The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมเล่ม สูจิบัตร ผลงานในนิทรรศการงานเกษตร 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saru.sss95, 2021-09-20 22:18:43

สูจิบัตรผลงาน ในนิทรรศการงานเกษตร 2562

รวมเล่ม สูจิบัตร ผลงานในนิทรรศการงานเกษตร 2562

สารจากรองอธิการบดี
วทิ ยาเขตก�ำแพงแสน

การนำ� พาประเทศไทยด้วยวสิ ัยทศั น์ “ประเทศไทยมีความมัน่ คง มัง่ คง่ั ยัง่ ยนื
เปน็ ประเทศพัฒนาแลว้ ด้วยการพัฒนาตามหลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง” หรอื
เป็นคตพิ จนป์ ระจำ� ชาติวา่ “มน่ั คง ม่ังคงั่ ย่ังยืน” กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรมจึงมุ่งพัฒนาภารกิจตอบสนองยุทธศาสตร์ชาติ ด้วยการขับเคล่ือน
การอุดมศึกษาไทย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ไปสู่มาตรฐานในระดับสากลและ
เพิ่มอันดับความสามารถการแข่งขันในระดับนานาชาติอย่างยั่งยืน ภายในปี พ.ศ. 2580
เพอื่ ใหภ้ ารกจิ วางรากฐานประเทศ และเปน็ กลไกขบั เคลอ่ื นประเทศสปู่ ระเทศทพี่ ฒั นาแลว้
โดยเน้นการปฏิบัตภิ ารกจิ ตอบสนอง 4 แพลตฟอรม์ (Platform) ดังนี้
1. การพัฒนาก�ำลังคนและสถาบันความรู้
“Manpower and Knowledge”
2. การวิจยั และสร้างนวัตกรรมเพอ่ื ตอบโจทย์ท้าทายของสงั คม
“Grand Challenges”
3. การวจิ ัยและสรา้ งนวัตกรรมเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขัน
“RDI for Competitiveness of Strategic Sectors”
4. การวิจยั และสรา้ งนวัตกรรมเพื่อการพฒั นาเชิงพืน้ ที่และลดความเหล่อื มล�้ำ
“Area - based & Local Economy”

มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตก�ำแพงแสน เหน็ ถงึ ความสำ� คัญ

จึงได้จัดนิทรรศการด้านการวิจัย ภายใต้ช่ือ “วิจัยและนวัตกรรม เพื่อไทยแลนด์ 4.0”
เพ่ือเผยแพร่ผลงานวิจัย นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ สาธิต ให้ค�ำปรึกษาและให้บริการ
ทางวิชาการสู่สังคมและประเทศ ท้ังภาครัฐและเอกชน ก่อเกิดการพัฒนาประเทศ
และมีความกินดี อยู่ดี อย่างยั่งยืน ในงานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562
“เกษตรกำ� แพงแสน ตามรอยพอ่ สานตอ่ ศาสตร์แหง่ แผน่ ดนิ ”

(รองศาสตราจราอรงยอ์ นธกิายารสบตั ดววีแิทพยทายเ์ขดตรก.อำ� นแพุชยังแสภนญิ โญภมู ิมินทร์)
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน

1“วิจยั และนวัตกรรมเพือ่ งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0ิจยั”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

Content

...สารบัญ...

ช ่ือผ ล งาน . . . . . หน้า
1 การพัฒนาก�ำลงั คนและสถาบันความรู้ (Manpower and Knowledge) 6
1.1 รปู แบบการพฒั นานวตั กรรมทางการศึกษาบรู ณาการเทคโนโลย ี 6
ส�ำหรับนกั เรยี นโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามหลกั ทฤษฎพี หุปญั ญา
อำ� เภอกำ� แพงแสน จังหวัดนครปฐม
1.2 การพฒั นาเมืองผู้สูงอายุ 7
1.3 การจดั การความรู้เพือ่ ถา่ ยทอดเทคโนโลยีการผลิต และการบริหาร 8
จัดการเชิงธุรกจิ ของกลุ่มผ้ผู ลติ ขา้ วปิน่ เกษตร ภายใต้โมเดลขา้ วก�ำแพงแสน
1.4 ชดุ การทดลองอย่างงา่ ยเพื่อส่งเสริมการคดิ เชงิ วิทยาศาสตร์ผ่านประเดน็ 9
วทิ ยาศาสตร์เชิงสงั คมเป็นฐาน
1.5 การจัดทำ� มาตรฐานอาชพี และคุณวฒุ ิวิชาชพี สาขาวชิ าชีพ 10
เกษตรกรรม : สาขาเกษตรกรปราดเปรอื่ ง

2 การวจิ ัยและสร้างนวตั กรรมเพื่อตอบโจทยท์ า้ ทายของสงั คม 11
(Grand Challenges) 11
2.1 โครงการพัฒนางานวิจัยและนวตั กรรมพชื กัญชาทางการแพทย์ 12
2.2 สบู่ด�ำประดบั และสบ่ดู �ำพลังงาน 13
2.3 เครอื่ งอดั กระทงใบตองและภาชนะจากวัสดุธรรมชาต ิ 14
2.4 นมมะพร้าวอัดเมด็ 15
2.5 เสน้ กว๋ ยเตีย๋ วข้าวเหลืองปะทิว 16
2.6 ซอสสบั ปะรด ซอสพรกิ และ ซอสซีฟดู้ ต้นฉบับ King Seafood 17
2.7 เครอ่ื งวัดความหวานมะมว่ งอยา่ งรวดเรว็ 18
2.8 เครอื่ งวัดความออ่ น-แก่ ทุเรยี น II อย่างรวดเร็ว 19
2.9 ผลิตภัณฑ์อาหารเสรมิ จากสารสกดั ขา้ วหอมมะลงิ อก 20
2.10 ชดุ ปลกู พืชไรด้ นิ ดว้ ยพลงั งานจากโซลารเ์ ซล 21
2.11 เครอื่ งวดั เวลาตอบสนองแบบไร้สาย 22
2.12 บนั ไดลงิ อจั ฉรยิ ะเพ่ือฝกึ ความคล่องแคลว่ วอ่ งไว 23
2.13 A lateral flow biosensor for the detection of porcine DNA. 24
2.14 การจัดการเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมเชงิ บรู ณาการจาก
ไม้ผล/ประมง/ปศสุ ัตว์ : ทางเลอื กใหม่ให้เกษตรกรสวนยางพารา
ในเขตพน้ื ที่ริมแม่น�ำ้ โขง

2 มผหลาวงิทายานลัย•เกวษิจตัยรศ•าสนตวรตั ์ กวทิรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแชิ สานการ

Content

...สารบญั ... (ตอ่ )

ช่ือผ ล งาน . . . . . หนา้
2.15 เทคโนโลยแี ม่นยำ� ในการจัดการระบบดนิ -พชื -อากาศ เพือ่ ยกระดบั 25
ผลผลติ และคณุ ภาพผลของปาลม์ นำ�้ มนั มงั คดุ และทุเรยี น
2.16 ศนู ย์เชื้อพนั ธุกรรมพชื แห่งประเทศไทย 26
2.17 Zero Rabies ภารกจิ พชิ ิตพษิ สนุ ัขบา้ 27
2.18 การประยุกตใ์ ช้ค�ำแนะน�ำปุ๋ยสั่งตดั สำ� หรบั ออ้ ยภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื 28
สูภ่ าคกลางฝง่ั ตะวันตก
2.19 การสง่ เสรมิ การตรวจวดั ส่ิงแวดลอ้ ม และสรา้ งงานวจิ ัยวิทยาศาสตร ์ 29
ส่งิ แวดลอ้ มระดับโรงเรยี น
2.20 การปลกู บุกไขโ่ ดยมีกล้วยเปน็ พชื แซม อ.เมอื งฯ จังหวัดแม่ฮ่องสอน 30
2.21 การวาดภาพสีน้ำ� และสีอะคริลกิ เพ่อื จัดทำ� ของทรี่ ะลกึ 31
2.22 เทคโนโลยีแบคทเี รยี ตรงึ รูปศกั ยภาพสูงเพอื่ การผลิตปุ๋ย 32
2.23 ชาจงิ จฉู ่าย สมุนไพรต้านมะเร็ง 33
2.24 การควบคุมกำ� จัดผกั ตบชวาโดยชวี วิธ ี 34
2.25 การผลติ สารสำ� คญั จากเห็ดกระถินพิมานโดยวธิ ี cell culture 35
2.26 “EAT me” ผลิตภณั ฑ์แผน่ ควบคุมน้�ำตาลและตา้ นอนมุ ลู อิสระ 36
2.27 “CHEW D” แผน่ วนุ้ ลดคอเลสเตอรอล และต้านอนมุ ูลอิสระพร้อมบรโิ ภค 37

3 การวิจยั และสร้างนวัตกรรมเพ่อื เพ่มิ ขีดความสามารถการแขง่ ขัน 38
(RDI for Competitiveness)
3.1 การพฒั นาการท่องเท่ยี วเชงิ สร้างสรรค์บนฐานมรดกภูมิปัญญาชมุ ชน 38
บา้ นโนนทัน จงั หวัดหนองบวั ลำ� ภู
3.2 การผลิตซ�ำ้ ทางวฒั นธรรมเพื่อพัฒนาสินคา้ ของฝากทางการท่องเท่ยี ว 39
ชุมชนชาตพิ นั ธลุ์ าวเวยี ง บ้านห้วยเด่ือ จงั หวดั หนองบัวลำ� ภู
3.3 ความพรอ้ มของการผลิต เพ่อื ยกระดับการจดั การฟารม์ ในระบบมาตรฐาน 40
ส�ำหรบั ตลาดผลผลติ ปลอดภยั
3.4 ผลติ ภัณฑ์ผลพลอยไดจ้ ากการผลติ กวาวเครอื ขาว SARDI 190 เพ่อื ปศุสัตว์ 41
3.5 เชอื้ ราฟวิ ซาเรียม โซลาไน มหนั ตภยั รา้ ยของโรคก่งิ แหง้ ทเุ รียน 42
3.6 เครอื่ งหยอดเมล็ดพันธ์ ุ 43
3.7 การศึกษาการเจริญของรากออ้ ยและการออกแบบเคร่ืองฝงั กลบปุ๋ย 44
ตดิ ท้ายรถแทรกเตอรข์ นาดเลก็

“วิจัยและนวตั กรรมเพอ่ื งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0จิ ัย” 3
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

Content

...สารบญั ... (ตอ่ )

ช ือ่ ผ ล งาน . . . . . หน้า

3.8 การพฒั นาสารเคลือบเมล็ดพนั ธุ์ดว้ ยไบโอพอลิเมอร ์ 45
กับสารเรืองแสงอนุพนั ธ์ุคมู ารนิ 46
3.9 เมล็ดเทียม (artificial seed) ตา้ นเชอื้ จุลนิ ทรีย์ 47
3.10 วสั ดไุ ฮโดรเจลสำ� หรับดดู ซบั /ยอ่ ยสลายสารตกค้าง 48
3.11 การพฒั นาสารเคลอื บเมลด็ พันธุ์ด้วยสารกระตนุ้ 49
เชิงแสงรว่ มกับไบโอพอลเิ มอร์ 50
3.12 การเลีย้ งไก่ลูกผสมตะเภาทอง เพ่อื ผลติ อาหารปลอดภัย 51
3.13 ขา้ วธญั โอสถ และห้องปฏิบัตกิ ารวเิ คราะห์เอกลักษณ์ดีเอ็นเอ 52
ขา้ วไทยเพือ่ การสง่ ออก 53
3.14 อปุ กรณ์ทุ่นแรงชว่ ยตดิ ต้งั เครอ่ื งล�ำเลียงผลผลิต 54
ทางการเกษตรเขา้ กับรถบรรทุก
3.15 เครือ่ งผลติ ก้อนเห็ดอตั โนมัติ
3.16 แอปพลเิ คชันเพ่อื การบรหิ ารจดั การระบบสืบพนั ธุ์โคนม
3.17 อปุ กรณ์ไอโอทีเพือ่ การบริหารจดั การระบบสบื พันธ์โุ คนม

4. การวิจยั และสร้างนวตั กรรมเพอื่ การพฒั นาเชงิ พ้ืนทีแ่ ละลดความเหล่อื มล้�ำ 55
(Area-based & Local Economy) 55
4.1 โคเนอื้ คณุ ภาพสูง (โคเนอ้ื ลูกผสมกำ� แพงแสน-วากวิ ) 56
4.2 โคเน้อื พนั ธก์ุ �ำแพงแสน 57
4.3 กระบอื ปลกั คณุ ภาพสงู 58
4.4 การวิจัยผลิตภัณฑส์ งิ่ ทอให้มลี กั ษณะเฉพาะเพอ่ื ส่งเสรมิ เขา้ สตู่ ลาด 59
4.5 การสรา้ งผลิตภณั ฑ์อาหารโปรตีนจากดกั แดไ้ หมอีร่ี/ตวั อย่างอาหาร 60
โปรตีนเพ่ือสขุ ภาพ 61
4.6 รปู แบบการเลยี้ งไหมเพือ่ ผลิตรังไหมสภู่ าคอตุ สาหกรรม 62
4.7 การศกึ ษาสถานการณ์ ศกั ยภาพ ตน้ ทนุ และเงอ่ื นไขขอ้ ก�ำจดั 63
ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ฐานราก กรณศี ึกษาภาคกลางตะวันตก 64
4.8 องค์ความร้แู ละนวัตกรรมสชู่ ุมชน
4.9 การพฒั นาถ่านกมั มันต์จากวสั ดุชวี ภาพ และผลิตภณั ฑ์จากยางพารา
4.10 ผลิตภัณฑข์ ้าวหมากสีจากผักผลไมแ้ ละดอกไม้และกรรมวิธีการผลติ

4 ผมหลาวงิทายานลัย•เกวษจิ ตัยรศ•าสนตวรัต์ กวิทรรยมาเข•ตบกร�ำกิ แาพรงวแชิ สานการ

1 แ“กลMาะaสรnถพpาoัฒบwนั นคerวาาaกมn�ำรdู้ลKังnคowนledge”

ผลงานวิจัย นวตั กรรม 2 การวิจยั และสรา้ งนวัตกรรม
และบริการวชิ าการ เพื่อตอบโจทย์ท้าทายของสงั คม
“Grand Challenges”
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์
3 การวจิ ัยและสรา้ งนวัตกรรม
4 เพือ่ เพิ่มขีดความสามารถในการแขง่ ขัน
“RDI for Competitiveness of Strategic Sectors”
การวิจัยและสรา้ งนวตั กรรม
เพ่ือการพฒั นาเชงิ พน้ื ทแ่ี ละลดความเหลื่อมลำ�้
“Area-based & Local Economy”

