๔๔ บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในการวิจัย เรื่อง การพัฒนาทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์การร าวงมาตรฐานที่มีประสิทธิภาพ เปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน ประเมินทักษะปฏิบัติการร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนและความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเด วีส์ ผู้วิจัยได้สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ขั้นตอนการน าเสนอผลดังนี้ ๑. วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๒. สรุปผลการวิจัย ๓. การอภิปรายผล ๔. ข้อเสนอแนะ ๑. วัตถุประสงค์ของการวิจัย ๑. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ๘๐/๘๐ ๒. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติของเดวีส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ๓. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ๒. สรุปผลการวิจัย ๑. แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.92/91.62 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ คือ ๘๐/๘๐ ๒. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติ ร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนปฏิบัติทักษะของเดวีส์ มีทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน ที่ตั้งไว้ ๓. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการ จัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
๔๕ ๓. การอภิปรายผล ๑. แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.92/91.62 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารหลักการ และรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ และได้ผ่านกระบวนการขั้นตอนในการสร้าง อย่างมีระบบและวิธีการเขียนที่ดีผ่านการตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องจากอาจารย์ที่ปรึกษาและ ผู้เชี่ยวชาญมีการน าไปทดลองใช้กับนักเรียนท่ไม่ใช่กลุ่มเป้าหมายเพื่อความเหมาะสมของเวลาในการ จัดการเรียนรู้และน าไปจัดท าแผนประกอบการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพประกอบกับแผนการจัดการ เรียนรู้ที่จัดท าขึ้น เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติให้มากที่สุด โดยผู้สอนเป็นผู้ให้ ค าแนะน าส่งเสริมหรือกระตุ้นให้กิจกรรมที่เรียนด าเนินการเป็นไปตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่ก าหนด ไว้ ซึ่งเป็นลักษณะการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ที่ดีเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). โดยเริ่มจากการศึกษาเอกสารวิเคราะห์เนื้อหาและทักษะที่เป็นปัญหาออกเป็นเนื้อหาย่อย ๆ แล้วด าเนินการสร้างตามหลักการสร้างแบบฝึกทักษะที่ดี(วรายุทธ มะปะทัง 2563: 4-90; วิไลรัตน แซเอี้ยว 2560: 3-53) ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ นิตยา เต็งประเสริฐ (2557: 14-63) ผลการวิจัยพบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒. โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ มีประสิทธิภาพ 78.92/91.62 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ และ ปนัดดา แสงสิงห์ (2562: บทคักย่อ) การพัฒนากิจกรรมการ เรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่องร าวงมาตรฐาน กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ผลการวิจัยการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตาม แนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ร าวงมาตรฐาน ส าหรับนักรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่มีประสิทธิภาพ (E./E) เท่ากับ80.10/81.3 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ นักเรียนที่ได้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ มีทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน ที่ตั้งไว้ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้รับการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญ และผู้ศึกษาได้ปรับปรุงแก้ไขให้ตรงกับ จุดประสงค์ สอดคล้องกับเนื้อหา เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน โดยผู้ศึกษาได้ศึกษาหลักสูตร คู่มือ เนื้อหา และวิเคราะห์จุดประสงค์การเรียนรู้ และด าเนินการสร้างตามหลักสูตรกรมวิชาการ (กระทรวงศึกษาธิการ. 2560) จึงส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน ซึ่งผลการทดสอบที่ได้มีความน่าเชื่อถือ เนื่องมาจากเครื่องมือที่ใช้คือแบบทดสอบภาคปฏิบัติ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน รายชิวชาดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่ผู้ ศึกษาสร้างขึ้นได้รับการตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไข ประเมินตรวจสอบคุณภาพความเหมาะสมจาก ผู้เชี่ยวชาญ และได้ด าเนินการเป็นขั้นตอนอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์หาดัชนีความสอดคล้อง ระหว่างข้อสอบและจุดประสงค์การเรียนรู้ (IOC) และสาระการเรียนรู้ จากหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และศึกษาเอกสารการจัดท าแบบฝึกเสริมทักษะ การวัดผล ประเมินผลจนเข้าใจ และน าความรู้มาสร้างแบบทดสอบ ตลอดจนน าไปทดลองใช้ (Try out) แล้ว น าแบบทดสอบมาวิเคราะห์หาคุณภาพก่อนที่จะน าไปใช้จริง ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ หทัย
๔๖ ภัทร ศุภคุณ (2561: 5-73) ได้ท าการการปฏิบัติลองชุดเบื้องต้นโดยใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติ ตามแนวคิดของเดวีส์ ผลการวิจัยผลการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น พบว่า มีค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนทักษะปฏิบัติ อยู่ที่ 89.17 3)เจตคติของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น มี ค่าเฉลี่ยคะแนนเจตคติที่ดีอยู่ที่ 4.25 มีค่าความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ๓. นักเรียนความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์โดยรวมมี ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ทั้งนี้อาจเนื่องมาจาก มีจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นเป็นการจัดการ เรียนรู้ที่ดี โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่มีกิจกรรมต่าง ๆ อย่างหลากหลาย สร้างความสนใจให้นักเรียนต้องการเรียนรู้กิจกรรม กระตุ้นความสนใจของผู้เรียนส่งเสริม ความสามารถ ด้านทักษะปฏิบัติทางด้านนาฎศิลป์ เรื่อง ร าวงมาตรฐานที่พัฒนาขึ้นส่งผลให้นักเรียน เกิด ความพึงพอใจและมีความสุขในการเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับผลการวิจัยของ ปนัดดา แสงสิงห์ (2562: 4-86) ได้ท าการการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิด ของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่องร าวงมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่เรียนโดยกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อ มัลติมีเดีย เรื่องร าวงมาตรฐาน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ๔. ข้อเสนอแนะ ๑. ข้อเสนอแนะส าหรับการน าไปใช้ ๑.๑ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ครูควรให้ค าแนะน า ดูแลอย่างใกล้ชิด และคอยกระตุ้น ให้นักเรียนมีส่วนร่วม แสดงความคิดเห็น โดยครูกล่าวน าเพื่อสร้างความมั่นใจให้นักเรียน และแสดง ความชื่นชมในผลการเรียนของนักเรียน ๑.๒ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้เอกสารประกอบการเรียน ไม่ควรก าหนดเวลาให้ นักเรียนท ากิจกรรมการเรียนรู้ให้เสร็จภายในเวลาที่ก าหนด ควรให้นักเรียนได้มีการฝึกซ้อมในการ ปฏิบัติ ๑.๓ ควรสร้างกิจกรรมการเรียนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่มุ่งสร้างคุณลักษณะใน การ ท างานโดยมีกิจกรรมฝึกปฏิบัติให้มากเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะในการท างานและสามารถน าไปใช้ ประกอบอาชีพได้ ๒. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ๒.๑ ควรมีการพัฒนาเอกสารประกอบการเรียนส าหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชีพและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์) หลาย ๆ เรื่อง และท าต่อเนื่องทุกระดับชั้น ๒.๒ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในทุกสาระที่น ารูปแบบทักษะปฏิบัติงานของเดวีส์ ไปใช้ นั้นรูปแบบของกระบวนการเรียนการสอนที่สมบูรณ์นั้น มีองค์ประกอบอื่น ๆ อีกหลายประการที่ครู จะต้องน ามาผสมผสานเข้าด้วยกัน เช่น จิตวิทยาการสอน บรรยากาศในการเรียนรู้ เป็นต้น เพื่อให้ กระบวนการเรียนรสมบูรณ์มากที่สุด ส่งผลต่อผลสมฤทธิ์ของนกเรียน เพื่อน าไปสู่เป้าหมายตามเกณฑ์
