The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

12_PA21303_การปฏิบัติงานในสถานี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-07 09:23:43

12_PA21303_การปฏิบัติงานในสถานี

12_PA21303_การปฏิบัติงานในสถานี

วิชา บร. (PA) ๒๑๓๐๓

การปฏิบัติงานในสถานีตํารวจ

ตําÃÒàÃÕ¹

ËÅÑ¡ÊμÙ Ã ¹¡Ñ àÃÕ¹¹ÒÂÊºÔ ตาํ ÃǨ

ÇªÔ Ò ºÃ.(PA)òñóðó ¡Òû¯ºÔ μÑ §Ô Ò¹ã¹Ê¶Ò¹Õตาํ ÃǨ

เอกสารน้ี “໹š ¤ÇÒÁÅºÑ ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หา มมิใหผ ูห น่ึงผใู ดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทงั้ หมดของเอกสารนเ้ี พอื่ การอยา งอน่ื นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทานั้น การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นที่ไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ สาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨáË‹§ªÒμÔ
¾.È.òõöô

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÞÑ Ë¹ŒÒ

ÇÔªÒ ¡Òû¯ºÔ Ñμ§Ô Ò¹ã¹Ê¶Ò¹ÕตําÃǨ ๑

º·¹Ó ๑๓
- º··Õè ñ ประวตั คิ วามเปนมา ๑๕
- º··Õè ò โครงสรางสถานตี าํ รวจ ๑๙
- º··èÕ ó การเรียกช่อื หนาทีแ่ ละคํายอ ของตําแหนงในสถานตี ํารวจ ๒๓
- º··Õè ô ลกั ษณะงานและการกาํ หนดหนา ท่ใี นสถานตี ํารวจ ๓๑
- º··Õè õ ลกั ษณะงาน ผูปฏบิ ตั ิงานอาํ นวยการ ๓๕
- º··Õè ö ลักษณะงาน ผปู ฏบิ ัตงิ านปอ งกนั ปราบปราม ๔๑
- º··Õè ÷ ลกั ษณะงาน ผูปฏบิ ตั ิงานจราจร ๕๗
- º··èÕ ø ลกั ษณะงาน ผปู ฏบิ ตั งิ านสบื สวน ๕๙
- º··Õè ù ลกั ษณะงาน ผูป ฏิบตั ิงานสอบสวน ๖๑
- º··èÕ ñð ลกั ษณะงาน ผปู ฏิบัตงิ านหนวยปฏิบัติการพิเศษ öö
- º··Õè ññ โรงพักเพอ่ื ประชาชน ö÷
- º··èÕ ñò แนวทางการยกระดบั การบรกิ ารประชาชน ระดับสถานีตาํ รวจ

͌ҧͧÔ
ÀÒ¤¼¹Ç¡

- ¤³Ø ¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ ÊÒí ËÃѺ¢ÒŒ ÃÒª¡ÒÃ



º··èÕ ñ

»ÃÐÇÑμ¤Ô ÇÒÁ໹š ÁÒ
º·¹Ó

คาํ วาโรงพัก เปน คําท่ใี ชเ รียกกนั มานาน นาจะพอๆ กบั คาํ วาพลตระเวนในสมัยกอ นทใี่ ช
เรยี กตํารวจสายตรวจ ตรวจสอบจากผูรู แลว ไมม ผี ูใดรจู ริง ไมมีผใู ดกลายืนยนั ถาจะสันนิษฐาน นา จะ
มาจากสมยั กอ น นาจะยงั ไมมสี ถานีตํารวจ เม่ือพลตระเวนตรวจไปเรือ่ ยๆ อาจตอ งหยดุ พักเปนจุดๆ
อาจมกี ารสรา งทที่ ําการใหส ายตรวจหรอื พลตระเวนไดห ยดุ พกั ตอ มาอาจเรยี กทท่ี าํ การเปน โรงพกั หรอื
ขอสนั นิษฐานอกี อยา ง ก็เนอื่ งจากทท่ี าํ การสถานีตาํ รวจเปดบริการตลอด ๒๔ ช่วั โมง ชาวบานไปไหน
มาไหน สมัยกอ นโรงแรมกค็ งหายาก การเดินทางไปมา กค็ งยากลําบาก หากหาญาติพ่นี อ งไมพ บ หรอื
ค่ํามดื ไมปลอดภัยกอ็ าจไดท่ที าํ การสถานตี ํารวจเปนทีพ่ ัก พอไดปลอดภยั ก็เลยเรียกติดปากวา โรงพกั

เมื่อประชาชนไดป ระสบเรอื่ ง ท่ีทําใหตนมีความเดอื ดเน้ือรอนใจ กจ็ ะพากันไปพบตาํ รวจ
เพื่อขอรับการชวยเหลือ หรือใหตํารวจรับรูเรื่องราวของตน ซึ่งจะเปนหนาที่ของตํารวจที่จะตอง
บําบัดทุกขบํารุงสุขใหแกประชาชนใหสมกับการเปนผูพิทักษสันติราษฎร หรือตรงกับคําวา มีตํารวจ
อยูที่ไหนประชาชนอุนใจ เมื่อประชาชนไดรับการชวยเหลือ หรือรับรูเรื่องราวของผูเดือดรอนแลว
กจ็ ะทาํ ใหประชาชนผนู ัน้ รจู กั เบาใจและสบายใจเร่ืองนั้นเอง

คําเดิมเรียก “โรงพกั กองตระเวน” เปนท่ีทําการของกองตระเวน ในทอ งถิ่นตา งๆ ทงั้ ใน
พระนครและภูธร ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ ไดจัดตั้งกรมกองตระเวนขึ้น(ในปจจุบัน สถานีตํารวจนครบาล
สมัยกอนเรียกพลตระเวน) กอนท่ีจะปฏิรูปการปกครอง แทน กรม เวียง ในระบบจตุสดมภเดิม
(เวยี ง วงั คลงั นา) นอกจากหนา ทลี่ าดตระเวน เพอื่ ความสงบเรยี บรอ ยหนา ทส่ี าํ คญั ของพลตระเวน คอื
จับกุมผูกระทําความผิดตางๆ แลวเรียกที่ทําการของกรมกองตระเวนในทองที่ตางๆ ในพระนครวา
โรงพกั กรมกองตระเวน ตอ มาเมอ่ื ทรงปฏิรปู ในปกครอง โดยแบง หนว ยราชการเปน กระทรวง ทบวง
กรม แลว กรมกองตระเวนจึงยุบรวมเขากับกระทรวงนครบาล และตอมาในสมัยรัชกาลที่ ๖ ไดทรง
แยกกรมกองตระเวนมายุบรวมกับกรมตํารวจภูธร (เดิมคือกองตระเวนหัวเมือง) แลวเปลี่ยนช่ือเปน
กรมตาํ รวจ สงั กดั กระทรวงมหาดไทย และไดเ ปลยี่ นชอ่ื จากโรงพกั กองตระเวน เปน สถานตี าํ รวจนครบาล
หรือสถานีตาํ รวจภูธรแทนต้งั แตน ้ันมา



μÃÒá¼¹‹ ´Ô¹

ในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั รชั กาลที่ ๕ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ
ใหผูกตราประจําประเทศขึ้นเปน คร้งั แรก

เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๖ โดยเรยี กกันทว่ั ไปวา ตราแผน ดนิ หรือตราอารม ซ่งึ ตราดงั กลาวนเี้ ปน
พระราชลญั จกรประจาํ แผน ดนิ ซงึ่ ใชส าํ หรบั ประทบั กาํ กบั พระปรมาภไิ ธยหรอื กาํ กบั นามผสู าํ เรจ็ ราชการ
แทนพระองค แตสําหรบั ตราหนาหมวกตาํ รวจในปจจุบนั นั้น เร่มิ ใชกันตง้ั แตป พ.ศ. ๒๔๙๒ โดยไดม ี
การนําตราแผน ดินของรัชกาลท่ี ๕ มาลงอักษรคาํ วา “¾·Ô ¡Ñ Éʏ ѹμÃÔ Òɮԏ ไวบนแพรร้วิ ใตต ราแผนดิน
ซึ่งกอนหนาน้นั ตราหนา หมวกตํารวจไดพฒั นาเปลีย่ นแปลงมาถึง ๔ ครัง้ คร้ังแรกเร่มิ ใน รชั กาลท่ี ๔
เปน โลหะรปู ชา งสามเศียรยืนในตราอารม มีอกั ษรจารกึ วา “¾ÅμÃÐàǹÊÂÒÁ”

สวนตราหนาหมวกรุนท่ี ๒ (ตํารวจนครบาล) และรุนท่ี ๓ (ตํารวจภูธร) เร่ิมใชในป
พ.ศ. ๒๔๕๘ โดยของตาํ รวจนครบาลเปน รปู เพชราวธุ ลอ มดว ยกลบี กนก ในขณะทต่ี าํ รวจภธู รในยคุ นนั้
ใชห นา หมวกเปน ตราปทมุ อณุ าโลมบนพน้ื สแี ดงโดยมบี วั กนกสนี า้ํ ตาลลอ มรอบสาํ หรบั หนา หมวกตาํ รวจ
รนุ ท่ี ๔ เริม่ ใชใ นป พ.ศ. ๒๔๗๘ เปนโลหะรปู สี่เหลย่ี มรี มีปทมุ อุณาโลมอยกู ลางกงจักรโดยรอบนอก
กงจกั รมลี ายเพลงิ สว นในกงจกั รมอี กั ษร “พทิ กั ษส นั ตริ าษฎร” ดงั นนั้ ตราหนา หมวกในปจ จบุ นั ทท่ี าํ ดว ย
โลหะสีเงิน ดุนเปนตราแผนดินและจารึกคําวา พิทักษสันติราษฎรนั้น จึงเปนตราหนาหมวกตํารวจ
รุน ท่ี ๕ โดยในตราแผนดนิ จะมพี ทุ ธภาษิตจารกึ ไวว า “สพั เพสงั สงั ฆะภูตานงั สามัคคี วฑุ ฒิสาธกา”
ซึง่ แปลวาความพรอ มเพรยี งของหมคู ณะยอ มยังความเจริญใหส ําเรจ็ อันเปน พุทธภาษิตทจ่ี าํ เปน



μÃÒ˹ŒÒËÁÇ¡ตาํ ÃǨ㹻¨˜ ¨ºØ ¹Ñ

สําหรับขาราชการตํารวจ ซึ่งตองปฏิบัติหนาที่โดยอาศัยความพรอมเพรียงเปนหลัก
ดังน้ันเมื่อรวมกับตัวอักษร ผูพิทักษสันติราษฎร จึงหมายถึง พระบารมีของพระมหากษัตริย
ความพรอ มเพรยี งของหมูคณะ และภาระหนา ที่ตํารวจในการบาํ บดั ทกุ ขบาํ รงุ สขุ แกป ระชาชน

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ (หรอื เดมิ กรมตาํ รวจ) มเี ครอ่ื งหมายราชการเปน รปู พระแสงดาบ
เขนและโล เปนรูปวงกลมเสน คูสองชนั้

วงนอกเปน ลายพรรณพฤกษา วงในเปน ลายใบเทศผกู ลายเปน รปู หนา สิงหห รอื หนายักษ
เรยี กวา ¨μÃØ Á¢Ø ตามธรรมเนยี มโบราณทแ่ี กะสลกั รปู หนา ยกั ษจ ตรุ มขุ ไวบ นหนา บนั ประตู ทง้ั สท่ี ศิ ของ
ปราสาทหนิ ดว ยความเชอ่ื วา เปน ผพู ทิ กั ษท วารเขา -ออก ปกปอ งคมุ ครองและขจดั สงิ่ ชวั่ รา ย สว น “ดาบ”
ทคี่ าดติดอยูในปลอก มลี วดลายกนก ทั้งน้สี ัญลกั ษณไ มจํากดั สีและขนาด

ตํารวจไทยเกิดเปนรูปแบบองคกรคร้ังแรกในสมัยรัชกาลท่ี ๔ ทรงโปรดใหจัดต้ังองคกร
ตํารวจและปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมของไทยใหเปนระบบ แสดงความเปนอารยะทัดเทียม
ตะวนั ตกโปรดใหใ ชส ญั ลกั ษณเ ปน รปู “˹ÁØ Ò¹Ê¡èÕ Ã” ตอ มา พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจา อยหู วั
รัชกาลท่ี ๕ ไดพระราชทานเปนพระราชหัตถเลขา อนุญาตใหกรมตํารวจภูธรใชพระรูปพระแสงดาบ
เขนและโล ประจําที่มุมธงและใชเปนตราประจํากระดาษสําหรับราชการในกรมตํารวจภูธร เม่ือ
๒๐ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๔๔๕ ตราโลเ ขนน้ี ออกแบบครง้ั แรกเมอื่ ป พ.ศ. ๒๔๔๐ โดย ËÁÍ‹ Áà¨ÒŒ »ÃÐÇªÔ ªÁØ ÊÒÂ
(ผูผ ูกลายพระราชลัญจกรแผน ดนิ เม่ือป พ.ศ. ๒๔๑๖) ถึงสมยั รชั กาลท่ี ๖ ดาบเขนและโลไ ดป รากฏอยู
ในพระธรรมนูญตราที่โปรดเกลาฯใหตราข้ึนเมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๓ ใหเปนตราประจํากรมพลตระเวน
(ตอ มา พ.ศ. ๒๔๕๘ เปล่ียนเปนกรมพลตํารวจนครบาล)



เมอื่ วนั ท่ี ๙ พฤษภาคม ๒๔๔๕ เสนาบดกี ระทรวงมหาดไทย มลี ายพระหตั ถก ราบบงั คมทลู
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู ัว

ขอพระราชานุญาตใชตราประจําชาติสําหรับเจากรมตํารวจภูธร ໚¹ÃÙ»à·Ç´ÒàªÔÞ
¾ÃÐáʧ´Òºà¢¹áÅоÃÐáʧ´Òºà¢¹áÅÐâÅ‹

ซงึ่ จะใชเ ปน ตราประจาํ ตาํ แหนง เจา กรมตาํ รวจภธู ร ตราประจาํ ทมี่ มุ ธง และเปน ตราประจาํ
เอกสารราชการสาํ หรบั กรมตํารวจภูธร

ตอ มาเมอ่ื วนั ที่ ๑๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๔๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยหู วั
มพี ระบรมราชานญุ าต โปรดเกลา ฯ ใหใ ชต ราประจาํ ชาติ เปน รปู เทวดาเชญิ พระแสงดาบใจเพชร สาํ หรบั
ตาํ แหนง เจา กรมตาํ รวจภธู รแนวปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การใชธ งประจาํ ตาํ แหนง ผบู ญั ชาการตาํ รวจแหง ชาตนิ นั้
ใชประดับแทนตรวจแถวกองเกียรติยศ เน่ืองในโอกาสท่ีผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ข้ึนแทนรับ
ความเคารพหรือตรวจพลสวนสนามใชประดับท่ีหนารถตรวจพลสวนสนามและใชเปนตราประทับ
แทนตําแหนงผบู ญั ชาการตํารวจแหง ชาติ
ËÁÒÂàËμØ

เมือ่ วนั ที่ ๑๗ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ.๒๔๗๕ ไดม ีประกาศใหเปล่ียนตราตําแหนงในกรมตาํ รวจ
จากเดมิ ใหใ ชช อ่ื ใหมเ ปน อธบิ ดกี รมตาํ รวจ สว นรปู ตราคงเดมิ ตอ มามพี ระราชกฤษฎกี าโอนกรมตาํ รวจ
กระทรวงมหาดไทยไปจัดต้ังเปน สาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ เมือ่ ๑๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๑ สง ผลใหช่อื
“¡ÃÁตําÃǨ” เปลีย่ นเปน “สาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμ”Ô ตาํ แหนง “͸Ժ´¡Õ ÃÁตําÃǨ” เปลี่ยนเปน
“¼ŒºÙ ÞÑ ªÒ¡ÒÃตาํ ÃǨáË‹§ªÒμ”Ô



º··èÕ ò

â¤Ã§ÊÃÒŒ §Ê¶Ò¹ÕμÓÃǨ

ตามคําสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ ที่ ๕๓๗/๒๕๕๕ ลง ๒๗ กันยายน ๒๕๕๕
เรอ่ื ง กาํ หนดอาํ นาจหนา ทขี่ องตาํ แหนง ในสถานตี าํ รวจ ดว ยในการประชมุ คณะอนกุ รรมการ ก.ตร.เกย่ี วกบั
การบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล ครัง้ ที่ ๔/๒๕๕๕ เมอ่ื วันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๕๕ และในการประชุมครง้ั ที่
๕/๒๕๕๕ เมอื่ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๕๕ ไดม มี ตอิ นมุ ตั กิ ารกาํ หนดตาํ แหนง พนกั งานสอบสวนตามนยั
มาตรา ๔๔ (๖) ถึง (๑๑) แหงพระราชบญั ญัติตาํ รวจแหงชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ และอนมุ ัติการเปล่ยี นแปลง
การกาํ หนดตําแหนงรองผูกาํ กบั การสบื สวนสอบสวน สายงานสอบสวน เปน ตําแหนง รองผูก าํ กับการ
สืบสวน สายงานสืบสวน ตอมาคณะกรรมการขาราชการตํารวจในการประชุมคร้ังท่ี ๙/๒๕๕๕
เมือ่ วันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๕ และในการประชุมคร้งั ท่ี ๑๐/๒๕๕๕ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๕
ไดม มี ตอิ นมุ ตั กิ ารกาํ หนดตาํ แหนง ดงั กลา ว ตามทคี่ ณะอนกุ รรมการ ก.ตร.เกย่ี วกบั การบรหิ ารทรพั ยากร
บคุ คล เสนอ ดงั นนั้ เพอ่ื ใหก ารปฏบิ ตั งิ านในสถานตี าํ รวจเปน ไปดว ยความเรยี บรอ ย บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค
ของทางราชการ สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ จงึ มคี วามจาํ เปน ทจี่ ะตอ งกาํ หนดอาํ นาจหนา ทขี่ องตาํ แหนง
ในสถานตี าํ รวจใหสอดคลอ งกบั โครงสรางและลักษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ิเสียใหม

อาศยั อาํ นาจตามความใน มาตรา ๑๑(๔) แหง พระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
จึงออกคําสั่งสํานักงานตํารวจแหงชาติ เร่ือง การกําหนดอํานาจหนาท่ีของตําแหนงในสถานีตํารวจ
ไวดังตอไปนี้

๑. ใหย กเลกิ คาํ สง่ั สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ที่ ๕๗/๒๕๕๓ ลงวนั ที่ ๒ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๓
เรอื่ ง กาํ หนดอาํ นาจหนา ทข่ี องตาํ แหนง ในสถานตี าํ รวจ และการเรยี กชอื่ หนา ทแ่ี ละคาํ ยอ ของตาํ แหนง
ในสถานตี าํ รวจโดยใหถือปฏบิ ัติตามคําส่ังน้ี

๒. โครงสรา งสถานตี าํ รวจ และการเรยี กชอื่ หนา ทแี่ ละคาํ ยอ ของตาํ แหนง ในสถานตี าํ รวจ

â¤Ã§ÊÌҧʶҹμÕ ÓÃǨ Á´Õ ѧ¹éÕ

๑) สถานตี ํารวจที่มหี ัวหนาสถานีตาํ รวจ เปน ระดับ ตําแหนง ผกู าํ กับการ การเรียกชือ่
ตาํ แหนง ปรากฏตามโครงสรางสถานีตํารวจ รูปแบบที่ ๑ และ รปู แบบที่ ๒

๒) สถานีตาํ รวจทีม่ ีหวั หนาสถานตี าํ รวจ เปน ระดบั ตําแหนงสารวตั รใหญ การเรียกช่ือ
ตําแหนง ปรากฏตามโครงสรางสถานตี าํ รวจ รูปแบบท่ี ๓ และ รปู แบบที่ ๔

๓) สถานตี าํ รวจทมี่ หี วั หนา สถานตี าํ รวจ เปน ระดบั ตาํ แหนง สารวตั ร การเรยี กชอื่ ตาํ แหนง
ปรากฏตามโครงสรา งสถานีตํารวจ รปู แบบที่ ๕ และ รูปแบบที่ ๖

â¤Ã§ÊÌҧʶҹตÕ ําÃǨ (ÃٻẺ·èÕ ñ) ๖

ʶҹตÕ ําÃǨ (¼¡¡.)

