The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2_GE22105_สังคม เศรษฐกิจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-25 02:15:50

4.วิชาสังคม เศรษฐกิจ

2_GE22105_สังคม เศรษฐกิจ

วชิ า ศท. (GE) ๒๒๑๐๕

สังคม เศรษฐกิจ การเมอื งไทย
ใขนอสงภตาําวรกวาจรไณทย์ปัจจบุ ันกบั บทบาท

ตาํ ราเรยี น

หลักสูตร นกั เรียนนายสบิ ตาํ รวจ

ÇªÔ Ò È·. (GE) òòñðõ 椄 ¤Á àÈÃÉ°¡¨Ô ¡ÒÃàÁÍ× §ä·Â ã¹ÊÀÒÇ¡Òó
»¨˜ ¨ºØ ѹ¡ºÑ º·ºÒ·¢Í§ตาํ ÃǨä·Â

เอกสารนี้ “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผูหน่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเี้ พอ่ื การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนที่ไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

กองบัญชาการศึกษา สํานักงานตาํ รวจแหงชาติ

พ.ศ.๒๕๖๔

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇªÔ Ò Ê§Ñ ¤Á àÈÃÉ°¡¨Ô ¡ÒÃàÁÍ× §ä·Â ã¹ÊÀÒÇ¡Òó» ¨˜ ¨ºØ ¹Ñ ¡ºÑ º·ºÒ·¢Í§ตําÃǨä·Â

º··èÕ ñ ¡ÒÃàÁÍ× § àÈÃÉ°¡¨Ô áÅÐ椄 ¤Áä·Â ñ
- วตั ถุประสงค ๑
- สวนนาํ ๑
- ววิ ฒั นาการการเมอื งไทยหลังการเปล่ยี นแปลงการปกครอง ๑
- การปฏิวตั ิ ๒๔ มถิ นุ ายน ๒๔๗๕ ๒
- ผลการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีสาระสาํ คญั ๔
- รัฐประหาร ๑๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๐๐ ๕
- วนั มหาวปิ โยค หรือ เหตุการณ ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๑๖ ๖
- เหตกุ ารณพฤษภาทมฬิ ๗
- รฐั ประหาร ๒๕๔๙ ๙
- รัฐประหาร ๒๕๕๗ ๑๐
- วิวฒั นาการระบบเศรษฐกจิ ไทย ๑๑
- วิวฒั นาการสังคมไทย ๑๓
- สงั คมไทยสมัยใหม ๑๖
- สังคมไทยในยุคโลกาภวิ ตั น ๑๗
- สังคมเมืองและสังคมชนบทของไทย ๑๘
- สังคมของเมอื งไทย ๑๙
- สังคมชนบทของไทย ๑๙
- ความสมั พนั ธร ะหวางสังคมเมืองกบั สังคมชนบท ๒๐
- ปญหาสงั คมไทย ๒๐
- วธิ ีปองกันและแกไ ขปญ หาสงั คมไทย ๒๒
- บทสรุป ๒๒

º··Õè ò ¤ÇÒÁ໹š ÁÒ ¤ÇÒÁÊÒí ¤ÞÑ áÅС®ºÑμâͧ»ÃЪҤÁÍÒà«ÂÕ ¹ òõ
- วัตถปุ ระสงค ๒๕
- บทนาํ ๒๕
- ความเปนมาและความสําคญั ของประชาคมอาเซียน ๒๕

˹ŒÒ

- คาํ ขวัญอาเซยี น ๒๗
- ธงประจาํ ประเทศสมาชกิ ๒๘
- ธงอาเซยี น ๒๘
- เพลงอาเซียน ๒๙
- บทบาทของไทยกบั การจดั ทาํ เพลงประจําอาเซียน ๒๙
- ความสําคญั ของเพลงประจําอาเซียน ๓๐
- กฎบตั รอาเซียน ๓๐
- การประกาศใช ๓๑
- โครงสรางของกฎบัตรอาเซยี น ๓๑
- วตั ถุประสงคข องกฎบตั รอาเซยี น ๓๒
- ความสาํ คัญของกฎบัตรอาเซียนตอประเทศไทย ๓๓
- ประเทศสมาชกิ ประชาคมอาเซียน ๓๕
- ราชอาณาจักรไทย (Kingdom of Thailand) ๓๖
- มาเลเซยี (Malaysia) ๓๗
- สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซีย (Republic of Indonesia) ๓๘
- สาธารณรฐั สิงคโปร (Republic of Singapore) ๓๙
- รัฐบรูไนดารุสซาลาม (State of Brunei Darussalam) ๔๐
- สาธารณรัฐฟลปิ ปน ส (Republic of Philippines) ๔๑
- สาธารณรัฐสังคมนิยมเวยี ดนาม (Socialist Republic of Vietnam) ๔๒
- สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (Lao People’s Democratic Republic) ๔๓
- สาธารณรฐั แหง สหภาพเมียนมา (Republic of the Union of Myanmar) ๔๔
- ราชอาณาจกั รกัมพูชา (Kingdom of Cambodia) ๔๕
- บทสรุป ๔๖

º··Õè ó ตาํ ÃǨä·Â¡ºÑ ÍÒà«Õ¹ ô÷
- วัตถปุ ระสงค ๔๗
- บทนํา ๔๗
- การเตรยี มความพรอ มของไทยสกู ารเปนประชาคมอาเซยี น ๔๗
- ความสอดคลองของยทุ ธศาสตรการเขาสปู ระชาคมอาเซยี นของประเทศไทย ๕๓
กบั ภารกิจของตํารวจ ๕๖
- บทสรุป

˹ŒÒ

º··èÕ ô »ÃªÑ ÞÒàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾ÂÕ § õ÷
- วัตถปุ ระสงค ๕๗
- บทนํา ๕๗
- ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๕๗
- การเตรยี มพรอมของไทยเขาสูป ระชาคมอาเซียนดว ยปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๖๐
- การประยกุ ตใชปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ๖๑
- บทสรุป ๖๒

º··èÕ õ »ÃÐà·Èä·Â ô.ð öó
- วตั ถปุ ระสงค ๖๓
- บทนาํ ๖๓
- Thailand ๔.๐ หรอื ประเทศไทย ๔.๐ ๖๔
- บทสรปุ ๖๘

ºÃóҹ¡Ø ÃÁ öù
ÀÒ¤¼¹Ç¡ ÷ð



º··Õè ñ

¡ÒÃàÁ×ͧ àÈÃÉ°¡¨Ô áÅÐÊѧ¤Áä·Â

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤

๑. เพื่อใหผูเรียนรูและเขาใจประวัติ วิวัฒนาการการเมืองไทยหลังการเปลี่ยนแปลง
การปกครอง

๒. เพอ่ื ใหผ ูเรยี นรวู วิ ัฒนาการระบบเศรษฐกจิ ไทย วิวัฒนาการสงั คมไทย
๓. เพอ่ื ใหผ ูเรียนรูถ ึงสังคมไทยสมยั ใหมก บั สงั คมไทยในยคุ โลกาภิวตั น

ʋǹนาํ

ภายหลงั การปฏริ ปู การปกครองและการปฏริ ปู การศกึ ษาในรชั กาลที่ ๕ พระองคไ ดม กี ระแส
ความคดิ ทจ่ี ะใหป ระเทศไทยมกี ารเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย มาเปน
ระบอบการปกครองทม่ี รี ฐั ธรรมนญู เปน กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศ โดยมรี ฐั สภาเปน สถาบนั หลกั
ท่ีจะใหประชาชนมีสวนรวมในการปกครองมากข้ึนเปนลําดับ จนกระท่ังไดมีคณะนายทหารชุดกบฏ
ร.ศ.๑๓๐ ซึ่งมคี วามคดิ ทีจ่ ะปฏบิ ัติการใหบรรลคุ วามมุง หมายดังกลา ว แตไมทนั ลงมอื กระทําการกถ็ กู
จบั ไดเสียกอนเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๔ ในตนรัชกาลท่ี ๖

อยา งไรกต็ าม เสยี งเรยี กรอ งใหม กี ารเปลย่ี นแปลงการปกครองกย็ งั คงมอี อกมาเปน ระยะๆ
นอกจากการปรับตัวของรัฐบาลทางดานการเมืองการปกครองใหทันสมัยยิ่งกวาเดิมแตเพียงเทานั้น
แตก็ยังไมไดมีการประกาศใชรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแตประการใด
จนกระทัง่ ในสมัยรชั กาลท่ี ๗ ไดมคี ณะผกู อการรายภายใตก ารนําของ พ.อ.พระยาพหลพลพยุหเสนา
ซง่ึ ไดก อ การเปลยี่ นแปลงการปกครองเปน ผลสาํ เรจ็ ใน พ.ศ.๒๔๗๕ ดงั นน้ั การเปลยี่ นแปลงการปกครอง
ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ จึงเปน การเปลีย่ นแปลงทางการเมืองทสี่ ําคญั ของประวตั ศิ าสตรชาตไิ ทย

ÇÇÔ ²Ñ ¹Ò¡ÒáÒÃàÁÍ× §ä·ÂËÅ§Ñ ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§¡Òû¡¤Ãͧ

การศึกษาการเมืองการปกครองไทยหากจะแบงยุคสมัยใหเหมาะสมแกการศึกษาแลว
จะแบง ออกไดเปน ๓ ยคุ สมยั ดวยกัน คอื สมยั สุโขทัย ระหวาง พ.ศ. ๑๗๘๑ – ๑๙๒๑ สมยั อยุธยา
พ.ศ. ๑๘๙๓ – ๒๓๑๐ และสมยั รตั นโกสนิ ทร พ.ศ. ๒๓๒๕ – ๒๔๗๕ สว นหลงั จาก พ.ศ. ๒๔๗๕ จนถงึ
ปจจุบัน ซ่ึงจะพูดถึงตอไปในบทเรียนจะถือไดวาเปนการเมืองสมัยใหมของไทยเพราะไดมีการลมลาง
ระบบการปกครองเดมิ ทไ่ี ดม มี านาน เรยี กวา สมบรู ณาญาสทิ ธริ าชย เปน ระบอบการปกครองทมี่ กี ษตั รยิ 
เปนผูปกครองและมีสิทธ์ิขาดในการบริหารประเทศ ในระบอบการปกครองน้ี กษัตริยก็คือกฎหมาย
กลา วคอื ทม่ี าของกฎหมายทง้ั ปวงอยทู ก่ี ษตั รยิ  คาํ สง่ั ความตอ งการตา ง ๆ ลว นมผี ลเปน กฎหมาย กษตั รยิ 
มอี าํ นาจในการปกครองแผน ดนิ และพลเมอื งโดยอสิ ระ โดยไมม กี ฎหมายหรอื องคก รตามกฎหมายใด ๆ



จะหา มปรามได แมอ งคก รทางศาสนาอาจทดั ทานอาํ นาจกษตั รยิ ไ ด ในระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าชยน นั้
ไมมีรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายใด ๆ ที่จะอยูเหนือกวาคําชี้ขาดของกษัตริย ตามทฤษฎีพลเมืองนั้น
ระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชยม อบความไวว างใจทงั้ หมดใหกบั พระเจา แผนดิน

โดยบทเรียนน้ีจะใหบรรยายถึงวิกฤตการณการเมืองคร้ังสําคัญเทานั้น มิไดจะลง
รายละเอียดครอบคลุมถึงการเมืองต้ังแตอดีตจนถึงปจจุบนั

¡Òû¯ÇÔ μÑ Ô òô Á¶Ô عÒ¹ òô÷õ

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงปฏิรูปประเทศใหทันสมัยในหลายดาน
แตการปฏิรูปรัฐธรรมนูญกลับเปนไปอยางเช่ืองชาซ่ึงสรางความไมพอใจในหมูพวกหัวกาวหนา
และพวกหัวรนุ แรง

ในป พ.ศ. ๒๔๕๔ ไดเ กดิ กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ซง่ึ ดาํ เนนิ การโดยคณะนายทหารหนมุ เปา หมาย
ของคณะคอื เปล่ียนแปลงรูปแบบการปกครองและลม ลา งระบอบเกา และแทนที่ดว ยระบบรัฐธรรมนญู
ตะวนั ตกทท่ี นั สมัย และอาจตอ งการยกพระบรมวงศานุวงศพระองคอ่นื เปน พระมหากษัตรยิ แ ทนดวย
อาจกลาวไดวากบฏ ร.ศ. ๑๓๐ เปนแรงขับดันใหคณะราษฎรปฏิวัติ โดยภายหลังยึดอํานาจแลว
พระยาพหลพลพยุหเสนาไดเชิญผูนําการกบฏ ร.ศ. ๑๓๐ ไปพบและกลาวกับขุนทวยหาญพิทักษ
(เหล็ง ศรีจันทร) วา “ถาไมมีคณะคุณ ก็เห็นจะไมมีคณะผม” และหลวงประดิษฐมนูธรรมก็ไดกลาว
ในโอกาสเดียวกันวา “พวกผมถือวาการปฏิวัติครั้งนี้เปนการกระทําตอเน่ืองจากการกระทํา
เมอื่ ร.ศ. ๑๓๐” การปฏวิ ตั ดิ งั กลา วลม เหลวและผกู อ การถกู จาํ คกุ นบั แตน น้ั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา
เจาอยูหัวทรงเลิกความพยายามสวนใหญในการปฏิรูปรัฐธรรมนูญ และทรงปกครองประเทศตอไป
ภายใตระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมีขอยกเวนบางที่โปรดฯ แตงตั้งสามัญชนบางคนสู
สภาองคมนตรีและรัฐบาล

ตอมา สมเด็จพระเจานองยาเธอเจาฟา ฯ กรมหลวงสุโขทยั ธรรมราชา ทรงสบื ราชสมบตั ิ
สบื ตอจากพระเชษฐา เปน พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหวั หลังพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา
เจาอยูหัวเสด็จสวรรคต พระองคทรงสืบชวงปกครองประเทศในวิกฤตการณ พระเชษฐาของพระองค
ทรงไดทําใหสถานะของประเทศเกือบจะลมละลาย เพราะทรงมักจะใชเงินจากกองคลังมาปกปด
การขาดดลุ ของทอ งพระคลงั ขา งที่ และขอ เทจ็ จรงิ ยงั มวี า รฐั และประชาชนถกู บงั คบั ใหจ า ยเงนิ แกพ ระบรม
วงศานวุ งศห ลายพระองค ซงึ่ มวี ถิ ชี วี ติ อนั หรหู ราฟมุ เฟอ ย พระองคท รงรบี จดั ตงั้ อภริ ฐั มนตรสี ภาขน้ึ เปน
องคก รหลกั ในการปกครองรฐั เพอื่ พยายามแกไ ขปญ หาทป่ี ระเทศกาํ ลงั เผชญิ อยู สภานนั้ ประกอบดว ย
เจานายอาวุโสมีประสบการณซึ่งเคยดํารงตําแหนงรัฐมนตรีในรัฐบาลกอนมาแลว เจานายเหลานั้น
เรง เปลย่ี นตวั สามญั ชนทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั ในขา ราชการพลเรอื นและทหารแลว
แทนท่ีดวยคนของพวกตน สภาถูกครอบงําโดย สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธุ
กรมพระนครสวรรคว รพนิ ิต เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย ผูท รงไดร ับการศึกษาจากเยอรมนี และเปน



พระเชษฐารวมสมเด็จพระบรมชนกนาถของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว พระองคยังเปน
รชั ทายาทดว ย ตามกฎหมายการสบื ราชสนั ตติวงศอ ันซบั ซอ นของราชวงศจักรี กลายเปน วาพระบาท
สมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู วั เปน พระมหากษตั รยิ ผ เู หน็ อกเหน็ ใจ ทรงตดั รายจา ยในพระราชวงั และเสดจ็
พระราชดาํ เนินทัว่ ประเทศอยางกวา งขวาง และเม่อื เสด็จกลับมายงั พระนคร พระองคท รงทําใหเปน ที่
ยอมรับ และโดดเดนแกหมูชนช้ันสูง และชนช้ันกลางในกรุงเทพมหานคร ซึ่งเติบโตขึ้นกวาแตกอน
โดยทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ สาธารณะหลายอยา ง จนถงึ เวลานี้ นกั เรยี นหลายคนทถี่ กู สง ไปศกึ ษา
ตางประเทศเม่ือหลายทศวรรษกอนเริ่มเดินทางกลับประเทศแลว แตนักเรียนเหลาน้ีกลับขาดโอกาส
การยดึ มั่นของเจา นายและความลา หลังเปรียบเทยี บของประเทศ สวนมากจงึ หูตาสวา งกับสถานะเดมิ

เมื่อถึง พ.ศ. ๒๔๗๓ สถานการณโลกหนักหนาเกินกวาประเทศจะรับได เมื่อตลาดหุน
วอลลส ตรถี ลม และความลม สลายทางเศรษฐกจิ มาถงึ สยามในทส่ี ดุ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจา อยหู วั
ทรงเสนอใหจัดเก็บภาษีรายไดทั่วไป และภาษีอสังหาริมทรัพย เพื่อชวยบรรเทาความเดือดรอนของ
คนยากจน แตน โยบายดงั กลา ว ถกู สภาปฏเิ สธอยา งรนุ แรง ซงึ่ สภาเกรงวา ทรพั ยส นิ ของพวกตนจะลดลง
สภาหันไปลดคาตอบแทนของขาราชการพลเรือน และลดงบประมาณทางทหารแทน ทําใหอภิชน
ผูไดรับการศึกษาในประเทศสวนใหญโกรธ โดยเฉพาะอยางย่ิงเหลานายทหาร และในป ๒๔๗๔
พระวรวงศเ ธอ พระองคเ จา บวรเดช เสนาบดกี ระทรวงกลาโหม ลาออก พระองคเ จา บวรเดชมใิ ชส มาชกิ
อภิรัฐมนตรีสภา และสงสัยวาความไมลงรอยกับสภาเร่ืองการตัดงบประมาณนําไปสูการลาออกน้ี
พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ผูทรงยอมรับวาพระองคทรงขาดความรูการคลังอยางเปดเผย
พยายามตอสูกับเจา นายที่อาวุโสกวา ในเรอื่ งนี้ แตก็สาํ เรจ็ เพยี งเล็กนอย

ขณะเดียวกัน พระองคทรงทุมความพยายามรางรัฐธรรมนูญ อันจะนําประชาธิปไตยสู
สยามเปน ครง้ั แรก ดว ยความชว ยเหลอื จากเจา นายอกี สองพระองค และทป่ี รกึ ษานโยบายตา งประเทศ
ชาวอเมริกัน เรยมอนด บารทเล็ตต สตีเฟนส แมจะไดรับการกราบทูลทัดทานวาประชาชนสยาม
ยงั ไมพ รอ ม แตพ ระองคย งั ทรงมงุ มนั่ ทจี่ ะมอบรฐั ธรรมนญู แกป วงชนกอ นงานเฉลมิ ฉลองครบรอบ ๑๕๐ ป
ราชวงศจักรีในป ๒๔๗๕ ทวา เอกสารดังกลาวไดถูกเจานายในอภิรัฐมนตรีสภาปฏิเสธอยางส้ินเชิง
แตม มี ุมมองอีกฝา ยหนงึ่ วา พระองคท รงมพี ระราชกระแสรับสงั่ ทส่ี ่ือวา พระองคไ มโ ปรดประชาธิปไตย
คือ “ประเทศน้ีพรอมแลวหรือยังที่จะมีการปกครองแบบมีผูแทน... ตามความเห็นสวนตัวของ
ขาพเจา แลว ขาพเจาขอย้ําวาไม”

เมอื่ สนิ้ เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยหู วั เสด็จออกจาก
กรงุ เทพมหานครในชว งเสดจ็ แปรพระราชฐานฤดรู อ น โดยทรงมอบหมายใหส มเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ
เจา ฟา บรพิ ตั รสขุ มุ พนั ธุ กรมพระนครสวรรคว รพนิ ติ เปน ผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค โดยพระองคเ สดจ็
ไปประทับยงั วงั ไกลกังวล ท่หี วั หนิ จังหวดั ประจวบคีรีขันธ



¼Å¡ÒÃà»ÅÂèÕ ¹á»Å§¡Òû¡¤Ãͧ ÁÊÕ ÒÃÐสํา¤ÞÑ ´§Ñ ¹Õé

๑. ยกเลิกการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย เปลี่ยนมาเปนการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ เปน ประมขุ

๒. มีกฎหมายรฐั ธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสดุ และเปนหลักในการปกครองประเทศ
๓. พระมหากษตั รยิ ท รงมพี ระราชฐานะและพระราชอาํ นาจตามทร่ี ฐั ธรรมนญู บญั ญตั ไิ ว
โดยพระองคทรงเปนผใู ชอาํ นาจอธิปไตยโดยทางออม ๓ ทาง คอื

