การพัฒนาปฏิบัติร าวงมาตรฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ นงลักษณ์ หุ่นพลู รหัสนักศึกษา 6๒10010512๔ รายงานการวิจัยในชั้นเรียนนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาหลักสูตร ครุศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชานาฏศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 256๖
ก ชื่อเรื่อง การพัฒนาปฏิบัติร าวงมาตรฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ผู้วิจัย นงลักษณ์ หุ่นพลู6๒10010512๔ สาขาวิชา นาฏศิลป์ศึกษา ปีการศึกษา 256๖ บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการ ปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ของเดวีส์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียน 3.เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ กลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนบ้านดุงวิทยา สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานีที่เรียนรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 256๖ จ านวน 40 คน จากห้องเรียนจ านวน 1 ห้อง (ห้อง ๓) ซึ่งกลุ่ม ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการ สอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ จ านวน 1 แผน เป็นแบบทดสอบภาคปฏิบัติ จ านวน 10 ข้อ เป็น แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ (Rating Scale) 5 ระดับ จ านวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test แบบกลุ่มไม่ อิสระ (Dependent Samples t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.92/91.62 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ คือ 80/80 2. นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการ ปฏิบัติร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนปฏิบัติทักษะของเดวีส์ มีทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน ที่ตั้งไว้ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการ จัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด
ข กิตติกรรมประกาศ การวิจัยครั้งนี้ส าเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความกรุณาและความช่วยเหลืออย่างสูงยิ่งจาก ดร.จิราพรรณ เอี่ยมแก้ว กรุณาให้ค าปรึกษาแนะน าและประสบการณ์ที่มีคุณค่ายิ่ง ตลอดจนให้ ก าลังใจและสนับสนุนการท าการวิจัยอย่างต่อเนื่อง จนบรรลุผลท าให้การวิจัยมีความถูกต้องสมบูรณ์ ผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ ขอขอบพระคุณผู้บริหาร คณะครู โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ที่ให้ความร่วมมือในการทดลองใช้ เครื่องมือและเก็บรวบรวมข้อมูล ช่วยเหลือ และสนับสนุนในการศึกษาครั้งนี้ สุดท้ายนี้ผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า งานวิจัยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจหากมี ข้อผิดพลาดประการใด ผู้วิจัยขอรับไว้และขออภัยมา ณ โอกาสนี้ด้วย นางสาวนงลักษณ์ หุ่นพลู
ค สารบัญ หัวเรื่อง หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ค สารบัญ ง สารบัญตาราง จ สารบัญภาพ ฉ บทที่ 1 บทน า 1 ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1 วัตถุประสงค์การศึกษา 2 สมมติฐานการศึกษา 2 ขอบเขตของการศึกษา 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5 หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 5 ตัวชี้วัดและแนวคิดของการจัดการเรียนรู้สาระนาฏศิลป์ เรื่อง ร าวง มาตรฐาน 13 รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ 17 ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากรูปแบบการเรียนรู้ 18 ความพึงพอใจ 19 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 24 กรอบแนวคิดในการวิจัย 31 บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย 32 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 32 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 32 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย 33 การเก็บรวบรวมข้อมูล 35 การวิเคราะห์ข้อมูล 36 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 36
ง สารบัญ (ต่อ) หัวเรื่อง หน้า การเก็บรวบรวมข้อมูล 35 การวิเคราะห์ข้อมูล 36 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 36 บทที่ ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 41 สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 41 ล าดับขั้นในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล 41 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 41 บทที่ ๕ สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 44 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 44 สรุปผลการวิจัย 44 การอภิปรายผล 45 ข้อเสนอแนะ 46 บรรณานุกรม 48 ภาคผนวก 51 ภาคผนวก ก รายนามผู้เชี่ยวชาญ 52 ภาคผนวก ข เครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติร าวงมาตรฐาน 54 ภาคผนวก ค เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 66 ภาคผนวก ง การวิเคราะห์คุณภาพเครื่องมือ 70 ภาคผนวก จ ภาพการวิจัย 73 ประวัติย่อผู้วิจัย 88
จ สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า ตารางที่ 2.1 เกณฑ์การให้คะแนนแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ 22 ตารางที่ 3.1 เกณฑ์การประเมินแบบทดสอบภาคปฏิบัติ 33 ตารางที่ 4.๑ ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน 42 ตารางที่ 4.๒ การวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานก่อนเรียนและ หลังเรียน 42 ตารางที่ 4.๓ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจในการเรียนรู้ของ นักเรียน 43 ตารางที่ ง 1. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) เชิงเนื้อหาของแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา นาฏศิลป์ ศ ๒๓10๑ 71 ตารางที่ ง 2. ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ 72
ฉ สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย 31 ภาพที่ ข. ๑ ท่าร าพรหมสี่หน้า ๕๙ ภาพที่ ข. ๒ ท่าร ายูงฟ้อนหาง ๕๙ ภาพที่ จ. ๑ การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ๗๔ ภาพที่ จ. 2 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม ๗๔ ภาพที่ จ. 3 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 75 ภาพที่ จ. 4 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 75 ภาพที่ จ. 5 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 76 ภาพที่ จ. 6 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 76 ภาพที่ จ. 7 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 77 ภาพที่ จ. 8 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 77 ภาพที่ จ. 9 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 78 ภาพที่ จ. 10 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 78 ภาพที่ จ. 11 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 89 ภาพที่ จ. 12 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 89 ภาพที่ จ. 13 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 90 ภาพที่ จ. 14 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 90 ภาพที่ จ. 15 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 91 ภาพที่ จ. 16 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 91 ภาพที่ จ. 17 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 92 ภาพที่ จ. 18 การปฏิบัติท่าร าเพลงหญิงไทยใจงาม 92
๑ บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา นาฏศิลป์ไทยเป็นศิลปะการแสดงที่มีมาแต่โบราณ และได้รับการพื้นฟูมาทุกยุคทุกสมัยโดย มีองค์พระมหากษัตริย์ทรงให้การท านุบ ารุงและจัดการแสดงในงานพระราชพิธีต่าง ๆ ที่เป็นงานทั่วไป ส าหรับประชาชน มีรูปแบบและลักษณะเฉพาะซึ่งมีความแตกต่างกันอยู่มาก การแสดงแต่ละประเภท จะมีเอกลักษณ์ซึ่งบ่งบอกถึงวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษได้รังสรรค์ไว้ด้วยภูมิปัญญาอันชาญฉลาด เพื่อมอบ เป็นมรดกไว้ให้ลูกหลานได้อนุรักษ์และสืบทอดไว้ให้คงอยู่คู่แผ่นดินไทย (กรมศิลปากร. 2550: 14) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) (Basic Education Core Curriculum, Ministry of Education A.D. 2008) ได้มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุก คนให้เป็นก าลังของชาติเพื่อเป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกใน การเป็น พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จ าเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุก คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานได้มี การจัดการศึกษาลักษณะเป็นกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่ก าหนดจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส าคัญ 5 ประการคือ 1) ความสามารถในการสื่อสาร 2) ความสามารถในการคิด 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และ 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนมุ่งพัฒนาให้มี คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการฝึกทักษะร าวงมาตรฐานโดยใช้ทักษะปฏิบัติของเดวีส Davies, 1971 : 50 - 56 อ้างถึงใน ทิศนา แขมณี, 2555) โดยเฉพาะในขั้นที่ 3 ให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ตองอาศัยความมี วินัย ท าซ้ า บ่อยครั้งจนเกิดเป็นความเคยชิน ความช านาญ ช่วยเสริมสร้างความมีวินัยให้เกิดขึ้นในตัว ผู้เรียนเนื่องด้วยผู้เรียนต้องเอาใจใส่ต่อการฝึกฝนทักษะนั้นนั้นด้วยตนเองลงมือปฏิบัติจนเสร็จสิ้น กระบวนการอีกทั้งเนื้อเพลงร าวงมาตรฐาน ช่วยปลูกฝังให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะรักความเป็นไทยเช่น เพลงร ามาซิมาร า “ถึงยามว่างเราจึงร าเล่น ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์ตามเยี่ยงอย่างตามยุคเล่น สนุกอย่างวัฒนธรรม” เมื่อผู้เรียนได้รับการฝึกฝนทักษะปฏิบัติจนช านาญแล้วก็สามารถน าความรู้ไป ถ่ายทอดให้กับรุ่นน้องหรือบุคคลที่สนใจเกิดเป็นคุณลักษณะมีจิตสาธารณะในตัวผู้เรียนด้วย จากการศึกษาผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ให้เป็นไปตามล าดับขั้นตอนพัฒนา ทักษะการปฏิบัติผู้เรียนให้มีประสิทธิภาพ ปลูกฝังคุณลักษณะอันเพิ่งประสงค์ให้ผู้เรียนเกิดเป็นเจตคติ ที่ดีต่อการแสดงนาฏศิลป์อันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความ คิดเห็นตามความถนัดความสนใจเป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์เผยแพร่และสืบทอดนาฏศิลป์ให้คงอยู่ ต่อไป
๒ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติของเดวีส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ สมมติฐานของการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้แผนการแผนการจัดการ เรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ มี ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับแผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐานมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ขอบเขตของการวิจัย ๑. ขอบเขตด้านประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านดุงวิทยา สังกัดส านักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานีที่เรียนรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาค เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จ านวน ๕๖๐ คน จากนักเรียนจ านวน ๑๔ ห้อง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๓ โรงเรียนบ้านดุงวิทยา สังกัดส านักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี ที่เรียนรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รวมนักเรียน ๔๐ คน โดยใช้เทคนิคการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรต้น ได้แก่กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติ ของเดวีส์ 2.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน
