงค์ได้
ไมม่ ีความ
7-8 ขอ้ กระตือรอื รน้
ขาดความอดทน
เกณฑ์การประเมนิ ด้านเจตคติ อดทน ไม่รู้จัก
แสวงหาความรู้
ปฏิบัตติ าม ปฏิบัติตาม ปฏบิ ัติตาม จากแหล่งเรยี นรู้
อื่นๆ
กฎระเบียบ กฎระเบียบ กติกา กฎระเบยี บ กติกา
กติกา ของ ของโรงเรยี น ของ ของโรงเรยี น ของ
โรงเรยี น ของ ห้องเรยี น ของกลมุ่ ห้องเรยี น ของกลมุ่
หอ้ งเรยี น ของ ไม่ก่อกวนความ ได้เป็นสว่ นใหญ่
กลุม่ ด้วยความ ราคาญให้ครูและ ไมก่ ่อกวนความ
เต็มใจ ไม่ เพอื่ นในห้องเรยี น ราคาญใหค้ รูและ
กอ่ กวนความ เพ่อื นในห้องเรียน
ราคาญใหค้ รูและ
เพอ่ื นใน
ห้องเรยี น
มคี วาม มคี วามกระตือรือรน้ มคี วามกระตือรอื ร้น
กระตือรอื ร้น อดทน รจู้ ักแสวงหา อดทน ในบางครัง้
อดทน เพียร ความรู้จากแหล่ง ร้จู ักแสวงหาความรู้
พยายาม เรียนร้อู น่ื ๆ จากแหล่งเรียนรู้
มงุ่ มน่ั ร้จู กั อยู่เสมอๆ อ่นื ๆ
แสวงหาความรู้
จากแหล่งเรยี นรู้
อ่นื ๆ อยเู่ สมอๆ
933
ประเด็นการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1
32
มงุ่ มั่นในการทางาน ทางานท่ีไดร้ ับ ทางานที่ไดร้ บั ทางานที่ไดร้ ับ ทางานที่ไดร้ บั
มอบหมายเสรจ็ มอบหมายเสร็จตาม มอบหมายเสรจ็ ตาม มอบหมายไม่
ตามกาหนดเวลา กาหนดเวลา กาหนดเวลา เสร็จตาม
ผลงานมคี วาม ผลงานมีความ ผลงานมคี วาม กาหนดเวลา
ถูกต้อง ละเอียด ถูกต้อง เรยี บร้อย ถกู ต้อง แตย่ งั ไม่ ผลงานไม่มีความ
ประณตี เรยี บร้อย เรียบร้อย
เรียบรอ้ ย
เกณฑ์การประเมินดา้ นสมรรถนะ
ความสามารถในการ นาเสนอ นาเสนอ อภปิ ราย อภิปราย และตอบ ตอบคาถามได้
ส่อื สาร อภิปรายและ และตอบคาถามได้ คาถามไดเ้ ขา้ ใจงา่ ย เข้าใจง่าย
ตอบคาถามได้ เข้าใจงา่ ย เหมาะสม เหมาะสมกบั เหมาะสมกบั
เขา้ ใจงา่ ย และมี กบั ลักษณะข้อมูล ลกั ษณะข้อมลู ลกั ษณะข้อมลู
วธิ ีการนา่ สนใจ
เหมาะสมกบั
ลกั ษณะข้อมูล
ความสามารถในการ มีความสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถ
คดิ (คิดสร้างสรรค์) ในการคดิ 4 การคิด 3 การคดิ 2 ในการคดิ 1
1. คิดรเิ ร่ิม องค์ประกอบ องค์ประกอบ องคป์ ระกอบ องค์ประกอบ
2. คดิ คล่องแคลว่
3. คดิ ยดื หยนุ่
4. คิดละเอียดลออ
อ้างอิงจาก อารี รังสิ
นนั ท์.
(2527). ความคิด
สรา้ งสรรค.์ กรุงเทพฯ :
ธนกจิ การพิมพ์.
ความสามารถในการ มีความสามารถ มีความสามารถในใช้ มคี วามสามารถในใช้ มคี วามสามารถ
แกป้ ัญหา ในใช้ กระบวนการ กระบวนการ ในใช้
ขัน้ ท่ี 1 การทาความ กระบวนการ แกป้ ัญหา 3 ขนั้ แก้ปัญหา 2 ข้ัน กระบวนการ
เข้าใจในปญั หา แกป้ ัญหา 4-5 แกป้ ญั หา 1 ขนั้
ขนั้ ท่ี 2 การนิยามและ ขน้ั
รวบรวมข้อมูลท่ี
934
ประเด็นการประเมนิ 4 ระดบั คะแนน 1
32
เกย่ี วข้องกับปัญหา
ขนั้ ที่ 3 การนาเสนอ
ทางเลือกหรือแนวทาง
ในการแก้ปญั หา
ข้ันท่ี 4 ตัดสินใจเลอื ก
แนวทางการแก้ปญั หา
ทเ่ี หมาะสม
ขน้ั ที่ 5 การลงมอื
ปฏบิ ัตกิ ารแกป้ ัญหา
และตรวจสอบวิธีการ
แกป้ ัญหา
อา้ งองิ การใช้
กระบวนการออกแบบ
เชงิ วิศวกรรมเพ่ือ
เสริมสรา้ งความคดิ
สร้างสรรค์และทักษะ
การแกป้ ัญหา สสวท.
ความสามารถในการใช้ มสี มรรถนะ มสี มรรถนะทักษะ มีสมรรถนะทักษะ มสี มรรถนะ
ชีวิต 3 ดา้ น ชวี ติ 2 ดา้ น ทักษะชวี ติ 1
ทักษะชวี ิต ทกั ษะชีวิต 4 ดา้ น
1. การตระหนกั รู้และ ดา้ น
เหน็ คุณค่าในตนเอง
และผู้อื่น
2. การคิดวเิ คราะห์
ตดั สินใจ และ
แก้ปญั หาอย่าง
สรา้ งสรรค์
3. การจดั การกบั
อารมณ์และ
ความเครียด
4. การสรา้ ง
สัมพันธภาพทดี่ ีกบั
ผูอ้ นื่
935
ประเด็นการประเมนิ ระดับคะแนน
อา้ งอิง คมู่ ือทักษะชีวิต 43 2 1
สพฐ.
ความสามารถในการใช้ มคี วามสามารถ มคี วามสามารถใน มีความสามารถใน มคี วามสามารถ
เทคโนโลยี ในการใชท้ ักษะ การใชท้ กั ษะและ การใชท้ กั ษะและ ในการใชท้ ักษะ
1. กระบวนการ และ กระบวนการทาง กระบวนการทาง และกระบวนการ
ออกแบบเชิงวิศวกรรม กระบวนการทาง เทคโนโลยี 3-4 เทคโนโลยี 2 ทางเทคโนโลยี 1
2. การคิดเชิงระบบ เทคโนโลยี 5-6 ประเด็น ประเด็น ประเดน็
3. ความคิดสร้างสรรค์ ประเดน็
4. การคดิ อยา่ งมี ความซ่ือสัตย์ต่อ
วิจารณญาณ เกณฑ์การประเมนิ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ การทางานดู
5. การสอ่ื สาร ผลงานของผู้อน่ื
6. การทางานร่วมกับ มีความซ่ือสัตย์ ความซ่อื สตั ยต์ ่อการ ความซื่อสตั ย์ต่อการ เปน็ ตวั อย่าง
ผ้อู นื่
อา้ งอิง คมู่ ือการใช้
หลกั สูตรวชิ าพน้ื ฐาน
วิทยาศาสตร์ สาระ
เทคโนโลยี สสวท.
ซือ่ สตั ย์สุจรติ
ต่อการทางานไม่ ทางานไมค่ ัดลอก ทางานไม่คัดลอก
คัดลอกผลงาน ผลงานของผู้อ่ืน ผลงานของผู้อื่น
ของผู้อนื่ และมี และมีความคดิ
ความคดิ สร้างสรรค์
สร้างสรรค์ ทา
ช้นิ งานสวยงาม
เกณฑก์ ารตดั สิน
คะแนน 10-12 หมายถงึ ระดบั คุณภาพ ดีมาก
คะแนน 7-9 หมายถงึ ระดับคุณภาพ ดี
คะแนน 4-6 หมายถึง ระดับคุณภาพ พอใช้
คะแนน 0-3 หมายถึง ระดับคุณภาพ ปรับปรุง
เกณฑก์ ารผา่ น ต้ังแตร่ ะดับ........ดีข้นึ ไป................