๑) อํานาจนิตบิ ัญญัติ ผานทางรัฐสภา
๒) อํานาจบรหิ าร ผานทางคณะรฐั มนตรี
๓) อํานาจตุลาการ ผา นทางศาลยุตธิ รรม
๔. มีการจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน ดิน ออกเปน ๓ สว น คือ
๑) สว นกลาง ไดแก กระทรวง ทบวง กรม
๒) สว นภูมภิ าค ไดแก จงั หวดั อําเภอ ตําบล หมบู าน
๓) สว นทอ งถน่ิ ไดแ ก เทศบาล องคก ารบรหิ ารสว นตาํ บล องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั
เมืองพัทยา และกรุงเทพมหานคร
เปน ทส่ี งั เกตไดว า การเปลย่ี นแปลงการปกครองของไทยเปน ไปอยา งสงบไมร นุ แรงเหมอื น
หลายๆ ประเทศ เน่ืองจากพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยูหัว ยอมเหน็ ตามคณะราษฎรแตโ ดยดี
เพ่ือหลีกเลี่ยงความรุนแรง แตอยางไรก็ตามลักษณะการเมืองการปกครอง มิไดเปนประชาธิปไตย
โดยสมบรู ณ อาํ นาจบางสว นตกอยกู บั ผนู าํ ทางการเมอื ง หรอื ผบู รหิ ารประเทศ มกี ารขดั แยง กนั ในดา น
นโยบาย มกี ารแยง ชงิ ผลประโยชน เปน เหตใุ หเ กดิ การปฏวิ ตั ริ ฐั ประหารขน้ึ หลายครง้ั ระบบการปกครอง
ของไทยจงึ มลี กั ษณะกลบั ไปกลบั มาระหวา งประชาธปิ ไตยกบั คณาธปิ ไตย (การปกครองโดยคณะปฏวิ ตั )ิ
ในระยะหา ปแ รกของการปกครองระบอบรฐั ธรรมนญู ปรากฏวา มเี หตกุ ารณเ กดิ ขน้ึ หลาย
เหตุการณ อันมีผลนําไปสูความคลอนแคลนของรัฐบาล เหตุการณสําคัญประการหนึ่ง ไดแก กรณี
การนําเสนอเคาโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค เม่ือ พ.ศ.๒๔๗๖ กลาวคือ ในขณะที่มี
การยดึ อาํ นาจเปลย่ี นแปลงการปกครองนนั้ ไดม ปี ระกาศของคณะราษฎรซง่ึ ระบถุ งึ นโยบาย ๖ ประการ
นายปรีดี ไดยกรางเคาโครงการเศรษฐกิจแหงชาติข้ึนจากนโยบายขอสาม เคาโครงเศรษฐกิจนี้ไดรับ
การวพิ ากษว จิ ารณม าก วา มลี กั ษณะแนวทางแบบสงั คมนยิ ม ทาํ ใหเ กดิ การแตกแยกกนั ในรฐั บาล จนถงึ กบั
ตอ งมกี ารปด การประชมุ สภาผแู ทนราษฎร และงดใชร ฐั ธรรมนญู บางมาตรา สว นนายปรดี ี ตอ งเดนิ ทาง
ออกจากประเทศไทย อยา งไรกต็ าม คณะทหารภายใตก ารนาํ ของนายพนั เอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา
ไดทําการยึดอํานาจรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติธาดา เม่ือวันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๖
แลวตั้งตวั เองเปนรฐั บาล
วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๗๖ ไดเกิดการกบฏของกลุมนายทหาร และขาราชการ
ในตา งจงั หวดั ภายใตก ารนาํ ของพระองคเ จา บวรเดช อดตี รฐั มนตรวี า การกระทรวงกลาโหม โดยประกาศวา
ตองการใหประเทศชาติมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอยางแทจริง อยางไรก็ตาม การกบฏ



ครงั้ นกี้ ถ็ กู ปราบปรามลง เจา นายหลายพระองคต อ งเสดจ็ นริ าศไปประทบั ยงั ตา งประเทศ มหี ลายคนใน
คณะกบฏตองรับโทษจําคุก หลงั จากน้ันไมถึงสองป พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู ัวไดเสดจ็ ไป
ประทับอยูในประเทศอังกฤษ และทรงสละราชสมบัติ คณะราษฎรจึงไดถวายราชบัลลังกแดพระบาท
สมเด็จพระเจา อยูหวั อานนั ทมหิดล ในเวลาตอมา

ในเดอื นธนั วาคม พ.ศ.๒๔๘๑ พระยาพหลพลพยหุ เสนากไ็ ดล าออกจากตาํ แหนง เนอื่ งจาก
สขุ ภาพไมด ีจึงทาํ ใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดด ํารงตาํ แหนงตอมา หลังจากนั้นทหารเริม่ มีอาํ นาจ
มากขน้ึ เรื่อย ๆ ตง้ั แตเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๔๘๑ ถงึ เดือนกรกฎาคม พ.ศ.๒๔๘๗ จอมพล ป. ไดเ ปน
นายกรฐั มนตรเี ปน เวลาหา ปค รง่ึ ซงึ่ มบี ทบาทอยา งมากในการสรา งประวตั ศิ าสตรข องเมอื งไทย นโยบาย
ท่ีสาํ คัญที่สุดคือ รฐั นยิ ม ซง่ึ เปน นโยบายรกั ชาติ แสดงออกโดยการรณรงคตอตานคนจนี และนโยบาย
สงครามท่ีเปนมติ รกบั ญ่ีปุน พรอ มกับประกาศสงครามกับประเทศองั กฤษ และสหรัฐอเมรกิ า นโยบาย
ดังกลาวมีต้ังแตโครงการรวมชาติ การสรางเอกลักษณของชาติ การสรางความเปนชาตินิยมท้ังทาง
เศรษฐกิจและสังคม และความสนใจตอผลประโยชนของสาธารณะ

ขอ ผดิ พลาดอยา งใหญห ลวง และทาํ ใหต อ งเสยี ฐานอาํ นาจไปอยา งมาก กค็ อื นโยบายของ
จอมพล ป. ทตี่ ัดสินใจรว มเปนพนั ธมิตรกบั ญป่ี นุ สมยั สงครามโลกครง้ั ท่ีสอง และประกาศสงครามกบั
สหรฐั อเมรกิ า และองั กฤษนน้ั เกดิ จากเหตผุ ลหลายประการ ทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ คอื ความกดดนั จากสถานการณ
และอาจจะมาจากการคาดการณผ ดิ คดิ วา ญปี่ นุ จะชนะสงคราม ดงั นนั้ การเขา รว มกบั ญป่ี นุ กเ็ หมอื นกบั
การเขา รว มกบั ผชู นะ ซง่ึ ประเทศไทยอาจไดผ ลประโยชนร ว มกบั ผชู นะ แตว า การตดั สนิ ใจของจอมพล ป.
กลายเปนส่ิงทผี่ ดิ ทนี่ าํ พาจอมพล ป. ไปสูการสนิ้ สุดอาํ นาจหลงั จากสงครามโลกสิน้ สุดลง

ปจ จยั สองขอ ทที่ าํ ใหผ นู าํ ไทยสามารถจดั การกบั สถานการณเ พอื่ หลดุ พน จากวกิ ฤตการณ
ครง้ั นี้ ปจ จัยสองประการนคี้ อื

(๑) ม.ร.ว.เสนีย ปราโมช ซ่ึงเปนเอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงวอชิงตันปฏิเสธท่ีจะสง
สาสนประกาศสงครามใหก บั รัฐบาลสหรัฐอเมรกิ า

(๒) ไดมีการจัดตั้งขบวนการเสรีไทยซ่ึงประกอบดวยคนไทยท่ีอยูท้ังในประเทศ
และตางประเทศ โดยมีเปา หมายเพอื่ การกเู อกราชของชาติ

ÃÑ°»ÃÐËÒà ñö ¡Ñ¹ÂÒ¹ ¾.È. òõðð

ชว งปลายของยุคจอมพล ป. พิบูลสงคราม คอื ชว งหลงั ๒๔๙๐-๒๕๐๐ เปน เวลา ๑๐ ป
มีการเปลย่ี นแปลงคอ นขา งมาก การเมอื งไทยกแ็ ตกเปน ๓ กลมุ สาํ คัญๆ ท่ีเรยี กวา การเมอื งสามเสา
คอื กลมุ ของจอมพล ป. พล.ต.อ.เผา ศรยี านนท และจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ซง่ึ การตอสูทางการเมอื ง
ในชว ง ๒-๓ ปหลังคอ นขา งเขมขน มาก

เน่ืองจากมีกระแสตอตานอํานาจของจอมพล ป. จากหลายฝาย รัฐบาลจอมพล ป.
คอนขางมีปญหาในการบริหารกับวุฒิสภา ซ่ึงเปนวุฒิสภาท่ีมาจากการแตงต้ังโดยอํานาจของสถาบัน



พระมหากษัตริย ซ่ึงบรรดาวุฒิสภาสวนใหญจะเปนขุนนางเกา เจานาย คุณพระ พระยา ที่หัวเกา
ดังน้ัน จึงมีความคิดในการบริหารที่ไมคอยจะตรงกัน ประกอบกับความไมโปรงใสในการบริหาร
บานเมือง จึงนําไปสูรัฐประหารในวันที่ ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐ จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต เปนหัวหนา
คณะนายทหารนํากําลังเขายึดอํานาจของรัฐบาลซึ่งมีจอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรี
ภายหลงั จากเกดิ การเลอื กตงั้ สกปรก และรฐั บาลไดร บั การคดั คา นจากประชาชนอยา งหนกั จอมพล ป.
พิบลู สงคราม และพลตํารวจเอกเผา ศรยี านนท ตองหลบหนอี อกไปนอกประเทศ จงึ ถอื วา รัฐประหาร
คร้ังน้ีเปนการโคนลมรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ท่ีมาจากการเลือกตั้งลงน้ี ถือเปนการสิ้นสุด
นายกรัฐมนตรีเปนเชอื้ สายคณะราษฎรอยางเดด็ ขาด

หลังจากรัฐประหาร ๑๖ กันยายน ๒๕๐๐ เพยี งแค ๑ ปก ม็ รี ฐั ประหารเกดิ ขนึ้ อกี ครัง้ หน่ึง
ในวันท่ี ๒๐ เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ สงผลใหรฐั ธรรมนูญของป ๒๔๙๕ จึงถูกยกเลิก เปนการยุติ
รัฐบาลแบบประชาธิปไตย หลังจากน้ันประเทศไทยไดถูกปกครองโดยเผด็จการแบบพอขุนภายใต
จอมพลสฤษดแ์ิ ละผสู บื ทอดคอื จอมพลถนอม กติ ตขิ จร และจอมพลประภาส จารเุ สถยี ร ระบบเผดจ็ การ
แบบพอขุนอยูไดเปนเวลา ๑๕ ป โดยมีประชาธิปไตยครึ่งใบแทรกเขามาเล็กนอย กอนท่ีจะถูกลม
โดยการลุกฮือซ่ึงนําโดยนักศึกษาเม่ือวันที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๑๖ และเหตุการณนั้นเรียกวา
“การปฏวิ ัติเดือนตลุ าคม”

ÇѹÁËÒÇ»Ô â¤ ËÃ×Í àËμØ¡Òó ñô μÅØ Ò¤Á òõñö

เหตุการณเริ่มมาจากการที่จอมพล ถนอม กิตติขจร รัฐประหารตัวเอง ในวันที่ ๑๗
พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๔ ซ่ึงนักศึกษาและประชาชนมองวา เปนการสืบทอดอํานาจตนเองจาก
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรชั ต นอกจากน้ี จอมพลถนอม จะตอ งเกษยี ณอายรุ าชการเนอื่ งจากอายคุ รบ ๖๐ ป
แตกลับตออายุราชการตนเองในตําแหนงผูบัญชาการทหารสูงสุดออกไป ทั้งพลเอก ประภาส
จารเุ สถียร บุคคลสําคญั ในรัฐบาล ทีม่ ไิ ดร บั การยอมรบั เหมอื นจอมพลถนอม กลบั จะไดรับยศจอมพล
และตาํ แหนง ผูบ ัญชาการทหารบก ประกอบกบั ขา วคราวเรื่องทุจรติ ในวงราชการ สรางความไมพ อใจ
ในหมูประชาชนอยางมาก

เหตุการณ ๑๔ ตลุ า หรือ วนั มหาวปิ โยค เปนเหตุการณการกอการกําเรบิ โดยประชาชน
ครงั้ สาํ คญั ในประวตั ศิ าสตรก ารเมอื งไทย เปน เหตกุ ารณท ม่ี นี กั ศกึ ษาและประชาชนมากกวา ๕ แสนคน
ชุมนมุ เพอ่ื เรยี กรอ งรัฐธรรมนญู จากรัฐบาลเผด็จการจอมพลถนอม กติ ตขิ จร นาํ ไปสูค ําส่ังของรัฐบาล
ใหใชกาํ ลงั ทหารเขา ปราบปราม ระหวา งวันท่ี ๑๔ ถึง ๑๕ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๖ จนมีผูเสียชีวิตกวา
๗๗ ราย บาดเจบ็ ๘๕๗ ราย และสูญหายอีกจํานวนมาก

เหตุการณคร้ังน้ีไดเกิดข้ึนดวยสาเหตุท่ีสะสมกอนหนาน้ีหลายประการท้ัง ขาวการทุจริต
ในรัฐบาล การพบซากสตั วปาจากอทุ ยานในเฮลคิ อปเตอรท หาร แสดงใหเหน็ ถึงการทจุ ริตของจอมพล
ถนอม กติ ตขิ จร ตอจาก จอมพลสฤษด์ิ ธนะรัชต ซ่ึงเปน ชวงเวลาที่รัฐบาลทหารเขา ปกครองประเทศ



นานเกอื บ ๑๕ ป และรวมถงึ การรฐั ประหารตวั เอง พ.ศ. ๒๕๑๔ ซง่ึ เปนชนวนเหตุทท่ี ําใหป ระชาชน
เบอ่ื หนา ยการปกครองในระบอบเผดจ็ การทหาร และตอ งการเรยี กรอ งรฐั ธรรมนญู ทเ่ี ปน ประชาธปิ ไตยขน้ึ

การประทวงเร่ิมขึ้นอยางเดนชัดเมื่อมีการตีพิมพ “บันทึกลับจากทุงใหญ” ออกเผยแพร
ทําใหเกิดความสนใจในหมูประชาชน สูการเดินแจกใบปลิวเรียกรองรัฐธรรมนูญของนิสิตนักศึกษาใน
สถานทต่ี า งๆ ในกรงุ เทพฯ จนถกู ทหารควบคมุ ตวั ภายหลงั เปน ทรี่ จู กั กนั ในฐานะ “๑๓ ขบถรฐั ธรรมนญู ”
ทาํ ใหเ กดิ ความไมพ อใจครง้ั ใหญแ กม วลนกั ศกึ ษา และประชาชนเปน อยา งมาก เกดิ การประทว งเรม่ิ ตน
ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร สูการเดินประทวงในถนนราชดําเนิน โดยมีประชาชนทยอยเขารวม
จาํ นวนมาก ทาํ ใหร ฐั บาลไดท าํ การสลายการชมุ นมุ จนมผี เู สยี ชวี ติ และบาดเจบ็ เปน จาํ นวนมาก จนเมอื่
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ไดมี
พระราชดาํ รสั ทางโทรทศั นร วมการเฉพาะกจิ แหง ประเทศไทยตอ เหตกุ ารณค รงั้ น้ี ในเวลาตอ มาจอมพล
ถนอม กิตติขจร ก็ไดประกาศลาออก และไดเดินทางออกตางประเทศรวมถึง พ.อ.ณรงค กิตติขจร
และจอมพลประภาส จารุเสถียร กลมุ บคุ คลท่ีประชาชนในสมยั นน้ั เรยี กวา “๓ ทรราช”

เหตุการณ ๑๔ ตุลา เปนการลุกฮือของประชาชนคร้ังแรกที่เรียกรองประชาธิปไตยไทย
สําเร็จและยังถือเปนการรวมตัวของประชาชนมากท่ีสุดคร้ังหน่ึงในประวัติศาสตรไทย จนกลายเปน
แรงบนั ดาลใจใหแ กภาคประชาชนในประเทศอน่ื ๆ ทําตามในเวลาตอมา เชน ที่เกาหลใี ตใ นเหตุการณ
จลาจลทเี่ มอื งกวางจู เปน ตน

àËμØ¡Òó¾ ÄÉÀÒ·ÁÔÌ

เหตุการณคร้ังน้ี เร่ิมตน มาจากเหตุการณรฐั ประหาร ๒๓ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๓๔ หรอื
๑ ปก อ นหนา การประทว ง ซง่ึ รสช. ไดย ดึ อาํ นาจจากรฐั บาล ซง่ึ มพี ลเอก ชาตชิ าย ชณุ หะวณั เปน นายก
รฐั มนตรี โดยใหเ หตผุ ลหลกั วา มกี ารฉอ ราษฎรบ งั หลวงอยา งหนกั ในรฐั บาล และรฐั บาลพยายามทาํ ลาย
สถาบนั ทหาร โดยหลงั จากยดึ อํานาจ คณะ รสช. ไดเลือก นายอานนั ท ปนยารชุน เปนนายกรฐั มนตรี
รกั ษาการ มกี ารแตง ตง้ั สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง ชาตขิ นึ้ รวมทง้ั การแตง ตงั้ คณะกรรมการรา งรฐั ธรรมนญู ๒๐ คน
เพอ่ื รา งรฐั ธรรมนญู ใหม

หลังจากรางรัฐธรรมนูญสําเร็จ ก็ไดมีการจัดการเลือกตั้งท่ัวไปเม่ือวันท่ี ๒๒ มีนาคม
พ.ศ. ๒๕๓๕ โดยพรรคทไ่ี ดจ าํ นวนผแู ทนมากทส่ี ดุ คอื พรรคสามคั คธี รรม (๗๙ คน) ไดเ ปน แกนนาํ จดั ตงั้
รัฐบาล โดยมีการรวมตัวกับพรรครวมรัฐบาลอ่ืน ๆ คือ พรรคชาติไทย พรรคกิจสังคม และพรรค
ราษฎร และมกี ารเตรยี มเสนอนายณรงค วงศว รรณ หวั หนา พรรคสามคั คธี รรมในฐานะหวั หนา พรรคทมี่ ี
ผแู ทนมากทส่ี ดุ ขนึ้ เปน นายกรฐั มนตรี แตป รากฏวา ทางโฆษกกระทรวงการตา งประเทศสหรฐั อเมรกิ า
นางมารกาเร็ต แท็ตไวเลอร ไดออกมาประกาศวา นายณรงค น้ันเปนผูหน่ึงที่ไมสามารถขอวีซา
เดินทางเขาสหรฐั ฯ ได เนื่องจากมคี วามใกลชดิ กบั นกั คายาเสพติด



ในท่สี ดุ จงึ มกี ารเสนอช่ือ พลเอก สจุ ินดา คราประยรู ข้ึนเปน นายกรัฐมนตรแี ทน ซึง่ เมื่อ
ไดร บั พระราชทานแตง ตง้ั อยา งเปน ทางการแลว กเ็ กดิ ความไมพ อใจของประชาชนในวงกวา ง เนอ่ื งจาก
กอนหนานี้ ในระหวางท่ีมีการทักทวงโตแยงเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญท่ีรางขึ้นมาใหมวา ไมมีความเปน
ประชาธิปไตย ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับน้ีก็ไดถูกประกาศใช พลเอก สุจินดา คราประยูร ไดใหสัมภาษณ
หลายครงั้ วา ตนและสมาชกิ ในคณะรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยแหง ชาตจิ ะไมร บั ตาํ แหนง ทางการเมอื งใด ๆ
แตภ ายหลงั ไดม ารบั ตาํ แหนง รฐั มนตรี ซง่ึ ไมต รงกบั ทเี่ คยพดู ไว เหตกุ ารณน จ้ี งึ ไดเ ปน ทมี่ าของประโยคทว่ี า
“เสยี สตั ยเ พอื่ ชาต”ิ และเปน หนง่ึ ในชนวนใหฝ า ยทค่ี ดั คา นรฐั ธรรมนญู ฉบบั นที้ าํ การเคลอ่ื นไหวอกี ดว ย

เหตุการณคร้ังน้ีนําไปสูการตอตานของประชาชนอีกครั้ง นําไปสูการเคล่ือนไหวคัดคาน
ตา ง ๆ ของประชาชน รวมถงึ การอดอาหารของ ร.ต.ฉลาด วรฉตั ร และ พล.ต.จาํ ลอง ศรเี มอื ง (หวั หนา
พรรคพลงั ธรรมในขณะนนั้ ) สหพนั ธน สิ ติ นกั ศกึ ษาแหง ประเทศไทย ทม่ี นี ายปรญิ ญา เทวานฤมติ รกลุ เปน
เลขาธกิ าร ตามมาดว ยการสนบั สนนุ ของพรรคฝา ยคา นประกอบดว ยพรรคประชาธปิ ต ย พรรคเอกภาพ
พรรคความหวงั ใหม และพรรคพลงั ธรรม โดยมขี อ เรยี กรอ งใหน ายกรฐั มนตรลี าออกจากตาํ แหนง และ
เสนอวา ผดู าํ รงตาํ แหนง นายกรฐั มนตรตี อ งมาจากการเลอื กตงั้ หลงั การชมุ นมุ ยดื เยอ้ื ตงั้ แตเ ดอื นเมษายน
เมอื่ เขา เดอื นพฤษภาคมรฐั บาลเรมิ่ ระดมทหารเขา มารกั ษาการในกรงุ เทพมหานคร และเรมิ่ มกี ารเผชญิ
หนากันระหวางผูชุมนุมกับเจาหนาท่ีตํารวจและทหารในบริเวณราชดําเนินกลาง ทําใหสถานการณ
ตึงเครียดมากขึ้นเร่ือย ๆ มีการเคล่ือนขบวนประชาชนจากสนามหลวงไปยังถนนราชดําเนินกลาง
เพื่อไปยังหนาทําเนียบรัฐบาล ตํารวจและทหารไดสกัดการเคลื่อนขบวนของประชาชน เร่ิมเกิดการ
ปะทะกนั ระหวา งประชาชนกบั เจา หนา ทต่ี าํ รวจในบางจดุ และมกี ารบกุ เผาสถานตี าํ รวจนครบาลนางเลง้ิ
จากนนั้ รฐั บาลไดป ระกาศสถานการณฉ กุ เฉนิ ในกรงุ เทพมหานคร และใหท หารทาํ หนา ทร่ี กั ษาความสงบ
แตไดนําไปสูการปะทะกันกับประชาชน มีการใชกระสุนจริงยิงใสผูชุมนุมในบริเวณถนนราชดําเนิน
จากนั้นจึงเขาสลายการชุมนุมในเชามดื วันเดยี วกนั นนั้ ตามหลกั ฐานทปี่ รากฏมผี เู สยี ชีวิตหลายสิบคน