´ŒÒ¹»Í‡ §¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ ´ÒŒ ¹¨ÃҨà ´ŒÒ¹Ê׺Êǹ §Ò¹ÊͺÊǹ ˹Nj »¯ºÔ μÑ Ô¡ÒþÔàÈÉ
(Ãͧ ¼¡¡.».) (Ãͧ ¼¡¡.¨Ã.) (Ãͧ ¼¡¡.ÊÊ.) (¾§Ê. - ¾§Ê.¼ŒÙàªÂÕè ǪÒÞ) (¼º.ÃÍŒ  (ʺ ò)/
¼º.ËÁÇ´ (ʺ ñ))
งานอาํ นวยการ งานปอ งกนั งานจราจร งานสืบสวน - ผบ.หมวด (สบ ๑)
ปราบปราม - ผบ.หมู

- สว.ธร. หรือ - สวป. - สว.จร. - สว.สส. - พงส. - พงส.ผเู ช่ยี วชาญ
สว.อก. - รอง สวป. - รอง สว.จร. - รอง สว.สส. - ผบ.หมู
- ผบ.หมู - ผบ.หมู - ผบ.หมู
- รอง สว.ธร.
- ผบ.หมู

ËÁÒÂàËμØ ๑) รองผกู าํ กบั การปอ งกันปราบปราม เปน หัวหนางานอํานวยการ และงานปองกนั ปราบปราม
๒) รองผูกาํ กบั การจราจร เปนหัวหนางานจราจร
๓) รองผูก าํ กับการสบื สวน เปน หัวหนางานสบื สวน
๔) พนักงานสอบสวนทอ่ี าวโุ สสูงสดุ เปนหัวหนางาน
๕) หนวยปฏบิ ัตกิ ารพเิ ศษ จะกาํ หนดใหต ามสถานการณและความจําเปน

â¤Ã§ÊÌҧʶҹตÕ าํ ÃǨ (ÃٻẺ·Õè ò)

ʶҹÕตาํ ÃǨ (¼¡¡.)

´ÒŒ ¹»Í‡ §¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ ´ÒŒ ¹Ê׺Êǹ §Ò¹ÊͺÊǹ ˹Nj »¯ÔºμÑ ¡Ô ÒþÔàÈÉ
(Ãͧ ¼¡¡.».) (Ãͧ ¼¡¡.ÊÊ.) (¾§Ê. - ¾§Ê.¼ŒÙàªÂÕè ǪÒÞ) (¼º.Ì͠(ʺ ò)/
- พงส. - พงส.ผเู ช่ยี วชาญ ¼º.ËÁÇ´ (ʺ ñ))
งานอาํ นวยการ งานปองกนั งานจราจร งานสบื สวน - ผบ.หมู - ผบ.หมวด (สบ ๑)
ปราบปราม - สว.จร. - สว.สส. - ผบ.หมู
- รอง สว.จร. - รอง สว.สส.
- สว.ธร. หรอื - สวป. - ผบ.หมู - ผบ.หมู
สว.อก. - รอง สวป.
- ผบ.หมู
- รอง สว.ธร.
- ผบ.หมู

ËÁÒÂàËμØ ๑) รองผกู ํากับการปองกันปราบปราม เปน หัวหนางานอํานวยการ งานปอ งกันปราบปราม และงานจราจร
๒) รองผกู ํากบั การสืบสวน เปนหวั หนางานสืบสวน
๓) พนกั งานสอบสวนท่อี าวโุ สสูงสดุ เปนหวั หนางาน
๔) หนวยปฏิบัตกิ ารพเิ ศษ จะกําหนดใหตามสถานการณแ ละความจาํ เปน



â¤Ã§ÊÃÒŒ §Ê¶Ò¹ตÕ ําÃǨ (ÃٻẺ·èÕ ó) ๘

ʶҹÕตาํ ÃǨ (ÊÇÞ.)

´ŒÒ¹»‡Í§¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ ´ÒŒ ¹¨ÃҨà ´ÒŒ ¹Ê׺Êǹ §Ò¹ÊͺÊǹ ˹‹Ç»¯ºÔ ÑμÔ¡ÒþÔàÈÉ
(ÊÇ».) (ÊÇ.¨Ã.) (ÊÇ.ÊÊ.) (¾§Ê. - ¾§Ê.¼àÙŒ ªÂèÕ ÇªÒÞ) (¼º.ËÁÇ´ (ʺ ñ))

งานอาํ นวยการ งานปอ งกัน งานจราจร งานสบื สวน
ปราบปราม - รอง สว.จร. - รอง สว.สส.
- ผบ.หมู - ผบ.หมู
- รอง สว.ธร. - รอง สวป. - พงส. - พงส.ผเู ช่ียวชาญ - ผบ.หมู
- ผบ.หมู - ผบ.หมู - ผบ.หมู

ËÁÒÂàËμØ ๑) สารวตั รปอ งกนั ปราบปราม เปนหัวหนา งานอาํ นวยการ และงานปอ งกันปราบปราม
๒) พนกั งานสอบสวนทีอ่ าวุโสสงู สดุ เปนหวั หนางาน
๓) หนว ยปฏิบตั ิการพเิ ศษ จะกาํ หนดใหตามสถานการณและความจําเปน

â¤Ã§ÊÃÒŒ §Ê¶Ò¹ตÕ ําÃǨ (û٠Ẻ·Õè ô)

ʶҹÕตําÃǨ (ÊÇÞ.)

´ÒŒ ¹»‡Í§¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ ´ŒÒ¹Ê׺Êǹ §Ò¹ÊͺÊǹ ˹Nj »¯ÔºÑμ¡Ô ÒþÔàÈÉ
(ÊÇ».) (ÊÇ.ÊÊ.) (¾§Ê. - ¾§Ê.¼ŒÙàªÂÕè ǪÒÞ) (¼º.ËÁÇ´ (ʺ ñ))

งานอาํ นวยการ งานปองกัน งานจราจร งานสืบสวน
ปราบปราม - รอง สวป. - รอง สว.สส.
- ผบ.หมู - ผบ.หมู
- รอง สว.ธร. - รอง สวป. - พงส. - พงส.ผเู ชีย่ วชาญ - ผบ.หมู
- ผบ.หมู - ผบ.หมู - ผบ.หมู

ËÁÒÂàËμØ ๑) สารวตั รปองกันปราบปราม เปน หวั หนา งานอํานวยการ งานปองกันปราบปราม และงานจราจร
๒) พนักงานสอบสวนทอ่ี าวโุ สสูงสดุ เปน หัวหนางาน
๓) หนวยปฏิบัตกิ ารพิเศษ จะกําหนดใหตามสถานการณและความจาํ เปน



â¤Ã§ÊÃÒŒ §Ê¶Ò¹ÕตําÃǨ (ÃٻẺ·Õè õ) ๑๐

ʶҹÕตาํ ÃǨ (ÊÇ.)

´ŒÒ¹»Í‡ §¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ ´ŒÒ¹¨ÃҨà ´ŒÒ¹Ê׺Êǹ §Ò¹ÊͺÊǹ ˹‹Ç»¯ºÔ ÑμÔ¡ÒþàÔ ÈÉ
(Ãͧ ÊÇ».) (Ãͧ ÊÇ.¨Ã.) (Ãͧ ÊÇ.ÊÊ.) (¾§Ê. - ¾§Ê.¼ŒÙàªÂÕè ǪÒÞ) (¼º.ËÁÇ´ (ʺ ñ))

งานอํานวยการ งานปอ งกัน งานจราจร งานสืบสวน
ปราบปราม

- ผบ.หมู - ผบ.หมู - ผบ.หมู - ผบ.หมู - พงส. - พงส.ผเู ชยี่ วชาญ - ผบ.หมู
- ผบ.หมู

ËÁÒÂàËμØ ๑) รองสารวัตรปอ งกันปราบปราม เปน หัวหนา งานอํานวยการ และงานปอ งกันปราบปราม
๒) พนกั งานสอบสวนท่อี าวุโสสูงสุดเปน หวั หนางาน
๓) หนว ยปฏบิ ัติการพิเศษ จะกําหนดใหต ามสถานการณและความจาํ เปน

â¤Ã§ÊÌҧʶҹตÕ าํ ÃǨ (ÃٻẺ·èÕ ö)

ʶҹตÕ ําÃǨ (ÊÇ.)

´ÒŒ ¹»Í‡ §¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ ´ŒÒ¹Êº× Êǹ §Ò¹ÊͺÊǹ ˹‹Ç»¯ºÔ ÑμÔ¡ÒþàÔ ÈÉ
(Ãͧ ÊÇ».) (Ãͧ ÊÇ.ÊÊ.) (¾§Ê. - ¾§Ê.¼ÙàŒ ªÂÕè ǪÒÞ) (¼º.ËÁÇ´ (ʺ ñ))

งานอํานวยการ งานปอ งกัน งานจราจร งานสบื สวน
ปราบปราม - ผบ.หมู - ผบ.หมู

- ผบ.หมู - ผบ.หมู - พงส. - พงส.ผูเช่ียวชาญ - ผบ.หมู
- ผบ.หมู

ËÁÒÂàËμØ ๑) รองสารวตั รปอ งกนั ปราบปราม เปนหัวหนา งานอาํ นวยการ งานปองกนั ปราบปราม และงานจราจร
๒) พนกั งานสอบสวนทอี่ าวุโสสูงสุดเปน หัวหนา งาน
๓) หนวยปฏิบตั กิ ารพิเศษ จะกําหนดใหต ามสถานการณและความจําเปน

๑๑

๑๒

เหตุท่ีแบง สถานตี าํ รวจออกเปน ๓ ระดบั ๖ รูปแบบ เนอ่ื งมาจากปริมาณงานของแตละ
พ้นื ที่แตกตางกัน

μÒÃÒ§áÊ´§¨íҹǹʶҹÕตาํ ÃǨ·ÑÇè »ÃÐà·È

˹‹Ç ʶҹÕตาํ ÃǨ¹¤ÃºÒÅ/ʶҹตÕ าํ ÃǨÀÙ¸ÃÊÇ. ÃÇÁ
บช.น. ¼¡¡. ÊÇÞ.
ภ.๑ ๘๘
ภ.๒ ๘๘ ๐ ๐ ๑๓๔
ภ.๓ ๑๑๓ ๔ ๑๗ ๑๑๗
ภ.๔ ๑๐๗ ๓ ๗ ๒๓๖
ภ.๕ ๑๙๓ ๑๘ ๒๕ ๒๕๒
ภ.๖ ๒๐๓ ๒๔ ๒๕ ๑๕๙
ภ.๗ ๑๓๕ ๙ ๑๕ ๑๔๗
ภ.๘ ๑๒๔ ๘ ๑๕ ๑๐๔
ภ.๙ ๙๖ ๖ ๒ ๑๒๑
ÃÇÁ ๑๐๘ ๗ ๖ ๑๒๖
๑๐๒ ๘ ๑๖ ñ,ôøô
ñ,òöù ø÷ ñòø ขอ มลู ณ ๑๗ ส.ค. ๒๕๖๓

ËÁÒÂàËμØ อ.ก.ตร.บริหารทรัพยากรบคุ คล ในการประชุมครงั้ ท่ี ๔/๒๕๖๓ เม่ือวันที่ ๒๑ เม.ย. ๖๓
ไดมีมติอนุมัติกําหนดตําแหนงเพื่อรองรับการจัดตั้ง สภ.ตุยง จว.ปตตานี ในสังกัด ภ.๙
(สวญ. เปนหวั หนาสถานตี ํารวจ

จะเห็นไดวาสถานตี าํ รวจทั่วประเทศ จํานวน ๑,๔๘๔ สถานี จะมสี ถานตี าํ รวจท่มี ีหวั หนา
สถานีเปนระดับตําแหนงผูกํากับการมากท่ีสุดถึง ๑,๒๖๙ สถานี เชน สน.ลุมพินี, สภ.บางพลีนอย
จว.สมุทรปราการ, สภ.บานบึง จว.ชลบุรี, สภ.โนนนารายณ จว.สุรินทร, สภ.ทาบอ จว.หนองคาย,
สภ.หนองตอง จว.เชียงใหม, สภ.ชุมตาบง จว.นครสวรรค, สภ.บางโทรัด จว.สมทุ รสาคร, สภ.พนุ พนิ
จว.สรุ าษฎรธานี, สภ.สะทอ น จว.สงขลา, สภ.ปะนาเระ จว.ปตตานี เปน ตน

สถานีตาํ รวจที่มีหัวหนาสถานีเปนระดับตาํ แหนงสารวัตรใหญ จาํ นวน ๘๗ สถานี เชน
สภ.มะนาวหวาน จว.ลพบรุ ,ี สภ.ไมร ดู จว.ตราด, สภ.หนิ เหลก็ ไฟ จว.บรุ รี มั ย, สภ.เชยี งใหม จว.รอ ยเอด็ ,
สภ.งอบ จว.นา น, สภ.วงั หวา จว.พจิ ติ ร, สภ.สามกระทาย จว.ประจวบครี ขี นั ธ, สภ.ตลาดใหญ จว.พงั งา,
สภ.ชุมพล จว.ตรงั , สภ.จะกวะ จว.ยะลา เปนตน

สถานีตาํ รวจที่มีหัวหนาสถานีเปนระดับตาํ แหนงสารวัตร จาํ นวน ๑๒๘ สถานี เชน
สภ.โพทะเล จว.สิงหบุรี, สภ.เขาชะโงก จว.ฉะเชิงเทรา, สภ.ชองสามหมอ จว.ชัยภูมิ, สภ.พระซอง
จว.นครพนม, สภ.หมอกจําแป จว.แมฮ อ งสอน, สภ.พญาแมน จว.อตุ รดติ ถ, สภ.ปล อ็ ก จว.กาญจนบรุ ,ี
สภ.ขอนหาด จว.นครศรธี รรมราช, สภ.เกาะหลเี ปะ จว.สตูล, สภ.ปะลุกาสาเมาะ จว.นราธวิ าส เปน ตน

๑๓

º··èÕ ó

¡ÒÃàÃÂÕ ¡ªè×Í˹Ҍ ·áÕè ÅÐคาํ ÂÍ‹ ¢Í§ตาํ á˹§‹ ã¹Ê¶Ò¹Õตาํ ÃǨ

¡ÒÃàÃÂÕ ¡ªèÍ× Ë¹ÒŒ ·áÕè ÅФÓÂÍ‹ ¢Í§μÓá˹§‹ ã¹Ê¶Ò¹ÕμÓÃǨ
(Ṻ·ŒÒ¤ÓÊÑè§ μÃ. ·èÕ õó÷/òõõõ ŧÇѹ·Õè ò÷ ¡Ñ¹ÂÒ¹ ¾.È.òõõõ)

ªèÍ× μÓá˹§‹ ¤ÓÂÍ‹

ËÇÑ Ë¹ÒŒ ʶҹՋμÓÃǨ ผกก.สน. ...
ผกู าํ กับการ สถานตี ํารวจนครบาล... ผกก.สภ. ...
ผูกํากบั การ สถานีตาํ รวจภูธร...

สารวตั รใหญ สถานตี ํารวจนครบาล... สวญ.สน. ...
สารวตั รใหญ สถานีตาํ รวจภูธร... สวญ.สภ. ...

สารวัตร สถานีตาํ รวจภธู ร... สว.สภ. ...

สารวัตรธุรการ §Ò¹ÍӹǡÒà สว.ธร.

สารวตั รอาํ นวยการ สว.อก.
รองสารวตั รธรุ การ รอง สว.ธร.
รองสารวตั ร (ตาํ แหนงควบผูบังคบั หมถู งึ รองสารวัตร) รอง สว. (ตําแหนงควบ ผบ.หมู ถงึ รอง สว.) (ธร.)
ธรุ การ
รองสารวตั รการเงนิ และบญั ชี รอง สว.กง.
ผูบังคับหมู (ทําหนาท่ีธรุ การ) ผบ.หมู (ธร.)