๓ 3. เนื้อหาการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เป็นเนื้อหาในวิชาศิลปะ สาระการเรียนรู้นาฏศิลป์ การปฏิบัติท่า ร าเพลงร าวงมาตรฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ตามหลักสูตรโรงเรียนบ้านดุงวิทยา โดยมีเนื้อหา ดังนี้ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการแสดงร าวงมาตรฐาน 2. ทักษะการปฏิบัติร้องเพลงร าวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม 3. ทักษะการปฏิบัติท่าร าเพลงร าวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม ได้แก่ ท่าพรมสี่หน้า และท่ายูงฟ้อนหาง 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย ผู้วิจัยด าเนินการทดลองในปีการศึกษา 2566 ภาคเรียนที่ ๑ วิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงร าวงมาตรฐาน ตามแผนการจัดการเรียนรู้จ านวน ๑ แผน 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ นิยามศัพท์เฉพาะ ร าวงมาตรฐาน หมายถึง การแสดงนาฏศิลป์เบื้องต้นวิวัฒนาการมาจาก ร าโทน ในสมัยจอม พล ป.พิบูลสงครามนิยมร าร่วมกัน ระหว่างชาย-หญิง เคลื่อนย้ายเป็นวงกลมตาท านองเพลง เป็นการ แสดงความสามัคคี กลมเกลียวและยังเป็นที่นิยมของชาวต่างชาติในการออกมาร าวงเพื่อความ สนุกสนาน ซึ่งเพลงร าวงมาตรฐานมีทั้งหมด 10 เพลง คือ เพลงงามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงร าซิ มาร า เพลงคืนเดือนหงาย เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า เพลง หญิงไทยใจงาม เพลงยอดชายใจหาญและเพลงบูชานักรบ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ หมายถึง การสอนทักษะปฏิบัติด้วยทักษะ ย่อย ๆ แล้วค่อยเชื่อมโยงเป็นทักษะใหญ่จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติมีทักษะที่รวดเร็วขึ้น ซึ่งมีกระบวนการสอน ของเดวีส์จะแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1.ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระท า เป็นขั้นที่สาธิตให้ผู้เรียนดู ทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ 2.ขั้นสาธิตให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย เมื่อผู้เรียนได้เห็นภาพรวมแล้วให้ผู้เรียน ท าตามทีละย่อย ๆ ไม่ช้าไม่เร็วจนเกินไป 3.ขั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้ลอง ปฏิบัติย่อยเอง หากสงสัยหรือติดขัดในส่วนใดผู้สอนจึงชี้แนะ 4.ขั้นให้เทคนิควิธีการ เมื่อผู้เรียนปฏิบัติ ย่อยได้แล้วผู้สอนจะมีเทคนิคให้ผู้เรียนใช้ลีลาและความสวยงามเข้าไปในการปฏิบัติ 5.ขั้นให้ผู้เรียน เชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นขั้นที่ที่ผู้เรียนปฏิบัติทีละส่วนแล้วน ามาปฏิบัติรวมกันทั้งหมด ความพึงพอใจ หมายถึง ความชอบและความสุขที่มีต่อในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ใน ทางบวกและทางลบ
๔ ประโยชน์ที่ได้รับ 1. ครูสามารถน าแผนการเรียนรู้ เรื่องทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ไปใช้เพื่อเป็น แนวทางส าหรับครูผู้สอนที่สนใจแนวคิดทักษะปฏิบัติของเดวีส์และยังสามารถน าแผนไปใช้กับผู้เรียน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. นักเรียนมีความรู้และความเข้าใจมากขึ้นหลังเรียนวิชานาฏศิลป์ 3. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนในรายวิชานาฏศิลป์
๕ บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอน วิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ ที่ใช้ แนวความคิดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ซึ่งผู้วิจัยได้ ด าเนินการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแยกการน าเสนอเนื้อหาตามล าดับ ดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 2. ตัวชี้วัดและแนวคิดของการจัดการเรียนรู้สาระนาฏศิลป์ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน 3. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ 4. ความพึงพอใจ 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6. กรอบแนวคิดการวิจัย 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระ นาฏศิลป์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคนซึ่งเป็น ก าลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกายความรู้คุณธรรมมีจิตส านึกในความเป็น พลเมืองไทยและเป็นโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ ทรง เป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จ าเป็นต่อการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 2. หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีหลักการที่ส าคัญ ดังนี้ 2.1 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและให้มีมาตรฐาน การเรียนรู้ เป็นเป้าหมายส าหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ 2.2 เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่าง เสมอภาคและมีคุณภาพ 2.3 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษา ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
๖ 2.4 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้เวลาและการ จัดการเรียนรู้ 2.5 เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ 2.6 เป็นหลักสูตรการศึกษาส าหรับการศึกษาในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ 3. จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มี ศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงก าหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 3.1 มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 3.2 มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหาการใช้เทคโนโลยีและมี ทักษะชีวิต 3.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกก าลังกาย 3.4 มีความรักชาติ มีจิตส านึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 3.5 มีจิตส านึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งท าประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกัน ใน สังคม อย่างมีความสุข จากจุดหมายของหลักสูตรดังกล่าวข้างต้นว่าหลักสูตรให้ความส าคัญในการจัดการเรียนรู้ให้มี ความยืดหยุ่นและเน้นผู้เรียนเป็นหลักและส าคัญ อีกทั้งโอกาสให้กับผู้สอนสามารถปรับการจัดการ เรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมกับสภาพบริบทของชุมชนและผู้เรียน (กระทรวงศึกษาธิการ.2551, น. 4-5) 4. เป้าหมายส าคัญของการจัดการเรียนรู้ สืบเนื่องจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรอิง มาตรฐาน (Standard-base Curriculum) เป้าหมายส าคัญของการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรจึงเน้น ไปที่มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตัวชี้วัดและ น าพาให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะส าคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้ 4.1 มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องค านึงถึงหลัก พัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงได้ก าหนดให้ผู้เรียน เรียนรู้ครบทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยมีกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะอยู่ใน 8 กลุ่ม นั้น ในแต่ละ
๗ กลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ก าหนดมาตรฐานการเรียนรู้ ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ที่พึงประสงค์ที่ต้องการให้เกิดแก่ผู้เรียนเมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกส าคัญ ในการขับเคลื่อนพัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะ มาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร ต้องสอนอะไร จะสอนอย่างไรและ ประเมิน อย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา ตัวชี้วัดเป็นการระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละ ระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรมน าไปใช้ใน การก าหนดเนื้อหา จัดท าหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์ส าคัญ ส าหรับการวัด ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน ซึ่งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ก าหนดตัวชี้วัดเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1) ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับ การศึกษาภาค บังคับ (ชั้นประถมศึกษาปีที่ มัธยมศึกษาปีที่ 3) 2) ตัวชี้วัดช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด มีค าส าคัญที่ระบุความรู้ ทักษะ กระบวนการ เจตคติและ ค่านิยม การพิจารณาและวิเคราะห์ตัวชี้วัดที่ระบุคุณภาพของผู้เรียน ผู้เรียนรู้อะไร และท าอะไรได้ จะ ท าให้มีความเข้าใจและมีความชัดเจนก่อนออกแบบการเรียนรู้ 4.2 สมรรถนะที่ส าคัญของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้ 1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม ในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนคติของตนเอง เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้ง การเจรจาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสาร ด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ 2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบเพื่อน าไปสู่การสร้างองค์ ความรู้หรือสารสนเทศในการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผลคุณธรรมและข้อมูล สารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ประยุกต์
๘ ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดย ค านึงถึง ผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการน ากระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการด าเนินชีวิตประจ าวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง หรือการท างาน การ อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหา และความ ขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมในด้าน การเรียนรู้ การสื่อสารการท างาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม 5 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุขในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2553 น. 3-5) 5.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 5.2 ซื่อสัตย์สุจริต 5.3 มีวินัย 5.4 ใฝ่เรียนรู้ 5.5 อยู่อย่างพอเพียง 5.6 มุ่งมั่นในการท างาน 5.7 รักความเป็นไทย 5.8 มีจิตสาธารณะ 6. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 3 นาฏศิลป์มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์วิพากษ์วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจ าวัน ตัวชี้วัด 1. อธิบายอิทธิพลของนักแสดงชื่อดัง ที่มีผลต่อการโน้มน้าวอารมณ์หรือความคิด 2. ใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการแสดง 3. แสดงนาฏศิลป์และละครในรูปแบบง่าย ๆ
๙ 4. ใช้ทักษะการท างานเป็นกลุ่มในกระบวนการผลิตการแสดง ใช้เกณฑ์ง่าย ๆที่ ก าหนดให้ในการพิจารณาคุณภาพการแสดงที่ชม โดยเน้นเรื่องการใช้เสียงการแสดงท่า และการ เคลื่อนไหว มาตรฐาน ศ 3.2 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาภูศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเห็น คุณค่าของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ตัวชี้วัด 1. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นบ้าน ละคร ไทย และละครพื้นบ้าน 2. บรรยายประเภทของละครไทยในแต่ละยุคสมัย 7. คุณภาพผู้เรียน 7.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจ าแนกทัศนะธาตุของสิ่งต่างๆในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ มีทักษะพื้นฐานการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานวาดภาพ ระบายสี โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั่น งานโครงสร้าง เคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเรื่องราว เหตุการณ์ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถแสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง 7.2 รู้และเข้าใจความส าคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจ าวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์ ใน ท้องถิ่น ตลอดจนการใช้วัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น 7.3 รู้และเข้าใจแหล่งก าเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาทหน้าที่ ความหมาย ความส าคัญของบทเพลงใกล้ตัวที่ได้ยิน สามารถท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหว ร่างกายให้สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและเคาะ จังหวะ แสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับร้องของตนเอง มีส่วนร่วมกับกิจกรรมดนตรีในชีวิตประจ าวันของผู้ชม 7.4 รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความส าคัญและ ประโยชน์ของดนตรีต่อการด าเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น 7.5 สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ สามารถแสดงท่าทางประกอบจังหวะเพลง ตามรูปแบบนาฏศิลป์มีมารยาทในการชมการแสดง รู้หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ของการ แสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจ าวัน เข้าร่วมกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย 7.6 รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ชื่นชอบและภาคภูมิใจใน การละเล่นพื้นบ้าน สามารถเชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับการด ารงชีวิตของคนไทย บอกลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของนาฏศิลป์ไทยตลอดจนความส าคัญของ การแสดงนาฏศิลป์ไทยได้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551 น. 1-3) 8. การจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ 8.1 ความหมายของนาฏศิลป์ไทย