กอนเที่ยงวันท่ี ๑๘ พฤษภาคม ทหารไดค วบคุมตัว พล.ต.จําลอง ศรีเมอื ง จากบริเวณที่
ชมุ นมุ กลางถนนราชดาํ เนนิ กลาง และรฐั บาลไดอ อกแถลงการณห ลายฉบบั และรายงานขา วทางโทรทศั น
ของรัฐบาลทุกชอ ง ยืนยนั วาไมมกี ารเสยี ชวี ติ ของประชาชน แตการชมุ นุมตอ ตา นของประชาชนยงั ไม
สน้ิ สดุ เรม่ิ มปี ระชาชนออกมาชมุ นมุ อยา งตอ เนอ่ื งในหลายพน้ื ทท่ี ว่ั กรงุ เทพฯ โดยเฉพาะทม่ี หาวทิ ยาลยั
รามคาํ แหง พรอ มมกี ารตง้ั แนวปอ งกนั การปราบปรามตามถนนสายตา ง ๆ และยงั ปรากฏขา วรายงาน
การปะทะกันระหวางเจาหนาท่ีกับประชาชนในหลายจุด และเริ่มเกิดการปะทะกันรุนแรงมากข้ึน
เจาหนาที่เริ่มเขาควบคุมพ้ืนที่บริเวณถนนราชดําเนินกลางได และควบคุมตัวประชาชนจํานวนมาก
ขนึ้ รถบรรทกุ ทหารไปควบคมุ ไว พล.อ.สจุ นิ ดา คราประยรู นายกรฐั มนตรี แถลงการณย า้ํ วา สถานการณ
เริม่ กลับสคู วามสงบ และไมใ หป ระชาชนเขารวมชุมนมุ อีก แตยงั ปรากฏการรวมตัวของประชาชนใหม
ที่มหาวิทยาลัยรามคําแหงในคนื วันเดยี วกัน และมกี ารเร่มิ กอ ความไมส งบเพ่อื ตอตานรัฐบาลโดยกลมุ
จักรยานยนตหลายพ้ืนที่ในกรุงเทพมหานคร เชน การทุบทําลายปอมจราจรและสัญญาณไฟจราจร



วนั เดยี วกนั นนั้ เรมิ่ มกี ารออกแถลงการณเ รยี กรอ งใหน ายกรฐั มนตรลี าออกจากตาํ แหนง เพอ่ื รบั ผดิ ชอบ
ตอ การเสยี ชวี ติ ของประชาชน ขณะทสี่ อ่ื ของรฐั บาลยงั คงรายงานวา ไมม กี ารสญู เสยี ชวี ติ ของประชาชน
แตส าํ นกั ขา วตา งประเทศไดร ายงานภาพของการสลายการชมุ นมุ และการทาํ รา ยผชู มุ นมุ หนงั สอื พมิ พ
ในประเทศไทยบางฉบับเร่ิมตีพิมพภาพการสลายการชุมนุม ขณะท่ีรัฐบาลไดประกาศใหมีการตรวจ
และควบคุมการเผยแพรขาวสารทางส่ือมวลชนเอกชนในประเทศซ่ึงการชุมนุมในคร้ังน้ี ดวยผูชุมนุม
สวนใหญเปนชนชั้นกลางในเขตตัวเมือง เปนนักธุรกิจหรือบุคคลวัยทํางาน ซ่ึงแตกตางจากเหตุการณ
๑๔ ตุลา ในอดีต ซ่ึงผูชุมนุมสวนใหญเปนนิสิต นักศึกษา ประกอบกับเทคโนโลยีโทรศัพทมือถือ
ทเ่ี พิ่งเขามาในประเทศไทย และใชเปน เคร่ืองมือสาํ คัญในการติดตอสอื่ สารในคร้ังนี้

เหตกุ ารณพฤษภาทมฬิ น้ีจึงไดช อื่ เรียกอกี ชื่อหน่งึ วา “มอ็ บมือถือ” เหตกุ ารณค รัง้ นีส้ น้ิ สดุ
ลงไดดวยพระราชดํารัสของพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ซึ่งหลังจากน้ันประมาณ ๑ สัปดาห
พลเอก สุจนิ ดา คราประยรู จึงกราบถวายบังคมลาออกจากตาํ แหนงนายกรฐั มนตรี
พระราชดํารัสมขี อ ความวา
“... ฉะน้ัน กข็ อใหท าน โดยเฉพาะสองทา น พลเอก สุจนิ ดา และพลตรี จําลอง ชวยกันคดิ คอื หนั หนา
เขาหากัน ไมใชเผชิญหนากัน เพราะวาเปนประเทศของเรา ไมใชประเทศของหนึ่งคน สองคน เปน
ประเทศของทุกคน ตองเขา หากนั ไมเผชิญหนากนั แกป ญ หา เพราะวา อันตรายมอี ยูเ วลาคนเราเกดิ
ความบา เลือด ปฏิบัติการรุนแรงตอกัน มันลืมตวั ลงทายกไ็ มร วู า ตกี นั เพราะอะไร แลว ก็จะแกป ญ หา
อะไร เพียงแตว า จะตอ งเอาชนะ แลว ก็ใครจะชนะ ไมม ีทางชนะ อันตรายท้ังนน้ั มีแตแพ คอื ตางคน
ตางแพ ผทู ี่เผชิญหนาก็แพ แลว ก็ที่แพท ีส่ ุดกค็ อื ประเทศชาติ ประชาชน จะเปน ประชาชนท้ังประเทศ
ไมใ ชป ระชาชนเฉพาะในกรงุ เทพมหานคร ถา สมมตวิ า กรงุ เทพมหานครเสยี หาย ประเทศกเ็ สยี หายไป
ทง้ั หมด แลว ก็จะมปี ระโยชนอะไร ที่จะทะนงตัววา ชนะเวลาอยบู นกองสิ่งปรกั หกั พงั ...”

Ã°Ñ »ÃÐËÒà òõôù

วกิ ฤตการณการเมืองไทย พ.ศ. ๒๕๔๘-๒๕๕๓ เปนความขดั แยงระหวา งกลุมการเมือง
ซงึ่ ตอ ตา น และสนบั สนนุ ทกั ษณิ ชนิ วตั ร อดตี นายกรฐั มนตรี โดยวกิ ฤตการณด งั กลา วทาํ ใหเ กดิ ขอ สงสยั
เกี่ยวกับเสรีภาพสอื่ เสถยี รภาพทางการเมืองในไทย ทั้งยังสะทอ นภาพความไมเสมอภาค และความ
แตกแยกระหวางชาวเมืองและชาวชนบท การละเมิดพระราชอํานาจ การหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
และผลประโยชนท บั ซอน ซึง่ วิกฤตการณดังกลา วไดบ นั่ ทอนเสถยี รภาพทางการเมืองตั้งแตป ๒๕๔๘

ในการดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีสมัยท่ีสองของ พ.ต.ท.ทักษิณ ไดถูกนักวิชาการ
บางกลมุ ออกมาวพิ ากษว จิ ารณว า อยภู ายใต “ระบอบทกั ษณิ ” คอื ไมใ สใ จตอ เจตนารมณป ระชาธปิ ไตย
ของเก่ียวกับผลประโยชนทางเศรษฐกิจ และการฉอราษฎรบังหลวง นอกจากนี้ยังไมสามารถควบคุม
ความรนุ แรงทเี่ กดิ ขนึ้ จนกลายเปน การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน โดยเฉพาะอยา งยง่ิ จากการกวาดลา งขบวนการ
คายาเสพติด ซ่งึ มีผูเสยี ชีวิตมากกวา ๑,๐๐๐ คน ทง้ั น้ี ประชาชนบางกลุมไดใ ชค าํ วา “ระบอบทักษณิ ”

๑๐

ในป ๒๕๔๘ เรมิ่ มกี ารขบั ไลท กั ษณิ ชนิ วตั ร จากตาํ แหนง นายกรฐั มนตรี เนอ่ื งจากขอ กลา วหา
การบริหารประเทศของรัฐบาลท่ีอาจมีผลประโยชนทับซอนในเร่ืองตาง ๆ รวมทั้งปญหาฉอราษฎร
บงั หลวง และไดข ยายตวั เปน วงกวา งย่งิ ขึ้น โดยกลมุ พนั ธมติ รประชาชนเพอื่ ประชาธปิ ไตย (พธม.) ทมี่ ี
สนธิ ล้มิ ทองกลุ เปนผนู าํ

Ã°Ñ »ÃÐËÒà òõõ÷

ในการเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรไทยเปน การทวั่ ไป พ.ศ. ๒๕๕๔ ยง่ิ ลกั ษณ ชนิ วตั ร
และพรรคเพื่อไทยชนะเลือกตั้ง และต้ังรัฐบาลใหมโดยมีย่ิงลักษณเปนนายกรัฐมนตรี มีการประทวง
ตอ ตา นการเสนอกฎหมายรา งพระราชบญั ญตั นิ ริ โทษกรรมฯ นาํ โดย สเุ ทพ เทอื กสบุ รรณ อดตี เลขาธกิ าร
พรรคประชาธิปตย เริ่มตั้งแตเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๖ ภายหลังสุเทพตั้งคณะกรรมการประชาชน
เพอ่ื การเปลย่ี นแปลงประเทศไทยใหเ ปน ประชาธปิ ไตยทสี่ มบรู ณ อนั มพี ระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ
(กปปส.) โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือต้ัง “สภาประชาชน” ท่ีไมไดมาจากการเลือกตั้งเพื่อดูแลการปฏิรูป
การเมือง กลมุ นยิ มรัฐบาล รวมท้งั แนวรว มประชาธปิ ไตยตอ ตา นเผดจ็ การแหง ชาติ (นปช.) จดั ชมุ นมุ
เชน กัน มคี วามรนุ แรงเกิดขนึ้ เปนครง้ั คราว เปนเหตใุ หมผี เู สียชวี ติ และบาดเจบ็ จาํ นวนมาก

ในเดอื นธนั วาคม ๒๕๕๖ ย่งิ ลักษณย ุบสภาผแู ทนราษฎรและกาํ หนดการเลอื กตงั้ สมาชกิ
สภาผูแทนราษฎรไทย เปนการท่ัวไปในวันที่ ๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๗ การเลือกต้ังไมเสร็จสมบูรณ
ในวันน้ันเพราะถกู ผูป ระทว งตอ ตานรัฐบาล ขัดขวางศาลรฐั ธรรมนูญเพิกถอนการเลอื กตั้งในวันที่ ๒๑
มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ในวนั ที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๕๗ ศาลรฐั ธรรมนญู พจิ ารณาคํารองของ ไพบลู ย
นติ ติ ะวนั สมาชกิ วฒุ สิ ภา และมคี าํ วนิ จิ ฉยั เปน เอกฉนั ทใ หย ง่ิ ลกั ษณแ ละรฐั มนตรที มี่ มี ตยิ า ยขา ราชการ
ระดบั สูงซงึ่ เปนท่โี ตเถยี งในป ๒๕๕๔ รฐั มนตรีท่เี หลอื อยูเลือก นิวัฒนธ ํารง บญุ ทรงไพศาล รองนายก
รัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวงพาณิชย เปนผูปฏิบัติราชการนายกรัฐมนตรีแทนยิ่งลักษณ
แตก ารประทว งยงั ดาํ เนนิ ตอ

สเุ ทพ เทอื กสบุ รรณ เลขาธกิ าร กปปส. เปด เผยวา ตนพดู คยุ กบั พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโ อชา
ใหถอนรากถอนโคนอิทธิพลของทักษิณ และพันธมิตร นับแตการชุมนุมทางการเมืองในป ๒๕๕๓
เขากลา ววา ไดต ดิ ตอ เปน ประจาํ ผา นแอพไลน กอ นรฐั ประหาร พลเอกประยทุ ธต ดิ ตอ เขาวา “คณุ สเุ ทพ
คุณกบั มวลมหาประชาชน กปปส.เหนอ่ื ยเกนิ ไปแลว ตอไป ขอเปน หนาทก่ี องทัพบกทจ่ี ะทําภารกจิ น้ี
แทน” และกองทพั ไดร บั ขอ เสนอของ กปปส. หลายอยา ง เชน มาตรการชว ยเหลอื เกษตรกร ดา นโฆษก
คสช. ออกมาปฏิเสธขา วดงั กลา ว แหลง ขา ววา พลเอกประยทุ ธ “อารมณเสยี มาก”

วันที่ ๒๗ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๙ ผูจ ดั การรายวัน เขียนวา รฐั ประหารรอบนจี้ ะตอ งไมเ พยี ง
หยุดความขัดแยงทางการเมืองช่ัวคราว ตองถอนรากถอนโคน “ระบอบทักษิณ” และตองประคอง
อยูใ น “ชว งเปล่ียนผาน” โดยมี คสช. หรือองคก ารสบื ทอดอยูในอํานาจอีกอยางนอ ย ๕ ป รฐั ประหาร
ในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๗ เกิดข้นึ เมอื่ วนั ที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๗ เวลา ๑๖.๓๐ น. โดยคณะรักษา
ความสงบแหง ชาติ (คสช.) อันมีพลเอก ประยทุ ธ จันทรโ อชา เปนหวั หนา คณะ โคน รฐั บาลรกั ษาการ

๑๑

นวิ ฒั นธ าํ รง บญุ ทรงไพศาล นบั เปน รฐั ประหารครงั้ ท่ี ๑๓ ในประวตั ศิ าสตรไ ทย รฐั ประหารดงั กลา วเกดิ ขน้ึ
หลงั วกิ ฤตการณก ารเมอื งซงึ่ เรมิ่ เมอื่ เดอื นตลุ าคม ๒๕๕๖ เพอ่ื คดั คา นรา งพระราชบญั ญตั นิ ริ โทษกรรมฯ
และอิทธิพลของดร.ทกั ษิณ ชนิ วตั ร ในการเมอื งไทย

กอนหนาน้ันสองวัน คือ วันท่ี ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๕๗ พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา
ผูบัญชาการทหารบก ประกาศใชกฎอัยการศึกท่ัวราชอาณาจักรต้ังแตเวลา ๓.๐๐ น. กองทัพบก
ตั้งกองอํานวยการรักษาความสงบเรียบรอย (กอ.รส.) และใหยกเลิกศูนยอาํ นวยการรักษาความสงบ
เรียบรอย (ศอ.รส.) ทีร่ ัฐบาลย่ิงลกั ษณตัง้ ข้ึน กอ.รส. ใชวิธีการปด ควบคุมส่อื ตรวจพิจารณาเนอ้ื หาบน
อนิ เทอรเ นต็ และจดั ประชมุ เพอื่ หาทางออกวกิ ฤตการณก ารเมอื งของประเทศ แตก ารประชมุ ไมเ ปน ผล
จงึ เปน ขอ อา งรัฐประหารคร้ังน้ี

หลังรัฐประหาร มีประกาศใหรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
ส้ินสุดลงยกเวนหมวด ๒ คณะรัฐมนตรีรักษาการหมดอํานาจ ตลอดจนใหยุบวุฒิสภา จนเม่ือวันท่ี
๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๗ มกี ารประกาศใชร ฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ชว่ั คราว) พทุ ธศกั ราช
๒๕๕๗ ซ่ึงใหมีสภานิติบัญญัติแหงชาติทําหนาท่ีแทนสภาผูแทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา
วันท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๕๗ สภาฯ มีมติเลอื กพลเอก ประยุทธ จันทรโ อชา เปน นายกรฐั มนตรี

หลายประเทศประณามรฐั ประหารคร้ังน้ี รวมท้งั มกี ารกดดนั ตาง ๆ เชน ลดกิจกรรมทาง
ทหาร และลดความสัมพันธระหวางประเทศ แตคนไทยจํานวนหนึ่งแสดงความยินดี โดยมองวาเปน
ทางออกของวิกฤตการณการเมอื ง แตก็มคี นไทยอกี จาํ นวนหนึ่งทไ่ี มเห็นดว ย เนือ่ งจากไมเ ปนไปตาม
วิถีประชาธิปไตย (ดรู ายช่อื นายกรัฐมนตรีของประเทศไทยในภาคผนวก)

ÇÔÇ²Ñ ¹Ò¡ÒÃÃкºàÈÃÉ°¡Ô¨ä·Â

ประเทศไทยมีวิวัฒนาการทางดานเศรษฐกิจจากการเริ่มตนจากโครงสรางเกษตรกรรม
มาเปนโครงสรางอุตสาหกรรมในระยะ ๒๐๐ ปท่ีผานมา การเปดประเทศของประเทศไทย และลัทธิ
ลาอาณานิคมของประเทศตะวันตก ไดเขามามีบทบาทในการเปลี่ยนแปลง สงผลกระทบโดยตรงตอ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศอยา งใหญห ลวง ถือวาเปน จุดเปล่ียนของระบบเศรษฐกจิ ของไทยในระดบั
มหภาค เพราะระบบเศรษฐกจิ ของไทยถกู ผกู ไวก บั ทนุ นยิ มโลก ซง่ึ บทเรยี นนจี้ ะทาํ การแบง หว งเวลาของ
ระบบเศรษฐกิจไทยออกเปน ๓ ชวงดว ยกนั ไดแก ชว งกอนสนธิสญั ญาเบารงิ ชวงสนธสิ ญั ญาเบาริง
ถงึ ยคุ สงครามโลกครัง้ ท่ี ๒ และชวงหลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ ถงึ ปจ จุบนั

๑. ชว งกอนสนธิสญั ญาเบารงิ ป พ.ศ. ๒๓๙๘
ระบบเศรษฐกจิ ของไทยจะมลี กั ษณะทเ่ี รยี กวา เศรษฐกจิ ระบบธรรมชาติ วตั ถปุ ระสงค

ของการผลติ นน้ั เพอ่ื การเลยี้ งชพี ของตวั เอง รากฐานของเศรษฐกจิ โดยรวมเปน เกษตรกรรมและหตั ถกรรม
เชน การทําไรทํานา ทอผา ทาํ เครอื่ งมือเกษตรกรรม ผลิตเครือ่ งปน ดนิ เผา การประมง จะเห็นไดวา
การผลิตตางๆ เหลานี้ ทําเพื่อการยังชีพตนเอง ผลิตเพ่ือใชสอยกันเองภายในชุมชนของตน อาจจะ

๑๒

มสี ว นเกนิ ไวจ า ยเปน สว ยอากรบา ง หรอื ผลติ ไวเ พอื่ แลกเปลยี่ นหรอื ขายกนั ในขอบเขตทจี่ าํ กดั บทบาท
ในการกาํ หนดใชทรัพยากรอยูท ่รี ัฐบาล ซงึ่ โดยมากดําเนนิ ไปตามพันธะทางศาสนา การผกู ขาดการคา
พวกสินคาสําคญั ๆ ไวใ ตการควบคุมของพระคลังสนิ คา รฐั บาลจะทาํ หนา ที่กําหนดราคาสินคา

ท่ีดินทั้งหลายท่ีมีอยูภายในเขตราชอาณาจักรนั้นเปนของพระเจาแผนดิน ดังน้ัน ระบบ
กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินเอกชนยังไมเกิดขึ้น รัฐบาล และชนชั้นนํา ไดรับสวนแบงผลผลิตจากระบบ
เศรษฐกิจแบบนี้โดยระบบสวยและอากร การเกณฑแรงงานและบริการจากขาทาสบริวาร ไพรทุกคน
ตองข้ึนทะเบียนสังกัดมูลนาย ไพรจะตองถูกเกณฑไปทํางานท่ัวไป เชน ทํางานโยธา สรางวัดสราง
โบสถ กาํ แพงเมอื ง สถานทรี่ าชการตา งๆ นอกจากนไี้ พรก ไ็ มม สี ทิ ธใิ นการรบั จา งงานอน่ื ๆ นอกจากจะ
ไดร บั การอนญุ าตจากมลู นาย ในสว นของแรงงานทาสทมี่ มี ากมายนนั้ ไมม อี สิ ระเสรใี นการทาํ มาหากนิ
เทาทค่ี วร

ระบบเศรษฐกิจแบบธรรมชาติเชนน้ี ทําใหการคาภายในประเทศอยูในลักษณะที่แคบ
สวนใหญเปนการแลกของกับของ เงินไมมีการใชอยางแพรหลาย การเคล่ือนยายผลผลิตเปนไป
ในรูปของการสงสวย เปนสวยส่ิงของที่ชนช้ันปกครองเกณฑจากไพรทาส ในกรณีท่ีมีความตองการ
สนิ คา ฟมุ เฟอ ยจากตา งประเทศ จะมกี ารนาํ สว นทเ่ี หลอื ไปใชแ ลก ดงั นนั้ การคา ตา งประเทศสมยั นนั้ คอื
การแลกเปลยี่ นสนิ คา ฟมุ เฟอ ยเพอ่ื การบรโิ ภคของชนชน้ั นาํ นน่ั เอง ในเมอ่ื การคา อยภู ายใตก ารผกู ขาด
ของรัฐ อตั ราการขยายตัวของการผลติ จงึ แทบไมม ีการขยายตัวเลย

๒. ชว งสนธิสัญญาเบารงิ ถึงสงครามโลกคร้ังที่ ๒
การเขา รว มในการคาระหวา งประเทศใน พ.ศ. ๒๙๓๘ ไดเ กดิ การเปลย่ี นโครงสรา ง