§Ò¹»‡Í§¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ รอง ผกก.ป.
รองผกู ํากบั การปอ งกนั ปราบปราม
สารวตั รปอ งกนั ปราบปราม สวป.
รองสารวัตรปอ งกนั ปราบปราม รอง สวป.
รองสารวัตร (ตําแหนงควบผบู ังคบั หมถู ึงรองสารวตั ร) รอง สว. (ตําแหนง ควบ ผบ.หมู ถงึ รอง สว.) (ป.)
งานปอ งกันปราบปราม
ผบู งั คบั หมู (ทาํ หนา ท่ธี ุรการ) ผบ.หมู (ธร.)
ผูบังคับหมู (ทาํ หนา ทีป่ ฏบิ ัติการปอ งกนั ปราบปราม) ผบ.หมู (ป.)
ผูบงั คับหมู (ทาํ หนาทีช่ มุ ชนสัมพันธ) ผบ.หมู (ชส.)
ผูบงั คับหมู (ทาํ หนาที่คุมผตู องหาบนสถาน)ี ผบ.หมู (คตส.)
ผบู ังคับหมู (ทาํ หนาทีป่ ระชาสมั พนั ธ) ผบ.หมู (ปชส.)
ผบู งั คบั หมู (ทาํ หนาท่พี ิมพล ายนิ้วมือ) ผบ.หมู (พม.)
ผบู ังคับหมู (ทาํ หนาท่เี สมยี นประจําวันธรุ การ) ผบ.หมู (ปจว.ธร.)
ผูบังคบั หมู (ทาํ หนา ทพ่ี นกั งานวิทย)ุ ผบ.หมู (พงว.)

๑๔

ª×èÍμÓá˹‹§ ¤ÓÂÍ‹

§Ò¹¨ÃÒ¨Ã

รองผกู ํากบั การจราจร รอง ผกก.จร.
สารวตั รจราจร สว.จร.
รองสารวตั รจราจร รอง สว.จร.
รองสารวัตร (ตาํ แหนง ควบผบู ังคับหมูถงึ รองสารวัตร) รอง สว. (ตําแหนง ควบ ผบ.หมู ถงึ รอง สว.)
(จร.)
งานจราจร
ผบ.หมู (ธร.)
ผบู ังคับหมู (ทาํ หนา ทธี่ รุ การ)
ผบ.หมู (จร.)
ผูบงั คับหมู (ทําหนา ทจ่ี ราจร)

§Ò¹Êº× Êǹ
รองผูก ํากับการสืบสวน รอง ผกก.สส.
สารวัตรสืบสวน สว.สส.
รองสารวตั รสืบสวน รอง สว.สส.
รองสารวตั ร (ตําแหนง ควบผูบังคบั หมูถงึ รองสารวตั ร) รอง สว. (ตาํ แหนง ควบ ผบ.หมู ถึง รอง สว.)
งานสบื สวน (สส.)
ผูบังคับหมู (ทําหนา ทธ่ี รุ การ) ผบ.หมู (ธร.)
ผบู ังคบั หมู (ทําหนา ท่ีสืบสวน) ผบ.หมู (สส.)

˹‹Ç»¯ÔºμÑ Ô¡ÒþÔàÈÉ ผบ.รอย (สบ ๒)
ผูบ ังคับกองรอย (สบ ๒)
ผูบงั คับหมวด (สบ ๑) ผบ.มว. (สบ ๑)
รองสารวัตร (ตาํ แหนง ควบผูบงั คับหมูถ งึ รองสารวัตร) รอง สว. (ตาํ แหนง ควบ ผบ.หมู ถงึ รอง สว.)
หนวยปฏบิ ตั ิการพิเศษ (นปพ.)
ผูบังคบั หมู (หนวยปฏิบตั กิ ารพิเศษ) ผบ.หมู (นปพ.)

ตรวจแลวถกู ตอง

พลตํารวจตรี
(กมั พล ศรีเจริญ)

ผูบังคับการ กองอตั รากาํ ลัง

๑๕

º··Õè ô

Å¡Ñ É³Ð§Ò¹áÅСÒÃกาํ ˹´Ë¹ŒÒ·Õèã¹Ê¶Ò¹ตÕ ําÃǨ

ʶҹÕตําÃǨ¹¤ÃºÒÅ áÅÐʶҹÕตําÃǨÀٸà 䴌ẋ§ÅѡɳЧҹã¹Ê¶Ò¹ÕตําÃǨ
Í͡໚¹ õ ÅѡɳЧҹ ¡ºÑ ñ ˹‹Ç»¯ÔºμÑ ¡Ô Òà ไดแ ก

๑. งานอํานวยการ
๒. งานปอ งกนั ปราบปราม
๓. งานจราจร
๔. งานสบื สวน
๕. งานสอบสวน และ
๖. หนวยปฏบิ ัตกิ ารพเิ ศษ

¡ÒÃกาํ ˹´ËÇÑ Ë¹ŒÒ§Ò¹ã¹Ê¶Ò¹ตÕ ําÃǨ

ñ. ʶҹÕตําÃǨ·ÕèÁÕËÑÇ˹ŒÒʶҹÕตําÃǨ໚¹ÃдѺตําá˹‹§¼ÙŒ¡íҡѺ¡Òà ตามโครงสราง
สถานีตาํ รวจรูปแบบท่ี ๑ กําหนดให

๑.๑ รองผกู าํ กบั การปอ งกนั ปราบปราม เปน หวั หนา งานอาํ นวยการ และงานปอ งกนั
ปราบปราม

๑.๒ รองผกู ํากับการจราจร เปน หัวหนางานจราจร
๑.๓ รองผูกาํ กับการสบื สวน เปน หวั หนา งานสืบสวน
๑.๔ พนกั งานสอบสวนทมี่ รี ะดบั ตาํ แหนง และอาวโุ สสงู สดุ ซง่ึ ไดร บั คาํ สงั่ มอบหมาย
จากหวั หนา หนว ย หรอื หวั หนา หนว ยงาน ตามนยั ระเบยี บ ก.ตร. วา ดว ยการกาํ หนดจาํ นวนในการแตง ตงั้
และอาํ นาจหนาท่ใี นการบงั คับบัญชาพนกั งานสอบสวน พ.ศ. ๒๕๕๕ เปนหวั หนางานสอบสวน
๑.๕ ผูบังคับกองรอย (สบ ๒) หรือ ผูบังคับหมวด (สบ ๑) เปนหัวหนาหนวย
ปฏบิ ตั กิ ารพิเศษ
ò. ʶҹÕตําÃǨ·èÕÁÕËÑÇ˹ŒÒʶҹÕตําÃǨ໚¹ÃдѺตําá˹‹§¼ÙŒกํา¡Ñº¡Òà ตามโครงสราง
สถานีตํารวจรปู แบบท่ี ๒ กาํ หนดให
๒.๑ รองผูกํากับการปองกันปราบปราม เปนหัวหนางานอํานวยการงานปองกัน
ปราบปรามและงานจราจร
๒.๒ รองผูกาํ กบั การสืบสวน เปนหัวหนา งานสบื สวน
๒.๓ พนกั งานสอบสวนทม่ี รี ะดบั ตาํ แหนง และอาวโุ สสงู สดุ ซงึ่ ไดร บั คาํ สงั่ มอบหมาย
จากหวั หนา หนว ย หรอื หวั หนา หนว ยงาน ตามนยั ระเบยี บ ก.ตร. วา ดว ยการกาํ หนดจาํ นวนในการแตง ตงั้
และอํานาจหนาท่ีในการบงั คับบัญชาพนกั งานสอบสวน พ.ศ. ๒๕๕๕ เปนหวั หนา งานสอบสวน

๑๖

๒.๔ ผูบังคับกองรอย (สบ ๒) หรือ ผูบังคับหมวด (สบ ๑) เปนหัวหนาหนวย
ปฏิบตั กิ ารพิเศษ

ó. ʶҹμÕ ÓÃǨ·ÁèÕ ËÕ ÇÑ Ë¹ÒŒ ʶҹμÕ ÓÃǨ໹š ÃдºÑ μÓá˹§‹ ÊÒÃÇμÑ ÃãËÞ‹ ตามโครงสรา ง
สถานตี ํารวจ รปู แบบท่ี ๓ กาํ หนดให

๓.๑ สารวตั รปอ งกนั ปราบปราม เปน หวั หนา งานอาํ นวยการ และงานปอ งกนั ปราบปราม
๓.๒ สารวัตรจราจร เปน หวั หนางานจราจร
๓.๓ สารวตั รสบื สวน เปน หัวหนางานสืบสวน
๓.๔ พนกั งานสอบสวนทม่ี รี ะดบั ตาํ แหนง และอาวโุ สสงู สดุ ซงึ่ ไดร บั คาํ สง่ั มอบหมาย
จากหวั หนา หนว ย หรอื หวั หนา หนว ยงาน ตามนยั ระเบยี บ ก.ตร. วา ดว ยการกาํ หนดจาํ นวนในการแตง ตงั้
และอาํ นาจหนา ที่ในการบังคบั บญั ชาพนกั งานสอบสวน พ.ศ. ๒๕๕๕ เปนหวั หนา งานสอบสวน
๓.๕ ผบู งั คับหมวด (สบ ๑) เปนหัวหนาหนว ยปฏิบัตกิ ารพิเศษ
ô. ʶҹμÕ ÓÃǨ·ÁÕè ËÕ ÇÑ Ë¹ÒŒ ʶҹμÕ ÓÃǨ໹š ÃдºÑ μÓá˹§‹ ÊÒÃÇμÑ ÃãËÞ‹ ตามโครงสรา ง
สถานีตาํ รวจ รูปแบบที่ ๔ กําหนดให
๔.๑ สารวตั รปอ งกนั ปราบปราม เปน หวั หนา งานอาํ นวยการ งานปอ งกนั ปราบปราม
และงานจราจร
๔.๒ สารวัตรสบื สวน เปนหัวหนางานสืบสวน
๔.๓ พนกั งานสอบสวนทม่ี รี ะดบั ตาํ แหนง และอาวโุ สสงู สดุ ซง่ึ ไดร บั คาํ สง่ั มอบหมาย
จากหวั หนา หนว ย หรอื หวั หนา หนว ยงาน ตามนยั ระเบยี บ ก.ตร. วา ดว ยการกาํ หนดจาํ นวนในการแตง ตงั้
และอาํ นาจหนาท่ีในการบงั คับบญั ชาพนักงานสอบสวน พ.ศ. ๒๕๕๕ เปนหัวหนางานสอบสวน
๔.๔ ผบู งั คับหมวด (สบ ๑) เปน หัวหนา หนว ยปฏิบัตกิ ารพิเศษ
õ. ʶҹμÕ ÓÃǨ·ÁÕè ËÕ ÇÑ Ë¹ÒŒ ʶҹμÕ ÓÃǨ໹š ÃдºÑ μÓá˹§‹ ÊÒÃÇμÑ Ã ตามโครงสรา งสถานี
ตํารวจ รูปแบบท่ี ๕ กําหนดให
๕.๑ รองสารวตั รปองกนั ปราบปราม เปน หัวหนา งานอาํ นวยการ และงานปองกนั
ปราบปราม
๕.๒ รองสารวตั รสืบสวน เปนหวั หนางานสืบสวน
๕.๓ รองสารวตั รจราจร เปนหัวหนา งานจราจร
๕.๔ พนกั งานสอบสวนทม่ี รี ะดบั ตาํ แหนง และอาวโุ สสงู สดุ ซงึ่ ไดร บั คาํ สง่ั มอบหมาย
จากหวั หนา หนว ย หรอื หวั หนา หนว ยงาน ตามนยั ระเบยี บ ก.ตร. วา ดว ยการกาํ หนดจาํ นวนในการแตง ตงั้
และอาํ นาจหนาทใี่ นการบงั คับบัญชาพนกั งานสอบสวน พ.ศ. ๒๕๕๕ เปนหวั หนางานสอบสวน
๕.๕ ผบู งั คับหมวด (สบ ๑) เปน หัวหนา หนวยปฏิบตั กิ ารพิเศษ

๑๗

ö. ʶҹμÕ Òí ÃǨ·ÁèÕ ËÕ ÇÑ Ë¹ÒŒ ʶҹμÕ Òí ÃǨ໹š ÃдºÑ μÒí á˹§‹ ÊÒÃÇμÑ Ã ตามโครงสรา งสถานี
ตาํ รวจรปู แบบที่ ๖ กาํ หนดให

๖.๑ รองสารวตั รปองกนั ปราบปราม เปน หวั หนา งานอํานวยการ งานปองกัน
ปราบปราม และงานจราจร

๖.๒ รองสารวตั รสบื สวน เปนหวั หนา งานสืบสวน
๖.๓ พนกั งานสอบสวนทมี่ รี ะดบั ตาํ แหนง และอาวโุ สสงู สดุ ซง่ึ ไดร บั คาํ สง่ั มอบหมาย
จากหวั หนา หนว ย หรอื หวั หนา หนว ยงาน ตามนยั ระเบยี บ ก.ตร. วา ดว ยการกาํ หนดจาํ นวนในการแตง ตงั้
และอาํ นาจหนา ที่ในการบังคับบญั ชาพนกั งานสอบสวน พ.ศ. ๒๕๕๕ เปน หวั หนา งานสอบสวน
๖.๔ ผบู งั คับหมวด (สบ ๑) เปน หัวหนา หนว ยปฏบิ ตั ิการพิเศษ
๖.๕ กรณีท่ีมีขาราชการตํารวจระดับสูงสุดของผูปฏิบัติงานของแตละงานหลายคน
ใหห วั หนา สถานตี าํ รวจเปน ผมู อบหมายใหข า ราชการตาํ รวจระดบั สงู สดุ ของผปู ฏบิ ตั งิ านแตล ะคนปฏบิ ตั ิ
หนา ทไี่ ดต ามความเหมาะสม ตามสถานการณห รอื สภาพพน้ื ทแี่ ลว แตก รณี และใหอ ยภู ายใตก ารควบคมุ
กาํ กบั ดูแล ปกครองบงั คบั บัญชาของหวั หนางาน

ËÇÑ Ë¹ŒÒ§Ò¹ã¹Ê¶Ò¹μÕ ÓÃǨ

มีหนาที่รับผิดชอบในการวางแผน อํานวยการส่ังการ ควบคุมกํากับ ดูแล ปกครอง
บังคับบญั ชา ตรวจสอบติดตาม และประเมนิ ผล ตลอดจนการฝก อบรม โดยปฏิบตั งิ านตามประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา และกฎหมายอน่ื อนั เกยี่ วกบั ความผดิ ในคดอี าญา ภายในเขตอาํ นาจ
ความรับผิดชอบหรือเขตพื้นท่ีการปกครอง รวมทั้งความรับผิดชอบในดานการงานและการปกครอง
บังคับบญั ชาถัดรองลงไปจากผบู งั คบั บญั ชาในระดบั กองบงั คับการตาํ รวจนครบาล ๑ – ๙ หรอื ตาํ รวจ
ภธู รจงั หวดั เพอ่ื พฒั นาการบรหิ าร การปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม การรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย
รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน บริการทางสังคม ชุมชนและมวลชนสัมพันธ งานพิเศษ
งานความม่ันคง และงานอื่น ๆ ดังนี้

๑. ทาํ หนา ทห่ี วั หนาผูรับผิดชอบการปฏบิ ตั ขิ องสถานตี ํารวจ ดังนี้
๑.๑ กาํ หนดนโยบายการปฏบิ ตั ิงาน
๑.๒ วางแผนการปฏบิ ตั ิงาน
๑.๓ พจิ ารณามอบหมายงานโดยใหม อี าํ นาจมอบหมายใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชาปฏบิ ตั งิ าน

ในหนาท่อี ่ืนนอกเหนอื จากหนาท่ีการงานประจําไดต ามความเหมาะสม
๑.๔ พจิ ารณาวินจิ ฉัยสง่ั การในงานที่มีปญ หา
๑.๕ ควบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจทง้ั ในดา นการปฏบิ ตั งิ าน

ความประพฤติ และระเบียบวนิ ัย

๑๘

๑.๖ กาํ หนดมาตรการในการประสานงานและควบคมุ กาํ กบั ดแู ล ใหม กี ารประสานกนั
อยางใกลชดิ จรงิ จังระหวางงานตาง ๆ ในสถานีตาํ รวจ

๑.๗ ใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ ตลอดจนปรบั ปรงุ แกไ ขการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจ
ในสถานตี าํ รวจ

๑.๘ ติดตามประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านของขา ราชการตํารวจในสถานีตาํ รวจ
๑.๙ ตดิ ตอประสานงานกับหนว ยงานอื่น
๑.๑๐ จัดการฝกอบรมใหกับขาราชการตํารวจในสถานีตํารวจเพ่ือใหมีความรู
ความสามารถ ความประพฤติ ระเบยี บวนิ ยั เหมาะสมกบั การปฏบิ ตั หิ นา ที่ โดยการจดั การฝก อบรมเอง
หรอื ขอรับการสนบั สนุนจากบคุ คลหรอื หนว ยงานอ่ืน
๑.๑๑ เขา รวมประชมุ คณะกรรมการตาง ๆ ตามท่ไี ดรบั การแตง ตัง้
๑.๑๒ รว มประชมุ กับหนว ยงานอน่ื ในงานทเี่ ก่ยี วของ
๑.๑๓ แกไขปญ หาขอ ขัดของในการปฏิบัตงิ านของสถานีตาํ รวจ
๑.๑๔ ตอบปญหาและชี้แจงเร่ืองตาง ๆ เกีย่ วกับงานในหนา ที่
๒. ทําหนาที่หัวหนาพนักงานสอบสวน โดยปฏิบัติตามที่กฎหมาย ระเบียบ คําส่ังหรือ
ขอ บงั คบั กาํ หนด
๓. ปฏบิ ตั งิ านตามทก่ี ฎหมาย ระเบยี บ คาํ สง่ั หรอื ขอ บงั คบั กาํ หนดใหเ ปน อาํ นาจหนา ที่
ของหัวหนา สถานีตาํ รวจโดยเฉพาะ
๔. วางแผน ปฏิบัติและควบคุมการจัดการกําลังในการถวายความปลอดภัยแด
องคพระมหากษัตริย พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ ท่ีเสด็จพระราชดําเนินเขามาในพ้ืนที่ของ
สถานตี ํารวจ
๕. วางแผน ปฏิบัติและควบคุมการจัดกําลังในการควบคุมความสงบเรียบรอยกรณีมี
เหตพุ เิ ศษตา งๆ เชน การจัดงานตามประเพณี การชุมนุมประทวง และอนื่ ๆ
๖. ปฏิบตั ิงานอ่ืน ๆ ทเี่ กย่ี วของกบั งานตามขอ ๕.๑.๑ – ๕.๑.๕
๗. ปฏิบัตงิ านอื่น ๆ ตามที่ผูบ งั คบั บัญชามอบหมาย