งานนิทรรศการดา้ นวิจัย
“วิจัยและนวัตกรรมเพ่ือไทยแลนด์ 4.0”

งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

5“วิจยั และนวัตกรรมเพ่อื งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจยั”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

1.1 รปู แบบการพฒั นา

เทคโนนวโตัลตกยราสี รมำ� มหหทรลับานักงกักทเารฤรียศษนโึกฎรษงีพเารยีหบนรูปุ ขณญันาาดญกเลาาก็ร
อ�ำเภอก�ำแพงแสน จงั หวัดนครปฐม
• เจ้าของผลงาน / สงั กดั / ทอ่ี ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ดร.ธรี ศักดิ์ สรอ้ ยคีรี คณะศึกษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์
โทร. 094-1455525 E-mail : [email protected]

• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรุป •
ปัญหาของโรงเรียนขนาดเล็กคือจะมีครู บุคลากร ทรัพยากรการเรียนรู้
ค่อนข้างน้อยเนื่องจากงบประมาณ ข้ึนอยู่กับจ�ำนวนนักเรียนที่มีจ�ำนวนน้อย เช่นกัน
คอื นกั เรยี นโรงเรยี นขนาดเลก็ จะมปี ระมาณไมเ่ กนิ 120 คน จากปญั หาดงั กลา่ วผวู้ จิ ยั สนใจ
ทจี่ ะพฒั นาความรใู้ หน้ กั เรยี นโรงเรยี นขนาดเลก็ ดว้ ยนวตั กรรมทางการศกึ ษาทเ่ี หมาะสมกบั
โรงเรียนขนาดเล็ก จึงได้จัดท�ำวิจัยรูปแบบการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาบูรณาการ
เทคโนโลยสี ำ� หรบั นกั เรยี นโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามหลกั ทฤษฎพี หปุ ญั ญา อำ� เภอกำ� แพงแสน
จังหวัดนครปฐม
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
1. เพื่อศึกษารูปแบบการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาบูรณาการเทคโนโลยี
สำ� หรับนักเรียนโรงเรยี นขนาดเล็กตามหลกั ทฤษฎีพหปุ ญั ญา อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม
2. เพ่ือพัฒนารูปแบบการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาบูรณาการเทคโนโลยี
ส�ำหรบั นกั เรยี นโรงเรียนขนาดเลก็ ตามหลกั ทฤษฎีพหปุ ญั ญา อำ� เภอกำ� แพงแสน จังหวดั นครปฐม
3. เพื่อประเมินผลการใชร้ ูปแบบการพฒั นานวัตกรรมทางการศึกษาบรู ณาการ
เทคโนโลยสี ำ� หรบั นกั เรยี นโรงเรยี นขนาดเลก็ ตามหลกั ทฤษฎพี หปุ ญั ญา อำ� เภอกำ� แพงแสน
จงั หวดั นครปฐม

6 มผหลาวงิทายานลัย•เกวษจิ ตยั รศ•าสนตวรัต์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแชิ สานการ

1.ผ2 ู้สกางูรพอัฒานยาุเมือง

• เจ้าของผลงาน / สังกัด / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ผศ.ดร.เกษม นครเขตต,์ รศ.ดร.อจั ฉรา ปรุ าคม, รศ.ดร.ภริ มย์ จน่ั ถาวร และ ชมพร สเี งนิ
ศูนย์นวัตกรรมการเรียนร้กู ิจกรรมทางกายผู้สงู อายุแบบองค์รวม
ภาควชิ าพลศึกษาและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์
โทร. 089-0731329 E-mail : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
WHO Country Cooperation Strategies (CCS) รว่ มกบั กระทรวงสาธารณสขุ
ศูนย์วิจัยกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ สสส. และศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้กิจกรรมทาง
กายผู้สูงอายุแบบองค์รวม ร่วมกันพัฒนาเมืองผู้สูงอายุต้นแบบเพ่ือส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ
สามารถดำ� รงชวี ติ อยใู่ นสงั คมอยา่ งมสี ขุ ภาพทงั้ กาย จติ สงั คม และจติ วญิ ญาณ ตามกรอบ
แนวคิด 5H ได้แก่ H1 : นโยบายเมอื งผสู้ งู อาย,ุ H2 : ท่ีพกั อาศยั ทม่ี ีความสุขและปลอดภยั ,
H3 : กิจกรรมเพ่ือสร้างเสริมสขุ ภาพ, H4 : การเดนิ ทางทีป่ ลอดภัย และH5 : สิง่ แวดล้อม
ที่เอ้ือต่อสุขภาพ ซ่ึงกระบวนการพัฒนาเมืองอาศัยการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นและองค์กรภาคีเครือข่าย ผลการศึกษารูปแบบเมืองผู้สูงอายุต้นแบบ
(Senior City Model) สง่ ผลให้ผ้สู ูงอายุมภี าวะพฤฒพลงั อยา่ งยนื ยาว มีความเป็นอิสระ
ในการด�ำเนินชีวติ และสามารถด�ำรงชีวติ อยู่ในชุมชนของตนเองอย่างมคี วามสขุ
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
รูปแบบเมืองผู้สูงอายุต้นแบบ ถือว่าเป็นองค์ความรู้ใหม่รองรับสังคมผู้สูง
อายุ ซ่ึงปัจจุบันเทศบาลต�ำบลเมืองพาน จังหวัดเชียงราย และเทศบาลนครนครสวรรค์
จงั หวดั นครสวรรค์ ไดน้ ำ� องคค์ วามรดู้ งั กลา่ วไปใชใ้ นการปรบั ผงั เมอื งผสู้ งู อายุ พฒั นาพน้ื ที่
ใชป้ ระโยชน์ และระบบการเดนิ ทาง ทางเลือกสำ� หรบั ผสู้ งู อายุ

7“วิจยั และนวัตกรรมเพ่ืองไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0จิ ัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• แกลจิ กะกรรามรตพลฒั านดาเครอื ข่ายผลติ ภัณฑ์

1.3 การจัดการความรู้

เพขกอื่อถงาก่ารยลบทุ่มรอผหิดผู้ เาทลรคิตจโนขดั โา้ลกยวากีปาริน่ รเชผเกิงลธติษุรตแกลริจะ

ภายใต้โมเดลข้าวกำ� แพงแสน • พแล้นื ะทกีเ่ คารรตือลขา่าดย ผลติ ภัณฑ์

• เจา้ ของผลงาน / สงั กดั / ทีอ่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ดร.สาคร ชนิ วงค*์ นายเพม่ิ สรุ กั ษา นายธเนตร ศรสี ขุ นายนพสทิ ธิ์ ลอ่ งจา้ และนางสาววรฏิ ฐา
ทองสมทุ ร สำ� นกั สง่ เสรมิ และฝึกอบรม กำ� แพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 089-4567836, 081-8564162 E-mail : [email protected], [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
ข้าวปิ่นเกษตร1 พันธุ์ข้าว มก. ได้รับรางวัลระดับโลก เป็นข้าวหอมนิ่มนวล
เมลด็ ขาวเรียวยาวใส ดัชนีน้�ำตาลปานกลาง ธาตุเหลก็ สงู ตลาดต้องการสูง วช.สนับสนนุ
การท�ำวิจัยต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2558-2562 จัดการความรู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและ
การบรหิ ารจัดการเชิงธุรกจิ ขบั เคล่ือนกระบวนการกลมุ่ เรียนรู้และพัฒนา สรา้ งเครือขา่ ย
ตลาดนำ� การผลติ จดั การตลอดโซ่อปุ ทานในการทำ� นา พืชหลงั นา/คนู่ า
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
กลุ่ม/เครอื ข่ายเกษตรกรในพน้ื ท่ี 7 จงั หวัด ผลิตกว่า 2,500 ไร่ ขายเมล็ดพนั ธุ์
46 ตัน มลู คา่ 920,000 บาท ข้าวเปลือก 2,000 ตนั มลู คา่ 20 ลา้ นบาท ปลกู ถว่ั เขยี ว
หลังนากว่า 1,000 ไร่ และมีอาชีพเสริมสร้างรายได้ แปรรูปผลผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์
ตลาดเครือขา่ ยเอกชน และมกี ล่มุ สนใจอกี หลายจังหวัด

8 มผหลาวงทิ ายานลยั •เกวษิจตัยรศ•าสนตวรัต์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแชิ สานการ

• โปรแกรมการอบรมครู

ทดลอง1.4 ชุดการอยา่ งงา่ ย
เพอื่ สง่ ผเส่ารนมิ ปกราะรเดคน็ ิดวเชทิ ิงยวทิ ายศาาศสาสตตรร์์
เชิงสงั คมเป็นฐาน
• ชุดการทดลองอย่างงา่ ย

• เจ้าของผลงาน / สงั กดั / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
อ.ดร.กลุ ธิดา นุกูลธรรม ภาควชิ าครุศึกษา คณะศกึ ษาศาสตรแ์ ละพฒั นศาสตร์
โทร. 086-6203329 E-mail : [email protected], [email protected]

• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรุป •
กรอบแนวคิดในการส่งเสริมศักยภาพของครูผู้สอนในด้านการประยุกต์ใช้
ชุดทดลองวิทยาศาสตร์อย่างง่าย ผนวกกับประเด็นทางวิทยาศาสตร์ที่เก่ียวข้องกับ
สังคมเพื่อเป็นฐานในการเรียนรู้ของนักเรียน การเตรียมความพร้อมในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนท่ีเน้นการพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการให้เหตุผล
ทางวิทยาศาสตร์เพื่อการสอนวทิ ยาศาสตรท์ ี่มีประสิทธิภาพมากข้ึน
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
ได้น�ำชุดการทดลองอย่างง่ายเพื่อส่งเสริมการคิดเชิงวิทยาศาสตร์ผ่านประเด็น
วทิ ยาศาสตรเ์ ชงิ สงั คมเปน็ ฐานเขา้ ไปรว่ มในโปรแกรมอบรมครผู สู้ อนวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ การ
สง่ เสรมิ ความสามารถในการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและการใหเ้ หตผุ ลทางวทิ ยาศาสตรข์ อง
นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปขยายผลต่อในโครงการพัฒนาครู “คูปองครู” โดย
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในปี 2560-2561

9“วจิ ยั และนวัตกรรมเพ่อื งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0ิจยั”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

• น�ำเสนอผลการจัดท�ำมาตรฐานอาชพี และคุณวฒุ วิ ิชาชีพ
สาขาวชิ าชพี เกษตรกรรม สาขาเกษตรกรปราดเปรอ่ื ง
ตอ่ คณะรบั รองมาตรฐาน

1.5 การแจลัดะทค�ำมุณาตวรฒุ ฐาวิ นชิ อาาชชพีพี
สาขาเกษตรเกกษรตปรรากดเรปรร่ือมงสาขาวชิ าชพี
• จปทจสัดดัารุกขาสทภดามั�ำาวเมมคปิชานสราตว่า่อืชรนปงพี ฐรเาตะกนอ่ชษอผาตาู้ทพรชี่มิเกีพคีสรร่วรแานมละเหะกสคน์าี่ยุณข�ำวเาขวสเ้อฒุกนงษิวอจิชตผาารลกชกกีพราร

• เจ้าของผลงาน / สงั กดั / ท่ีอยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail

โสวททิำ� รนย.กัา0เสข9่งต8เสก-7ร�ำ9ิมแ5แพ4ลง9ะแ3ฝส5กึนอeอบ-m.รกมำ�aแiกlพำ� :งแkแพuสงbนแbสจkนi.bนมbคหร@ปาwวฐiทิมnยdาoลwัยsเกliษveต.รcศoาmสตร์
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้มีความร่วมมือทางวิชาการกับสถาบันคุณวุฒิ
วิชาชีพ (องค์การมหาชน) ในการจัดท�ำโครงการมาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพสาขา
วิชาชีพเกษตรกรรม สาขาเทคโนโลยีการเกษตร สาขาส่งเสริมการเกษตร และสาขาเกษตรกร
ปราดเปรื่อง โดยส�ำนักส่งเสริมและฝึกอบรม ก�ำแพงแสน รับผิดชอบจัดท�ำสาขาเกษตรกร
ปราดเปรื่อง โดยมุ่งเน้นการพัฒนาความรู้และทักษะของคนที่ปฏิบัติงานในอาชีพเกษตรกร
ปราดเปรอื่ งและอาชพี ผปู้ ระกอบการเกษตร ใหส้ ามารถปฏบิ ตั งิ านไดจ้ รงิ โดยการพฒั นาในรปู แบบ
ของการพัฒนาสมรรถนะ และมีจุดมุ่งหมายในการเป็นองค์กรรับรองเพื่อรับรองสมรรถนะของ
ก�ำลงั คนที่มสี มรรถนะตามมาตรฐานอาชพี (เกษตรกรปราดเปรื่อง) เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของภาคธรุ กิจและอุตสาหกรรม เปน็ กลไกใหบ้ ุคคลได้รบั การยอมรับในความสามารถ และได้รับ
คุณวฒุ วิ ชิ าชพี ทสี่ อดคล้องกับสมรรถนะและประสบการณ์
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
1. ได้รับการรับรองภายใต้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ มีสมรรถนะเป็นตัวเช่ือมโยง
คณุ วุฒใิ นอนาคต
2. สามารถน�ำไปเทียบเคยี งคุณวฒุ ใิ นระดบั สากลได้
3. เปิดโอกาสให้ผู้ที่ไม่ได้รับการศึกษา แต่มีประสบการณ์ในการท�ำการเกษตร
ไดร้ ับการรบั รอง
4. ยกระดับมาตรฐานเกษตรกรไทยที่มีความรู้ ความช�ำนาญและประสบการณ์
ในการประกอบอาชพี สามารถเทยี บโอนระดบั คณุ วุฒไิ ด้

10 มผหลาวงทิ ายานลัย•เกวษิจตยั รศ•าสนตวรตั ์ กวทิรรยมาเข•ตบกร�ำกิ แาพรงวแิชสานการ

• โรงเรอื นปลกู กัญชา

2.1 และโคนรวงตั กกทารรราพมงพฒั กชืนาารกงแัญาพนวทชิจยาัย์
• การเก็บเก่ยี ววตั ถดุ ิบกัญชา

