The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2.วัฒนธรรม แก้ไข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-11-04 05:40:29

2.วัฒนธรรม แก้ไข

2.วัฒนธรรม แก้ไข

วฒั นธรรม

ความหมายของ “วฒั นธรรม”

วฒั นธรรมเป็นส่ิงท่ีมนุษยส์ ร้างข้ึนมา เช่น ภาษา ศิลปะ กฎหมาย การปกครอง และ
ศีลธรรมเป็นตน้ ถือเป็นความเจริญงอกงามทางสติปัญญาของมนุษย์ วฒั นธรรมจึงเป็นส่ิง
เรียนรู้และรับถ่ายทอดมาจากการติดต่อสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั อนั ความรวมถึงภาษา ธรรมเนียม
ประเพณีและสถาบนั ทางสงั คมเป็นวธิ ีการด ารงชีวติ ของคนในสงั คม

ลกั ษณะของวฒั นธรรม

1. เป็ นวฒั นธรรมแบบเกษตรกรรม คนไทย 2. เป็ นวฒั นธรรมที่ยดึ ถือการกศุ ล คน
มีความเก่ียวขอ้ งกบั น้า ผคู้ นส่วนใหญ่จะประกอบ ไทยนิยมทาบุญในงานเทศกาลตา่ ง ๆ เพอ่ื เป็ นสิริ
อาชีพเกษตรกรรม ทาการเพาะปลกู เล้ียงสตั ว์ ดงั น้นั มงคลและเพ่ืออทุ ิศบุญกศุ ลใหญ้ าติผใู้ หญ่ท่ี
วฒั นธรรมประเพณีและวถิ ีชีวติ ส่วนใหญ่จึงมกั เก่ียวกบั ล่วงลบั ไปแลว้ ดงั น้นั จึงสงั เกตเห็นไดว้ า่ งานพธิ ี
น้าและการเกษตร เช่น ประเพณีการทาขวญั ขา้ ว หรือ มงคลหรืออวมงคลไทย มกั จะมีการทาบุญเขา้ มา
ประเพณีการลงแขกเกี่ยวขา้ ว ซ่ึงพบเห็นไดท้ ว่ั ไปตาม เป็ นส่วนหน่ึงของงานพิธีเหล่าน้นั ดว้ ย
ชนบท เป็ นตน้

3. เป็ นวฒั นธรรมที่ยดึ ถือเครือญาติ สังคมไทย 4. เป็ นวฒั นธรรมท่ียดึ ถือพธิ ีกรรม มี
มีความสมั พนั ธ์กนั โดยยดึ หลกั อาวโุ ส คนที่มีอายนุ อ้ ย ข้นั ตอนในการประกอบพธิ ีตามความเช่ือและมุ่งหวงั
กวา่ จะใหค้ วามเคารพผทู้ ี่มีอายมุ ากกวา่ หรืออาวโุ สกวา่ ความมีหนา้ มีตาในการจดั งาน เช่น การแต่งงาน โดย
เพราะถือวา่ ผอู้ าวโุ สเป็ นผทู้ ี่สูงดว้ ยประสบการณ์ การเขา้ ส่วนใหญ่ในสงั คมไทยจะมีพธิ ีกรรมมากมาย ต้งั แต่
หาและพดู คุยกบั ท่านเหล่าน้นั จะทาใหไ้ ดร้ ับ การแห่ขนั หมากมาสู่ขอ การรดน้าสงั ขอ์ วยพรคูบ่ ่าว
ประสบการณ์ท่ีดี แลว้ นามาปรับใชใ้ นชีวติ ได้ สาวและจดั งานเล้ียงฉลองสมรส

5. เป็ นวฒั นธรรมที่นิยมความ 6. เป็ นวฒั นธรรมท่ีมีการผสมผสาน
สนุกสนาน กิจกรรมต่าง ๆ ของสงั คมไทยส่วน วฒั นธรรมต้งั แตอ่ ดีตจนถึงปัจจุบนั ไดร้ ับการ
ใหญจ่ ะมีการสอดแทรกความสนุกสนานไวด้ ว้ ย ผสมผสานมาจากการเผยแพร่ทางวฒั นธรรมของสงั คม
เสมอ มีการร้อง รา ทาเพลง จนเกิดเป็ นเพลงฉ่อย อื่น เช่น ศาสนาพราหมณ์เป็ นท่ีมาของประเพณีต่าง ๆ
เป็ นตน้ ซ่ึงถือวา่ เป็ นการละเล่นเพอ่ื ผอ่ นคลาย ซ่ึงไดร้ ับการปฏิบตั ิสืบทอดในสงั คม เช่น พธิ ีจรดพระ
ความเหน็ดเหน่ือยหลงั เสร็จสิ้นฤดูเก็บเก่ียว
นงั คลั แรกนาขวญั การต้งั ศาลพระภูมิ เป็ นตน้