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 16 เรื่อ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง วิศวกร
รายวิชา เทค
ขอบเขตเน้อื หา
1. การระบปุ ัญหาจาเปน็ ต้องมีการ กจิ กรรมการเรยี นรู้
ขน้ั นา
วเิ คราะหส์ ถานการณ์ของปัญหาเพอ่ื สรปุ
กรอบของปัญหาแล้วดาเนนิ การสบื คน้ 1. นกั เรยี นดรู ปู ภาพและสื่อวิดที ศั นเ์ ก
รวบรวมขอ้ มลู ความรจู้ ากศาสตรต์ ่างๆ ที่ 2. นักเรยี นอภปิ รายแลกเปลี่ยนความ
เก่ียวขอ้ งเพ่ือนาไปสู่การออกแบบแนว ปญั หาในการเคล่อื นที่ของแขนกล
ทางการแกป้ ัญหา ขั้นสอน
1. นักเรยี นสารวจและคน้ หาหวั ข้อตา
จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ นักเรยี นสงั เกต ตวั อย่างแขนกลและชนิ้ ส
ดา้ นความรู้ (K) เป็นขอ้ มลู พื้นฐานในการออกแบบแขนก
คน ระดมความคดิ แลว้ รว่ มกันปฏบิ ตั ใิ น
1. บอกการทางานของฮาร์ดแวรห์ รือ ออกแบบเชงิ วศิ วกรรมสาหรบั แขนกล ต
ออกแบบส่งิ ของเครอ่ื งใชใ้ นการแก้ปัญหาได้ นาเสนอหนา้ ชัน้ เรียน กาหนดเวลาในกา
อย่างเหมาะสม นาที โดยมคี รูเปน็ ผ้กู ระตุน้ และเสรมิ แรง
2. ใหแ้ ต่ละกล่มุ นาเสนอผลงานหน้าช
2. สารวจปัญหาหรือความต้องการของ - สรปุ ประเภทและการประยุกต์ใช้เท
ตนเอง ชุมชนหรอื ท้องถ่ิน ไฮดรอลิกส์ทีใ่ ช้ในงานด้านตา่ งๆ
- แสดงผลการเปรยี บเทียบการทางา
3. อธบิ ายปัญหาของสถานการณ์ต่างๆ
เพ่อื สรุปกรอบของปัญหาในการสืบคน้
936
อง สารสนเทศกบั การแกป้ ัญหา ด เวลา 2 ชวั่ โมง
รนอ้ ย ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2
คโนโลยี
กย่ี วกบั แขนกลในรูปแบบตา่ งๆ สือ่ /แหลง่ เรยี นรู้
มคิดเห็นเกี่ยวกบั แขนกล และ 1. เวบ็ ไซตส์ าหรับสบื ค้น
- คลปิ แขนกลในอุตสาหกรรม
ามทีก่ าหนดจากอินเทอรเ์ น็ต ให้ https://www.youtube.com/watch?v=sWgvIA
ส่วนประกอบท่ีเกยี่ วข้อง เพอ่ื ใช้ kfqXQ
กล นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 4 - คลปิ การทางานของ Hydraulic
นใบงานที่ 16.1 กระบวนการ https://www.youtube.com/watch?v=Ap_0P
ตามสถานการณท์ ีก่ าหนดใหโ้ ดย mLMlNA
ารทากจิ กรรมประมาณ 5 - 10 - คลิปการทางานของแขนกลการเกษตร
ง https://www.youtube.com/watch?v=mlBJTg
ชนั้ เรียนตามประเด็นตอ่ ไปน้ี RHPiA
ทคโนโลยีแขนกลและระบบ - คลิปการทางานของแขนกลการบริการ
https://av.voanews.com/Videoroot/Pangeavi
deo/2017/04/b/bf/bf47626c-173e-401d-
a16f-02852214a26a.mp4
านของเทคโนโลยีแขนกลและ - คลปิ การทางานของแขนกลการทหาร
https://www.youtube.com/watch?v=p3MVcJ
IARrA
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ 16 เรือ่
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง วิศวกร
รายวิชา เทค
รวบรวมข้อมูลจากแหลง่ ข้อมูลทเ่ี ชื่อถอื ได้
อยา่ งเหมาะสม ระบบไฮดรอลิกส์
ดา้ นทักษะและกระบวนการ (P) - แสดงผลการนาเทคโนโลยแี ขนกล
ไฮดรอลิกสม์ าใช้ในงานอตุ สาหกรรม
1. สรปุ กรอบของปญั หา รวบรวม - สรุปแนวโน้มของเทคโนโลยีแขนก
วิเคราะหข์ ้อมลู จากศาสตรต์ า่ งๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง 3. นักเรียนรว่ มกันวเิ คราะห์ประเดน็ ท
เพ่อื นาไปสูก่ ารออกแบบแนวทางการ
แกป้ ญั หาและสรา้ งชิ้นงาน ผอู้ านวยการเรยี นรู้ และอาจเขยี นบทสร
ดา้ นคณุ ลักษณะ (A) ขน้ั สรปุ
1. มคี วามรับผดิ ชอบ 1. นักเรยี นและครรู ว่ มกันอภิปรายส
2. ซอื่ สตั ย์ กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมสาห
3. มุ่งมั่นในการทางาน
2. นักเรยี นสรุปและบนั ทึกความรู้ทไี่
สาคัญลงในสมุดเรยี น
937
อง สารสนเทศกับการแกป้ ัญหา ด
รน้อย เวลา 2 ชัว่ โมง
คโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2
ภาระงาน/ชิ้นงาน
ลและระบบ ใบความรทู้ ี่ 16.1 ระบบแขนกลเบอ้ื งตน้
ม ใบงานท่ี 16.1 กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม
กลในอนาคต สาหรบั แขนกล
ทีแ่ ตล่ ะกลุ่มนาเสนอ โดยมคี รเู ปน็ สถานท:ี่ ห้องคอมพวิ เตอร์
รุปลงในกระดาษปรุ๊ฟ หรือสมุด
สรุปผลกิจกรรมการเรียนรู้
หรับแขนกล
ไดร้ บั จากการเรยี นรู้ทเ่ี ปน็ ประเด็น
938
การวดั และประเมินผล วิธีการ เครอื่ งมือทใ่ี ช้ เกณฑ์
สง่ิ ที่ต้องการวัด/ประเมนิ - ตรวจใบงานที่ 16.1 - แบบประเมนิ ผลดา้ น - นกั เรยี นทกุ คนผา่ น
ด้านความรู้ (K) กระบวนการออกแบบเชงิ ความรู้ เกณฑ์ไม่ต่ากว่า
1. บอกการทางานของ วิศวกรรมสาหรบั แขนกล ใบงานท่ี 16.1 กระบวนการ รอ้ ยละ 80
ฮาร์ดแวร์ ออกแบบเชิงวิศวกรรม
2. อธิบายปญั หาของ - สงั เกตพฤติกรรมการ สาหรับแขนกล - นกั เรียนทุกคนผา่ น
สถานการณต์ ่างๆ ได้ เรยี นรูข้ องนักเรียน - แบบประเมนิ ผลด้าน เกณฑ์ไม่ต่ากว่า
ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ กระบวนการคดิ วิเคราะห.์ ร้อยละ 80
(P) - นกั เรียนทกุ คนผ่าน
- แบบประเมนิ ผลด้าน เกณฑ์ไม่ต่ากวา่
ด้านคณุ ลกั ษณะ (A) คณุ ลักษณะเทียบกับเกณฑ์ รอ้ ยละ 80
939
8. บันทึกผลหลังสอน
ผลการเรียนรู้
............................................................................................................................. ................................................
ปัญหาและอปุ สรรค
.................................................................................................................................................................... ......
ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแกไ้ ข
............................................................................................. ..............................................................................
ลงช่อื ......................................ผูส้ อน
(.......................................................)
วันท.่ี .....เดือน...............................พ.ศ.............
9. ความคดิ เห็น/ข้อเสนอแนะของผบู้ ริหารหรอื ผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย
...........................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ......................................ผู้ตรวจ
(.......................................................)
วันท.่ี .....เดือน...............................พ.ศ.............
940
ใบความรู้ที่ 16 ระบบแขนกลเบ้ืองตน้
ระบบแขนกล (Robot Arm System) คือระบบการทางานที่มีการใช้เคร่ืองจักรกลทางานแทน ทรัพยากร
มนุษย์ในกรณีน้ีมีลักษณะเป็นเหมือนแขนของคน ใช้สาหรับงานที่มีการหยิบจับ และเคล่ือนย้ายวัตถุ จากตาแหน่ง
หนง่ึ ไปอีกตาแหน่งหนึ่ง การใชง้ านของระบบแขนกลเหมาะสาหรบั ใชใ้ นงานทมี่ ีความอนั ตรายเกินกวา่ ท่ี จะเสีย่ งให้
มนุษย์ทา เช่น งานหยิบจับวัตถุมีอุณหภูมิสูงๆ รวมถึงการนามาใช้งานท่ีมีรูปแบบเดิมซ้าซากเพราะจะสามารถต้ัง
โปรแกรมการทางานของแขนกลให้ทางานซา้ แบบเดมิ ไดจ้ ึงไมเ่ ปน็ การสิน้ เปลืองทรัพยากรมนุษยใ์ นการทางาน และ
ทาใหก้ ารทางานไวขึ้น เน่ืองจากไมม่ ีความเหนือ่ ยล้าเหมอื นทรัพยากรมนุษย์
ลกั ษณะของระบบแขนกล
เน่ืองจากหุ่นยนต์อุตสาหกรรมได้รับการออกแบบสร้างข้ึนมา เพ่ือทาหน้าท่ีแทนคน ดังนั้น ลักษณะการ
ออกแบบจึงมักจะเป็นส่วนบนของลาตัวมนุษย์ ประกอบด้วยหัวไหล่ แขน และมือ โดยปกติแล้ว มักออกแบบเป็น
แขนเดียว ในบางแบบได้ออกแบบให้แขนเคลื่อนที่อยู่บนทางเล่ือนได้ อาจจาแนกโครงสร้างของหุ่นยนต์ได้ 4 แบบ
ได้แก่
โครงสร้างคารท์ เี ซยี น หรือฉาก
โครงสร้างคาร์ทีเซียน หรือฉาก (cartesian or rectangular) เป็นโครงสร้างที่ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ที่
วางไว้ตั้งฉากซ่ึงกันและกัน 3 ส่วน ซ่ึงทาให้สามารถเคล่ือนท่ีไปยังจุดที่ต้องการได้โครงสร้างคาร์ทีเซี ยนหรือ