๑๙

º··Õè õ

Å¡Ñ É³Ð§Ò¹ ¼ÙŒ»¯ºÔ ÑμÔ§Ò¹ÍӹǡÒÃ

ñ. §Ò¹ÍӹǡÒÃ

ñ.ñ ËÑÇ˹ŒÒ§Ò¹ÍӹǡÒÃ
ËÑÇ˹ŒÒ§Ò¹ÍíҹǡÒà มีหนาที่เปนหัวหนาผูปฏิบัติงานอํานวยการ รับผิดชอบ

เก่ียวกับการวางแผน ส่ังการ ควบคุม กํากับดูแล ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผลงานที่เกี่ยวกับ
นโยบาย ยุทธศาสตรและแผนงานสถานีตํารวจ งานการบริหารบุคลากร การศึกษาการฝกอบรม
งานวิชาการ สวัสดกิ าร การพัฒนาการบรหิ ารจดั การ งบประมาณ การเงิน การพัสดุ การพลาธิการ
และสรรพาวุธ การสงกําลังบํารุง รวมท้ังลักษณะงานท่ีเกี่ยวของหรือเปนสวนประกอบเพื่อสงเสริม
หรือสนับสนุนการปฏิบัติงานในสถานตี ํารวจโดยจาํ แนกออกเปน งานตา งๆ ดงั นี้

๑) งานนโยบาย ยทุ ธศาสตร แผนแมบ ท แผนปฏบิ ตั กิ าร แผนประจาํ ป และแผน
ปฏิบัตกิ ารประจาํ ของสถานีตาํ รวจ

๒) งานธุรการและสารบรรณท่ัวไปของสถานีตาํ รวจ
๓) งานกาํ ลงั พล รวมทั้งงานพัฒนาขา ราชการตาํ รวจและครอบครวั ใหมีความพรอ ม
ทั้งดานกําลงั ความคดิ และจิตใจ เพ่อื ปฏบิ ัติหนาทไี่ ดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
๔) งานการศึกษา ฝกอบรม สัมมนา ดงู าน ตลอดจนงานเผยแพรค วามรู
๕) งานสวสั ดกิ าร
๖) งานพัฒนาองคกร และพฒั นาระบบการบริหารจัดการตา งๆ
๗) งานงบประมาณการเงิน งานพัสดุ พลาธิการและสรรพาวุธ
๘) งานการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ
๙) งานจดั การเรื่องเงนิ สินบน เงินรางวัล และเงนิ คา ตอบแทน
๑๐) งานการจดั อาหารเลยี้ งดผู ตู อ งหา
๑๑) งานทะเบยี นคนตางดาวและงานการขออนุญาตตาง ๆ
๑๒) งานการประชาสมั พันธ
๑๓) งานตรวจสอบติดตามประเมินผล วิจัยและพัฒนาการปฏิบัติตามนโยบาย
ยุทธศาสตร แผนงานและโครงการตา ง ๆ
๑๔) งานดแู ลหอ งประชุมและจัดการประชมุ
๑๕) งานควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ ทั้งในดาน
การปฏบิ ตั ิงาน ความประพฤตแิ ละระเบียบวนิ ยั
๑๖) การปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี ากมเี หตจุ าํ เปน เรง ดว น ใหม อี าํ นาจมอบหมายใหผ ใู ตบ งั คบั
บญั ชาปฏิบัตหิ นาทอี่ นื่ ไดต ามความเหมาะสม แตทงั้ นีต้ อ งไมเสียหายตอ หนาท่ีการงานประจํา

๒๐

๑๗) งานอ่ืนท่ีไมไดกําหนดใหเปนหนาท่ีของงานใดในสถานีตํารวจใหเปนหนาท่ี
ของงานอาํ นวยการ

๑๘) ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆ ท่เี กยี่ วขอ งกับงานอาํ นวยการ
๑๙) ปฏิบตั ิงานอนื่ ๆ ตามทผ่ี บู งั คบั บญั ชามอบหมาย
ñ.ò ¼Œ»Ù ¯ºÔ Ñμ§Ô Ò¹ÍӹǡÒÃ
ñ.ò.ñ ÊÒÃÇμÑ Ã¸ÃØ ¡ÒÃËÃ×ÍÊÒÃÇμÑ ÃÍӹǡÒà มีหนา ท่ดี งั น้ี

๑) ควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนปรับปรุงแกไข
การปฏบิ ัตงิ านของผใู ตบังคับบัญชาในงานอํานวยการ

๒) การปฏิบัติหนาที่หากมีเหตุจําเปนเรงดวน ใหมีอํานาจมอบหมาย
ใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่อื่นไดตามความเหมาะสม แตท้ังน้ีตองไมเสียหายตอหนาที่การงาน
ประจําและตองรีบรายงานใหหัวหนางานอํานวยการทราบในทนั ที

๓) ปฏิบัติงานอื่น ๆ ท่เี กย่ี วขอ งกบั งานอํานวยการ
๔) ปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ตามทีผ่ ูบงั คบั บญั ชามอบหมาย
ñ.ò.ò ÃͧÊÒÃÇμÑ Ã¸ÃØ ¡Òà มีหนา ทีด่ งั นี้
๑) ปฏบิ ัตงิ านตามขอ ๑.๑ ขอ ๑) – ๑๕) และขอ ๑.๒.๑. ขอ ๑)
๒) การปฏบิ ตั หิ นาท่ีหากมเี หตุจาํ เปน เรง ดวน ใหมีอาํ นาจมอบหมายให
ผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาท่ีอื่นไดตามความเหมาะสม แตทั้งน้ีตองไมเสียหายตอหนาที่การงาน
ประจาํ และตอ งรบี รายงานใหห วั หนา งานอาํ นวยการ หรอื สารวตั รธรุ การหรอื สารวตั รอาํ นวยการทราบ
ในทันที
๓) ปฏิบตั งิ านอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวขอ งกบั งานอาํ นวยการ
๔) ปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ตามท่ีผบู ังคบั บัญชามอบหมาย
ñ.ò.ó ÃͧÊÒÃÇμÑ Ã (μÓá˹§‹ ¤Çº¼ŒÙºÑ§¤ºÑ ËÁÙ‹ ¶Ö§ÃͧÊÒÃÇμÑ Ã) ¸ÃØ ¡Òà มีหนา ที่
ดงั นี้
๑) ปฏบิ ตั งิ านในหนา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหนง ระดบั ผบู งั คบั หมู
ท่ีปฏิบัติอยูเดิม โดยปฏิบัติงานในกลุมงานอํานวยการและสนับสนุน ภายใตการกํากับตรวจสอบ
โดยทวั่ ไป และอาจไดร บั มอบหมายใหค วบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจจาํ นวนหนงึ่
๒) ตัดสินใจ วินิจฉัยสั่งการ แกไขปญหาในงานท่ีรับผิดชอบใหเสร็จส้ิน
ณ จดุ เดียว
๓) ปฏิบัติงานดวยตนเองในลักษณะของผูมีประสบการณในงานดาน
อํานวยการ และสนับสนุนของหนวยงานนั้น ๆ
๔) ชวยเหลืองานของขาราชการตํารวจระดับตําแหนงสารวัตร
หรือเทยี บเทา

๒๑

ผบู งั คบั บญั ชา ๕) ปฏิบัติหนาท่ีอื่นท่ีเก่ียวของหรือตามที่ไดรับมอบหมายจาก
ñ.ò.ô ¼ŒºÙ §Ñ ¤ÑºËÁÙ‹ ¸ØáÒà มีหนาทีด่ ังน้ี

๑) งานธุรการและสารบรรณทัว่ ไปของสถานตี ํารวจ
๒) งานกาํ ลงั พล ของสถานตี าํ รวจ
๓) งานสวสั ดิการ
๔) งานการสอ่ื สาร และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
๕) งานทะเบยี นคนตางดาวและงานการขออนญุ าตตา งๆ
๖) งานการประชาสัมพนั ธ
๗) งานดแู ลหองประชุมและจดั การประชุม
๘) งานประมาณ การเงิน พสั ดุ พลาธกิ ารและสรรพาวุธ
๙) งานจดั การเรอ่ื งเงนิ สนิ บน เงินรางวัล และเงนิ คา ตอบแทน
๑๐) งานการจัดอาหารเล้ียงดผู ูตองหา
๑๑) งานปฏิบตั หิ นา ทีพ่ ลขบั หรอื งานนําสาร
๑๒) ปฏบิ ตั งิ านอนื่ ๆ ท่เี กยี่ วขอ งกับงานอํานวยการ
๑๓) ปฏบิ ตั งิ านอื่น ๆ ตามทผี่ ูบังคับบัญชามอบหมาย

๒๓

º··Õè ö

ÅѡɳЧҹ ¼»ÙŒ ¯ÔºμÑ Ô§Ò¹»‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁ

ñ. §Ò¹»‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁ

ñ.ñ ËÇÑ Ë¹ÒŒ ¼»ŒÙ ¯ºÔ μÑ §Ô Ò¹»Í‡ §¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การวางแผนอาํ นวยการ
สง่ั การ ควบคมุ กาํ กบั ดแู ล ตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ตลอดจนปฏบิ ตั งิ านในดา นการปอ งกนั
และปราบปรามอาชญากรรม ซง่ึ เปน การกระทาํ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ติ า ง ๆ ทม่ี โี ทษทางอาญา
ทกุ ฉบบั งานคณะกรรมการตรวจสอบและตดิ ตามการบรหิ ารงานตาํ รวจ งานชมุ ชนและมวลชนสมั พนั ธ
ในรูปแบบตางๆ รวมทั้งงานที่มีลักษณะเก่ียวของ หรือเปนสวนประกอบของงานนี้ ในเขตพ้ืนที่ของ
สถานีตํารวจ เพ่อื มใิ หเ กดิ อาชญากรรมขนึ้ โดยจําแนกออกเปนงานตา ง ๆ ดังนี้

๑) งานการขา ว
๒) งานจัดทําแผนที่ ระบบขอมูลอาชญากรรม รวมท้ังการจัดระบบขอมูล
เปาหมายที่อาจเกิดอาชญากรรม และระบบขอมูลทางสังคม ท่ีเปนประโยชนตอการปองกัน ระงับ
ปราบปรามอาชญากรรม
๓) งานควบคุมผูตอ งหาและผูถกู กกั ขัง
๔) งานควบคมุ ศูนยว ทิ ยุหรอื การรับ – สง วิทยขุ องสถานตี าํ รวจ
๕) งานจดั ตงั้ จดุ รบั แจง เหตุ จดุ ตรวจ จดุ สกดั และกาํ หนดมาตรการตา งๆ ในการ
ปองกันและปราบปรามมใิ หอาชญากรรมเกิดข้นึ
๖) งานจดั สายตรวจทุกประเภท
๗) งานควบคุมแหลง อบายมขุ และการจดั ระเบยี บสงั คม
๘) งานปราบปรามการกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาและ
พระราชบัญญตั ิตาง ๆ ท่มี ีโทษทางอาญาทุกฉบบั
๙) งานปราบปรามผูมีอทิ ธิพลและมือปนรบั จาง
๑๐) งานพทิ กั ษเดก็ เยาวชน และสตรี
๑๑) งานปราบปรามผูมีอิทธิพลเกี่ยวกับบอนการพนัน สถานบริการและแหลง
อบายมขุ
๑๒) งานปราบปรามผูมีอิทธิพลในการฮั้วประมูล และขัดขวางการเสนอแขงขัน
ราคาในการประมลู
๑๓) งานท่ีปฏบิ ตั ติ ามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา
๑๔) งานตามกฎหมายวาดว ยการจาํ หนายสุรา สถานบรกิ าร โรงแรม ภาพยนตร
โรงรบั จาํ นาํ อาวธุ ปน การพนนั และคา ของเกา การเรย่ี ไร รวมทง้ั งานอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วขอ งตามทกี่ ฎหมาย
บัญญัติใหอ าํ นาจไว

๒๔

๑๕) งานฝก อบรมประชาชน อาสาสมัคร เดก็ เยาวชน นักเรยี น นสิ ิต นักศึกษา
พนกั งานรกั ษาความปลอดภยั ลกู เสอื ชาวบา น สมาชกิ ไทยอาสาปอ งกนั ชาติ ฯลฯ ทเ่ี กย่ี วกบั การปอ งกนั
อาชญากรรมและรักษาความปลอดภยั เพื่อชวยเหลือกจิ การตาํ รวจ

๑๖) งานคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตํารวจ (กต.ตร.)
ระดบั สถานตี าํ รวจ

๑๗) งานประชาสมั พนั ธ ชุมชนสมั พนั ธ เพ่ือแสวงหาความรว มมือจากหนวยงาน
ภาครัฐ เอกชน ประชาชน ตลอดจนสรา งเครอื ขายการปองกันอาชญากรรมในชมุ ชนและทุกภาคสว น
ของสงั คมในเขตพื้นที่ของสถานตี ํารวจ

๑๘) งานพฒั นากาํ ลงั พล งบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ เทคโนโลยี เพอ่ื ใชใ นการปอ งกนั
ปราบปรามอาชญากรรม

๑๙) งานระบบงบประมาณท่เี ก่ยี วกบั งานปองกันปราบปราม
๒๐) ตรวจสอบ ติดตามและประเมินผล วิจัยและพัฒนาการปฏิบัติตามนโยบาย
ยุทธศาสตร แผนงานและโครงการตาง ๆ ในการปองกันปราบปรามอาชญากรรม
๒๑) กรณกี ารกระทาํ ความผดิ ใหพ จิ ารณาสง่ั การใหผ ปู ฏบิ ตั งิ านปอ งกนั ปราบปราม
ดําเนนิ การจับกมุ หรือดําเนินการจบั กมุ ดว ยตนเอง
๒๒) งานการจัดกําลังรวมในการถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชนิ ี และพระบรมวงศานุวงศ ท่เี สด็จพระราชดําเนนิ เขา มาในพน้ื ทขี่ องสถานีตํารวจ
๒๓) การควบคุมความสงบเรียบรอ ย กรณมี ีเหตุพิเศษตา งๆ เชน การจัดงานตาม
ประเพณี การชุมนมุ ประชุม และอนื่ ๆ
๒๔) งานควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจท้ังในดาน
การปฏิบตั งิ าน ความประพฤตแิ ละระเบยี บวนิ ัย
๒๕) การปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี ากมเี หตจุ าํ เปน เรง ดว น ใหม อี าํ นาจมอบหมายใหผ ใู ตบ งั คบั
บัญชาปฏบิ ตั ิหนา ทอ่ี ื่นไดต ามความเหมาะสม แตทง้ั นีต้ อ งไมเ สียหายตอ หนาที่การงานประจํา
๒๖) ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทเ่ี กย่ี วกบั งานปองกนั ปราบปราม
๒๗) ปฏิบัติงานอน่ื ๆ ตามที่ผูบงั คบั บญั ชามอบหมาย
ñ.ò ¼ŒÙ»¯ÔºμÑ Ô§Ò¹»‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁ
ñ.ò.ñ ÊÒÃÇÑμû͇ §¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ มีหนา ทีด่ ังน้ี

๑) ปฏิบตั ิงานตามท่หี ัวหนา งานปอ งกันปราบปรามมอบหมาย
๒) ปฏิบัติงานตามขอ ๒.๑ ขอ ๑) – ๒๓)
๓) ควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนปรับปรุงแกไข
การปฏบิ ัตงิ านของผใู ตบ งั คบั บัญชาในงานปองกันปราบปราม

๒๕

๔) การปฏิบัติหนาที่หากมีเหตุจําเปนเรงดวน ใหมีอํานาจมอบหมาย
ใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่อ่ืนไดตามความเหมาะสม แตทั้งน้ีตองไมเสียหายตอหนาที่การงาน
ประจําและตอ งรีบรายงานใหห ัวหนางานปอ งกนั ปราบปรามทราบในทนั ที

๕) ปฏิบตั งิ านทอ่ี ่นื ๆ ที่เกี่ยวของกับงานปองกันปราบปราม
๖) ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ตามที่ผูบ งั คับบัญชามอบหมาย
ñ.ò.ò ÃͧÊÒÃÇÑμû‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁ ·Ó˹ŒÒ·èÕ»¯ÔºÑμÔ¡Òû‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁ
มีหนาที่ดงั นี้
๑) ปฏบิ ตั งิ านตามทห่ี วั หนา งานปอ งกนั ปราบปรามหรอื สารวตั รปอ งกนั
ปราบปรามมอบหมาย
๒) ปฏบิ ัตงิ านตามขอ ๒.๑ ขอ ๑) – ๒๓) และขอ ๒.๒ ขอ ๑)
๓) กรณีมีการกระทําความผิดเกิดขึ้นใหดําเนินการจับกุมโดยพิจารณา
ใชกําลังตามความเหมาะสม แลวรายงานหัวหนางานปองกันปราบปรามหรือสารวัตรปองกัน
ปราบปรามทราบ
๔) ปฏบิ ัติหนา ทน่ี ายรอ ยตาํ รวจเวร
๕) ปฏบิ ัตหิ นา ท่ีหัวหนาสายตรวจ
๖) ขณะปฏิบัติหนาทีน่ ายรอ ยตํารวจเวร และหัวหนา สายตรวจในคราว
เดยี วกนั ใหป ฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นดา นปอ งกนั เปน หลกั สว นการปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นดา นระงบั ปราบปรามใหเ ปน ไป
ตามแผนที่กําหนดไวหรือตามความเหมาะสม
๗) ควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจท้ังในดาน
การปฏบิ ตั งิ าน ความประพฤตแิ ละระเบียบวินยั
๘) การปฏิบัติหนาที่หากมีเหตุจําเปนเรงดวน ใหมีอํานาจมอบหมาย
ใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่อื่นไดตามความเหมาะสม แตท้ังน้ีตองไมเสียหายตอหนาที่การงาน
ประจําและตองรีบรายงานใหหัวหนางานปองกันปราบปรามหรือสารวัตรปองกันปราบปรามทราบ
ในทนั ที
๙) ปฏิบตั ิงานอื่น ๆ ท่เี ก่ยี วขอ งกบั งานปอ งกนั ปราบปราม
๑๐ ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ๆ ตามทผี่ ูบงั คับบัญชามอบหมาย
ñ.ò.ó ÃͧÊÒÃÇÑμà (μíÒá˹‹§¤Çº¼ÙŒºÑ§¤ÑºËÁÙ‹ ¶Ö§ÃͧÊÒÃÇÑμÃ) §Ò¹»‡Í§¡Ñ¹
»ÃÒº»ÃÒÁ มหี นาที่ดงั นี้
๑) ปฏบิ ตั งิ านในหนา ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหนง ระดบั ผบู งั คบั หมู
ท่ีปฏิบัติอยูเดิม โดยปฏิบัติหนาท่ีในสายงานปองกันปราบปราม ภายใตการกํากับตรวจสอบ
โดยทวั่ ไปและอาจไดร บั มอบหมายใหค วบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจจาํ นวนหนงึ่