สินคาออกและสินคาเขา เกิดมีการผลิตเฉพาะอยางข้ึน สินคานําเขา เกิดมีการผลิตเฉพาะอยางข้ึน
สินคานําเขาแตเดิมประกอบดวยสินคาฟุมเฟอยเพ่ือการบริโภคของชนชั้นนําก็เปลี่ยนมาเปนสินคา
หลายชนดิ เพอื่ การบรโิ ภคของคนทว่ั ไป สว นสนิ คา สง ออกทผ่ี า นมาจะมปี รมิ าณนอ ยแตห ลากหลายชนดิ
กเ็ ปลยี่ นมาเปน สนิ คา สาํ คญั ไมก ช่ี นดิ แตผ ลติ ในปรมิ าณทมี่ าก ยคุ นจ้ี งึ สามารถเรยี กไดอ กี อยา งวา เปน การ
ผลิตแบบแบงงานกนั ทาํ ระหวางประเทศ สงผลใหการผลิตแบบอิสระเลือนรางหายไป ลักษณะทวั่ ไปที่
สําคัญของเศรษฐกิจไทยในชวงนี้ก็คือ ประเทศไทยเราถูกหลอมรวมเขาไปในระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
ระดบั โลกมากขน้ึ ประเทศไทยทาํ หนา ทผ่ี ลติ สนิ คา เฉพาะอยา ง แตเ ปน สนิ คา ปฐมภมู หิ รอื สง ออกวตั ถดุ บิ
สินคาเพือ่ การสง ออกหลักๆ จะมี ขาว ไมสัก ดีบุก การแลกเปลี่ยนสินคา กเ็ ปน ไปในลกั ษณะของสินคา
สาํ เรจ็ รปู เพอ่ื นาํ เขา มาเพอ่ื การบรโิ ภคภายในประเทศ จะเหน็ ไดว า การกา วเขา สเู ศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ ม
แบบน้ี สง ผลใหห ัตถกรรมพนื้ บา นพังทลายลง

๓. ระบบเศรษฐกจิ ชวง ป พ.ศ. ๒๕๐๓ เปนตนมา
ชว งสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ไดม กี ารเปลย่ี นแปลงทางดา นโครงสรา งทางเศรษฐกจิ มากขน้ึ

ทงั้ ในดานการผลติ สินคาปฐมภูมิ การขยายตวั ของอุตสาหกรรมมีขนาดใหญขึ้นตามกนั ไป ประกอบกับ
การดาํ เนินนโยบายเศรษฐกจิ เสรที ีเ่ ปดใหน ายทุนตา งชาติ เชน สหรัฐอเมรกิ า ญปี่ นุ และยโุ รปตะวนั ตก

๑๓

เขามาลงทุนโดยตรง ขณะเดยี วกันธนาคารโลก กองทนุ การเงนิ ระหวางประเทศก็เขามามบี ทบาทเสนอ
ใหป ระเทศไทยปรบั ปรงุ โครงสรา งทางเศรษฐกจิ ใหใ หญข น้ึ เพอ่ื ตอบสนองการขยายตวั ของทนุ นยิ มโลก
ซึง่ เปนภายใตการนําของบรรษัทขา มชาติ

ชวงน้ีประเทศไทยถูกจัดอยูในโลกท่ีสามมีความสาํ คัญในฐานะการเปนแหลงท่ีตั้ง
ของการผลิตสินคาอุตสาหกรรมเพ่ือตลาดโลกเหมือนประเทศโลกท่ีสามอ่ืนๆ เหตุผลน้ีเองเปนแรง
ผลักดนั ใหเ กดิ การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ มีการนําเขาเครอ่ื งจกั รกลและสินคาขั้นกลาง ไดแ ก
ชนิ้ สว นอปุ กรณแ ละวตั ถดุ บิ ในการผลติ มาถงึ ยคุ นพี้ วกการยงั ชพี แบบเดมิ ๆ จะแทบไมเ หน็ นอกจากแถบ
ชนบทท่ีหางไกลความเจริญและชวงปลายของ พ.ศ. ๒๕๑๓ ไดมีการสงออกสินคาที่ผลิตจากโรงงาน
อตุ สาหกรรมมากขนึ้ โดยเฉพาะสนิ คา ประเภทสง่ิ ทอ อาหารกระปอ ง ผลไมก ระปอ ง วงจรทรานซสิ เตอร
เพชรพลอย เครอ่ื งประดับและอาหารสัตว เปนตน

จะเหน็ ไดว า ในชว งนปี้ ระเทศไทยไดผ นั ตวั เขา ไปผกู มดั กบั ระบบทนุ นยิ มโลกอยา งมาก
ทําใหส ูญเสยี ความเปน อสิ ระไปอยางส้ินเชงิ ผลกระทบจากการขยายฐานอยา งรวดเรว็ น้ี คอื ปญ หา
สิ่งแวดลอมเปนพิษ เพราะการขยายฐานการผลิตแบบเรงดวนเพ่ือตอบสนองระบบทุนนิยมโลกน้ัน
จําเปน ตอ งเปลย่ี นโครงสรา งการผลติ ใหเ ปน อตุ สาหกรรมนนั้ สรา งผลกระทบโดยตรงใหก บั สง่ิ แวดลอ ม
และธรรมชาติ

ÇÇÔ Ñ²¹Ò¡ÒÃ椄 ¤Áä·Â

ÊÁÂÑ ¡ÃاÃμÑ ¹â¡Ê¹Ô ·Ã
สภาพบา นเมอื งหลงั จากทพี่ ระเจา ตากสนิ ทาํ ศกึ สงครามเพอ่ื กอบกเู อกราชนน้ั เตม็ ไปดว ย
ความเสยี หาย จงึ ตองยายมาสรา งเมืองใหมท ีก่ รงุ ธนบรุ ี เปนชวงเวลาส้นั ๆ จนในป พ.ศ. ๒๓๒๕ จงึ มี
การยา ยมาสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร ชว งนจ้ี งึ เปน ชว งทบ่ี า นเมอื งยงั คงวนุ วายกบั การพฒั นาเมอื งหลวง
สรางสาธารณปู โภคตา งๆ เชน การขดุ คลองรอบกรงุ การจัดระเบียบชุมชน สรางปอ มและกาํ แพงเมือง
สภาพสังคมในสมัยกรุงรัตนโกสินทร มีการแตงต้ังบุคคลใหดาํ รงตาํ แหนงขุนนางเปนจํานวนมาก
เพราะขนุ นางเสยี ชวี ติ ในคราวสงครามกบั พมา ปลายสมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยาและสมยั กรงุ ธนบรุ ี ตลอดจนการ
จลาจลปลายสมยั กรงุ ธนบรุ เี ปน จาํ นวนมาก ไดม กี ารแกไ ขปญ หาขาดแคลนขา ราชการโดยยกเลกิ กฎเกณฑ
คุณสมบัตขิ องผเู ขาเปน ขนุ นาง เปด โอกาสใหส ามัญชนซ่งึ มีความรู ความประพฤติดเี ขาเปนขนุ นางได
พระมหากษตั รยิ ใ นสมยั นมี้ คี วามใกลช ดิ กบั ขนุ นางดว ยการสรา งความสมั พนั ธท างเครอื ญาติ
กบั บรรดาขนุ นางตระกลู สําคญั ๆ เพื่อเพมิ่ ความจงรักภักดใี นหมขู ุนนางใหแ นนแฟน มากขึ้น เปนการ
สรา งเสถยี รภาพ และความมน่ั คงของราชบลั ลงั ก นอกจากนน้ี โยบายเศรษฐกจิ ของรฐั บาลในการคา ขาย
ตา งประเทศใหพระบรมวงศานุวงศและขุนนาง มีความสมั พนั ธท างเครือญาตแิ ละอปุ ถมั ภอ ยางใกลช ิด
ทําใหสามารถแสวงหารายไดผลประโยชนจากตาํ แหนงหนาท่ีเปนผูที่มีฐานะม่ังค่ังทางเศรษฐกิจ
มีอํานาจทางเศรษฐกิจ มีอํานาจทางการเมือง มีการประสานประโยชนระหวางพระมหากษัตริย
เจา นาย และขนุ นาง

๑๔

การเลื่อนฐานะของพวกเจานายในสมัยกรุงรัตนโกสินทรโดยเฉพาะสมัยพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มีลักษณะเปนกาวกระโดด เพราะเปนชวงตั้งเมืองหลวงและราชวงศใหม
การเลอ่ื นชน้ั ทางสงั คมจงึ เลอ่ื นจากสามญั ชน ในสกลุ ขนุ นางซงึ่ สนบั สนนุ พระองคใ นการปราบดาภเิ ษก
และสถาปนาราชวงศใหมขึ้นเปนชนชั้นเจา การแตงตั้งเจาใหทรงกรมข้ึนอยูกับความเปนเครือญาติ
ใกลช ดิ กบั พระมหากษตั รยิ  และมคี วามสามารถชว ยเหลอื ในการบรหิ ารบา นเมอื ง อาํ นาจของเจา นายแตล ะ
พระองคไ มเ ทา เทยี มกนั ทง้ั นขี้ น้ึ อยกู บั ตาํ แหนง ทางราชการกาํ ลงั ไพรใ นสงั กดั และตามพระราชอธั ยาศยั
ของพระมหากษัตริย อนึ่งสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนมีการเปล่ียนแปลงเกี่ยวกับขอบเขตอํานาจ
เจานายในเรื่องไพรสมในสังกัด ซึ่งเปนปญหาในสมัยกรุงศรีอยุธยา เพราะเจาทรงมีอํานาจและเปน
ผูคุกคามท่ีสําคัญของพระมหากษัตริย กลาวคือมีการสงขาราชการช้ันสูงจากเมืองหลวงไปทําการสัก
ไพรท ว่ั ราชอาณาจกั รทกุ ตน รชั กาลใหม โดยสกั ชอื่ มลู นายและชอ่ื เมอื งทสี่ งั กดั ทข่ี อ มอื ไพรเ ปน มาตรการ
จํากัดกําลังเจานายอีกประการหนึ่ง คือ ไพรสมจะโอนเปนไพรหลวงเม่ือเจานายหรือขุนนางผูใหญ
ถึงแกอนิจกรรม เจานายมีสิทธิพิเศษตามกฎหมาย คือ จะพิจารณาคดีเจานายในศาลกรมวังเทาน้ัน
และจะนาํ เจานายไปขายเปน ทาสมิได

พระมหาอปุ ราชเปน เจา วงั หนา ตาํ แหนง กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล และมกั จะสถาปนา
พระอนชุ าใหด ํารงตาํ แหนง นอกจากน้ันยงั มอี ัครเสนาบดี และเสนาบดจี ตสุ ดมภ คือ กรมเวยี ง กรมวงั
กรมคลงั กรมนา ตาํ แหนงเหลาน้ถี าเกิดเหตสุ งครามกต็ อ งไปเปนแมท พั

ไพรในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน ไดรับการผอนปรนเรื่องการเกณฑแรงงานจากปละ
๖ เดือน (เขาเดือนออกเดือน) ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เหลือปละ ๔ เดือน (เขาเดือนออก ๒ เดือน)
ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช (กฎหมายตราสามดวง. ๒๕๐๖ : ๒๐๕-๒๐๗)
ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั ลดเหลอื ปล ะ ๓ เดอื น (เขา เดอื นออก ๓ เดอื น) อตั รา
การเกณฑแ รงงาน ปล ะ ๓ เดอื นนใี้ ชไ ปจนถงึ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั กอ นการ
ประกาศใชพระราชบัญญตั ิการเกณฑทหาร อยางไรก็ดรี ะบบไพรท ําใหขดั ขวางความชาํ นาญในการทํา
อาชพี ของคนไทย จงึ ทาํ ใหช าวตา งชาตโิ ดยเฉพาะชาวจนี เขา ควบคมุ กจิ การดา นเศรษฐกจิ เกอื บทงั้ หมด

ทาสในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน ยังคงมีสภาพเชนเดียวกับทาสสมัยกรุงศรีอยุธยา
ทาสในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตน มักจะเปนทาสสินไถ ซ่ึงสามารถไถตัวใหพนจากการเปนทาสได
ทาสเชลยไมมีคาตวั ตอ งเปน เชลยไปตลอดชวี ิตจนกระทั่ง พ.ศ. ๒๓๔๘ จงึ มีกฎหมายระบุใหท าสเชลย
มีคาตัว และไถตัวเองได สวนทาสในเรือนเบ้ียหรือลูกทาสตองเปนทาสตลอดชีวิต ไมมีสิทธิไถตัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงออกพระราชบัญญัติ เกษียณอายุลูกทาสลูกไท
พ.ศ. ๒๔๑๗ ประกาศใหลูกทาสท่ีเกิดต้ังแตปท่ีพระองคขึ้นครองราชย (พ.ศ. ๒๔๑๑) เปนอิสระ
เมอื่ มีอายบุ รรลนุ ิติภาวะ และขายตวั เปนทาสอีกไมไ ด

ชาวตา งชาติ ชาวจนี เปนผูมบี ทบาทและความสําคัญตอสงั คมไทยดา นเศรษฐกิจมาต้งั แต
สมัยอาณาจักรอยุธยา ชาวจีนอพยพเขามาอยูในดินแดนไทยมากขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะสมัยกรุง

๑๕

รัตนโกสินทรตอนตน ซ่ึงอาจแบงออกเปน ๒ ประเภท คือ ประเภทแรก เปนพวกท่ีมีความสัมพันธ
ใกลชิดกับชนชั้นสูงในสังคมไทย และมีการอุปถัมภซึ่งกันและกัน เพ่ือเปนหนทางในการเล่ือนฐานะ
ทางสังคมและกาวข้ึนสูชนช้ันขุนนางดวยการใหผลประโยชนแกเจานายและขุนนางไทยออกไปคาขาย
ยงั ประเทศจนี ดงั จะเหน็ ไดจ ากการทหี่ วั หนา ชาวจนี ไดเ ขา สชู นชนั้ ขนุ นางโดยการเปน เจา ภาษนี ายอากร
มียศหรือบรรดาศกั ดิ์ เปน พระ ขุน หม่นื มศี กั ดินา ๔๐๐ ข้นึ ไป พอ คาหรือเจาภาษี ชาวจีนในหวั เมอื ง
หลายคนไดรับแตงต้ังใหเปนเจาเมือง คนเหลาน้ีมีฐานะมั่งคั่ง บางครอบครัวมีความสัมพันธ
โดยการแตงงานกับชนชั้นเจานาย ขุนนาง หรือถวายตัวตอพระมหากษัตริย ชาวจีนประเภทท่ีสอง
คือ พวกท่ีรับจางเปนกรรมกรเพื่อทํางานสาธารณูปโภคตาง ๆ แทนแรงงานไพร ทํางานในเหมือง
แรด บี กุ ชา งปนู ชา งตอ เรอื กรรมการในโรงงานนา้ํ ตาลทราย ทาํ ไรอ อ ย พรกิ ไทย ยาสบู และคา ขายแถบ
ลุมแมนา้ํ แมก ลอง หรือหวั เมอื งชายทะเลตะวันออกและภาคใตข องไทย

พอ คา ชาวจนี ไดร บั อภสิ ทิ ธห์ิ ลายประการ เชน เดนิ ทางและตงั้ ถน่ิ ฐานไดท ว่ั ราชอาณาจกั ร
ไมต องเกณฑแรงงานแตเสียเงินคาผูกปข อมอื เปน เงิน ๑.๕๐ บาทตอทุกสามป ตอมาในสมัยพระบาท
สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัฐบาลประกาศเลิกวิธีผูกปขอมือชาวจีนมาเปนการเก็บเงินคา
ราชการปละ ๖ บาท การท่ีการคาของไทยทั้งการคาตางประเทศและการคาภายในประเทศชวงสมัย
กรุงรัตนโกสินทรตอนตน ดําเนินการโดยพระมหากษัตริย เจานาย ขุนนาง และพอคาจีน พอคา
เจา ภาษนี ายอากรชาวจนี มฐี านะมงั่ คงั่ เหลา นไี้ ดเ ขา มาอยใู นสงั คมชน้ั เดยี วกบั ชนชน้ั สงู ของไทยไดอ าศยั
ระบบศกั ดนิ าและการอปุ ถมั ภข องชนชน้ั สงู เหลา นดี้ าํ เนนิ ธรุ กจิ จนกลายเปน ผมู ฐี านะรา่ํ รวย กลายเปน
คา นยิ มทเ่ี หน็ ความสาํ คญั ของทรพั ยส มบตั หิ รอื ฐานะทางเศรษฐกจิ ควบคไู ปกบั คา นยิ มการสะสมไพรบ รวิ าร

สภาพเศรษฐกิจของประเทศไทยในชวงตนจึงเปนลักษณะแบบเลี้ยงตัวเอง พลเมืองมี
อาชพี เกษตรเปนหลัก ผลผลติ สาํ คัญคือ ขาว ฝาย ออย ยาสบู เปน ตน รฐั บาลมรี ายไดหลายทาง เชน
จงั กอบ อากร ฤชา สว ย และรายไดจ ากการคาตา งประเทศ การคาสาํ เภา และการคาแบบผกู ขาด ภาษี
สว นใหญร ฐั บาลมอบใหพ อ คา จนี ผกู ขาดเกบ็ ภาษแี ทนรฐั บาล และจะมกี ารเดนิ สวนใหมท กุ ครงั้ ทม่ี กี าร
เปลยี่ นรชั กาลเพอ่ื วดั ทด่ี นิ แลว เกบ็ เงนิ ตามโฉนดนน้ั ความสมั พนั ธก บั ตา งชาตอิ นั ดบั แรกนน้ั คอื ชาตจิ นี
โดยมกี ารตดิ ตอ คา ขายมาตงั้ แตค รง้ั สมยั สโุ ขทยั แลว โดยทางเรอื สาํ เภา พอมาในสมยั รตั นโกสนิ ทรช าวจนี
กไ็ ดอพยพมาตัง้ ถิ่นฐานทป่ี ระเทศไทยมากขนึ้ เรอื่ ยๆ และสว นใหญก ารคาขายมักจะเปนไปในลกั ษณะ
เกื้อกูลกัน สวนชาติตะวันตกท่ีเขามามีบทบาทคือ โปรตุเกส เพราะไดมีการสงสาสนในการขอใหเรือ
ของตนเขามาคา ขายไดอ ยางสะดวก และทางไทยกาํ ลังตอ งการซื้อปนมาใชรักษาพระนคร อยางไรก็ดี
การติดตอ กับโปรตุเกสทาํ ใหไทยไดเ รยี นรูวิทยาการตาง ๆ มากมาย เชน การทาํ ปนไฟ ขนม ตาํ รายา
เปนตน ซ่ึงผิดกับการเขามาของชาวอังกฤษท่ีเริ่มในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย
โดยมวี ตั ถุประสงคหลกั คือ การเมืองและการคา โดยมคี รอวเฟรด เปนผทู ่เี ขา เจรจาทางการคากบั ไทย
คนแรกๆ โดยไทยยังคงไดผ ลประโยชนอยบู า ง แตต อมาเฮนรี เบอรนี ซง่ึ เปนทตู คนท่สี องไดเ ขามาได
ตกลงทําสัญญาคาขายใหอังกฤษเขามาทําการคาไดโดยเสรี สวนอเมริกาน้ันก็เขามาในประเทศไทย

๑๖

ดวยเชนกันและก็ไดใหความรูเก่ียวกับการศึกษาไวมาก แตอยางไรก็ดีจุดประสงคหลักคือการไดเขามา
คาขายในประเทศไทยไดอยา งเสรี

椄 ¤Áä·ÂÊÁÑÂãËÁ‹
ความเจริญทางดานการคา การเห็นคุณคาของการศึกษาหาความรู และความสนใจรับ
วทิ ยาการจากตะวนั ตกของชนชนั้ นาํ และสามญั ชนในกรงุ เทพฯ และตามหวั เมอื งใหญ ๆ ทเ่ี ปน ศนู ยก ลาง
การคา มอี ทิ ธพิ ลตอ การเปลยี่ นแปลงสงั คมไทย ไดม กี ารพฒั นาดา นสงั คมและประเพณี เพอ่ื ความทนั สมยั
การปฏิรูปการบริหารราชการแผนดิน และปฏิรูปสังคมในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว ดวยการเลิกระบบไพรและการยกเลิกระบบทาส การเลิกระบบไพร ไพรมีความสําคัญ
ทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองการปกครองของไทยดังท่ีไดกลาวมาแลวขางตน พระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั ทรงดาํ เนนิ การอยา งคอ ยเปน คอ ยไป ดว ยการดงึ การควบคมุ กาํ ลงั จากขนุ นาง
เจานายมาสพู ระมหากษตั ริยโดยใหมีการจดั ทาํ สาํ มะโนครัวแทนการสกั ขอ มอื พระราชบญั ญัตเิ ปลยี่ น
วิธเี ก็บเงนิ คา ราชการ ร.ศ.๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๑) ซึง่ ลดเงนิ คา ราชการท่เี กบ็ จากไพรจากปล ะ ๑๘ บาท
ใหเปน ปละ ๖ บาท และเปลี่ยนการควบคุมไพรจากมลู นายมาใหท อ งทที่ ี่ไพรอาศัยอยูเปนผูด แู ลแทน
พระราชบญั ญตั เิ กณฑจ า ง ร.ศ.๑๑๙ (พ.ศ. ๒๔๔๔) เปน การทาํ ลายลกั ษณะของระบบไพร คอื ใหเลิก
การเกณฑแ รงงาน ไพรเ ปน อสิ ระในการประกอบอาชพี และเลอื กทอ่ี ยอู าศยั ซง่ึ นบั วา เปน การคลคี่ ลายวธิ ี
การเกณฑแ รงงานตามระบบไพร และสอดคลอ งกบั ระบบเศรษฐกจิ แบบเงนิ ตราซงึ่ กาํ ลงั ขยายเขา มาใน
ประเทศไทย และพระราชบัญญัตเิ ก็บคาราชการ ร.ศ.๑๒๐ (พ.ศ. ๒๔๔๕) กาํ หนดใหชายฉกรรจทกุ คน
ตอ งเสยี เงนิ คา ราชการคนละ ๖ บาท เปน อยา งสงู ทวั่ ราชอาณาจกั ร นบั วา เปน การทาํ ลายระบบมลู นาย
ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ ไดมกี ารประกาศใชพ ระราชบัญญตั เิ กณฑทหาร ร.ศ.๑๒๔ โดยกาํ หนด
ใหช ายฉกรรจท ไี่ ดรับเลอื กและมีอายุ ๑๘-๒๐ ป เปนทหารประจาํ การอยู ๒ ป แลวปลดเปนกองหนุน
มีภาระหนาท่ีฝก ซอ มทุกปเ ปนเวลา ๑๕ ป แลว ปลดพนจากการเสยี เงนิ คา ราชการตลอดชีวติ สวนผูท ี่
ไมไดรบั การคดั เลือกตอ งเสยี เงินคา ราชการตามอัตราทกี่ ําหนดของทอ งถน่ิ ตน พระราชบญั ญัติฉบบั น้ี
ไดท ยอยประกาศใชท มี่ ณฑลจนครบทว่ั ราชอาณาจกั รในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา เจา อยหู วั
ซึ่งเปนการยุติพันธะสังคมตามระบบไพรในสังคมไทยโดยปริยาย และเปนการนําประเทศไทยเขาสู
สมยั ใหม สามญั ชนซง่ึ เคยอยใู นฐานะไพรแ ละทาสหนั ไปประกอบอาชพี ชาวนา ชาวไร กรรมการ ชา งฝม อื
ลกู จาง เสมียน เปน ตน
การเลกิ ระบบทาสไดร บั อทิ ธพิ ลวฒั นธรรมตะวนั ตกเรอื่ งสทิ ธเิ สรภี าพของมนษุ ย พระบาท
สมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั ทรงทาํ เปน ขนั้ ตอนอยา งละมนุ ละมอ ม ตงั้ แตท รงออกพระราชบญั ญตั ิ
พกิ ดั เกษยี ณอายลุ กู ทาสลกู ไท พ.ศ. ๒๔๑๗ กาํ หนดใหล กู ทาสทเ่ี กดิ ใน พ.ศ. ๒๔๑๑ ซงึ่ เปน ปท พ่ี ระองค
ขน้ึ ครองราชย เกษียณอายุเปนไท เม่อื อายุ ๒๑ ป หา มขายตัวเปน ทาสอกี ทรงปลกู ฝง คานิยมในการ
บรจิ าคเงนิ ไถท าสใหเ ปน อสิ ระ ขยายการศกึ ษาและอาชพี โดยตง้ั โรงเรยี นใหล กู ทาสทยี่ งั ไมบ รรลนุ ติ ภิ าวะ
สมคั รใจเขา เรยี น และจะปลอ ยใหเ ปน ไท ประกาศพระราชบญั ญตั เิ ลกิ ทาสในมณฑลพายพั พ.ศ. ๒๔๔๓
พระราชบญั ญตั เิ ลกิ ทาสในมณฑลบรู พา พ.ศ. ๒๔๔๗ และในวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๘ ไดป ระกาศ