โครงสรา้ งฉาก การเคลอ่ื นท่ขี องแกนการทางานทงั้ สามแกน จะตงั้ ฉากกัน ให้เหน็ ถึงหนุ่ ยนตร์ ะบบลมในงานเจาะ
โครงสร้างทรงกระบอก (cylindrical)
โครงสรา้ งทรงกระบอก (cylindrical) มแี ขนเกาะกับ
แกนกลาง ซ่ึงเปน็ หลัก แขนน้ันสามารถเคล่ือนท่ขี ึ้นลง
หมนุ รอบแกน และสามารถบิดและหดได้ แขนสามารถยดื
และหดได้ตามแนวแกนเสาท่ีรองรบั แขนสามารถขน้ึ ลงได้
ตามระดบั ความต้องการ
941
โครงสร้างเชงิ ขวั้ (polar)
โครงสรา้ งเชงิ ขั้ว (polar) มลี าตวั ที่บิดได้ มีแขนทห่ี มนุ และยืดหดได้
โครงสรา้ งมนษุ ย์ (antropomorphic)
โครงสรา้ งมนุษย์ (antropomorphic) เปน็ โครงสรา้ งทเี่ ลียนแบบโครงสรา้ งของมนุษย์ ในหนุ่ ยนต์
อตุ สาหกรรม มีลักษณะเปน็ ส่วนบนของลาตัวมนุษย์ ประกอบด้วยหัวไหล่ แขนท่อนบน แขนท่อนลา่ ง ข้อมือและ
มือโครงสรา้ งมนุษย์ และลักษณะการเคล่อื นทีด่ ว้ ยระบบไฮโดรลกิ ส์ และระบบเซอรโ์ วมอเตอร์กระแสตรง
อุปกรณใ์ หก้ าลังขบั เคล่ือนแขนกล
ในปจั จุบนั มีอุปกรณใ์ ห้กาลงั ขบั เคลือ่ นแขนกลอยู่ 3 ชนิด คือ มอเตอรก์ ระแสไฟตรง นิวแมตกิ ส์ และไฮโดรอลิกส์
1. มอเตอร์กระแสไฟตรง คือ อุปกรณ์ขับเคลื่อนหมุนรอบตัวเองได้ ด้วยพลังงานจากระแสไฟตรง เป็น
อปุ กรณ์ท่ีใช้ได้สะดวก งา่ ยต่อการควบคุม และตาแหน่งแม่นยา ปัญหาสาคัญคือ มีกาลังจากัด และมีปัญหาในการ
นาหุน่ ยนตท์ ข่ี บั เคลื่อนด้วยไฟฟา้ ไปใชใ้ นบรเิ วณที่มวี ัตถุไวไฟ เช่น งานพ่นสี เปน็ ต้น
2. นิวแมติกส์ เป็นระบบท่ีขับเคลื่อนทางตรง ทางโค้งหรือหมุนได้ ด้วยแรงอัดของลม เป็นอุปกรณ์ท่ีราคา
ถูก และยุ่งยากน้อยทีส่ ุด ปัญหาทส่ี าคัญอยทู่ ่กี ารควบคุมความเร็ว และตาแหน่ง
3. ไฮโดรลิกส์เป็นระบบท่ีขับเคล่ือนด้วยแรงอัดของน้ามัน เป็นอุปกรณ์ท่ีราคาแพง ให้กาลังสูง มีอุปกรณ์
อยู่หลายแบบ สามารถเลือกใชเ้ หมาะสมกับงานได้ เช่น การเคล่อื นที่เปน็ เสน้ ตรง หรอื แบบหมุน เปน็ ต้น ระบบการ
ควบคุมมักใช้ไฟฟ้า แต่เนื่องจากใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าน้อย และใช้กาลังไฟฟ้าต่ามาก จึงสามารถใช้หุ่นยนต์ท่ีขับเคล่ือน
ดว้ ยระบบไฮโดรลิกส์กบั บริเวณทวี่ ตั ถไุ วไฟได้
942
มือแขนกล
มือแขนกลจะยึดติดกบั สว่ นของแขนกลทีเ่ ปน็ ข้อมือ (wrist) ซ่งึ สามารถหมุนได้อย่างอิสระ 3 แนวแกน คือ
แกนบดิ ในระนาบท่ตี ั้งฉากกบั ปลายแขน แกนเงยขนึ้ ลงจะหมุนในระนาบที่ตัง้ ฉากกบั พื้น และแกนส่ายจะหมนุ ใน
ระนาบท่ีขนานกับแกน อย่างไรตามลกั ษณะการใชง้ าน ส่วนใหญ่จะทางานเพียง 2 ทศิ ทางเท่าน้นั เชน่ แขนกลที่ใช้
ในงานเช่ือม ในลักษณะท่ีสมมาตร จะใหค้ วามอิสระของข้อมอื เพยี ง 2 แกนเท่านั้น อย่างไรก็ตาม ในกรณีงานที่
คอ่ นข้างยุง่ ยาก อาจใช้ถึง 3 แกนข้อสาคญั ของข้อมือ โดยจะต้องสรา้ งให้มคี วามมัน่ คง และมนี ้าหนักนอ้ ยที่สุด
ระบบไฮโดรลกิ ส์
ในยุคปจั จุบันมนุษย์สามารถประดิษฐเ์ คร่ืองกลที่สามารถผ่อนแรงในการทางานได้มาก บางคร้ังคนทางาน
ออกแรงเพยี งเล็กน้อยแตส่ ามารถทางานเชน่ ยกของหนักได้มากมหาศาล การใชเ้ คร่ืองท่นุ แรงประเภทท่ี
เรียกวา่ ระบบไฮโดรลิกส์ ก็เป็นส่ิงหนงึ่ ท่ยี ังนยิ มใช้กันแพร่หลายซ่ึงนามาใช้ในการทางานท่ีหนกั ๆ เกนิ
ความสามารถของแรงคน
รปู ระบบไฮดรอลิกส์
การนาระบบไฮโดรลกิ สไ์ ปใชง้ าน
ในปจั จุบันไดม้ ีการนาระบบไฮโดรลิกสไ์ ปใชง้ านในอตุ สาหกรรมตา่ งๆ มากมาย แยกตามประเภทอตุ สาหกรรม คือ
– อุตสาหกรรมเหลก็
– อตุ สาหกรรมประเภท เคร่ืองอัดขนึ้ รปู (Press) งานตดั (Cutting) งานดัด ( Bending)
- อตุ สาหกรรมอาหาร เชน่ เคร่ืองบด
– อุตสาหกรรมยานยนต์ และชนิ้ ส่วน
– อตุ สาหกรรมบรรจภุ ณั ฑ์ และการพิมพ์
– งานดา้ นวิศวกรรมโยธา
– งานดา้ นการเดนิ เรือทะเล และงานสารวจแหลง่ แร่ ขุด เจาะตา่ งๆ
943
– อตุ สาหกรรมยาง ไม้
– อตุ สาหกรรมพลาสติก
งานท่ัวๆ ไปท่นี าระบบไฮโดรลิกสไ์ ปใช้ เช่น เครอื่ งอัดขน้ึ รูป (Press) เครื่องป๊ัมขึ้นรปู (Plung) เครื่องอัด
(Bending) เคร่ืองตัด (Cutting) เครื่องมือลาเลียง ขนถ่าย เคร่ืองบรรจุ เครื่องมือขุดเจาะ อุปกรณ์การยก
เคล่ือนย้าย เปน็ ตน้
ขอ้ ดขี องระบบไฮโดรลิกส์
– สามารถรับแรง (Load) ได้สูงมาก ทัง้ ในแนวเสน้ ตรงและแนวหมุน โดยให้แรงที่คงท่ีทุก ความเร็ว
– สามารถสง่ ถา่ ยพลังงานไปไดไ้ กลๆ โดยผา่ นทางทอ่ ไฮโดรลกิ ส์ไปท่ีกระบอกสบู หรือมอเตอรไ์ ฮโดรลกิ ส์ได้
โดยไมต่ ้องใชโ้ ซ่ หรือเพลาสง่ กาลังเหมือนระบบทางกล
– สามารถควบคมุ ความเรว็ ในการเคล่ือนท่ไี ด้งา่ ยกวา่ ระบบนิวแมติกส์ และระบบไฟฟ้า
– ราคาถกู กวา่ เม่ือเทียบกบั การรบั ภาระโหลดที่เทา่ กัน
ข้อดอ้ ยของระบบไฮโดรลิกส์
– อุปกรณ์ทางาน จะเคลือ่ นที่ชา้ กวา่ ระบบนวิ แมติกส์ และไฟฟ้า
– การออกแบบวงจร และการตดิ ตั้งเดินท่อจะทาได้ยากกวา่ ระบบนวิ แมติกส์
– สามารถเกดิ การรั่วซึมของน้ามนั ไดต้ ามจุดข้อต่อต่างๆ
– การบารุงรักษายากกวา่ ระบบนิวแมติกส์ และไฟฟ้า
ระบบแขนกลในดา้ นอตุ สาหกรรม
ในปัจจุบันแขนกลได้ถูกนาไปใช้งานท่ีหลากหลายมากขึ้นและไม่ได้จากัดเฉพาะในวงการอุตสาหกรรม
เท่านั้น เช่น ทางการแพทย์ งานบริการ เป็นต้น สาหรับแขนกลในงานอุตสาหกรรมเป็นอุปกรณ์หลักของระบบ
Flexible Production System (FPS) ซึ่งเป็นระบบการผลิตทที่ างานอย่างอตั โนมัติ ง่ายในการทาโปรแกรมและ
ปรับแต่งเพื่อให้ใช้ได้กับกระบวนการผลิตท่ีมีผลิตภัณฑ์หลากหลายประเภท แขนกลสามารถนาไปประยุกต์ใช้งาน
เฉพาะอยา่ งได้ เชน่ การพ่นสี การเคลอื บผิว การบรรจุ และการประกอบ เปน็ ตน้
การประยกุ ต์ใชง้ านแขนกล
เนอ่ื งจากแขนกลเพียงอยา่ งเดยี วไม่อาจสามารถใช้งานได้ ดังน้นั การประยุกตใ์ ช้งานจงึ ขึ้นอยู่กบั ผ้จู ัดซอื้ ว่า
จะนาแขนกลไปประกอบกันเป็นระบบอย่างไรเพื่อให้ได้ตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการ ในที่นี้ขอสรุปวัตถุประสงค์ท่ี
นิยมนาแขนกลไปใช้งานได้ดังน้ีซ่ึงในทางปฏิบัติยังมีวัตถุประสงค์ใน การใช้งานแบบอ่ืนๆท่ีไม่ได้กล่าวถึงในท่ีอีก
หลายอย่าง
944
1. การเคลอื่ นยา้ ยวัตถุหรือชิ้นงาน (Pick & Place)
เป็นการนาแขนกลไปใชง้ านเพื่อขนย้ายวตั ถหุ รอื ช้ินงานจากทีห่ นง่ึ ไปวางอีกทีห่ นงึ่ ซึ่งการใช้แขนกลน้จี ะ
สามารถเคลื่อนย้ายได้ตามตาแหน่งทต่ี ้องการได้อยา่ งแมน่ ยาและสามารถทางานความเร็วสูงและคงท่ี
จากรูปขา้ งลา่ งแสดงตวั อยา่ งในการเคล่ือนย้ายหรือหยบิ ชิ้นงานจากกระบะคัดแยกเอาไปวางท่ีสายพาน
ลาเลียง การใชแ้ ขนกลจะทาให้ทางานได้รวดเรว็ แมน่ ยา
รูปแสดงการหยิบหรอื เคลื่อนยา้ ยชน้ิ งานจากกระบะคัดแยกเอาไปวางที่สายพานลาเลยี ง
2. การประกอบช้ินงาน (Assembly)
การประกอบชน้ิ งานคือการนาวตั ถหุ รือช้ินส่วนไปประกอบกบั ช้ินส่วนอีกช้ินหนึ่ง ซ่ึงการประกอบเข้าด้วย
อาจเป็นการวางประกบเข้ากัน หรืออาจขันสกรู ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับการออกแบบผลิตภัณฑ์ ตัวอย่างในรูปท่ี 4 แสดง
การประกอบช้ินสว่ นสามเหลย่ี ม และวงกลมประกอบลงบนชิน้ งาน(ฐานประกอบ)
รูปแสดงการประกอบช้นิ งานและการหยิบชิน้ ส่วนจาก Part feeder มาประกอบกบั งานทไ่ี หลมาตามสายพาน
945
3. การคดั แยกหรือจัดเรียงชิ้นงาน (sorting)
ช้ินงานที่ใช้ในการผลิตอาจไม่มีความเป็นระเบียบตัวควบคุมจะสั่งให้แขนกลหยิบชิ้นงานช้ินน้ันไปวางใน
ตาแหน่งที่ถูกต้อง ดังตัวอย่างในรูปท่ีแสดงการทางานของแขนกลกาลังหยิบลูกกุญแจท่ีอยูใ่ นกระบะมาจัดเรียงบน
สายพานใหอ้ ยใู่ นทศิ ทางเดียวกัน
รูป แสดงการทางานของแขนกลกาลงั หยิบลูกกุญแจที่อยใู่ นกระบะมาจดั เรียงบนสายพานให้อยใู่ นทิศทางเดียวกัน
อ้างอิง : http://www.stepyourway.com/tag/การประยุกต์ใชง้ านแขนกล
ระบบแขนกลในด้านการแพทย์
ในงานด้านการแพทย์ เร่ิมนาเอาหุ่นยนต์แขนกลเข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยทาการผ่าตัดคนไข้ เน่ืองจาก
หุ่นยนต์น้ันสามารถทางานในด้านท่ีมีความละเอียดสูงท่ีเกินกว่ามนุษย์จะทาได้ เช่น การนาเอาหุ่นยนต์มาใช้งาน