๒๖

๒) ตัดสินใจ วินิจฉัยสั่งการ แกไขปญหาในงานท่ีรับผิดชอบใหเสร็จส้ิน
ณ จดุ เดียว

๓) ปฏิบัติหนาท่ีรอยเวรบริการบนสถานีตํารวจ หัวหนากลุมสายตรวจ
หัวหนาชุดมวลชนสัมพันธ หัวหนาชุดปฏิบัติการชายแดน หัวหนาชุดขาว หัวหนาชุดปราบปราม
ยาเสพติด เปน ตน

๔) ปฏิบัติงานดวยตนเองในลักษณะของผูมีประสบการณในงานดาน
ปอ งกนั ปราบปรามของหนวยงานน้ัน ๆ เปน ตน

๕) ชวยเหลืองานของขาราชการตํารวจระดับตําแหนงสารวัตร
หรือเทียบเทา

๖) ปฏิบัติหนาท่ีอื่นท่ีเก่ียวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมายจาก
ผูบ งั คับบัญชา

ñ.ò.ô ¼ŒÙº§Ñ ¤ÑºËÁÙ‹ »Í‡ §¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁ
ñ) ·Ó˹Ҍ ·¸Õè ÃØ ¡Òà มีหนาที่ดังนี้
- งานรับ – สง และการเสนอหนงั สอื
- งานรา งโตต อบงาน
- งานเก็บรักษา คน และทําลายเอกสาร
- งานจัดเกบ็ และรวบรวมสถิตงิ านปองกนั ปราบปราม
- ปฏิบัตงิ านอืน่ ๆ ที่เก่ียวของกบั งานปองกนั ปราบปราม
- ปฏิบัติงานอื่น ๆ ตามทผ่ี บู งั คับบัญชามอบหมาย
ò) ·Ó˹Ҍ ·è»Õ ¯ºÔ μÑ Ô¡Òû͇ §¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁ มีหนาที่ดังนี้
- เก็บรวบรวมสถิติขอมูลเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม

ตามท่ีผูบังคับบัญชามอบหมายและสั่งการ เก่ียวกับคดีอาญาทุกประเภทและคดีตามพระราชบัญญัติ
ตา ง ๆ ทมี่ ีโทษทางอาญาทุกฉบับ โดยใหเกบ็ และรายงานตามท่ีสาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติกําหนด

- ปอ งกนั เหตุ โดยการตรวจตราทว่ั ไป หากตอ งใชก าํ ลงั ตาํ รวจไปทาํ
การระงับ ปราบปรามเมื่อพบเหตุที่ตองระงับ ปราบปรามตองดําเนินการดวยตนเองหรือแจงส่ังใหใช
กําลงั ตาํ รวจตามความเหมาะสมหรอื ตามแผนทก่ี ําหนดไว

- การปฏบิ ตั ติ ามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา
- ปฏิบัติหนาท่ีถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระบรมวงศานวุ งศ ทเี่ สดจ็ พระราชดาํ เนนิ เขามาในพ้นื ทีข่ องสถานตี าํ รวจ
- ควบคุมความสงบเรียบรอย กรณีมีเหตุพิเศษตาง ๆ เชน
การจดั งานตามประเพณี การชมุ นมุ ประทว ง และอืน่ ๆ

๒๗

- ปฏิบัติหนาท่ีสิบเวรประจําสถานีตํารวจควบคุมการปฏิบัติหนาท่ี
ของยามสถานีตาํ รวจ ประชาสัมพันธ ควบคุมผตู องหา พิมพลายน้วิ มอื

- ปฏบิ ตั หิ นา ทย่ี ามสถานตี าํ รวจ รกั ษาการณร กั ษาความสงบเรยี บรอ ย
ความสะอาด พัสดุของหลวง ส่ิงของท่ียึดมาประกอบคดี ตลอดจนชวยเหลือควบคุมดูแลผูตองหา
และผตู อ งขงั

- ปฏบิ ตั งิ านชมุ ชนสมั พนั ธ เพอ่ื แสวงหาความรว มมอื จากหนว ยงาน
ภาครฐั เอกชน ประชาชน ตลอดจนสรางเครือขา ยการปอ งกนั อาชญากรรมในชมุ ชนและทุกภาคสว น
ของสงั คมในเขตพืน้ ทีข่ องสถานีตาํ รวจ

- ปฏบิ ัตงิ านอื่น ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ งกบั งานปอ งกนั ปราบปราม
- ปฏิบตั ิงานอน่ื ๆ ตามทผ่ี บู ังคับบญั ชามอบหมาย
ó) ·Ó˹ŒÒ·¤èÕ ÁØ ¼ÙŒμŒÍ§ËÒº¹Ê¶Ò¹Õ มีหนาที่ดงั นี้
- ควบคุมดูแลผูตองหา ผูถูกกักขังและผูถูกจําขัง โดยจะตอง
รายงานใหนายรอ ยตํารวจเวรทราบ
- การเยี่ยมผูถูกควบคุม โดยจัดใหไดตามกําหนดเวลาที่กําหนด
ไวเทาน้ัน รวมทั้งตรวจตราดูแลสิ่งของและอาหารที่มีผูนํามาเยี่ยม ผูถูกควบคุม เพ่ือปองกันไมใหมี
สงิ่ ของตอ งหามเล็ดลอดเขา ไปถึงผถู กู ควบคมุ ในหอ งควบคมุ ได
- ดําเนินการเร่ืองการใหอาหารผูถูกควบคุม ตรวจตราดูแลอาหาร
ท่ีทางการจัดเล้ียงไมใหมีสิ่งของตองหาม ปะปนเขาไปในอาหาร และเลี้ยงอาหารตามเวลาท่ีกําหนด
เทาน้ัน
- ปฏิบัติหนาท่ีถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ ทเี่ สด็จพระราชดาํ เนนิ เขามาในพื้นท่ขี องสถานีตาํ รวจ
- ควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย กรณมี เี หตพุ เิ ศษตา งๆ เชน การจดั งาน
ตามประเพณี การชมุ นมุ ประทว ง และอ่นื ๆ
- ปฏบิ ัตงิ านอ่นื ๆ ทเี่ กย่ี วของกบั งานปอ งกันปราบปราม
- ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ตามทผี่ ูบ ังคับบัญชามอบหมาย
ô) ·Ó˹Ҍ ·èÕ»ÃЪÒÊÁÑ ¾Ñ¹¸ มีหนา ทีด่ ังน้ี
- สอบถามและใหค าํ แนะนําประชาชนผูมาติดตอ
- รับโทรศัพท ถาเปนการแจงขาวเกี่ยวกับคดีใหรีบแจงให
นายรอ ยตาํ รวจเวรรับสาย
- ดําเนินการเกี่ยวกบั คาํ รอ งตาง ๆ
- ปฏิบัติหนาท่ีถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชนิ ี และพระบรมวงศานวุ งศ ท่เี สด็จพระราชดาํ เนินเขา มาในพืน้ ทข่ี องสถานีตาํ รวจ

๒๘

- ควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย กรณมี เี หตพุ เิ ศษตา งๆ เชน การจดั งาน
ตามประเพณี การชุมนมุ ประทวง และอ่นื ๆ

- ปฏิบัติงานอื่น ๆ ทเี่ ก่ียวของกับงานปองกันปราบปราม
- ปฏิบตั งิ านอนื่ ๆ ตามทผี่ ูบังคบั บัญชามอบหมาย
õ) ·Ó˹ŒÒ·èÕ¾ÁÔ ¾Å Ò¹éÇÔ ÁÍ× มหี นาทดี่ ังนี้
- พมิ พลายน้ิวมือบคุ คลทีข่ อตรวจสอบประวตั ิ
- พิมพลายนิ้วมือผูตองหา และน้ิวมือศพอันเกิดจากการตาย
โดยผิดธรรมชาติ
- พิมพล ายนิ้วมือผตู อ งสงสัย
- ปฏิบัติหนาท่ีถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ ที่เสด็จพระราชดําเนนิ เขามาในพืน้ ทข่ี องสถานีตาํ รวจ
- ควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย กรณมี เี หตพุ เิ ศษตา งๆ เชน การจดั งาน
ตามประเพณี การชุมนุมประทวง และอื่น ๆ
- ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนๆ ทเ่ี ก่ยี วของกบั งานปอ งกนั ปราบปราม
- ปฏบิ ัติงานอ่ืนๆ ตามทผ่ี ูบังคบั บัญชามอบหมาย
ö) ·Ó˹Ҍ ·Õàè ÊÁÂÕ ¹»ÃШíÒ¸ÃØ ¡Òà มีหนา ที่ดงั นี้
- ลงบันทึกประจําวันการปฏิบัติงานของสถานีตํารวจในสวนท่ีมิได
กําหนดใหลงบันทกึ ในสมุดประจําวนั คดี
- ลงบันทึกการนําตัวผูตองหาออกนอกหองควบคุม ซ่ึงพนักงาน
สอบสวนเปน ผสู ัง่ การ โดยใหผทู ําหนา ท่คี วบคุมผตู องหา ผรู บั ตวั ผูต อ งหาจดบันทึกไวเปน หลักฐาน
- ปฏิบัติหนาท่ีถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระบรมวงศานวุ งศ ท่ีเสดจ็ พระราชดําเนินเขามาในพนื้ ท่ขี องสถานตี าํ รวจ
- ควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย กรณมี เี หตพุ เิ ศษตา งๆ เชน การจดั งาน
ตามประเพณี การชุมนุมประทวง และอนื่ ๆ
- ปฏบิ ตั งิ านอืน่ ๆ ท่เี กย่ี วของกบั งานปอ งกันปราบปราม
- ปฏิบตั งิ านอ่นื ๆ ตามท่ผี บู ังคับบัญชามอบหมาย
÷) ·Ó˹Ҍ ·èÕ¾¹¡Ñ §Ò¹ÇÔ·ÂØ มหี นาทดี่ งั น้ี
- รับ – สงวิทยุ ระหวางสถานีตํารวจกับหนวยงานอื่นที่เก่ียวของ
และผปู ฏบิ ตั ิหนาทตี่ างๆ ของสถานตี าํ รวจ
- ดูแลรักษาเคร่ืองรับสงวิทยุและวัสดุอุปกรณท่ีเกี่ยวของโดยเปน
ผูดูแลรักษาเบ้ืองตน ตลอดจนตรวจสอบเคร่ืองรับสงวิทยุและอุปกรณท่ีเกี่ยวของเมื่อเกิดการชํารุด
เสยี หายใหร ีบรายงานผูบงั คับบญั ชาเพอื่ แกไ ขทันที

๒๙

- ปฏิบัติหนาที่ถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชนิ ี และพระบรมวงศานวุ งศ ท่ีเสดจ็ พระราชดําเนนิ เขา มาในพ้นื ท่ีของสถานีตํารวจ

- ควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย กรณมี เี หตพุ เิ ศษตา งๆ เชน การจดั งาน
ตามประเพณี การชุมนมุ ประทว ง และอน่ื ๆ

- ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ที่เกยี่ วของกบั งานปองกนั ปราบปราม
- ปฏิบตั ิงานอ่นื ๆ ตามทีผ่ บู ังคับบญั ชามอบหมาย

๓๑

º··èÕ ÷

Å¡Ñ É³Ð§Ò¹ ¼ÙŒ»¯ºÔ ÑμÔ§Ò¹¨ÃÒ¨Ã

ñ. §Ò¹¨ÃÒ¨Ã

ñ.ñ ËÑÇ˹ŒÒ¼ÙŒ»¯ÔºÑμÔ§Ò¹¨ÃҨà รับผิดชอบเก่ียวกับการปฏิบัติงานดานจราจร
วางแผนอาํ นวยการ สง่ั การ ควบคมุ ดแู ล ตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลงานดา นการควบคมุ จราจร
จัดการ และบังคับใชกฎหมายเก่ียวกับการจราจร รวมทั้งงานจราจรตามโครงการพระราชดําริ และ
งานที่มีลักษณะเกี่ยวของหรือเปนสวนประกอบของงานนี้ เพ่ือปองกันไมใหเกิดปญหาดานการจราจร
ตลอดจนพืน้ ทท่ี ่มี ีการจราจรตอเนอ่ื งกัน โดยจําแนกออกเปน งานตา งๆ ดงั น้ี

๑. งานควบคมุ ดแู ล ใหค าํ ปรกึ ษาแนะนาํ ตลอดจนการปรบั ปรงุ แกไ ขการปฏบิ ตั งิ าน
ของผูใ ตบ งั คบั บญั ชาในงานจราจร

๒. งานวางแผนจัดการและควบคุมการจราจร ตลอดจนจัดทําแผนที่จราจรของ
พ้ืนทร่ี ับผดิ ชอบ และของพน้ื ที่ท่ีมกี ารจราจรตอเน่อื งกนั

๓. งานศกึ ษาเกบ็ รวบรวมสถติ ขิ อ มลู เกย่ี วกบั การจราจร และนาํ วทิ ยาการมาใชใ น
งานจราจร

๔. งานใหความรแู ละการศกึ ษาอบรมผปู ฏิบัติหนา ทจี่ ราจร
๕. งานสอดสอ ง ตรวจตรา แนะนาํ ใหป ระชาชนผใู ชร ถใชถ นนปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย
ระเบยี บ คําสั่ง ขอบงั คบั เกี่ยวกับการจราจร
๖. งานเก็บรวบรวมขอมูล ขาวสาร หรือขอเท็จจริงท่ีเปนประโยชนตอการจัด
และการควบคุมการจราจร
๗. งานการสงขอมูลขาวสาร หรือขอเท็จจริงท่ีเปนประโยชนตอการปองกัน
ปราบปราม และสงใหง านปอ งกันปราบปราม
๘. เม่ือไดรับคําส่ังไมวาจะเปนคําสั่งโดยฉับพลันทันที หรือตามแผนท่ี
ผบู งั คบั บญั ชากาํ หนดใหป ฏบิ ตั อิ ยา งหนง่ึ อยา งใดในการเขา ระงบั ปราบปราม จบั กมุ สกดั จบั กใ็ หป ฏบิ ตั ิ
ตามคาํ สง่ั
๙. กรณมี กี ารกระทาํ ความผดิ ใหพ จิ ารณาสง่ั การใหผ ปู ฏบิ ตั งิ านจราจรดาํ เนนิ การ
จบั กุมหรอื ดําเนนิ การจับกมุ ดวยตนเอง
๑๐. ปฏิบัติหนาที่ถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย พระราชินี และ
พระบรมวงศานุวงศ ทเี่ สดจ็ พระราชดาํ เนินเขามาในพ้นื ท่ีของสถานีตํารวจ
๑๑. ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม ในการควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย
กรณมี ีเหตุพิเศษตา ง ๆ เชน การจัดงานตามประเพณี และอนื่ ๆ
๑๒. ปฏิบตั ิงานรว มกบั งานปอ งกันปราบปราม เพือ่ ทาํ การตรวจคนจบั กุม

๓๒

๑๓. งานควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ ท้ังในดาน
การปฏิบัตงิ าน ความประพฤตแิ ละระเบยี บวนิ ัย

๑๔. การปฏิบัติหนาท่ีหากมีเหตุจําเปนเรงดวน ใหมีอํานาจมอบหมายให
ผใู ตบ งั คบั บญั ชาปฏบิ ตั หิ นา ทอี่ นื่ ไดต ามความเหมาะสม แตท งั้ นต้ี อ งไมเ สยี หายตอ หนา ทกี่ ารงานประจาํ

๑๕. ปฏบิ ตั ิงานอ่ืนๆ ทเ่ี กีย่ วขอ งกับงานจราจร
๑๖. ปฏิบตั งิ านอน่ื ๆ ตามทผ่ี ูบังคับบญั ชามอบหมาย
ñ.ò ¼Œ»Ù ¯ÔºμÑ §Ô Ò¹¨ÃÒ¨Ã
ñ.ò.ñÊÒÃÇÑμèÃҨà มหี นา ทดี่ งั น้ี

๑) ควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนปรับปรุงแกไข
การปฏบิ ัตงิ านของผูใตบ ังคบั บญั ชาในงานจราจร

๒) จัดและควบคุมการจราจร
๓) ศึกษาเก็บรวบรวมสถิติขอมูลเก่ียวกับการจราจร และนําวิทยาการ
ตางๆ มาใชในงานจราจร
๔) ใหค วามรูและการศึกษาอบรมแกข า ราชการตาํ รวจ
๕) สอดสอง ตรวจตรา แนะนํา ใหประชาชนผูใชรถใชถนนปฏิบัติตาม
กฎหมาย ระเบยี บ คําสั่ง ขอบังคบั เกย่ี วกับการจราจร
๖) วากลาวตักเตือนกอนออกใบส่ังเจาพนักงานจราจร หรือออกใบสั่ง
เจา พนกั งานจราจร หรอื จบั กุมผลู ะเมดิ กฎหมาย ระเบยี บ คาํ ส่ัง ขอ บังคับเกยี่ วกับการจราจร
๗) จัดการเบ้ืองตนเมอื่ เกดิ อบุ ัตเิ หตจุ ราจร
๘) เกบ็ รวบรวมขอ มลู ขา วสาร หรอื ขอ เทจ็ จรงิ ทเี่ ปน ประโยชนต อ การปอ งกนั
ปราบปราม และสง ใหฝ ายปอ งกันปราบปราม
๙) ปฏบิ ตั หิ นา ทถ่ี วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ  พระราชนิ ี
และพระบรมวงศานุวงศ ที่เสดจ็ พระราชดําเนนิ เขา มาในพื้นทข่ี องสถานีตํารวจ
๑๐) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม ในการควบคุมความสงบ
เรียบรอย กรณมี ีเหตุพเิ ศษตา ง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชุมนุมประทว ง และอื่น ๆ
๑๑) ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม เพอื่ ทาํ การตรวจคน จบั กมุ
๑๒) เม่ือไดรับคําสั่งไมวาจะเปนคําส่ังโดยฉับพลันทันที หรือตามแผนที่
ผบู งั คบั บญั ชากาํ หนดใหป ฏบิ ตั อิ ยา งหนงึ่ อยา งใดในการเขา ระงบั ปราบปราม จบั กมุ สกดั จบั กใ็ หป ฏบิ ตั ิ
ตามคําส่งั
๑๓) การปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี ากมเี หตุจําเปน เรงดว น ใหมีอาํ นาจมอบหมายให
ผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่อ่ืนไดตามความเหมาะสม แตท้ังนี้ตองไมเสียหายตอหนาที่การงาน
ประจาํ และตองรีบรายงานใหหัวหนา งานจราจรทราบในทนั ที