๑๗

พระราชบญั ญตั เิ ลกิ ทาสทว่ั ราชอาณาจกั ร พวกทซ่ี อื้ ขายทาสจะถกู ลงโทษตามประมวลกฎหมายลกั ษณะ
อาญา พ.ศ. ๒๔๕๑ การเลกิ ทาสและไพร อาจกลา วไดว า เปน การปลดปลอ ยใหพ น จากพนั ธะทางสงั คม
ในรูปแบบศกั ดนิ า เพือ่ เปน การพัฒนารองรบั การปรับปรุงบา นเมืองใหทนั สมยั แบบตะวันตก

ในดานการศึกษา การที่วัฒนธรรมและวิทยาการตะวันตกไดหล่ังไหลเขาสูสังคมไทย
พรอ มกับการเขา มาของชาวตะวนั ตกไดถ ายทอดความรูดา นตาง ๆ สงผลใหเ กิดการเปลีย่ นแปลงทาง
สังคมตั้งแตสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ความสนใจในการเรียนภาษาอังกฤษและ
วิทยาการเทคโนโลยีตะวันตกเปนการเปล่ียนรูปแบบการศึกษาแบบเดิมซ่ึงอิงอยูกับวัด วัง และบาน
ขุนนางเจานายมาเปนการศึกษาในระบบโรงเรียนตามแบบแผนตะวันตก ในสมัยพระบาทสมเด็จ
พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั มกี ารตงั้ โรงเรยี นสาํ หรบั ราษฎรทวั่ ไป และขยายไปทงั้ กรงุ เทพฯ และตา งจงั หวดั
มกี ารตง้ั โรงเรยี นขา ราชการพลเรอื นเพอื่ ฝก หดั ขา ราชการ ซงึ่ ตอ มาสถาปนาเปน จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั
โรงเรียนราชแพทยาลัย ซึ่งตอมาเปนมหาวิทยาลัยแพทยศาสตรและมหาวิทยาลัยมหิดล โรงเรียน
นายรอยพระจุลจอมเกลา ฯ โรงเรยี นกฎหมาย ฯลฯ ลวนเปนการพฒั นาคุณภาพของคนทั้งสนิ้

Êѧ¤Áä·Âã¹ÂؤâÅ¡ÒÀÔÇÑμ¹

สงั คมโลกยุคโลกาภิวัตน มลี ักษณะสาํ คญั หลายประการ สรปุ ไดด งั น้ี
๑. การใชคอมพิวเตอรเปนกลไกสําคัญ ในสังคมโลกาภิวัตน คอมพิวเตอรมีบทบาท
สาํ คญั มากเพราะเปน เครอ่ื งมอื ทจี่ ะรบั และแปลงขอ มลู ไดอ ยา งรวดเรว็ และไมค อ ยมขี อ จาํ กดั คอมพวิ เตอร
ไดถูกนํามาใชในการจัดเก็บ บันทึกขอมูล จัดระบบขอมูลและนํามาใชส่ือสารถึงกันในเวลาอันรวดเร็ว
ทกุ มมุ โลก ในระยะไมก ปี่ ม านไี้ ดม กี ารพฒั นาระบบคอมพวิ เตอรไ ปอยา งมาก จากเครอื่ งทม่ี ขี นาดใหญ
ราคาแพง เปนระบบคอมพิวเตอรสวนบุคคลที่มีขนาดเล็กแตมีคุณภาพ ศักยภาพสูงมากและ
ราคาถูกลง เครอ่ื งคอมพิวเตอรจ ึงเปนเครอ่ื งมือสาํ คญั ในการแพรข อมลู ขาวสารในยคุ โลกาภิวัตน
๒. การไหลบาของขอมูลขาวสาร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีมีสวนชวยใหเศรษฐกิจ
และสงั คม เจรญิ กา วหนา เศรษฐกจิ ทเี่ จรญิ กา วหนา ทาํ ใหโ ลกตะวนั ตกมง่ั คง่ั ราํ่ รวย ซงึ่ จะมผี ลทาํ ใหเ กดิ
เปนแรงกระตุนใหมีการวิจัยและพัฒนา เพื่อศึกษาคนควาหาขาวสารที่เปนประโยชนอยางไมหยุดยั้ง
สถาบนั การศึกษาตาง ๆ กท็ าํ หนา ทีค่ น ควาวจิ ยั เพอ่ื ใหไ ดมาซ่งึ ความรใู หม ๆ เพิม่ มากข้นึ เทคโนโลยี
สื่อสารอันทันสมัยก็มีสวนชวยใหเกิดการเปล่ียนถายทอดขอมูลใหม ๆ หมุนเวียนอยูตลอดเวลา
อยา งไมม ีทสี่ ้นิ สุด กอใหเกิดปรากฏการณท เ่ี รยี กวา “การไหลบาของขา วสาร”
๓. การเพ่ิมขึ้นของแรงงานดานขาวสาร จํานวนแรงงานที่ทํางานเก่ียวกับขาวสารขอมูล
มจี าํ นวนเพม่ิ มากขึ้น แรงงานเหลาน้ีไดแกผูท่ีอยูใ นวงการศึกษา การคมนาคม การพิมพ การโฆษณา
ประชาสมั พนั ธ สื่อสารมวลชนทกุ ประเภท การเงนิ การบญั ชี รวมทง้ั อตุ สาหกรรมผลิตคอมพวิ เตอร
หรอื ชนิ้ สว นคอมพวิ เตอรแ ละงานทเ่ี กย่ี วกบั การนาํ เทคโนโลยมี าจดั การกบั ขา วสารทกุ ชนดิ กลา วกนั วา
ปจจุบันในอเมริกามีแรงงานที่ทํางานดานขาวสารมากกวา รอยละ ๕๐ ในขณะที่แรงงานเกษตร
และอตุ สาหกรรมลดลงมากกวารอ ยละ ๒๕

๑๘

สังคมไทยในยุคโลกาภิวัตนจะมี ๒ ลักษณะดวยกัน สังคมเมืองจะเปนสังคมของ
ความวุนวายมีชีวิตเรงรีบ แขงขันอยูตลอดเพราะการใชชีวิตประจําวันน้ันเปนการพ่ึงพาขอมูลขาวสาร
และเทคโนโลยี เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการทํากําไร เน่ืองจากโลกมีความเช่ือมตอกันหมด
ผลกระทบจะเกิดขึ้นเร็ว คนจะรับรูขาวสารไว ชีวิตคนเมืองจะเปนรูปแบบอุตสาหกรรมอยางชัดเจน
และเน่ืองจากระบบส่ือสารไรพรมแดนทําใหเกิดการครอบโลกทางวัฒนธรรม อิทธิพลของวัฒนธรรม
และอาํ นาจของเศรษฐกจิ จากประเทศทพ่ี ฒั นาแลว ไดไ หลบา เขา สปู ระเทศอน่ื อยา งรนุ แรง กอ ใหเ กดิ กระแส
วฒั นธรรมโลก (Neo-Westernization) ครอบงาํ ทางดา นความคดิ การมองโลก การแตง กาย การบรโิ ภคนยิ ม
แพรหลายเขา ครอบคลุมเหนอื วฒั นธรรมชาติของประชาคมท่ัวโลก ผลทต่ี ามมาคอื เกิดระบบผูกขาด
ไรพ รมแดน สว นสงั คมชนบทนนั้ จะมคี วามเคลอ่ื นไหวอยา งเชอื่ งชา แตก ไ็ มไ ดถ กู ตดั ขาดจากสงั คมเมอื ง
มากเหมือนเชนเมื่อกอนเน่ืองจากการพัฒนาในดานสาธารณูปโภคและการพัฒนาดานการสงตอเร่ือง
ขอมูลขาวสารทําใหการติดตอน้ันเร็วขึ้นกวาเดิม ประกอบกับคนในยุคนี้เขามาทํางานในกรุงเทพฯ
หรอื ตามหวั เมอื งตางๆ จํานวนมาก

椄 ¤ÁàÁ×ͧáÅÐÊѧ¤Áª¹º·¢Í§ä·Â

ลักษณะสังคมไทย
๑. เปน สงั คมทมี่ โี ครงสรา งแบบหลวมๆ คอื ผคู นไมเ ครง ครดั ตอ ระเบยี บ วนิ ยั กฎเกณฑ
ชอบความสะดวกสบาย สนกุ สนาน การไมเ ครง ครดั ตอ ระเบยี บวนิ ยั เปน ผลใหเ กดิ ความยอ หยอ นในการ
รกั ษากฎเกณฑ ขอบังคบั และกตกิ าของสงั คม
๒. เปนสงั คมเกษตร ประชาชนสว นใหญรอ ยละ ๗๕ ประกอบอาชพี ทางเกษตร
๓. เปนสังคมท่ีมีการแบงชนช้ัน ยึดถือฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมเปนสําคัญ เชน
ทรัพยส มบัติ ความรํา่ รวย ตาํ แหนง หนา ทีก่ ารงาน อํานาจ ช่ือเสียง ฯลฯ
๔. เปน สงั คมทม่ี กี ารอพยพเคลอื่ นยา ยไปสถู น่ิ อน่ื สงู เนอ่ื งจากประชาชนสว นใหญม กี าร
ศกึ ษาต่าํ ยากจน อัตราการเกดิ ของประชาชนเพิม่ มากขน้ึ อตั ราการตายลดลง ทาํ ใหช าวชนบทอพยพ
เขา เมอื งหรอื อพยพไปชนบทอน่ื ๆ สงู สว นใหญเ ปน การอพยพยา ยถนิ่ แบบชว่ั คราว เชน ชาวอสี านไป
รับจางในเมือง หรอื เดนิ ทางไปขายแรงงานในตา งประเทศ ฯลฯ
๕. เปนสังคมเปด สังคมไทยยอมรับวัฒนธรรมตางชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่งวัฒนธรรม
ตะวันตกเขามาทําใหเกิดการเปล่ียนแปลง ความคิด วิถีดําเนินชีวิตเปล่ียนไปจากเดิมเปนอันมาก
การพฒั นาประเทศจะใหค วามสาํ คญั การพฒั นาวตั ถมุ ากกวา การพฒั นาจติ ใจ สภาพวถิ ชี วี ติ ของบคุ คล
โดยเฉพาะสงั คมเมืองเปลยี่ นแปลงไปโดยรวดเรว็

๑๙

椄 ¤Á¢Í§àÁ×ͧä·Â

สังคมเมืองมีประชาชนอาศัยอยูหนาแนน มีการปกครองแบบเทศบาล บางแหง
มีการปกครองโดยเฉพาะ เชน กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา สังคมเมืองมีความเจริญทางดานวัตถุ
เปนศนู ยกลางความเจริญทางดานเศรษฐกิจ การศึกษา สาธารณสุข ฯลฯ

ÅѡɳÐáÅÐâ¤Ã§ÊÌҧ¢Í§Ê§Ñ ¤ÁàÁÍ× §ä·Â
๑. พ่ึงพาอาศัยกัน สังคมเมืองจาํ เปนตองพึ่งพาอาศัยกันทางดานเศรษฐกิจ สังคม
ทุกส่ิงทุกอยางดาํ เนินไปดวยกันเหมือนเครื่องจักร หากส่ิงใดหยุดชะงักสังคมเมืองจะประสบ
ความยุงยากทันที
๒. มีการรวมตัวกันอยา งหลวม ๆ สมาชิกของสงั คมเมืองมแี บบแผน วิถีดําเนนิ ชีวติ ใน
แตละกลุมแตกตางกัน ทั้งดานความคิด ความเชื่อ ศาสนา และประสบการณ เพราะสมาชิกมาจาก
แหลงตาง ๆ กนั
๓. มีลักษณะความแตกตา งทางเศรษฐกิจสูง คือ สงั คมเมือง มที ัง้ นายจา ง ลูกจา ง มคี น
ทป่ี ระกอบอาชพี ท่หี ลากหลาย เชน พอ คา ขา ราชการ นกั การเมอื ง นักธรุ กจิ และอืน่ ๆ อีกมากมาย
ทําใหม ีระดับความแตกตางของสมาชิกทางเศรษฐกิจสูง
๔. การตดิ ตอสัมพันธก นั มีลักษณะแบบทตุ ิยภมู ิ ทั้งนเี้ นื่องจากผคู นในสังคมเมืองมมี าก
จึงมีการติดตอกันตามสถานภาพ มากกวาการติดตอ กนั เปนสวนตวั หรอื แบบปฐมภูมิ
๕. การรวมกลุมเปนองคกรเปน ไปในรปู แบบทางการ คือ เปน การคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชน
ของตนเองหรอื ของกลุมตนเองมากท่สี ุด
๖. มีการแขงขันกันสูง คือ สังคมเมือง ผูคนจะมีการแขงขันกันสูง เปนการแขงขัน
เพื่อชัยชนะคูแขง หรือเพื่อความอยูรอดในสังคม คนในสังคมเมืองจึงเปนโรคประสาทมาก
เมือ่ เปรียบเทยี บกบั ชาวชนบท

Êѧ¤Áª¹º·¢Í§ä·Â

มกี ารรวมตวั กนั อยเู ปน ชมุ ชนเลก็ ๆ เปน การรวมตวั กนั เปน หมบู า น ตาํ บล กระจดั กระจาย
ไปทั่วประเทศ ประชาชนสว นใหญของสังคมไทยอาศยั อยใู นชนบท

ÅѡɳÐáÅÐâ¤Ã§ÊÌҧ¢Í§Ê§Ñ ¤Áª¹º·¢Í§ä·Â
๑. มีการรวมตัวกันอยางเหนียวแนน ทั้งนี้เพราะสังคมชนบทไทยมีความคลายคลึงกัน
ของแบบแผนสังคมและแบบแผนของวัฒนธรรมข้ันพ้ืนฐาน สภาพความเปนอยูมีความคลายคลึงกัน
เปน อนั มาก การรวมตัวของสังคมชนบทจึงเปนการรวมตัวอยา งเหนียวแนน
๒. มีพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจและสังคมไมแตกตางกันมาก ชาวชนบทสวนใหญประกอบ
อาชีพทางเกษตรกรรม แบบแผนของสังคมเปนแบบแผนสงั คมเกษตร พน้ื ฐานทางเศรษฐกิจและสงั คม
จึงไมแ ตกตา งกันมาก

๒๐

๓. พึ่งธรรมชาติสิ่งแวดลอมเปนสวนใหญ ชีวิตของชาวชนบทผูกพันอยูกับธรรมชาติ
ทงั้ อาชพี และความเปน อยู ความทกุ ขม ผี ลจากภยั ธรรมชาติ คอื ความแหง แลง นา้ํ ทว ม และความหนาวเยน็
หากปใดไมมภี ยั ธรรมชาติประกอบอาชีพไดผลดี จะมคี วามสุข

๔. การรวมกลมุ ของคนชนบทอยูใ นวงจาํ กดั และมลี กั ษณะไมเ ปนทางการ สงั คมชนบท
จะรูจักคุนเคยกันดี มีการติดตอสัมพันธกันเปนสวนตัวในลักษณะกลุมปฐมภูมิมากกวาสัมพันธกันใน
ลกั ษณะกลมุ ทตุ ยิ ภูมิ

๕. มีการแขงขันกันนอย ผูคนในสังคมชนบทมีการชวยเหลือซ่ึงกันและกันมาโดยตลอด
ประกอบอาชพี คลา ยคลงึ กัน รว มสขุ รว มทกุ ข เผชิญภยั ธรรมชาติมาดวยกนั มคี วามเหน็ อกเหน็ ใจกนั
มคี วามเคารพนับถอื กันมาโดยตลอด ระบบการแขงขันจึงมีนอย

¤ÇÒÁÊÑÁ¾¹Ñ ¸ÃÐËÇÒ‹ §Êѧ¤ÁàÁÍ× §¡ºÑ Êѧ¤Áª¹º·

สังคมเมืองกับสังคมชนบทมีความสัมพันธกันอยางใกลชิด ตองพึ่งพาอาศัยกัน สังคม
ชนบทผลิตและสงอาหาร ตลอดทั้งผลิตผลทางการเกษตรใหแกสังคมเมือง รวมทั้งขายแรงงานใหแก
สังคมเมือง ในขณะเดียวกัน สังคมเมืองก็เปนตลาดขายผลิตผลทางการเกษตร เปนแหลงผลิตทาง
อตุ สาหกรรม สง ผลิตผลทางอุตสาหกรรมขายใหแ กส งั คมชนบท เปนแหลง ความรทู างเทคโนโลยใี หแก
สงั คมชนบท เปนตน

»Þ˜ ËÒ椄 ¤Áä·Â

ñ. »Þ˜ ËÒ¤ÇÒÁÂÒ¡¨¹ ความยากจน คอื สภาพการดํารงชวี ติ ของบคุ คลทม่ี รี ายไดไ มพ อ
กับรายจาย ไมสามารถจะหาสง่ิ จําเปน มาสนองความตอ งการทางรา งกาย และจิตใจไดอ ยางเพียงพอ
จนทําใหบ คุ คลนั้นมสี ภาพความเปนอยูท ่ีตํา่ กวา

ผลเสยี ของความยากจน
๑. ผลเสยี ตอ บคุ คลและครอบครวั ทําใหบ คุ คลสญู เสยี บคุ ลกิ ภาพทดี่ ี ครอบครวั ขาด
เครอื่ งอุปโภคบรโิ ภคทจ่ี ําเปนแกการดํารงชพี ไมส ามารถจะสง บุตรหลานเลา เรียนไดเ ทา ท่คี วร
๒. เปนภาระแกสงั คม สงั คมตองอุมชดู ูแลคนยากจน ทาํ ใหป ระเทศชาตไิ มส ามารถ
จะทมุ เทการพัฒนาได
๓. ทาํ ใหเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองไมม่ันคง ประเทศท่ีมีคนยากจนมากก็ไม
สามารถจะพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองได ทําใหเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองของประเทศ
ไมม ่ันคง
ò. »˜ÞËÒÂÒàʾμÔ´ ยาเสพติด หมายถึง ยาเสพติดใหโทษ องคการอนามัยโลกไดให
คาํ นยิ ามยาเสพติดใหโทษวา “เมือ่ เสพแลวผเู สพจะเกดิ ความตอ งการท้งั ทางรา งกายและจิตใจในการที่
จะไดเ สพตอไป โดยไมสามารถหยุดเสพได จาํ นวนการเสพก็จะเพ่ิมขึน้ เรื่อย ๆ จนทําใหเกดิ อันตราย

๒๑

ตอ รางกายและจิตใจในภายหลัง ยาเสพตดิ ในปจจบุ ันมมี ากมายทป่ี รากฏแพรห ลาย เชน ฝน เฮโรอนี
กัญชา กระทอม แอมเฟตามีน บารบิทเู รต สารระเหย ยาบา