ความสาคญั ของวฒั นธรรม

วฒั นธรรมทาใหเ้ กิดความสามคั คีความเป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั สงั คมท่ีมีวฒั นธรรมเดียวกนั ยอ่ มจะมี
ความรู้สึกผกู พนั เดียวกนั เกิดความเป็ นปึ กแผน่ จงรักภกั ดีและอุทิศตนใหก้ บั สงั คมทาใหส้ งั คมอยรู่ อดวฒั นธรรม
เป็ นตวั กาหนดรูปแบบของสถาบนั ท้งั น้ีเน่ืองจากวฒั นธรรมในสงั คมเป็ นตวั กาหนดรูปแบบ เช่น วฒั นธรรมไทย
กาหนดเป็ นแบบสามีภรรยาเดียว ในอีกสงั คมหน่ึงกาหนดวา่ ชายอาจมีภรรยาไดห้ ลายคน หรือหญิงอาจมีสามีได้
หลายคน วฒั นธรรมเป็ นเคร่ืองแสดงเอกลกั ษณ์ของชาติ คาวา่ เอกลกั ษณ์ หมายถึง ลกั ษณะพิเศษหรือลกั ษณะเด่น
ของบุคคลหรือสงั คม ท่ีแสดงวา่ สงั คมหน่ึงแตกตา่ งไปจากอีกสงั คมหน่ึง เช่น วฒั นธรรมการพบปะกนั ใน
สงั คมไทย จะมีการยกมือไหวก้ นั แต่ในสงั คมญ่ีป่ ุนใชก้ ารคานบั กนั เป็ นตน้

การอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทย

การสนบั สนุนใหเ้ กิดการอนุรักษศ์ ิลปวฒั นธรรมในสังคม ควบคูก่ บั
การรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี และการดูแลรักษาส่ิงแวดลอ้ มดว้ ย
จิตสานึก จะสามารถส่งตอ่ คุณค่าของมรดกทางสงั คมและทรัพยากรธรรมชาติ
ที่สาคญั ในการดารงชีวติ ใหค้ นรุ่นต่อไป

วฒั นธรรมสากล

วฒั นธรรมสากลหรือวฒั นธรรมนานาชาติ
หมายถึง วฒั นธรรมท่ีเป็นที่ยอมรับกนั ทว่ั ไปอยา่ ง
กวา้ งขวางหรือเป็นอารยธรรมท่ีไดร้ ับปฏิบตั ิตามกนั
ทวั่ โลก เช่น การแต่งกายชุดสากล การใชภ้ าษาองั กฤษ
เป็นภาษากลางในการติดตอ่ สื่อสาร การปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย การคา้ เสรี การใชเ้ คร่ืองจกั รกล
ระบบการส่ือสารที่ทนั สมยั ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์
และมารยาทในการสมาคม เป็นตน้

ความสาคญั ของวฒั นธรรมสากล

ในยคุ ปัจจุบนั โลกของเรามีความเจริญกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยอี ยา่ งสูง เป็ นยคุ แห่งโลกาภิวฒั น์ ที่มี
การเชื่อมโยงถึงกนั ไดอ้ ยา่ งง่ายดาย มีการติดต่อซ่ึงกนั และกนั เมื่อมีการติดต่อส่ือสารกนั มากข้ึน ก็ยอ่ มส่งผลให้
วฒั นธรรมมีการผสมผสานกนั มากข้ึน จนในที่สุดมนุษยจ์ ึงตอ้ งมีการคน้ หาหรือสร้างวฒั นธรรมสากลในดา้ นตา่ งๆ
ข้ึนมาเพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิร่วมกนั เช่น มีการกาหนดภาษาสากล ระบอบการเมืองการปกครอง มาตรฐาน
ดา้ นความปลอดภยั เป็ นตน้

การที่หลายประเทศในโลกรวมถึงประเทศไทยมีความตอ้ งการจะพฒั นาตนเองเพ่อื กา้ วสู่ความเป็ นสากล
วฒั นธรรมสากลจึงมีความสาคญั ซ่ึงคนในสงั คมจาเป็ นที่จะตอ้ งศึกษาและรับมาเป็ นแนวทางหน่ึงในการดาเนิน
ชีวติ เพือ่ ที่จะพฒั นาศกั ยภาพของตนเองและกา้ วทนั ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอยา่ งรวดเร็ว แตใ่ นขณะเดียวกนั
หากมีการรับวฒั นธรรมสากลมากเกินไป ก็อาจส่งผลเสียทาใหว้ ฒั นธรรมด้งั เดิมของชาติสูญหายไป