ด้านการผ่าตัดสมอง ซึ่งมีความจาเป็นอย่างมากท่ีต้องการความละเอียดในการผ่าตัด หุ่นยนต์แขนกลจึงกลายเป็น
ส่วนหน่ึงของการผ่าตัดในด้านการแพทย์ การทางานของหุ่นยนต์แขนกลในการผ่าตัด จะเป็นลักษณะการทางาน
ของการควบคุมการผา่ ตัดโดยผา่ นทางแพทย์ผู้ทาการผ่าตัดอีกที ซ่ึงการผ่าตัดโดยมีหุ่นยนต์แขนกลเข้ามามสี ว่ นรว่ ม
นัน้ จะเน้นเร่ืองความปลอดภัยเปน็ อย่างสูง รวมท้ังความสามารถในการเคล่อื นท่ขี องหุ่นยนต์ รวมถึงงานเภสัชกรรม
ท่ีมีบางโรงพยาบาลนาหุ่นยนต์มาใช้ในการจ่ายยา การใช้ “แขนกลช่วยผ่าตัด” ถือเป็นวิธีการรักษาท่ีพัฒนาต่อ
เนื่องมาจาก “การผ่าตัดด้วยกล้อง”ซ่ึงเป็นที่ยอมรับว่า การสอดเครื่องมือเข้าไปผ่าตัดในร่างกายของผู้ป่วยโดยไม่
ต้องเปิดปากแผลกว้าง ทาให้ร่างกายผู้ป่วยบอบช้าน้อย มีโอกาสฟ้ืนตัวเร็วกลับบ้านได้เร็วกว่าการผ่าตัดแบบเปิด
(Open Surgery) และหุ่นยนต์ช่วยผ่าตัดยังได้รับการพัฒนาไปอีกขั้นด้วยเทคโนโลยีระบบภาพ 3 มิติท่ีมีความ
ละเอียดสูงและมีกาลังขยายภาพอย่างน้อย 5 เท่า (D High Definition : 3D HD) จากเดิมท่ีการผ่าตัดโดยใช้กล้อง
สามารถให้เพียงภาพ 2 มิติเท่านั้นในขณะที่ “แขนกล” ก็ถูกพัฒนาให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน
ใกลเ้ คียงกับ “ข้อมือมนุษย์” ท่สี ามารถพลิกหรือหักงอได้อยา่ งอิสระตามการควบคุมของศัลยแพทย์ เปรียบเสมือน
มือของศัลยแพทย์ที่สามารถสอดเข้าไปทาการผ่าตัดรักษาได้ในบริเวณที่อยู่ลึกหรือท่ีแคบซึ่งยากต่อการเข้าถึงกว่า
การผ่าตัดแบบปกติ
รปู แสดงระบบแขนกลในด้านการแพทย์
946
ระบบแขนกลในดา้ นการทหาร
สาหรับการท่จี ะนาหุ่นยนต์มาใช้ในงานการทหาร หรือการรักษาความสงบเรียบรอ้ ย ในปัจจบุ ันนห้ี ุน่ ยนต์ที่
ถกู สรา้ งข้ึนมาในงานด้านการทหารน้นั มีมากมายและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดจ้ ริง ท้ังในดา้ นการชว่ ยเหลอื
ดา้ นการตรวจจบั วตั ถุระเบิด
รปู ระบบแขนกลในด้านการตรวจจับวัตถุระเบิด
ระบบแขนกลในดา้ นการบรกิ าร
ทุกวันนี้แนวโน้มการใช้งานหุ่นยนต์ในภาคบริการมีโอกาสแซงหน้าหุ่นยนต์ภาคการผลิต มีองค์กรจาก
หลากหลายธุรกิจนาหุ่นยนต์ไปใช้ในการให้บริการ ซึ่งการนาหุ่นยนต์มาใช้น้ันเป็นการเข้ามาช่วยเหลือมนุษย์จาก
การทางานท่ีหนักและน่าเบ่ือ เช่น พนักงานยกกระเป๋าในโรงแรมท่ีสามารถให้บริการเช็กอิน เช็กเอาท์ และยก
กระเป๋าลูกค้าไปส่งท่ีห้องพัก งานส่วนนี้หุ่นยนต์สามารถทางานแทนพนักงานบริการได้หมด และสามารถทางานได้
ตลอด 24 ชั่วโมงโดยไม่ต้องเปลี่ยนกะด้วย ซึ่งถือเป็นการทุ่นแรงงานมนุษย์ ทาให้พนักงานมีเวลาทางานที่สร้าง
คุณค่าให้กับองค์กรมากขึ้น อย่างไรก็ตามแม้หุ่นยนต์จะสามารถเข้ามาช่วยให้การทางานง่ายขึ้นท้ังฝั่งผู้ให้บริการ
และลูกค้าที่มาใช้บริการ แต่หากมีคาถามที่ซับซ้อนและเป็นคาถามที่ไม่ตายตัวนอกเหนือจากท่ีส่ังการให้หุ่นยนต์
จัดการ
รปู ระบบแขนกลในดา้ นการบรกิ าร
947
ระบบแขนกลในดา้ นการเกษตร
การนาระบบแขนกลมาใช้ในการเกษตร มีการพฒั นากันในหลากหลายแขนง ด้วยวัตถุประสงค์ ลด
แรงงานคน ลดค่าใชจ้ ่าย เพมิ่ ขดี สามารถในการแข่งขัน เพิ่มผลผลิต โดยการใช้เทคโนโลยีเหล่านใ้ี นการทางานแทน
ซ่ึงมคี วามแมน่ ยา และทางานไดค้ รั้งละมากๆ ไม่มเี วลาหยุดพกั ทาใหค้ า่ ใชจ้ ่ายในการทาเกษตรลดลง เมื่อเทยี บกับ
ผลผลิตทเ่ี พมิ่ ขึน้ เช่นการเพาะพันธุแ์ ละปลูกพชื
รูประบบแขนกลในด้านการเกษตร
948
ใบงานท่ี 16.1 กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมสาหรับแขนกล
คาชแี้ จง นักเรยี นแบง่ กลมุ่ สบื ค้น แยกประเภท และวิเคราะหก์ ระบวนการทางานเก่ียวกับระบบแขนกลในงาน
ด้านตา่ งๆ (เลือกทา 1 หัวข้อ)
1. ระบบแขนกลในด้านอุตสาหกรรม
- เทคโนโลยรี ะบบแขนกลมผี ลในดา้ นอตุ สาหกรรมอย่างไร
- รปู ภาพหรือวดี โี อเกย่ี วกบั การนาเทคโนโลยรี ะบบแขนกลมาใช้ในงานด้านอุตสาหกรรม
- ผลกระทบต่อการนาเทคโนโลยรี ะบบแขนกลด้านอุตสาหกรรม
- อนาคตของเทคโนโลยรี ะบบแขนกลด้านอตุ สาหกรรม
2. ระบบแขนกลในดา้ นการแพทย์
- เทคโนโลยีระบบแขนกลมีผลส่งผลตอ่ การรักษาทางการแพทย์อย่างไร
- รปู ภาพหรือวดี โี อเก่ียวกบั การนาเทคโนโลยีระบบแขนกลมาใช้ในงานด้านการรกั ษาทางการแพทย์
- ผลกระทบต่อการนาเทคโนโลยรี ะบบแขนกลดา้ นอตุ สาหกรรม
- อนาคตของเทคโนโลยีระบบแขนกลดา้ นอุตสาหกรรม
3. ระบบแขนกลในด้านการทหาร
- เทคโนโลยีระบบแขนกลกับการป้องกันประเทศ
- รปู ภาพหรือวดี ีโอเก่ียวกบั การนาเทคโนโลยีระบบแขนกลมาใช้ในงานด้านการทหาร
- ผลกระทบต่อการนาเทคโนโลยรี ะบบแขนกลด้านการทหาร
- อนาคตของเทคโนโลยรี ะบบแขนกลด้านการทหาร
4. ระบบแขนกลในด้านการบรกิ าร
- เทคโนโลยีระบบแขนกลกับการบริการด้านต่างๆ
- รปู ภาพหรอื วดี ีโอเก่ยี วกับการนาเทคโนโลยรี ะบบแขนกลมาใช้ในงานด้านการบรกิ าร
- ผลกระทบต่อการนาเทคโนโลยรี ะบบแขนกลด้านอตุ สาหกรรม
- อนาคตของเทคโนโลยรี ะบบแขนกลด้านอุตสาหกรรม
5. ระบบแขนกลในดา้ นการเกษตร
- เทคโนโลยีระบบแขนกลกบั งานด้านการเกษตรกรรม
- รปู ภาพหรือวดี ีโอเกย่ี วกบั การนาเทคโนโลยรี ะบบแขนกลมาใชใ้ นงานดา้ นเกษตรกรรม
- ผลกระทบต่อการนาเทคโนโลยีระบบแขนกลดา้ นเกษตรกรรม
- อนาคตของเทคโนโลยรี ะบบแขนกลด้านเกษตรกรรม
949
แบบบันทกึ การประเมินผ้เู รยี น ด้านความรู้
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี 16 เร่อื ง สารสนเทศกับการแก้ปัญหา
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง วิศวกรนอ้ ย
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายการประเมนิ
อธบิ ายปญั หาของ
บอกการทางานของ สถานการณ์ต่าง ๆ
ฮาร์ดแวรห์ รอื สารวจปัญหาหรอื เพื่อสรปุ กรอบของ
เลขท่ี ช่ือ-สกลุ ออกแบบสิ่งของ ความต้องการของ ปัญหาในการสบื คน้
เคร่ืองใช้ในการ ตนเอง ชุมชนหรือ รวบรวมข้อมูลจาก
แก้ปญั หาไดอ้ ยา่ ง ทอ้ งถิน่ แหลง่ ข้อมูลที่
เหมาะสม เช่อื ถือได้อย่าง
เหมาะสม
1
2
3
4
5
เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผปู้ ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผ้สู อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรบั ปรุง
*เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ขนึ้ ไป
950
แบบบนั ทึกการประเมนิ ผู้เรยี น ด้านทกั ษะและกระบวนการ
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 16 เรื่อง สารสนเทศกับการแกป้ ัญหา
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรอื่ ง วิศวกรนอ้ ย
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ วชิ า เทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2
รายการประเมิน
เลขที่ ชื่อ-สกลุ สรุปกรอบของปญั หา รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลจาก
ศาสตรต์ า่ งๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง เพื่อนาไปสู่การออกแบบแนว
ทางการแก้ปัญหาและสร้างช้ินงาน
1
2
3
4
5
เกณฑ์การให้คะแนน ลงชอื่ ...................................................ผปู้ ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครูผูส้ อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง
*เกณฑ์การผ่าน ระดับ 2 ข้ึนไป
951
แบบบันทกึ การประเมนิ ผเู้ รยี น ด้านคณุ ลกั ษณะ
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี 16 เรอื่ ง สารสนเทศกับการแก้ปัญหา
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่อื ง วิศวกรน้อย
กลุม่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา เทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2
เลขท่ี ชื่อ-สกลุ มีความ รายการประเมนิ มุ่งมนั่ ในการ
รบั ผดิ ชอบ ซ่ือสัตย์ ทางาน
1
2
3
4
5
เกณฑ์การให้คะแนน ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมิน
4 คะแนน ระดับ 4 ดีมาก (………….…………………………………….)