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ศนู ยว์ ิจัยและนวัตกรรมพืชกัญชาและพืชเสพติดสมุนไพรทางการแพทย์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตเฉลมิ พระเกยี รติ จังหวัดสกลนคร โทร. 0-4272-5033
• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรุป •
โครงการน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนาแนวทางการปลูกกัญชาตามมาตรฐาน
GACP ซ่ึงเป็นมาตรฐานที่ประเทศไทยใช้ควบคุมคุณภาพส�ำหรับพืชสมุนไพรและ
มเี ปา้ หมายสำ� คญั ดงั นี้ (1) ตน้ แบบการปลกู กญั ชาทางการแพทย์ ซง่ึ เปน็ พนื้ ทเี่ รยี นรวู้ ธิ กี าร
ปลกู กญั ชาทีป่ ระสบความส�ำเรจ็ และไดม้ าตรฐาน (2) คู่มอื การปลูกกัญชาทางการแพทย์
ตามมาตรฐาน GACP คู่มือน้ีจะมีรายละเอียดและข้ันตอนการปฏิบัติงานเพื่อท่ีว่ากัญชา
ที่ปลูกน้ันจะได้รับรองคุณภาพตามมาตรฐานทางการแพทย์ (3) หลักสูตรระยะสั้น
เพ่อื เปิดสอนใหว้ ิสาหกจิ ชมุ ชนในรูปแบบการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
การปลูกกัญชาส�ำหรับการด�ำเนินงานในระยะท่ี 1 ได้ถูกวางแผนการปลูก
เพอื่ ให้ได้วตั ถดุ ิบส�ำคัญ 4 ส่วนคอื ดอก ใบ ก้านใบ และราก ซึ่งจะส่งมอบให้โรงพยาบาล
พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร น�ำวัตถุดิบไปเข้าต�ำรับยากัญชาท่ีโรงพยาบาลได้รับอนุญาต
ให้ผลติ ต่อไป

11“วิจัยและนวัตกรรมเพอ่ื งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• สบู่ดำ� ประดับ

2.2 สบ่ดู ำ� ประดบั

สบู่ด�ำพลังงาน • สบูด่ �ำพลงั งาน (ชวี มวล)

และ

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ทีอ่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail

ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ ดร.พรี ะศกั ด์ิ ศรนี เิ วศน์ ดร.นราธษิ ณ์ หมวกรอง ดร.อนรุ กั ษ์ อรญั ญนาค
และผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พชั รนิ ทร์ ตญั ญะ E-mail : [email protected]

• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
สบดู่ ำ� เปน็ พชื ทไ่ี ดร้ บั การพฒั นาเพอ่ื ใชป้ ระโยชนน์ ำ้� มนั ในเมลด็ เปน็ สว่ นผสมของ
น้ำ� มนั ไบโอดีเซล แต่เมอ่ื นำ� มาผสมพันธ์กุ บั เข็มปตั ตาเวีย พบวา่ มลี ูกผสมทีส่ ามารถใชเ้ ปน็
ไม้ประดบั ดอกสวย (สบ่ดู ำ� ประดับพันธกุ์ ำ� แพงแสน 1-6) บางคผู่ สมกส็ ามารถใช้ประโยชน์
ในแงข่ องชวี มวลไดอ้ ีกด้วย
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
สบู่ด�ำประดับสามารถน�ำไปส่งเสริมให้ผู้ประกอบการร้านค้าต้นไม้ ท�ำเป็นไม้
กระถาง มคี ณุ สมบัตทิ ีข่ ยายพันธ์ุไดง้ า่ ยดว้ ยการเสียบยอดหรอื การปักช�ำ มสี ีดอกสวยงาม
ดอกดก แตกต่างจากสบู่ด�ำด้งั เดิม สามารถนำ� มาดัดเพอื่ ถักเป็นรูปร่างต่างๆ ได้ ลำ� ตน้ สบู่
ดำ� ประดบั พนั ธใ์ุ หม่ มคี วามเหนยี วสามารถดดั โคง้ ไดด้ ี ถา้ รดนำ�้ สมำ�่ เสมอจะออกดอกตลอด
ปี สว่ นสบดู่ ำ� พลงั งานชวี มวลใหค้ า่ พลงั งานความรอ้ นสงู โตเรว็ มาก สามารถใหน้ ำ�้ หนกั แหง้
ไรล่ ะกวา่ 10 ตนั ภายใน 2 ปี แตกกง่ิ กา้ นไดด้ นี ำ� มาเผาโดยตรงหรอื ทำ� เปน็ ถา่ นได้ สามารถ
น�ำไปส่งเสริมให้ปลูกในพ้ืนท่ีเส่ือมโทรมและพื้นท่ีแนวรอยต่อระหว่างพ้ืนที่การเกษตรกับ
พื้นที่ป่าของประเทศไทยเพอ่ื ลดการทำ� ลายป่าได้

12 มผหลาวงิทายานลยั •เกวษจิ ตัยรศ•าสนตวรัต์ กวทิรรยมาเข•ตบกรำ�ิกแาพรงวแิชสานการ

2.3 เคร่อื งอัด

กระจทางกใบวตสั อดงธุ แรลระมภาชชานตะิ

• เจา้ ของผลงาน / สังกัด / ทีอ่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
อาจารยน์ งลกั ษณ์ เลก็ รงุ่ เรอื งกจิ ภาควชิ าวศิ วกรรมเกษตร คณะวศิ วกรรมศาสตร์ กำ� แพงแสน
โทร. 091-0219191 E-mail : [email protected]
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรุป •
เป็นผลงานส่ิงประดิษฐ์จากวิชาโครงงานวิศวกรรมเกษตรของนิสิตและ
อาจารย์ในภาควิชา ซึ่งบูรณาการกับงานบริการวิชาการแก่ชุมชน ให้มีเครื่องต้นแบบ
ใชผ้ ลิตถว้ ยหรอื กระทงใบตองที่ปราศจากวสั ดุมีคม เชน่ ไมก้ ลัด หรอื ลกู แม็กซเ์ ย็บกระทง
ลดข้ันตอนการแยกวัสดุมีคมออกจากถ้วยใบตองเม่ือใช้บรรจุอาหารแล้ว ก่อนน�ำไป
ทำ� ปุ๋ยหมกั โดยเครอื่ งใชก้ บั ไฟฟา้ ในบา้ นขนาดประมาณ 2,000 วัตต์ สามารถผลติ กระทง
ขนาด 10, 12 หรือ 15 เซนตเิ มตร โดยเจยี นใบตองขนาด 13, 15 และ 20 เซนติเมตร
ตามล�ำดบั
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
นำ� ไปใชอ้ ดั ขน้ึ รปู ภาชนะกระทงใบตองแบบซอ้ นกนั 2-3 ชนั้ โดยใชก้ าวแปง้ เปยี ก
เปน็ วัสดุประสานระหว่างช้นั เพื่อใชบ้ รรจอุ าหารทดแทนโฟมและพลาสตกิ ชว่ ยลดปญั หา
ดา้ นสง่ิ แวดล้อมและลดการปนเป้อื นสารเคมีจากภาชนะบรรจอุ าหารลงสูอ่ าหารทบี่ รโิ ภค

13“วิจัยและนวัตกรรมเพอื่ งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจยั”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• นมมะพร้าวอดั เมด็

2.4 นมมะพรา้ ว

อดั เม็ด

• เจา้ ของผลงาน / สงั กดั / ที่อยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ผศ.ดร. ศวิ ลักษณ์ ปฐวีรตั น์ ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์
ก�ำแพงแสน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน นครปฐม 73140
โทร. 086-1472656 E-mail : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
สง่ิ เหลอื ใชจ้ ากกระบวนสกดั นำ�้ มนั มะพรา้ วสกดั เยน็ นอกจากนำ้� มนั มะพรา้ วแลว้
สามารถทจี่ ะนำ� สงิ่ เหลอื ใชม้ าเพม่ิ มลู คา่ ได้ โดยทางโครงการไดพ้ ฒั นาโดยการนำ� กะทพิ รอ่ ง
ไขมนั ซงึ่ เปน็ วสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากกระบวนการผลติ นำ�้ มนั มะพรา้ วสกดั เยน็ แบบใชแ้ รงเหวยี่ งหนี
ศูนย์กลาง นำ� มาแยกออกเป็นโปรตนี กับนำ�้ สกัดจากเน้ือมะพร้าวออกจากกัน โดยโปรตีน
จะเข้าสู่กระบวนการทำ� แห้ง จากน้นั น�ำมาผลิตนมมะพร้าวอัดเม็ด
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
ใชบ้ ริโภคเป็นอาหารที่มโี ปรตีนสูง

14 มผหลาวงิทายานลัย•เกวษิจตัยรศ•าสนตวรตั ์ กวิทรรยมาเข•ตบกร�ำิกแาพรงวแิชสานการ

2.5 เส้นกว๋ ยเตย๋ี ว

ข้าวเหลืองปะทิว

• เจ้าของผลงาน / สังกัด / ทีอ่ ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ผศ.ดร.รณฤทธ์ิ ฤทธริ ณ สังกดั : ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์
กำ� แพงแสน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140
โทร. 085-9171017 E-mail: [email protected], [email protected]
• ข้อมลู ผลงานโดยสรปุ •
ผลติ ภณั ฑเ์ สน้ กว๋ ยเตยี๋ วขา้ วเหลอื งปะทวิ ถกู แปรรปู มาจากขา้ วเหลอื งปะทวิ ซงึ่
เปน็ พนั ธข์ุ า้ วทนี่ ยิ มปลกู ในจงั หวดั ชมุ พร ประเทศไทย โดยผลติ ภณั ฑเ์ สน้ กว๋ ยเตย๋ี วนม้ี สี ว่ น
ประกอบของแป้งขา้ วเหลืองปะทิวถึง 50% มีลักษณะเปน็ เส้นแหง้ สามารถเก็บรักษาไว้
นอกตูเ้ ย็นได้นานถึง 6 เดือน
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
ผลิตภัณฑ์เส้นก๋วยเต๋ียวข้าวเหลืองปะทิวน้ี สามารถน�ำไปประกอบอาหารได้
หลากหลาย ท้งั กว๋ ยเตย๋ี วน�ำ้ ผัดไทยเส้นเล็ก เป็นตน้

15“วจิ ัยและนวัตกรรมเพอ่ื งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจยั”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

2.6 ซอสสับปะรด

ซอสพริก และซอสซีฟู้ด

ต้นฉบบั King Seafood

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ทอ่ี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ สังกดั : ภาควิชาวศิ วกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์
ก�ำแพงแสน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140
โทร. 085-9171017 E-mail: [email protected], [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
ซอสสับปะรด ซอสพริก และซอสซีฟู้ด ถูกพัฒนาให้มีรสชาติท่ีเข้มข้น และ
จัดจ้าน โดยอยู่ในรปู แบบขวดแกว้ เพอ่ื ให้สามารถใชง้ านได้ง่าย และยืดอายกุ ารเก็บรักษา
โดยสามารถเกบ็ รักษาที่อณุ หภูมิห้องไดถ้ งึ 2 ปี
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
ซอสทั้งสามชนิด ใช้รับประทานร่วมกับอาหารชนิดต่าง ๆ เพ่ือเพ่ิมรสชาติ
ใหก้ บั อาหาร เช่น ซอสสับปะรดและซอสพรกิ ใชท้ านร่วมกบั อาหารประเภททอด ซอสซี
ฟ้ดู ใช้ทานรว่ มกบั อาหารทะเล เป็นตน้

16 ผมหลาวงทิ ายานลัย•เกวษจิ ตัยรศ•าสนตวรตั ์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแชิ สานการ

2.7 เครอื่ งวัด
ความหวานมะมว่ ง

อย่างรวดเรว็

• เจา้ ของผลงาน / สงั กัด / ท่ีอยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ผศ.ดร.รณฤทธ์ิ ฤทธิรณ สงั กดั : ภาควิชาวศิ วกรรมการอาหาร คณะวศิ วกรรมศาสตร์
กำ� แพงแสน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140
โทร. 085-9171017 E-mail: [email protected], [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
เคร่ืองวัดความหวานมะม่วงด้วยเทคนิคอินฟราเรดย่านใกล้ (Near Infrared)
เป็นเครื่องแบบพกพาท่ีมีขนาดเล็ก ใช้งานได้ง่าย โดยการเชื่อมต่อกับโทรศัพท์ จากนั้น
นำ� หวั วดั ไปแนบทม่ี ะมว่ งแลว้ กดปมุ่ คา่ ความหวานทวี่ ดั ไดแ้ สดงผลผา่ นทางหนา้ จอโทรศพั ท์
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
ใช้ในการวัดความหวานของมะม่วง ท้ังในขณะที่ยังอยู่บนต้น เพื่อใช้เป็นหน่ึง
ในดชั นีการเก็บเกยี่ ว และผลมะม่วงทเ่ี กบ็ เกี่ยวแลว้ เพื่อการประกันคณุ ภาพ โดยสามารถ
วิเคราะห์ความหวานไดอ้ ย่างรวดเรว็ และไมท่ ำ� ลายตัวอยา่ ง

17“วิจัยและนวตั กรรมเพือ่ งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0ิจยั”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

2.8 เคร่ืองวัด
ความอ่อน-แก่

ทเุ รยี น II อยา่ งรวดเรว็

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ท่ีอยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ผศ.ดร.รณฤทธ์ิ ฤทธิรณ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์
กำ� แพงแสน มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นครปฐม 73140
โทร. 085-9171017 E-mail : [email protected], [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
เครอ่ื งวดั ความออ่ น - แก่ ของทุเรียน II อย่างรวดเรว็ ดว้ ยเทคนคิ อินฟราเรด
ย่านใกล้ (Near Infrared) เป็นเครื่องวิเคราะห์ความอ่อนแก่ทุเรียนที่ถูกปรับปรุง
ให้มีลักษณะเป็นกระเป๋าและสายสะพายข้าง มีขนาดเล็ก น้�ำหนักเบา ท�ำให้เคล่ือนย้าย
ได้สะดวก สามารถวิเคราะห์ค่าความอ่อน - แก่ และค่าความหวานของเนื้อทุเรียน
ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
เครื่องวิเคราะห์นี้สามารถวัดความอ่อน - แก่ และความหวานของทุเรียนได้
ทั้งก่อนและหลังเกบ็ เกี่ยวทเุ รียน ทำ� ใหเ้ กษตรกรสามารถประเมินระยะเวลาการเก็บเกย่ี ว
และระยะเวลาท่ีทุเรียนจะสุกได้ ผู้ประกอบการสามารถคัดแยก และประกันคุณภาพ
ของทเุ รยี น

18 ผมหลาวงทิ ายานลยั •เกวษิจตยั รศ•าสนตวรตั ์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�ิกแาพรงวแชิ สานการ