๓๓

๑๔) งานควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจท้ังใน
ดานการปฏิบัตงิ าน ความประพฤตแิ ละระเบียบวินยั

๑๕) ปฏิบตั งิ านอน่ื ๆ ทีเ่ ก่ียวขอ งกับงานจราจร
๑๖) ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ตามทผ่ี ูบังคบั บญั ชามอบหมาย
ñ.ò.ò ÃͧÊÒÃÇÑμèÃҨà มหี นาที่ดงั นี้
๑) ปฏบิ ตั งิ านตามขอ ๓.๒.๑ ขอ ๑) – ๑๒)
๒) การปฏิบัติหนาท่ีหากมีเหตุจําเปนเรงดวน ใหมีอํานาจมอบหมาย
ใหผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนไดตามความเหมาะสม แตทั้งนี้ตองไมเสียหายตอหนาท่ีการงาน
ประจําและตอ งรบี รายงานใหหวั หนา งานจราจรหรือสารวัตรจราจรทราบในทนั ที
๓) ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ท่เี ก่ียวขอ งกบั งานจราจร
๔) ปฏิบตั ิงานอืน่ ๆ ตามทผี่ บู งั คบั บัญชามอบหมาย
ñ.ò.ó ÃͧÊÒÃÇμÑ Ã (μÒí á˹§‹ ¤Çº¼ºŒÙ §Ñ ¤ºÑ ËÁ‹Ù ¶§Ö ÃͧÊÒÃÇμÑ Ã) §Ò¹¨ÃҨà มหี นา ท่ี
ดงั น้ี
๑) ปฏิบัติงานในหนาท่ีและความรับผิดชอบของตําแหนงระดับ
ผูบังคับหมูที่ปฏิบัติอยูเดิม โดยปฏิบัติหนาที่ในสายงานจราจร ภายใตการกํากับตรวจสอบโดยทั่วไป
และอาจไดรับมอบหมายใหควบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านของขา ราชการตํารวจจํานวนหนงึ่
๒) ตัดสินใจ วินิจฉัยส่ังการ แกไขปญหาในงานที่รับผิดชอบใหเสร็จส้ิน
ณ จดุ เดียว
๓) ปฏบิ ตั หิ นา ที่หัวหนา จราจร
๔) ปฏิบัติงานดวยตนเองในลักษณะของผูมีประสบการณในงาน
ดานจราจรของหนว ยงานนัน้ ๆ
๕) ชวยเหลืองานของขาราชการตํารวจระดับตําแหนงสารวัตร
หรือเทยี บเทา
๖) ปฏิบัติหนาที่อื่นท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมายจาก
ผบู งั คับบัญชา
ñ.ò.ô ¼ºŒÙ §Ñ ¤ºÑ ËÁ‹Ù ¨ÃÒ¨Ã
๑) ทําหนาทีธ่ รุ การ มีหนาทีด่ งั นี้

- งานธรุ การทวั่ ไปของงานจราจร
- ปฏิบัติหนาที่ถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระบรมวงศานวุ งศ ท่เี สด็จพระราชดําเนนิ เขา มาในพ้นื ที่ของสถานตี ํารวจ
- ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปรามในการควบคมุ ความสงบ
เรียบรอ ย กรณีมเี หตุพเิ ศษตา ง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นุมประทว ง และอืน่ ๆ

๓๔

- ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม เพื่อทําการตรวจคน
จับกุม

- ปฏบิ ัตงิ านอื่นๆ ทเ่ี ก่ียวของกบั งานจราจร
- ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ตามท่ีผูบังคบั บญั ชามอบหมาย
- ทําหนา ที่จราจร มหี นา ทด่ี ังนี้
- เก็บรวบรวมสถิติขอมูลเกี่ยวกับการจราจรตลอดจนนําวิทยาการ
ตางๆ มาใชใ นงานจราจร
- จัดและควบคุมการจราจรตามท่ีรองสารวัตรจราจร หรือสารวัตร
จราจร หรอื หวั หนา งานจราจรมอบหมายส่งั การ
- จัดและควบคุมการจราจร โดยจัดและควบคุมการจราจรตามท่ี
รองสารวตั รจราจร หรือสารวตั รจราจร หรือหวั หนา งานจราจร
- สอดสอ ง ตรวจตรา แนะนาํ ใหป ระชาชนผใู ชร ถใชถ นนปฏบิ ตั ติ าม
กฎหมาย ระเบยี บ คาํ สั่ง ขอบังคบั เกี่ยวกบั การจราจร
- วา กลา วตกั เตอื นกอ นออกใบสง่ั เจา พนกั งานจราจร หรอื ออกใบสง่ั
เจา พนกั งานจราจร
- การจดั การเบอื้ งตน เม่อื เกดิ อบุ ัติเหตุจราจร
- เก็บรวบรวมขอมูล ขาวสารหรือขอเท็จจริงท่ีเปนประโยชน
ตอการปอ งกนั ปราบปราม โดยรายงานขอ มูลขาวสาร หรือขอเทจ็ จรงิ ทีเ่ กบ็ รวบรวมไดต อ รองสารวัตร
จราจรหรอื สารวัตรจราจร หวั หนา งานจราจร หรือกรณเี รงดว นใหแ จง โดยตรงตอ ผมู ีหนาท่รี บั ผดิ ชอบ
ในเรอื่ งนั้นๆ กอ น แลว รายงานรองสารวตั รจราจรหรือสารวัตรจราจร หรอื หัวหนางานจราจร ท้งั น้ี
ตามหลกั เกณฑและวิธีการทห่ี ัวหนา สถานีตาํ รวจกาํ หนด
- ปฏิบัติหนาที่ถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระบรมวงศานวุ งศ ทีเ่ สด็จพระราชดาํ เนนิ เขา มาในพน้ื ท่ีของสถานตี ํารวจ
- ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม ในการควบคมุ ความสงบ
เรยี บรอยกรณีมีเหตุพิเศษตา ง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นุมประทว ง และอื่น ๆ
- ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม เพื่อทําการตรวจคน
จับกุม
- เมอ่ื ไดร บั คาํ สง่ั ไมว า จะเปน คาํ สง่ั โดยฉบั พลนั ทนั ทหี รอื ตามแผนที่
ผบู งั คบั บญั ชากาํ หนดใหป ฏบิ ตั อิ ยา งหนง่ึ อยา งใดในการเขา ระงบั ปราบปราม จบั กมุ สกดั จบั กใ็ หป ฏบิ ตั ิ
ตามคําสัง่
- ปฏิบตั งิ านอื่น ๆ ทีเ่ กย่ี วของกบั งานจราจร
- ปฏบิ ัติงานอื่น ๆ ตามที่ผบู ังคบั บญั ชามอบหมาย

๓๕

º··èÕ ø

ÅѡɳЧҹ ¼Œ»Ù ¯ÔºμÑ Ô§Ò¹Êº× Êǹ

ñ. §Ò¹Ê׺Êǹ

ñ.ñ ËÑÇ˹ŒÒ¼ÙŒ»¯ÔºÑμÔ§Ò¹Ê׺Êǹ รับผิดชอบเก่ียวกับการวางแผนอํานวยการ ส่ังการ
ควบคุม กํากับ ดูแล ตรวจสอบติดตาม และประเมินผล ตลอดจนการปฏิบัติงานในดานการสืบสวน
ที่เกี่ยวกับคดีอาญาที่เกิดข้ึน รวมท้ังงานอื่นๆ ที่มีลักษณะเกี่ยวของหรือเปนสวนประกอบของงานน้ี
ในเขตพ้ืนท่ีของสถานีตํารวจ เพื่อแสวงหาพยานหลักฐานและผูกระทําความผิดอันเปนการอํานวย
ความยุติธรรมใหแกประชาชนในการสืบสวนคดีอาญาใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยจําแนก
ออกเปนงานตางๆ ดงั น้ี

๑) งานสืบสวนการกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา การกระทํา
ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ติ า งๆ ทมี่ โี ทษทางอาญา และการปฏบิ ตั ติ ามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณา
ความอาญา

๒) งานพฒั นากาํ ลงั พล งบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ เทคโนโลยี และวทิ ยาการตา งๆ
เพื่อใชในการสืบสวน

๓) งานสืบสวนหาขา วและระบบขอ มูลอาชญากรรม
๔) งานวางระบบการงบประมาณท่ีเก่ยี วกับงานสบื สวน
๕) งานตรวจสอบติดตามและประเมินผล งานวิจัยและพัฒนาการปฏิบัติตาม
นโยบายยุทธศาสตร แผนงานและโครงการตางๆ รวมทั้งการศึกษาและเก็บรวบรวมสถิติขอมูล
ทีเ่ ก่ยี วของกบั งานสืบสวนคดีอาญาทีเ่ กิดขึ้น
๖) งานวางแผนสบื สวน
๗) งานสบื สวนหาขอ เทจ็ จรงิ และหลกั ฐานเพอ่ื ทราบรายละเอยี ดของการกระทาํ
ความผดิ ที่เกิดขึน้ แลว
๘) งานสืบสวนภายหลังจากรูตัวผูกระทําความผิด ทั้งที่เปนคดีท่ีอยูใน
ความรบั ผดิ ชอบของสถานตี าํ รวจ และกรณจี บั กมุ คนรา ยตามหมายจบั ของสถานตี าํ รวจอน่ื เพอื่ รแู หลง
และรายละเอยี ดเพ่อื ใหมีการจับกมุ
๙) ดาํ เนนิ การเพอ่ื ใหป ระชาชนมสี ว นรว มในการสบื สวน โดยสรา งความสมั พนั ธ
กับประชาชนในพนื้ ทโี่ ดยใกลชิดเพอ่ื ประโยชนใ นการหาขา ว
๑๐) กรณพี บการกระทาํ ความผดิ ใหพ จิ ารณาสง่ั การใหผ ใู ตบ งั คบั บญั ชาดาํ เนนิ การ
จบั กุมหรอื ดาํ เนนิ การจบั กมุ ดวยตนเอง
๑๑) ปฏิบัติหนาท่ีถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย พระราชินี และ
พระบรมวงศานวุ งศ ท่เี สดจ็ พระราชดําเนนิ เขา มาในพื้นท่ขี องสถานตี าํ รวจ

๓๖

๑๒) ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม ในการควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย
กรณีมเี หตุพิเศษตาง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นุมประทวง และอนื่ ๆ

๑๓) ปฏิบัตงิ านรว มกับงานปองกันปราบปราม เพ่อื ทาํ การตรวจคน จับกุม
๑๔) งานปกปด ใหความคมุ ครองแหลงขาว และพยาน
๑๕) ประสานการปฏิบัติงานกับงานอื่นๆ ในสถานีตํารวจและหนวยงานอื่นๆ
ทเี่ กย่ี วของอยา งใกลชดิ จริงจงั เพือ่ ใหผ ลในการปอ งกัน ระงับ ปราบปราม กระทําความผดิ
๑๖) ใหคําปรึกษาแนะนํา ตลอดจนปรับปรุงแกไขการปฏิบัติงานของ
ผใู ตบังคบั บัญชาในงานสืบสวน
๑๗) งานควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจ ท้ังในดาน
การปฏิบตั ิงาน ความประพฤตแิ ละระเบียบวนิ ยั
๑๘) การปฏิบัติหนาท่ีหากมีเหตุจําเปนเรงดวน ใหมีอํานาจมอบหมายให
ผใู ตบ งั คบั บญั ชาปฏบิ ตั หิ นา ทอ่ี นื่ ไดต ามความเหมาะสม แตท งั้ นตี้ อ งไมเ สยี หายตอ หนา ทกี่ ารงานประจาํ
๑๙) ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ท่ีเก่ียวขอ งกับงานสบื สวน
๒๐) ปฏิบัติงานอ่นื ๆ ตามท่ผี ูบังคบั บญั ชามอบหมาย
ñ.ò ¼ŒÙ»¯ÔºμÑ Ô§Ò¹Ê׺Êǹ
ñ.ò.ñ ÊÒÃÇÑμÃÊº× Êǹ มหี นา ท่ี ดังนี้

๑) ควบคุม ตรวจสอบ ใหคําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนปรับปรุงแกไข
การปฏิบัติงานของผูใตบ งั คบั บัญชาในงานสบื สวน

๒) ศกึ ษาเกบ็ ขอมูลในสวนทเ่ี กย่ี วขอ ง และนําวทิ ยาการตางๆ มาใชใน
การสบื สวน

๓) งานวางแผนสืบสวน
๔) สืบสวนหาขาวและรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงหลักฐาน รวมทั้ง
ประสานการปฏิบัติกับงานอื่นในสถานีตํารวจหรือหนวยงานอ่ืน เพ่ือประโยชนในการรักษาความสงบ
เรยี บรอ ยของประชาชน อนั ไดแ ก การปอ งกนั เหตรุ า ย เหตรุ นุ แรง การกระทาํ ผดิ ตา งๆ ทง้ั จากแหลง ขา ว
ท่ัวไปและแหลง ขาวทจ่ี ัดต้งั ขน้ึ
๕) สืบสวนหาขอเท็จจริง และหลักฐานเพ่ือทราบรายละเอียดของ
การกระทําความผดิ ท่เี กดิ ข้นึ แลว
๖) สืบสวนภายหลังจากรูตัวผูกระทําความผิด ท้ังท่ีเปนคดีท่ีอยูใน
ความรับผิดชอบของสถานีตํารวจ และกรณีจับกุมคนรายตามหมายจับของสถานีตํารวจอื่นหรือ
หนว ยงานอน่ื เพ่ือรแู หลงและรายละเอยี ดเพ่อื ใหมกี ารจบั กุม
๗) ดําเนินการเพ่ือใหประชาชนมีสวนรวมในการสืบสวน โดยสราง
ความสัมพนั ธกบั ประชาชนในพื้นทีอ่ ยา งใกลช ิดเพือ่ ประโยชนใ นการหาขาว

๓๗

๘) กรณีการกระทําความผิดใหดําเนินการจับกุม โดยพิจารณาใชกําลัง
ตํารวจตามความเหมาะสมแลว รายงานหัวหนางานสบื สวนทราบ

๙) ปฏบิ ตั หิ นา ทถี่ วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ  พระราชนิ ี
และพระบรมวงศานุวงศ ทเี่ สด็จพระราชดําเนนิ เขามาในพ้นื ท่ีของสถานตี าํ รวจ

๑๐) ปฏิบัติงานรวมกับงานปอ งกนั ปราบปราม ในการควบคุมความสงบ
เรยี บรอ ย กรณมี ีเหตพุ ิเศษตา ง ๆ เชน การจัดงานตามประเพณี การชมุ นุมประทวง และอน่ื ๆ

๑๑) ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม เพอ่ื ทาํ การตรวจคน จบั กมุ
๑๒) เมื่อไดรับคําส่ังไมวาจะเปนคําสั่งโดยฉับพลันทันทีหรือตามแผนที่
ผบู งั คบั บญั ชากาํ หนดใหป ฏบิ ตั อิ ยา งหนง่ึ อยา งใดในการเขา ระงบั ปราบปราม จบั กมุ สกดั จบั กใ็ หป ฏบิ ตั ิ
ตามคาํ สง่ั
๑๓) งานควบคมุ ตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของขา ราชการตาํ รวจทงั้ ในดา น
การปฏบิ ัตงิ าน ความประพฤตแิ ละระเบียบวินยั
๑๔) การปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี ากมเี หตจุ าํ เปน เรง ดว น ใหม อี าํ นาจมอบหมายให
ผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่อ่ืนไดตามความเหมาะสม แตทั้งนี้ตองไมเสียหายตอหนาท่ีการงาน
ประจําและตองรบี รายงานใหห ัวหนา งานสืบสวนทราบในทันที
๑๕) ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆ ทเี่ ก่ยี วของกบั งานสืบสวน
๑๖) ปฏบิ ตั ิงานอื่น ๆ ตามทผ่ี ูบังคับบญั ชามอบหมาย
ñ.ò.ò ÃͧÊÒÃÇÑμÃÊº× Êǹ มีหนา ทีด่ ังน้ี
๑) ปฏบิ ตั งิ านตามทหี่ วั หนา งานสบื สวน หรอื สารวตั รสบื สวนมอบหมาย
๒) ปฏิบัตงิ านตามขอ ๕.๙.๑.๑ – ๕.๙.๑.๑๓
๓) การปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี ากมเี หตจุ าํ เปน เรง ดว น ใหม อี าํ นาจมอบหมายให
ผูใตบังคับบัญชาปฏิบัติหนาที่อ่ืนไดตามความเหมาะสม แตทั้งน้ีตองไมเสียหายตอหนาท่ีการงาน
ประจาํ และตอ งรบี รายงานใหห ัวหนางานสบื สวนหรอื สารวตั รสบื สวนทราบในทนั ที
๔) ปฏิบตั ิงานอนื่ ๆ ท่ีเกย่ี วของกบั งานสืบสวน
๕) ปฏิบตั งิ านอื่นๆ ตามท่ผี บู งั คบั บญั ชามอบหมาย
๖) รองสารวตั ร (ตาํ แหนงควบผูบังคบั หมู ถึงรองสารวัตร) งานสืบสวน
มหี นาท่ดี ังนี้
๗) ปฏิบัติงานในหนาท่ีและความรับผิดชอบของตําแหนงระดับ
ผูบ ังคบั หมทู ปี่ ฏิบัติอยเู ดิม โดยปฏบิ ตั ิหนาท่ีในสายงานสืบสวน ภายใตก ารกาํ กบั ตรวจสอบโดยท่ัวไป
และอาจไดร ับมอบหมายใหค วบคมุ ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานของขาราชการตาํ รวจจํานวนหนงึ่
๘) ตัดสนิ ใจ วนิ จิ ฉยั สงั่ การ แกไขปญ หาในงานทีร่ บั ผดิ ชอบใหเ สร็จสน้ิ
ณ จดุ เดียว