๑๐ สุมนมาลย์ นิ่มเนติพันธ์ (2555, น. 111) กล่าวว่า นาฏศิลป์เป็นศิลปะที่ว่าด้วยการฟ้อนร า และการละครเน้นการเคลื่อนไหวของร่างกาย การใช้ภาษาท่าร า การตีบท โดยใช้สรีระต่าง ๆ ของ ร่างกายเคลื่อนไหวสื่อความหมายแทนค าพูดในรูปแบบของการแสดงเป็นชุดระบ า ร า ฟ้อน หรือ การ แสดงละคร โขน อรวรรณ ขมวัฒนา (2557, น. 94) กล่าวว่า นาฏศิลป์เป็นศิลปะการแสดงที่สร้าง ความ เพลิดเพลิน สนุกสนาน เกิดขึ้นจากการเลียนแบบกิริยาท่าทางของคนและสัตว์ประกอบด้วยการ ฟ้อน ร า ดนตรี และการขับร้อง น ามาผสมผสานจนเกิดเป็นการแสดงนาฏศิลป์ที่สวยงาม สุปราณี จ าลองราษฎร์ (2558, น. 9) ได้สรุปความหมายของนาฏศิลป์ว่า นาฏศิลป์หมายถึง ศิลปะแห่งการฟ้อนร า อันประกอบด้วย ลีลา ท่าทาง การเคลื่อนไหวส่วน ต่าง ๆ ของ ร่างกายให้เข้า กับดนตรีและเสียงเพลงเพื่อแสดงออกถึงอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด ความชอบและ ความงาม จากความหมายของนาฏศิลป์ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่านาฏศิลป์ หมายถึง ศิลปะแห่ง การ ฟ้อนร า การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายให้เข้ากับดนตรีและเสียงเพลง สื่อความหมายแทน ค าพูด เพื่อแสดงออกถึง ความรู้สึก การใช้ภาษาท่าร า การตีบท โดยใช้สรีระต่าง ๆ ของร่างกาย เคลื่อนไหวในรูปแบบของการแสดง น ามาผสมผสานจนเกิดเป็นการแสดงที่สวยงาม 8.2 จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้นาฏศิลป์ กระทรวงศึกษาธิการ (2552, น. 5) กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้นาฏศิลป์สามารถ สรุปได้ว่า การเรียนรู้นาฏศิลป์มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์ สามารถพัฒนารูปแบบการแสดง สามารถใช้เกณฑ์ ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพของงาน นาฏศิลป์ ร่วมจัดการแสดง น าแนวคิดของการแสดงไปปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน รู้และเข้าใจประเภทละครไทย ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของนาฏศิลป์ เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะของการแสดง นาฏศิลป์ จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมทั้งสามารถออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการ แสดง นาฏศิลป์มีความเข้าใจ ความส าคัญ บทบาทของนาฏศิลป์และละครในชีวิตประจ าวัน เพียงเพ็ชร์ คมข า (2552, น. 24) ได้สรุปจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้นาฏศิลป์ว่า การเรียนรู้ นาฏศิลป์มีจุดมุ่งหมาย เพื่ออนุรักษ์ส่งเสริมสืบทอด รักษาสมบัติของชาติ และรู้จักกล้า แสดงออกใน การช่วยสร้างบุคลิกการเคลื่อนไหวร่างกายให้สง่างาม ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความคิด เกิดสติปัญญาทั้งยัง ช่วยเสริมสร้างประกอบอาชีพ และฝึกให้รู้จักการท างานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี สุปราณี จ าลองราษฎร์ (2558, น. 12) ได้สรุปจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้นาฏศิลป์ว่า การ เรียนรู้นาฏศิลป์มีจุดมุ่งหมาย เพื่อส่งเสริมอนุรักษ์ศิลปะด้านนาศิลป์ของไทยให้เป็นสมบัติอันมีค่า ประจ าชาติ และฝึกทักษะปฏิบัติวิชานาฏศิลป์ที่ถูกต้องและสวยงามให้แก่ผู้เรียน อักทั้งยังเป็น ประโยชน์ทางด้านการศึกษาและสามารถประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิตอย่างมีคุณภาพในสังคม
๑๑ จากจุดมุ่งหมายของการเรียนรู้นาฏศิลป์ดังกล่าวข้างต้น สรุปได้ว่า การเรียนรู้นาฏศิลป์มี จุดมุ่งหมาย เพื่ออนุรักษ์นาฏศิลป์ของชาติ และฝึกทักษะปฏิบัติวิชานาฏศิลป์ที่ถูกต้องและ สวยงาม ให้แก่ผู้เรียน ท าให้ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะด้านนาฏศิลป์ อาทิ นาฏยศัพท์ งาน นาฏศิลป์ การออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์เครื่องแต่งกายในการแสดง เสริมสร้างบุคลิกภาพและ สามารถ ประยุกต์ใช้ในการด ารงชีวิตได้ 8.3 แนวทางการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2550, น. 23 ได้น าเสนอแนวทางการจัดการ เรียนรู้ นาฏศิลป์ ดังนี้ 1. ส ารวจความต้องการของผู้เรียน 2. วางจุดประสงค์ของการสอนให้ชัดเจน 3. ก าหนดบทบาท และหน้าที่ของแต่ละคนให้ชัดเจน 4. บอกแหล่งเรียนรู้ วิธีการหาความรู้ให้แก่ผู้เรียนได้ทราบก่อน ระหว่าง และหลัง 5. ฝึกปฏิบัติจริง 6. วัดผล ประเมินผลตามสภาพจริง เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง 7.น าผลการประเมินมาปรับปรุง และแก้ไขทุกครั้งที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้การเรียนรู้ กระทรวงศึกษาธิการ (2557 , น. 30) ได้น าเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้นาฏศิลป์ดังนี้ 1. สอนให้นักเรียนกล้าแสดงออกตามความเข้าใจ โดยมีครูเป็นผู้ชี้แนะให้ค าปรึกษาฝึกให้ ผู้เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ 2. การสอน ครูผู้สอนต้องมีอารมณ์ร่าเริง แจ่มใส หน้าตายิ้มแย้มและมีอารมณ์ร่วมกับเด็ก ตลอดเวลา ไม่แสดงอารมณ์เบื่อหน่ายวิชานาฏศิลป์ จะท าให้ผู้เรียนไม่ชอบเรียนวิชา นาฏศิลป์ไปด้วย เพราะฉะนั้นครูเป็นบุคคลส าคัญที่จะท าให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของ นาฏศิลป์ 3. การสอนนาฏศิลป์นั้น ครูต้องคอยระมัดระวังอย่าให้มีช่องว่างระหว่างครูกับ ผู้เรียนโดย ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าแสดงออก ควรมีรางวัล ชมเชย สนับสนุนให้ท าบ่อย ๆ หลอกล่อไม่ให้อาย 4. ครูต้องไม่ยึดรูปแบบการสอนแบบเก่าโดยครูเป็นผู้คิดฝ่ายเดียว แต่การสอน แบบใหม่ครู เป็นเพียงที่ปรึกษาและเสนอแนะบางโอกาส เพื่อฝึกให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์และกล้าแสดง ความคิดเห็นเพื่อประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม 5. บูรณาการวิชานาฏศิลป์ กับสาขาวิชาอื่น ๆ เช่น ภาษาไทย สังคม รวมทั้ง ชีวิตประจ าวัน คือ การน าไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ ได้ 6. ชี้แนะให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับศิลปะ จากแหล่งต่าง ๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจ าวัน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ การชมการแสดง โดยครูต้องมีประสบการณ์ด้าน นาฏศิลป์มาก่อน เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนปรับปรุงการเรียนของตนเอง มหา
๑๒ 7. ปลูกฝัง ชี้แนะให้ผู้เรียนค านึงถึงความดี ความงาม ความไพเราะ ความมีคุณค่า จนผู้เรียน ค่อย ๆ ซึมซับและเกิดความซาบซึ้งด้วยตนเองโดยไม่ต้องบังคับ เรณู โกสินานนท์ (2558, น. 15) ได้เสนอหลักการและเทคนิคการสอน ไว้ดังนี้ 1. สอนจากสิ่งที่ง่ายไปหาสิ่งที่ยาก 2. สอนตามความสามารถของแต่ละบุคคล 3. การสอนโดยวิธีสับเปลี่ยนท่าที่ยากให้ง่ายขึ้น แต่พยายามรักษาแบบแผนเดิมไว้ 4. การสอนแต่ละท่า ต้องอธิบายให้ละเอียด ถือหลักทีละน้อยแต่ให้แม่นย าแล้ว 5. ระหว่างร า ครูต้องคอยสังเกตและเตือนอยู่เสมอ ให้ผู้เรียนรักษาลีลาท่าทางให้ 6. ครูต้องจัดผู้เรียนอยู่เสมอไม่ใช่ร าน าหน้าอย่างเดียว 7. การใช้ศัพท์ทางนาฏศิลป์บางโอกาสอาจเปลี่ยนใช้ค าที่ง่ายหรือใช้ศัพท์ธรรมชาติแทนก็ได้ เพื่อสะดวกในการจดจ า และบอกควบคู่ไปกับค าศัพท์ที่ถูกต้องไปด้วย จึงต่อท่าใหม่ อยู่ในแบบแผน 8. ในขณะที่แสดงท่าร า ครูควรฝึกให้ร้องเพลงไปด้วย เพื่อเป็นการผ่อนแรงครูเพราะครูต้อง อธิบายขณะผู้เรียนร้องเพลงด้วย 9. เปรียบเทียบท่าร าที่คล้ายคลึงกัน เพื่อไม่ให้เกิดการสับสน 10. วิธีร าน าหน้าผู้เรียน คือ ร าน าหน้า กระท าเมือแรกต่อท่าร าและร าต่อหน้า หรือร า ประจันหน้า ครูต้องมีความสามารถ ความช านาญในการร ากลับข้าง จะได้ดูแลผู้เรียนและแก้ไข ข้อบกพร่องไปด้วย 11. เข้มงวดเรื่องแถวและระวังท่วงทีของผู้เรียน 12. สอนแยกท่าร าทีละท่าแล้วค่อยท าพร้อมกัน 13. การใช้เพลง จะกระท าได้เมื่อต่อท่าร าเป็นชั้น ๆ แล้วร าตามเสียงเพลง 14. บอกท่าล่วงหน้า ขณะร าบอกท่าที่จะถึงเพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกทบทวน 15. การให้สัญญาณเปลี่ยนท่า มีความจ าเป็นอย่างยิ่ง ในการร า เป็นหมู่ เพื่อความพร้อม เพรียง เช่น การจีบมือ การกรีดนิ้ว การก้าวเท้า การตั้งวง การทรงตัว เป็นต้น จากแนวการจัดการ เรียนรู้นาฏศิลป์ดังกล่าว สรุปได้ว่า ครูผู้สอนจะต้องมีความรู้ความสามารถ ทางนาฏศิลป์ เพื่อเป็น ต้นแบบให้กับผู้เรียนได้สังเกต เลียนแบบท่าทางต่าง ๆ และจะต้องสอนจากท่าที่ ง่ายไปหาท่าที่ยาก และท่าที่ยากท าให้ง่ายขึ้น เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน แต่คงรูปแบบเดิมไว้ ส่วนใหญ่ จะใช้วิธีสอนแบบ สาธิตให้ผู้เรียนได้สังเกตและปฏิบัติตาม ซึ่งเป็นการน าเข้าสู่บทเรียนที่มีแบบแผน กระบวนการให้ อิสระแก่ผู้เรียน ครูเป็นผู้ชี้แนะให้ก าลังใจ เพื่อท าให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก กล้าคิดกล้าท าและกล้าแก้ปัญหา
๑๓ 2. ตัวชี้วัดและแนวคิดของการจัดการเรียนรู้สาระนาฏศิลป์ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน วิไลรัตน์ แซเอี้ยว(2560: 21) ร าวงมาตรฐาน เป็นการแสดงนาฏศิลป์เบื้องต้นที่ผู้เรียนด้าน นาฏศิลป์จะต้องได้รับการฝึกฝน เพื่อใช้เป็นพื้นฐานในการเรียนเพลงอื่นๆ ที่ยากขึ้น ประวัติความเป็นมา “ร าโทน” การร าและการร้องของชาวบ้านที่เล่นกันเป็นคูรอบครกต า ข้าว ร ากันเป็นวงกลม ตามความถนัดไม่มีแบบแผน มีโทนเป็นเครื่องดนตรีชิ้นเอก จนกระทั่งรัฐบาลให้ ความส าคัญกับการละเล่น รื่นเริงประจ าชาติ จึงได้รับการปรับปรุงให้เป็นระเบียบแบบแผนโดยกรม ศิลปากร ในสมัยรัฐบาลของจอมพล ป.พิบูลสงคราม มีการก าหนดทาร าไวเป็นแบบแผนรวมทั้งเนื้อ ร้องและท านองเพลง จากนั้น ในป พ.ศ. 2487 จึงเปลี่ยนชื่อเป็น “ร าวงมาตรฐาน” ก าหนดลักษณะ การแสดงเป็นการร าร่วมกัน ระหว่างชาย - หญิง เป็นคู่ๆ เคลื่อนย้ายเวียนไปเป็นวงกลมตามท านอง เพลง ใช้วงปี่พาทย์หรือวงดนตรีสากลบรรเลงประกอบ ร าวงมาตรฐานเป็นการร าที่ได้รับความนิยมสืบมาจนถึงปจจุบัน มักนิยมน ามาใชหลังจากจบ การแสดงหรือจบงานบันเทิงต่าง ๆ เพื่อเชิญชวนผู้ร่วมงานออกมาร าวงร่วมกัน เป็นการแสดงความ สามัคคีกลมเลียวอีกทั้งยังเป็นที่นิยมของชาวต่างชาติในการออกมาร าวงเพื่อความสนุกสนาน ความ สวยงาม ของการร าอยู่ที่กระบวนทาร าซึ่งมีลักษณะเฉพาะในแต่ละเพลง และเครื่องแต่งกายของไทย แบบต่าง ๆ เพลงที่ใชประกอบการแสดง เพลงร าวงมาตรฐานมีทั้งหมด 10 เพลง จมื่นมานิตยนเรศ (เฉลิม เศวตนันท ขณะนั้น ด ารงต าแหนงหัวหนากองการสังคีต กรมศิลปากร แต่งเนื้อรองจ านวน 4 เพลง คือ เพลงงามแสงเดือน เพลงชาวไทย เพลงร าซิมาร าและเพลงคืนเดือนหงาย ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม แต่งเนื้อรอง เพิ่มอีก 6 เพลง คือ เพลงดวงจันทรวันเพ็ญ เพลงดอกไม้ของชาติ เพลงดวง จันทรขวัญฟ้า เพลงหญิงไทย ใจงาม เพลงยอดชายใจหาญ และเพลงบูชานักรบ สวนท านองเพลงทั้ง 10 เพลง ท่านศาสตราจารย มนตรี ตราโมท ขณะนั้นด ารงต าแหนงหัวหนาแผนกดุริยางคไทย กรม ศิลปากรร่วมกับกรมประชาสัมพันธ์เป็นผู้เรียบเรียงขึ้นใหม่ ผู้คิดประดิษฐ์ท่าร าประกอบเพลงวงทั้ง 10 เพลงนั้น คือ คณะอาจารย์ด้านนาฏศิลป์ของ กรมศิลปากร ได้ช่วยกันคิดประดิษฐ์ท่าร าให้งดงามถูกต้องตามหลักนาฏศิลป์ก าหนดให้เป็นแบบ มาตรฐาน ผู้คิดประดิษฐ์ท่าร าของร าวงมาตรฐาน คือ หม่อมครูต่วน (นางศุภลักษณ์ ภัทรนาวิก) ครูมัล ลี คงประภัศร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรากุล ต่อมาได้มีการน าร าวงนี้ไปสลับกับวงลีลาศ ท าให้ ชาวต่างประเทศรู้จักร าวง เพื่อให้ประชาชนชาวไทยได้เล่นกันแพร่หลาย และมีแบบแผนอันเดียวกัน กรมศิลปากรจึงเรียกว่า ร าวงมาตรฐาน ลักษณะการแสดงที่เป็นการร าร่วมกันระหว่างชาย – หญิง เป็นคู่ ๆ เคลื่อนย้ายเวียนไปเป็น วงกลม มีเพลงร้องที่แต่งท านองขึ้นใหม่ มีการใช้ทั้งวงปี่พาทย์บรรเลงเพลงประกอบ และบางเพลงก็ใช้ วงดนตรีสากลบรรเลงเพลงประกอบ ซึ่งเพลงร้องที่แต่งขึ้นใหม่ทั้ง 10 เพลง มีท่าร าที่ก าหนดไว้เป็น แบบแผนคือ
๑๔ 1. เพลงงามแสงเดือน ท่าสอดสร้อยมาลา 2. เพลงชาวไทย ท่าชักแป้งผัดหน้า 3. เพลงร ามาซิมาร า ท่าร าส่าย 4. เพลงคืนเดือนหงาย ท่าสอดสร้อยมาลาแปลง 5. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ท่าแขกเต้าเข้ารัง และท่าผาลาเพียงไหล่ 6. เพลงดอกไม้ของชาติ ท่าร ายั่ว 7. เพลงหญิงไทยใจงาม ท่าพรหมสี่หน้า และท่ายูงฟ้อนหาง 8. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ท่าช้างประสานงา และท่าจันทร์ทรงกลดแปลง 9. เพลงยอดชายใจหาญ หญิงท่าชะนีร่ายไม้ ชายท่าจ่อเพลิงกัลป์ 10.เพลงบูชานักรบ หญิงท่าขัดจางนางและท่าล่อแก้ว ชายท่าจันทร์ทรงกลดต่ าและท่าขอ แก้ว ร าวงมาตรฐานนิยมเล่นในงานรื่นเริงบันเทิงต่าง ๆ และยังนิยมน ามาใช้เล่นแทนการเต้นร า ส าหรับเครื่องแต่งกายก็มีการก าหนดการแต่งกายของผู้แสดงให้มีระเบียบด้วยการใช้ชุดไทย และชุด สากลนิยม โดยแต่งเป็นคู่ รับกันทั้งชายและหญิง อาทิ ผู้ชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม มีผ้าคาด เอว ผู้หญิงนุ่งโจงกระเบน ห่มสไบอัดจีบ ผู้ชายนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อราชประแตน ผู้หญิงแต่งชุดไทย แบบรัชกาลที่ 5 ผู้ชายแต่งสูท ผู้หญิงแต่งชุดไทยเรือนต้น หรือไทยจักรี ร าวงมาตรฐาน เป็นการร าที่ ได้รับความนิยมสืบมาจนถึงปัจจุบัน มักนิยมน ามาใช้หลังจากจบการแสดง หรือจบงานบันเทิงต่าง ๆ เพื่อเชิญชวนผู้ร่วมงานออกมาร าวงร่วมกัน เป็นการแสดงความสามัคคีกลมเกลียว อีกทั้งยังเป็นที่นิยม ของชาวต่างชาติในการออกมาร าวงเพื่อความสนุกสนาน การแสดงร าวงมาตรฐานมีผู้แสดงครั้งแรก ดังนี้ นายอาคม สายาคม นางสุวรรณี ชลานุเคราะห์ นายจ านง พรพิสุทธิ์ นางศิริวัฒน์ ดิษยนันทน์ นายธีรยุทธ ดวงศรี นางสาวสุนันทา บุณยเกตุ