วฒั นธรรมสากลที่สาคญั ในยคุ ปัจจุบนั

1) ภาษาองั กฤษ เน่ืองจากภาษาองั กฤษ เป็นภาษาท่ีมี
ผใู้ ชม้ ากที่สุดในโลก โดยในปัจจุบนั มีหลายประเทศทวั่ โลก
ท่ีใชภ้ าษาองั กฤษเป็นภาษาราชการ เช่น สหราชอาณาจกั ร
สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สิงคโปร์
อินเดีย เป็นตน้ นอกจากน้ีหน่วยงานสากลท่ีสาคญั ของโลก
ในหลายแห่งกย็ งั ใชภ้ าองั กฤษในการติดตอ่ ส่ือสาร เช่น
ธนาคารโลก องคก์ ารสหประชาชาติ สหภาพยโุ รป เป็นตน้
ดว้ ยเหตุน้ีจึงส่งผลใหค้ นในสังคมทว่ั ทุกมุมโลกใหค้ วาม
สนใจท่ีจะเรียนภาษาองั กฤษมากข้ึน

วฒั นธรรมสากลที่สาคญั ในยคุ ปัจจุบนั

2) คอมพวิ เตอร์และเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ถือ
เป็นวฒั นธรรมสากลที่เขา้ มามีบทบาทในชีวติ ประจาวนั
ของเราอยา่ งมาก เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถ
ใชง้ านไดห้ ลากหลาย เป็นส่ิงท่ีช่วยใหเ้ ราสามารถ
ทางานไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็วยง่ิ ข้ึน นอกจากน้ีก็ยงั มี
ระบบอินเทอร์เน็ตท่ีมีเครือขา่ ยเชื่อมโยงไปทว่ั โลก เป็น
ท้งั แหล่งรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ สาหรับการสืบคน้ และยงั
เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารไดท้ วั่ โลก เช่น อีเมล
การประชุมทางไกล เป็นตน้

วฒั นธรรมสากลที่สาคญั ในยคุ ปัจจุบนั

3) การแตง่ กาย แมว้ า่ ในหลายประเทศจะมี
เครื่องแต่งกายท่ีเป็นชุดประจาชาติ ซ่ึงมีเอกลกั ษณ์ที่
แตกต่างกนั ไป แตก่ ็ยงั มีการแตง่ กายท่ีคนในสังคม
ส่วนใหญ่ใหก้ ารยอมรับวา่ เป็นการแต่งกายสากล อีก
ท้งั ยงั รับเอาวฒั นธรรมการแตง่ กายสากลน้ีมาใชใ้ น
ชีวติ ประจาวนั อยา่ งแพร่หลายซ่ึงสามารถพบเห็นได้
โดยทว่ั ไปเคร่ืองแตง่ กายสากล เช่น เส้ือสูท เนคไท
เส้ือเชิ้ต รองเทา้ หุม้ ส้น เป็นตน้

วฒั นธรรมสากลที่สาคญั ในยคุ ปัจจุบนั

4) ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เป็นระบบเศรษฐกิจ
กระแสหลกั ของโลกปัจจุบนั เป็นระบบที่เนน้ อิสรภาพในการ
ทาธุรกิจการคา้ ของบุคคล ผปู้ ระกอบธุรกิจสามารถลงทุนและ
ใชศ้ กั ยภาพตา่ งๆ เพ่ือการผลิตสินคา้ หรือบริการไดอ้ ยา่ งเตม็
ความสามารถ รวมถึงสามารถแขง่ ขนั ในตลาดการคา้ ไดอ้ ยา่ ง
เสรี ส่งผลใหเ้ กิดการสร้างอาชีพท่ีหลากหลาย และเป็นระบบ
เศรษฐกิจที่เปิ ดโอกาสใหค้ นทว่ั ไปสร้างฐานะทางการเงินได้
ตามความสมารถของตนเอง หลายประเทศในโลกจึงยอมรับ
ละนาระบบเศรษฐกิจทุนนิยมมาใชอ้ ยา่ งแพร่หลายดงั จะเห็น
ไดจ้ ากการรวมตวั ทางดา้ นเศรษฐกิจในแต่ละภูมิภาคของโลก