๓๘

๙) ปฏบิ ัติหนาทีห่ ัวหนา สายสบื
๑๐) ปฏิบัติงานดวยตนเองในลักษณะของผูมีประสบการณในงาน
ดานสืบสวนของหนว ยงาน
๑๑) ชวยเหลืองานของขาราชการตํารวจระดับตําแหนงสารวัตร
หรอื เทยี บเทา
๑๒) ปฏิบัติหนาที่อ่ืนท่ีเก่ียวของหรือตามที่ไดรับมอบหมายจาก
ผูบ ังคับบญั ชา
ñ.ò.ó ¼ÙºŒ ѧ¤ÑºËÁ‹Ù Ê׺Êǹ
ñ) ·Ó˹Ҍ ·¸Õè ÃØ ¡Òà มีหนา ทดี่ งั น้ี

- งานธุรการท่วั ไปของงานสบื สวน
- ปฏิบัติหนาท่ีถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ ท่เี สดจ็ พระราชดําเนนิ เขามาในพ้ืนที่ของสถานตี าํ รวจ
- ปฏบิ ตั งิ านรว มกบั งานปอ งกนั ปราบปราม ในการควบคมุ ความสงบ
เรยี บรอย กรณมี เี หตพุ ิเศษตา งๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นมุ ประทวง และอนื่ ๆ
- ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม เพ่ือทําการตรวจคน
จบั กุม
- ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ งกับงานสืบสวน
- ปฏิบัตงิ านอื่น ๆ ตามที่ผูบังคับบัญชามอบหมาย
ò) ·Ó˹ŒÒ·èÕÊº× Êǹ มีหนาท่ดี งั น้ี
- สืบสวนการกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาและ
การปฏบิ ตั ติ ามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา
- เกบ็ รวบรวมสถติ ขิ อ มลู ในสว นทเ่ี กย่ี วขอ งกบั งานสบื สวนรายงาน
ขอ มลู สบื สวนตอ รองสารวตั รสบื สวน หรอื สารวตั รสืบสวน หรอื หัวหนางานสบื สวน
- สืบสวนหาขาวและรวบรวมขอมูล ขอเท็จจริงหลักฐานรวมท้ัง
ประสานการปฏิบัติกับงานอ่ืนในสถานีตํารวจหรือหนวยงานอ่ืน เพ่ือประโยชนในการรักษาความสงบ
เรยี บรอ ยของประชาชน อนั ไดแ ก การปอ งกนั เหตรุ า ย เหตรุ นุ แรงการกระทาํ ผดิ ตา งๆ ทงั้ จากแหลง ขา ว
ท่วั ไปและแหลง ขาวทจี่ ดั ต้ังขึ้น
- สืบสวนหาขอเท็จจริง และหลักฐานเพ่ือทราบรายละเอียดของ
การกระทําความผิดท่เี กดิ ขนึ้ แลว
- สืบสวนภายหลังจากรูตัวผูกระทําความผิดท้ังท่ีเปนคดีที่
อยูในความรับผิดชอบของสถานีตํารวจ และกรณีจับกุมคนรายตามหมายจับของสถานีตํารวจอ่ืน
หรือหนว ยงานอื่น เพ่อื รแู หลงและรายละเอยี ดเพือ่ ใหมกี ารจบั กุม

๓๙

- ดําเนินการเพ่ือใหประชาชนมีสวนรวมในการสืบสวนโดยสราง
ความสัมพันธกับประชาชนในพ้ืนท่ีอยา งใกลชดิ เพ่ือประโยชนใ นการหาขา ว

- ปฏิบัติหนาที่ถวายความปลอดภัยแดองคพระมหากษัตริย
พระราชนิ ี และพระบรมวงศานุวงศ ทเ่ี สด็จพระราชดาํ เนินเขามาในพ้ืนท่ขี องสถานตี ํารวจ

- ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม ในการควบคุม
ความสงบเรยี บรอ ยกรณมี เี หตพุ เิ ศษตา ง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นมุ ประทว ง และอน่ื ๆ

- ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปราม เพ่ือทําการตรวจคน
จับกุม

- ปฏบิ ตั กิ ารจบั กมุ เมอ่ื พบการกระทาํ ความผดิ หรอื ไดร บั คาํ สง่ั จาก
ผบู ังคบั บัญชา

- เมอื่ ไดร บั คาํ สง่ั ไมว า จะเปน คาํ สงั่ โดยฉบั พลนั ทนั ทหี รอื ตามแผนที่
ผบู งั คบั บญั ชากาํ หนดใหป ฏบิ ตั อิ ยา งหนงึ่ อยา งใดในการเขา ระงบั ปราบปราม จบั กมุ สกดั จบั กใ็ หป ฏบิ ตั ิ
ตามคาํ ส่งั

- งานทปี่ ฏบิ ตั ใิ หเ ปน ไปตามกฎหมาย ระเบยี บคาํ สง่ั ขอ บงั คบั วา ดว ย
เรอ่ื งนั้นๆ หรือตามทีผ่ บู งั คับบญั ชามอบหมาย

- ปฏิบัติงานอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ยี วของกับงานสบื สวน
- ปฏบิ ตั ิงานอ่ืน ๆ ตามท่ผี บู งั คับบัญชามอบหมาย

๔๑

º··Õè ù

ÅѡɳЧҹ ¼»ŒÙ ¯ºÔ μÑ Ô§Ò¹ÊͺÊǹ

ñ. §Ò¹ÊͺÊǹ

ñ.ñ ËÑÇ˹ŒÒ¼ÙŒ»¯ÔºÑμÔ§Ò¹§Ò¹ÊͺÊǹ คือ พนักงานสอบสวนท่ีมีระดับตําแหนง
และอาวุโสสูงสุด ซึ่งไดรับคําสั่งมอบหมายจากหัวหนาหนวยหรือหัวหนาหนวยงานตามระเบียบ
ก.ตร.วาดวยการกําหนดจํานวนในการแตงต้ังและอํานาจหนาท่ีในการบังคับบัญชาพนักงานสอบสวน
พ.ศ. ๒๕๕๕ มหี นา ทเ่ี ปน หวั หนา ผปู ฏบิ ตั งิ านสอบสวน มอี าํ นาจหนา ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การ
ปฏบิ ตั งิ านสอบสวน วางแผน อาํ นวยการ สง่ั การ ควบคมุ กาํ กบั ดแู ล ตรวจสอบ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
ตลอดจนปฏิบัติงานสอบสวนที่เก่ียวกับคดีอาญาที่เกิดข้ึน รวมท้ังงานอื่นๆ ที่มีลักษณะเกี่ยวของ
หรอื เปน สว นประกอบของงานนใี้ นขอบเขตความรบั ผดิ ชอบเพอ่ื แสวงหาพยานหลกั ฐานและผกู ระทาํ ผดิ
อนั เปน การอาํ นวยความยตุ ธิ รรมใหแ กป ระชาชนในการสบื สวนสอบสวนคดอี าญาใหเ กดิ ประสทิ ธภิ าพ
สงู สดุ โดยจาํ แนกออกเปน งานตา งๆ ดังน้ี

๑) งานสืบสวนสอบสวนการกระทําความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
หรือการกระทําความผิดตามพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา การปฏิบัติตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี ิจารณาความอาญา และกฎหมายอืน่ ท่ีเกี่ยวของ

๒) งานพฒั นากาํ ลงั พล งบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ เทคโนโลยี และวทิ ยาการตา งๆ
เพื่อใชใ นการสืบสวนสอบสวนคดีอาญา

๓) งานวางระบบการงบประมาณท่ีเก่ยี วกับงานสืบสวนและสอบสวน
๔) งานตรวจสอบติดตามและประเมินผล งานวิจัยและพัฒนาการปฏิบัติตาม
นโยบาย ยทุ ธศาสตร แผนงานและโครงการตา ง ๆ รวมทง้ั การศึกษาและการเก็บรวบรวมสถิติขอมูล
ที่เกีย่ วของกับงานสืบสวนและสอบสวนคดอี าญาทเ่ี กดิ ข้ึน
๕) การวางแผนสอบสวน
๖) รวมสอบสวนคดอี ุกฉกรรจหรือคดีสําคัญ
๗) พิจารณามอบหมายคดีใหพนักงานสอบสวนในสังกัด รับผิดชอบดําเนินการ
ตามความเหมาะสม โดยถาคดีใดสมควรทําการสอบสวนเปนรูปคณะพนักงานสอบสวนก็ใหสั่งการ
ตามสมควร
๘) ใหความคมุ ครองพยาน
๙) เปรียบเทยี บปรบั การกระทําความผิดตามกฎหมาย
๑๐) ประสานการปฏิบัติงานกับงานอ่ืน ๆ ในสถานีตํารวจ และหนวยงานอื่นๆ
ทเี่ ก่ียวของอยา งใกลช ิดจรงิ จัง

๔๒

๑๑) การปฏิบัติหนาที่หากมีเหตุจําเปนเรงดวน ใหมีอํานาจมอบหมายให
ผใู ตบ งั คบั บญั ชาปฏบิ ตั หิ นา ทอ่ี นื่ ไดต ามความเหมาะสม แตท งั้ นตี้ อ งไมเ สยี หายตอ หนา ทกี่ ารงานประจาํ

๑๒) งานควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจท้ังในดาน
การปฏบิ ัตงิ าน ความประพฤตแิ ละระเบียบวนิ ัย

๑๓) ปฏบิ ตั ิงานอื่น ๆ ทีเ่ กี่ยวของกับงานสืบสวนและสอบสวน
๑๔) ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ๆ ตามท่ีผูบังคับบญั ชามอบหมาย
ñ.ò ¼ŒÙ»¯ÔºÑμÔ§Ò¹ÊͺÊǹ
ñ.ò.ñ Ãͧ¼¡ÙŒ Òí ¡ºÑ ¡Òà (ÊͺÊǹ) มอี ํานาจและหนาทีค่ วามรบั ผิดชอบดงั นี้

๑.๒.๑.๑ ปฏิบัติหนาท่ีเปนพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความอาญาและกฎหมายอน่ื ที่เกีย่ วขอ ง

๑.๒.๑.๒ ปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานสอบสวนเวร กรณีมีคดีเกิดขึ้น
และลักษณะคดีเกินความรับผิดชอบในระดับของตนเอง ใหทําการสอบสวนเบ้ืองตน แลวเสนอตอ
ผูบ ังคบั บัญชาเพือ่ พิจารณาส่ังการตอไป

๑.๒.๑.๓ ปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานสอบสวนรับผิดชอบสอบสวน
คดคี วามผดิ อาญาทกุ ประเภท ยกเวน ประเภทและลกั ษณะของคดที อี่ ยใู นความรบั ผดิ ชอบของพนกั งาน
สอบสวนผทู รงคณุ วฒุ ถิ งึ พนกั งานสอบสวนผเู ชยี่ วชาญพเิ ศษ และใหม หี นา ทร่ี บั ผดิ ชอบทาํ การสอบสวน
คดีความผดิ อาญา ตามประเภทและลกั ษณะของคดี ดังนี้

(๑) คดีฆาผูอ ืน่ และจบั กมุ ตวั ผูต องหาได
(๒) คดีชงิ ทรพั ยและเปน เหตุใหผ อู นื่ ถึงแกค วามตาย
(๓) คดีปลนทรัพยและเปนเหตุใหผูอื่นไดรับอันตรายสาหัส
หรอื เปนเหตุใหผอู น่ื ถึงแกค วามตาย
(๔) คดีขมขืนกระทําชําเราและเปนเหตุใหผูถูกกระทําถึงแก
ความตาย
(๕) คดีกระทําอนาจารและเปนเหตุใหผูถูกกระทําถึงแก
ความตาย
(๖) คดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดใหโทษสําหรับยาเสพติด
ใหโ ทษ ประเภทที่ ๑ และ ๒ น้ําหนกั ตงั้ แต ๑,๐๐๐ กรมั ถึง ๑,๕๐๐ กรัม ยาเสพติดใหโทษประเภทท่ี
๓, ๔ และ๕ นํ้าหนักต้ังแต ๑,๐๐๐ กิโลกรัมถึง ๑,๕๐๐ กิโลกรัม
(๗) คดีขาราชการพลเรือนประเภทอํานวยการหรือประเภท
วิชาการระดับไมสูงกวาชํานาญการ หรือเทียบเทา หรือขาราชการทหาร ต้ังแตชั้น พันเอก พันเอก
(พเิ ศษ) นาวาอากาศเอก นาวาอากาศเอก(พิเศษ) นาวาเอก นาวาเอก(พเิ ศษ) หรอื เทยี บเทา ถูกจับ
หรือตองหาคดีอาญาเวนแตเปนคดีลหุโทษ หรืออัตราโทษไมสูงกวาลหุโทษ หรือคดีท่ีกระทํา
โดยประมาท

๔๓

(๘) คดีที่กลาวหาวาขาราชการตํารวจระดับสารวัตร หรือ
พนักงานสอบสวนผูชํานาญการหรือเทียบเทา มีสวนเกี่ยวของหรือมีสวนไดสวนเสีย หรือถูกจับหรือ
ตองหาคดีอาญา เวนแตเปนคดลี หุโทษหรอื อตั ราโทษไมส งู กวาลหโุ ทษ หรอื คดีทกี่ ระทาํ โดยประมาท

(๙) คดีเก่ียวกับการใชอาวุธสงคราม หรือวัตถุระเบิดในการ
กออาชญากรรม

(๑๐) คดีที่ทําใหเกิดความเสียหายตอสาธารณูปโภคของ
ประชาชน เชน ทําลายทางรถไฟ ระบบโทรศัพท ไฟฟาหรือประปา เปนตน ถา การกระทําน้นั รุนแรง
เปนเหตใุ หป ระชาชนขาดความสะดวกหรือนา จะเปนเหตใุ หเกิดอนั ตรายแกป ระชาชน

(๑๑) คดวี างเพลงิ หรอื ทาํ ใหเ กดิ ระเบดิ เพอ่ื หวงั เงนิ ประกนั หรอื
ที่กอ ใหเ กิดความเสยี หายมมี ลู คา ต้งั แตสบิ ลานบาทขน้ึ ไปหรอื วางเพลิงสาธารณสถาน สถานที่ราชการ
อากาศยาน ทา อากาศยาน รถไฟ รถไฟฟา สถานีรถไฟ สถานีรถไฟฟา

๑.๒.๑.๔ เขารวมทําการสอบสวนตามท่ีหัวหนางานสอบสวน หรือ
ผูบงั คบั บัญชามอบหมาย

๑.๒.๑.๕ สืบสวนหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเฉพาะในคดี
ท่รี บั ผิดชอบ เพอ่ื ทราบรายละเอียดของการกระทําความผิดที่เกดิ ข้ึน

๑.๒.๑.๖ ในกรณีที่เปนพนักงานสอบสวนผูชํานาญการพิเศษทําหนาท่ี
หัวหนางานสอบสวนมีหนาที่บริหารงานคดี กํากับดูแล ตรวจสอบ เรงรัด ส่ังการ แนะนํา เขารวม
สอบสวน ในการทาํ สาํ นวนการสอบสวนของพนกั งานสอบสวนถงึ พนกั งานสอบสวนผชู าํ นาญการพเิ ศษ

๑.๒.๑.๗ กาํ กบั ดแู ล ตรวจสอบ เรงรัด สงั่ การ แนะนาํ การปฏบิ ตั ิหนาท่ี
ของขา ราชการตํารวจในสังกดั

๑.๒.๑.๘ เปนท่ีปรึกษาเกี่ยวกับปญหาขอกฎหมาย หรือการสอบสวน
ใหกบั ขา ราชการตํารวจและประชาชน

๑.๒.๑.๙ ปฏบิ ตั งิ านอื่นๆ ท่ผี บู ังคับบญั ชามอบหมาย
ñ.ò.ò ÊÒÃÇμÑ Ã (ÊͺÊǹ) มอี ํานาจและหนาทค่ี วามรบั ผิดชอบดงั น้ี

๑.๒.๒.๑ ปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วิธพี ิจารณาความอาญา และกฎหมายอืน่ ที่เกย่ี วของ

๑.๒.๒.๒ ปฏิบัติหนาท่ีเปนพนักงานสอบสวนเวร กรณีมีคดีเกิดข้ึน
และลักษณะคดีเกินความรับผิดชอบในระดับของตนเอง ใหทําการสอบสวนเบื้องตน แลวเสนอตอ
ผบู ังคับบัญชาเพอ่ื พิจารณาสัง่ การตอไป

๑.๒.๒.๓ ปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานสอบสวนรับผิดชอบสอบสวนคดี
ความผิดอาญาทุกประเภท ยกเวนประเภทและลักษณะของคดีท่ีอยูในความรับผิดชอบของพนักงาน

๔๔

สอบสวนผูชํานาญการพิเศษถึงพนักงานสอบสวนผูเช่ียวชาญพิเศษ และใหมีหนาท่ีรับผิดชอบทําการ
สอบสวนคดีความผดิ อาญาตามประเภทและลักษณะของคดี ดงั นี้