๑๕ บทร้องร าวงมาตรฐาน 1. เพลงงามแสงเดือน งามแสงเดือนมาเยือนส่องหล้า งามใบหน้ามามาอยู่วงร า เราเล่นกันเพื่อนสนุก เปลื้องทุกไม่วายระก า ขอให้เล่นฟ้อนร า เพื่อสามัคคีเอย 2. เพลงชาวไทย ชาวไทยเจ้าเอ๋ย ขออย่าละเลยในการท าหน้าที่ การที่เราได้เล่นสนุก เปลื้องทุกข์สบายอย่างนี้ เพราะชาติเราได้เสรี มีเอกราชสมบูรณ์ เราจึงควรช่วยชูชาติ ให้เก่งกาจเจิดจ ารูญ เพื่อความสุขเพิ่มพูน ของชาวไทยเอย 3. ร ามาซิมาร า ร ามาซิมาร า เริงระบ ากันให้สนุก ยามงานเราท างานจริงๆ ไม่ละไม่ทิ้งจะเกิดเข็ญขุก ถึงยามว่างเราจึงร าเล่น ตามเชิงเช่นเพื่อให้สร่างทุกข์ ตามเยี่ยงอย่างตามยุค เล่นสนุกอย่างวัฒนธรรม เล่นอะไรให้มีระเบียบ ให้งามให้เรียบจึงจะคมข า มาซิมาเจ้าเอ๋ย มาฟ้องร า มาเล่นระบ าของไทยเราเอย 4. เพลงคืนเดือนหงาย ยามกลางคืนเดือนหงาย เย็นพระพายโบกพลิ้วปลิวมา เย็นอะไรก็ไม่เย็นจิต เท่าเย็นผูกมิตรไม่เบื่อระอา เย็นร่มธงไทยปกไทยทั่วหล้า เย็นยิ่งน้ าฟ้ามาประพรมเอย 5. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ ดวงจันทร์วันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในนภา ทรงกลดสดสี รัศมีทอแสงงามตา แสงจันทร์อร่าม ฉายงามส่องฟ้า ไม่งามเท่าหน้า นวลน้องยองใย
๑๖ งามวงพักตร์ยิ่งด้วยจันทรา จริตกิริยานิ่งนวลละไม วาจากังวาน อ่อนหวานจับใจ รูปทรงสมส่วน ยั่วยวนหทัย สมเป็นดอกไม้ ขวัญใจชาติเอย 6. เพลงดอกไม้ของชาติ ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาศนวยนาฏร่ายร า (2 เที่ยว) เอวองค์อ่อนงาม ตามแบบนาฏศิลป์ ชี้ชาติไทยเนาถิ่น เจริญวัฒนธรรม ขวัญใจดอกไม้ของชาติ งามวิลาศนวยนาฏร่ายร า ( 2 เที่ยว) งานสุกสิ่งสามารถ สร้างชาติช่วยชาย ด าเนินตามนโยบาย สู่ทนเหนื่อยยากตรากตร า 7. เพลงหญิงไทยใจงาม เดือนพราว ดาวแวววาวระย า แสงดาวประดับ ส่องให้เดือนงามเด่น ดวงหน้าหน้าโสภาเพียงเดือนเพ็ญ คุณความดีที่เห็นเสริมให้เด่นเลิศงาม ขวัญใจหญิงไทยส่งศรีชาติ รูปงามพิลาศใจกล้ากาจเริงนาม เกียรติยศก้องปรากฏทั่วคาม หญิงไทยใจงาม ยิ่งเดือนดาวพราวแพรว 8. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้า ดวงจันทร์ขวัญฟ้า ชื่นชีวาขวัญพี่ จันทร์ประจ าราตรี แต่ขวัญพี่ประจ าใจ ที่เทิดทูนคือชาติ เอกราชอธิปไตย ถนอมแบบสนิทใน คือขวัญใจพี่เอย 9. เพลงยอดชายใจหาญ โอ้ยอดชายใจหาญ ขอสมานไมตรี น้องขอร่วมชีวี กอบกรณีย์กิจชาติ แม้สุดยากล าเค็ญ ไม่ขอเว้นเดินตาม น้องจักสู้พยายาม ท าเต็มความสามารถ
๑๗ 10. เพลงบูชานักรบ น้องรัก รักบูชาพี่ ที่มั่งคงกล้าหาญ เป็นนักสู้เชี่ยวชาญ สมศักดิ์ชาตินักรบ น้องรัก รักบูชาพี่ ที่มานะอดทน หนักแสนหนัก พี่ผจญ เกียรติพี่ขจรจบ น้องรัก รักบูชาพี่ ที่ขยันกิจการ บากบั่นสร้างหลักฐาน ท าทุกด้าน ท าทุกด้านครันครบ น้องรัก รักบูชาพี่ ที่รักชาติที่รักชาติยิ่งชีวี เลือดเนื้อพี่ พลีอุทิศ ชาติยงอยู่ ยงอยู่คู่พิภพ 3. รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ทิศนา แขมมณี (2556, หน้า 246 - 247 ได้สรุปว่ารูปแบบการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติของเดวีส์ (Davie's Instructional Model) เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้าน ทักษะพิสัย เป็นรูปแบบที่มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถของผู้เรียนในด้านการปฏิบัติ การกระท าหรือ การแสดงออกต่างๆ ซึ่งจ าเป็นต้องใช้หลักการ วิธีการ ที่แตกต่างไปจากการพัฒนาด้านจิตพิสัยหรือ พุทธิพิสัย รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์เป็นรูปแบบหนึ่งที่สามารถช่วยให้ผู้เรียน เกิดการพัฒนาทางด้านการปฏิบัติ 1. แนวคิดของรูปแบบ รูปแบบที่เกิดจากแนวคิดเกี่ยวกับองค์ประกอบของทักษะปฏิบัติที่ว่าทักษะส่วนใหญ่จะ ประกอบด้วยทักษะย่อย ๆ จ านวนมาก การฝึกให้ผู้เรียนสามารถท าทักษะย่อย ๆ ให้ได้ก่อน แล้วค่อย เชื่อมโยงเป็นทักษะใหญ่ จะช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะได้ดีและรวดเร็วขึ้น 2. วัตถุประสงค์ของรูปแบบ รูปแบบนี้มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของผู้เยน โดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะที่ ประกอบด้วยทักษะย่อยจ านวนมาก 3. กระบวนการเรียนการสอนตามรูปแบบทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ขั้นที่ 1 ขั้นสาธิตทักษะหรือการกระท า ชั้นนี้เป็นขั้นที่ให้ผู้เรียนได้เห็นทักษะหรือ การกระท าที่ต้องการให้ผู้เรียนท าได้ในภาพรวม โดยการสาชิตให้ผู้เรียนดูทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบทักษะ หรือการกระท าที่สาธิตให้ผู้เรียนดูนั้น จะต้องเป็นการกระท าในลักษณะที่เป็นธรรมชาติ ไม่ข้าหรือเร็ว เกินปกติ ก่อนการสาธิตครูควรให้ค าแนะน าแก่ผู้เรียนในการสังเกต ควรขี้แนะจุดส าคัญที่ควรให้ความ สนใจเป็นพิเศษในการสังเกต ขั้นที่ 2 ขั้นสาธิตและให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย เมื่อผู้เรียนได้เห็นภาพรวมของ
๑๘ การกระท าหรือทักษะทั้งหมดแล้ว ผู้สอนควรจะแตกทักษะทั้งหมดให้เป็นทักษะย่อย ๆ หรือแบ่งสิ่งที่ กระท าออกเป็นส่วนย่อย ๆ และสาชิตส่วนย่อยแต่ละส่วนให้ผู้เรียนสังเกตและท าตามไปทีละส่วนอย่าง ข้าๆ ขั้นที่ 3 ขั้นให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ผู้เรียนลงมือปฏิบัติทักษะย่อยโดยไม่มีการสาธิตหรือ มีแบบอย่างให้ดู หากติดขัดจุดใด ผู้สอนควรให้ค าขี้แนะ และช่วยแก้ไขจนผู้เรียนท าได้ เมื่อได้แล้ว ผู้สอนจึงเริ่มสาธิตทักษะย่อยส่วนต่อไป และให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อยนั้นจนท าได้ท าเช่นนี้เรื่อยไป จนกระทั่งครบทุกส่วน ขั้นที่ 4 ขั้นให้เทคนิควิธีการ เมื่อผู้เรียนปฏิบัติได้แล้ว ผู้สอนอาจแนะน าเทคนิควิธีการที่จะ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถท างานนั้นได้ดีขึ้น เช่น ท าได้ประณีตสวยงามขึ้นท าได้รวดเร็วขึ้น ท าได้ง่ายขึ้น หรือสิ้นเปลืองน้อยลง เป็นต้น ขั้นที่ 5 ขั้นให้ผู้เรียนเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ เป็นทักษะที่สมบูรณ์ เมื่อผู้เรียนสามารถปฏิบัติ แต่ละส่วนได้แล้ว จึงให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะย่อย ๆ ต่อเนื่องกันตั้งแต่ต้นจนจบ และฝึกปฏิบัติหลายๆ ครั้งจนกระทั่งสามารถปฏิบัติทักษะที่สมบูรณ์ได้อย่างที่ช านาญ 4. ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากรูปแบบการเรียนรู้ ผู้เรียนจะสามารถปฏิบัติทักษะได้อย่างดี มีประสิทธิภาพ กล่าวโดยสรุป รูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ เป็นการเรียนการสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนได้ลงมือท างานด้วยตนเอง โดย มุ่งเน้นการฝึกวิธีการท างานอย่างสม่ าเสมอ เป็นล าดับขั้นตอนที่ถูกต้อง ทั้งการท างานรายบุคคล การ ท างานเป็นรายกลุ่ม ซึ่งจะท าให้สามารถท างานให้บรรลุตามเป้าหมาย เพื่อให้ผู้เรียนปฏิบัติทักษะที่ สมบูรณ์ได้อย่างช านาญ มีการปรับปรุง และพัฒนาการท างานอยู่เสมอ มีนิสัยที่ดีในการท างาน สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข จากการศึกษารูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนาด้านทักษะพิสัย (Psycho- Motor Domain) สรุปได้ว่ารูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ เป็นรูปแบบที่มีความเหมาะสม ใน การน าไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรี ซึ่งการหลักการของทฤษฎีนั้น เดวีส์ เป็นเชื่อว่า ทักษะ เป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางกายของผู้เรียน และเป็นสิ่งที่สามารถพัฒนาได้ ด้วยการ ฝึกฝน และการจัดการการเรียนสอนจะต้องเริ่มจากระดับที่ซับซ้อนน้อยไปจนถึงระดับที่มี ความซับซ้อนมาก ล าดับขั้นการสอนของเดวีส์ เริ่มจากการสาธิตให้ดูภาพรวม แล้วจึงแยกสอนทักษะ ย่อย ๆ ปฏิบัติ ซ้ า ๆ จนกว่าจะท าได้ จึงสอนเทคนิควิธีการ แล้วจึงเชื่อมโยงทักษะย่อย ๆ แต่ละส่วน ให้ต่อเนื่องกันจนจบ และฝึกปฏิบัติหลาย ๆ ครั้ง ผู้เรียนจะสามารถปฏิบัติได้เป็นอย่างดีและมี ประสิทธิภาพ
๑๙ 4. ความพึงพอใจ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2542, หน้า 775) ได้ให้ความหมายของความพึง พอใจว่า หมายถึง พอใจ ชอบใจ รัศมี จิตวิมลนิมิต (2553, หน้า 46 ) ได้กล่าวถึงความพึงพอใจว่า หมายถึง ความรู้สึก ความชอบ ความพอใจต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือทัศนคติในทางที่ดีของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เมื่ออยู่ใน ภาวะของการมีความสุข เมื่อได้รับผลส าเร็จตามความมุ่งหมาย ตามความต้องการ ตามสิ่งที่ได้คาดหวัง ไว้ หรือจูงใจที่ตนเองได้ตั้งใจไว้ ทัศนคติและความพึงพอใจเป็นค าที่สามารถใช้แทนกันได้เพราะทั้งสอง ค านี้ หมายถึง ผลที่ได้รับจากการที่บุคคลเข้าไปมีส่วนร่วมในสิ่งนั้น ทัศนคติด้านบวกจะแสดงให้เห็น สภาพความพึงพอใจในสิ่งนั้นและทัศนคติด้านลบจะแสดงให้เห็นสภาพความไม่พึงพอใจทิพวรรณ ศรีตัมภวา (2553 , หน้า 33) กล่าวถึงความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติ ในทางที่ดีของบุคคลที่มีต่องานที่ปฏิบัติ หรือได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติรวมทั้งสภาพแวดล้อมต่างๆ ที่ เกี่ยวช้องเป็นปัจจัยท าให้เกิดความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจ อ่อนสี ศรีเที่ยง (2552, หน้า 35) ได้ให้ความหมายความพึงพอใจว่า หมายถึง ความรู้สึก ในทางบวกของบุคคลที่มีต่อกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งเป็นสภาพความรู้สึกชอบ อิ่มเอิบใจ มีความสุข หรือความต้องการด าเนินกิจกรรมดังกล่าวมุ่งสู่ความส าเร็จ กล่าวโดยสรุป ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกของบุคคลที่มีความสุข ความพอใจที่มีต่อ เรื่องใดเรื่องหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ทั้งทางบวกและทางลบ เมื่อได้รับการตอบสนองต่อความต้องการ หรือ ได้รับสิ่งตอบแทนตามที่คาดหวังไว้ 4.1 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ Scott (1970, หน้า 124) ได้เสนอแนวคิดในเรื่องการจูงใจให้เกิดความพึ่งพอใจต้องการ ท างานที่จะให้เกิดผลเขิงปฏิบัติมีลักษณะดังนี้ 1. งานควรมีส่วนสัมพันธ์กับความปรารถนาส่วนตัว งานนั้นจะมีความหมายส าหรับผู้ท า 2. งานนั้นต้องมีการวางแผนและวัดความส าเร็จ โดยใช้ระบบการท างานและการควบคุมที่ ประสิทธิภาพ 3. เพื่อให้ได้ ผลในการจงใจภายในเป้าหมายของงานจะต้องมีลักษณะ ดังนี้ 3.1 คนท างานมีส่วนในการตั้งเป้าหมาย 3.2 ผู้ปฏิบัติได้รับทราบผลส าเร็จในการท างานโดยตรง 3.3 งานนั้นสามารถท าให้ส าเร็จได้ Herzberg (1959, หน้า 113-115) ได้ท าการศึกษาค้นคว้าทฤษฎีที่เป็นมูลเหตุที่ท าให้ เกิดความพึงพอใจในการท างาน 2 ปัจจัย คือ 1. ปัจจัยกระตุ้น (Motivation Factors) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในการ
๒๐ ท างาน และมีหน้าที่ เช่น ความส าเร็จของงาน การได้รับการยอมรับนับถือลักษณะของงาน ความ รับผิดชอบความก้าวหน้าในต าแหน่งการงาน 2. ปัจจัยค้ าจุน (Hygiene Factors) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในการท างานและมี หน้าที่ให้บุคคลเกิดความพึงพอใจในการท างาน เช่น เงินเดือน โอกาสก้าวหน้าในอนาคตสถานะของ อาชีพ สภาพการท างาน เป็นต้น ในการด าเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ความพึงพอใจเป็นสิ่งส าคัญ ที่จะช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนท างานที่ได้รับมอบหมายหรือการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ซึ่ง ในปัจจุบันครูผู้สอนเป็นเพียงผู้อ านวยความสะดวกหรือให้ค าแนะน าปรึกษา จึงปฏิบัติงาน มีแนวคิด พื้นฐานที่ต่างกัน 2 ลักษณะ คือ 2.1 ความพึงพอใจน าไปสู่การปฏิบัติงานการตอบสนองความต้องการของผู้ปฏิบัติงาน จนเกิดความพึงพอใจจะท าให้เกิดความพึงพอใจในการเพิ่มประสิทธิภาพการท างานที่สูงกว่าผู้ที่ไม่ได้ รับการตอบสนอง 2.2 ผลของการปฏิบัติงานน าไปสู่ความพึงพอใจความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจ และการปฏิบัติงานจะถูกเชื่อมโยงด้วยปัจจัยอื่นๆ ผลการปฏิบัติงานที่ดีจะน าไปสู่ผลของการตอบ แทนที่เหมาะสมซึ่งในที่สุดจะน าไปสู่การตอบสนองความพึงพอใจ ผลของการปฏิบัติงานย่อมได้รับการ ตอบสนองในรูปของรางวัล หรือผลตอบแทน ซึ่งประกอบด้วยผลตอบแทนภายใน (Intrinsic Rewards) และผลตอบแทนภายนอก(Extrinsic Rewards) โดยผ่านการรับรู้เกี่ยวกับความยุติธรรม ของผลตอบแทนซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ของผลตอบแทนที่ได้รับรู้แล้ว ความพึงพอใจย่อมเกิดขึ้นจากแนวคิด พื้นฐานดังกล่าว เมื่อน ามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอนผลตอบแทนภายในหรือรางวัลภายในเป็น ผลทางด้านความรู้สึกของผู้เรียนที่เกิดแก่ตัวผู้เรียนเอง เช่นความรู้สึกต่อความส าเร็จที่เกิดขึ้นเมื่อ เอาชนะความยุ่งยากต่างๆและสามารถด าเนินงานภายใต้ความยุ่งยากทั้งหลายได้ส าเร็จ ท าให้เกิด ความภาคภูมิใจ เกิดความมั่นใจ ตลอดจนได้รับความยกย่องจากบุคคลอื่น ส่วนผลของการตอบแทน ภายนอกจะเป็นรางวัลที่ผู้อื่นจัดหาให้มากกว่าตนเองให้ตนเอง เช่น การได้รับการยกย่องชมเชยจาก ครูผู้สอน พ่อแม่ ผู้ปกครองหรือแม้แต่ได้คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับที่น าพอใจ 4.2 องค์ประกอบของความพึงพอใจ ศุภศิริ โสมาเกตุ (2554, น. 45) ได้กล่าวว่า แนวคิดของแฮทฟิลด์ และฮิวแมนที่ได้ท าการ พัฒนาแนวความคิดของนักวิจัยต่าง ๆ มาเป็นเครื่องมือวัดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน พบว่า องค์ประกอบที่ส่งผลกระทบความพึงพอใจ มีองค์ประกอบ 5 ประการ ดังนี้ ตัวแปรที่ 1 องค์ประกอบทเกี่ยวกับงานปัจจุบัน ประกอบด้วย 1. ความตื่นเต้น/น่าเบื่อ 2. ความสนุกสนาน/ความไม่สนุกสนาน 3. ความโล่ง/ความสลัว