3 คะแนน ระดับ 3 ดี ครผู ูส้ อน
2 คะแนน ระดับ 2 พอใช้
1 คะแนน ระดับ 1 ปรับปรุง
*เกณฑ์การผา่ น ระดับ 2 ข้นึ ไป
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 3 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 17
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เร่ือง วศิ ว
รายวชิ า เท
ขอบเขตเนอ้ื หา กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้เรอื่ ง ขัน้ นา
ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ เช่น LED 1. ครูทบทวนความรู้ก่อนเรียน โดยร่วม
มอเตอร์ บซั เซอร์ ฯลฯ ต่อไปนี้
2. อปุ กรณแ์ ละเคร่อื งมอื ในการสร้าง 1.1 หลกั การในการต่อวงจรไฟฟา้ และอ
ชนิ้ งานหรือพัฒนาวิธีการมีหลาย ประสทิ ธภิ าพนัน้ ควรคานึงถึงส่ิงใด
ประเภท ตอ้ งเลือกใชใ้ หถ้ ูกต้อง (แนวคาตอบ)
เหมาะสม และปลอดภยั รวมท้ังรู้จกั เก็บ - เลือกใช้ให้เหมาะสมกบั ประเภทของง
รักษา - คานงึ ถึงความปลอดภัย ในการทางาน
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ - มคี วามรเู้ กี่ยวกบั การใชเ้ ครอื่ งมือเปน็
ด้านความรู้ - เตรียมความพร้อม เช่น ตรวจสอบคว
1. บอกประเภทและอธบิ ายสมบตั ิ สภาพปกติพร้อมใชง้ าน
ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ - เตรียมความพรอ้ มด้านร่างกายและแต
ขัน้ สอน
2. อธบิ ายการเลือกใช้วัสดุและ 1. ให้นักเรยี นศึกษาใบทค่ี วามรู้ 17.1 ถ
เครอ่ื งมอื ช่าง ท่เี หมาะสมกับลกั ษณะ ใชค้ าถามนา เพ่ือสารวจความร้พู ื้นฐานก่อน
ของงานและความปลอดภัย ความหมายของคาวา่ ไฟฟา้ อิเล็กทรอนิกส
คาตอบของผ้เู รยี นท่ีกระดานดา ดงั น้ี
952
เรอ่ื ง ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ป เวลา 2 ชัว่ โมง
วกรน้อย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 2
ทคโนโลยี
มอภิปรายกับนกั เรียนในประเด็น สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้
1. เวบ็ ไซตส์ าหรับสืบคน้ เช่น
อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ ห้มี เคร่อื งมอื ชา่ งไฟฟ้าอเิ ล็กทรอนิกส์พนื้ ฐาน
2. เคร่ืองมือพ้ืนฐานทีใ่ ช้ในงานอิเล็กทรอนกิ ส์
งาน https://www.youtube.com/watch?reload
น =9&v=558L2uatVpI
นอยา่ งดี 3. วงจรไฟฟา้ เบ้ืองต้น
วามพร้อมของเครื่องมือให้อยู่ใน ใบความรู้ท่ี 17.1 ไฟฟ้าอเิ ล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองต้น
ใบความรู้ท่ี 17.2 วัสดุและเคร่ืองมือชา่ ง งาน
ตง่ กายให้เหมาะสมกับงาน ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ใบความรทู้ ี่ 17.3 ความปลอดภยั ในการ
ถึง 17.3 แล้วร่วมกนั อภปิ รายครู ปฏิบัติงาน
อนเรยี นของนักเรียนเกย่ี วกับ ภาระงาน/ช้ินงาน
สเ์ บ้อื งต้น และครูทาการบนั ทึก ใบงานที่ 17.1 ทดลองต่อวงจรไฟฟ้าและ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ใบงานที่ 17.2 การเลือกใช้เครือ่ งมือชา่ งที่
เหมาะสมกบั ลักษณะของงาน
ใบงานท่ี 17.3 ความปลอดภยั ในการปฏิบัตงิ าน
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 17
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง วศิ ว
รายวชิ า เท
ด้านทักษะและกระบวนการ
1. ทักษะด้านการวิเคราะห์ 1.1 ในแตล่ ะวนั เราได้ใช้สงิ่ อานวย
1.2 ใครเคยได้ยินหรือรู้ความหมา
ดา้ นคณุ ลกั ษณะ เบอ้ื งตน้ มาแล้ว หมายถึงอะไร
1. มีความรับผดิ ชอบ (แนวคาตอบ ครชู มเชยนกั เรียนทรี่ ่วมแสด
2. ซ่อื สตั ย์ หรอื ผิด)
3. มงุ่ ม่นั ในการทางาน - ครแู ละนักเรียนร่วมกัน สรุปควา
อเิ ล็กทรอนกิ ส์เบื้องตน้ ” โดยศกึ ษาใบควา
2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรยี น โด
นักเรียนคิดวา่ ไฟฟ้ามีความจาเปน็ ตอ่ ชวี ิต
หากไม่มีไฟฟ้าและอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสใ์
ดาเนินชีวติ อย่างไร
3. ครูสอนและนกั เรยี นสนทนา เกย่ี วกบั
ไดใ้ นชวี ิตประจาวัน ได้แก่ วงจรไฟฟา้ ของไ
อะไรบ้าง แหล่งกาเนดิ ไฟฟ้า คือ 1) ถา่ นไฟ
ให้ไฟฟ้ากระแสตรงในวงจร 2) ตวั นาไฟฟ้า
ของถ่านไฟฉายกบั หลอดไฟ 3) อุปกรณ์ไฟ
หน้าทเ่ี ปิดปดิ กระแสไฟฟ้าในวงจร
4. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุปเกี่ยวกับก
เรอ่ื ง ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ ป 953
วกรน้อย
ทคโนโลยี เวลา 2 ชว่ั โมง
ยความสะดวกอะไรบา้ ง ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2
ายของคาว่า ไฟฟา้ อิเล็กทรอนกิ ส์
ดงความคิดเห็น ไมว่ ่าตอบถูก
ามหมายของ “ไฟฟ้า
ามรู้
ดยการใชค้ าถามชวนคดิ วา่
ตประจาวนั หรอื ไม่ อยา่ งไร
ในชีวิตประจาวนั นกั เรยี นจะ
บวงจรไฟฟา้ อย่างง่าย ที่พบเห็น
ไฟฉาย วา่ ประกอบไปด้วย
ฟฉายหรือแบตเตอร่ี 2 กอ้ น จะ
า คือ โลหะท่ีเช่อื มตอ่ ระหวา่ งขั้ว
ฟฟา้ คือ หลอดไฟโดยมีสวติ ชท์ า
การใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าและ
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 17
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง วศิ ว
รายวิชา เท
วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย การใชง้ านของอุปกรณ
ทพี่ บเห็นในชีวิตประจาวนั ดังนี้
- การใช้งานท่ีทาให้เกิดแสง เช่น
จราจร ไฟท้ายรถยนต์
- การใช้งานที่ทาให้เกดิ เสียง เช่น
ออดไฟฟ้าหน้าบา้ น
5. ครูให้นกั เรียนศกึ ษา “ไฟฟา้ อิเล็กทรอ
17.1 ทดลองต่อวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอน
6. ครูสนทนากบั นักเรยี น เพอ่ื สร้างควา
ไดโอดวา่ ลกั ษณะการต่อไดโอดเปลง่ แสงม
อยา่ งไร ต่อขั้ว ANODE ของไดโอดเปล่ง
แบตเตอร่ีจะทาให้ไฟฟา้ ไหลครบวงจร (วง
ไดโอด มีการทางานอย่างไร
7. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรปุ ว่า สมบัต
การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร หน้าทข่ี อ
ปริมาณกระแสไฟฟา้ ที่ไหลในวงจรเพ่ือไมใ่
เกนิ จนทาให้อปุ กรณ์อ่นื เสยี หาย
ข้นั สรปุ
เรอ่ื ง ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ ป 954
วกรน้อย
ทคโนโลยี เวลา 2 ชวั่ โมง
ณไ์ ฟฟ้าอเิ ล็กทรอนกิ ส์อ่ืนๆ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
สญั ญาณไฟจราจร สัญญาณไฟ
น โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ี
อนิกส์” ให้นักเรียนทาใบงานท่ี
นิกส์
ามเข้าใจเกย่ี วกบั หนา้ ท่ขี อง
มผี ลต่อการทางานของวงจร
งแสงเข้ากับ ขว้ั บวกของ
งจรปิด) ไดโอดเปลง่ แสงหรือ
ตขิ องตวั ตา้ นทาน คือ ตา้ นทาน
องตวั ตา้ นทาน คือ ควบคมุ
ให้กระแสไฟฟา้ ผ่านในวงจรมาก
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 17
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ เรื่อง วศิ ว
รายวิชา เท
1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรปุ เนอื้ หา ไ
(แนวทางการสรุป ไฟฟ้าและอิเล็กทรอ
การดารงชีวิตของมนุษย์ เพราะช่วยอาน
ประสิทธิภาพการทางานในการทางานข
โทรทัศน์ ฯลฯ ดังน้ัน การเรียนรู้เรื่อง
ความสาคัญ ที่ช่วยให้การสร้างส่ิงของเค
และสามารถตอบสนองตอ่ ความต้องการขอ
2. นกั เรียนสรปุ และบนั ทึกเน้ือหาการเร
เรอ่ื ง ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ ป 955
วกรน้อย
ทคโนโลยี เวลา 2 ชัว่ โมง
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ ดงั นี้
อนิกส์ เป็นสิ่งที่มีความสาคัญต่อ
นวยความสะดวกสบาย และเพิ่ม
ของมนุษย์ได้ เช่น ตู้เย็น พัดลม
งไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์จึงมี
คร่ืองใช้เหล่าน้ันมีประสิทธิภาพ
องมนษุ ย์ไดด้ ียงิ่ ข้นึ
รยี นรทู้ ี่สาคญั ลงในสมดุ เรยี น
956
การวดั และประเมนิ ผล
ส่ิงที่ต้องการวดั /ประเมิน วธิ กี าร เครอื่ งมอื ที่ใช้ เกณฑ์
ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงานที่ 17.1 – - แบบประเมินผลดา้ นความรู้ - นกั เรยี นทุกคนผ่าน
1. บอกประเภทและ 17.3 - ใบงานท่ี 17.1 อปุ กรณ์ เกณฑ์ไมต่ ่ากว่า
อธิบายสมบัติไฟฟา้ และ ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ รอ้ ยละ 70
อเิ ล็กทรอนิกส์ - ใบงานที่ 17.2 หน้าท่ีของ
2. อธบิ ายการเลือกใช้ ไดโอด
วัสดุและเครอ่ื งมอื ช่าง - ใบงานท่ี 17.3 ทดลองต่อ
ท่เี หมาะสมกับลักษณะของ วงจรไฟฟ้าและ
งานและความปลอดภัย อิเลก็ ทรอนกิ ส์
ดา้ นทักษะ/กระบวนการ กระบวนการเรยี นรู้ของ - แบบประเมินผลดา้ น - นกั เรียนทุกคนผา่ น
(P) นักเรยี น กระบวนการคิดวเิ คราะห์. เกณฑ์ไมต่ ่ากว่า
1. ทักษะด้านการ รอ้ ยละ 70
วิเคราะห์
ด้านคณุ ลักษณะ (A) - แบบประเมนิ ผลด้าน - นกั เรียนทกุ คนผ่าน
คณุ ลักษณะเทียบกับเกณฑ์ เกณฑ์ไม่ต่ากว่า
1. มคี วามรับผดิ ชอบ ร้อยละ 70
222. ซ่อื สตั ย์
3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน
957
8. บันทึกผลหลงั สอน
ผลการเรยี นรู้
............................................................................................................................. ................................................
ปญั หาและอปุ สรรค
.................................................................................................................................................................... ......
ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ไข
............................................................................................. ..............................................................................
ลงช่อื ......................................ผสู้ อน
(.......................................................)
วนั ที่......เดอื น...............................พ.ศ.............
9. ความคิดเห็น/ขอ้ เสนอแนะของผูบ้ ริหารหรอื ผู้ทีไ่ ด้รับมอบหมาย
........................................................................................................... ................................................................
ลงช่ือ ......................................ผตู้ รวจ
(.......................................................)
วนั ท่.ี .....เดือน...............................พ.ศ.............