(๑) คดที ีม่ โี ทษจําคกุ ตั้งแต ๑๐ ปขนึ้ ไป
(๒) คดฆี าผูอ่ืน
(๓) คดีปลน ทรพั ย
(๔) คดชี ิงทรพั ยและจับกุมตวั ผูตอ งหาได
(๕) คดวี างเพลิง
(๖) คดวี ง่ิ ราวทรพั ยโดยใชย านพาหนะและจบั กมุ ตวั ผตู อ งหาได
(๗) คดลี กั ทรพั ยซ งึ่ จบั กมุ ตวั ผตู อ งหาไดแ ละมกี ารขยายผลได
ตง้ั แต ๒ คดีข้ึนไป หรือลกั ทรพั ยใ นสถานทีร่ าชการและจบั กุมตวั ผูตองหาได
(๘) คดยี กั ยอกหรอื ฉอ โกงทรพั ยท มี่ มี ลู คา ตงั้ แตห นง่ึ ลา นบาท
ข้นึ ไป
(๙) คดีประทุษรายตอชีวิต หรือรางกาย โดยใชอาวุธปน
และจับกมุ ตวั ผูต อ งหาได
(๑๐) คดีจราจรทางบกทมี่ ีผไู ดรบั บาดเจบ็ คร้ังละ ๑๐ คนขึน้ ไป
หรือมีผูถงึ แกค วามตาย
(๑๑) คดีความผิดเก่ียวกับยาเสพติดใหโทษสําหรับยาเสพติด
ใหโ ทษ ประเภทที่ ๑ และ ๒ นาํ้ หนกั มากกวา ๕๐๐ กรมั แตไ มถ งึ ๑,๐๐๐ กรมั ยาเสพตดิ ใหโ ทษประเภท
ที่ ๓, ๔ และ ๕ นํ้าหนักมากกวา ๕๐๐ กโิ ลกรมั แตไ มถ ึง ๑,๐๐๐ กิโลกรัม
(๑๒) คดที ก่ี ลา วหาวา ขา ราชการตาํ รวจระดบั รองสารวตั ร หรอื
พนกั งานสอบสวนหรอื เทยี บเทา มสี ว นเกยี่ วขอ งหรอื มสี ว นไดส ว นเสยี หรอื ถกู จบั หรอื ตอ งหาคดอี าญา
เวน แตเปนคดลี หโุ ทษ หรืออัตราโทษไมสงู กวาลหโุ ทษ หรือคดีท่ีกระทําโดยประมาท
(๑๓) คดที ่ผี บู ังคับบัญชามอบหมายใหท าํ การสอบสวน
๑.๒.๒.๔ เขารวมทําการสอบสวนตามท่ีหัวหนางานสอบสวนหรือ
ผบู งั คับบัญชามอบหมาย
๑.๒.๒.๕ สืบสวนหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเฉพาะในคดี
ที่รบั ผดิ ชอบ เพ่ือทราบรายละเอยี ดของการกระทําความผิดทีเ่ กิดขึน้
๑.๒.๒.๖ ในกรณที เ่ี ปน พนกั งานสอบสวนผชู าํ นาญการทาํ หนา ทห่ี วั หนา
งานสอบสวนมีหนาที่บริหารงานคดี กํากับดูแล ตรวจสอบ เรงรัด สั่งการ แนะนํา เขารวมสอบสวน
ในการทําสํานวนการสอบสวนของพนกั งานสอบสวนถึงพนกั งานสอบสวนผชู ํานาญการ
๑.๒.๒.๗ กาํ กบั ดแู ล ตรวจสอบ เรงรัด สั่งการ แนะนํา การปฏิบตั ิหนา ท่ี
ของขาราชการตํารวจในสังกัด

๔๕

๑.๒.๒.๘ เปนที่ปรึกษาเก่ียวกับปญหาขอกฎหมาย หรือการสอบสวน
ใหก บั ขา ราชการตาํ รวจและประชาชน

๑.๒.๒.๙ ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ทีผ่ บู ังคบั บัญชามอบหมาย
ñ.ò.ó ÃͧÊÒÃÇÑμà (ÊͺÊǹ) มีอํานาจและหนาทค่ี วามรับผดิ ชอบดงั นี้

๑.๒.๓.๑ ปฏิบัติหนาท่ีเปนพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความอาญาและกฎหมายอื่นท่เี ก่ยี วของ

๑.๒.๓.๒ ปฏิบัติหนาท่ีเปนพนักงานสอบสวนเวร กรณีมีคดีเกิดขึ้น
และลักษณะคดีเกินความรับผิดชอบในระดับของตนเอง ใหทําการสอบสวนเบ้ืองตน แลวเสนอตอ
ผูบังคับบัญชาเพอื่ พจิ ารณาสง่ั การตอ ไป

๑.๒.๓.๓ ปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานสอบสวนมีหนาท่ีรับผิดชอบทําการ
สอบสวนคดีความผิดอาญาทุกประเภท ยกเวนประเภทและลักษณะของคดีที่อยูในความรับผิดชอบ
ของพนักงานสอบสวนผชู ํานาญการถงึ พนกั งานสอบสวนผเู ชี่ยวชาญพเิ ศษ

๑.๒.๓.๔ เขารวมทําการสอบสวนตามที่หัวหนางานสอบสวน
หรือผูบงั คับบญั ชามอบหมาย

๑.๒.๓.๕ สืบสวนหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเฉพาะในคดี
ทร่ี ับผิดชอบ เพือ่ ทราบรายละเอียดของการกระทาํ ความผิดทีเ่ กิดข้ึน

๑.๒.๓.๖ กาํ กับดูแล ตรวจสอบ เรงรัด สั่งการ แนะนํา การปฏบิ ตั ิหนาที่
ของขา ราชการตํารวจในสงั กดั

๑.๒.๓.๗ ปฏบิ ตั งิ านอ่นื ๆ ทีผ่ บู ังคบั บัญชามอบหมาย
ñ.ò.ô ¾¹¡Ñ §Ò¹ÊͺÊǹ«è§Ö ໹š ËÞÔ§ มีอํานาจหนาทแ่ี ละความรับผดิ ชอบดงั น้ี

๑.๒.๔.๑ ปฏิบัติหนาท่ีเปนพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธี
พจิ ารณาความอาญา และกฎหมายอ่นื ท่ีเกีย่ วของ

๑.๒.๔.๒ ปฏิบัติหนาท่ีเปนพนักงานสอบสวนมีหนาท่ีรับผิดชอบทําการ
สอบสวนคดีความผิดอาญาทุกประเภทในแตละระดับ เชนเดียวกับพนักงานสอบสวนถึงพนักงาน
สอบสวนผูเชย่ี วชาญพเิ ศษตามทผี่ บู งั คับบญั ชาสัง่ การ หรือปฏิบัตหิ นา ที่เปน พนกั งานสอบสวนเวร

๑.๒.๔.๓ ปฏิบัติหนาที่เปนพนักงานสอบสวนมีหนาที่รับผิดชอบทําการ
สอบสวนคดีความผดิ อาญาหรือรวมสอบสวน ตามประเภทและลกั ษณะของคดี ดงั นี้

(๑) กรณีท่ีผูเสียหายหรือผูตองหาเปนหญิงในคดีความผิด
ตามพระราชบัญญตั คิ มุ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ พระราชบัญญัติคุมครองผูถกู กระทําดว ยความรุนแรง
ในครอบครวั พ.ศ. ๒๕๕๐ พระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย พ.ศ. ๒๕๕๑ คดคี วามผดิ
เกยี่ วกบั เพศ คดคี วามผิดเกย่ี วกับเสรภี าพ

(๒) คดที ผี่ ตู อ งหาเปน เดก็ อายไุ มเ กนิ สบิ ปบ รบิ รู ณก ระทาํ ความผดิ

๔๖

๑.๒.๔.๔ เขารวมสอบสวนในการทําสํานวนการสอบสวนของพนักงาน
สอบสวนถึงพนักงานสอบสวนผูเช่ียวชาญพิเศษที่อยูในเขตอํานาจการรับผิดชอบหรือเขตพ้ืนที่
การปกครองตามท่ีผูบงั คับบัญชามอบหมาย

๑.๒.๔.๕ สบื สวนหาขอ เทจ็ จรงิ และพยานหลกั ฐานเฉพาะในคดที รี่ บั ผดิ ชอบ
เพอื่ ทราบรายละเอยี ดของการกระทําความผิดทเี่ กิดขึ้น

๑.๒.๔.๖ ปฏบิ ัตงิ านอ่นื ๆ ทีผ่ ูบังคบั บญั ชามอบหมาย
ñ.ò.õ ÃͧÊÒÃÇÑμà (ÊͺÊǹ) (ตาํ á˹‹§¤Çº¼ÙŒºÑ§¤ÑºËÁ‹Ù ¶Ö§ÃͧÊÒÃÇÑμÃ)
§Ò¹ÊͺÊǹ มหี นาที่ดงั นี้

๑.๒.๕.๑ ปฏิบัติงานในหนาท่ีและความรับผิดชอบของตําแหนงระดับ
ผบู งั คบั หมทู ปี่ ฏบิ ตั อิ ยเู ดมิ โดยปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นงานสอบสวน ภายใตก ารกาํ กบั ตรวจสอบโดยทว่ั ไป และ
อาจไดรบั มอบหมายใหค วบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานของขา ราชการตาํ รวจจาํ นวนหนึ่ง

๑.๒.๕.๒ ตัดสินใจ วินิจฉัยสั่งการ แกไขปญหาในงานท่ีรับผิดชอบ
ใหเ สร็จส้นิ ณ จดุ เดยี ว

๑.๒.๕.๓ ปฏิบัติงานดวยตนเองในลักษณะของผูมีประสบการณในงาน
สอบสวนของหนว ยงานนนั้ ๆ เปน ตน

๑.๒.๕.๔ ชว ยเหลืองานพนักงานสอบสวน
๑.๒.๕.๕ ปฏิบัติหนาท่ีอ่ืนท่ีเกี่ยวของหรือตามท่ีไดรับมอบหมายจาก
ผูบังคบั บญั ชา
ñ.ò.ö ¼ºŒÙ ѧ¤ºÑ ËÁ‹Ù มหี นา ท่ดี งั น้ี
๑.๒.๖.๑ ทําหนา ทธ่ี ุรการ

(๑) งานธุรการตางๆ ของงานสอบสวน
(๒) ปฏบิ ตั หิ นา ทถี่ วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ 
พระราชินี และพระบรมวงศานวุ งศ ทีเ่ สด็จพระราชดําเนนิ เขา มาในพ้นื ทข่ี องสถานีตํารวจ
(๓) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันและปราบปรามในการ
ควบคุมความสงบเรียบรอย กรณีมเี หตุพเิ ศษตา ง ๆ เชน การจัดงานตามประเพณี การชุมนุมประทว ง
และอ่ืน ๆ
(๔) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปรามเพื่อทําการ
ตรวจคน จบั กุม
(๕) ปฏบิ ตั ิงานอื่น ๆ ทเี่ กยี่ วของกบั งานสอบสวน
(๖) ปฏบิ ตั งิ านอื่นๆ ท่ีผูบงั คบั บญั ชามอบหมาย

๔๗

๑.๒.๖.๒ ทําหนาทีผ่ ูช ว ยพนกั งานสอบสวน มีหนา ท่ดี ังนี้
(๑) ปฏบิ ตั งิ านตามทพี่ นกั งานสอบสวนมอบหมายใหท าํ แทนได

ตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา
(๒) เปนผูชวยพนักงานสอบสวน สนับสนุนและอํานวย

ความสะดวกในการปฏบิ ตั ิหนา ทพี่ นกั งานสอบสวน
(๓) ตรวจสถานทเี่ กิดเหตุ ถา ยภาพ ทาํ แผนที่ ตรวจ จดั เกบ็

วตั ถพุ ยานหลักฐานตา งๆ ทางคดีตามคาํ สง่ั ของพนกั งานสอบสวน
(๔) เปนผูควบคุมตารางการนัดหมายพยานและการผัดฟอง

ฝากขงั ตลอดจนการทาํ สญั ญาประกนั และไกลเ กล่ยี คดี
(๕) ปฏบิ ตั หิ นา ทถ่ี วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ 

พระราชนิ ี และพระบรมวงศานวุ งศ ทเี่ สด็จพระราชดาํ เนินเขามาในพืน้ ทข่ี องสถานีตาํ รวจ
(๖) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันและปราบปรามในการ

ควบคมุ ความสงบเรยี บรอ ย กรณมี เี หตพุ ิเศษตา งๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นมุ ประทวง
และอื่นๆ

(๗) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปรามเพ่ือทําการ
ตรวจคน จับกุม

(๘) ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆ ทีเ่ กย่ี วของกับงานสอบสวน
(๙) ปฏบิ ัตงิ านอ่ืนๆ ทีผ่ บู ังคับบัญชามอบหมาย
๑.๒.๖.๓ ทาํ หนาที่คมุ ผตู องหาไปศาล มหี นาท่ดี ังนี้
(๑) ควบคุมผูตองหาไปศาล เพ่ือนําตัวไปทําการผัดฟอง
ฝากขัง ทําแผนประทุษกรรมและควบคุมผูตองหาไปฟองศาลแขวง สงตัวเด็กไปยังสถานพินิจ
และคมุ ครองเดก็
(๒) ควบคุมผูตองหา หรือบุคคล เพ่ือสงตรวจพิสูจน
และสงหมาย
(๓) ปฏบิ ตั หิ นา ทถ่ี วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ 
พระราชนิ ี และพระบรมวงศานุวงศ ทีเ่ สด็จพระราชดําเนินเขามาในพื้นที่ของสถานีตํารวจ
(๔) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันและปราบปรามในการ
ควบคมุ ความสงบเรยี บรอยกรณมี ีเหตพุ เิ ศษตาง ๆ เชน การจัดงานตามประเพณี การชุมนมุ ประทวง
และอ่นื ๆ
(๕) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปรามเพื่อทําการ
ตรวจคน จับกมุ
(๖) ปฏบิ ัตงิ านอื่นๆ ทเ่ี กีย่ วของกับงานสอบสวน
(๗) ปฏิบัตงิ านอ่ืนๆ ทีผ่ ูบงั คบั บญั ชามอบหมาย

๔๘

๑.๒.๖.๔ ทาํ หนาทธ่ี ุรการทางคดี มีหนาทดี่ งั นี้
(๑) การรายงานคดตี า ง ๆ
(๒) ควบคุม เก็บรักษา ทําบัญชี และจําหนายของกลาง

และวตั ถพุ ยานในคดีตลอดจนถงึ การจัดสง และตดิ ตามของกลาง หรอื วัตถุพยานทีส่ ง ไปตรวจพิสูจน
การประสานงานกับหนว ยงานนิติวิทยาศาสตรท เ่ี กยี่ วขอ ง

(๓) งานจัดเวรพนักงานสอบสวน
(๔) งานธรุ การ งานประชาสมั พันธ
(๕) ติดตอกบั หนว ยงานตาง ๆ ทเ่ี กีย่ วกับการตรวจพสิ ูจน
(๖) ติดตองานธุรการกบั ศาลและอัยการ
(๗) ปฏบิ ตั หิ นา ทถ่ี วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ 
พระราชินี และพระบรมวงศานวุ งศ ท่ีเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ เขา มาในพื้นที่ของสถานตี าํ รวจ
(๘) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันและปราบปรามในการ
ควบคมุ ความสงบเรียบรอ ยกรณีมเี หตพุ เิ ศษตา ง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นุมประทวง
และอ่ืน ๆ
(๙) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปรามเพื่อทําการ
ตรวจคน จับกมุ
(๑๐) ปฏิบัตงิ านอืน่ ๆ ที่เกี่ยวขอ งกับงานสอบสวน
(๑๑) ปฏบิ ตั ิงานอื่น ๆ ท่ผี ูบงั คับบัญชามอบหมาย
๑.๒.๖.๕ ทาํ หนาท่เี สมียนเปรียบเทยี บ มีหนา ทด่ี ังน้ี
(๑) ปฏิบัตหิ นา ท่เี สมียนเปรียบเทียบคดอี าญาทุกประเภท
(๒) ปฏิบัติหนาท่ีเก่ียวกับการเงินเปรียบเทียบปรับคดีอาญา
ทกุ ประเภท
(๓) งานควบคมุ บันทกึ ประจาํ วนั คดี ประจําวนั ธรุ การ
(๔) ปฏบิ ตั หิ นา ทถ่ี วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ 
พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ ที่เสดจ็ พระราชดาํ เนินเขา มาในพ้ืนทขี่ องสถานีตํารวจ
(๕) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันและปราบปรามในการ
ควบคุมความสงบเรยี บรอ ยกรณมี เี หตุพเิ ศษตาง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นุมประทวง
และอ่ืน ๆ
(๖) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปรามเพื่อทําการ
ตรวจคน จับกมุ
(๗) ปฏิบตั ิงานอนื่ ๆ ท่ีเก่ยี วของกับงานสอบสวน
(๘) ปฏบิ ัติงานอ่ืน ๆ ทีผ่ ูบงั คับบัญชามอบหมาย

๔๙

๑.๒.๖.๖ ทําหนา ที่เสมียนคดี มหี นาทีด่ ังนี้
(๑) พิมพส ํานวนการสอบสวน
(๒) พิมพ หมายเรียก หมายจบั หมายคน
(๓) คัดสําเนาขอมูลทะเบียนราษฎร ทะเบียนอาวุธปน

ทะเบียนยานพาหนะ และอื่นๆ
(๔) ปฏบิ ตั หิ นา ทถ่ี วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ 

พระราชนิ ี และพระบรมวงศานวุ งศ ที่เสด็จพระราชดําเนนิ เขามาในพืน้ ทขี่ องสถานตี ํารวจ
(๕) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันและปราบปรามในการ

ควบคมุ ความสงบเรยี บรอยกรณมี เี หตุพิเศษตาง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นุมประทว ง
และอน่ื ๆ

(๖) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันปราบปรามเพ่ือทําการ
ตรวจคน จบั กุม

(๗) ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ท่ีเก่ียวขอ งกบั งานสอบสวน
(๘) ปฏิบัตงิ านอื่น ๆ ทผ่ี บู งั คับบญั ชามอบหมาย
๑.๒.๖.๗ ทําหนา ทส่ี ืบสวน มีหนา ที่ดังน้ี
(๑) สบื สวนการกระทาํ ความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา
การกระทาํ ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั ติ า งๆ ทมี่ โี ทษทางอาญา และการปฏบิ ตั ติ ามประมวลกฎหมาย
วิธพี จิ ารณาความอาญา
(๒) การสังเกตติดตามความเคลื่อนไหวของบุคคลหรือกลุม
บุคคลรวมถึงการแสวงหาขาวสาร ขอมลู จากแหลง ขาวตา งๆ
(๓) การระงับแกไข การกระทําความผิดในเหตุราย หรือ
เหตรุ ุนแรงท่ีจะเกดิ ข้ึน
(๔) การเกบ็ รวบรวมสถิตแิ ละขอมลู ทางคดีอาญา
(๕) สบื สวนตามคําส่ังของพนกั งานสอบสวนในคดีอาญา
(๖) คมุ ครองพยาน
(๗) จับกุมผูตองหาตามหมายจับและสงตัวผูตองหาตาม
หมายจับไปยังทอ งทีท่ ี่ออกหมายจบั
(๘) ปฏบิ ตั หิ นา ทถี่ วายความปลอดภยั แดอ งคพ ระมหากษตั รยิ 
พระราชินี และพระบรมวงศานุวงศ ทเี่ สด็จพระราชดาํ เนนิ เขามาในพน้ื ทข่ี องสถานีตํารวจ
(๙) ปฏิบัติงานรวมกับงานปองกันและปราบปรามในการ
ควบคมุ ความสงบเรียบรอ ย กรณมี เี หตุพเิ ศษตาง ๆ เชน การจดั งานตามประเพณี การชมุ นมุ ประทว ง
และอนื่ ๆ


Click to View FlipBook Version