๒๑ 4. ความท้าทาย/ความไม่ท้าทาย 5. ความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจ ตัวแปรที่ 2 องค์ประกอบทางด้านค่าจ้าง ประกอบด้วย 1. ถือว่าเป็นรางวัล/ไม่ถือว่าเป็นรางวัล 2. มาก/น้อย 3. เป็นทางบวก/เป็นทางลบ ตัวแปรที่ 3 องค์ประกอบทางด้านเลื่อนต าแหน่ง ประกอบด้วย 1. ยุติธรรม/ไม่ยุติธรรม 2. เชื่อถือได้/เชอถือไม่ได้ 3. เป็นเชิงบวก/เป็นเชิงลบ 4. เป็นเหตุผล/ไม่เป็นเหตุผล ตัวแปรที่ 4 องค์ประกอบทางด้านผู้นิเทศ ผู้บังคับบัญชา ประกอบด้วย 1. อยู่ใกล้/ อยู่ไกล 2. ยุติธรรมแบบจริงใจ/ไม่ยุติธรรม 3. เป็นมิตร/ค่อนข้างเป็นมิตร 4. เหมาะสมทางคุณสมบัติ/ไม่เหมาะสมทางคุณสมบัติ ตัวแปรที่ 5 องค์ประกอบทางด้านเพื่อนร่วมงาน ประกอบด้วย 1. เป็นระเบียบเรียบร้อย/ไม่เป็นระเบียบเรียบร้อย 2. จงรักภักดีต่อที่ท างาน/ไม่จงรักภักดีต่อที่ท างานและเพื่อนร่วมงาน 3. สนุกสนานร่าเริง/ดูไม่มีชีวิตชีวา 4. ดูน่าสนใจเอาจริงเอาจัง/ดูเหนื่อย สรุปได้ว่า องค์ประกอบที่ส่งผลกระทบถึงความพอใจนั้นขึ้นอยู่กับงานที่ท าในปัจจุบัน ค่าจ้างหรือรางวัลต าแหน่งฐานะสถานภาพ ผู้น า และเพื่อนร่วมงาน นอกจากแนวคิดพื้นฐานดังกล่าว แล้ว เมื่อน ามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูผู้สอนจะต้องมีบทบาทส าคัญในการจัด กิจกรรม วิธีการ สื่อ อุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้เพื่อตอบสนองความพึงพอใจให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจใน การเรียนจนบรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง โดยให้ผู้เรียนได้รับผลตอบแทนจาก การเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยเฉพาะผลตอบแทนภายใน หรือรางวัลภายในที่เป็นความรู้สึกของผู้เรียน เช่น ความรู้สึกถึงความส าเร็จของตนเมื่อสามารถเอาชนะความยุ่งยากต่าง ๆ ได้ท าให้เกิดความ ภาคภูมิใจ ความมั่นใจ ส่วนผลตอบแทนภายนอก เช่น ค าชมเชย คะแนนผลสัมฤทธิ์ ที่น่าพอใจ ตลอดจนได้รับการยกย่องชมเชยจากบุคคลอื่น พ่อ แม่ ผู้ปกครอง องค์ประกอบของความพึงพอใจเกิด
๒๒ จากปัจจัยภายในผู้เรียน ได้แก่ ความชอบ ใจความสนใจจึงท าให้เกิดการเรียนรู้และองค์ประกอบ ภายนอก เป็นกระบวนการที่ครูจัดประสบการณ์ ให้เกิดแรงจูงใจ น าไปสู่ความส าเร็จในเป้าหมายเมื่อ ผู้เรียนมีความพึงพอใจ ส าหรับการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัย ได้ใช้เครื่องมือแบบสอบถามถามวัดความพึงพอใจ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ มาก ที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด 4.3 การวัดและประเมินความพึงพอใจ เนื่องจากความพึงพอใจเป็นทัศนคติในทางบวกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การจะวัดว่า บุคคลมีความรู้สึกพึงพอใจหรือไม่นั้น จึงมีความจ าเป็นต้องใช้และสร้างเครื่องมือที่จะช่วยวัดทัศนคติ นั้น ๆ ได้ซึ่งนักวิชาการหลายท่านได้กล่าวไว้ ดังนี้ ชวลิต ชูก าแพง (2551, น. 112-113) ได้อธิบายถึงวิธีการวัดจิตพิสัยที่นิยม ดังนี้ 1. การสังเกตเป็นการสังเกตการพูดการกระท าการเขียนของนักเรียนที่มีต่อสิ่งใดสิ่ง หนึ่งที่ ครูต้องการวัด 2. การสัมภาษณ์ เป็นวิธีการที่ครูใช้พูดคุยกับนักเรียนในประเด็นที่ครูอยากรู้ ซึ่งอาจเป็น ความรู้สึกทัศนคติของนักเรียนเพื่อน าสิ่งที่นักเรียนพูดออกมาแปลความหมายเกี่ยวกับลักษณะจิต พิสัยของนักเรียนได้ เช่น ครูอยากรู้ว่าเขาสนใจเรียนวิชาภาษาไทยหรือไม่เคยอ่านหนังสืออะไรดี ๆ บ้างค าตอบของนักเรียนจะท าให้ครูประเมินได้ว่า มีความสนใจการเรียนวิชาภาษาไทยมากน้อยแค่ไหน 3. การใช้แบบวัดมาตราส่วนประมาณค่า เป็นเครื่องมือวัดทัศนคติวัดความสนใจวัด คุณธรรมจริยธรรมไว้มากพอสมควรซึ่งครูคนอื่น สามารถน าไปใช้ได้ ถ้าเป็นแบบวัดทัศนคติ หรือวัด ความสนใจจะมีรูปแบบการวัด 3 รูปแบบ คือ แบบของลิเคิร์ท แบบเธอร์สโตน แบบของออสกูด ตารางที่ 2.1 เกณฑ์การให้คะแนนแบบสอบถามวัดความพึงพอใจ ข้อความที่กล่าวในเชิงนิมาน (ทางบวก) (Positive Statements) ข้อความที่กล่าวในเชิงนิเสธ (ทางลบ) (Negative Statements) มากที่สุด 5 คะแนน มากที่สุด 1 คะแนน มาก 4 คะแนน มาก 2 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน ปานกลาง 3 คะแนน น้อย 2 คะแนน น้อย 4 คะแนน น้อยที่สุด 1 คะแนน น้อยที่สุด 5 คะแนน
๒๓ 4.4 การสร้างแรงจูงใจให้เกิดความพึงพอใจ ศุภศิริ โสมาเกตุ (2554, น. 49) ได้ศึกษาแนวคิดของ Scott (1970, p. 157) และ น ามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเสนอแนวคิดในการสร้างแรงจูงใจในการท างานมี ลักษณะ ดังนี้ ลักษณะที่ 1 งานควรมีส่วนสมพันธ์กับความปรารถนาส่วนตัว และความหมายต่อผู้ท า ลักษณะที่ 2 งานต้องมีการวางแผนและวัดส าเร็จได้โดยใช้ระบบการท างานและการควบคุม ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อให้ได้ผลในการสรางสิ่งจูงใจ ภายในเป้าหมายของงานตองมีความภูมิใจในการ ท างานโดยตรงงานนั้นสามารถท าให้ส าเร็จได้ การน าแนวคิดมาใช้เพื่อสร้างแรงจูงใจให้เกิดความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนการสอนม แนวทางดงนี้ 1. ศึกษาความต้องการ ความสนใจของผู้เรียนและระดับความสามารถหรือพัฒนาการ ตามวัยของผู้เรียน 2. วางแผนการสอนอย่างเป็นกระบวนการ และประเมินผลอย่างมีประสิทธิภาพ 3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและก าหนดเป้าหมายในการ ท างาน สะท้อนผลงานและท างานร่วมกันได้ จากแนวคิดพื้นฐานดังกล่าวแล้ว เมื่อน ามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครูผู้สอน จะต้องมีบทบาทส าคัญในการจดกิจกรรม วิธีการ สื่อ อุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เพื่อตอบสนองความ พึง พอใจให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียน จนบรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง โดย ให้ ผู้เรียนได้รับผลตอบแทนจากการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง โดยเฉพาะผลตอบแทนภายใน หรือรางวัล ภายในที่เป็นความรู้สึกของผู้เรียน เช่น ความรู้สึกถึงความส าเร็จของตนเสมอสามารถเอาชนะความ ยุ่งยากต่าง ๆ ได้ ท าให้เกิดความภาคภูมิใจ ความมั่นใจ ส่วนผลตอบแทนภายนอก เช่น ค าชมเชย คะแนนผลสัมฤทธิ์ที่น่าพอใจ ตลอดจนได้รับการยกย่องชมเชยจาก พ่อ แม่ ผู้ปกครอง และบุคคลอื่น สรุปได้ว่า ความพึงพอใจในการเรียนเกิดจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอก ซึ่งครูจะต้องเป็น ผู้ กระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจเพื่อจะน าไปสู่เป้าหมาย เมื่อเกิดความพึงพอใจจะเกิดผลที่ดีต่อการเรียนรู้ ผลดีหรือน่าพอใจน าไปสู่ความพึงพอใจท าให้งานที่ท าประสบผลส าเร็จ ความพึงพอใจ คือ ความรู้สึก ของบุคคลต่อ สิ่งต่าง ๆ ในสิ่งที่เกิดจากการได้รับตอบสนองในสิ่งที่ตนเองคาดหวังไว้ เป็นไปตาม คาดหวังจนท าให้เกิดการเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น
๒๔ 5. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5.1 งานวิจัยในประเทศ นิตยา เต็งประเสริฐ (2557: 14-63) ได้ท าการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบจัดการเรียนรู้ โดยการผสมผสานทักษะปฏิบัติเดวีส์และการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติชุดระบ าไก่ วิชาคนตรี-นาฏศิลป์ โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ 1)พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ผสมผสาน ทักษะปฏิบัติเดวีส์และการเรียนรู้แบบร่วมมือ 2)เปรียบเทียบผถสัมฤทธิ์การจัดการเรียนรู้การพัฒนา ทักษะปฏิบัติท่าร าประกอบการแสดงชุดระบ าไก่ วิชาคนตรีนาฎศิลย์ของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของผู้เรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ผสมผสานทักษะปฏิบัติเควีส์ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน ทักษะปฏิบัติเดวีส์ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ การแสดงชุด ระบ าไก่ แบบประเมินทักษะปฏิบัติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติเปรียบเทียบ IndependentSamples t – test ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้รูปแบบการผสมผสาน ทักษะปฏิบัติเดวีส์ และการเรียนรู้แบบร่วมมือ ประ กอบการแสดงชุดระบ าไก่วิชาดนตรีนาฎศิลป์ของ ผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีความต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05(t=1.84,P=0.07) วันวิสาข์ ภูมิสายดอน (2559, น. 92) ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะการเป่าขลุ่ย เพียงพอของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ (Devies) การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการเป่าขลุ่ยเพียงออ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่มี ประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการเป่าขลุ่ยเพียงออของ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 80 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของ นักเรียนที่มีต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1/13 ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะการเป่าขลุ่ย เพียงออตามรูปแบบของการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 90.82/82.45 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) นักเรียนที่มีทักษะการเป่าขลุ่ย เพียงออหลังเรียนกับ เกณฑ์ร้อยละ 84.25 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และ 3) ความ พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมการ เรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับมาก ที่สุด วิไลรัตน์ แซ่เอี้ยว (2560, น. 100) ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมชุมนุม นาฏศิลป์ เรื่องร าวงมาตรฐาน โดยใช้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ผลการวิจัยพบว่า ชุดกิจกรรมชุมนุม นาฏศิลป์ เรื่อง ร าวงมาตรฐานโดยใช้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์มีค่าความเหมาะสมและความสอดคล้อง เท่ากับ 4.40 ค่าประสิทธิภาพ (E1/E2) ของการทดลองแบบเดี่ยวแบบกลุ่ม และแบบสนาม มีค่า เท่ากับ 85.00/82.50, 87.78/85.28 และ 97.08/95.83 ตามล าดับค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เท่ากับ 0.4 คิดเป็นร้อยละ 40.00, 0.4854 คิดเป็นร้อยละ 48.54 และ 0.9119 คิดเป็นร้อยละ 91.19 ตามล าดับ แผนการจัดการเรียนรู้ของชุดกิจกรรมมีค่าความเหมาะสม และความสอดคล้อง