ผลเสยี ของผตู ิดยาเสพตดิ ใหโทษ
๑. ผลเสยี ทางรา งกายและจติ ใจ รา งกายออ นเพลยี เบอ่ื อาหาร นอนไมห ลบั อารมณ
หงุดหงดิ โกรธงาย ฟุงซา น
๒. ผลเสยี ทางสงั คม ผตู ดิ ยาเสพตดิ ไมค าํ นงึ ถงึ กฎระเบยี บของสงั คม ชอบละเมดิ กฎ
ระเบยี บ ผูตดิ ยาเสพตดิ เปน ทร่ี งั เกยี จของสังคม เปนผทู าํ ลายชอ่ื เสยี งวงศต ระกูล
๓. ผลเสยี ทางเศรษฐกจิ ผูตดิ ยาเสพติดสว นใหญอยูใ นวยั แรงงาน ติดยาเสพตดิ แลว
ไมชอบทํางาน ออนแอ ทาํ ใหสูญเสียแรงงาน การผลิตของประเทศลดลง รายไดของประเทศลดลง
นอกจากนน้ั รฐั ยงั ตอ งสญู เสียงบประมาณจาํ นวนมากในการรกั ษาพยาบาลผูติดยาเสพติด
ó. »Þ˜ ËÒ¤ÍÏÃÑ»ªÑ¹ คอรร ปั ชนั คอื การทุจรติ โดยใชหรืออาศัยตาํ แหนงหนา ท่ี อาํ นาจ
และอทิ ธิพลทีต่ นมอี ยู เพอ่ื ประโยชนแ กตนเองและหรือผูอน่ื รวมถงึ การเลือกทีร่ ักมกั ทีช่ ัง การเห็นแก
ญาตพิ นี่ อ ง กนิ สนิ บน ฉอ ราษฎรบ งั หลวง การใชร ะบบอปุ ถมั ภแ ละความไมเ ปน ธรรมอน่ื ๆ ทขี่ า ราชการ
หรือบุคคลใดใชเปน เคร่ืองมือในการลิดรอนความเปน ธรรมและความถูกตอ งตามกฎหมายของสงั คม
ผลเสยี ของการคอรรปั ชนั
๑. ดานรัฐ ทาํ ใหเกิดการผูกขาด ขาราชการจะติดตอซ้ือขายกับพรรคพวกของตน
หรือผูที่ใหผลประโยชนตอตนเองเทานั้น ทาํ ใหสินคาแพงกวาความเปนจริง วัสดุสิ่งของคุณภาพต่ํา
ทําใหเ กิดกลุม ผลประโยชนในวงราชการ ใชสถานท่ีราชการหากินในทางไมสุจรติ
๒. ดานขาราชการ ทาํ ใหขาราชการท่ีซ่ือสัตยสุจริตหมดกาํ ลังใจในการทํางาน
ถาผูบังคับบัญชารวมกับลูกนองใกลชิดกระทําการคอรรัปชันดวยแลว ขาราชการท่ีสุจริตยอมอยูใน
วงราชการยากเพราะจะโดนกลั่นแกลงตลอดเวลา
๓. ดานประชาชน ประชาชนเส่อื มศรทั ธาขา ราชการ เพราะขา ราชการทค่ี อรร ัปชัน
จะทาํ ใหขา ราชการที่ซื่อสัตย พลอยเสยี ช่อื เสยี ง เกยี รติยศ ไปดวย
ô. »Þ˜ ËÒʧÔè áÇ´ÅŒÍÁ໚¹¾ÉÔ สง่ิ แวดลอ มเปนพษิ หมายถึง สง่ิ ตาง ๆ ทอ่ี ยรู อบตวั เรา
เชน อากาศ น้ํา เสยี ง เปน ตน เปน พิษจะโดยมนุษยทาํ ใหเ ปน พิษ หรือเปน พษิ ดวยตัวของมนั เองก็ตาม
ถอื วาสิง่ แวดลอมเปน พิษ ประเทศไทยสงิ่ แวดลอมเปน พษิ ไดท วคี วามรุนแรงขนึ้ เปนลาํ ดับ อากาศเสยี
เต็มไปดวยควันไอเสียจากรถยนต ฝุนละอองจากโรงงาน คนสูดอากาศเปนพิษทําใหเกิดอันตรายตอ
สุขภาพ น้ําในลาํ คลองเนาเหม็น ใชอุปโภคบริโภคไมได เพราะโรงงานตาง ๆ ปลอยนํา้ เสียลงไปใน
แมน้าํ ลําคลอง ประชาชนท้งิ เศษขยะเนาเหม็นลงแมน าํ้ ฯลฯ
õ. »˜ÞËÒâäàʹʏ โรคเอดส (AIDS : Aequired Deficency Syndrome) แพรม าสู
ประเทศไทยจากประเทศตะวนั ตก ประเทศไทยไดร บั อนั ตรายจากโรคเอดสร นุ แรงขน้ึ โรคเอดสเ กดิ จาก
สาเหตทุ ส่ี ําคญั เชน การสําสอ นทางเพศ การใชเ ขม็ ฉดี ยารว มกนั การถา ยเทเลอื ดทข่ี าดความระมดั ระวงั
ปจจุบันยังไมมียารักษาโรคเอดส ผูปวยจะตองเสียชีวิตทุกราย ประเทศไทยตองสูญเสียงบประมาณ
จาํ นวนมากในการรกั ษาผูปวยโรคเอดส ซ่ึงเปน บคุ คลท่ีสงั คมรังเกยี จ

๒๒

ÇÔ¸»Õ ‡Í§¡¹Ñ áÅÐᡌ䢻˜ÞËÒÊѧ¤Áä·Â

๑. ใหก ารศกึ ษาแกป ระชาชนใหท ว่ั ถงึ และสงู ขน้ึ การศกึ ษาเปน การยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ
ของมนุษยใหส งู ขึ้น รัฐจงึ ควรทุมเทงบประมาณในการใหก ารศึกษาแกประชาชน

๒. รัฐตองจัดสวัสดิการที่ดีใหแกประชาชน ตองจัดใหประชาชนมีการศึกษาที่ดี
และมีงานทําทกุ คนเพื่อเปน หลักประกันของชวี ติ ควรจัดใหม ีการประกนั สังคมโดยท่วั ถึง

๓. พฒั นาเศรษฐกจิ อยา งเหมาะสมกบั ประเทศ โดยพฒั นาเศรษฐกจิ เพอื่ สว นรวม กระจาย
รายไดส ชู นบทมากข้ึน พยายามลดชองวางระหวางคนจนกบั คนรวยใหอ ยูใ นระดบั เดยี วกัน

๔. มีการพัฒนาสังคมใหเหมาะสม โดยเฉพาะระดับครอบครัว ซึ่งเปนสถาบันที่สาํ คัญ
ตองพัฒนากอนสถาบันอ่ืน ๆ ควรสรางคานิยมท่ีดีใหกับเด็ก เชน ใหมีความซ่ือสัตย ขยัน ใฝศึกษา
ไมเ หน็ แกเ งนิ ชอบศกึ ษาคน ควา ฯลฯ รฐั ตอ งพฒั นาบคุ คลใหม คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดําเนนิ ชวี ติ ในครรลอง
แหงจริยธรรม คุณธรรม หรอื ตามหลกั พระศาสนาทีต่ นเองยอมรบั นับถือ

º·ÊÃØ»

จากวิวัฒนาการตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซ่ึงถูกเลิก
ไปแลว ประเทศไทยปกครองระบอบราชาธิปไตยภายใตรัฐธรรมนูญ และประชาธิปไตยระบบรัฐสภา
ซง่ึ มพี ระมหากษตั รยิ ซ ง่ึ ทรงอยภู ายใตร ฐั ธรรมนญู เปน ประมขุ แหง รฐั และนายกรฐั มนตรเี ปน หวั หนา รฐั บาล
ฝา ยนติ บิ ญั ญตั ิ และฝา ยบรหิ ารถว งดลุ อํานาจซงึ่ กนั และกนั สว นฝา ยตลุ าการเปน อสิ ระจากการถว งดลุ
อํานาจ ฝายบริหารมนี ายกรัฐมนตรเี ปนประมุขแหง อาํ นาจ ฝายนิติบัญญัตขิ องไทยอยูในระบบสภาคู
แบงออกเปน วฒุ ิสภาและสภาผแู ทนราษฎร ฝา ยตุลาการ มีศาลเปนองคกรบรหิ ารอาํ นาจ

สวนใหญประเทศไทยมีระบบพรรคการเมืองเปนระบบหลายพรรค กลาวคือ ไมมี
พรรคการเมืองใดสามารถจัดตั้งรัฐบาลพรรคเดียวไดอยางเด็ดขาด จึงตองจัดต้ังรัฐบาลผสมปกครอง
ประเทศ

ตั้งแตโบราณกาล ราชอาณาจักรไทยอยูภายใตระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย อยางไร
กต็ าม หลงั จากการปฏวิ ตั สิ ยาม พ.ศ. ๒๔๗๕ ประเทศไทยจงึ อยภู ายใตก ารปกครองระบอบราชาธปิ ไตย
ภายใตรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญเขียนฉบับแรกถูกรางข้ึน อยางไรก็ตาม การเมืองไทยยังมีการตอสู
ระหวางกลุมการเมืองระหวางอภชิ นหวั สมัยเกาและหัวสมัยใหม ขา ราชการ และนายพล ประเทศไทย
เกดิ รฐั ประหารหลายครงั้ ซง่ึ มกั เปลยี่ นแปลงใหป ระเทศไทยอยภู ายใตอ าํ นาจของคณะรฐั ประหารชดุ แลว
ชดุ เลา จนถงึ ปจ จบุ นั **ประเทศไทยมกี ารประกาศใชร ฐั ธรรมนญู มาแลว ทงั้ สนิ้ ๒๐ ฉบบั โดยฉบบั ท่ี ๒๐
คือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ เร่ิมประกาศใชตั้งแตวันท่ี ๖ เมษายน
พ.ศ.๒๕๖๐ (นับรวมฉบับปจจุบัน) ซึ่งสะทอนใหเห็นถึงความไรเสถียรภาพทางการเมืองอยางสูง
หลงั รฐั ประหารแตล ะครง้ั รฐั บาลทหารมกั ยกเลกิ รฐั ธรรมนญู ทม่ี อี ยเู ดมิ และประกาศใชร ฐั ธรรมนญู ชวั่ คราว

** อางองิ เกร็ดความรู.net หมวดหมูก ารเมืองการปกครองและกฎหมาย

๒๓

สงั คมเกดิ ขน้ึ มาพรอ มกบั มนษุ ย และไดว วิ ฒั นาการมาตามลาํ ดบั สงั คมเปน ผลของสญั ญา
ท่มี นุษยต กลงจดั ทาํ ข้นึ ดว ยความสมัครใจของมนษุ ยเอง เพ่ือความสขุ สมบูรณ และความเปนระเบยี บ
วัตถุประสงคของการจดั ตง้ั สงั คมขึ้น เพ่ือขจัดความซง่ึ โหดรา ย ความยุง ยากซบั ซอ น และความสบั สน
ตางๆ ตามสภาพธรรมชาติของมนุษย แนวความคิดของนักปราชญ กลุมนี้เรียกกลุม “ทฤษฎีสัญญา
สังคม” “ทฤษฎีเนนถึงธรรมชาติ” กลาวคือ ทฤษฎีน้ีเช่ือวามนุษยด้ังเดิมน้ันอยูรวมกันเปนสังคม
เชน ปจ จบุ นั คอื มนษุ ยไ ดอ าศยั อยตู ามธรรมชาติ แตเ นอ่ื งจากความชว่ั รา ย ความยงุ ยากสบั สน การเพมิ่
จาํ นวนมนษุ ย ตลอดจนอารยธรรม เปน เหตใุ หม นษุ ยต อ งละทงิ้ ธรรมชาติ และสญั ญาดว ยความสมคั รใจ
ที่จะรวมกันในสังคม ท้งั น้ีโดยมงุ หวงั ท่ีจะไดร บั ความคมุ ครอง และประโยชนส ุขเปน การตอบแทน

๒๕

º··Õè ò

¤ÇÒÁ໹š ÁÒ ¤ÇÒÁÊÒí ¤ÑÞáÅС®ºÑμâͧ»ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. เพือ่ ใหผูเรียนรคู วามเปนมา ความสําคญั และกฎบัตรของประชาคมอาเซยี น
๒. เพอ่ื ใหผเู รียนรูที่ตงั้ เมอื งหลวง ภาษาทใ่ี ชใ นการปกครอง หนว ยเงนิ ตราของประเทศ
สมาชิกอาเซียน

º·นํา

ประชาคมอาเซียนกอต้ังข้ึนโดยมีวัตถุประสงคจากความตองการสภาพแวดลอม
ภายนอกทีม่ ั่นคง (เพื่อท่ีผปู กครองของประเทศสมาชกิ จะสามารถมุงความสนใจไปทีก่ ารสรา งประเทศ)
ความกลวั ตอ การแพรข ยายของลทั ธคิ อมมวิ นสิ ต ความศรทั ธาหรอื ความเชอื่ ถอื ตอ มหาอํานาจภายนอก
เส่ือมถอยลงในชวงพทุ ธทศวรรษ ๒๕๐๐ รวมไปถงึ ความตองการในการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศ
การจัดต้ังกลมุ อาเซยี นมีวตั ถปุ ระสงคต า งกบั การจดั ตง้ั สหภาพยุโรป เนอ่ื งจากกลุม อาเซยี นถกู สรางขนึ้
เพ่ือสนับสนุนความเปนชาตินิยมและเพ่ือสรางสันติภาพในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต อันนาํ มา
ซ่ึงเสถียรภาพทางการเมือง และความเจริญกาวหนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม และเม่ือ
การคาระหวางประเทศในโลกมีแนวโนมกีดกันการคารุนแรงข้ึน ทําใหอาเซียนไดหันมามุงเนนกระชับ
และขยายความรวมมือดานเศรษฐกิจการคา ระหวางกนั มากข้นึ

¤ÇÒÁ໚¹ÁÒáÅФÇÒÁสาํ ¤Ñޢͧ»ÃЪҤÁÍÒà«ÂÕ ¹
อาเซยี นหรอื สมาคมประชาชาตแิ หง เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต (Association of Southeast
Asian Nations หรอื ASEAN) กอ ตงั้ ขนึ้ โดยพธิ ลี งนาม “ปฏญิ ญากรงุ เทพฯ” (Bangkok Declaration)
เพ่ือต้ังสมาคมความรวมมือกันในการเพ่ิมอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม
การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุมประเทศสมาชิก และการธาํ รงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในพ้ืนที่
และเปน การเปด โอกาสใหค ลายขอ พพิ าทระหวา งประเทศสมาชกิ อยา งสนั ตขิ องระดบั ภมู ภิ าคของประเทศ
ตา งๆ ในเอเชีย เม่ือวันท่ี ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐ โดยมผี ูรวมกอ ตง้ั ๕ ประเทศ ดังตอ ไปนี้
๑. ไทย โดย พนั เอก (พิเศษ) ถนัด คอมันตร (รฐั มนตรีตา งประเทศ)
๒. สงิ คโปร โดย นายเอส ราชารัตนมั (รัฐมนตรตี า งประเทศ)
๓. มาเลเซีย โดย ตุน อับดุล ราชัก บิน ฮุสเซน (รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี
กลาโหมและรฐั มนตรกี ระทรวงพัฒนาการแหงชาต)ิ

๒๖

๔. ฟล ปิ ปนส โดย นายนาซโิ ซ รามอส (รฐั มนตรีตางประเทศ)
๕. อนิ โดนีเซยี โดย นายอาดัม มาลกิ (รฐั มนตรีตา งประเทศ)
ในเวลาตอ มาประเทศตา งๆ เขา รวมเปนสมาชิกเพิม่ เตมิ คอื บรไู นดารสุ ซาลาม (๘ ม.ค.
๒๕๒๗), สาธารณรัฐสงั คมนิยมเวียดนาม (๒๘ ก.ค. ๒๕๓๘), สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
และสหภาพมา (๒๓ ก.ค. ๒๕๔๐), ราชอาณาจักรกมั พชู า (๓ เม.ย. ๒๕๔๒) ตามลําดบั ทาํ ใหป จ จุบนั
มีสมาชกิ อาเซียนท้งั หมด ๑๐ ประเทศ

ÀÒ¾¨Ò¡ http://www.wangitok.com/khwam-ru-xaseiyn

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤Ë Å¡Ñ
ปฏิญญากรุงเทพฯ ไดระบวุ ตั ถุประสงคสําคญั ๗ ประการ ของการจัดตั้งอาเซียน ไดแก
๑. สง เสรมิ ความรว มมอื และความชว ยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในทางเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม
เทคโนโลยี วิทยาศาสตร และการบริการ
๒. สงเสรมิ สนั ตภิ าพและความมน่ั คงสว นภูมภิ าค
๓. เสริมสรา งความเจรญิ รุง เรอื งทางเศรษฐกจิ พฒั นาการทางวฒั นธรรมในภมู ิภาค
๔. สง เสรมิ ใหประชาชนในอาเซียนมคี วามเปน อยแู ละคณุ ภาพชวี ิตทีด่ ี
๕. ใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในรูปของการฝกอบรมและการวิจัยและสงเสริม
การศกึ ษาดานเอเชียตะวันออกเฉียงใต
๖. เพ่ิมประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการคา ตลอดจน
การปรับปรงุ การขนสง และการคมนาคม

๒๗

๗. เสรมิ สรา งความรว มมอื อาเซยี นกบั ประเทศภายนอก องคก ารความรว มมอื แหง ภมู ภิ าค
อื่นๆ และองคก ารระหวางประเทศ

ÊÞÑ Åѡɳ͏ Òà«Õ¹

รปู รวงขา วสเี หลอื งบนสญั ลกั ษณส แี ดงลอ มรอบดว ย
วงกลมสขี าวและสนี า้ํ เงนิ รวมขา ว ๑๐ ตน มดั รวม
กนั ไว หมายถงึ ประเทศสมาชกิ รวมกนั เพอื่ มติ รภาพ
และความเปน นาํ้ หนง่ึ ใจเดยี วกนั พนื้ วงกลมสแี ดง
สีขาว และสีนํา้ เงิน ซ่งึ แสดงถึงความเปน เอกภาพ
มีตวั อักษรคําวา “ASEAN” สนี ํา้ เงิน อยใู ตภ าพ
รวงขา ว อนั แสดงถงึ ความมงุ มน่ั ทจี่ ะทาํ งานรว มกนั
เพื่อความม่นั คง สนั ตภิ าพ เสรภี าพและเอกภาพ
ของประเทศและความกา วหนา ของสมาชกิ อาเซยี น

ภาพที่ ๒ แสดงสัญลักษณอ าเซยี น

คาํ ¢ÇÑÞÍÒà«ÂÕ ¹

ภาพท่ี ๓ แสดงคาํ ขวัญอาเซียน

๒๘

¸§»ÃÐจาํ »ÃÐà·ÈÊÁÒªÔ¡

ภาพท่ี ๔ แสดงธงประจําประเทศสมาชิกอาเซียน

¸§ÍÒà«Õ¹

ภาพท่ี ๕ แสดงธงอาเซียน

“¸§ÍÒà«Õ¹” พื้นธงเปนสีน้ําเงินมีตราสัญลักษณอาเซียนอยูตรงกลาง แสดงถึงความมี
เสถยี รภาพ สนั ตภิ าพ ความสามคั คแี ละพลวตั ของอาเซยี น ซงึ่ สที ใ่ี ชอ นั ประกอบไปดว ย สนี า้ํ เงนิ สแี ดง
สขี าวและสีเหลือง ซึง่ เปน สีหลักในธงชาตขิ องแตล ะประเทศสมาชิกอาเซียน

๒๙

à¾Å§ÍÒà«ÂÕ ¹

¤ÇÒÁ໚¹ÁÒ
๑. จดุ เรม่ิ ตน ของความคดิ ในการมเี พลงประจาํ อาเซยี นเกดิ ขน้ึ เปน ครง้ั แรกจากการหารอื
ในที่ประชุมอาเซียนทางดานวัฒนธรรมและสนเทศ (ชื่อทางการคือคณะกรรมการอาเซียนวาดวย
วฒั นธรรมและสนเทศ) คร้งั ท่ี ๒๙ ในเดือนมิถนุ ายนป ๒๕๓๗ ซึง่ ในครง้ั นนั้ ทีป่ ระชมุ มีความเห็นตรง
กนั วา อาเซยี นควรจะมเี พลงประจาํ อาเซยี นโดยกาํ หนดจะใหเ ปด เพลงประจาํ อาเซยี นในชว งของการจดั
กจิ กรรมตา งๆ ทางดา นวฒั นธรรมและสนเทศ ทงั้ นี้ ในเรอื่ งการสนบั สนนุ ดา นการเงนิ ทป่ี ระชมุ ตกลงให
ใชเ งนิ จากกองทนุ วฒั นธรรมอาเซยี นเพอ่ื สนบั สนนุ การจดั ทาํ โครงการเพอื่ คดั เลอื กเพลงประจาํ อาเซยี น
๒. ตอมาในการประชุมครั้งที่ ๓๒ ของคณะกรรมการอาเซียนวาดวยวัฒนธรรม
และสนเทศในเดือนพฤษภาคม ป ๒๕๔๐ ที่ประเทศมาเลเซียไดพิจารณาแตงต้ังคณะกรรมการ
เพอื่ คดั เลอื กเพลงในรอบสดุ ทา ยโดยเพลงทเ่ี ขา รอบในครงั้ นน้ั เปน เพลงจากไทย มาเลเซยี และฟล ปิ ปน ส
และเพลง ASEAN Song of Unity หรือ ASEAN Oh ASEAN จากฟล ิปปนสไดรับรางวลั ชนะเลิศ
อยางไรก็ดี เพลงดังกลาวไมเปนที่รูจักแพรหลายในประเทศสมาชิกอาเซียนเนื่องจากใชเปดเฉพาะ
ในการประชมุ คณะกรรมการอาเซยี นวาดวยวัฒนธรรมและสนเทศและกิจกรรมทเ่ี ก่ยี วของ
๓. ดว ยเหตนุ ท้ี าํ ใหใ นการประชมุ สดุ ยอดอาเซยี นทมี่ าเลเซยี และทสี่ งิ คโปรป ระเทศทเ่ี ปน
เจา ภาพการประชมุ จงึ ไดแ ตง เพลงเพอื่ ใชเ ปด ในทป่ี ระชมุ โดยมาเลเซยี แตง เพลง “ASEAN Our Way”
และสงิ คโปรแ ตงเพลง “Rise”