วฒั นธรรมสากลท่ีสาคญั ในยคุ ปัจจุบนั

5) การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ประเทศส่วนใหญ่ในโลกใหก้ ารยอมรับและปกครอง
ประเทศปกครองประเทศในระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากเป็ นระบอบท่ีเนน้ สิทธิเสรีภาพของบุคคลอีกท้งั ยงั
เป็ นระบอบที่เปิ ดโอกาสใหม้ ีการแสดงความคิดเห็นร่วมกนั ใชเ้ หตผุ ลในการแกป้ ัญหา และหลีกเล่ียงการใช้
ความรุนแรงเพ่อื การอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข เราจะเห็นไดว้ า่ ในหลายประเทศที่มีความตอ้ งการจะพฒั นาไปสู่
ความเป็ นสากลน้นั มีความพยายามท่ีจะเปลี่ยนแปลงหรือพฒั นาใหก้ ารเมืองการปกครองเป็ นประชาธิปไตยให้
มากท่ีสุด เพือ่ จะไดเ้ ป็ นที่ยอมรับจากทวั่ โลก

วฒั นธรรมสากลที่สาคญั ในยคุ ปัจจุบนั

6) แนวคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน ประเทศในหลายภมู ิภาค
ทวั่ โลกกาลงั ใหค้ วามสนใจเรื่องสิทธิมนุษยชนสืบเนื่องจากการท่ี
ประเทศส่วนใหญใ่ หก้ ารยอมรับการปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตยซ้ึงเนน้ ในเรื่องสิทธิเสรีภาพของประชาชน จึงทาให้
แนวคิดเร่ืองสิทธิมนุษยชนมีการแพร่หลายไปทว่ั โลก มีความ
พยายามจากหน่วยงาน หรือท้งั ของภาครัฐและเอกชนที่ดาเนินงาน
เกี่ยวกบั การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ซ่ึงเป้าหมายสาคญั ของหลกั
สิทธิมนุษยชน เช่น ทาใหม้ นุษยท์ ุกคนมีศกั ด์ิศรีความเป็ นมนุษย์
อยา่ งเท่าเทียมกนั ไดร้ ับการปฏิบตั ิต่อกนั อยา่ งเหมาะสม ปราศจาก
การใชค้ วามรุนแรงตอ่ กนั และไดร้ ับสวสั ดิการต่างๆ ที่จะช่วยใหม้ ี
คุณภาพชีวติ ท่ีดี เป็ นตน้

แนวทางการเลือกรับวฒั นธรรมสากลอยา่ งเหมาะสม

1) เลือกรับวฒั นธรรมสากลท่ีจาเป็ นต่อการ 2) พิจารณาถึงขอ้ ดีและขอ้ เสียควบคู่กนั ไป
ดาเนินชีวติ ประจาวนั วฒั นธรรมสากล เช่น ภาษาองั กฤษ
คอมพิวเตอร์ โทรศพั ทม์ ือถือ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ เน่ืองจากสิ่งประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมจากวฒั นธรรมภายนอก
เทคโนโลยี ตลอดจนระบบระเบียบการคา้ ขายระหวา่ ง มีท้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสีย หรือกล่าวอีนยั หน่ึง คือ ก่อใหเ้ กิดคุณ
ประเทศ มีความสาคญั ในการติดต่อสมั พนั ธ์ระหวา่ งคน อนนั ตแ์ ละโทษมหนั ต์ ซ่ึงถา้ หากเราศึกษาใหด้ ีใช้ใหเ้ ป็น
ไทยและคนตา่ งชาติอยา่ งมาก จึงจาเป็ นตอ้ งศึกษาหาความรู้ ประโยชน์กจ็ ะก่อใหเ้ กิดความสะดวกสบาย ช่วยแกไ้ ขปัญหา
ใหถ้ ่องแท้ เลือกรับเฉพาะวฒั นธรรมท่ีดี เหมาะกบั ไดท้ นั ท่วงที และตอบสนองความตอ้ งการในดา้ นต่างๆ ได้
สงั คมไทยเพอ่ื เป็ นประโยชน์ตอ่ การดาเนินชีวติ ขอแงคน ดงั ใจ แต่ผลเสียก็มอี ยมู่ าก เช่น ทาใหม้ นุษยเ์ กิดความฟ้งุ เฟ้อ
ไทยในยคุ ปัจจุบนั ใหค้ วามสาคญั ทางดา้ นวตั ถุมากกวา่ จิตใจ เกิดการแก่งแยง่
แข่งขนั กนั อีกท้งั ส่งผลเสียต่อสภาพแวดลอ้ ม เนื่องจากตอ้ ง
ใชท้ รัพยากรธรรมชาติอยา่ งมากและมกี ารปล่อยของเสีย