๒๕ เท่ากับ 4.38 แบบประเมินทักษะปฏิบัติ มีค่าดัชนี ความสอดคล้อง (IOC) เท่ากับ 1.0 ค่าความ เชื่อมั่นระหว่างผู้ ประเมิน (IRR) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.9980 และแบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ มีค่าดัชนีความ สอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.80 - 1.00 ผลการจัดกิจกรรมชุมนุมนาฏศิลป์ ด้านทักษะปฏิบัติ มีคะแนน เฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากบร้อยละ 53.08 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับร้อย ละ 95.83 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 98.78 มัญชุสา สุขนิยม (2560, น. 97) ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนาทักษะปฏิบัติเครื่อง ดนตรี คีย์บอร์ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะชนมธยมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของ เด วีส์ การวิจัยครั้งนี้มีวตถุประสงค์ 1) เพอพฒนาการจัดการเรียนรู้ทกษะปฏิบัติเครองดนตรีคีย์บอร์ด กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามแนวคิดของเดวีส์ที่มีประสิทธิภาพ 2) เพื่อ เปรียบเทียบทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีคีย์บอร์ด ที่เรียนด้วยการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์กับ เกณฑ์ คะแนนร้อยละ 85 โดยมีนักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนดอนบอสโกวิทยา อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี จ านวน 54 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดเดวีส์ แบบประเมินทักษะปฏิบัติคีย์บอร์ด และแบบสอบถาม ความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ ทดสอบค่าที่ t – test (One – Group Posttest Design) ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้ ทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรี ตามแนวคิดของเดวีส์มีประสิทธิภาพ (E1 /E2) เท่ากับ 88.04/96.75 ซึ่ง สูง กว่าเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ (85/85) 2) นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติเครื่อง ดนตรี คีย์บอร์ด มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 88.04 โดยมีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งสูง กว่าเกณฑ์อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความพึง พอใจต่อ การจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติ เครื่องดนตรีคีย์บอร์ดตามแนวคิดของเดวีส์โดยรวมมีความพึง พอใจอยู่ ในระดับมากที่สุด วิไลรัตน แซเอี้ยว (2560: 3-53) ได้ท าการวิจัยเรื่องการพัฒนาชุดกิจกรรมชุมนุมนาฏศิลป เรื่องร าวงมาตรฐาน โดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีส์ โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ1)พัฒนาชุด กิจกรรมชุมนุมนาฏศิลปเรื่องร าวงมาตรฐานโดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีสที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ 75/75 2)ศึกษาผลการจัดกิจกรรมชุมนุมนาฏศิลปเรื่องร าวงมาตรฐานโดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีส ใน 2 ดานคือ ทักษะปฏิบัติและคุณลักษณะอันพึงประสงคของนักเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ครั้งนี้คือในการวิจัยครั้งนี้ท าการศึกษาประชากร ไดแก นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-6 ที่ลงทะเบียน เรียนในกิจกรรมชุมนุมนาฏศิลป โรงเรียนสวนศรีวิทยา จังหวัดชุมพร ภาคเรียนที่ 2ปการศึกษา 2558 จ านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1)ชุดกิจกรรมชุมนุมนาฏศิลปเรื่องร าวงมาตรฐาน โดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีสประกอบดวย คูมือการใช ค าชี้แจงส าหรับครู สิ่งที่ครูตองเตรียม บทบาท ของครูและนักเรียน การจัดชั้นเรียน เนื้อหาสาระของชุดกิจกรรม การวัดผลและประเมินผล แผนการ จัดการเรียนรูแบบประเมินทักษะปฏิบัติ และแบบบันทึกการสังเกตเพื่อประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงคของนักเรียน 2)แผนการจัดการเรียนรูจ านวน 10 แผน ตามจ านวนเพลงร าวงมาตรฐาน 10 เพลงโดยแบงออกเปนแผนละ 1 เพลง เรียงล าดับตามความยากงาย 3)แบบประเมินทักษะปฏิบัติ เรื่องร าวงมาตรฐาน เกณฑการประเมินเปนแบบรูบริค(Rubric Scoring) ประเมินความสามารถใน
๒๖ การรายร า 5 ดาน ไดแก ความถูกตองของทาร า ลีลาทาร าจังหวะ ความพรอมเพรียงและความกล้า แสดงออก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ 1)การวิเคราะหประสิทธิภาพและประสิทธิพลของชุด กิจกรรมชุมนุมนาฏศิลปเรื่องร าวงมาตรฐานโดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีส )การวิเคราะหผลการจัด กิจกรรมชุมนุมนาฏศิลปเรื่องร าวงมาตรฐานโดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีส ผลการวิจัยพบว่าชุดกิจกรรม ชุมนุมนาฏศิลปเรื่องร าวงมาตรฐานโดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีสมีคาความเหมาะสมและความ สอดคล้องเทากับ 4.40 คาประสิทธิภาพ (E1/E2) ของการทดลองแบบเดี่ยวแบบกลุม และแบบ สนาม มีคาเทากับ 85.00/82.50, 87.78/85.28 และ 97.08/95.83 ตามล าดับคาดัชนี ประสิทธิผล (E.I.) เทากับ 0.4 คิดเปนรอยละ 40.00, 0.4854 คิดเปนรอยละ 48.54 และ 0.9119คิดเปนรอยละ 91.19 ตามล าดับ แผนการจัดการเรียนรูของชุดกิจกรรมมีคาความเหมาะสม และความสอดคลองเทากับ 4.38 แบบประเมินทักษะปฏิบัติ มีคาดัชนี ความสอดคลอง (IOC) เทากับ 1.0คาความเชื่อมั่นระหวางผูประเมิน (IRR) มีคาเฉลี่ยเทากับ 0.9980 และแบบประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค มีคาดัชนีความสอดคลอง (IOC) ระหวาง 0.80 - 1.00 ผลการจัดกิจกรรมชุมนุมนาฏ ศิลปดานทักษะปฏิบัติ มีคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนเทากับรอยละ 53.08 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเทากับร อยละ95.83 ดานคุณลักษณะอันพึงประสงค มีคะแนนเฉลี่ยเทากับรอยละ 98.78 หทัยภัทร ศุภคุณ (2561: 5-73) ได้ท าวิจัยเรื่อง การปฏิบัติลองชุดเบื้องต้นโดยใช้รูปแบบ การฝึกทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์จากการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติตามแนวคิด ของเดวีส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) ก่อนและหลังเรียน 2) ศึกษาทักษะการปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น โดยปใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) 3)ศึกษาเจตคติของนักเรียนต่อการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติตาม แนวคิดของเดวีส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3โรงเรียนบ้านสวน (จั่นอนุสรณ์) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้คือ จ านวน 1 ห้องเรียน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม(Cluster sampling) จ านวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุด เบื้องต้น โดยใช้รูปแบบการฝึกทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ จ านวน 10 แผน 2) แบบวัด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินทักษะการปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น 4) แบบวัดเจตคติต่อการ จัดการเรียนรู้การปฏิบัติของชุดเบื้องต้น สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉถี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ ทดสอบค่าที (-test) ผลการวิจัยพบว่า 1)ผลการใช้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุด เบื้องต้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)ผลค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการปฏิบัติกลองชุดเบื้องต้น พบว่า มีค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนน ทักษะปฏิบัติอยู่ที่ 89.17 3)เจตคติของนักเรียนต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การปฏิบัติกลองชุด เบื้องต้น มีค่าเฉลี่ยคะแนนเจตคติที่ดีอยู่ที่ 4.25 มีค่าความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
๒๗ ปานทิพย ตุลพันธ (2561: 3-52 ) ได้ท าการวิจัยเรื่องการจัดการเรียนรูวิชานาฏศิลปไทย โดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีสเพื่อส่งเสริมความกลาแสดงออกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ1)เปรียบเทียบความกลาแสดงออกของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเกาะหมากนอย ระหวางกอนและหลังเรียนวิชานาฏศิลปไทย โดยทักษะ ปฏิบัติของเดวีย )ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนเกาะหมากน อยตอการเรียนวิชานาฏศิลป โดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีส กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2560 จ านวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยคือ แผนการจัดการเรียนรูโดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีส แบบประเมินความกลาแสดงออก และแบบสอบถามความพึงพอใจ วิเคราะหผลโดยหาคาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความ เชื่อมั่น ผลการวิจัยพบวา นักเรียนมีความกลาแสดงออกดานการพูด ดานการกระท า และดานการ แสดงความคิดเห็นโดยรวมอยูในระดับปานกลาง (μ = 3.43, = 0.20) ความกลาแสดงออกของ นักเรียน หลังเรียนวิชานาฏศิลปไทย โดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีส สูงกวากอนเรียน และความพึง พอใจของนักเรียนตอการเรียนรูโดยใชทักษะปฏิบัติของเดวีสในรายวิชานาฏศิลป อยูในระดับปาน กลาง (μ = 3.48, = 0.66) ปนัดดา แสงสิงห์ (2562: 4-86) ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะ ปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่องร าวงมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่2 โดยมีจุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ 1)พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะปฏิบัติ ตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่องร าวงมาตรฐาน ส าหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2)เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จาก กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ร าวงมาตรฐาน กับเกณฑ์ร้อยละ 75 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีต่อกิจกรรมการ เรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อบัลติเดีย เรื่อง ร าวงมาตรฐาน กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนมหาวิชานุกูลอ าเภอเมืองจังหวัด มหาสารคาม สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามหาสารคามเขต 26 จ านวน 28 คน ระยะเวลาการวิจัยภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แผนการจัดการ เรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ประกอบสื่อมัลติมีเดียเรื่องร าวงมาตรฐานรวม 7 แผนจ านวน 12 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4ตัวเลือกจ านวน 20 ข้อและแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อร าวงมาตรฐานเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ 1 ฉบับจ านวน 15 ข้อสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือร้อยละค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐานและการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติทดสอบ (t-test Dependent samples) ผลการวิจัย พบว่า 1) การจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ร าวง มาตรฐาน ส าหรับนักรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพ (E./E) เท่ากับ80.10/81.3 เป็นไป ตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตาม
๒๘ แนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ร าวงมาตรฐาน มีคะแนนหลังการจัดการเรียนรู้สูง กว่าเกณฑ์ร้อยละ 7 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มี ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของ Davies ประกอบสื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ร าวงมาตรฐาน โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (X - 4,82, S.D. = 0.13) ชนันธร หิรัญเชาว์ (2562: 3-74) ได้ท าการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะนาฏศิลป์ไทยและ ความคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดของเดวีส์ส าหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้นโดยมีจุดมุ่งหมายใน การวิจัยเพื่อ1) เปรียบเทียบทักษะนาภูศิลป์ไทย ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเควีส์ 2) เปรียบเทียบทักษะความคิดสร้างสรรค์ ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน การวิจัยครั้งนี้คือเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้น โรงเรียนชุมชนวัดหนองค้อ สังกัดองค์การ บริหารส่วนจังหวัดชลบุรี ที่ก าลังศึกษาในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 โดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม จ านวน 1 ห้องเรียน รวม 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้วิชา นาฏศิลป์ไทย ตามแนวคิดของเดวีส์แบบวัดทักษะนาภูศิลป์ไทย แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการ เรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1)ทักษะนาฎศิลป์ไทยของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้วิชานาฎศิลป์ไทยตาม แนวคิดของเดวีส์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ.01 2)ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้วิชานาภูศิลป์ไทยตามแนวคิดของเดวีส์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ.01 3)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้ วิชานาฏศิลป์ไทยตามแนวคิดของเดวีส์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชานาฏศิลป์ไทย ตามแนวคิด ของเควีส์ อยู่ในระดับมาก อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 วรายุทธ มะปะทัง (2563: 4-90) ได้ท าการวิจัยเรื่อง การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะปฏิบัติ ตามแนวคิดของเดวีส์เรื่องพื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยมี จุดมุ่งหมายในการวิจัยเพื่อ1) พัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่อง พื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษา ดัชนีประสิทธิผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่องพื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 3) ศึกษาทักษะปฏิบัติหลังเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะ ปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่องพื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2562 โรงเรียน บ้านห้วยยางสะอาด อ าเภอเขาสวนกวาง จังหวัดขอนแก่น สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาขอนแก่น เขต 4 จ านวน 106 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ตามแนวคิดของเดวีส์ จ านวน 6 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดทักษะ ปฏิบัติเป็นแบบรูบริคสกอร์ (Rubric Score) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ
๒๙ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1)ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์เรื่องพื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ(87.08/82.58) ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ (80/80) 2)ดัชนีประสิทธิผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่องพื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีค่าเท่ากับ 0.7191 3) นักเรียนมีทักษะปฏิบัติหลังเรียนด้วย กิจกรรมการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติตามแนวคิดของเดวีส์ เรื่องพื้นฐานนาฏศิลป์ ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โดยรวมอยู่ในร้อยละ84.04 5.2 งานวิจัยต่างประเทศ Upitis (1985, p. 171) ได้ท าการวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการของ นักเรียน กับการฝึกเกี่ยวกับดนตรีในเรื่องความเข้าใจจังหวะของนักเรียนโดยศึกษาจังหวะของโน้ต สากลซึ่งจะ ให้นักเรียนแสดงท่าทางประกอบจังหวะและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพัฒนาการของเด็ก กับการฝึก ท่าทางประกอบจังหวะ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนอายุระหว่าง 7-12 ปี ที่มีความสามารถ เข้าใจ ท่าทางประกอบจังหวะโน้ตสากล ผลของการวิจัยพบว่า อายุของนักเรียนมีความส าคัญต่อการ คาดคะเนความเข้าใจเกี่ยวกับจังหวะดนตรี และการฝึกด้านดนตรีมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส าคัญ เกี่ยวกับการตอบสนองในเรื่องการอ่านตัวโน้ตและการแสดงท่าทางประกอบจังหวะ และที่ส าคัญ พบว่า นักเรียนทุกระดับอายุมีความเข้าใจในเรื่องการฝึกด้านดนตรี ทั้งการแสดงท่าทางประกอบและ ความเข้าใจในจังหวะซึ่งถ้านักเรียนเขาใจท่าทางประกอบจังหวะได้ก็จะมีความเข้าใจในเรื่องจังหวะ ด้วย Kadyk (1987, p. 297) ได้ท าการวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบผลการเรียน เรื่อง ระดับ จังหวะดนตรี โดยใช้การสอนปกติและวิธีการสอนโดยใช้ทฤษฎีการละดับทักษะและเนื้อหาส าหรับ นักเรียนที่เริ่มเรียนดนตรี กลุ่มตัวอย่างมี 72 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 36 คน หลังจากทดลองแล้วได้ ทดสอบนักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม โดยใช้การวัดแบบอิงเกณฑ์ ซึ่งจะให้อ่านโน้ตสากลเบื้องต้นและให้เล่น เครื่องดนตรีตามเพลงที่ก าหนดให้ 4 เพลง ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนทั้ง 2 กลุ่ม มีผลสัมฤทธิ์ด้าน ทักษะการปฏิบัติจังหวะและเรื่องระดับเสียงสูงต่ํา แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติส่วนในเรื่อง อื่น ๆ นั้นไม่แตกต่างกัน Jacobsen (1986, p. 197) ได้ท าการวิจัยเรื่อง ผลการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชา โน้ต สากลเบื้องต้นของนักศึกษาวิชาเอกการประถมศึกษา ในมหาวิทยาลัย Northern Colorado กลุ่ม ตัวอย่าง 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 42 คน และกลุ่มควบคุม 42 คน โดยเปรียบเทียบกับวิธี สอน ปกติ กลุ่มทดลองใช้คอมพิวเตอร์ฝึกและปฏิบัติเกี่ยวกับจงหวะและโน้ตสากลเบื้องตนกลุ่มควบคุม สอนตามวิธีปกติ ฝึก 9 ชั่วโมง จากเวลาเรียนทั้งหมด 12 ชั่วโมง รูปแบบของการวิจัยใช้ Pre-test Post-test ความเชื่อมั่นของแบบทดสอบเท่ากับ .88 ผลการวิจัยพบว่า ไม่มีความแตกต่างระหว่าง กลุ่ม ควบคุมกบกลุ่มทดลอง เมื่อทดสอบเรื่อง ชื่อตัวโน้ต สัญลักษณ์กุญแจและจังหวะ Auh (2010, p. 112) ได้ท าการวิจัยเรื่อง ผลของการใช้ตัวโน้ตที่มีต่อการคิด สร้างสรรค์ ในนักเรียนระดับ 7 (Seventh Grade) จ านวน 47 คน ที่ก าลังศึกษาในโรงเรียนเอกชนใน เมือง Sydney โดยแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มทดลองได้รับการเรียนการสอนโดยใช้ภาพของตัวโน้ต ประกอบการ เรียนการสอนในการแต่งเพลง ในขณะที่กลุ่มควบคุมไม่ได้ใช้ภาพตัวโน้ตประกอบการ เรียนการสอน
๓๐ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองทได้รับการสอนโดยใช้ภาพของตัวโน้ตประกอบมี ความคิด สร้างสรรค์ในการแต่งเพลงสูงกว่านักเรียนกลมควบคมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Bruce (1972, p. 429) ท าการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสอนโดยใช้ชุดการเรียน การสอน กับการสอนแบบธรรมดาที่มหาวิทยาลัยไอโอวา ผลการวิจัยพบว่า การสอนโดยการใช้ชุด การสอน ได้ผลดีกว่าการสอนแบบธรรมดา Turk (1985, p. 177) ท าการวิจัยเกี่ยวกับการวางแผนพัฒนาการทดสอบการฟังท านอง จังหวะดนตรีในแต่ละบุคคล โดยใช้ชุดการสอนกับคอมพิวเตอร์ ทดลองกับอาสาสมัครจ านวน 30 คน เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นที่มีอายุระหว่าง 11-14 ปี ผลการทดลองหลังจากที่ได้ ศึกษาจาก ชุดการสอนแล้ว พบว่า การใช้ชุดการสอนเพื่อพัฒนาการฟังทา นองจังหวะดนตรีนั้น การอธิบาย เนื้อหาที่อยู่ในชุดการสอนชัดเจนดี ซึ่งก่อให้เกิดผลดีต่อบุคคลแต่ละคน ซึ่งสามารถรับรู้และเข้าใจได้ อย่างรวดเร็วหลังจากที่ใช้ชุดการสอนนี้แล้ว การศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศท าให้ทราบแนวการจัดการ เรียนการสอนแนวทางพัฒนาทักษะปฏิบัติ และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากผลการวิจัยแสดง ให้เห็นว่าเมื่อใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน สามารถพัฒนาทักษะปฏิบัติ และพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนได้ และพบว่าผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ดีจากการศึกษาหาความรู้โดยการสัมผัส จับต้องและฝึกปฏิบัติ ผู้สอนต้องรู้จัก ออกแบบการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงผ่านกระบวนการขั้นตอนต่าง ๆ สามารถใช้สื่อและ เทคโนโลยีที่อ านวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้เข้าใจมากยิ่งขึ้น ผู้วิจัยจึง ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน ที่มีต่อทักษะการท างานและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้าน ดุงวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี
๓๑ 6. กรอบแนวคิดการวิจัย กรอบแนวคิดการวิจัยในครั้งนี้ปรากฏดังภาพที่ 1 ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอน ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน
๓๒ บทที่ 3 วิธีด าเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ ประเด็นการศึกษาของผู้วิจัยส่วนใหญ่มีขอบเขตอยู่ที่การพัฒนาการปฏิบัติร า วงมาตรฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ผู้วิจัยได้ก าหนดหัวข้อการด าเนินการวิจัยตามล าดับ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 3. การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านดุงวิทยา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี ที่เรียนรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่มสาระการ เรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จ านวน ๕๖๐ คน จากนักเรียนจ านวน ๑๔ ห้อง 2. กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/๓ โรงเรียนบ้านดุง วิทยา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานีที่เรียนรายวิชาดนตรี-นาฏศิลป์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 จ านวน ๔0 คน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) 2. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการ สอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ๑ แผน 2. แบบทดสอบภาคปฏิบัติเรื่อง ร าวงมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน ๑๐ ข้อ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้ เรื่องร าวงมาตรฐาน โดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (Rating Scale) 5 ระดับ จ านวน ข้อ 10 ข้อ
๓๓ 3. การสร้างและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ านวน ๑ เพลง ตามบทเพลงร าวงมาตรฐาน แผนละ 1 เพลง ต่อ 2 ชั่วโมง รวม ๒ ชั่วโมง แผนผู้วิจัยด าเนินการสร้างและหาคุณภาพ ดังน แผนการ จัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การแสดงร าวงมาตรฐาน เพลงหญิงไทยใจงาม 2. แบบทดสอบภาคปฏิบัติ เรื่อง ร าวงมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะสาระ นาฏศิลป์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ 5 ระดับ คือ 1 หมายถึง ต้องปรับปรุง, 2 หมายถึง พอใช้,3 หมายถึง ปานกลาง, 4 หมายถึง ดี, 5 หมายถึง ดีมาก ก าหนดเกณฑ์ดังนี้ ตารางที่ 3.1 เกณฑ์การประเมินแบบทดสอบภาคปฏิบัติ ประเด็นที่ประเมิน ระดับประเมินคุณภาพ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1=ปรับปรุง ๑. ความถูกต้องของท่าร า ปฏิบัติท่าได้ถูกต้องตาม รูปแบบของนาฏศิลป์ ครบกระบวนการท่า ปฏิบัติท่าได้ถูกต้องตาม รูปแบบของนาฏศิลป์เป็น ส่วนใหญ่ ปฏิบัติท่าได้ถูกต้องตาม รูปแบบของนาฏศิลป์เป็น บางส่วน ปฏิบัติท่าได้ถูกต้องตาม รูปแบบของนาฏศิลป์แต่ ไม่สมบูรณ์ ปฏิบัติท่าไม่ถูกต้อง ตามรูปแบบของ นาฏศิลป์ ๒. ประเด็นที่ประเมิน ระดับประเมินคุณภาพ 5 = ดีมาก 4 = ดี 3 = ปานกลาง 2 = พอใช้ 1 = ปรับปรุง ๓. ความสัมพันธ์ของท่าร า กับจังหวะเพลง ลีลาท่าทางสอดคล้อง กับเนื้อเพลงจังหวะ ถูกต้องตลอดเพลง ลีลาท่าทางสอดคล้องกับ เนื้อเพลงจังหวะถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ ลีลาท่าทางสอดคล้องกับ เนื้อเพลงจังหวะถูกต้อง เป็นบางส่วน ลีลาท่าทางสอดคล้อง กับเนื้อเพลงจังหวะมีผิด บ้างเล็กน้อย ลีลาท่าทางไม่ สอดคล้องกับเนื้อ เพลงจังหวะไม่ ถูกต้อง ๔. ความสวยงามและอ่อน ช้อย ลีลาอ่อนช้อยงดงาม ลีลาอ่อนช้อย ลีลาไม่อ่อนช้อยนัก ลีลาไม่อ่อนช้อยมีผิด บ้างเล็กน้อย ลีลาไม่อ่อนช้อย ๕. ความมั่นใจในการ แสดงออก มีความมั่นใจกล้า แสดงออกและเป็น ตัวอย่างที่ดีสามารถน า ผู้อื่นได้ มีความมั่นใจกล้า แสดงออกและเป็น ตัวอย่างที่ดี มีความมั่นใจกล้า แสดงออก กล้าแสดงออก ไม่มีความมั่นใจ 3. แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้เรื่องร าวงมาตรฐาน โดยใช้ รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนชั้น ที่เรียนด้วยรูปแบบมัธยมศึกษาปีที่ 3 การเรียน การสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ (Davies) เรื่องร าวงมาตรฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ได้ ด าเนินการตามขั้นตอนต่อไปนี้
๓๔ 3.1 ศึกษาเอกสารและต าราที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ 3.2 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียน การ สอนทักษะปฏิบัติของเควีส์ (Davies) เรื่องร าวงมาตราน โดยใช้แบบมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด ดังต่อไปนี้ รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ด้านเนื้อหา 1. เนื้อหามีความเหมาะสม เข้าใจง่าย 2. เนื้อหามีความแปลกใหม่ น่าสนใจ 3. น าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ด้านปฏิบัติงาน 4. พอใจกับกิจกรรมที่ร่วมศึกษาค้นคว้า 5. มีขั้นตอนและกระบวนการชัดเจน ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน 6. มีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกขั้นตอน 7. กิจกรรม/กระบวนการช่วยให้เข้าใจ เนื้อหามากขึ้น 8. กิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลาย ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ด้านการวัดและประเมินผล 9. นักเรียนมีส่วนร่วมในการวัด และประเมินผล 10. มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. ……….. 3.3 น าแบบสอบถามความพึงพอใจที่สร้างขึ้น เสนออาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพิจารณา ความเหมาะสม แล้วน ามาปรับปรุงเเก้ไขตามข้อเสนอแนะ
๓๕ 3.4 น าแบบสอบถามความพึงพอใจที่ปรับปรุงแก้ไขแล้ว พิจารณาความเหมาะสมและ ความสอดคล้องของข้อค าถามกับจุดประสงค์ที่ต้องการวัด เสนอผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 3 คน 1) ดร.จิราพรรณ เอี่ยมแก้ว อาจารย์สาขาวิชานาฏศิลป์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ผู้เชี่ยวชาญด้านวัดผลประเมินผล 2) นางสาวจุฑาทิพย์ รวมธรรม รองผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดุงวิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 3) นางสาวจิดาภา ปัญญาชัย ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนบ้านดุงวิทยา ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 3.5 น าแบบสอบถามความพึงพอใจไปทดลองใช้กับนักเรียนชั้นมัยมศึกษาปีที่ 3 จ านวน 40 คน ซึ่งได้ผ่านการเรียนรู้เรื่องร าวงมาตรฐานมาแล้ว 3.6 จัดพิมพ์เป็นฉบับสมบูรณ์ เพื่อน าไปใช้จริงกับกลุ่มทดลองในการวิจัยต่อไป 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยด าเนินการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้ 1. เตรียมกลุ่มตัวอย่างโดยการจัดท าบัญชีรายชื่อนักเรียน จัดท าตาราง จัดเตรียม สถานที่ในการทดลอง และเครื่องมือในการทดลอง รวมทั้งท าการชี้แจงการด าเนินการทดลองให้ นักเรียนกลุ่มตัวอย่างเข้าใจ 2. ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบก่อนเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 3. ท าการทดลองโดยให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้แผนการ จัดการเรียนรู้ เรื่องร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ โดยในแต่ ละแผนจะท าการเก็บคะแนนระหว่างเรียน 4. ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างท าแบบทดสอบหลังเรียนที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยเป็น แบบทดสอบข้อเดียวกันกับการทดสอบก่อนเรียน 5. ให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดกิจกรรม เรียนรู้ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์