º·ºÒ·¢Í§ä·Â¡Ñº¡Òè´Ñ ทําà¾Å§»ÃÐจาํ ÍÒà«Õ¹

๑. การจดั ทําเพลงประจาํ อาเซยี นเปนการดําเนินการตามกฎบัตรอาเซยี น โดยบทท่ี ๔๐
ระบใุ หอาเซียน มเี พลงประจําอาเซียนโดยหากเปน ไปไดใหเ สรจ็ เรียบรอ ยกอนการใหส ตั ยาบนั กฎบตั ร
อาเซยี น และการประชุมสดุ ยอดอาเซียนครงั้ ท่ี ๑๔

๒. ประเทศไทยไดรับความไววางใจจากประเทศสมาชิกอาเซียนใหเปนเจาภาพจัดการ
แขงขันเพลงประจําอาเซียนโดยท่ีประชุมประเทศสมาชิกอาเซียนไดเห็นชอบใหกําหนดรูปแบบ
การแขง ขนั เปน open competition โดยใหส าํ นกั เลขานกุ ารอาเซยี นในแตล ะประเทศกลนั่ กรองคณุ สมบตั ิ
เบอื้ งตน และจดั สง ใหประเทศไทยภายในเดือนกันยายน ๒๕๕๑ โดยเนอื้ รอ งตอ งมีเกณฑด ังนี้

๒.๑ เปน ภาษาอังกฤษ
๒.๒ มลี กั ษณะเปนเพลงชาติประเทศสมาชกิ อาเซยี น
๒.๓ มคี วามยาวไมเกิน ๑ นาที
๒.๔ เนื้อรองสะทอนความเปนหน่ึงเดียวของอาเซียน และความหลากหลาย
ทางดานวัฒนธรรม และเชือ้ ชาติ
๒.๕ เปน เพลงทแ่ี ตง ขนึ้ ใหม ทงั้ นผ้ี ชู นะเลศิ จะไดร บั เงนิ รางวลั ๒ หมน่ื ดอลลารส หรฐั

๓๐

ที่ประชมุ มีมตเิ ปนเอกฉนั ทเ ลือกเพลง “ASEAN Way” ของไทยทแี่ ตงโดยนายกติ ตคิ ณุ
สดประเสริฐ (ทํานองและเรียบเรียง) นายสําเภา ไตรอุดม (ทํานอง) และนางพะยอม วลัยพัชรา
(เน้อื รอง) ใหเปน เพลงประจําอาเซยี น

¤ÇÒÁสาํ ¤ÞÑ ¢Í§à¾Å§»ÃÐจําÍÒà«ÂÕ ¹

การมีเพลงอาเซียนถือวามีความสําคัญตออาเซียนเปนอยางย่ิงเน่ืองจากนับจากน้ีไป
อาเซยี นจะมเี พลงประจาํ อาเซยี นซงึ่ จะชว ยสนบั สนนุ การเสรมิ สรา งอตั ลกั ษณข องอาเซยี นในการเชอ่ื มโยง
อาเซียนเขาไวดวยกัน นอกจากนี้การไดรับความไววางใจจากประเทศสมาชิกอาเซียนใหเปนเจาภาพ
จัดการประกวดแขงขันครั้งนี้ รวมทั้งการที่เพลงจากไทยไดรับคัดเลือกใหเปนเพลงประจําอาเซียน
ถือเปน เกียรตภิ ูมิของประเทศและแสดงถึงความสามารถของคนไทยดวย

THE ASEAN WAY

ภาษาองั กฤษ คาํ แปล
Raise our flag high, sky high. ชธู งเราใหส ูงสุดฟา
Embrace the pride in our heart. โอบเอาความภาคภูมไิ วในใจเรา
ASEAN we are bonded as one. อาเซียนเราผูกพันเปนหน่ึง
มองมงุ ไปยังโลกกวาง
Look’in out to the world. สนั ตภิ าพ คือเปาหมายแรกเรม่ิ
For peace our goal from the very start ความเจริญ คือปลายทางสดุ ทาย

And prosperity to last. เรากลา ฝน
We dare to dream, และใสใจตอการแบง ปน
We care to share.
รวมกนั เพอื่ อาเซยี น
Together for ASEAN. เรากลาฝน
We dare to dream,
We care to share และใสใจตอ การแบงปน
นคี่ อื วิถอี าเซียน
For it’s the way of ASEAN.

¡®ºÑμÃÍÒà«Õ¹

เปนรางสนธิสัญญาที่ทํารวมกันระหวางประเทศสมาชิกในสมาคมประชาชาติแหงเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต เพื่อเปน เคร่อื งมอื ในการวางกรอบทางกฎหมาย และโครงสรางองคกรของสมาคม
ทัง้ น้ี เพอ่ื เพม่ิ ประสิทธิภาพของอาเซียนในการดาํ เนินการตามวัตถปุ ระสงคและเปาหมาย โดยเฉพาะ
อยางย่ิงการขับเคลื่อนการรวมตัวเปนประชาคมอาเซียน ภายในป พ.ศ.๒๕๕๘ ตามที่ผูนําอาเซียน
ไดตกลงกนั ไว

๓๑

¡ÒûÃСÒÈ㪌

ผูนาํ อาเซยี นไดลงนามรับรองกฎบัตรอาเซียน ในการประชมุ สุดยอดอาเซยี น ครงั้ ท่ี ๑๓
เมื่อวนั ท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ณ ประเทศสิงคโปร ในโอกาสครบรอบ ๔๐ ปข องการกอ ต้งั อาเซยี น
เพ่ือแสดงใหประชาคมโลกไดเห็นถึงความกาวหนาของอาเซียนท่ีกําลังจะกาวเดินไปพรอมกับประเทศ
สมาชกิ ทงั้ ๑๐ ประเทศ และถอื วา เปน เอกสารประวตั ศิ าสตรช นิ้ สาํ คญั ทจี่ ะปรบั เปลยี่ นอาเซยี นใหเ ปน
องคกรท่ีมีสถานะเปนนิติบุคคลในฐานะท่ีเปนองคกรระหวางรัฐบาล ประเทศสมาชิกไดใหสัตยาบัน
กฎบตั รอาเซยี น ครบทง้ั ๑๐ ประเทศแลวเมือ่ วนั ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ กฎบตั รอาเซยี นจึงมีผล
บังคบั ใช ตงั้ แตว ันท่ี ๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๑ เปน ตน ไป โดยสงผลใหก ารดาํ เนินงานของอาเซียนเปนไป
ภายใตก ฎหมายเดยี วกนั และปทู างไปสกู ารสรา งตลาดเดยี วในภมู ภิ าคใน ๗ ป

â¤Ã§ÊÌҧ¢Í§¡®ºμÑ ÃÍÒà«ÂÕ ¹

โครงสรา งของกฎบตั รอาเซียน ประกอบดวย ๕๕ ขอ ใน ๑๓ หมวด

หมวด รายละเอยี ด

หมวด ๑ วัตถปุ ระสงคและหลกั การ (กลา วถึงวัตถปุ ระสงคแ ละหลักการ)

หมวด ๒ สภาพบคุ คลตามกฎหมาย (ระบฐุ านะทางกฎหมาย)

หมวด ๓ สมาชกิ ภาพ (สมาชกิ การรบั สมาชกิ ใหม)

หมวด ๔ องคกร (กลาวถึงองคกรและคณะทํางาน ประกอบดวย ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน
คณะมนตรปี ระสาน คณะมนตรปี ระชาคมอาเซยี นตา งๆ องคก รรฐั มนตรเี ฉพาะสาขา
คณะกรรมการถาวรประจําอาเซียน เลขาธิการและสํานักเลขาธิการ องคกรสิทธิ
มนุษยชนอาเซียน

หมวด ๕ องคก รท่ีมคี วามสมั พันธกบั อาเซยี น (รายชือ่ ตามภาคผนวก ๒)

หมวด ๖ ความคมุ กันและเอกสทิ ธ์ิ (เอกสิทธทิ์ างการทตู ของอาเซียน)

หมวด ๗ การตดั สินใจ (กลาวถงึ เกณฑก ารตัดสนิ ท่อี ยบู นหลักการปรึกษาและฉันทามติ)

หมวด ๘ การระงับขอพิพาท (กลาวถึงวิธีระงับขอพิพาทและคนกลางโดยที่ประชุมสุดยอด
อาเซียนเปน ชองทางสดุ ทาย)

หมวด ๙ งบประมาณการเงิน (กลาวถึงการจัดทํางบประมาณของสํานักงบประมาณ สํานัก
เลขาธกิ าร)

๓๒

หมวด รายละเอียด
หมวด ๑๐ การบรหิ ารและขนั้ ตอนการดาํ เนนิ งาน (กลา วถงึ ประธานอาเซยี น พธิ กี ารทางการทตู
หมวด ๑๑ อตั ลกั ษณและสัญลกั ษณ (กลา วถงึ คําขวัญ ธง ดวงตรา วนั และเพลงอาเซยี น)
หมวด ๑๒ ความสมั พนั ธภ ายนอก (กลา วถงึ แนวทาง ขนั้ ตอนการเจรจาของอาเซยี นกบั คเู จรจา)
หมวด ๑๓ บทบญั ญตั ิทว่ั ไปและบทบญั ญัติสุดทา ย (กลา วถงึ การบังคับใช)
ภาคผนวก ๑ – กลาวถึงองคก รระดบั รัฐมนตรอี าเซียนเฉพาะสาขา
ภาคผนวก ๒ – กลาวถงึ องคกรท่ีมีความสมั พันธกับอาเซียน คือ รฐั สภา องคก ร
ภาคธุรกจิ สถาบนั วชิ าการ และองคก รภาคประชาสงั คม
ภาคผนวก ๓ – อธบิ ายรายละเอยี ดธงอาเซยี น
ภาคผนวก ๔ – อธบิ ายรายละเอียดตราอาเซยี น

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤¢Í§¡®ºμÑ ÃÍÒà«ÂÕ ¹

ÀÒ¾ÃÇÁ¢Í§»ÃЪҤÁÍÒà«ÂÕ ¹ การรกั ษาและเพม่ิ พนู สนั ตภิ าพ ความมน่ั คง เสถยี รภาพ
การเพิ่มความรวมมอื ดานการเมือง ความม่นั คง เศรษฐกจิ และสังคม วฒั นธรรม เปนเขตปลอดอาวธุ
นิวเคลียรและอาวุธท่ีมีอานภุ าพทาํ ลายลา งสงู

´ŒÒ¹àÈÃÉ°¡Ô¨ สรางตลาดและฐานการผลิตเดียวและความสามารถในการแขงขันสูง
การรวมตวั ทางเศรษฐกจิ ทม่ี คี วามเคลอื่ นยา ยเสรขี องสนิ คา /บรกิ าร การลงทนุ และแรงงาน การเคลอ่ื นยา ย
ทนุ เสรีย่งิ ขึน้

´ŒÒ¹¤ÇÒÁÁèѹ¤§¢Í§Á¹Øɏ บรรเทาความยากจน และลดชองวางการพัฒนา สงเสริม
พัฒนาทรัพยากรมนุษยผ า นความรวมมอื ดานการศกึ ษา และการเรยี นรูตลอดชพี

´ŒÒ¹Êѧ¤Á สงเสริมอาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง สรางสังคมท่ีปลอดภัย ม่ันคง
จากยาเสพติด เพิ่มพูนความกินดีอยูดีของประชาชนอาเซียน ผานโอกาสท่ีทัดเทียมกันในการเขาถึง
การพัฒนามนษุ ย สวัสดิการ และความยตุ ธิ รรม

´ŒÒ¹Êè§Ô áÇ´ÅŒÍÁ สนับสนนุ การพัฒนาอยางยง่ั ยนื ท่คี มุ ครองสภาพแวดลอ ม ความย่งั ยืน
ของทรัพยากรธรรมชาติ

´ŒÒ¹Ç²Ñ ¹¸ÃÃÁ สงเสรมิ อตั ลกั ษณของอาเซยี นโดยเคารพความหลากหลาย และอนรุ กั ษ
มรดกทางวฒั นธรรม

´ŒÒ¹¡ÒÃàÁ×ͧ¤ÇÒÁÁÑ蹤§ คุมครองสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพข้ันพื้นฐาน เสริมสราง
ประชาธิปไตย เพิ่มพูนธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม ตอบสนองตอส่ิงทาทายความมั่นคง เชน
การกอ การราย

๓๓

¤ÇÒÁสํา¤ÞÑ ¢Í§¡®ºμÑ ÃÍÒà«Õ¹μ‹Í»ÃÐà·Èä·Â

กฎบัตรอาเซียนใหความสําคัญกับการปฏิบัติตามพันธกรณีตางๆ ของประเทศสมาชิก
ซึ่งจะชวยสรางเสริมหลักประกันใหกับไทยวา จะสามารถไดรับผลประโยชนตามท่ีตกลงกันไวอยาง
เต็มเม็ดเต็มหนวย นอกจากนี้ การปรับปรุงการดําเนินงานและโครงสรางองคกรของอาเซียน
ใหมีประสิทธิภาพมากข้ึน และการเสริมสรางความรวมมือในท้ัง ๓ เสาหลักของประชาคมอาเซียน
จะเปนฐานสําคัญท่ีจะทําใหอาเซียนสามารถตอบสนองตอความตองการและผลประโยชน
ของรัฐสมาชิก รวมทั้งยกสถานะและอํานาจตอรอง และภาพลักษณของประเทศสมาชิกในเวที
ระหวางประเทศไดดียิ่งขึ้น ซึ่งจะเอ้ือใหไทยสามารถผลักดันและไดรับผลประโยชนดานตางๆ
เพม่ิ มากข้ึนดว ย ตัวอยา งเชน

- อาเซยี นขยายตลาดใหก บั สนิ คาไทยจากประชาชนไทย ๖๘ ลา นคน (พ.ศ. ๒๕๖๓)
เปน ประชาชนอาเซียนกวา ๖๔๐ ลานคน ประกอบกบั การขยายความรวมมือเพือ่ เชื่อมโยงโครงสรา ง
พ้ืนฐาน เชน เสน ทางคมนาคม ระบบไฟฟา โครงขา ยอินเทอรเน็ต ฯลฯ จะชว ยเพ่ิมโอกาสทางการคา
และการลงทุนใหกับไทย

นอกจากน้ี อาเซียนยังเปนทั้งแหลงเงินทุนและเปาหมายการลงทุนของไทย และไทยได
เปรยี บประเทศสมาชกิ อื่นๆ ทมี่ ที ่ีตง้ั อยูใจกลางอาเซยี น สามารถเปนศนู ยกลางทางการคมนาคมและ
ขนสง ของประชาคม ซง่ึ มกี ารเคลอ่ื นยา ยสนิ คา บรกิ าร และบคุ คล ระหวา งประเทศสมาชกิ ทส่ี ะดวกขน้ึ

- อาเซียนชวยสงเสริมความรวมมือในภูมิภาคเพื่อเผชิญกับภัยคุกคามท่ีสงผลกระทบ
ตอประชาชนโดยตรง เชน SARs ไขหวัดนก การคามนุษย ภัยพิบัติทางธรรมชาติ หมอกควัน
ยาเสพติด ปญหาโลกรอน และปญหาความยากจน เปนตน

- อาเซยี นจะชว ยเพม่ิ อาํ นาจตอ รองของไทยในเวทโี ลก และเปน เวทที ไ่ี ทยสามารถใชใ น
การผลกั ดนั ใหม กี ารแกไ ขปญ หาของเพอื่ นบา นทก่ี ระทบมาถงึ ไทยดว ย เชน ปญ หาพมา ในขณะเดยี วกนั
ความสมั พนั ธพ หภุ าคี ในกรอบอาเซียนจะเกอ้ื หนนุ ความสัมพนั ธของไทยในกรอบทวภิ าคี เชน ความ
รว มมือกบั มาเลเซียในการแกไขปญหา ๓ จงั หวัดชายแดนใตดวย

๓๔

ó àÊÒËÅÑ¡»ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹¡ºÑ ¤ÇÒÁàª×Íè Áâ§ÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ã¹ÍÒà«ÂÕ ¹
(ASEAN Connectivity)

¡ÒÃà¢ÒŒ ÊÙ»‹ ÃЪҤÁÍÒà«Õ¹ »‚ òõõø »ÃСͺ´ÇŒ  ó àÊÒËÅ¡Ñ

ñ. »ÃЪҤÁ¡ÒÃàÁ×ͧ ò. »ÃЪҤÁàÈÃÉ°¡Ô¨ ó. »ÃЪҤÁÊѧ¤ÁáÅÐ
áÅФÇÒÁÁ¹èÑ ¤§ÍÒà«ÂÕ ¹ ÍÒà«ÂÕ ¹ (AEC) ÇѲ¹¸ÃÃÁÍÒà«ÂÕ ¹
(ASCC)
(APSC)

à»Ò‡ ËÁÒ : ໹š 椄 ¤Á·ÕèÊÁÒª¡Ô➡ ➡➡ à»Ò‡ ËÁÒ : ¾²Ñ ¹Ò¢´Õ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö à»Ò‡ ËÁÒ : ໹š 椄 ¤Á·ÁèÕ àÕ Í¡ÀÒ¾
Á¤Õ ÇÒÁäÇàŒ ¹Í×é àªÍ×è 㨫§èÖ ¡¹Ñ áÅС¹Ñ➡ ➡➡㹡ÒÃᢧ‹ ¢¹Ñ ¡ºÑ âÅ¡ÀÒ¹͡ àÍ×éÍÍÒ·Ã ÁÕ¡ÒþѲ¹Ò¤Ø³ÀÒ¾
ÁàÕ Ê¶ÂÕ ÃÀÒ¾ Ê¹Ñ μÀÔ Ò¾ áÅФÇÒÁ➡ ➡➡ ªÇÕ μÔ ¤ÇÒÁ໹š Í·‹Ù ´Õè Õ áÅÐÁ¤Õ ÇÒÁ
»ÅÍ´ÀÂÑ ã¹ªÇÕ μÔ áÅзÃѾÂʏ ¹Ô Áè¹Ñ ¤§·Ò§Êѧ¤ÁáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ

á¼¹¡Òè´Ñ μ§éÑ »ÃЪҤÁ¡ÒÃàÁÍ× § á¼¹¡ÒèѴμéѧ»ÃЪҤÁÊѧ¤Á á¼¹¡ÒèѴμéѧ»ÃЪҤÁÊѧ¤Á
áÅФÇÒÁÁ¹èÑ ¤§ÍÒà«ÂÕ ¹ (APSC àÈÃÉ°¡¨Ô ÍÒà«Õ¹ (AEC) áÅÐÇ²Ñ ¹¸ÃÃÁÍÒà«ÂÕ ¹ (ASCC
Blueprint) Blueprint)

á¼¹áÁº‹ ·ÇÒ‹ ´ÇŒ ¤ÇÒÁàªèÍ× Áâ§ÃÐËÇÒ‹ §¡¹Ñ ã¹ÍÒà«Õ¹
(ASEAN Connectivity)

ñ. ¤ÇÒÁàªè×ÍÁ⧢Ñé¹¾é×¹°Ò¹ ò. ¤ÇÒÁàª×Íè Á⧠ó. ¤ÇÒÁàªÍ×è Áâ§
´ÒŒ ¹¡®ÃÐàºÕº ´ŒÒ¹»ÃЪҪ¹

- ¾Ñ²¹ÒÃкºμ‹Ò§æ ·ÕèÁ¤Õ ÇÒÁ - àªè×ÍÁ⧡®ÃÐàºÕºμ‹Ò§æ - ¡Ãкǹ¡ÒÃÊÃÒŒ §¤ÇÒÁà¢ÁŒ ᢧç
ËÅÒ¡ËÅÒÂã¹ÀÙÁÔÀÒ¤ãËŒÁÕ ¼Ò‹ ¹¡Òè´Ñ ·Òí ¢ÍŒ μ¡Å§ÃÐËÇÒ‹ § ·Ò§ÍÑμÅѡɳáÅФÇÒÁ
¤ÇÒÁàªè×ÍÁ⧡¹Ñ »ÃÐà·È ¤ÇÒÁμ¡Å§ÃдѺ ໹š Í¹Ñ Ë¹§Öè Í¹Ñ à´ÂÕ Ç¢Í§ÍÒà«ÂÕ ¹
ÀÙÁÀÔ Ò¤ ¾Ô¸ÊÕ ÒÃμÒ‹ §æ
- ºÃÙ ³Ò¡ÒÃ㪻Œ ÃÐ⪹Ï Ç‹ Á¡¹Ñ ä´Œ - ª‹Ç»ÃÐÊÒ¹·Ò§Êѧ¤ÁáÅÐ
Í‹ҧÁ»Õ ÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ Ò¾ ÇѲ¹¸ÃÃÁ