958
ใบความรู้ท่ี 17.1 เรื่อง ไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกสเ์ บอ้ื งต้น
ไฟฟา้ อิเล็กทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้
ไฟฟ้า คือพลังงานรูปแบบหน่ึงท่ีสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปแบบอ่ืนๆ ได้ ตัวอย่างการนาไฟฟ้ามาใช้
ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั เช่น ทาให้เกิดแสงสวา่ งจากหลอดไฟ ทาให้เกิดความรอ้ นจากเตารดี หม้อหุงข้าว ทาให้
เกิดเสยี งจากโทรทศั น์ วทิ ยุ ทาให้เกดิ การเคลอื่ นที่ เช่น การหมนุ ของมอเตอร์เครื่องซักผ้า
อิเล็กทรอนิกส์ คือการควบคุมการเคล่ือนที่ของกระแสไฟฟ้าเพื่อให้ได้ปริมาณ หรือ ทิศทางการเคล่ือนที่
ของกระแสไฟฟ้าตามที่ต้องการ การทางานต่างๆ จะต้องใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เพื่อควบคุมการเคลื่อนที่ของ
กระแสไฟฟ้านน่ั เอง อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สม์ หี ลายชนดิ ท่พี บท่วั ไป เช่น LED ตวั ตา้ นทาน
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เป็นสิ่งที่มีความสัมพันธ์กันในการสร้างเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ กล่าวคือ ภายใน
เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นจะมีอุปกรณ์ตา่ งๆ เช่ือมตอ่ กันอยู่ มีส่วนทีใ่ ห้กระแสไฟฟ้าผ่านครบวงจร เรียกว่า วงจรไฟฟ้า ซ่ึง
ประกอบด้วย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ทาหน้าที่ควบคุมการเคล่ือนท่ีของกระแสไฟฟ้าซึ่งเชื่อมต่อกันภายใน
วงจรไฟฟ้าด้วยวิธีท่ีแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดและหน้าที่ของอุปกรณ์นั้น หากขาดไฟฟ้าก็จะทาให้อุปกรณ์
อิเล็กทรอนกิ สไ์ มส่ ามารถทางานได้
ตัวอยา่ งวงจรไฟฟา้ อยา่ งง่ายที่พบเหน็ ได้ในชีวติ ประจาวนั ได้แก่ วงจรไฟฟา้ ของไฟฉาย ซึ่งประกอบดว้ ย
1. แหล่งกาเนิดไฟฟ้า คอื ถา่ นไฟฉายหรอื แบตเตอร่ี 2 ก้อน จะให้ไฟฟา้ กระแสตรงในวงจร
2. ตัวนาไฟฟ้า คือ โลหะทเ่ี ชื่อมตอ่ ระหว่างข้ัวของถา่ นไฟฉายกับหลอดไฟ
3. อุปกรณ์ไฟฟา้ คือ หลอดไฟโดยมีสวติ ชท์ าหน้าทเี่ ปิดปดิ กระแสไฟฟ้าในวงจร
959
หลอดไฟ
เปน็ อุปกรณท์ ่เี ปลย่ี นพลังงานไฟฟ้า
เป็นแสง ใช้สัญลกั ษณ์ดงั ภาพ
ปัจจุบนั มีการนาหลอด LED มาใช้
แทนหลอดไฟเน่ืองจากใช้พลงั งาน
ไฟฟา้ น้อยกว่า มีอายุการใช้งานท่ี
ยาวนานกว่าและไม่เกิดความร้อน
สวติ ช์ ไฟฉาย ไฟฉายต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม
เป็นอปุ กรณท์ ี่ทาหน้าทีเ่ ปิดปิด
กระแสไฟฟา้ ภายในวงจรไฟฟ้า หลอดไฟ
ใช้สญั ลักษณ์ดังภาพ
สวติ ช์
สวิตชข์ ณะวงจรปดิ สวิตชข์ ณะวงจรเปิด แบตเตอรี่
สวติ ช์มหี ลายแบบ เช่น สวติ ช์ ถา่ นไฟฉายหรือแบตเตอร่ี
เล่ือน สวิตช์กระดก สวติ ชก์ ด เปน็ แหล่งกาเนิดไฟฟา้ กระแสตรง ทีจ่ าหนา่ ย
สวติ ช์กา้ นยาว โดยทัว่ ไปมีหลายขนาด เชน่ D C AA AAA
โดยมแี รงดันไฟฟ้า1.5 โวลต์ และ 9โวลต์
สวิตชเ์ ลือ่ น สวิตช์
กระดก
สวติ ชก์ ด สวติ ชก์ ้านยาว
แบตเตอรี่ใชส้ ญั ลกั ษณด์ ังภาพ
960
จะเหน็ ว่าตวั อยา่ งไฟฉายเป็นการใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟา้ และวงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ยมาใช้งา่ ยสาหรับการใชง้ านของ
อปุ กรณ์ไฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกสอ์ ่ืนทพี่ บเหน็ ในชีวิตประจาวันดังตวั อย่างต่อไปน้ี
1. การใชง้ านทีท่ าให้เกดิ แสง
สัญญาณไฟจราจร สัญญาณไฟจราจร ไฟท้ายรถยนต์
ายไฟอักษร
LED (Light Emitting Diode) ตวั ตา้ นทาน
แอลอีดีหรือไดโอดเปล่งแสงเป็น ตัวต้านทาน(Resistor) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ี
อุปกรณ์ท่ีเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น จากัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในวงจรไฟฟ้า หรือใช้เป็น
แสงนามาใช้แทนหลอดไส้ เน่ืองจากใช้ ตัวแบ่ งแรงดัน ไฟฟ้ าให้ เห มาะสมกับอุป กรณ์ ท่ีต่อใน
พลังงานไฟฟ้าน้อยกวา่ อายุการใช้งาน ว งจ ร ไฟ ฟ้ า ใน ก า ร ใช้ งา น ท่ี มี อุ ป ก ร ณ์ อิ เล็ ก ท ร อ นิ ก ส์
ยาวนานกว่า และไม่ทาให้เกิดความ โดยท่ัวไปจะใช้ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้าเสมอ เพ่ือไม่ให้
ร้อน กระแสไฟฟ้าผ่านในวงจรมากเกินจนทาให้อุปกรณ์อ่ืน
เสียหาย
961
2. การใช้งานทีท่ าให้เกิดเสียง การ์ดอวยพรแบบมีเสียงเพลง
โทรศัพท์เคลื่อนที่ ออดไฟฟ้าหน้าบ้าน
ออดไฟฟา้ หรือบัซเซอร์
เป็นลาโพงอิเล็กทรอนิกส์แบบแม่เหล็กหรือแบบเปียโซ ท่ีมีวงจรกาเนิดความถี่อยู่
ภายใน เม่ือให้แรงดันไฟฟ้าตามขนาดของบัซเซอร์ ก็จะกาเนิดเสียงออกมาได้ จึงทาหน้าที่
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงโดยท่ัวไปมีขนาด 3 โวลต์ 6 โวลต์ 9 โวลต์ และ
12 โวลต์การต่อบัซเซอร์ในวงจรไฟฟ้าต้องต่อให้ถูกต้องตามข้ัวของบัซเซอร์สายไฟสีแดงเป็น
ข้วั บวก และสายไฟสีดาเป็นขั้วลบ
962
3. การใช้งานที่ทาใหเ้ กิดการเคล่อื นไหวหรือเคล่อื นท่ี
มอเตอร์ไฟฟา้ กระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลบั
เป็นมอเตอรท์ ่ตี ้องใช้กับไฟฟ้ากระแสตรง เปน็ มอเตอร์ท่ีต้องใช้กบั ไฟฟา้ กระแสสลับ
เช่น จากเซลลไ์ ฟฟ้าหรอื แบตเตอรี่ ขนาดของ สามารถใชก้ บั แหลง่ จ่ายไฟฟา้ ที่ใช้ในบ้านเรอื น
มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงมีต้ังแตใ่ ช้แรงดันไฟฟา้ พบการใช้งานไดใ้ นเครอ่ื งใช้ไฟฟ้าทว่ั ไป เชน่
1.5 โวลตเ์ ปน็ ตน้ ไป พบการใช้งานได้ในของ เครื่องสบู นา้ เคร่ืองซักผ้าไดร์เป่าผม ต้เู ยน็
เล่นของใชช้ ิ้นเลก็ เชน่ พดั ลมมือถือเคร่ืองโกน เครอ่ื งปั๊มนา้ พดั ลม
หนวดไฟฟ้า รถของเลน่ หรอื เคร่ืองใช้ไฟฟ้าบาง
รุน่ เชน่ พัดลม เคร่ืองซักผ้า
963
ตารางสรุปอปุ กรณไ์ ฟฟา้ อเิ ล็กทรอนิกสพ์ ้นื ฐาน
อปุ กรณไ์ ฟฟา้ อิเลก็ ทรอนิกส์ สญั ลกั ษณ์ ตวั อย่างการใช้งาน
แบตเตอร่ี1.5 โวลต์ รถของเล่น พดั ลมมือถือ เคร่ืองโกนหนวดไฟฟ้า
รโี มท
ไฟฉาย นาฬกิ า
สวิตช์ เคร่อื งใช้ไฟฟ้าทุกชนดิ
ตัวต้านทาน เปน็ สว่ นประกอบพื้นฐานท่ีพบในทกุ วงจรไฟฟา้
หลอดไฟ โคมไฟอ่านหนังสือ ไฟฉาย
ไดโอดเปลง่ แสง แทน่ ชารจ์ โทรศพั ทม์ ือถือ คอมพิวเตอร์ ปา้ ยโฆษณา
บัซเซอร์ ไฟฉาย ไฟทา้ ยรถยนต์ สัญญาณไฟจราจร
มอเตอร์
ออดไฟฟ้าหนา้ บ้าน รถประจาทาง
โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ การ์ดอวยพรแบบมเี สยี ง
ลาโพงบลูทูธ
รถบังคับวิทยุ หุ่นยนต์ เคร่ืองเลน่ ดีวีดี พดั ลม
เคร่ืองปั่นน้าผักผลไม้สวา่ นไฟฟ้า เคร่ืองดดู ฝุน่
964
ใบความรู้ที่ 2.2 เรอ่ื ง วัสดุและเครือ่ งมือช่าง งานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์
1. เครอื่ งมอื วดั ทางไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์
1.1 มลั ตมิ เิ ตอร์แบบเข็ม
เครื่องมือวัดแบบนี้เป็นเครื่องมือวัดรุ่นเก่าแต่ยังมีการใช้งานอยู่ท่ัวไปปกติแล้วมัลติมิเตอร์แบบนี้จะ