๔๗ ที่ตั้งไว้ สอดคล้องและร้อยรัดกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เป้าหมายของมาตรฐานการเรียนรู้ตามสาระ ที่ก าหนด
๔๘ บรรณานุกรม
๔๙ บรรณานุกรม กรมศิลปากร. (2550).ทะเบียนวิพิธทัศนา ชุดระบ า ร า ฟ้อน เล่ม 2. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ไทภูมิ พับลิชชิ่ง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรง พิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). แนวทางการจัดการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ. กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: กระทรงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). แนวทางการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: ส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตร พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา. กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและหลักสูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. ส านักคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จ ากัด. ทิพวรรณ ศรีตัมภวา. (2553). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้บทเรียน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อเรื่องการใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. ส านักวิทยบริการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ทิศนา แขมมณี. (2556). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 17. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิตยา เต็งประเสริฐ. (2557). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยการผสมผสานทักษะปฏิบัติ เดวีส์และการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติวิชาดนตรี-นาฏศิลป์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. ปนัดดา แสงสิงห์. (2562). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ร าวงมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะส าหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ .วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการเรียนสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. ปานทิพย์ ตุลพันธ์. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้วิชานาฏศิลป์ไทย โดยใช้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์
๕๐ เพื่อส่งเสริม ความกล้าแสดงออกของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนเกาะ หมากน้อยจังหวัดพังงา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎ สุราษฎร์ธานี. รัศมี จิตวิมลนิมิต (2553). การสร้างบทเรียนออนไลน์โดยใช้วิธีสอนแบบสืบเสาะความรู้ วิชา คอมพิวเตอร์เรื่องการสืบค้นเทคโนโลยี. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). ทฤษฎีความพึงพอใจ.ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542 (หน้า 775). กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์นานมีบุ๊คส์. วรายุทธ มะปะทัง. (2563).การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติ ตามแนวคิดของเดวีส์เรื่อง พื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการเรียนสอน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม. วิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว.(2560: 21). ร าวงมาตรฐาน โดยใช้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์. ส านักวิทยบริการ และเทคโนโลยีสารสนเทศ;มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. หทัยภัทร ศุภคุณ. (2561). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการปฏิบัติการลองชุดเบื้องต้น โดย ใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศีกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์). วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการ สอน มหาวิทยาลัยบูรพา. อ่อนสี ศรีเที่ยง. (2552). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะหาความรู้ 7 ขั้น เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. Davies, I.K. (1971). The Management of Learning. London : McGraw - Hill. Ferrone, Jenny Kristina. (2003). “Enabling Performance Skills : Assessment in Engineering Herzberg, Frederick, Bernarol and Synderman, Barbara Bloch. (1959). The Motivation to Work. New York : John WileyandSons. Scott, A.H. (1970). Milkproduction. London : lliffed.
๕๑ ภาคผนวก
๕๒ ภาคผนวก ก รายนามผู้เชี่ยวชาญ
๕๓ รายนามผู้เชี่ยวชาญ 1) ดร.จิราพรรณ เอี่ยมแก้ว ต าแหน่ง อาจารย์สาขาวิชานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 2) นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม ต าแหน่ง รองผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดุงวิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี 3) นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย ต าแหน่ง ครู ค.ศ 2 วิทยฐานะช านาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
๕๔ ภาคผนวก ข เครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติร าวงมาตรฐาน
๕๕ แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๒๓10๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ เรื่อง การปฏิบัติเพลงหญิงไทยใจงาม เวลาเรียน ๒ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา 256๖ ชื่อผู้สอน นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู โรงเรียนบ้านดุงวิทยา 1. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.๓/๒ มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ 2. สาระส าคัญ เพลงหญิงไทยใจงาม เป็นเพลงล าดับที่เจ็ดในการแสดงร าวงมาตรฐานของกรมศิลปากร เนื้อหาของบทร้องกล่าวถึงคุณงามความดีของหญิงไทยที่มีมากกว่าความงดงามของรูปร่างหน้าตา เปรียบเสมือนแสงดาวที่ส่งเสริมให้ดวงจันทร์สวยเด่น โดยใช้ท่าร าพรหมสี่หน้าและท่าร ายูงฟ้อนหาง อันประกอบด้วยทักษะการเปลี่ยนเอียง การเปลี่ยนมือ การย้ าเท้า การกระทุ้งเท้า และการหันตัว 3. สาระการเรียนรู้ 1. นักเรียนสามารถปฏิบัติท่าร าประกอบเพลงหญิงไทยใจงามได้อย่างถูกต้องตรงจังหวะ 2. นักเรียนมพฤติกรรมตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ก าหนดไว้ 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บทร้องเพลงหญิงไทยใจงาม 2. นาฏยศัพท์ที่ใช้ประกอบเพลงหญิงไทยใจงาม 3. ท่าร าพรหมสี่หน้าและท่าร ายูงฟ้อนหาง 5. สมรรถนะส าคัญ ปฏิบัตินาฏยศัพท์และร่ายร าประกอบเพลง 6.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้
๕๖ ๓. รักความเป็นไทย 7.กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน า 1. นักเรียนเข้ากลุ่มตามที่แบ่งไว้จากนั้นทบทวนความรู้ของชั่วโมงที่ผ่านมาโดยการปฏิบัติท่า ร าเพลงหญิงไทยใจงาม ขั้นสอน 2. นักเรียนชมการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงามของครูโดยเน้นย้ าให้นักเรียน สังเกตการปฏิบัติการแสดงอย่างละเอียด และแนะน าจุดที่ควรสังเกตเป็นพิเศษ ขั้นปฏิบัติ 3. ให้นักเรียนร้องเพลงหญิงไทยใจงาม และย้ าเท้าตามจังหวะเพลง เริ่มการปฏิบัติท่าร า พรหมสี่หน้าและท่าร ายูงฟ้อนหาง 4. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มแล้วแยกย้ายกันไปฝึกปฏิบัติตามแบบเพื่อนช่วยเพื่อน การฝึก ทักษะย่อยทั้ง 4 ด้าน โดยเน้นย้ าให้นักเรียนท าการฝึกซ้ าหลายๆ ครั้ง และฝึกปฏิบัติเรียงตามทักษะ ย่อย ที่ครูสาธิต ในระหว่างนี้ครูจะเดินดูและให้ค าแนะน าติชม ๕. เมื่อนักเรียนปฏิบัติทักษะย่อยด้านต่างๆ ได้ตามขั้นตอนแล้ว ครูจะให้เทคนิควิธีการในการ ปฏิบัติท่าร าให้สวยงามขึ้น ซึ่งเทคนิควิธีการอาจแตกต่างกันไปตามความสามารถของนักเรียนแต่ละ กลุ่ม 7. นักเรียนปฏิบัติทักษะย่อยในแต่ละส่วนได้แล้วจึงให้นักเรียนฝึกปฏิบัติทักษะย่อย ๆ ต่อเนื่องกันและฝึกปฏิบัติหลาย ๆ ครั้งติดต่อกันจนเกิดความช านาญ ขั้นสรุป 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม กลุ่มละ 1 รอบ โดยให้เพื่อน ๆ ช่วยกันสังเกตเพื่อให้ทราบถึงจุดบกพร่อง ขั้นวัดและประเมินผล 9. นักเรียนแต่ละกลุ่มเข้ารับการประเมินโดยมีครูให้ค าติชม แก้ไขข้อบกพร่องและแนะน า เพิ่มเติม 8. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 1. วีดีทัศน์ 2. Power Point 3. แผ่นเพลง