- ʧ‹ àÊÃÁÔ »ÃÐÊ·Ô ¸ÀÔ Ò¾¢Í§¤ÇÒÁ
àªÍ×è Á⧴Ҍ ¹â¤Ã§ÊÃÒŒ §¾¹é× °Ò¹
áÅдŒÒ¹¡®ÃÐàºÕº

๓๕

»ÃÐà·ÈÊÁÒª¡Ô »ÃЪҤÁÍÒà«ÂÕ ¹

“ÃÙŒà¢Ò ÃŒÙàÃÒ ÃºÃŒÍ¤ÃÑ§é ª¹ÐÌͤçÑé ” เปน ประโยคท่คี นุ หูกันดี ซ่งึ เปนขอคดิ เชงิ ปรชั ญา
จากซุนวู ผูเขียนตําราพิชัยสงครามของซุนวู “¡Òê¹Ð·Ñé§ÃŒÍÂÁÔ㪋ÇÔ¸Õ¡ÒÃÍѹ»ÃÐàÊÃÔ°á·Œ á싪¹Ð
â´ÂäÁμ‹ ÍŒ §ÃºàÅ ¨Ö觶×ÍÇÒ‹ ໹š ÇÔ¸Õ¡ÒÃÍѹÇÔàÈɧÔè ” áÅÐ “ËÒ¡ÃàŒÙ ¢Ò ÃàŒÙ ÃÒ áÁ¹Œ ú¡¹Ñ μ§Ñé ÌͤÃÑ駡ç
äÁÁ‹ ÕÍѹμÃÒÂÍ¹Ñ ã´ ¶ÒŒ äÁ‹ÃÙŒà¢Òáμ‹ÃŒàÙ ¾Õ§àÃÒ á¾ªŒ ¹Ð‹ÍÁกํ้า¡§Öè ÍÂÙ‹ ËÒ¡äÁ‹ÃÙ㌠¹μÇÑ à¢ÒμÇÑ àÃÒàÊÕÂàÅÂ
¡çμÍŒ §»ÃҪѷ¡Ø ¤ÃÑ§é ·ÕèÁ¡Õ ÒÃÂ·Ø ¸¹Ñé¹áÅ” เชน เดียวกนั กับในยคุ ปจ จุบันท่ีเรากาํ ลงั จะกาวเขาสูศ ตวรรษ
ท่ี ๒๑ ซ่ึงเปนศตวรรษแหงความกาวหนาในหลายๆ ดานท้ังดานเทคโนโลยี ดานการคมนาคมขนสง
ดานการติดตอสื่อสาร ดานเศรษฐกิจ ดานการเมือง ดานการศึกษา ฯลฯ ฉะน้ัน นอกจากเราตองรู
ขีดความสามารถของเราหรือประเทศของเราแลว เราจึงจําเปนตองรูภาพรวมของโลกเพ่ือใหสามารถ
แขงขันกับประเทศอ่ืนได โดยเฉพาะอยางยิ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต หรือประเทศสมาชิก
อาเซียน เพื่อใหสามารถเขาใจ รับรู รวมมือ และอาจจะตองแขงขันในเวทีทางการคาและเศรษฐกิจ
ในอีกหลายๆ มติ ิ

๓๖

ñ. ÃÒªÍÒ³Ò¨¡Ñ Ãä·Â (Kingdom of Thailand)

ท่ีต้ัง ตั้งอยูบนคาบสมุทรอินโดจีน ภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต ทิศตะวันออกติดกับ
ประเทศลาวและกัมพูชา ทิศใตติดกับอาวไทยและประเทศมาเลเซีย ทิศตะวันตก
ติดกับทะเลอันดามนั และประเทศพมา ทศิ เหนือตดิ กับประเทศพมา และลาว

พื้นที่ ๕๑๓,๑๒๐ ตารางกโิ ลเมตร เปน อนั ดบั ท่ี ๕๐ ของโลก
เมืองหลวง กรุงเทพมหานคร (Bangkok)
ประชากร ประมาณ ๖๙ ลา นคน
ภาษา ภาษาไทย เปนภาษาราชการ
ศาสนา ประมาณรอยละ ๙๕ นับถือศาสนาพุทธ ศาสนาอิสลามประมาณรอยละ ๔

ศาสนาครสิ ตแ ละศาสนาอ่นื ประมาณรอ ยละ ๑
การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยผานระบบรฐั สภา โดยมีพระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ
ประมขุ พระมหากษัตริยองคปจจุบันคือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร

มหาวชริ าลงกรณ พระวชริ เกลาเจา อยหู วั รชั กาลท่ี ๑๐ แหงราชวงศจ กั รี
ผูนาํ รัฐบาล นายกรฐั มนตรี ดาํ รงตาํ เเหนงวาระละ ๔ ป

นายกรัฐมนตรี ปจจุบนั (พ.ศ. ๒๕๖๓) พล.อ.ประยทุ ธ จันทรโ อชา
หนว ยเงินตรา บาท (Baht )

๓๗

ò. ÁÒàÅà«ÂÕ (Malaysia)

ทตี่ ้ัง ต้งั อยใู นเขตเสน ศูนยส ตู ร ประกอบดว ยดินแดนสองสวน คอื
- มาเลเซียตะวันตก ตั้งอยูบนคาบสมุทรมลายู ทิศเหนือติดกับประเทศไทย
และทศิ ใตต ดิ กับสิงคโปร
- มาเลเซยี ตะวนั ออก ตง้ั อยบู นเกาะบอรเ นยี ว (กาลมิ นั ตนั ) ทศิ ใตต ดิ ประเทศอนิ โดนเี ซยี
และมดี นิ แดนลอ มรอบประเทศบรูไน

พืน้ ท่ี ๓๓๐,๘๐๓ ตารางกโิ ลเมตร เปน อันดบั ท่ี ๖๖ ของโลก
เมืองหลวง กรุงกัวลาลัมเปอร (Kuala Lumpur)
ประชากร ประมาณ ๓๓ ลา นคน
ภาษา ภาษามาเลย เปนภาษาราชการ
ศาสนา อสิ ลามรอ ยละ ๖๐ พุทธรอยละ ๑๙ และคริสตร อยละ ๑๒
การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยในระบบรัฐสภา
ประมขุ สมเดจ็ พระราชาธิบดอี บั ดลุ ละฮ ชะฮ

ยงั ดเี ปอรตวนอากง องคที่ ๑๖ (ดาํ รงตําแหนง วาระ ๕ ป)
ตัง้ แต ๓๑ มกราคม ค.ศ. ๒๐๑๙
ผูนาํ รฐั บาล นายกรัฐมนตรี ปจจุบนั (พ.ศ.๒๕๖๓) คอื มฮุ ยดิ ดิน ยัซซิน
หนว ยเงินตรา รงิ กติ

๓๘

ó. ÊÒ¸ÒóÃÑ°ÍԹⴹÕà«ÂÕ (Republic of Indonesia)

ทีต่ งั้ ต้ังอยูบนเสนทางเชื่อมตอระหวางมหาสมุทรแปซิฟกกับมหาสมุทรอินเดีย ทิศเหนือ
ติดทะเลจีนใตและมหาสมุทรแปซิฟก ทิศตะวันตกเฉียงใตติดมหาสมุทรอินเดีย
ทศิ ตะวนั ออกตดิ ตมิ อร- เลสเต และปาปว นิวกินี และทศิ ใตตดิ ทะเลติมอร เปน สะพาน
เชื่อมระหวางทวีปเอเชียกับออสเตรเลีย จึงควบคุมเสนทางติดตอระหวางมหาสมุทร
ทง้ั สองผา นชอ งแคบทสี่ าํ คญั เชน ชอ งแคบมะละกา ชอ งแคบซนุ ดา และชอ งแคบลอ็ มบอก

พน้ื ที่ เปนประเทศหมูเกาะท่ีใหญที่สุดในโลก ประกอบดวยเกาะมากกวา ๑๗,๕๐๘ เกาะ
รวมพืน้ ที่ประมาณ ๑,๙๑๐,๙๓๑ ตารางกโิ ลเมตร เปน อนั ดับท่ี ๑๖ ของโลก

เมอื งหลวง กรงุ จาการตา (Jakarta)
ประชากร ประมาณ ๒๖๕ ลานคน
ภาษา อินโดนเี ซยี หรอื Bahasa Indonesia เปน ภาษาราชการ
ศาสนา ชาวอนิ โดนเี ซยี รอ ยละ ๘๕.๒ นบั ถอื ศาสนาอสิ ลาม นอกนนั้ เปน ครสิ ตน กิ ายโปรแตสแตนต

ครสิ ตน ิกายโรมันคาทอลกิ ฮนิ ดู พุทธ และศาสนาอน่ื ๆ
การปกครอง ระบอบสาธารณรฐั แบบประชาธิปไตย
ประมขุ ประธานาธบิ ดี ปจ จบุ นั (พ.ศ.๒๕๖๒) คอื โจโก วโิ ดโด
ผูนํารฐั บาล ประธานาธิบดี ปจ จุบัน (พ.ศ.๒๕๖๒) คอื โจโก วโิ ดโด
หนว ยเงินตรา รูเปยห

๓๙

ô. ÊÒ¸ÒóÃÑ°Ê§Ô ¤â»Ã (Republic of Singapore)

ท่ตี ง้ั เปนเกาะต้ังอยูทางตอนใตของคาบสมุทรมาเลย หางจากคาบสมุทรประมาณ
๑๓๗ กิโลเมตร ทศิ เหนอื ตดิ กบั รัฐยะโฮรข องประเทศมาเลเซีย ทิศตะวนั ออกตดิ ทะเล
จีนใต ทิศตะวันตกติดมาเลเซียและชองแคบมะละกา ทิศใตติดชองแคบมะละกา
อยูทางเหนือของเกาะเรยี ล (Riau) ของอนิ โดนเี ซยี

พน้ื ที่ ประกอบดว ยเกาะสงิ คโปร และเกาะใหญน อ ยบรเิ วณใกลเ คยี ง มพี นื้ ทรี่ วม ๗๑๐.๒ ตารางกโิ ลเมตร
(ประมาณเทาเกาะภูเก็ต) เปนอนั ดบั ที่ ๑๘๘ ของโลก

เมอื งหลวง สงิ คโปร (Singapore)
ประชากร ประมาณ ๕.๖๑ ลา นคน
ภาษา ภาษาราชการคือ ภาษามาเลย จีนกลาง และอังกฤษ สิงคโปรสนับสนุนใหประชาชน

พูด ๒ ภาษา โดยเฉพาะจีนกลาง ในขณะท่ีใชภาษาอังกฤษในการติดตองาน
และชวี ติ ประจําวัน
ศาสนา พทุ ธรอ ยละ ๔๒.๕ อิสลามรอยละ ๑๔.๙ ฮินดูรอ ยละ ๔ ไมน ับถือศาสนารอยละ ๒๕
ประมขุ ประธานาธบิ ดี (วาระ ๖ ป) ปจจบุ ัน (พ.ศ. ๒๕๖๒) คือ นางฮาลิมาห ยาคอบ
ผนู าํ รฐั บาล นายกรัฐมนตรเี ปน ผนู าํ รัฐบาล (วาระ ๕ ป) ปจจุบนั (พ.ศ. ๒๕๕๙) คือ นายลเี ซียนลงุ
การปกครอง สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา มีสภาเดยี ว)
สกุลเงิน ดอลลารสงิ คโปร (Singapore Dollar : SGD)

๔๐

õ. ÃÑ°ºÃÙä¹´ÒÃÊØ «ÒÅÒÁ (State of Brunei Darussalam)

ทตี่ ัง้ ตั้งอยูทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอรเนียว (ละติจูดท่ี ๕ เหนือเสนศูนยสูตร)
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต ชายฝงทางดานเหนือจรดทะเลจีนใต พรมแดน
ทางบกทเ่ี หลอื จากนัน้ ถูกลอมรอบดว ย รฐั ซาราวัก ประเทศมาเลเซยี

พ้นื ที่ ๕,๗๖๕ ตารางกิโลเมตร เปนอันดบั ที่ ๑๗๑ ของโลก
เมืองหลวง บันดารเ สรเี บกาวัน (Bandar Seri Begawan)
ประชากร ประมาณ ๔.๒ แสนคน
ภาษา ภาษาราชการคอื ภาษามาเลย รองลงมาเปน ภาษาองั กฤษและจีน
ศาสนา สว นใหญน บั ถอื ศาสนาอสิ ลามนกิ ายสหุ นี่ ๖๗% รองลงมาเปน ศาสนาพทุ ธนกิ ายมหายาน

๑๓% ศาสนาครสิ ต ๑๐% ศาสนาฮนิ ดู ความเชอ่ื พ้ืนเมืองและอื่นๆ
การปกครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย รัฐธรรมนูญปจจุบันซึ่งแกไขลาสุดเมื่อ ๑ มกราคม

พ.ศ.๒๕๒๗ กําหนดใหสุลตานทรงเปนอธิปตย คือเปนทั้งประมุข นายกรัฐมนตรี
และรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรีจะตองเปนชาวบรูไนเชื้อสาย
มาเลยโดยกาํ เนดิ และจะตอ งเปน มุสลมิ นกิ ายสหุ น่ี
ประมุข สลุ ตา น องคป จ จุบัน คอื สมเดจ็ พระราชาธิบดฮี ัจญี ฮสั ซานลั โบลเกียห มูอซิ ซัดดนิ
วดั เดาเลาะห ทรงเปน ทง้ั ประมขุ และนายกรัฐมนตรี ผนู ํารัฐบาล
สกุลเงนิ ดอลลารบรูไน (Brunei Dollar : BND) (ใชอัตราแลกเปล่ียนเดียวกับสิงคโปร
และสามารถใชเ งนิ สงิ คโปรใ นบรไู นไดโ ดยทั่วไป)

๔๑

ö. ÊÒ¸ÒÃ³Ã°Ñ ¿Å Ô»»¹Ê (Republic of Philippines)

ที่ตัง้ เปนประเทศหมูเกาะ ประกอบดวยเกาะจํานวน ๗,๑๐๗ เกาะ ต้ังอยูในมหาสมุทร
แปซิฟก หา งจากเอเชียแผนดนิ ใหญท างตะวนั ออกเฉยี งใต ประมาณ ๑๐๐ กม. และ
เปน ประเทศทมี่ พี รมแดนทางทะเลทต่ี ดิ ตอ ระหวา งกนั ยาวมากทสี่ ดุ ในโลก ทศิ ตะวนั ตก
และทิศเหนอื ตดิ กับทะเลจนี ใต ทิศตะวันออกและทิศใตตดิ กบั มหาสมทุ รแปซิฟก

พนื้ ท่ี ประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร เปนอนั ดบั ท่ี ๗๒ ของโลก
เมืองหลวง กรงุ มะนลิ า (Manila)
ประชากร ประมาณ ๑๐๘.๕ ลานคน
ภาษา ภาษาราชการ คือ ภาษาตากาล็อกและองั กฤษ
ศาสนา สวนใหญนับถือศาสนาคริสต นิกายโรมันคาทอลิก รอยละ ๘๓ นิกายโปรแตสเตนต

รอ ยละ ๙ อิสลามรอยละ ๕ ศาสนาพุทธและอื่น ๆ รอยละ ๓
การปกครอง ระบอบสาธารณรัฐ มปี ระธานาธบิ ดเี ปนประมขุ และหัวหนา ฝา ยบรหิ าร

(ดํารงตาํ แหนงวาระละ ๖ ป)
ผูน ํารฐั บาล ประธานาธบิ ดี (วาระ ๖ ป) ปจ จบุ ัน (พ.ศ. ๒๕๖๒) คอื โรดรโี ก โรอา ดแู ตรเ ต
สกุลเงิน ฟล ิปปน สเปโซ (Philipino Peso : PHP)

๔๒

÷. ÊÒ¸ÒÃ³Ã°Ñ Êѧ¤Á¹ÂÔ ÁàÇÕ´¹ÒÁ (Socialist Republic of Vietnam)

ท่ีต้งั เปนประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต ตั้งอยูทางดานตะวันออกสุดของคาบสมุทร
อนิ โดจีน มีพรมแดนตดิ กบั ประเทศจนี ทางทศิ เหนือ ประเทศลาว และประเทศกมั พชู า
ทางทศิ ตะวันตก และอา วตังเกี๋ย ทะเลจนี ใต ทางทศิ ตะวนั ออก หรอื ในภาษาเวยี ดนาม
เรยี กวา ทะเลตะวนั ออก

พ้ืนที่ ๓๓๑,๒๑๒ ตารางกโิ ลเมตร เปนอนั ดบั ท่ี ๖๕ ของโลก
เมอื งหลวง ฮานอย (Hanoi)
ประชากร ประมาณ ๙๔ ลานคน
ภาษา ภาษาราชการ คือ ภาษาเวียดนาม
ศาสนา ไมม ศี าสนาประจาํ ชาติ เนอ่ื งจากปกครองโดยระบอบสงั คมนยิ ม (มผี แู สดงตนวา นบั ถอื

ศาสนาตา งๆ ๑๕.๖๕ ลานคน โดยศาสนาพุทธ (มหายาน) มจี ํานวนผูน บั ถอื มากท่สี ดุ
(รอ ยละ ๙.๓)
การปกครอง ระบอบสงั คมนยิ ม โดยมพี รรคคอมมวิ นสิ ตเ วยี ดนาม (Communist Party of Vietnam)
เปนพรรคการเมอื งเดยี วและมอี าํ นาจสูงสดุ
ผนู ํารัฐบาล ประธานาธบิ ดี (วาระ ๕ ป อยูได ๒ วาระ) ปจ จุบนั (พ.ศ. ๒๕๖๒) คอื เหงยี น ฟู จอ ง
นายกรฐั มนตรี คือ นายเหงียน ซวน ฟกุ (ป ๖๒)
สกลุ เงิน เงนิ ดอง (Vietnam Dong : DNG) ๑ บาท ประมาณ ๖๒๕ ดอง

๔๓

ø. ÊÒ¸ÒÃ³Ã°Ñ »ÃЪҸ»Ô äμ»ÃЪҪ¹ÅÒÇ (Lao People’s Democratic Republic)

ท่ตี ง้ั ประเทศลาวตั้งอยูทางเหนือของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต และอยูบนใจกลาง
ของคาบสมทุ รอนิ โดจนี ลอ มรอบดว ยประเทศเพอื่ นบา น ๕ ประเทศ เปน ประเทศเดยี ว
ในภูมิภาคท่ีไมมีทางออกสูทะเล ทิศเหนือติดกับประเทศจีน ทิศตะวันตกติดกับพมา
และไทย ทศิ ตะวนั ออกตดิ กับเวยี ดนาม และทศิ ใตติดกับกมั พชู า

พน้ื ที่ ๒๓๖,๘๐๐ ตารางกโิ ลเมตร เปนอันดบั ที่ ๘๓ ของโลก
เมอื งหลวง นครเวียงจนั ทน (Vientiane)
ประชากร ประมาณ ๖.๘๕ ลานคน (ป ๒๕๖๒)
ภาษา ภาษาราชการ คือ ภาษาลาว
ศาสนา ศาสนาพุทธ (เถรวาท) รอ ยละ ๗๕ และนบั ถอื ความเชื่อทอ งถ่นิ รอ ยละ ๑๖-๑๗
การปกครอง ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต (ทางการลาวใชค ําวา ระบอบประชาธปิ ไตยประชาชน)

โดยมพี รรคประชาชนปฏิวัติลาวเปนองคกรชน้ี ําประเทศ
ประมขุ ประธานประเทศ (ประธานาธบิ ด)ี ซง่ึ มวี าระการดาํ รงตาํ แหนง ๕ ป ปจ จบุ นั (พ.ศ. ๒๕๕๙)

คอื นายบุนยงั วอละจิด
ผนู ํารัฐบาล ประธานาธบิ ดี ปจจุบนั (พ.ศ. ๒๕๖๒) คือ นายทองลุน สีสลุ ดิ
สกลุ เงนิ กีบ (Lao Kip : LAK)

๔๔

ù. ÊÒ¸ÒÃ³Ã°Ñ áË‹§ÊËÀÒ¾àÁÂÕ ¹ÁÒ (Republic of the Union of Myanmar)

ทีต่ ั้ง ทศิ เหนือและตะวันออกเฉยี งเหนอื ติดกบั ประเทศจนี ทิศตะวนั ออกเฉยี งใตติดกับลาว
และไทย ทิศตะวันตกติดกับอินเดียและบังกลาเทศ ทิศใตติดกับทะเลอันดามัน
และอา วเบงกอล

พนื้ ท่ี ๖๗๖,๕๗๘ ตารางกโิ ลเมตร เปนอนั ดับที่ ๔๐ ของโลก
เมอื งหลวง เนปยดี อ (Naypyidaw)
ประชากร ประมาณ ๕๓.๘ ลา นคน
ภาษา ภาษาราชการ คอื ภาษาพมา
ศาสนา ศาสนาพทุ ธรอ ยละ ๙๒.๓ ศาสนาครสิ ตร อ ยละ ๔ ศาสนาอสิ ลามรอ ยละ ๓ ศาสนาฮนิ ดู

รอ ยละ ๐.๗
การปกครอง รฐั บาลทหารภายใตส ภาสนั ตภิ าพและการพฒั นาแหง รฐั (State Peace and Development

Council – SPDC)
ผนู ํารฐั บาล ประธานสภาสันติภาพและการพัฒนาแหงรัฐ ประธานาธิบดี ปจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๖๒)

คือ วนี มยนิ
สกลุ เงนิ จตั๊ (Myanmar Kyat : MMK)

๔๕

ñð. ÃÒªÍÒ³Ò¨¡Ñ áÁÑ ¾ÙªÒ (Kingdom of Cambodia)

ที่ตั้ง ทศิ ใตจ รดกบั อา วไทย ทางทศิ ตะวนั ตกตดิ กบั ประเทศไทย ทางทศิ เหนอื ตดิ กบั ประเทศไทย
และลาว ทางทิศตะวันออกติดกับเวยี ดนาม

พ้ืนที่ ๑๘๑,๐๓๕ ตารางกิโลเมตร เปนอันดับท่ี ๘๙ ของโลก
เมอื งหลวง พนมเปญ (Phnom Penh)
ประชากร ประมาณ ๑๖ ลานคน (ป ๒๕๖๒)
ภาษา ภาษาราชการ คือ ภาษาเขมร
ศาสนา ศาสนาพุทธรอยละ ๙๕ ศาสนาอิสลามรอยละ ๓ ศาสนาคริสตรอยละ ๑.๗

ศาสนาพราหมณ-ฮินดูรอยละ ๐.๓
การปกครอง ระบอบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา โดยมพี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ ภายใตร ฐั ธรรมนญู
ประมุข พระมหากษัตรยิ  ปจ จุบนั คือ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สหี มนุ ี
ผนู ํารฐั บาล นายกรฐั มนตรี (วาระ ๕ ป) ปจ จบุ นั (พ.ศ. ๒๕๖๒) คอื สมเดจ็ อคั รมหาเสนาบดเี ดโช ฮนุ เซน
สกุลเงนิ เรียล (Riel : KHR)


Click to View FlipBook Version