ผล2.ติ9ภณั ฑอ์ าหารเสริม
ข้าวหอจามกสมาะรลสงิ กอดัก

• เจา้ ของผลงาน / สังกดั / ทอ่ี ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ผศ. สพ.ญ. ดร.สุนทรี เพช็ รดี คณะสตั วแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
โทร. 034-351901-3 โทรสาร : 034-351405 E-mail : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
สารสกดั จากขา้ วกลอ้ งงอกมคี วามสามารถในการเปน็ สารตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ และ
จากการแยกกลุ่มสารออกฤทธิ์โดยวิธีคอลัมน์โครมาโทกราฟี พบสารส�ำคัญที่มีคุณสมบัติ
ในการน�ำไปใช้เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจ พบว่าการบริโภคสารสกัดจาก
ข้าวหอมมะลิงอกสามารถช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจและ
ป้องกันการเกิดความเสียหายของกล้ามเน้ือหัวใจและหลอดเลือด ในกรณีการเกิด
หลอดเลือดหัวใจอุดตัน เช่น ลดความดันโลหิต ลดปริมาณน้�ำตาล ลดปริมาณไขมัน
ลดอัตราการเต้นของหัวใจ ลดขนาดเน้ือตายที่กล้ามเนื้อหัวใจในกรณีการเกิด
กลา้ มเนอ้ื หวั ใจขาดเลอื ดอยา่ งถาวร สารสกดั จากขา้ วกลอ้ งงอกมคี ณุ สมบตั นิ ใ้ี นการใชเ้ ปน็
อาหารเสริม เพื่อป้องกันโรคหลอดเลอื ดหัวใจได้
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
การใช้ข้าวกล้องงอกหรือข้าวงอกโดยได้ผ่านการเพ่ิมปริมาณสารอาหาร และ
การสกัดหยาบโดยการน�ำมาผ่านกระบวนการผลิตต่างๆ จนได้เป็นแคปซูลสารสกัด
ขา้ วกลอ้ งงอกเพอ่ื วตั ถปุ ระสงคใ์ นการเปน็ อาหารเสรมิ เพอื่ ลดความเสยี่ งชะลอ และปอ้ งกนั
การเกิดโรคหลอดเลือดหวั ใจ

19“วจิ ยั และนวัตกรรมเพื่องไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0จิ ัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

• ต้นพืชท่ีปลกู ดว้ ยพลงั งานจากโซลาร์เซล

2.10 ชดุ ปลกู พืชไรด้ นิ

ด้วยพลงั งานจากโซลารเ์ ซล
• โรงเรอื น

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
นายศรนั ย์ หงษาครประเสรฐิ นกั วิชาการเกษตร
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรปุ •
แนวคดิ ส�ำหรับชดุ ตน้ แบบการปลูกพชื ไร้ดินด้วยโซลาเซลน้ี เป็นแนวคดิ ส�ำหรบั
การแก้ปัญหาในระบบการปลูกพืชในโรงเรือน ท้ังปัญหาด้านการจัดการ ปัญหาความ
เสียหายของปุ๋ยท่ีไหลออกนอกระบบ รวมถึงปัญหาค่าแรงงานที่นับวันจะหายากขึ้น
ทกุ วนั โดยชดุ ตน้ แบบการปลกู พชื ไรด้ นิ ดว้ ยโซลาเซลนี้ จะใชพ้ ลงั งานทดแทนจากธรรมชาติ
มาเป็นส่วนประกอบในชิ้นนวัตกรรม ที่จะช่วยประหยัดพลังงาน และลดความสูญเสีย
การใช้ปุ๋ยในระบบปลูกพชื ในโรงเรอื นแบบเกา่ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
1. สำ� หรับการปลกู พชื ในพนื้ ที่ทไี่ ฟฟ้าเขา้ ไม่ถึง
2. ส�ำหรบั การปลกู พชื ในพน้ื ทท่ี ้องถนิ่ ทุรกันดาร
3. สามารถน�ำไปใชใ้ นงานวิจยั ดา้ นพชื ได้เปน็ อยา่ งดี
4. สำ� หรบั ปลกู พชื ผักปลอดภยั ไวบ้ รโิ ภคเอง

• ระบบควบคมุ เวลา
ชุดปลกู ผักไรด้ ิน

20 ผมหลาวงิทายานลยั •เกวษิจตยั รศ•าสนตวรตั ์ กวทิรรยมาเข•ตบกรำ�ิกแาพรงวแชิ สานการ

• โหนดการวดั เวลาตอบสนองแบบไรส้ าย

ต2.1อ1 บสเคนร่ือองงวแัดบบเวไรลส้ าาย
• อุปกรณค์ วบคมุ หลกั

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
รศ.ดร.จุฑามาศ บตั รเจรญิ และคณะ/คณะศกึ ษาศาสตร์มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
เลขท่ี 50 ถนนงามวงศว์ าน แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรงุ เทพฯ 10900
E-mail : [email protected]
• ข้อมลู ผลงานโดยสรุป •
งานวิจัยน้ีเป็นการพัฒนาต้นแบบชุดเคร่ืองมือวัดเวลาตอบสนองแบบไร้สาย
ระหว่างตาและมือ ประกอบด้วยอุปกรณ์ควบคุมหลักและโหนดการวัดเวลาตอบสนอง
แบบไร้สายที่มีความแม่นย�ำสูง มีระดับความละเอียดเป็นมิลลิวินาที สามารถควบคุม
สั่งการเองหรือให้ท�ำงานสุ่มเลือกโหนดแบบอัตโนมัติได้ รองรับจ�ำนวนโหนด
สงู สดุ ถงึ 5 โหนด
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
ใช้ในการวัดเวลาตอบสนองของนักกีฬาท่ีต้องใช้ทักษะการตอบสนองของตา
และมือ การฝึกเพื่อพัฒนาการปฏิกิริยาตอบสนองของผู้สูงอายุ ผู้พิการทางหู และใช้
วดั เวลาตอบสนองที่ลดลงของผ้ทู ี่มนึ เมาได้

21“วิจยั และนวัตกรรมเพอื่ งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0จิ ัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• อุปกรณค์ วบคุมหลัก

2.12 บนั ไดลิงอจั ฉริยะ

คล่องแเพคลือ่ ่วฝวกึ อ่คงวาไวม
• แผ่นเซ็นเซอร์แบบไร้สาย

• เจา้ ของผลงาน / สงั กดั / ทอ่ี ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
รศ.ดร.จุฑามาศ บัตรเจริญ และคณะ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เลขที่ 50 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตจุ กั ร กรงุ เทพฯ 10900
E-mail : [email protected]
• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรุป •
บันไดอัจฉริยะใช้ฝึกความคล่องแคล่วว่องไว ท�ำงานได้ทั้งโหมดก�ำหนดเอง
หรือควบคุมอัตโนมัติ สามารถควบคุมผ่านโทรศัพท์มือถือได้ รับหรือส่งข้อมูลระหว่าง
กล่องควบคุมหลกั และแผ่นเซ็นเซอรแ์ บบไรส้ าย มีโหมดการทำ� งาน 5 โหมด คอื จับเวลา
นับจ�ำนวนก้าว จับเวลาพร้อมกับนับจ�ำนวนก้าว จับเวลาด้วยตนเองพร้อมกับนับจ�ำนวน
กา้ วอตั โนมตั ิ และนบั จำ� นวนกา้ วภายในเวลา 30 วินาที
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
ช่วยในการฝึกซ้อมของนักกีฬาเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้าน
ความคลอ่ งแคล่วว่องไว และความเร็วใหเ้ ป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ นำ� ไปใช้สำ� หรับการ
ฝกึ ซอ้ มและการทดสอบนกั กฬี า นอกจากนน้ั สามารถประยุกตใ์ ชก้ ับบุคคลวยั ตา่ ง ๆ ได้

22 มผหลาวงทิ ายานลัย•เกวษจิ ตยั รศ•าสนตวรัต์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�ิกแาพรงวแิชสานการ

2.13forAtlhapeteodrarelcftloienwcebtioiDoseNnnsAoo.rf

• เจ้าของผลงาน / สังกัด / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ผศ.ดร.พรมิ า พริ ยิ างกูร สาขาวิชาชีวเคมี ภาควชิ าวิทยาศาสตร์ คณะศลิ ปศาสตร์และ
วิทยาศาสตร์ ดร.ยอดยศ ศรีตงั นนั ท์
โทร. 082-7265078 E-mail : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
A lateral flow biosensor is a newly assay developed for the
detection of porcine DNA. It is relies on the use of an asymmetric PCR for
the amplification of nuclear F2 gene of porcine genome as a target DNA
and a lateral flow assay for the detection of the amplified DNA, in which
the results can be visually observed by the naked eye within 5min without
the need of special instrument. The assay is highly specific for porcineand
no cross-reaction is found with other DNA tested.
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
This newly assay is successfully applied to detect porcine DNA
isolated from various kinds of Thai food. The assay is rapid and give similar
results as compared to those analyzed bya commercial kit. Thus, the newly
developed assay might has a potentialto be used as an alternative method
to detect porcine DNA, for example, in food industry for point-of-need
detection.

23“วิจยั และนวัตกรรมเพ่อื งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจัย”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

2.14 “การจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม
เชงิ บรู ณาการจากไม้ผล/ประมง/ปศสุ ตั ว์ : ทางเลือกใหม่ใหเ้ กษตรกร
สวนยางพารา ในเขตพ้นื ท่รี มิ แม่นำ้� โขง”
ภายใต้โครงการบูรณาการวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยวี ิจัยและนวตั กรรม
จากสำ� นักงานคณะกรรมการวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวนช.)
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

• เจา้ ของผลงาน / สงั กัด / ทอ่ี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
รศ.ดร.พงเทพ อัครธนกลุ ศูนย์เทคโนโลยชี ีวภาพเกษตร
มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน
โทร. 091-7740091 E-mail : [email protected]
• ข้อมลู ผลงานโดยสรปุ • การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
ศูนยเ์ ทคโนโลยีชีวภาพเกษตร ได้ดำ� เนินกจิ กรรมวิจัยลงพ้นื ท่ี โดยใช้เทคโนโลยี
และนวัตกรรมเฉพาะพน้ื ท่ี (area-based technological suitability) เร่ิมด้วยการเก็บ
ขอ้ มลู ทางชวี ภาพและกายภาพ ไดแ้ ก่ สภาพภมู อิ ากาศ คณุ ภาพนำ�้ ทางกายภาพและชวี ภาพ
ความเข้มแสง ความอุดมสมบูรณ์ของดิน การวิเคราะห์ธาตุอาหารพืช และการจัดการ
ปุ๋ยและธาตุอาหารเสริม ที่เป็นปัจจัยส่งเสริมและเป็นข้อจ�ำกัดในพื้นท่ีเฉพาะวิเคราะห์
ข้อมูลด้าน agricultural micro climate ที่สัมพันธ์กับการเจริญเติบโตของสัตว์น้�ำจืด
ปศุสัตว์ พืช จากน้ันท�ำการออกแบบนวัตกรรมและชุดเทคโนโลยีและทดสอบ
ในสภาพพ้ืนท่ี (on-farm research and trials) บูรณาการระบบเพาะเลี้ยงสัตว์น้�ำ
การท�ำอาชีพเล้ียงปศุสัตว์ และการผลิตไม้ผลกับสภาวะตลาดและความต้องการชุมชน
ด�ำเนินการสร้างฟาร์มทดลองในพ้ืนที่ของเกษตรกร และ/หรือหน่วยวิชาการในพ้ืนท่ี
ชุมชน เพ่ือให้เกิดขบวนการสาธิต และการเรียนรู้ร่วมกัน กรอบของกิจกรรมของแผน
บูรณาการจะรวมถึงการสร้างมูลค่าเพิ่ม การท�ำแบรนด์ด้ิง และการสนับสนุนให้เกิด
อาชพี ใหม่ในทอ้ งถน่ิ (startup)

24 ผมหลาวงิทายานลยั •เกวษิจตยั รศ•าสนตวรตั ์ กวทิรรยมาเข•ตบกร�ำิกแาพรงวแิชสานการ

2.15 “เทคโนโลยีแมน่ ย�ำในการจัดการระบบดิน-พชื -อากาศ

เพื่อยกระดบั ผลผลติ และคณุ ภาพผลของ

ปาลม์ น�้ำมัน มังคุด และทุเรียน”

ภายใตโ้ ครงการบูรณาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยวี จิ ัยและนวัตกรรม จาก
ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจยั และนวัตกรรมแหง่ ชาติ (สวนช.) ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

ดำ� เนินงานโดย ศ.ดร.สุนทรี ยงิ่ ชชั วาล
• เจ้าของผลงาน / สงั กดั / ท่ีอยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ศ.ดร.สนุ ทรี ยิ่งชัชวาล ศนู ยเ์ ทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตกำ� แพงแสน โทร. 091-7740091 E-mail : [email protected]
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรุป • การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตรเป็นหน่วยงานเดียวของประเทศที่มีเทคโนโลยี
การจัดการปัจจัยการผลิตท่ีแม่นย�ำ ตรงตามความต้องการของปาล์มน้�ำมันในทุกด้าน
และบางด้านของมังคุดและทุเรียน รวมถึงมีทีมนักวิจัยท่ีมีความเชี่ยวชาญท่ีท�ำงานกับพืช
3 ชนดิ น้มี ายาวนาน
เกษตรกรท่ีมีแนวคิดก้าวหน้าหลายราย ได้น�ำแนวทางจัดการแสง ธาตุอาหาร
และน้�ำ ไปปรับใช้ และเร่ิมเห็นผลการเปลี่ยนแปลงของต้นพืชที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน ท�ำให้
เกษตรกรพึงพอใจมาก แผนงานบูรณาการนี้ ต้องการเพ่ิมเติมความรู้และเทคโนโลยี
ด้านความต้องการแสง ธาตุอาหารพืช และน้�ำ ของปาล์มน้�ำมัน มังคุดและทุเรียน
ในแหลง่ ผลติ หลกั ของประเทศในวงกวา้ ง เพอื่ ใหส้ ามารถใชป้ ุ๋ย น�้ำและการจัดการทรงพุ่ม
อย่างมปี ระสิทธภิ าพเพมิ่ ขึ้น ความแม่นย�ำในการใชป้ ัจจัยการผลติ ทำ� ให้เกษตรกรสามารถ
ควบคุมค่าใช้จ่ายต่อหน่วยผลผลิตในระดับที่แข่งขันได้ จึงเป็นการใช้ปัจจัยการผลิตอย่าง
คุ้มค่า ไม่เกิดการสูญเสียจากการปล่อยท้ิงสู่สภาพแวดล้อม รวมทั้งสามารถรักษา
ระดบั ก�ำลงั ผลิตของทรัพยากรดนิ และน�ำ้ เพอื่ การผลติ อย่างย่ังยนื

25“วจิ ัยและนวตั กรรมเพือ่ งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0ิจยั”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

2.16 “ศูนยเ์ ชื้อพันธกุ รรมพืชแห่งประเทศไทย”
ภายใต้โครงการบรู ณาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยวี จิ ัยและนวัตกรรม จากส�ำนกั งาน
คณะกรรมการวจิ ัยและนวตั กรรมแห่งชาติ (สวนช.) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
การดำ� เนนิ งานโดย รศ.ดร.จลุ ภาค คุ้นวงศ์