สามารถ ทาการวดั ค่าต่างๆได้ เช่น คา่ ตัวตา้ นทาน คา่ กระแสไฟฟ้า ค่าแรงดันไฟฟ้าทั้งกระแสตรง และ กระแสสลับ
ซึ่งการวัดค่าเหล่าน้ีจะเป็นมาตรฐานของเคร่ืองมือวัดแบบน้ีอยู่แล้ว ส่วนจะเพิ่มค่าการวัดอะไรเพ่ิมเข้าไปอีกนั้นก็
ข้ึนอยู่กับผู้ผลิต ราคามิเตอร์แบบนี้จะมีราคาไม่แพงมาก คือ ประมาณ 200 - 1,000 บาท เท่าน้ัน แต่การใช้งาน
มิเตอร์แบบน้ีจะต้องมีความระวังในเร่ือง ข้ัวในการในการวัดไฟกระแสตรงด้วย เพราะหากใช้ผิดขั้วจะเกิดความ
เสยี หายได้ ส่วนรายละเอียดการใช้งานพื้นฐานจะกลา่ วในเรื่องของ การใช้งานมลั ตมิ ิเตอร์
1.2 มลั ตมิ ิเตอร์แบบตวั เลข (ระบบดจิ ิทลั )
มัลติมเิ ตอร์แบบตวั เลข (ระบบดจิ ิทัล) เปน็ เคร่ืองมือวัดท่ีพฒั นาต่อมาจากเคร่อื งวดั แบบเข็ม แต่จะมกี ารใช้
งานงา่ ยกวา่ เพราะเปน็ ตวั เลขแสดง และ การปลอดภัยการการวดั ผิด ขว้ั มีมากกว่า และอาจจะมีฟงั ก์ชันการใชง้ าน
หรือค่าท่ีต้องการวัด มาก กว่าแบบเข็ม และบางรุ่นอาจจะสามารถแสดงเป็นกราฟ และบันทึกค่าวัดได้ด้วย ราคา
ของมเิ ตอร์แบบน้ี อยูท่ ่ีประมาณ 500 - 10,000 บาทขึ้นไป ข้ึนอยู่กับ ความสามารถวัดค่า และฟังกช์ ันตา่ งๆ
965
1.3 สโคปมเิ ตอร์
เครื่องมืดวัดชนิดนี้จะสามารถวัดค่าออกมาเป็นกราฟ มองเห็นได้ โดยท่ัวไปสโคปมิเตอร์จะมีราคาแพง
และมีท้ังแบบท่ีเป็นอนาล็อก และแบบที่เป็นดิจิทัล ซึ่งสามารถเก็บบันทึกค่าได้ ความจาเป็นของการใช้ งานสโค
ปคืองานที่ต้องการที่จะจะเห็นสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ เชน่ ในงานซ่อมทีวี ซอ่ มเครื่องเสียง หรืองานทางด้าน
ดิจทิ ลั อิเล็กทรอนกิ ส์
1.4 ไขควงวัดไฟ
ไขควงวัดไฟ เป็นเครื่องตรวจเช็คเเรงดันไฟฟ้าท่ีใช้ท่ัวไป เเละหลายๆคนมักจะมีติดบ้านไว้ ซึ่งไขควงวัดไฟ
มีการใช้งานท่ีง่ายเเละสะดวก เหมาะกับการตรวจเช็คเเรงดันไฟฟ้าเบื้องต้นว่าปล๊ักไฟบล็อคนั้นๆ มีเเรงดันไฟฟ้า
หรือไม่ ภายในไขควงเช็คไฟประกอบไปด้วย ปลายไขควง, ตัวต้านทาน, หลอดนีออน,สปริง และจุดสัมผัสทาจาก
โลหะ หลักการของไขควงเชค็ ไฟนนั้ อาศยั ค่าความตา่ งศักย์ของกระแสไฟฟ้า นน่ั ก็คือกระแสไฟฟ้าจะไหลจากจดุ ที่มี
ศักย์มากไปยังท่ีๆ มีศักย์น้อยกว่าน่ันเอง โดยเมื่อปลายไขควงสัมผัสกับตัวนาท่ีมีกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหล
ผ่านตัวต้านทานเพ่ือทาการจากัดกระแสให้ลดลงเหลือเพียง 0.1 ถึงประมาณ 0.2mA เท่านั้นทาให้ไม่เกิดอันตราย
กับผ้ใู ช้ แล้วจึงไหลผา่ นไปยังหลอดนอี อน (กระแสไฟฟ้าเพียงเลก็ น้อยก็สวา่ งแลว้ ) ต่อไปยังร่างกายของผู้ใช้งานแล้ว
ไหลลงพ้นื เปน็ อันครบวงจร ทาให้หลอดนอี อนตดิ สวา่ งข้นึ มานัน่ เอง
966
2. เครอื่ งมอื ช่าง
2.1 หวั แรง้
หัวแร้งมีไว้สาหรับการบัดกรีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ลงบนบอร์ดหรือแผ่นวงจร การบัดกรีสายไฟกับ
คอนเนก็ เตอร์ แบบตา่ งๆ เปน็ ต้น หวั แรงที่เราเหน็ ในท้องตลาดจะมีด้วยกนั หลายแบบ คอื
2.1.1 หัวแรง้ แบบวัตต์คงที่ หัวแรงแบบน้ีค่ากาลงั วตั ตจ์ ะไมส่ ามารถปรบั คา่ ความรอ้ นได้
2.1.2 หวั แรงปนื หวั แร้งแบบน้สี ามารถเปลี่ยนกาลงั วตั ตใ์ ห้สูงขึ้นได้โดยการกดปุ่ม
2.1.3 หัวแร้งท่ีสามารถเปลี่ยนหัวได้ แบบน้ีจะมีราคาสูงและจะสามารถเลือกหัวท่ีเหมาะสมในการบัดกรี
งานต่างๆ
2.2 มดี คตั เตอร์
ใชใ้ นการปอกฉนวน ตดั ขดู หรอื ทาความสะอาดสายไฟ ใชม้ ากในการเดนิ สายไฟฟ้า
2.3 สวา่ น
ใชใ้ นการเจาะวัสดุต่าง ๆ งานเดินสายไฟบางครง้ั ตอ้ งเจาะรูเพ่อื ยึดอุปกรณ์ไฟฟ้า สว่านเจาะไมม้ ีหลายแบบ
หลายขนาด เช่น สว่านข้อเสือ สวา่ นเฟือง สว่านมือชนิดกระแทก สว่านมือด้ามเหล็กและสว่านไฟฟ้าซึ่งใช้เจาะได้
ท้งั ไม้และผนังตกึ ควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงาน
967
2.4 เลือ่ ย
มีหลายชนิดหลายแบบท้ังขนาดและรูปร่างเลื่อยท่ีใช้สาหรับงานช่างไฟฟ้า คือเลื่อยปากไม้หรือเล่ือยรอ
ปากไม้ เปน็ รปู สเี่ หลย่ี มผนื ผ้า สันด้านบนเปน็ เหลก็ หนา มีฟันเลื่อยละเอียด ใช้สาหรบั ตัดปากไม้ในการเข้าไม้ต่างๆ
2.5 คอ้ นเดนิ สายไฟฟา้
ค้อนเดินสายไฟฟ้า (Electrician Hammer) ค้อนเดินสายไฟฟ้าหรือค้อนช่างไฟฟ้า ใช้สาหรับตอกตะปู
เดินสายไฟฟ้า แบบเข็มขัดรัดสายหรือติดต้ังกล่องต่อสายไฟต่าง ๆ ไม่ใช้ขณะมือเปื้อนน้ามัน ไม่ใช้ด้ามกระแทก
ชนิ้ งาน อย่าใหต้ กจากโตะ๊ ปฏิบตั ิงาน อยา่ ใช้หวั คอ้ นแทนท่ัง หลงั ใชง้ านเชด็ ทาความสะอาด
2.6 คมี
คีม (Pliers) ใช้สาหรับการจับช้ินงานเพื่อทางานใดๆ คือใช้ในงานตัดวัตถุที่ไม่แข็งมากนัก เช่น สายไฟฟ้า
ลวด หรือสลักล้อคขนาดเล็ก คีมมีรปู ร่างและขนาดต่างๆ กัน ตามลักษณะการใชง้ าน คีมบางตัวออกแบบมาเพ่ือใช้
งานหลายหน้าท่ี เช่นท้งั ในการจับงานและตดั ชนิ้ งาน คีมบางแบบ มขี ้อต่อเล่ือนทส่ี ามารถปรบั ขนาดความกว้างของ
ปากในการจบั ชนิ้ งานไดก้ ารแบ่งประเภทของคีม และเรยี กชอื่ จะเปน็ ไปตามลกั ษณะ การใชง้ าน
ชนดิ ของคีมมีดงั น้ี
2.6.1 คมี ปากขยาย
- ปากคีมมลี กั ษณะโคง้ มนและสามารถขยายออก ลด ให้แคบลงได้
- เหมาะกับการใชง้ านที่เกยี่ วกับเครื่องกลและงานเคร่ืองยนต์ประเภทตา่ ง ๆ
- ปกตคิ ีมจะชบุ แข็ง ไม่ควรจับชิน้ งานทร่ี อ้ น นอกจากคมี งานเช่ือม ไม่ควรใชแ้ ทน
ประแจ อยา่ ใชค้ ีมตัดลวดเหล็กสปริง ห้ามใชข้ ันขั้วไฟแรงสูง ห้ามใชค้ ้อนชว่ ยตถี ้า
968
ต้องการตัดลวดหลงั ใชง้ านเชด็ ทาความสะอาด หยอดน้ามันจดุ ขอ้ ต่อ
2.6.2 คมี ตัดขา้ ง (คีมปากจิ้งจก)
- ปากคีมมลี ักษณะโค้งมนและสามารถขยายออก ลด ให้แคบลงได้
- เหมาะกบั การใช้งานทเี่ ก่ยี วกับเครื่องกลและงานเครอ่ื งยนต์ประเภทตา่ ง ๆ
- ปกติคีมจะชบุ แข็ง ไมค่ วรจับชน้ิ งานทรี่ อ้ น นอกจากคมี งานเช่อื ม ไม่ควรใช้แทน
ประแจ อยา่ ใช้คมี ตัดลวดเหล็กสปรงิ หา้ มใช้ขนั ข้วั ไฟแรงสงู หา้ มใชค้ ้อนช่วยตถี ้า
ตอ้ งการตดั ลวดหลงั ใช้งานเช็ดทาความสะอาด หยอดน้ามันจดุ ขอ้ ต่อ
2.6.3 คีมปากแหลม
- ปากคีมมลี ักษณะเรยี วแหลม และ มีขนาดเล็ก
- เหมาะกบั การใช้งานในท่ีแคบ และ งานไฟฟ้า
- ปกตคิ ีมจะชุบแขง็ ไม่ควรจับชิน้ งานทีร่ อ้ น นอกจากคมี งานเชือ่ ม ไม่ควรใช้แทน
ประแจ อยา่ ใชค้ ีมตดั ลวดเหล็กสปริง ห้ามใช้ขนั ขวั้ ไฟแรงสงู ห้ามใชค้ ้อนชว่ ยตถี ้า
ตอ้ งการตดั ลวดหลงั ใชง้ านเช็ดทาความสะอาด หยอดนา้ มันจดุ ข้อต่อ
2.6.4 คมี ตัด
- ปากดา้ นข้างมลี กั ษณะเปน็ คมตดั และชุบแขง็
- ใช้สาหรบั ตัดปิน๊ ลอ็ ค ลวดสายไฟ และ ใช้ปอกสายไฟแบบบาง
- ปกติคมี จะชุบแขง็ ไมค่ วรจับช้ินงานที่รอ้ น นอกจากคีมงานเชอ่ื ม ไม่ควรใชแ้ ทน
ประแจ อยา่ ใช้คมี ตัดลวดเหล็กสปริง หา้ มใชข้ นั ข้วั ไฟแรงสูง ห้ามใชค้ อ้ นชว่ ยตถี า้
ตอ้ งการตัดลวดหลังใช้งานเชด็ ทาความสะอาด หยอดน้ามันจดุ ข้อต่อ
2.6.5 คมี ลอ็ ค
- ออกแบบเป็นพเิ ศษ ใชง้ านเฉพาะ ปลายด้ามมีสกรูปรบั มีแบบธรรมดา แบบปาก
แหลม แบบใช้งานเช่อื ม แบบชนิดแคลมป์
- ใช้สาหรบั จับหรอื บีบช้นิ งานทแี่ น่นมาก,บบี ท่อนา้ ยาแอร์
- ปกตคิ ีมจะชบุ แข็ง ไม่ควรจับชน้ิ งานท่ีรอ้ น นอกจากคีมงานเช่อื ม ไม่ควรใชแ้ ทน