๓๖ 5. การวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ มีรายละเอียด ดังนี้ 1. น าคะแนนระหว่างเรียนและคะแนนหลังเรียน มาวิเคราะห์เพื่อหาประสิทธิภาพของ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องร าวงมาตรฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ โดยใช้มาตรฐาน E1/E2 ตามเกณฑ์ 80/80 2. น าคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน มาวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร า วงมาตรฐาน โดยใช้ t-test แบบ Dependent Samples 3. น าผลการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ มาวิเคราะห์เพื่อหาความพึงพอใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ที่ต่อการจัดกิจกรรมเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐาน โดยใช้ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องร าวงมาตรฐาน รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์โดยใช้ สถิติการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 6. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. สถิติที่ใช้ในการตรวจสอบเครื่องมือ 1.1 หาค่าความตรงรายข้อของแบบทดสอบและแบบสอบถามโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญ เรียกว่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC : Index of Item Objective Congruence) เป็นความสอดคล้อง ระหว่างข้อค าถามกับจุดประสงค์ โดยอาศัยความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเป็นหลัก มีสูตรในการ ค านวณ ดังนี้ (นฤมล แสงพรหม. 2563 :153) R IOC N เมื่อ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อค าถามกับจุดประสงค์ R แทน ผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญทุกคน N แทน จ านวนผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 1.2 วิเคราะห์หาค่าความยาก (P) และค่าอ านาจจ าแนก (D) ของแบบทดสอบ ภาคปฏิบัติเป็นรายข้อ โดยวิธีการของวิทนีย์และซาเบอร์ส (Whitney and Sabers) มีสูตรในการ ค านวณ ดังนี้ (ไพศาล วรค า. 2559: 299-308)
๓๗ P = H L mim max mim S + S - (2nX ) 2n(X - X ) D = H L max mim S - S n(X - X ) เมื่อ P แทน ค่าความยากของแบบทดสอบภาคปฏิบัติ D แทน ค่าอ านาจจ าแนกของแบบทดสอบภาคปฏิบัติ SH แทน ผลรวมคะแนนในกลุ่มสูง SL แทน ผลรวมคะแนนในกลุ่มต่ า n แทน จ านวนนักเรียนในกลุ่มสูงหรือกลุ่มต่ า Xmax แทน คะแนนสูงสุดในข้อนั้น Xmin แทน คะแนนต่ าสุดในข้อนั้น 1.3 การหาค่าอ านาจจ าแนกรายข้อของแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม (Item Total Correlation) โดยคะแนนรวมนั้นได้หักคะแนนของข้อนั้น ๆ ออกแล้ว มีสูตรในการค านวณ ดังนี้(ทรง ศักดิ์ภูสีอ่อน. 2556: 71) X (Y-X ) i i r = i i i i 2 2 2 2 i i i i N X (Y - X ) - X (Y - X ) N X - ( X ) N (Y - X ) - (Y - X ) เมื่อ X (Y-X ) i i r แทน ค่าอ านาจจ าแนกของข้อค าถามข้อที่ i Xi แทน ชุดของคะแนนจากค าถามข้อที่ i Y แทน ชุดของคะแนนรวมจากข้อค าถามทุกข้อ N แทน จ านวนผู้ตอบแบบสอบถามที่น ามาวิเคราะห์ 1.4 การหาค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบภาคปฏิบัติและแบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ โดยวิธีการใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา ( -Coefficient) ของครอนบาค (Cronbach) มีสูตรในการค านวณ ดังนี้(ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. 2556: 90) α = 2 i 2 t k S 1 - k - 1 S
๓๘ เมื่อ α แทน ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ 2 Si แทน ผลรวมของความแปรปรวนรายข้อ 2 St แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม k แทน จ านวนข้อ 2. สถิติพื้นฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 2.1 ร้อยละ มีสูตรในการค านวณ ดังนี้ (นฤมล แสงพรหม. 2563: 211) f N p x 100 เมื่อ p แทน ร้อยละ f แทน ความถี่หรือจ านวนข้อมูลที่ต้องการหาร้อยละ n แทน จ านวนข้อมูลทั้งหมด 2.2 ค่าเฉลี่ย ( X ) มีสูตรในการค านวณ ดังนี้ (นฤมล แสงพรหม. 2563: 213) X X = n เมื่อ X แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง X แทน ผลรวมทั้งหมดของคะแนน n แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่าง 2.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S) มีสูตรในการค านวณ ดังนี้ (นฤมล แสงพรหม. 2563: 225) n X - X S = n(n - ) 2 2 1
๓๙ เมื่อ S แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน X แทน ข้อมูลแต่ละค่าของกลุ่มตัวอย่าง X แทน ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง n แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่าง 3. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ ตามเกณฑ์ 80/80 วิเคราะห์โดยใช้สูตร E1/E2 ดังนี้ (ชัยยงค์ พรหมวงศ์. 2556: 10) X N E = × A 1 100 F N E = × B 2 100 เมื่อ E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ X แทน คะแนนรวมของแบบฝึกหัดปฏิบัติกิจกรรมหรืองานที่ท า ระหว่างเรียน F แทน คะแนนรวมของผลลัพธ์ของการประเมินหลังเรียน A แทน คะแนนเต็มของแบบฝึกปฏิบัติทุกชิ้นรวมกัน B แทน คะแนนเต็มของการประเมินสุดท้าย (การสอบหลังเรียน) N แทน จ านวนผู้เรียน
๔๐ 4. สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คะแนนพัฒนาการ มีสูตรในการค านวณ ดังนี้ (ศิริชัย กาญ จนวาสี. 2552: 266-267) DS = Y - X x 100 F - X เมื่อ DS แทน คะแนนร้อยละของพัฒนาการของนักเรียน F แทน คะแนนเต็มของการวัดทั้งครั้งแรกและครั้งหลัง X แทน คะแนนการวัดครั้งแรก Y แทน คะแนนการวัดครั้งหลัง 5. สถิติที่ใช้ในการการทดสอบสมมติฐาน เปรียบเทียบคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน (Pre-test) กับหลังเรียน (Post-test) ของกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ t-test แบบกลุ่มไม่อิสระ (Dependent Samples t-test) มีสูตรในการค านวณ ดังนี้ (นฤมล แสงพรหม. 2563 :244) D t = n D - ( D ) n - 2 2 1 , df = n - 1 เมื่อ t แทน ค่าสถิติที่จะใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤตเพื่อทราบ ความมีนัยส าคัญ D แทน ผลต่างระหว่างคู่คะแนน n แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่างหรือจ านวนคู่คะแนน
๔๑ บทที่ ๔ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ด าเนินการวิเคราะห์ข้อมูลและเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตามล าดับ ดังต่อไปนี้ ๑. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ๒. ล าดับขั้นในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ๓. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ๑. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล X แทน ค่าเฉลี่ย n แทน จ านวนนักเรียน S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ df แทน ค่าองศาอิสระ (Degree of Freedom) t แทน ค่าสถิติทดสอบที่ใช้เปรียบเทียบค่าวิกฤต เพื่อทราบความมีนัยส าคัญ ๒. ล าดับขั้นในการน าเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยได้ด าเนินการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามล าดับ ดังต่อไปนี้ ๑. ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ๒. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ๓. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ต่อการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ๓. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ๑. ผลการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ โดยน าคะแนนระหว่างเรียน และคะแนนหลังเรียนมาวิเคราะห์ ปรากฏผลดังตารางที่ ๑ ตารางที่ 4.๑ ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์
๔๒ คะแนน คะแนนเต็ม X S.D. ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย - ระหว่างเรียน (E1) - หลังเรียน (E2) 30 40 23.68 34.68 2.69 3.21 78.92 91.62 จากตารางที่ ๑ พบว่า คะแนนเฉลี่ยระหว่างเรียนมีค่าเท่ากับ 23.68 คิดเป็นร้อยละ 78.92 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนมีค่าเท่ากับ 34.68 คิดเป็นร้อยละ 91.62 ซึ่งแสดงว่า แผนการ จัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 78.92/91.62 ซึ่ง เป็นไปตามเกณฑ์ที่ก าหนดไว้ ๒. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการ สอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานของนักเรียน ระหว่างก่อน เรียนและหลังเรียน ของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะ การปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติของเดวีส์โดยน าคะแนนแบบทดสอบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานก่อนเรียนและหลังเรียน มาวิเคราะห์ ปรากฏผลดังตารางที่ ๒ ตารางที่ 4.๒ การวิเคราะห์เปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานก่อนเรียนและหลังเรียนของ นักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ การทดสอบ n X S.D. df t p ก่อนเรียน 40 16.00 1.90 19 18.78* .000 หลังเรียน 40 36.65 3.97 * มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากตารางที่ ๒ พบว่า ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐานของนักเรียนที่ได้รับการจัดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์มีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 16.00 และมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 36.65 เมื่อทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้สถิติ t พบว่า ค่าสถิติ t เท่ากับ 18.78 มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แสดงว่านักเรียนที่ได้รับการจัด กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปเเบบการเรียนการสอนทักษะการปฏิบัติของเดวีส์ มีทักษะการปฏิบัติร าวง มาตรฐานหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐาน ที่ตั้งไว้
๔๓ ๓. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ทักษะการปฏิบัติเพลงร าวงมาตรฐานโดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์โดยน าผลการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ในการเรียนรู้ของนักเรียนมาท าการวิเคราะห์ปรากฏผลดังตารางที่ ๑ ตารางที่ 4.๓ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนที่มี ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ จากตารางที่ ๓ พบว่า ความพึงพอใจในการเรียนรู้ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติร าวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.69, S.D. = 0.55) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่าทุกข้อมีความพึงพอใจในการเรียนรู้อยู่ใน ระดับมากที่สุด โดยข้อที่นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้สูงที่สุดคือ น าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ ( X = 4.80, S.D. = 0.41) รองลงมาคือ เนื้อหามีความแปลกใหม่ น่าสนใจ ( X = 4.75, S.D. = 0.55) และพอใจกับกิจกรรมที่ร่วมศึกษาค้นคว้า( X = 4.70, S.D. = 0.57) มีขั้นตอนและ กระบวนการชัดเจน ( X = 4.70, S.D. = 0.57) กิจกรรม/กระบวนการช่วยให้เข้าใจเนื้อหามากขึ้น ( X = 4.70, S.D. = 0.47) นักเรียนมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล ( X = 4.70, S.D. = 0.47)ตามล าดับ ส่วนข้อที่นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนรู้ต่ าที่สุดคือ เนื้อหามีความเหมาะสม เข้าใจง่าย ( X = 4.60, S.D. = 0.68) ข้อที่ รายการประเมิน ระดับความพึงพอใจ X S.D. ความพึงพอใจ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ เนื้อหามีความเหมาะสม เข้าใจง่าย เนื้อหามีความแปลกใหม่ น่าสนใจ น าไปใช้ในชีวิตประจ าวันได้ พอใจกับกิจกรรมที่ร่วมศึกษาค้นคว้า มีขั้นตอนและกระบวนการชัดเจน มีส่วนร่วมในกิจกรรมทุกขั้นตอน กิจกรรม/กระบวนการช่วยให้เข้าใจเนื้อหามากขึ้น กิจกรรมการเรียนรู้มีความหลากหลาย นักเรียนมีส่วนร่วมในการวัดและประเมินผล มีเกณฑ์การให้คะแนนที่ชัดเจน 4.60 4.75 4.80 4.70 4.70 4.65 4.70 4.65 4.70 4.65 0.68 0.55 0.41 0.57 0.57 0.59 0.47 0.59 0.47 0.59 มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด มากที่สุด เฉลี่ยรวม 4.69 0.55 มากที่สุด