“การตรวจหาเชือ้ โรคพชื ในเมล็ดแตงโมเพือ่ การส่งออก”
นวัตกรรมภายใตศ้ นู ย์เทคโนโลยชี ีวภาพเกษตร

การดำ� เนินงานโดย ดร.จฑุ าเทพ วัชระไชยคปุ ต์
• เจ้าของผลงาน / สงั กดั / ที่อยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ศูนยเ์ ทคโนโลยชี วี ภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ� แพงแสน
โทร. 091-7740091 E-mail : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ • การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
การใช้เมล็ดพันธุพ์ ืชที่มีคณุ ภาพ และตรงตอ่ ความตอ้ งการของตลาด นอกจาก
จะท�ำให้ได้ผลผลิตสูงแล้ว ยังช่วยลดต้นทุนการผลิตให้กับเกษตรกร เชื้อพันธุกรรมพืชที่
เกบ็ รวบรวมไว้ สามารถน�ำมาใชป้ ระโยชนไ์ ดเ้ มอื่ มกี ารประเมนิ ลกั ษณะพนั ธ์ุ และลกั ษณะ
ดีเด่นตลอดจนการปรับปรุงสายพันธุ์ เช่น สายพันธุ์ที่มีความต้านทานต่อการเข้าท�ำลาย
ของโรคพืช นับว่าเป็นงานต้นน�้ำท่ีสนับสนุนการน�ำไปใช้ประโยชน์ของอุตสาหกรรม
เมล็ดพันธุ์พืช นอกจากน้ีการพัฒนาเคร่ืองมือเพ่ือตรวจสอบโรคพืชก็เป็นสิ่งส�ำคัญที่ช่วย
ส่งเสริมให้ระบบอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์ไทยมีความเข้มแข็งในการแข่งขันยิ่งข้ึน โดยนัก
วิจัยของศูนย์ฯ ได้คิดค้นวิธีการตรวจหาเช้ือ Acidovoraxcitrulli ท่ีก่อให้เกิดโรคผลเน่า
โดยสามารถตรวจในเมล็ดแตงโมและแตงเพ่ือการออกใบรับรองสุขอนามัยของเมล็ดพันธุ์
ตามมาตรฐานการสง่ ออกและเพอื่ ลดแหลง่ ปฐมภมู ขิ องเชอื้ นี้ รวมทง้ั ลดการเกดิ โรคในแหลง่
ปลกู จากเช้ือท่ตี ิดไปกับเมล็ดพันธ์ุ

26 มผหลาวงทิ ายานลัย•เกวษิจตยั รศ•าสนตวรัต์ กวทิรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแชิ สานการ

• Zero Rabies VR Game

2.17 Zero Rabies
ภารกิจพชิ ติ พิษสนุ ัขบ้า • หนงั สือ Zero Rabies

• เจ้าของผลงาน / สังกัด / ทีอ่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ คมั ภีร์ พฒั นะธนัง ภาควชิ าปรสติ วิทยา
ชคณ้ันะ4สตัควณแะพสทัตยวศแาสพตทรย์ มศหาาสวตทิ รย์ ามลหัยาเวกษิทตยราศลาัยสเตกรษ์ บตารงศเาขสนตอรา์ คเลาขรจทัก่ี ร5พ0ิชถัยนรณนงรางคม์สวงงคศร์วาามน
แ0ข-2ว9ง4ล2า-ด8ย4า3ว8เขโทตรจสตาจุ รกั ร0-ก2ร9งุ 4เท2พ-8ม4ห3า8นEค-รm1a0i9l 0: 0fvโeทtร[email protected] ตอ่ 1401 หรอื
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
ผู้เขียนได้จัดท�ำแอปพลิเคชั่นเกม บอร์ดเกม และ VR Zero Rabies
“Zero Rabies ภารกิจพิชิตพิษสุนัขบ้า” เป็นการ์ตูนที่ผสมผสานแนวต่อสู้ แนว
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีโดยมี “ซีโร่ และ ลอยด์” เป็นตัวละครหลักซ่ึงเป็นตัวแทนของ
เดก็ และหุ่นยนตส์ ุนขั ทีม่ ีความฉลาดและกลา้ หาญ และผเู้ ขียนตั้งใจท่ีจะให้หนังสอื การต์ ูน
และเกมเขา้ ถงึ ประชาชน เพอื่ ใหป้ ระเทศไทยปลอดภยั และไมม่ คี นตายจากโรคพษิ สนุ ขั บา้
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
- Zero Rabies VR Game เปน็ เกมในรปู แบบเสมอื นจริงโดยจะใหป้ ระชาชน
ท่ัวไปได้ทดลองเล่นเกม ผู้เล่นจะได้เรียนรู้การป้องกันจากโรคพิษสุนัขบ้า การใช้วัคซีน
รักษา การป้องกันภัยจากการโดนสัตว์ติดเช้ือกัด ข่วน เพื่อเรียนรู้การป้องกันภัย
จากโรคพิษสนุ ขั บ้า
- หนังสือ ZERO RABIES ภารกิจพิชิตพิษสุนัขบ้าฉบับ 4 สี หนังสือเล่มนี้
ช่วยปลูกฝังให้ผู้อ่านใช้หลัก 5 ย. “อย่าแหย่ อย่าเหยียบ อย่าแย่ง อย่าหยิบ อย่ายุ่ง
กับสุนัขที่ไม่มีเจ้าของหรือไม่ทราบประวัติ” เพ่ือให้ผู้อ่านเรียนรู้การป้องกันภัย
จากโรคพิษสุนัขบ้าตลอดจนไม่มคี นตายจากโรคดังกล่าว

27“วิจัยและนวตั กรรมเพื่องไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0ิจัย”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• ขน้ั ตอนการน�ำเข้าขอ้ มูลสู่แบบจ�ำลองและผลลัพธ์

2.18 การประยุกต์

ใช้คำ� แนะน�ำปุ๋ยสงั่ ตัดสำ� หรับออ้ ย
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ
สภู่ าคกลางฝง่ั ตะวันตก

• แนวคิดในการพัฒนาค�ำแนะนำ� ปุ๋ยสงั่ ตดั

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ท่ีอยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
นภาพร พันธก์ุ มลศิลป*์ , ชัยสทิ ธิ์ ทองจ,ู สหสั ชยั คงทน, วิภาวรรณ ทา้ ยเมือง,
อญั ธิชา พรมเมอื งคุก, สชุ าดา กรุณา, สริ ินภา ชว่ งโอภาส และ ธวัชชยั อินทร์บุญช่วย
ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร ก�ำแพงแสน
โทร. 089-8116265 E-mail : [email protected]*
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับใช้ค�ำแนะน�ำธาตุการ
จดั การอาหารเฉพาะพน้ื ทส่ี ำ� หรบั ออ้ ยของภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ในพน้ื ทภี่ าคกลางฝง่ั ตะวนั ตก
ซ่ึงมีสภาพแวดล้อมท่ีแตกต่างกัน รวมทั้งสร้างค�ำแนะน�ำการใช้ปุ๋ยอ้อยด้วยการใช้แบบจ�ำลอง
การปลกู พชื DSSAT (Decision support system for AgroTechnology Transfer) ทดสอบ
ความแม่นย�ำของค�ำแนะน�ำปุ๋ยผ่านแปลงทดสอบ ท�ำการทดลองในชุดดินก�ำแพงแสน และชุด
ดินห้างฉัตร ผลการวิจัยพบว่าค�ำแนะน�ำปุ๋ยสั่งตัดส�ำหรับอ้อยภาคตะวันออกเฉียงเหนือสามารถ
น�ำมาปรับใช้ได้ดีในภาคกลางฝั่งตะวันตก ท้ังในกรณีมีค�ำแนะน�ำในชุดดินน้ันแล้ว หรือโดยการ
เทียบเคยี งชดุ ดนิ และค�ำแนะน�ำปุ๋ยอ้อยเฉพาะพ้นื ทท่ี พ่ี ัฒนาขน้ึ ใหม่ มคี วามแม่นย�ำระดบั แปลง
ปลกู มคี วามเป็นไปไดใ้ นการน�ำมาใช้เพื่อเพิม่ ผลผลติ ออ้ ยได้

• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •

ถา่ ยทอดเทคโนโลยสี เู่ กษตรกรไปพรอ้ มกบั การวจิ ยั ผลการวจิ ยั ทไี่ ดส้ ามารถใชต้ ดั สนิ ใจ
ในการจดั การปยุ๋ ออ้ ยทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ไดร้ บั ผลตอบแทนสงู และเกดิ ความยง่ั ยนื ของทรพั ยากรดนิ
สบื คน้ ขอ้ มลู ระดบั ชดุ ดนิ ไดท้ ี่ : http://oss101.ldd.go.th/web_th_soilseries/INDEX_th_se-
ries.htm DownlodeSimcane :http://www.ssnm.info/download

28 มผหลาวงิทายานลัย•เกวษิจตัยรศ•าสนตวรัต์ กวทิรรยมาเข•ตบกร�ำกิ แาพรงวแิชสานการ

• กาจจัดอบรมการตรวจวัดสง่ิ แวดล้อมตามวิธกี ารของ
GLOBE Protocol ให้กับโรงเรียนเครอื ขา่ ย

แ2ล.ะ1ส9ร้ากงางราตนวรจิวยัจกววทิาดั รยสสาง่ิ ศแ่งวาเดสสลรตอ้ มิ มร์

สงิ่ แวดลอ้ มระดับโรงเรียน

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
นภาพร พนั ธกุ์ มลศลิ ป*์ , เกวลิน ศรจี นั ทร,์ ศภุ ชัย อ�ำคา, วภิ าวรรณ ท้ายเมือง,
อญั ธชิ า พรมเมอื งคกุ , สชุ าดา กรณุ า, สริ นิ ภา ชว่ งโอภาส, กนกกร สนิ มา, สญั ชยั ภเู่ งนิ ,
ธวชั ชยั อนิ ทรบ์ ญุ ชว่ ย และวลั ยา แซเ่ ตยี ว ภาควชิ าปฐพวี ทิ ยา คณะเกษตร กำ� แพงแสน
โทร. 089-8116265 E-mail : [email protected]*
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน โดยภาควชิ าปฐพวี ทิ ยา คณะ
เกษตร ก�ำแพงแสน ได้เข้าร่วมเป็นมหาวิทยาลัยเครือข่ายของโครงการ GLOBE สสวท.
มาต้ังแต่ปี 2550 และได้รับด�ำเนินการจัดอบรมการตรวจวัดส่ิงแวดล้อมตามวิธีการของ
GLOBE Protocol และสง่ เสรมิ ใหน้ กั เรยี นสรา้ งงานวจิ ยั วทิ ยาศาสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม มโี รงเรยี น
เขา้ รว่ มเปน็ เครอื ขา่ ยมากกวา่ 40 โรงเรยี น จากจงั หวดั ตา่ งๆ ในภาคกลางและภาคตะวนั ตก
เช่น นครปฐม สพุ รรณบุรี ราชบรุ ี กาญจนบรุ ี สิงหบ์ ุรี ชัยนาท อ่างทอง กรุงเทพฯ และ
สมทุ รปราการ
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
โรงเรยี นเครอื ขา่ ยนำ� ความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จากการอบรมไปพฒั นางานวจิ ยั วทิ ยาศาสตร์
สง่ิ แวดลอ้ มระดบั โรงเรยี น และไดร้ บั รางวลั ดเี ดน่ ระดบั ประเทศเปน็ ประจำ� ทกุ ปี และไดร้ บั
คดั เลอื กใหเ้ ปน็ ตวั แทนประเทศไทยไปนำ� เสนอผลงานวจิ ยั ในระดบั นานาชาตอิ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง

29“วิจยั และนวตั กรรมเพ่อื งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0จิ ยั”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

2.20 การปลูกบุกไข่
โดยมีกลว้ ยเปน็ พืชแซม
อ.เมอื งฯ จ.แม่ฮอ่ งสอน

• เจา้ ของผลงาน / สังกัด / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail

ผศ.ดร.อรพรรณ ศงั ขจนั ทรานนท์ โครงการจดั ตง้ั ภาควชิ าพฤกษศาสตรค์ ณะศลิ ปศาสตรแ์ ละ
วทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตก�ำแพงแสน
โทร. 091-7567979 E-mail : [email protected], [email protected]
ร่วมกับเจา้ ของโครงการคอื คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ และสำ� นักจดั การ
ทรัพยากรป่าไม้ 1 จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้รับทุนสนับสนุนจาก ส�ำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)

• ขอ้ มูลผลงานโดยสรปุ •
การอบรมแนะนำ� วิธกี ารปลูก และการใชป้ ระโยชน์จากบกุ ไข่ โดยมกี ลว้ ยนำ้� ว้า
มะลิอ่อง และพืชชนิดอ่ืนเป็นพืชแซมในแปลงปลูก สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตจากพืช
ที่ปลูกแซมมาใช้ประโยชน์ได้ โดยจัดต้ังวิสาหกิจชุมชน 3 แห่ง ในเขตต�ำบลผาบ่อง
ต�ำบลห้วยโป่ง และต�ำบลห้วยปูลิง อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัดแม่ฮ่องสอน เพื่อก�ำหนดราคา
ผลผลิต เพิม่ รายได้ และชว่ ยแก้ไขปัญหาความยากจนของเกษตรกร
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
เกษตรกรมีรายได้เพิ่มจากการปลูกและจ�ำหน่ายผลผลิตสดและผลิตภัณฑ์
แปรรูปของบุกไข่ กล้วยน้ำ� ว้ามะลอิ อ่ ง ไม้ผล ผกั และพืชสมุนไพรชนิดตา่ งๆ และสามารถ
ขยายพันธป์ุ ลูกต่อไปเองได้