ประแจ อย่าใช้คีมตัดลวดเหล็กสปรงิ ห้ามใชข้ ันขัว้ ไฟแรงสงู หา้ มใช้คอ้ นช่วยตถี ้า
ตอ้ งการตัดลวดหลงั ใชง้ านเช็ดทาความสะอาด หยอดน้ามันจุดขอ้ ต่อ
2.6.6 คมี ปอกสายไฟ
- ปากคีมมลี กั ษณะโคง้ มนและสามารถขยายออก ลด ให้แคบลงได้
969
- เหมาะกับการใชง้ านที่เกย่ี วกับงานไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ใชป้ อกสายไฟขนาดตา่ ง ๆ ได้
- ปกติคีมจะชุบแข็ง ไม่ควรจับช้ินงานที่ร้อน นอกจากคีมงานเชื่อม ไม่ควรใช้แทนประแจ อย่าใช้คีมตัดลวดเหล็ก
สปริง ห้ามใช้ขันข้ัวไฟแรงสูง ห้ามใช้ค้อนช่วยตีถ้าต้องการตัดลวดหลังใช้งานเช็ดทาความสะอาด หยอดน้ามัน
จดุ ขอ้ ต่อ
การใชค้ ีมด้วยความปลอดภยั
1. เลือกใช้คีมให้ตรงกับวัตถุประสงค์ของคีมชนิดนั้นๆ เช่น คีมตัดไม่เหมาะกับการใช้จับ คีมตัดสายไฟฟ้า
ไม่เหมาะที่จะใชต้ ัดแผ่นโลหะ เปน็ ตน้
2. ฟนั ทปี่ ากของคีมจบั ต้องไมส่ กึ หรอ ส่วนปากของคีมตัดตอ้ งไมท่ ่ือ
3. การจับคีม ควรใหด้ ้ามคีมอยูท่ ี่ปลายน้ิวท้ัง 4 แล้วใช้อุ้งมือและนวิ้ หัวแม่มอื กดดา้ มคีมอีกดา้ น จะทาให้มี
กาลงั ในการจับหรอื ตัด
4. การปอกสายไฟฟ้าควรใช้คีมปอกสายไฟฟ้าโดยเฉพาะ เพราะจะมีขนาดของรูปเท่ากับขนาดของ
สายไฟฟ้าพอดสี ว่ นการตัดสายไฟฟา้ หรือเสน้ ลวดที่ไมต่ ้องการใหโ้ ผล่จากช้นิ งานควรใชค้ ีมตัดปากทแยง
5. ไม่ควรใชค้ ีมตัดโลหะที่มขี นาดใหญห่ รอื แขง็ เกินไป แตใ่ หใ้ ชก้ รรไกรแทน
6. ไมค่ วรใช้คีมขันหรือคลายหัวนอต เพราะจะทาให้หัวนอตชารดุ
7. ถ้าตอ้ งจบั ชิน้ งานให้แนน่ ควรใช้คมี ลอ็ ก
8. ถ้าชิ้นงานมีขนาดใหญ่ ควรใช้คีมปากขยาย การใช้คีมท่ีปากเล็กจะไม่มีกาลังที่จะจับช้ินงานให้แน่น
เพราะ ด้ามของคมี จะถา่ งมากไป
9. ถ้าต้องการเกบ็ คีมไว้นาน ควรหยอดน้ามันท่ีจุดหมุนของคีม และควรมีการหยอดนา้ มนั เป็นระยะ
10.หลังจากเลกิ ใชง้ านประจาวนั ควรเชด็ ทาความสะอาด แล้วเก็บไว้ในทีท่ จี่ ัดเตรยี มไว้หรือท่ปี ลอดภัย
การบารุงรักษา
1. ใชค้ ีมให้ถกู ประเภทกับงาน
2. ไมค่ วรบบี คมี แรงเกินไปเพราะจะทาใหค้ ีมหัก
3. ไม่ควรใช้คอ้ นทบุ คีมแทนการตดั
4. ไมใ่ ช้คีมแทนค้อนหรอื เครอื่ งมืออื่นๆ
5. เช็ดทาความสะอาด หยดนา้ มนั ท่จี ุดหมุน แลว้ ชโลมนา้ มันหลงั การใชง้ าน
970
ใบความรู้ท่ี 17.3 เรือ่ ง ความปลอดภัยในการปฏบิ ัติงาน
ความปลอดภัยในการทางาน คือ สภาพท่ีปลอดภัยจากอุบัติภัยต่างๆอันจะเกิดแก่ร่างกาย ชีวิต หรือ
ทรพั ยส์ ินในขณะทป่ี ฏบิ ตั งิ าน ซ่งึ กค็ ือ สภาพการทางานท่ีถูกตอ้ งโดยปราศจาก "อบุ ตั ิเหต"ุ ในการทางานนั่นเอง
อุบัติเหตุ คือ เหตุการณ์ที่เกิดข้ึนอย่างไม่คาดหมายและเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะมีผลกระทบกระเทือนต่อการ
ทางาน ทาให้ทรัพยส์ ินเสียหายหรือ บคุ คลได้รับบาดเจ็บ การเกิดอุบตั ิเหตุนัน้ มักจะมีตัวการท่ีสาคัญอยู่ 3 ประการ
คือ
1. ตวั บุคคล คอื ผ้ปู ระกอบการงานในหน้าท่ีตา่ งๆ และเป็นสาเหตุหลักท่ีก่อใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ
2. สงิ่ แวดล้อมคือ ตัวองค์กรที่บคุ คลนัน้ ทางานอยู่
3. เคร่ืองมือ เครื่องจกั ร คือ อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการทางาน
สาเหตขุ องการเกิดอบุ ัติเหตุ
1. สภาพการทางานทไ่ี ม่ปลอดภัยในการทางาน อนั ไดแ้ ก่
1.1 เครือ่ งมอื เครื่องจกั ร หรอื อุปกรณใ์ นการทางานทีช่ ารดุ หรอื เสือ่ มคณุ ภาพ
1.2 พน้ื ท่ีทางานสกปรกหรือเต็มไปดว้ ยเศษวสั ดุ นา้ หรือน้ามนั
1.3 สว่ นทีเ่ ป็นอันตรายหรือส่วนเคล่ือนไหวของเครอ่ื งจักรไม่มีที่กาบงั หรือป้องกนั อันตราย
1.4 การวางผงั ไม่ถูกต้อง การจดั เกบ็ ส่ิงของไมเ่ ป็นระเบยี บ
1.5 สภาพการทางานไม่ปลอดภยั เชน่ เสียงดัง อากาศรอ้ น มีฝนุ่ ละออง
2. การกระทาท่ีไม่ปลอดภัยเปน็ สาเหตุใหญ่ที่ก่อให้เกิดอบุ ัตเิ หตุ การเกิดอุบัตเิ หตุทัง้ หมด การกระทาที่ไม่
ปลอดภยั ได้แก่
2.1 สว่ นทเ่ี ปน็ อันตรายหรือส่วนเคลื่อนไหวของเครอื่ งจกั รไม่มีทก่ี าบงั หรือป้องกนั อันตราย
2.2 การกระทาท่ขี าดความรู้ ไมถ่ กู วิธีหรือไม่ถูกข้ันตอน
2.3 ความประมาท พลัง้ เผลอ เหม่อลอย
2.4 การมนี ิสยั ชอบเสี่ยง หรือเจตนาหลีกเล่ียงเพอ่ื ความสะดวกสบาย
2.5 การไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บความปลอดภัยในการทางาน
2.6 การทางานโดยไม่มีอปุ กรณ์ป้องกันอันตรายสว่ นบคุ คล
2.7 ใชเ้ ครื่องมือไมเ่ หมาะสมหรอื ผดิ ประเภท
2.8 การทางานโดยสภาพร่างกายหรือจิตใจไม่ปกติ
2.9 ความรบี ร้อนเพราะงานต้องการความรวดเรว็
การปอ้ งกนั อุบัตเิ หตุ มีหลกั การหรอื วิธโี ดยแบ่งออกเปน็ 3 สถานการณ์คอื
1. การป้องกันก่อนการเกิดอุบตั เิ หตุ คือการปอ้ งกนั หรือมีการเตรียมการล่วงหน้า เพือ่ ไม่ให้เกิดอุบัตเิ หตุ โดยมี
หลกั การตา่ งๆ เช่น
971
1.1 หลกั การ 5 ส. ส่กู ารปอ้ งกันอุบตั เิ หตุ เช่น
1.1.1 สะสาง หมายถึงการแยกแยะงานดี-งานเสยี ใช้-ไม่ใช้
1.1.2 สะดวก หมายถึงการจดั การ จัดเก็บใหเ้ ป็นระเบยี บเปน็ หมวดหมู่
1.1.3 สะอาด หมายถึงการทาความสะอาดเครื่องมือ เคร่ืองจกั รอปุ กรณ์ สถานท่ีกอ่ นและหลังการใช้งาน
1.1.4 สุขลักษณะ หมายถงึ ผู้ปฏิบตั ิงานต้องรักษาสุขอนามัยของตวั เอง เครอ่ื งมือ และสถานท่ี
1.1.5 สร้างนิสยั หมายถึงการสร้างนสิ ัยที่ดี
1.2 กฎ 5 รู้
1.2.1 รู้ งานที่ปฏบิ ัตวิ า่ มีอนั ตรายอย่างไร มขี ้ันตอนการทางานอย่างไร
1.2.2 รู้ การเลือกใช้เคร่อื งมือ เครื่องจกั ร อุปกรณ์
1.2.3 รู้ วธิ กี ารใชเ้ คร่อื งมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
1.2.4 รู้ ขอ้ จากัดการใชเ้ คร่ืองมือ เคร่ืองจกั ร อปุ กรณ์
1.2.5 รู้ วิธกี ารบารุงรกั ษาเครื่องมือ เคร่ืองจักร อปุ กรณ์
1.3 ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบียบขอ้ บังคับ
2. การป้องกันขณะเกิดอบุ ตั ิเหตุ หมายถึงการเตรียมตัวลว่ งหน้า เปน็ การลดอนั ตรายใหน้ ้อยลงหรอื ไม่เกิดอันตราย
เลย มหี ลกั การดงั นี้คอื
2.1 การใช้อปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบุคคลเพ่อื ป้องกันอวยั วะของรา่ งกาย ดังน้ี
2.1.1 หมวกนริ ภยั
2.1.2 อุปกรณป์ อ้ งกนั ใบหน้า ดวงตา
2.1.3 อุปกรณล์ ดเสียง ป้องกันหู
2.1.4 อปุ กรณป์ อ้ งกนั ระบบหายใจ
2.1.5 อุปกรณ์ปอ้ งกันรา่ งกาย แขนขา
2.1.6 อุปกรณป์ ้องกนั มอื
2.1.7 อปุ กรณ์ป้องกันเทา้
3. การปอ้ งกันหลังการเกดิ อบุ ตั ิเหตุ คือการป้องกันไมใ่ ห้เกดิ อบุ ตั ิเหตุซ้าซ้อนขน้ึ หรอื มีการลดอนั ตรายที่เกิดขึ้น
อย่างต่อเนื่อง
3.1 การอพยพ การขนยา้ ย หลงั การเกดิ อุบัตเิ หตขุ ้ึนจะมีการตกใจ ตื่นกลัว ดังนนั้ ควรมกี ารวางแผนการอพยพ
หรือการขนย้ายผู้ป่วยอยา่ งถูกวิธี
3.2 การปฐมพยาบาลเบือ้ งตน้ เพอ่ื ลดอันตรายใหน้ ้อยลง เช่น การห้ามเลอื ด การผายปอด
3.3 การสารวจความเสียหายหลังการเกดิ อุบัตเิ หตุ เช่น ผบู้ าดเจ็บ สถานท่ี
ปจั จยั ทต่ี ้องพจิ ารณาในการรกั ษาความปลอดภยั ในการทางาน ประกอบด้วย