ออกมาเป็ นจานวนมาก

แนวทางการเลือกรับวฒั นธรรมสากลอยา่ งเหมาะสม

3) มีการร่วมมือ คน้ นควา้ เผยแพร่ รวมถึงการ 4) มีการพฒั นาและผสมผสานวฒั นธรรมไทย
ประยกุ ตใ์ ชภ้ มู ิปัญญาไทย โดยสืบคน้ จากคาบอกกลา่ ว ใหเ้ หมาะสมกบั สมยั ปัจจุบนั เราจะเห็นไดว้ า่ ภูมิปัญญา
ของผเู้ ฒ่า ผอู้ วโุ ส และผรู้ ู้ จากนิยาย นิทานชาวบา้ น ไทยหลายเร่ืองไดก้ ลายเป็ นภูมิปัญญาสากล เช่น อาหาร
คมั ภียท์ างศาสนา วรรณคดีประเภทต่างๆ คาคม สุภาษิต ไทยไดร้ ับความนิยมทวั่ โลก มีการผสมผสานภมู ิปัญญา
คาพงั เพย รวมถึงการสงั เกตและเปรียบเทียบการดาเนิน ไทยกบั ภมู ิปัญญาตะวนั ตก โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ดา้ น
ชีวติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลในสงั คม และ สถาปัตยกรรม เช่น โบสถว์ ดั เบญจมบพติ รดุสิตวนา
ความสมั พนั ธ์กบั สิ่งแวดลอ้ ม โดยไดจ้ ดั ระบบความรู้ ราม พระท่ีนงั่ จกั รีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวงั
เพือ่ สร้างเป็ นองคค์ วามรู้ข้ึน พร้อมท้งั เผยแพร่ใหท้ ุก พระที่นงั่ อนนั ตสมาคม และสถาปัตยกรรมแบบชิโน-
ภาคส่วนไดต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ของภูมิปัญญาไทย โปรตกุ ีส ในจงั หวดั ภเู กต็ เป็ นตน้

วฒั นธรรมช่วยใหป้ ระเทศชาติเจริญกา้ วหนา้ หากสงั คมใด
มีวฒั นธรรมท่ีดีงามเหมาะสม เช่น ความมีระเบียบวนิ ยั ขยนั ประหยดั
อดทน การเห็นประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ส่วนตวั เป็ นตน้ สงั คมน้นั
ยอ่ มจะเจริญกา้ วหนา้ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว วฒั นธรรมเป็ นเครื่องสร้าง
ระเบียบแก่สงั คมมนุษย์ วฒั นธรรมไทยเป็ นเครื่องกาหนดพฤติกรรม
ของสมาชิกในสงั คมไทย ใหม้ ีระเบียบแบบแผนที่ชดั เจนรวมถึงผล
ของการแสดงพฤติกรรมตลอดจนถึงการสร้างแบบแผนของความคิด
ความเชื่อและค่านิยมของสมาชิกใหอ้ ยใู่ นรูปแบบเดียวกนั วฒั นธรรม
เป็ นเคร่ืองมือช่วยแกป้ ัญหา และสนองความตอ้ งการของมนุษย์
มนุษยไ์ ม่สามารถดารงชีวติ ภายใตส้ ่ิงแวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ ดงั น้นั
มนุษยต์ อ้ งแสวงหความรู้จากประสบการณ์ท่ีตนไดร้ ับการประดิษฐ์
คิดคน้ วธิ ีการใชท้ รัพยากรน้นั ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ชีวติ และถา่ ยทอด
จากสมาชิกรุ่นหน่ึงไปสู่สมาชิกรุ่นต่อไปไดโ้ ดยวฒั นธรรมของสงั คม

อา้ งอิง

• https://sites.google.com/site/politicsthais/cultucal/khwam-
hmay-khwam-sakhay-khxng-wathnthrrm

• https://www.scb.co.th/th/about-us/csr/cultural-and-
enviromental-conservation.html

• https://sites.google.com/site/por31bangli/
• https://km.nssc.ac.th/files/1705301414383793_170606131349

55.pdf

เสนอ
ผศ.ดร.สุรชยั ภทั รดิษฐ์ ภูมิภกั ดิเมธี
อาจารยป์ ระจาหลกั สูตรสังคมศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา

จดั ทาโดย
นางสาวณฎั ฐฐ์ ากร เนียมสูงเนิน
รหสั นกั ศึกษา 6340109103 คณะครุศาสตร์สาขาสังคมศึกษา

ปี ท่ี2 หมู1่


Click to View FlipBook Version