30 มผหลาวงิทายานลัย•เกวษจิ ตัยรศ•าสนตวรัต์ กวทิรรยมาเข•ตบกร�ำกิ แาพรงวแชิ สานการ

2.21 การวาดภาพ
สีน�้ำและสีอะครลิ ิก
เพอ่ื จดั ทำ� ของท่รี ะลกึ

• เจา้ ของผลงาน / สงั กัด / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ผศ.ดร.อรพรรณ ศงั ขจันทรานนท์ โครงการจัดตงั้ ภาควชิ าพฤกษศาสตร์
คณะศิลปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ� แพงแสน
โทร. 091-7567979 E-mail: [email protected], [email protected]
รว่ มกบั อ.พลั ลภ อนุสนธ์พิ รเพิ่ม และ นิสติ ในหลกั สตู ร วท.บ. (วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ)
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
การอบรมและสอนเทคนิควิธีในการวาดภาพด้วยสีน้�ำและสีอะคริลิก
โดย อ.พลั ลภ อนสุ นธ์ิพรเพม่ิ วทิ ยากรรบั เชิญ ในวนั ท่ี 1 และ 5 ธนั วาคม 2562 สว่ น
วันที่ 2 - 4 และ 6 - 10 ธนั วาคม 2562 อาจารย์ประจำ� และนสิ ติ ท�ำหนา้ ทใ่ี หก้ ารอบรม
แกผ่ สู้ นใจฝกึ การวาดภาพลงบนกระดาษวาดภาพ บตั รอวยพร กระเปา๋ ผา้ ขนาดตา่ งๆ และ
เสอ้ื ยดื เพอื่ จดั ทำ� ของทร่ี ะลกึ โดยใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรม ชำ� ระคา่ วสั ดอุ ปุ กรณใ์ นราคาตน้ ทนุ
และน�ำกลับไปใชเ้ ปน็ ของทร่ี ะลกึ มีการจดั แสดงผลงานของอาจารยแ์ ละนิสิต
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
ผู้เข้ารับการอบรมสามารถน�ำความรู้ไปใช้ในการจัดท�ำของท่ีระลึก เพื่อมอบให้
แก่ผู้อ่ืน ฝึกการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ส�ำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา และผู้สนใจ
ทว่ั ไป และสามารถดดั แปลงสำ� หรบั หารายไดใ้ นการประกอบอาชพี ตอ่ ไปได้

31“วิจยั และนวตั กรรมเพอื่ งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจยั”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

• การทดสอบประสิทธิภาพการใชง้ านจรงิ
ในแปลงปลูกเพ่อื สง่ เสริมการเจรญิ ของคะน้า

2เท.2ค2โนโลยแี บคทีเรยี
ตรงึ รปู ศกั ยภาพสงู
เพ่ือการผลิตปุ๋ย • การตรึงเซลล์จุลินทรท์ รีย์ ทง้ั แบบเม็ดกลม
และแบบแผ่นตามความตอ้ งการใชง้ าน

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
นายพงศ์ระวี น่มิ น้อย โครงการจดั ตง้ั ภาควิชาจลุ ชวี วทิ ยา ภาควชิ าวิทยาศาสตร์
คณะศิลปศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ โทร. 034-300481-4 ต่อ 7603
E-mail : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
เทคโนโลยีการตรึงเซลล์แบคทีเรียเพื่อเพิ่มอัตราการรอดชีวิต ส่งเสริมการเพ่ิม
จ�ำนวนและกิจกรรมจุลินทรีย์ของเชื้อจุลินทรีย์ที่มีประโยชน์สายพันธุ์ต่าง ๆ ภายหลัง
จากการปลูกถ่ายเชื้อลงในดิน โดยสามารถกักเก็บให้เช้ือมีชีวิตรอดและเพ่ิมจ�ำนวนใน
ดนิ ไดไ้ มต่ ำ่� กว่า 30 วัน และสามารถส่งเสริมการเจริญของพืชทดสอบไดม้ ากกวา่ 2 เทา่
เมอื่ เปรยี บเทียบกบั วิธีการปลกู พืชแบบปกติ
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
- ใช้เพือ่ ตรงึ เซลลจ์ ุลนิ ทรียเ์ พอ่ื ยดื อายกุ ารเก็บหัวเช้อื จลุ นิ ทรีย์
สายพนั ธต์ุ ่าง ๆ
- ใชเ้ พือ่ ผลติ ป๋ยุ ศกั ยภาพสูงท่ีมกี ิจกรรมของจุลนิ ทรยี อ์ ย่างต่อเน่อื ง
- ใชก้ กั เกบ็ จลุ นิ ทรีย์และยดื อายจุ ุลนิ ทรีย์

32 มผหลาวงทิ ายานลัย•เกวษจิ ตยั รศ•าสนตวรัต์ กวทิรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแชิ สานการ

• ต้นจิงจฉู า่ ย

2ส.23มนุ ไชพารจติง้าจนูฉม่าะยเร..ง็ .
• ชาจิงจฉู ่าย

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ภคพร สาทลาลยั ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารวจิ ยั และเรอื นปลกู พชื ทดลอง ศนู ยว์ จิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ
คณะเกษตร กำ� แพงแสน โทร. 086-1094465 E-mail : [email protected]
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรุป •
ในปัจจุบันมีการผลิตชาสมุนไพรกันอย่างแพร่หลาย แต่ส่วนใหญ่ยังไม่ทราบ
และไมต่ ระหนกั ถงึ การรกั ษาคณุ คา่ สารสำ� คญั ในสมนุ ไพรทต่ี อ้ งการใชป้ ระโยชน์ ทำ� ใหส้ าร
สำ� คญั ซงึ่ เปน็ สง่ิ ทเี่ ราตอ้ งการจากการบรโิ ภคสมนุ ไพรนนั้ สญู เสยี ไปในขนั้ ตอนกระบวนการ
ผลติ จนเกอื บหมด จงึ ควรมกี ารศกึ ษาและถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ระบวนการผลติ ชาสมนุ ไพร
ที่ถกู ต้องและคงคณุ สมบัตทิ ี่ดตี อ่ สุขภาพ จงิ จูฉา่ ย เปน็ สมุนไพรทม่ี ีสรรพคุณในการยับยง้ั
การขยายตัวของเซลล์มะเร็งได้ นับเปน็ สมนุ ไพรทีส่ ำ� คญั ย่ิง การแปรรูปใบจิงจฉู ่ายใหเ้ ป็น
ผลติ ภณั ฑใ์ นรปู แบบของชาเพอื่ สขุ ภาพ นอกจากจะเปน็ การยดื อายกุ ารเกบ็ ไวร้ บั ประทาน
แล้ว ยังช่วยให้รับประทานได้ง่ายขึ้นในกรณีที่บางคนอาจไม่ชอบรับประทานสด ดังน้ัน
ทางคณะผู้วิจัยจึงเห็นว่าควรท�ำการศึกษาวจิ ัยหากระบวนการผลติ (Processing) ดที ่ีสดุ
ในการแปรรูป เพ่ือให้ได้ผลผลิตชาจิงจูฉ่ายท่ีมีคุณภาพและยังคงรักษาสารส�ำคัญที่มีฤทธ์ิ
ตอ่ เซลล์มะเร็งไวใ้ นผลติ ภัณฑ์ไว้
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
ได้ขยายผลสู่ชุมชนด้วยการจัดฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับกลุ่มต�ำรวจ
ตระเวนชายแดนกองร้อยท่ี 136 อ.ไทรโยค จ.กาญจนบรุ ี เพื่อสรา้ งอาชพี และกอ่ ใหเ้ กิด
รายไดเ้ พิ่มขึ้นในองคก์ รและชมุ ชน

33“วจิ ยั และนวตั กรรมเพอ่ื งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0ิจยั”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

• อาการโรคไหม้และเช้ือรา M. roridum

2.24 การควบคุม
ผกั ตบชวาก�ำจัด โดยชวี วธิ ี • การทดสอบการใช้เชื้อรา
M. roridum ในภาคสนาม

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail

อาจารย์ ดร.อาร์ม อนั อาตมง์ าม
สายวชิ าวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
E-mail : [email protected] โทร. 034-281105-6

• ข้อมลู ผลงานโดยสรุป •
เพ่ือด�ำเนินโครงการการศึกษาคลองต้นแบบการควบคุมการระบาดของ
ผักตบชวาในคลองเปรมประชากร และสาธิตการควบคุมผักตบชวาโดยชีววิธี ด้วยเชื้อรา
Myrothecium roridum ซึ่งการใช้เช้ือราก�ำจัดผักตบชวาเป็นการเพ่ิมทางเลือก
ในการควบคุมการแพร่ระบาดด้วยวิธีธรรมชาติ ใช้ส่ิงมีชีวิตควบคุมสิ่งมีชีวิต รวมท้ัง
พัฒนาชีวภัณฑ์ก�ำจัดวัชพืชจากเชอื้ รา (Mycoherbicide) M. roridum ในรูปแบบตา่ งๆ
โดยเชื้อรา M. roridum สายพันธุ์น้ีได้ทดสอบความเป็นพิษในสัตว์ทดลองครบ
ทุกข้อก�ำหนดแลว้ ส�ำหรับควบคมุ การระบาดของผกั ตบชวาในแหลง่ น�ำ้ โดยชีววิธดี ว้ ยการ
สรา้ งคลองตน้ แบบ (เปรมประชากรโมเดล) เพอ่ื เปน็ แนวปฏบิ ตั ใิ นการแกป้ ญั หาการระบาด
ของผักตบชวาในประเทศไทย
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
เปน็ ทางเลอื กหนงึ่ ทช่ี ว่ ยลดงบประมาณในการกำ� จดั ผกั ตบชวาและความเปน็ พษิ
ต่อสิ่งแวดล้อม อีกท้ังเป็นการใช้วิธีจากธรรมชาติ ด้วยเช้ือราสาเหตุโรคที่จ�ำเพาะต่อ
ผักตบชวา โดยชีววิธีจะไม่เป็นอันตรายต่อระบบนิเวศน์และสิ่งมีชีวิต ลดผลกระทบ
ต่อสง่ิ แวดล้อม รวมถึงเป็นการเพิม่ ประสิทธิภาพของการระบายน�ำ้ ให้ดีขึ้นอกี ดว้ ย

34 มผหลาวงทิ ายานลัย•เกวษิจตัยรศ•าสนตวรตั ์ กวิทรรยมาเข•ตบกร�ำกิ แาพรงวแิชสานการ

• คำ� อธบิ าย เกยี รติบัตรไดร้ ับรางวลั การประกวดผลงาน
นวตั กรรมสายอดุ มศึกษา ประจำ� ปี 2562

2.2จ5ากเห็ดกากรผรลิตะสถาินรพสำ�มิ คาญั น

โดยวิธี cell culture
• เหด็ กระถินพมิ านในธรรมชาติ

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
อาจารย์ ดร.อาร์ม อันอาตมง์ าม สายวิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ E-mail : [email protected] โทร. 034-281105-6
• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
การศึกษาวิจัยเพื่อการค้นหาสารส�ำคัญจากเห็ดกระถินพิมาน เพ่ือประโยชน์
ทางการแพทย์ทส่ี ามารถรกั ษาโรคไดต้ รงจดุ มากย่ิงขึ้น อกี ท้ังเปน็ พื้นฐานในการพัฒนายา
ทางเภสัชกรรม
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
1. ได้แนวทางพัฒนาสูตรอาหารและวิธีการเพาะเลี้ยงท่ีเหมาะสมในการ
ผลิตเชงิ ปรมิ าณ
2. พบเช้อื เห็ด Phellinus sp. ในประเทศไทยที่มีสารออกฤทธิ์ทางชวี ภาพ
หลายกลุม่
3. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพในการต้านเช้ือแบคทีเรีย และเซลล์มะเร็ง
หลายชนิด
4. แนวทางการศึกษาทางด้านเภสัชศาสตร์
5. การเล็งเห็นความส�ำคัญของเห็ดสกุลน้ีต่อการลดจ�ำนวนลง และการ
คมุ้ ครองการใชป้ ระโยชน์
6. กฎหมายคมุ้ ครองในการเกบ็ ปรมิ าณมากเพือ่ การค้าออกตา่ งประเทศ

35“วิจยั และนวตั กรรมเพอื่ งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

ผ2ล.ิต26ภณั แฑลแ์ ะผต่นค้าว“นบEอคAนมุุมTนลู mำ้�อติสeารล”ะ

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ท่ีอยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ดร.อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและ
อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขท่ี 50 ถ.งามวงศ์วาน ลาดยาว
จตจุ ักร กทม. 10900
โทร. 02-9428600-3 ต่อ 406 E-mail : [email protected]
• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรปุ •
ผลิตภัณฑ์แผ่นควบคุมน�้ำตาลและต้านอนุมูลอิสระจากสารธรรมชาติ “อีทมี”
ทเี่ ปน็ รูปแบบใหมข่ องผลิตภัณฑค์ วบคุมน�้ำตาลทสี่ ะดวกในการรบั ประทาน และสามารถ
พกพาตดิ ตวั ไดส้ ะดวก เหมาะสำ� หรบั วถิ ชี วี ติ ของผบู้ รโิ ภครนุ่ ใหม่ มกี ารใชส้ ารจากธรรมชาติ
เป็นสารออกฤทธิ์ 100% มีรสชาติดี และมีความปลอดภัยในการรับประทาน
ใช้รบั ประทาน เพื่อลดการดดู ซึมของกลโู คสเข้าสกู่ ระแสเลือด โดยอาศยั กลไก การยบั ยัง้
เอนไซม์ α-glucosidase และ α- amylase
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
มกี ารปรบั เปลย่ี นรปู แบบของผลติ ภณั ฑจ์ ากแผน่ วนุ้ พรอ้ มบรโิ ภคเปน็ ผลติ ภณั ฑ์
ชาชงดื่มจากสารธรรมชาติที่มีคุณสมบัติลดการดูดซึมของกลูโคสเข้าสู่กระแสเลือดและ
ตา้ นอนมุ ลู อสิ ระได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพไดใ้ นขณะเดียวกัน

36 มผหลาวงิทายานลัย•เกวษิจตัยรศ•าสนตวรตั ์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแชิ สานการ

แผ2.น่27วุ้นล“ดCคอHเลEสWเตอรDอ”ล

และตา้ นอนุมลู อิสระพรอ้ มบรโิ ภค

• เจ้าของผลงาน / สังกัด / ท่ีอยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
นางสาวประภัสสร รักถาวร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและ
อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เลขที่ 50 ถ.งามวงศ์วาน ลาดยาว
จตจุ กั ร กทม. 10900 โทร. 02-9428600-3 ตอ่ 407 E-mail : [email protected]
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรปุ •
“CHEW D” แผ่นวุ้นลดคอเลสเตอรอล และต้านอนุมูลอิสระพร้อมบริโภค
จากธรรมชาติ 100 เปอร์เซ็นต์ เป็นนวัตกรรมท่ีเกิดจากการเสริมฤทธ์ิร่วมกันของสาร
ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากการหมักด้วยเช้ือจุลินทรีย์ทางอาหารท่ีมีประโยชน์และจากพืช
สมนุ ไพรอดุ มดว้ ยสาร Lovastatin และสารแอนโธไซยานนิ ทม่ี คี ณุ สมบตั ลิ ดคอเลสเตอรอล
และตา้ นอนมุ ูลอิสระได้อย่างมีประสทิ ธิภาพไดใ้ นขณะเดียวกัน
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของผลิตภัณฑ์จากแผ่นวุ้นพร้อมบริโภคเป็นแคปซูล
พร้อมบริโภคจากสารส�ำคัญที่เสริมฤทธิ์ร่วมกันระหว่างสาร Lovastatin และสาร
สีแอนโธไซยานินที่มีคุณสมบัติลดคอเลสเตอรอลและต้านอนุมูลอิสระได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพได้ในขณะเดียวกัน

37“วิจยั และนวตั กรรมเพ่อื งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0จิ ยั”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

• ผลติ ภณั ฑท์ ี่ไดจ้ ากกจิ กรรมต่อยอด
ภูมิปญั ญาท้องถิ่น

3.1เชกิงาสรพรัฒา้ นงาสกรารรคทบ์ ่อนฐงาเนทม่ียรดวก
ภูมิปัญญาชุมชน บา้ นโนนทนั
จังหวัดหนองบัวลำ� ภู • การเพ่ิมมูลค่าภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น
ดา้ นการท่องเที่ยว

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ทอ่ี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail

จดEค-รงัณm.หชะวยัaศัดณiลิlนรป:คงศyครaา์ปศสrฐaรตมvรี รักe์แโษeทล์.ะaรสว.dงั ิท0dก9ยดั@7าโg-ศคmา1รส1งaกต2ilาร3.รc์8จมo7ัดหm7ตา,งั้ว0ภทิ 4ายค3าว-ลชิ 6ัยา0อเก2ตุ 0ษส5ตา6หรศกรโาทรสมรตบสรรา์ กิวราทิ 0รยแ4าล3เะข-6นต0วก2ัต�ำ0กแร5พร6มงภแาสษนา

• ขอ้ มูลผลงานโดยสรุป •
- แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วโดยชมุ ชนแหง่ ใหมบ่ นฐานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ เพม่ิ ขดี ความ
สามารถด้านทอ่ งเทีย่ วของพ้ืนที่
- เส้นทางการท่องเท่ียวของจงั หวดั หนองบวั ล�ำภูใหห้ ลากหลายมากขึน้
- ผลติ ภณั ฑข์ องฝากดา้ นการทอ่ งเทย่ี วจากฐานปญั ญาทอ้ งถน่ิ สรา้ งอาชพี
รายได้ แก่คนในพืน้ ท่ี
- กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสรา้ งสรรค์ ตอ่ ยอดภูมปิ ัญญาการทอผา้ ในกิจกรรมทอ่ งเที่ยว
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
- ส่งเสริมการท่องเที่ยวในระดับพื้นที่ รองรับยุทธศาสตร์และแผนการ
ท่องเทีย่ วของจังหวัด
- พัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวของพ้ืนท่ีโดยสร้างการตระหนักถึงคุณค่า
ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิน่
- การพัฒนาต่อยอดเชิงการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวของระดับพื้นท่ี
และระดบั จงั หวัด
- พัฒนาต่อยอดเชิงวิชาการ แหล่งศึกษาเรียนรู้ และการถอดบทเรียน
เพื่อขยายสูพ่ น้ื ท่ีใหม่ๆ

38 มผหลาวงทิ ายานลัย•เกวษิจตัยรศ•าสนตวรตั ์ กวทิรรยมาเข•ตบกรำ�กิ แาพรงวแิชสานการ

• การจดั แสดงสนิ คา้ ของฝากทางการท่องเที่ยว
ชมุ ชนชาตพิ นั ธ์ลุ าวเวยี ง ภายใต้แบรนด์
de’ Nang de’ ณ เซ็นทรลั บางนา กทม.

3.2 • Hybrid Fashion Design ระหว่าง
ชาติพนั ธ์ลุ าวเวยี ง บา้ นห้วยเดอื่
เพอ่ื พฒัการนผาลสิตนิ ซค�ำ้ ท้าาขงอวฒั งนฝธารรกม จ.หนองบวั ล�ำภู และ ไทยพวน
บา้ นหาดเส้ียว จ.สุโขทยั
ทางการทอ่ งเทย่ี ว ชุมชนชาตพิ นั ธุ์ลาวเวยี ง
บา้ นหว้ ยเดอ่ื จังหวัดหนองบัวลำ� ภู

• เจา้ ของผลงาน / สังกัด / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
อ.ปทั ถาพร สขุ ใจ และดร.ชยั ณรงค์ ศรรี กั ษ์ โครงการจดั ตงั้ ภาควชิ าอตุ สาหกรรมบรกิ าร
และนวัตกรรมภาษา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตก�ำแพงแสน โทร. 081-6933001 E-mail : [email protected]

• ข้อมูลผลงานโดยสรปุ •
การผลติ สนิ คา้ ของฝากทางการทอ่ งเทย่ี วทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั อตั ลกั ษณช์ มุ ชนเชอื่ มโยง
ระหว่างประเพณีและมรดกทางวฒั นธรรมกับนวัตกรรมสร้างสรรค์
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
ชุมชนน�ำผลการศึกษาไปขยายผลใช้ประโยชน์ในการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น
เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้เชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมชุมชน ฟื้นฟูกิจกรรมประเพณีและ
มรดกทางวัฒนธรรมชุมชน สร้างรายไดส้ มาชกิ ในชมุ ชน ขับเคลื่อนการอนรุ ักษฟ์ ้ืนฟูและ
การประยกุ ตใ์ ชเ้ ชงิ สรา้ งสรรคใ์ นบรบิ ทการทอ่ งเทย่ี วและการพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั ความ
ต้องการของพื้นทแ่ี ละนโยบายรฐั บาลโดยตระหนกั ถึงคุณคา่ มรดกทางวัฒนธรรมชมุ ชน

39“วจิ ัยและนวตั กรรมเพ่ืองไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0จิ ยั”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

• การพัฒนาคณุ ภาพผลิตผลด้วยระบบประเมนิ
ความเสีย่ งที่เกิดขน้ึ ในระหว่างการผลติ เพอ่ื ยนื ยนั
ความปลอดภยั ในกระบวนการผลติ

เ3พ.3 ื่อยควกามรพะใรดน้อรบัมะขกบอาบงรกจมดั าากตรารผรฟฐลาารติน์ม

ส�ำหรับตลาดผลผลติ ปลอดภยั

• เจา้ ของผลงาน / สงั กดั / ทีอ่ ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ดร.ชยั ณรงค์ รัตนกรีฑากลุ ภาควชิ าโรคพืช คณะเกษตร ก�ำแพงแสน
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ กำ� แพงแสน นครปฐม 73140
LINE : crattan Facebook : Chainarong RATTANAKREETAKUL
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
การใหค้ ำ� แนะนำ� สำ� หรบั การพฒั นากระบวนการผลติ ทางการเกษตรใหส้ อดคลอ้ ง
กับตลาดอาหารปลอดภยั รวมถึงการรวบรวมผลติ ผลอาหารปลอดภยั โดยการเสริมสรา้ ง
กลุ่มผลิตด้วยองค์ความรู้ด้านการเกษตร เพื่อผลิตผลปลอดภัย ใสใ่ จตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม และ
ไมก่ ดขแ่ี รงงาน ผไู้ ดร้ บั คำ� แนะนำ� สามารถปรบั ตวั เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐาน Thai GAP
GLOBALGAP และ Organic (IFOAM)
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
-

40 ผมหลาวงิทายานลยั •เกวษจิ ตยั รศ•าสนตวรัต์ กวทิรรยมาเข•ตบกร�ำกิ แาพรงวแิชสานการ

• เปลือกผวิ ชั้นนอกของ กวาวเครือขาว SARDI 190

3.4 ผลิตภณั ฑผ์ ลพลอยได้

จากการผลติ กวาวเครือขาว

SARDI 190 เพือ่ ปศุสัตว์
• กวาวเครือขาว SARDI 190

• เจา้ ของผลงาน / สงั กดั / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
นางสิริพร วรรณชาติ หน่วยผลิตภัณฑ์พืชสมุนไพร ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร
ก�ำแพงแสน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตก�ำแพงแสน อ.ก�ำแพงแสน
จ.นครปฐม 73140 โทร. 034-355184, 081-2798023 E-mail: [email protected]
• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรุป •
จากการศึกษาพบว่าผลิตผลจากเศษเหลือทิ้งการผลิตกวาวเครือขาว SARDI
190 ทีเ่ ปลอื กผวิ ช้ันนอกของกวาวเครือขาว SARDI 190 มีปรมิ าณของสาร Miroestrol
และ Deoxymiroestrol ซึ่งเป็นสารออกฤทธ์ิท่ีพบในกวาวเครือขาว และออกฤทธ์ิ
คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง จึงได้น�ำมาเพื่อผลิตเป็นสารสกัด เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับ
กวาวเครอื ขาว SARDI 190
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
น�ำเศษเหลือท้ิงจากการแปรรูปสมุนไพรกวาวเครือขาว SARDI 190 มาผลิต
เป็นสารสกัดกวาวเครือขาวเพ่ือน�ำไปใช้เป็นส่วนผสมในสารเสริมส�ำหรับสัตว์ช่วยในเร่ือง
การเจริญเติบโตและลดการใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ และยังสามารถน�ำไปเป็นส่วนผสม
ในผลิตภัณฑ์เครอ่ื งสำ� อางค์เพ่ือเพิม่ มูลค่าไดอ้ กี

41“วจิ ัยและนวัตกรรมเพ่ืองไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0ิจัย”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• โรคก่งิ แหง้ แผลสนี �้ำตาลจากปลายกงิ่

3.5

มหันตภัยรา้ ยเชอ้ื ราฟวิ ซาเรียม โซลาไน
ของโรคกงิ่ แหง้ ทุเรยี น • ส่วนใบหากติดท่กี ง่ิ แห้งใบจะเหลือง

• เจา้ ของผลงาน / สังกัด / ทอ่ี ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
รัติยา พงศพ์ ิสทุ ธา ชัยณรงค์ รตั นกรฑี ากลุ สณั ฐิติ บินคาเดอร์ กนกพร ฉัตรไชยศริ ิ
พชั รี บุญเรอื งรอด กาญจนา ถมจงั หรีด และ อาภสั รา หดี รอด
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรปุ •
โรคก่ิงแห้งของทุเรียนท่ีพบในจังหวัดชุมพร จันทบุรี และตราด พบสาเหตุ
ทแี่ ทจ้ รงิ เกิดจากราฟิวซาเรยี ม โซลาไน (Fusarium solani) ลักษณะกิ่งแห้ง เน้ือข้างใน
สนี ำ�้ ตาลออ่ น ใบมลี กั ษณะเหลอื งและรว่ งในเวลาตอ่ มา บางตน้ ใบรว่ งโกรน๋ ทงั้ กง่ิ หลายคน
เข้าใจผิดคิดว่าเกิดจากเชื้อราไฟทอปธอร่า พาลมิวอร่า (Phytophthora palmivora)
การไม่ทราบข้อเท็จจริงอาจสรา้ งความเสยี หายในการผลิตทเุ รยี นได้
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
การระบเุ ชอื้ สาเหตทุ ถ่ี กู ตอ้ งจะชว่ ยใหเ้ กษตรกรผปู้ ลกู ทเุ รยี นสามารถควบคมุ โรค
ก่งิ แห้งไดท้ ันการณ์
งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนจากส�ำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม
วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.)

42 ผมหลาวงทิ ายานลัย•เกวษิจตยั รศ•าสนตวรตั ์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�ิกแาพรงวแชิ สานการ

• เครื่องหยอดเมล็ดพนั ธ์ุระบบควบคุม
แบบฝังตวั

3.6เครอื่ งหยอด

เมล็ดพนั ธ์ุ • ระบบควบคมุ แบบฝังตวั

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ทีอ่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
1 นายนิติรงค์ พงษพ์ านชิ 2นางสาวศริ ิวรรณ ทิพรักษ์ และ 1นายเอนก สขุ เจรญิ
1ฝา่ ยเครอื่ งจกั รกลการเกษตรแหง่ ชาติ สำ� นกั งานวทิ ยาเขต มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์
วิทยาเขตก�ำแพงแสน นครปฐม
2 ศูนย์ปฏิบตั กิ ารวจิ ัยและเรอื นปลูกพชื ทดลอง คณะเกษตร กำ� แพงแสน มหาวิทยาลยั
เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำ� แพงแสน นครปฐม
โทร. 034-351397 E-mail : [email protected]
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรุป •
งานวิจัยน้ีเป็นการออกแบบและพัฒนาเทคโนโลยีการหยอดเมล็ดพันธุ์ข้าว
ในนาน�้ำตมโดยการใช้ระบบควบคุมแบบฝังตัว เพ่ือหยอดเมล็ดพันธุ์ให้มีระยะห่างและ
ปริมาณระหว่างแถวและกอเหมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นข้าว เคร่ืองหยอดเมล็ด
พันธุ์ข้าวน้ีถูกออกแบบให้เป็นอุปกรณ์ต่อพ่วงส�ำหรับการติดต้ังเข้ากับรถแทรกเตอร์
ขนาดเล็ก
• การนำ� ไปใชป้ ระโยชน์ •
- ส�ำหรับการหยอดเมล็ดพนั ธข์ุ ้าวในนานำ้� ตม
- สำ� หรบั การหยอดเมล็ดพันธุพ์ ืช

43“วจิ ยั และนวตั กรรมเพอ่ื งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4า้ น.ว0ิจัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• การเจริญของรากอ้อยที่อายุแตกต่างกัน

3.7ของรากกาอรศ้อึกยษแาลกะกาารรอเจอกรแญิ บบ

เครอ่ื งฝังกลบปุย๋

ติดทา้ ยรถแทรกเตอร์ขนาดเล็ก • เตคิดรทอ่ื า้งยฝรงั ถกแลทบรปกยุ๋ เใตนออร้อข์ ยนาสด�ำเหลรก็ ับ

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ดร.ธนญั กรณ์ ใจผอ่ ง นายทติ นิ ยั เทยี นแยม้ นายเอนก สขุ เจรญิ นายกติ ตเิ ดช โพธนิ์ ยิ ม
นายสัญญา เอกจีน ศูนย์เคร่ืองจักรกลการเกษตรแห่งชาติ กองบริหารงานวิจัย
และบริการวิชาการ ส�ำนักงานวิทยาเขตก�ำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตก�ำแพงแสน อ�ำเภอก�ำแพงแสน จังหวัดนครปฐม โทร. 034-351397
E-mail : [email protected]
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรปุ •
จากการวจิ ยั พบวา่ รากออ้ ยที่อายุ 3 - 6 เดือน มีการกระจายตวั สูงท่คี วามลึก
10-20 ซม.จึงไดอ้ อกแบบเครือ่ งฝังกลบป๋ยุ ทสี่ ามารถใส่ปุ๋ยทร่ี ะดับความลกึ 10 20 และ
30 ซม. และเปรียบเทียบสมรรถนะพบว่า ความสามารถและประสิทธิภาพการท�ำงาน
ท่ีความลึก 10 และ 20 ซม. ใกล้เคยี งกนั แตส่ งู กว่าที่ 30 ซม.อยา่ งชัดเจน ขณะท่ีอัตราการ
สิน้ เปลืองเช้ือเพลิงทคี่ วามลึก 10 และ 20 ซม. น้อยกวา่ ท่ี 30 ซม. ถงึ 2 เท่า
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
การศกึ ษาการเจรญิ ของรากทำ� ใหท้ ราบขอ้ มลู การกระจายตวั และความหนาแนน่
ของรากของอ้อยที่อายุแตกต่างกันซ่ึงเป็นประโยชน์ในการออกแบบเคร่ืองฝังกลบปุ๋ย
ให้สามารถให้ปุ๋ยอ้อยในต�ำแหน่งท่ีเหมาะสมท�ำให้อ้อยมีการเจริญเติบโตและผลผลิตที่ดี
เกษตรกรสามารถใชร้ ถแทรกเตอรข์ นาดเลก็ เปน็ ตน้ กำ� ลงั ได้ สามารถลดตน้ ทนุ ในเรอ่ื งของ
แรงงานและลดการใชพ้ ลังงานเชอ้ื เพลงิ ในการฝงั กลบปุ๋ย

44 ผมหลาวงิทายานลัย•เกวษจิ ตัยรศ•าสนตวรัต์ กวิทรรยมาเข•ตบกรำ�ิกแาพรงวแชิ สานการ

• คูมาริน

• พอลิกลูตามิกแอซิด • เมลด็ พนั ธ์ทุ ่ีเคลือบดว้ ย • การเจริญเตบิ โตของเมลด็ พันธุ์ทถี่ กู เคลือบดว้ ย
พอลิกลตู ามิกแอซิด พอลกิ ลูตามิกแอซิด และคมู ารนิ
และคูมาริน

3.8
การพัฒนาสารเคลอื บเมล็ดพันธุ์
ดว้ ยไบโอพอลเิ มอร์
กบั สารเรืองแสงอนุพันธ์คุ ูมารนิ

• เจ้าของผลงาน / สงั กัด / ที่อยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail

นางนงพงา จรัสโสภณ และคณะ* โครงการจัดตัง้ ภาควิชาเคมี ภาควิชาวทิ ยาศาสตร์
คณะศิลปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ โทร. 034-300481-4 ตอ่ 7693
E-mail : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
เมล็ดพันธุ์เป็นหน่ึงปัจจัยท่ีส�ำคัญในกระบวนการผลิตพืชท่ีมีผลต่อการเพ่ิมผลผลิต
และคุณภาพของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การใช้เมล็ดพันธุ์ที่ดีในการเพาะปลูกเป็นการลด
ต้นทุนการผลิตและก่อให้เกิดประโยชน์มาก อย่างไรก็ตามปัญหาหลักท่ีพบคือการปลอมแปลง
เมลด็ พนั ธ์ุ ทมี่ กี ารขยายตวั อยา่ งรวดเรว็ โดยกรรมวธิ กี ารผลติ จะมกี ารปลอมแปลงเมลด็ พนั ธเ์ุ ทยี ม
หรอื การลอกเลยี นแบบเมลด็ พนั ธ์ุ ดงั นนั้ งานวจิ ยั นจ้ี งึ มงุ่ เนน้ ทจี่ ะศกึ ษาสารเคลอื บเมลด็ พนั ธโ์ุ ดยใช้
สารไบโอพอลิเมอร์พอลิกลูตามิกแอซิด (PGA) และสารเรืองแสงอนุพันธ์ของคูมารินท่ีได้มีการ
ปรับปรุงโครงสร้างทางเคมีให้เหมาะสม ให้มีความเข้ากันได้กับสารไบโอพอลิเมอร์ท่ีใช้ รวมถึง
ไม่ก่อให้เกิดผลเสียกับเมล็ดพันธุ์ท่ีจะมาเคลือบและศึกษาวิจัยเพื่อให้ได้อัตราส่วนท่ีเหมาะสม
ศึกษาผลกระทบกับอัตราการงอกและอายุการเก็บรักษา ผลส�ำเร็จของงานวิจัยชิ้นนี้สามารถ
ใช้เป็นสารเคลือบเมล็ดพันธุ์ทางเลือกท่ีลดต้นทุนการผลิตและป้องกันการปลอมแปลงของ
เมลด็ พนั ธุ์พืช
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
จากการศึกษาในคร้ังน้ีพบว่าสารไบโอพอลิเมอร์พอลิกลูตามิกแอซิด (PGA) และ
สารเรอื งแสงอนพุ นั ธค์ มู ารนิ ทมี่ อี ตั ราสว่ นเหมาะสมจะมคี ณุ สมบตั ทิ างกายภาพ ความเปน็ กรด-ดา่ ง
ความหนดื การละลาย การขน้ึ เปน็ แผน่ ฟลิ ม์ เหมาะสมทใ่ี ชเ้ ปน็ สารเคลอื บทางเลอื ก และไมส่ ง่ ผลเสยี
ตอ่ อัตราการงอกและการเจรญิ เติบโตของเมล็ดมะเขือเทศ

45“วจิ ัยและนวตั กรรมเพ่อื งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0จิ ัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจ�ำปี พ.ศ. 2562

• เมล็ดเทียมทีห่ อ่ ห้มุ ดว้ ยวัสดุห่อหุ้ม
ประเภทโซเดียมอลั จิเนต

3.9 เมล็ดเทยี ม
(artificial seed)
ตา้ นเชือ้ จุลนิ ทรยี ์

• เจ้าของผลงาน / สังกดั / ท่อี ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนทรี แสงจันทร์ และ อาจารย์ ดร.ปยิ ะมาศ ศรรี ัตน์
ภาควชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์
วทิ ยาเขตก�ำแพงแสน ตำ� บลกำ� แพงแสน อ�ำเภอกำ� แพงแสน จังหวัดนครปฐม 73140
• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรุป •
การประยุกต์ใช้เทคนิคการเพาะเลี้ยงเน้ือเย่ือเพ่ือการผลิตเมล็ดพืชเทียม
เป็นอีกแนวทางหน่ึงในการผลิตต้นพันธุ์พืชที่มีคุณภาพ โดยการเลียนแบบเมล็ดพืช
ท่ีได้จากการผสมพันธุ์ตามธรรมชาติ เมล็ดเทียมมีองค์ประกอบส�ำคัญเลียนแบบเมล็ดพืช
ท่ีได้จากธรรมชาติ คือ มีเอ็มบริโอ หรือมีช้ินส่วนพืชท่ีสามารถเจริญเป็นต้นได้จาก
การเพาะเลี้ยงโดยเทคนิคการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือมีอาหารสะสมเทียมและส่วนห่อหุ้ม
เอม็ บรโิ อ หรอื เปลอื กหมุ้ เมลด็ เทยี ม โดยวสั ดทุ นี่ ำ� มาเปน็ แหลง่ สะสมอาหารใหก้ บั เมลด็ เทยี ม
และยังท�ำหน้าที่เป็นวัสดุท่ีห่อหุ้มเอมบริโอนั้นโดยส่วนใหญ่มักใช้พอลิเมอร์ทางชีวภาพ
ทีม่ ีความปลอดภัยตอ่ เน้อื เย่ือ ราคาถกู และสามารถยอ่ ยสลายไดโ้ ดยธรรมชาติ
• การนำ� ไปใช้ประโยชน์ •
สามารถน�ำเมล็ดเทียมนี้ไปปลูกในสภาพแปลงปลูกได้เหมือนเมล็ดพืชที่ได้จาก
ธรรมชาตแิ ละตน้ พชื ทเ่ี จรญิ จากเมลด็ พชื เทยี มนมี้ คี ณุ ลกั ษณะทด่ี ี อาทเิ ชน่ มลี กั ษณะตรงตาม
ต้นแม่ มคี วามปลอดโรค และมีความสมำ�่ เสมอทางคุณภาพตรงตามความต้องการ

46 มผหลาวงทิ ายานลยั •เกวษจิ ตยั รศ•าสนตวรตั ์ กวทิรรยมาเข•ตบกร�ำิกแาพรงวแิชสานการ

• แสดงสารไฮโดรเจลและประสิทธภิ าพการย่อยสลาย
สารอินทรยี ต์ กค้างด้วยวสั ดไุ ฮโดรเจลพอลอิ ัลจ-ิ เนต
ร่วมกบั พอลิไวนลิ แอลกอฮอล์ (SA-PVA) ร่วมกับสารกระตุ้น
เชงิ แสงประเภทตา่ งๆ ไดแ้ ก่ ซิงคอ์ อกไซด์(ZnO) และ
ซิงค์ออกไซด์ร่วมกับแกรฟนี ออกไซด์ (ZnO-GO)

3.10 วัสดไุ ฮโดรเจล

ส�ำหรับดดู ซับ/ยอ่ ยสลาย
สารตกคา้ ง

• เจา้ ของผลงาน / สงั กดั / ที่อยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สนุ ทรี แสงจนั ทร์ โครงการจดั ตง้ั ภาควชิ าฟสิ กิ ส์ คณะศลิ ปศาสตร์
และวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน ตำ� บลกำ� แพงแสน
อ�ำเภอกำ� แพงแสน จังหวดั นครปฐม 73140
• ขอ้ มลู ผลงานโดยสรุป •
วัสดุสังเคราะห์จากพอลิเมอร์ชีวภาพร่วมกับสารกระตุ้นเชิงแสง มีความ
สามารถในการดูดซับและย่อยสลายสารตกค้างทางการเกษตรท่ีปนเปื้อนในแหล่งน�้ำ
ชุมชนการเกษตร อาทิ สารอินทรีย์ตกค้าง ยาก�ำจัดแมลง/วัชพืช ปุ๋ย และเช้ือจุลินทรีย์
เป็นต้น โดยสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้ในครัวเรือน ในระบบบ�ำบัดน�้ำทิ้งของครัวเรือน
กอ่ นปลอ่ ยลงสู่ส่ิงแวดลอ้ ม
• การน�ำไปใช้ประโยชน์ •
สามารถนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการกำ� จดั สารตกคา้ งทางการเกษตรระดบั ครวั เรอื น
โดยใช้กับระบบบ�ำบัดน�้ำในระดับครัวเรือนก่อนท้ิงลงสู่สิ่งแวดล้อม โดยสามารถน�ำกลับ
มาใช้ซ้�ำได้หลายคร้ัง ในปัจจุบันก�ำลังพัฒนาประสิทธิภาพให้สูงข้ึนเพื่อให้สามารถ
กำ� จดั สารตกคา้ งทางการเกษตรทป่ี นเปอ้ื นมากบั ผลผลติ ใหส้ ามารถกำ� จดั สารตกคา้ งไดใ้ น
ระยะเวลาทีส่ นั้ ลง

47“วจิ ัยและนวัตกรรมเพือ่ งไาทนยนิทแรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0จิ ัย”
งานเกษตรก�ำแพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562

3.11 การพฒั นา

ด้วยสสาารรกเครละือตบนุ้ เมเลชด็ ิงพแสันงธุ์

ร่วมกบั ไบโอพอลเิ มอร์

• เจ้าของผลงาน / สังกัด / ทอี่ ยู่ / หมายเลขโทรศพั ท์ / E-mail
ผศ.ดร.อรวรรณ ชณุ หชาติ คณะศลิ ปศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์
โทร. 083-1225029 E-mail : [email protected]
• ขอ้ มูลผลงานโดยสรปุ •
การพัฒนาสารเคลือบเมล็ดพันธุ์พืชโดยการสังเคราะห์สารกระตุ้นเชิงแสง
รว่ มกบั พอลเิ มอรช์ วี ภาพจากแบคทเี รยี โดยสามารถยบั ยง้ั การเจรญิ ของจลุ นิ ทรยี ์ ไมส่ ง่ ผล
ต่อการงอกและการเจริญของต้นกล้า
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
- ใช้เคลือบเมล็ดพันธุ์เพื่อลดการใช้สารเคมี และสารท่ีพัฒนาขึ้นน้ี
พืชสามารถน�ำไปใช้เป็นธาตอุ าหารได้

48 ผมหลาวงทิ ายานลัย•เกวษจิ ตยั รศ•าสนตวรัต์ กวทิรรยมาเข•ตบกร�ำกิ แาพรงวแชิ สานการ

3.12 การเลย้ี งไกตะ่ลเภกู าผทสอมง
เพอ่ื ผลติ อาหารปลอดภัย

• เจ้าของผลงาน / สงั กดั / ที่อยู่ / หมายเลขโทรศัพท์ / E-mail
รองศาสตราจารย์ ดร.ยวุ เรศ เรืองพานชิ ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร ก�ำแพงแสน
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกำ� แพงแสน
โทร. 034-351892 Email : [email protected]
• ข้อมูลผลงานโดยสรุป •
ไก่ลูกผสมตะเภาทองเกิดจากการผสมระหว่างไก่ตะเภาทองและไก่สามเหลือง
เป็นไก่ลูกผสมพันธุ์พื้นเมือง ท่ีมีอัตราการเจริญเติบโตท่ีดี มีเปอร์เซ็นต์ซากสูง โดยพบว่า
ไก่ตะเภาทองอายุ 98 วัน น�้ำหนักตัวเฉล่ียท่ี 1,865 กรัม โดยไก่เพศเมียมีนำ�้ หนักเฉลี่ย
1,550 กรมั และไกเ่ พศผูม้ ีน�้ำหนกั เฉล่ีย 2,180 กรัม
• การน�ำไปใชป้ ระโยชน์ •
เกษตรกรผู้เล้ียงไก่ลูกผสมตะเภาทอง สามารถเล้ียงเพ่ือเป็นอาชีพเสริม
เพมิ่ รายไดใ้ นครวั เรอื น เนอื่ งจากเปน็ ไกท่ เ่ี ลย้ี งงา่ ยโตไว และสามารถใชว้ สั ดเุ หลอื ใชท้ างการ
เกษตรเป็นอาหารไดเ้ ป็นอยา่ งดี อกี ทงั้ เน้ือไก่มีรสชาติท่อี ร่อย มเี นอื้ ที่นุ่มและชมุ่ ฉ่ำ� และมี
หนงั ท่ีกรอบเปน็ เอกลกั ษณ์

49“วจิ ัยและนวัตกรรมเพอ่ื งไาทนยนทิ แรลรศนกาดรด์ 4้าน.ว0จิ ัย”
งานเกษตรกำ� แพงแสน ประจำ� ปี พ.ศ. 2562


Click to View FlipBook Version