๕๗ ๙.การวัดและประเมินผลการเรียน 9.สื่อ อุปกรณ์ และแหล่งเรียนรู้ 1. หนังสือเรียนนาฏศิลป์ ม.5 2. บัตรภาพ 3. กระดาษปรู๊ฟ 4. แหล่งสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต 1. http://www.natasinthai.com/kansadan.html 10.กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................. ............................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ วิธีการวัด เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน ประเมินทักษะการปฏิบัติ ท่าร าประกอบเพลงสังเกต พฤติกรรมการมีส่วนร่วมใน ชั้นเรียนตามคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ที่ก าหนดไว้ แบบประเมินทักษะ การแสดง เรื่องร าวง มาตรฐาน แบบบันทึกการ สังเกตเพื่อประเมิน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของ นักเรียน เป็นแบบรูบริค ก าหนดคะแนน ออกเป็น 4 ระดับ ท าการประเมินใน 5 ประเด็น ได้แก่ ความถูกต้องของท่าร า ลีลาท่าร า จังหวะ ความพร้อมเพรียง และความกล้า แสดงออก 1 คะแนน ส าหรับการ แสดง พฤติกรรม 1 ครั้ง มีคะแนนเฉลี่ย คุณภาพ ระดับ 3 ขึ้นไป มีคะแนนเฉลี่ยรวม รายพฤติกรรมระดับ 2 ขึ้นไป
๕๘ ใบความรู้ เรื่อง เพลงหญิงไทยใจงาม เพลงหญิงไทยใจงาม ค าร้อง ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม ท านอง ครูเอื้อ สุนทรสนาน เดือนพราว ดาวแวววาวระยับ แสงดาวประดับ ส่องให้เดือนงามเด่น ดวงหน้า โสภาเพียงเดือนเพ็ญ คุณความดีที่เห็น เสริมให้เด่นเลิศงาม ขวัญใจ หญิงไทยส่งศรีชาติ รูปงามวิลาส ใจกล้ากาจเรืองนาม เกียรติยศ ก้องปรากฎทั่วคาม หญิงไทยใจงาม ยิ่งเดือนดาวพราวแพรว ความหมาย ดวงจันทร์ที่ส่องแสงอยู่บนท้องฟ้ามีความงดงามมาก และยิ่งได้แสงอันระยิบระยับของ ดวงดาวด้วยแล้ว ยิ่งท าให้ดวงจันทร์นั้นงามเด่นยิ่งขึ้น เปรียบเหมือนกับดวงหน้าของหญิงสาวที่มีความ งดงามอยู่แล้ว ถ้ามีคุณความดีด้วย ก็จะท าให้หญิงนั้นงามเป็นเลิศ ผู้หญิงไทยนี้เป็นขวัญใจของชาติ เป็นที่เชิดหน้าชูตาของชาติ รูปร่างก็งดงาม จิตใจก็กล้าหาญ ดังที่มีชื่อเสียงปรากฏอยู่ทั่วไป
๕๙ ท่าร า ท่าพรหมสี่หน้า และท่ายูงฟ้อนหาง ภาพที่ ข. ๑ ท่าร าพรหมสี่หน้า ภาพที่ ข. ๒ ท่าร ายูงฟ้อนหาง อธิบายท่าร า ท่าพรหมสี่หน้า จีบคว่ าสองมือข้างตัวระดับเอว หมุนจีบขึ้น แล้วปล่อยจีบเป็นแบมือ หงาย ทั้งสองมือสูงระดับศีรษะ หันปลายนิ้วออกข้างศีรษะ ท่ายูงฟ้อนหาง แทงปลายที่ตั้งข้างศีรษะลง ส่งมือ ไปข้างหน้า แขนตึง ฝ่ามือคว่ า ปลายนิ้ว เชิดขึ้น ท่าร าประกอบเพลงหญิงไทยใจงาม ใช้ท่าพรหมสี่หน้า และท่ายูงฟ้อนหาง โดยเริ่มใช้ท่าพรหม สี่หน้า ต่อด้วยท่ายูงฟ้อน ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ การกาวเท้าจะมี 4 จังหวะ ให้ก้าวเท้าตามจังหวะที่ 1-4 ต่อเนื่องกันไปให้เข้ากับจังหวะเพลง โดยเริ่มต้นเท้าขวา คือ จังหวะที่ 1 วางเท้าหลัง(เท้าซ้าย) เต็มเท้า ยกเท้าหน้า (เท้าขวา) ขึ้น แล้ววางเท้าลง จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าซ้าย จังหวะที่ 3 ก้าวเท้าขวา จังหวะที่ 4 กระทุ้งเท้าซ้าย
๖๐ ใบงาน เรื่อง เพลงหญิงไทยใจงาม
๖๑ แบบทดสอบ ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงใน กระดาษค าตอบ 1. ผู้แต่งท านองเพลงหญิงไทยใจงามคือใคร ก. ครูเอื้อ สุนทรสนาน ข. อาจารย์มนตรี ตราโมท ค. กรมศิลปากร ง. ท่านผู้หญิงละเอียดพิบูลสงคราม 2. ผู้ที่แต่งค าร้องเพลงหญิงไทยใจงามคือใคร ก. กรมประชาสัมพันธ์ ข. คุณครูลมลยมะคุปต์ ค. กรมศิลปากร ง. ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม 3. ร าวงมาตรฐานมีทั้งหมดกี่พลง ก. ๙ เพลง ข. 10 เพลง ค. 11 เพลง ง. 12 เพลง 4. ข้อใดไม่ใช่เพลงที่ใช้ในร าวงมาตรฐาน ก. เพลงภูไทกาฬสินธุ์ ข. เพลงงามแสงเดือน ค. เพลงร ามาสิมาร า ง. เพลงคืนเดือนหงาย 5. ข้อใดคือการแต่งกายที่ใช้ในร าวงมาตรฐาน ก. แต่งกายแบบพื้นเมือง ข. แต่งกายแบบสากลนิยม ค. แต่งกายแบบพระราชนิยม ง. ถูกทุกข้อ 6. การแสดงร าวงมาตรฐานมีการแต่งกายกี่แบบ ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ 7. จากภาพคือท่าร าใด ก. ท่าร าล่อแก้ว ท่าร าขอแก้ว ข. ท่าพรหมสี่หน้า ท่ายูงฟ้อนหาง ค. ท่าขัดจางนาง ท่าจันทร์ทรงกลด ง. ไม่มีข้อใดถูก 8. ร าวงมาตรฐานพัฒนามาจากการแสดงอะไร ก. ร าโทน ข. ร าพาดผ้า ค. ร าวงพื้นเมือง ง. ข้อที่ 1 และ 3 ถูก 9. ร าวงมาตรฐานสามารถน าไปแสดงในงานใดได้ ก. วันสงกรานต์ ข. วันลอยกระทง ค. งานเลี้ยงต้อนรับ ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดคือรปแบบของการแสดงร าวงมาตรฐาน ก. แบบสีเหลี่ยม ข. แบบวงรี ค. แบบแถวตอนลึก ง. แบบวงกลม
๖๒ แบบบันทึกคะแนน เรื่อง การปฏิบัติเพลงหญิงไทยใจงาม ที่ ชื่อ-นามสกุล ๑. ความ ถูกต้อง ของท่า ร า ๒. ความสัม พันธ์ของ ท่าร ากับ จังหวะ เพลง ๓. ความ สวยงาม และอ่อน ช้อย ๔. ความ มั่นใจใน การ แสดงออก รวม คะแนน คิดเป็น ร้อยละ ผลการ ประเมิน 5 5 5 5 20 100 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 รวม คิดเป็นร้อยละ (ลงชื่อ)……………………………………ผู้สอน
๖๓ แบบบันทึกคะแนนความพึงพอใจของนักเรียน ที่ ชื่อ-นามสกุล รายการประเมิน ด้านเนื้อหา 1. เนื้อหามี ความเหมาะสม เข้าใจง่าย 2. เนื้อหามี ความแปลกใหม่ น่าสนใจ 3. น าไปใช้ใน ชีวิตประจ าวันได้ ด้านปฏิบัติงาน 4. พอใจกับ กิจกรรมที่ร่วม ศึกษาค้นคว้า 5. มีขั้นตอนและ กระบวนการ ชัดเจน ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 6. มีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกขั้นตอน 7. กิจกรรม/กระบวนการช่วยให้ เข้าใจ เนื้อหามากขึ้น 8. กิจกรรมการเรียนรู้มีความ หลากหลาย ด้านการวัดและ ประเมินผล 9. นักเรียนมี ส่วนร่วมในการ วัด และประเมินผล 10. มีเกณฑ์ การให้คะแนนที่ ชัดเจน ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 รวม (ลงชื่อ)……………………………………ผู้สอน
๖๔ บันทึกผลหลังสอน ผลการเรียนรู้ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................................................ .... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 1. ปัญหาและอุปสรรค ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................... ..................... .............................................................................................................. .................................................. 2. ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา ............................................................................................................................. ................................... .......................................................................................................................................... ...................... ............................................................................................................. ................................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ...............................................ผู้สอน (นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
๖๕ ความคิดเห็นครูพี่เลี้ยง ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................. .............................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย) ครูพี่เลี้ยง ความคิดเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ...................................................................................................................................... .......................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ....................................................................................................................................... ......................... ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นายเผด็จ ภักดีนวล) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ข้อเสนอแนะ/ผลการนิเทศ ............................................................................................................................. ................................... .................................................................................................................................................. .............. ..................................................................................................................... ........................................... ...................................................................................................................................... .......................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ...............................................ผู้นิเทศ (นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม) รองผู้อ านวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
๖๖ ภาคผนวก ค เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
๖๗ แบบทดสอบ เรื่อง การปฏิบัติเพลงหญิงไทยใจงาม ค าชี้แจง ให้นักเรียนเลือกค าตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงค าตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงใน กระดาษค าตอบ 1. ผู้แต่งท านองเพลงหญิงไทยใจงามคือใคร ก. ครูเอื้อ สุนทรสนาน ข. อาจารย์มนตรี ตราโมท ค. กรมศิลปากร ง. ท่านผู้หญิงละเอียดพิบูลสงคราม 2. ผู้ที่แต่งค าร้องเพลงหญิงไทยใจงามคือใคร ก. กรมประชาสัมพันธ์ ข. คุณครูลมลยมะคุปต์ ค. กรมศิลปากร ง. ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม 3. ร าวงมาตรฐานมีทั้งหมดกี่พลง ก. ๙ เพลง ข. 10 เพลง ค. 11 เพลง ง. 12 เพลง 4. ข้อใดไม่ใช่เพลงที่ใช้ในร าวงมาตรฐาน ก. เพลงภูไทกาฬสินธุ์ ข. เพลงงามแสงเดือน ค. เพลงร ามาสิมาร า ง. เพลงคืนเดือนหงาย 5. ข้อใดคือการแต่งกายที่ใช้ในร าวงมาตรฐาน ก. แต่งกายแบบพื้นเมือง ข. แต่งกายแบบสากลนิยม ค. แต่งกายแบบพระราชนิยม ง. ถูกทุกข้อ 6. การแสดงร าวงมาตรฐานมีการแต่งกายกี่แบบ ก. 1 แบบ ข. 2 แบบ ค. 3 แบบ ง. 4 แบบ 7. จากภาพคือท่าร าใด ก. ท่าร าล่อแก้ว ท่าร าขอแก้ว ข. ท่าพรหมสี่หน้า ท่ายูงฟ้อนหาง ค. ท่าขัดจางนาง ท่าจันทร์ทรงกลด ง. ไม่มีข้อใดถูก 8. ร าวงมาตรฐานพัฒนามาจากการแสดงอะไร ก. ร าโทน ข. ร าพาดผ้า ค. ร าวงพื้นเมือง ง. ข้อที่ 1 และ 3 ถูก 9. ร าวงมาตรฐานสามารถน าไปแสดงในงานใดได้ ก. วันสงกรานต์ ข. วันลอยกระทง ค. งานเลี้ยงต้อนรับ ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดคือรูปแบบของการแสดงร าวงมาตรฐาน ก. แบบสีเหลี่ยม ข. แบบวงรี ค. แบบแถวตอนลึก ง. แบบวงกลม
๖๘ เฉลยแบบข้อสอบ เรื่อง การปฏิบัติเพลงหญิงไทยใจงาม 1. ก. ครูเอื้อ สุนทรสนาน 2. ง. ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม 3. ข. 10 เพลง 4. ก. เพลงภูไทกาฬสินธุ์ 5. ง. ถูกทุกข้อ 6. ง. 4 แบบ 7. ข. ท่าพรหมสี่หน้า ท่ายูงฟ้อนหาง 8. ง. ข้อที่ 1 และ 3 ถูก 9. ง. ถูกทุกข้อ 10.ง. แบบวงกลม
๖๙ แบบประเมินระดับความพึงพอใจ การจัดการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอน ทักษะปฏิบัติของเดวีส์รายวิชา นาฏศิลป์ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑๐ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน ชื่อ.............................................สกุล...........................................ชั้น....................... ..เลขที่................... เพศ ชาย หญิง สถานภาพ นักเรียน ครู/อาจารย์ อื่นๆ โปรดระบุ.................. ข้อเสนอแนะ ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ................................... (ลงชื่อ)……………………………………ผู้สอน ข้อที่ รายการประเมิน คะแนนการประเมิน มาก ที่สุด (๕) มาก (๔) ปาน กลาง (๓) น้อย (๒) น้อย ที่สุด (๑) ๑ เนื้อหามีความเหมาะสม เข้าใจง่าย ๒ เนื้อหามีความแปลกใหม่ น่าสนใจ ๓ น าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ๔ พอใจกับกิจกรรมที่ร่วมศึกษาค้นคว้า ๕ มีขั้นตอนและกระบวนการชัดเจน ๖ มีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกขั้นตอน ๗ กิจกรรม/กระบวนการช่วยให้เข้าใจเนื้อหามากขึ้น ๘ กิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลาย ๙ นักเรียนมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล ๑๐ มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน
๗๐ ภาคผนวก ง การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือ
๗๑ ตารางที่ ง 1. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เชิงเนื้อหา ของแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๒๓10๑ แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การปฏิบัติเพลงหญิงไทยใจงาม แผนการ จัดการเรียนรู้ที่ รายการประเมิน ผู้เชียวชาญ (R) ผลรวม ของ คะแนน (∑ ) ค่า (IOC) แปลผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 การปฏิบัติเพลง หญิงไทยใจงาม 1. สาระส าคัญ 1 1 1 3 1 ใช้ได้ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 1 1 3 1 ใช้ได้ 3. สาระการเรียนรู้ 1 1 1 3 1 ใช้ได้ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1 1 1 3 1 ใช้ได้ 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1 1 1 3 1 ใช้ได้ 6. การวัดและประเมินผล 1 1 1 3 1 ใช้ได้ รวม 1 ใช้ได้
๗๒ ตารางที่ ง 2. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๒๓10๑ ข้อที่ คะแนนของผู้เชี่ยวชาญ ค่า (∑ ) ค่า (IOC) ผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้ 2 1 0 1 2 0.67 น าไปใช้ได้ 3 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้ 4 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้ 5 1 0 1 2 0.67 น าไปใช้ได้ 6 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้ 7 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้ 8 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้ 9 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้ 10 1 1 1 3 1 น าไปใช้ได้
๗๓ ภาคผนวก จ ภาพการวิจัย
๗๔ ภาพที่ จ. ๑ การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 2 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๗๕ ภาพที่ จ. 3 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 4 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๗๖ ภาพที่ จ. 5 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 6 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๗๗ ภาพที่ จ. 7 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 8 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๗๘ ภาพที่ จ. 9 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 10 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๗๙ ภาพที่ จ. 11 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 12 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๘๐ ภาพที่ จ. 13 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 14 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๘๑ ภาพที่ จ. 15 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 16 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๘๒ ภาพที่ จ. 17 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ภาพที่ จ. 18 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม
๘๓ ประวัติย่อผู้วิจัย
๘๔ ประวัติย่อผู้วิจัย ชื่อ-สกุล นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู วัน/เดือน/ปีเกิด วันที่ ๑ พฤศจิกายน พ.ศ.2543 สถานที่เกิด ๑๔๙ หมู่ 8 ต าบลบ้านตาด อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี สถานที่ฝึกปฏิบัติการสอน โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ต าแหน่ง นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ประวัติการศึกษา ประถมศึกษา โรงเรียนบ้านงิ้วมีชัย อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี มัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนบ้านงิ้วมีชัย อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนบ้านดุงวิทยา อ าเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ปริญญาตรี คณะครุศาสตร์สาขานาฏศิลป์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี