The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

6_GE21107_การป้องกันปรามปรามทุจริต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-29 02:07:11

6_GE21107_การป้องกันปรามปรามทุจริต

6_GE21107_การป้องกันปรามปรามทุจริต

วิชา ศท. (GE) ๒๑๑๐๗

การป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ

ตําราเรียน

หลักสูตร นกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ

ÇªÔ Ò È·. (GE) òññð÷ ¡Òû‡Í§¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃμÔ

เอกสารน้ี “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผูหน่ึงผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนงึ่ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเ้ี พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Íè× ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นที่ไมมีอํานาจหนาที่จะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

กองบญั ชาการศกึ ษา สํานกั งานตาํ รวจแหงชาติ

พ.ศ.๒๕๖๔

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพ่ือเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สาํ นึกในการใหบริการเพอื่ บําบดั ทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝก อบรมตาํ รวจกลาง และกลุมงานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ น้ี ซง่ึ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใหเ ปน ขา ราชการตํารวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตองการอยางแทจริง และมคี วามพรอ มในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคําปรึกษา คําแนะนํา ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทําใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กป ระชาชนไดอยางแทจริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผบู ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇÔªÒ ¡Òû‡Í§¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃμÔ ñ

º··Õè ñ ¨Ôμ¾Íà¾ÂÕ §μ‹ÍμŒÒ¹¡Ò÷بÃμÔ ๗
- หลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง ๗
- ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี งที่แทจ ริง ๘
- ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง ๘
- การดําเนนิ ชีวิตตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง ññ
- การพฒั นาประเทศตามแนวเศรษฐกจิ พอเพียง ๑๒
๑๔
º··èÕ ò ¾ÅàÁ×ͧ¡ºÑ ¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍºμ‹Í¡Ò÷بÃμÔ ๑๖
- ความหมายและความสําคัญของพลเมือง ๑๘
- คุณลักษณะความเปน พลเมืองที่ดี ๒๑
- ธรรมาภิบาลกบั การตอ ตานการทจุ ริต òó
- ปญ หาการขาดธรรมาภิบาล ๒๔
- การสรา งธรรมาภบิ าลตอตานการทุจริต ๒๖
๒๙
º··Õè ó »ÃÐàÀ·áÅÐÃٻẺ¢Í§¡Ò÷بÃμÔ ๓๑
- สาเหตขุ องการทุจริต óù
- ความหมายของคําวา “ทุจริต” ๔๐
- ประเภทและความรุนแรงของการทุจรติ ในปจ จุบนั ๔๓
- กฎหมายที่มีบทบัญญัติซ่งึ แสดงใหเห็นถงึ รปู แบบ ๔๔
๔๔
และวธิ กี ารทจุ รติ ในองคกรภาครฐั ๔๖
๔๗
º··Õè ô ¡ÒâѴ¡Ñ¹¢Í§¼Å»ÃÐ⪹ÊÇ‹ ¹μ¹áÅмŻÃÐ⪹ÊÇ‹ ¹ÃÇÁ
- ความหมายของผลประโยชนทบั ซอ น
- การให - การรบั ของขวัญและผลประโยชน
- มาตรการของรฐั ในการปอ งกนั ความขดั แยง กนั ระหวาง

ผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนส วนรวม
- ตัวอยา งขอ ไมพงึ ปฏบิ ัตขิ องเจาหนาทีข่ องรัฐ
- แนวทางการปฏิบัตติ นของเจา หนาทขี่ องรฐั
- มาตรการทางกฎหมายเกย่ี วกบั การปองกันผลประโยชนท ับซอ น

º··èÕ õ ¡®ËÁÒÂà¡èÂÕ Ç¡Ñº¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃμÔ Ë¹ÒŒ
- คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง ชาติ (ป.ป.ช.) õó
- คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตในภาครฐั (ป.ป.ท.) ๕๔
- กระบวนการ ขั้นตอน วิธีดาํ เนนิ งานกรณีถูกชี้มูลความผิดทางวนิ ัย ๖๒
- กระบวนการ ข้นั ตอน วธิ ีดาํ เนนิ งานกรณีถูกช้มี ูลความผดิ ทางอาญา ๖๘
- กระบวนการ ข้นั ตอน วิธีดาํ เนนิ งานกรณถี ูกชี้มูลความผดิ ทางปกครอง ๖๙
๖๙
ÀÒ¤¼¹Ç¡
- พระราชบัญญัตมิ าตรการของฝา ยบรหิ ารในการปองกนั ๗๑
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ. ๒๕๕๑



บทที่ ๑

¨Ôμ¾Íà¾ÂÕ §μ‹ÍμŒÒ¹¡Ò÷¨Ø ÃμÔ

ñ. ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÕ¹»ÃШӺ·

๑.๑ เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจวเิ คราะหแ นวทางการปฏบิ ตั ติ นตามปรชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี งได

๑.๒ เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจสามารถประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เปนแนวทางในการดําเนินชวี ิตอยา งสุจรติ ได

ò. ʋǹ¹Ó

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน ปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ในหลวง
รชั กาลท่ี ๙ มพี ระราชดาํ รสั ชแี้ นะแนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ติ แกพ สกนกิ รชาวไทย เพอื่ ใหส ามารถดาํ รง
อยูไ ดอ ยางมน่ั คงและย่งั ยนื ภายใตก ระแสโลกาภิวัตน

ó. à¹Í×é ËÒμÒÁËÑÇ¢ŒÍ

๓.๑ แนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง
๓.๒ ประเทศไทยกบั เศรษฐกจิ พอเพียง

ô. ʋǹÊÃØ»

การดําเนินชีวิตที่ยึดติดกับ วัตถุนิยม บริโภคนิยม ทําใหเกิดการแสวงหาประโยชน
ซงึ่ อาจกอ ใหเ กดิ การทจุ รติ ไดห ากไมม คี ณุ ธรรม จงึ จาํ เปน ตอ งนอ มนาํ หลกั ปรชั ญา “เศรษฐกจิ พอเพยี ง”
มาใช เพอื่ การดาํ เนินชีวิตทอ่ี ยูบนความซอื่ สตั ยสุจริต ท้งั ตอ ตนเอง สังคม และประเทศชาติ

õ. ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ð¹Ó

ผสู อนตง้ั ปญหาใหนกั เรยี นวนิ ิจฉัยเปนรายบุคคล และสว นรวม เพื่อใหรจู กั คิด วิเคราะห
และวจิ ารณเนอื้ หาทเี่ รยี น ดวยการนาํ เทคนิค วิธกี ารตา ง ๆ ซึ่งสามารถบูรณาการความคดิ ได

ö. ÃÒ¡ÒÃÍÒŒ §Í§Ô

แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อสรางความตระหนักรูและมีสวนรวมในการ
ปอ งกนั การทจุ ริต ของ สาํ นักงาน ป.ป.ช.



“คอรร ัปชนั ” เปน โรคระบาดทีร่ ายแรง จนเปน “วัฒนธรรม” ของสว นราชการ โดยอา งวา
ตองมีเงินบริหารพิเศษเพ่ือรบั รองบุคคลที่มาเย่ยี มเยอื น ทั้งทีม่ าราชการและสว นตัว บางคร้ังนโยบาย
หรอื การสงั่ การของหนว ยเหนอื ไดส รา งปญ หาคา ใชจ า ยใหก บั หนว ยรอง ทาํ ใหม คี าํ ถามวา คา ใชจ า ยสว นน้ี
จะมาจากไหน ถา ไมข อความรว มมอื จากภาคเอกชนหรอื คสู ญั ญาของรฐั ดว ยเหตนุ จ้ี งึ มกี ารเรยี กรบั เงนิ
ของสวนราชการ เพ่ือใชในการรับรองและคาใชจายที่ไมสามารถเบิกจายไดจากงบประมาณ ซึ่งถา
พจิ ารณาในแงก ฎหมายแลว เปน การประพฤติ “มชิ อบ” ดว ยการเรยี กรบั “สนิ บน” บางสว นราชการเลย่ี ง
ดว ยการจดั กจิ กรรมหารายได เชน การจดั แขง ขนั กอลฟ โบวล งิ่ ฯลฯ อนั เปน การกระทาํ ทข่ี ดั ตอ ระเบยี บ
สํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการเรี่ยไรของหนวยงานของรัฐ พ.ศ. ๒๕๔๔ ซ่ึงระเบียบน้ีครอบคลุมถึง
การทีเ่ จาหนา ทข่ี องรฐั ไปเปน ประธานจัดกจิ กรรมเรย่ี ไร และเขาขายผดิ กฎหมายสรรพากรอกี ดว ย

เมอื่ พดู ถงึ “ประพฤตมิ ชิ อบ” ประมวลกฎหมายอาญาไดใ หน ยิ ามวา “ไมเ ปน ไปตามกฎหมาย
ระเบียบของทางราชการ คําสงั่ ผบู งั คับบัญชา มติคณะรฐั มนตรี แบบธรรมเนียมของทางราชการ หรอื
ตามทํานองคลองธรรม” ซ่ึงหมายถึง ไมเปนไปตามท่ีถูกที่ควร ทําใหฐานความผิดนี้ มีความหมาย
กวา งมาก จงึ มกี ารกระทาํ ผดิ กนั ทงั้ รแู ละไมร วู า “ผดิ ” เมอื่ มกี ารหาเงนิ เพอ่ื สนบั สนนุ การปฏบิ ตั ริ าชการได
ส่ิงท่ีตามมา คือ การเรียกรับสินบนของเจาหนาท่ีของรัฐเพื่อประโยชนของตนเองและพวกพอง
อันมสี าเหตมุ าจาก “ความโลภ” ทีฝ่ ง อยูในใจของคนกเ็ กิดขนึ้

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
มีพระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ณ หอประชุม
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ ความวา “...การพัฒนา
ประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใชของประชาชน
สวนใหญเปนอันพอควรและปฏิบัติไดแลว จึงคอยสรางคอยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจ
ขน้ั ทสี่ งู ขน้ึ โดยลาํ ดบั ตอ ไป หากมงุ แตจ ะทมุ เทสรา งความเจรญิ ยกเศรษฐกจิ ขนึ้ ใหร วดเรว็ แตป ระการเดยี ว
โดยไมใหแ ผนปฏบิ ัติการสัมพันธกับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคลอ งดว ย กจ็ ะเกิด
ความไมส มดลุ ในเร่ืองตาง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเปน ความยงุ ยากลม เหลวไดใ นทสี่ ุด...”

หลักการโดยพื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน เปนการพิจารณาพื้นฐานจากวัฒนธรรม
ความเปน อยขู องคนไทยนบั ตงั้ แตอ ดตี สปู จ จบุ นั และพฒั นาการของระบบเศรษฐกจิ แบบยงั ชพี สรู ะบบ
เศรษฐกจิ แบบทนุ นยิ มในประเทศไทย โดยในพระบรมราโชวาทเกยี่ วกบั เศรษฐกจิ พอเพยี งในชว งแรกนน้ั
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวจะทรงมีพระบรมราโชวาทวา “พอมี พอกิน พอใช” มิไดมีพระบรม
ราโชวาทตรงๆ วา “เศรษฐกิจพอเพียง” จนกระทง่ั ในป ๒๕๔๑ เมือ่ เกดิ วกิ ฤตทางเศรษฐกิจครั้งใหญ
ในประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงมีพระราชดํารัสแกคณะบุคคลที่เขาเฝาฯ เน่ืองใน
วนั เฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลัย วนั ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑ ความตอนหนง่ึ วา…

“…เมือ่ ป ๒๕๑๗ วนั นนั้ ไดพูดถงึ วา เราควรปฏบิ ตั ใิ หพอมีพอกนิ พอมพี อกินน้ีกแ็ ปลวา
เศรษฐกิจพอเพียงนั่นเอง ถาแตละคนมีพอมีพอกินก็ใชได ย่ิงถาท้ังประเทศพอมีพอกินก็ย่ิงดี และ
ประเทศไทยเวลานน้ั ก็เริ่มจะเปน ไมพ อมพี อกิน บางคนกม็ ีมาก บางคนกไ็ มม เี ลย…



…พอเพยี งมคี วามหมายกวางขวางยง่ิ กวานี้อีก คอื คําวา พอ กพ็ อเพยี งน้กี พ็ อแคน นั้ เอง
คนเราถาพอในความตองการก็มีความโลภนอย เมื่อมีความโลภนอยก็เบียดเบียนคนอ่ืนนอย
ถาประเทศใดมีความคิดอันน้ี มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ
ซ่ือตรง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงน้ีอาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได
แตวาตอ งไมไ ปเบยี ดเบยี นคนอนื่ …”

“…กช็ ดั แลว วา ควรจะปฏบิ ตั เิ ศรษฐกจิ พอเพยี งไมต อ งทง้ั หมด เพยี งครง่ึ หนง่ึ กใ็ ชไ ด แมจ ะ
เปน เศษหนงึ่ สว นสกี่ พ็ อ หมายความวา วธิ ปี ฏบิ ตั เิ ศรษฐกจิ พอเพยี งนน้ั ไมต อ งทาํ ทงั้ หมด และขอเตมิ วา
จะทาํ ท้ังหมดกจ็ ะทําไมไ ด ถา ครอบครัวหนึง่ หรอื แมห มูบานหน่ึงทําเศรษฐกิจพอเพียงรอยเปอรเซ็นต
กจ็ ะเปน การถอยหลงั ถงึ สมยั หนิ สมยั คนอยใู นอโุ มงคห รอื ในถาํ้ ซง่ึ ไมต อ งอาศยั หมอู นื่ เพราะวา หมอู นื่
ก็เปน ศตั รูทั้งนั้น ตกี นั ไมใชร วมมือกันจงึ ตองทําเศรษฐกิจพอเพยี ง แตละคนตอ งหาทีอ่ ยู กห็ าอโุ มงค
หาถ้ํา ตองหาอาหาร คือไปเด็ดผลไมหรือใบไมตามท่ีมี หรือไปใชอาวุธท่ีไดสรางไดประดิษฐเอง
ไปลา สัตว กลมุ ที่อยูในอโุ มงคใ นถาํ้ น้ัน ก็มเี ศรษฐกจิ พอเพียงรอยเปอรเ ซน็ ต กป็ ฏิบัตไิ ด… ”

“…คนเราถาพอในความตองการ ก็มีความโลภนอย เม่ือมีความโลภนอย ก็เบียดเบียน
คนอน่ื นอ ย ถา ทกุ ประเทศมคี วามคดิ อนั นไี้ มใ ชเ ศรษฐกจิ มคี วามคดิ วา ทาํ อะไรตอ งพอเพยี ง หมายความวา
พอประมาณ ไมส ุดโตง ไมโลภมาก คนเราก็อยูเ ปนสุข พอเพยี งนอ้ี าจจะมมี าก ตอ งใหพ อประมาณ
ตามอัตภาพ พดู จากพ็ อเพียง ทาํ อะไรก็พอเพยี ง ปฏบิ ตั ติ นก็พอเพยี ง…”

นอกจากพระราชดํารัสเก่ียวกบั เศรษฐกจิ พอเพยี งในป ๒๕๔๑ แลว ก็ยังมพี ระราชดํารัส
เกี่ยวกับ “ความฟุงเฟอ” ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานไวในป พ.ศ.๒๕๒๗
พระราชทานแกคณะลูกเสือชาวบาน ในโอกาสเสด็จกลับจากการแปรพระราชฐานจังหวัดสกลนคร
ความตอนหนง่ึ วา

“…คนเราทฟ่ี งุ เฟอ ไมม ที างทจี่ ะหาทรพั ยม าปอ นความฟงุ เฟอ ได ความฟงุ เฟอ นเ้ี ปน ปาก
หรือสัตวที่หิวไมห ยุด ความฟงุ เฟอ นอ้ี า ปากตลอดเวลา จะปอ นไปเทาไรๆ กไ็ มพอ เมอื่ ปอนเทาไรๆ
กไ็ มพ อแลว กห็ าเทา ไรๆ กไ็ มพ อ ความไมพ อนไี้ มส ามารถทจ่ี ะหาอะไรมาปอ นความฟงุ เฟอ นไี้ ด ฉะนนั้
ถา จะตอตา นความเดอื ดรอน ไมใชว าจะตอ งประหยดั มธั ยัสถ จะตองปอ งกันความฟุง เฟอ และปอ งกนั
วธิ กี ารทมี่ กั จะใชเ พอ่ื ทจ่ี ะมาปอ นความฟงุ เฟอ นคี้ อื ความสจุ รติ ฉะนน้ั การทจ่ี ะรณรงคท จี่ ะตอ สเู พอ่ื ให
คนมธั ยสั ถแ ละประหยัดนัน้ ก็อยูที่ตวั เอง ไมใ ชอ ยทู ค่ี นอืน่ เม่ืออยูท่ีตนเองไมอยูท คี่ นอืน่ การรณรงค
โดยมากมักออกไปขางนอก จะไปชักชวนคนโนนชักชวนคนอื่นน้ีใหทําโนนทําน่ี ที่จริงตองทําเอง
ถาจะใชคําวารณรงคก็ตองรณรงคกับตัวเอง ตองฝกตัวใหรูจักความพอดี พอเหมาะ ถาไมพอดี
ไมพ อเหมาะมันจะเกดิ ทจุ ริตในใจได… ”

“เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน แนวพระราชดาํ รใิ นพระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทพ่ี ระราชทาน
มานานกวา ๔๐ ป ซึ่งเปนแนวคิดที่ตั้งอยูบนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปนแนวทางการพัฒนา
ขน้ั พนื้ ฐานทต่ี ง้ั อยบู นทางสายกลาง และความไมป ระมาทซงึ่ คาํ นงึ ถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตมุ ผี ล



การสรางภูมิคุมกันในตัวเอง ตลอดจนการใชความรูและคุณธรรมเพ่ือเปนพื้นฐานในการดําเนินชีวิต
ซง่ึ ตอ งมี “สติ ปญ ญา และความเพยี ร” เปน ทตี่ ง้ั ซง่ึ จะนาํ ไปสคู วามสขุ ในชวี ติ ทแ่ี ทจ รงิ ดงั พระราชดาํ รสั วา

“...คนอ่นื จะวา อยางไรกช็ างเขา จะวาเมืองไทยลาสมยั วา เมอื งไทยเชย วาเมืองไทยไมมี
สิ่งทีส่ มัยใหม แตเราอยูพ อมพี อกิน และขอใหท ุกคนมีความปรารถนาท่ีจะใหเ มืองไทย พออยูพอกนิ
มีความสงบ และทํางานต้ังจิตอธิษฐาน ต้ังปณิธาน ในทางน้ีท่ีจะใหเมืองไทยอยูแบบพออยูพอกิน
ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ
ถา เรารกั ษาความพออยพู อกนิ น้ีได เรากจ็ ะยิ่งยวดได. ..” (๔ ธันวาคม ๒๕๑๗)

“...เศรษฐศาสตรเปนวิชาของเศรษฐกิจ การท่ีตองใชรถไถตองไปซื้อ เราตองใชตองหา
เงินมาสําหรับซื้อน้ํามันสําหรับรถไถ เวลารถไถเกาเราตองย่ิงซอมแซม แตเวลาใชนั้นเราก็ตองปอน
นํ้ามันใหเปนอาหาร เสร็จแลวมันคายควัน ควันเราสูดเขาไปแลวก็ปวดหัว สวนควายเวลาเราใช
เราก็ตองปอนอาหาร ตองใหหญาใหอาหารมันกิน แตวามันคายออกมา ที่มันคายออกมาก็เปนปุย
แลวกใ็ ชไ ดสําหรับใหท ด่ี นิ ของเราไมเสยี ...” (๙ พฤษภาคม ๒๕๒๙)

“...เราไมเ ปน ประเทศรา่ํ รวย เรามพี อสมควร พออยไู ด แตไ มเ ปน ประเทศทก่ี า วหนา อยา งมาก
เราไมอยากจะเปนประเทศกาวหนาอยางมาก เพราะถาเราเปนประเทศกาวหนาอยางมากก็จะมีแต
ถอยกลับ ประเทศเหลานั้นที่เปนประเทศอุตสาหกรรมกาวหนา จะมีแตถอยหลังและถอยหลัง
อยา งนากลัว แตถ า เรามกี ารบรหิ ารแบบเรียกวาแบบคนจน แบบท่ีไมต ดิ กบั ตาํ รามากเกินไป ทาํ อยาง
มสี ามัคคีนี่แหละคอื เมตตากัน จะอยูไดต ลอดไป...” (๔ ธันวาคม ๒๕๓๔)

“...ตามปกตคิ นเราชอบดสู ถานการณใ นทางดี ทเี่ ขาเรยี กวา เลง็ ผลเลศิ กเ็ หน็ วา ประเทศไทย
เราน่ีกาวหนาดี การเงนิ การอตุ สาหกรรมการคา ดี มกี าํ ไร อีกทางหนึง่ ก็ตอ งบอกวา เรากาํ ลงั เสอ่ื มลงไป
สว นใหญ ทฤษฎวี า ถา มเี งนิ เทา นนั้ ๆ มกี ารกเู ทา นนั้ ๆ หมายความวา เศรษฐกจิ กา วหนา แลว กป็ ระเทศ
ก็เจรญิ มหี วงั วาจะเปนมหาอาํ นาจ ขอโทษเลยตองเตือนเขาวา จริงตัวเลขดี แตวาถาเราไมร ะมัดระวงั
ในความตองการพน้ื ฐานของประชาชนนั้นไมม ที าง...” (๔ ธันวาคม ๒๕๓๖)

“...เด๋ียวน้ีประเทศไทยก็ยังอยูดีพอสมควร ใชคําวา พอสมควร เพราะเดี๋ยวมีคนเห็นวา
มีคนจน คนเดือดรอ น จํานวนมากพอสมควร แตใ ชคาํ วา พอสมควรนี้ หมายความวาตามอัตภาพ...”
(๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙)

“...การจะเปนเสือน้ันไมสําคัญ สําคัญอยูท่ีเรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน แบบพอมี
พอกนิ นนั้ หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหม พี อเพยี งกับตนเอง ความพอเพียงนีไ้ มไดหมายความวา
ทุกครอบครัวจะตองผลิตอาหารของตัวเอง จะตองทอผาใสเอง อยางน้ันมันเกินไป แตวาในหมูบาน
หรือในอําเภอ จะตองมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอยางผลิตไดมากกวาความตองการ
ก็ขายได แตขายในท่ีไมห างไกลเทาไร ไมต อ งเสยี คา ขนสงมากนกั ...” (๔ ธนั วาคม ๒๕๓๙)

“...พอเพยี ง มคี วามหมายกวางขวางยิ่งกวา น้ีอีก คอื คําวาพอ กพ็ อเพียงนกี้ พ็ อแคน ัน้ เอง
คนเราถา พอในความตอ งการกม็ คี วามโลภนอ ย เมอ่ื มคี วามโลภนอ ยกเ็ บยี ดเบยี นคนอนื่ นอ ย ถา ประเทศใด



มีความคิดอันนี้ มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ ซ่ือตรง ไมโลภ
อยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงน้ีอาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็ได แตวาตองไมไป
เบียดเบยี นคนอ่นื ...” (๔ ธนั วาคม ๒๕๔๑)

“...ไฟดับถามีความจําเปน หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไมเต็มท่ี เรามีเคร่ืองปนไฟก็ใช
ปน ไฟ หรือถาข้นั โบราณกวา มืดกจ็ ุดเทยี น คอื มีทางทจี่ ะแกป ญ หาเสมอ ฉะน้ันเศรษฐกิจพอเพียงกม็ ี
เปน ขน้ั ๆ แตจ ะบอกวา เศรษฐกจิ พอเพยี งน้ี ใหพอเพยี งเฉพาะตวั เองรอยเปอรเซ็นตนเ่ี ปน ส่ิงทําไมไ ด
จะตองมีการแลกเปลี่ยน ตอ งมกี ารชวยกนั ถามีการชว ยกัน แลกเปลีย่ นกนั ก็ไมใชพอเพียงแลว แตวา
พอเพียงในทฤษฎใี นหลวงนี้ คือใหสามารถท่ีจะดําเนินงานได. ..” (๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒)

“...โครงการตางๆ หรือเศรษฐกิจท่ีใหญ ตองมีความสอดคลองกันดีที่ไมใชเหมือน
ทฤษฎใี หม ทใี่ ชท ด่ี นิ เพยี ง ๑๕ ไร และสามารถทจ่ี ะปลกู ขา วพอกนิ กจิ การนใ้ี หญก วา แตก เ็ ปน เศรษฐกจิ
พอเพียงเหมือนกัน คนไมเขาใจวากิจการใหญๆ เหมือนสรางเขื่อนปาสักก็เปนเศรษฐกิจพอเพียง
เหมอื นกนั เขานกึ วา เปน เศรษฐกจิ สมยั ใหม เปน เศรษฐกจิ ทห่ี า งไกลจากเศรษฐกจิ พอเพยี ง แตท จ่ี รงิ แลว
เปนเศรษฐกจิ พอเพยี งเหมอื นกัน...” (๒๓ ธนั วาคม ๒๕๔๒)

“...ฉนั พูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทําอะไรใหเหมาะสมกับฐานะของตัวเอง คอื
ทาํ จากรายได ๒๐๐ – ๓๐๐ บาท ขน้ึ ไปเปน สองหมน่ื สามหมน่ื บาท คนชอบเอาคาํ พดู ของฉนั เศรษฐกจิ
พอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือทําเปน Self-Sufficiency มันไมใชความหมาย
ไมใ ชแ บบทีฉ่ นั คดิ ท่ีฉนั คดิ คอื เปน Self-Sufficiency of Economy เชน ถาเขาตอ งการดทู วี ี ก็ควร
ใหเ ขามดี ู ไมใชไ ปจํากดั เขาไมใ หซ อ้ื ทีวดี ู เขาตองการดูเพอื่ ความสนกุ สนาน ในหมบู านไกลๆ ที่ฉนั ไป
เขามีทีวดี ูแตใ ชแ บตเตอรี่ เขาไมมไี ฟฟา แตถา Sufficiency นั้น มีทวี ีเขาฟุม เฟอย เปรียบเสมอื นคน
ไมม สี ตางคไปตดั สูทใส และยงั ใสเ นคไทเวอรซาเช อนั นกี้ ็เกนิ ไป...” (๑๗ มกราคม ๒๕๔๔)

เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่ชี้แนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนใน
ทุกระดับ รวมถึงระดับรัฐบาลในการพัฒนาและบริหารประเทศ ใหดําเนินไปในทางสายกลาง เปน
แนวทางการแกไ ขเพอ่ื ใหร อดพน และสามารถดาํ รงอยไู ดอ ยา งมนั่ คงและยง่ั ยนื ภายใตก ระแสโลกาภวิ ตั น
และความเปล่ยี นแปลงตางๆ

เศรษฐกิจพอเพียงเปน แนวคดิ ที่ยดึ หลักทางสายกลาง คําวา ความพอเพียง น้นั หมายถึง
ความพรอ มทจี่ ะจดั การกบั ผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ จากทงั้ ภายนอกและภายใน ระบบเศรษฐกจิ แบบพอเพยี ง
ยงั สามารถมองไดว า เปน ปรัชญาในการดาํ รงชวี ิตใหมคี วามสขุ ท่ีจําเปนตองใชทัง้ ความรู ความเขาใจ
ผนวกกบั คณุ ธรรมในการดาํ เนนิ ชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพยี งไมใ ชเ พยี งการประหยดั แตเ ปน การดาํ เนนิ ชวี ติ
อยา งชาญฉลาด และสามารถอยูได แมนในสภาพท่มี กี ารแขงขนั และการไหลบาของโลกาภิวตั น นาํ สู
ความสมดุล มนั่ คง และย่งั ยนื ของ ชวี ติ เศรษฐกจิ และสังคม



ËÅ¡Ñ »ÃªÑ ÞÒàÈÃÉ°¡¨Ô ¾Íà¾ÂÕ §

เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาชี้แนวทางการดํารงอยู และการปฏิบัติของประชาชน
ในทุกระดับ ต้ังแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน ถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศ
ใหด ําเนนิ ไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพื่อใหกา วทนั ตอโลกยุคโลกาภิวัตน

ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล รวมถงึ ความจาํ เปนทีจ่ ะตอ ง
มีภูมิคุมกันในตัวเอง ที่มีตอผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังจากภายนอกและภายใน
ซง่ึ จะตอ งอาศยั ความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง ในการนาํ วชิ าตา งๆ มาใชใ นการ
วางแผนและดาํ เนนิ การทกุ ขนั้ ตอน ขณะเดยี วกนั ยงั ตอ งเสรมิ สรา งพน้ื ฐานทางดา นจติ ใจของคนในชาติ
โดยเฉพาะเจาหนาท่ีรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีจิตสํานึกในคุณธรรม ความซ่ือสัตย
สุจริต และใหมีความรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ มีปญญา
และความรอบคอบ เพ่ือใหสมดุลและพรอมตอการเปลี่ยนแปลงที่เปนไปอยางรวดเร็วและกวางขวาง
ท้ังดา นวตั ถุ สงั คม สง่ิ แวดลอ ม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีทรงพระกรุณาปรับปรุงแกไขพระราชทานขางตน
เปนทม่ี าของ นยิ าม “๓ หว ง ๒ เง่ือนไข” ท่ีคณะอนุกรรมการขับเคลอ่ื นเศรษฐกจิ พอเพียง สาํ นักงาน
คณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ นาํ มาใชใ นการรณรงคเ ผยแพรป รชั ญาเศรษฐกจิ
พอเพยี ง ผานชองทางตา งๆ อยูใ นปจ จบุ นั ซง่ึ ประกอบดวยความพอประมาณ มีเหตผุ ล มีภมู คิ มุ กนั
บนเงอ่ื นไข ความรู และ คณุ ธรรม



¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§·áÕè ·Œ¨Ã§Ô

คาํ นยิ าม “ความพอเพยี ง” (sufficiency) ประกอบดว ยคณุ ลกั ษณะ ๓ ประการ และเงอื่ นไข
๒ ประการ ซ่ึงมีความสัมพันธควบคูกันไป นําไปสูแนวทางการปฏิบัติท่ีกอใหเกิดการพัฒนาท่ียั่งยืน
ตอ สังคมโดยรวม ไดแก

¤³Ø Å¡Ñ É³Ð ó »ÃСÒà ä´áŒ ¡‹
ñ. ¤ÇÒÁ¾Í»ÃÐÁÒ³ (Moderation) หมายถึง ความพอดที ่ีไมม ากเกนิ ไป และไมนอย
เกนิ ไปในมติ ติ า ง ๆ ของการกระทาํ หรอื ความพอใจในสงิ่ ทส่ี มควรในปรมิ าณทเ่ี หมาะสม ไมน อ ยเกนิ ไป
จนกอใหเกดิ ความขัดสนและไมม ากเกินไปจนฟุม เฟอ ยจนเกนิ กําลังของตน
ò. ¤ÇÒÁÁàÕ ËμؼŠ(Reasonableness) หมายถึง การตัดสินใจเก่ยี วกบั ระดบั ความพอ
ประมาณในมิติตาง ๆ จะตองเปนไปอยางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยและขอมูลท่ีเกี่ยวของ
ตลอดจนผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทํานั้น ๆ อยางรอบคอบและถูกตองบนพื้นฐานของ
ความรคู คู ณุ ธรรม
ó. ¡ÒÃÁÕÀÙÁ¤Ô ØŒÁ¡¹Ñ ã¹μÇÑ ·Õè´Õ (Self - Immunity) หมายถงึ การเตรยี มตัวใหพ รอมรับ
ผลกระทบทคี่ าดวา จะเกดิ ข้ึนจากการเปลยี่ นแปลงดานตา ง ๆ การกระทําที่สามารถเรยี กวา พอเพียง
(Systematic and Dynamic Optimum) มิใชการคํานึงถึงเหตุการณและผลในปจจุบันเทาน้ัน
แตจ าํ เปน ตองคาํ นงึ ถงึ ความเปนไปไดข องการณต าง ๆ ที่คาดวาจะเกดิ ขนึ้ ในอนาคตดวย
à§×èÍ¹ä¢ การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ใหอยูในระดับความพอเพียงน้ัน
ตองประกอบดวยสง่ิ ตอ ไปน้ี
à§Í×è ¹ä¢·Õè ñ ¤ÇÒÁÌ٠(Set of Knowledge) ประกอบดว ย ความรเู กยี่ วกบั วชิ าการตา ง ๆ
อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเช่ือมโยงสัมพันธกัน เพ่ือการ
วางแผนและความระมดั ระวงั ในการนาํ ไปประยกุ ตใชใหเกดิ ผลในทางปฏิบัติทุกขนั้ ตอน
à§è×͹䢷èÕ ò ¤Ø³¸ÃÃÁ (Ethical Qualfication) ประกอบดวยคุณธรรมท่ีจะตอง
เสริมสรางใหจิตใจมีความตระหนักในคุณธรรมและความซื่อสัตย และมีคุณธรรมในการดําเนินชีวิต
โดยเนน ความอดทน ความเพียรสตปิ ญ ญา และความรอบคอบ

»ÃÐà·Èä·Â¡ÑºàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

เศรษฐกิจพอเพยี งมุง เนนใหผ ูผ ลิต หรอื ผูบ รโิ ภค พยายามเรมิ่ ตน ผลติ หรอื บริโภคภายใต
ขอบเขต ขอ จํากดั ของรายได หรือทรัพยากรที่มีอยไู ปกอน ซง่ึ ก็คอื หลกั ในการลดการพง่ึ พา เพ่มิ ขีด
ความสามารถในการควบคมุ การผลิตไดดว ยตนเอง และลดภาวการณเสี่ยงจากการไมส ามารถควบคมุ
ระบบตลาดไดอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ

เศรษฐกจิ พอเพียงมิใชห มายความถึง การกระเบียดกระเสยี รจนเกนิ สมควร หากแตอาจ
ฟุมเฟอยไดเปนครั้งคราวตามอัตภาพ แตคนสวนใหญของประเทศ มักใชจายเกินตัว เกินฐานะที่หา



มาได เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปสูเปาหมายของการสรางความม่ันคงในทางเศรษฐกิจได เชน
โดยพ้ืนฐานแลว ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเนนที่เศรษฐกิจ
การเกษตร เนนความม่ันคงทางอาหาร เปนการสรางความมั่นคงใหเปนระบบเศรษฐกิจในระดับหน่ึง
จงึ เปนระบบเศรษฐกจิ ท่ชี ว ยลดความเสย่ี ง หรือความไมมนั่ คงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได เศรษฐกจิ
พอเพียง สามารถประยุกตใชไดในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไมจําเปนจะตองจํากัด
เฉพาะแตภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแตภาคการเงิน ภาคอสังหาริมทรัพย และการคา
การลงทุนระหวางประเทศ โดยมีหลักการที่คลายคลึงกันคือ เนนการเลือกปฏิบัติอยางพอประมาณ
มีเหตมุ ผี ล และสรา งภมู คิ ุม กันใหแกตนเองและสังคม

¡ÒôÓà¹Ô¹ªÕÇÔμμÒÁá¹Ç¾ÃÐÃÒª´ÓÃàÔ ÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั ทรงเขาใจถงึ สภาพสังคมไทย ดังน้นั เม่ือไดพ ระราชทาน
แนวพระราชดาํ ริ หรอื พระบรมราโชวาทในดา นตา งๆ จะทรงคาํ นงึ ถงึ วถิ ชี วี ติ สภาพสงั คมของประชาชนดว ย
เ พื่ อ ไ ม  ใ ห  เ กิ ด ค ว า ม ขั ด แ ย  ง ท า ง ค ว า ม คิ ด ที่ อ า จ นํ า ไ ป สู  ค ว า ม ขั ด แ ย  ง ใ น ท า ง ป ฏิ บั ติ ไ ด 
แนวการปฏิบัตติ ามพระราชดําริในการดําเนินชีวติ แบบเศรษฐกิจพอเพียง มีแนวทางดงั นี้

๑. ยดึ ความประหยดั ตัดทอนคา ใชจายในทกุ ดา น ลดละความฟมุ เฟอยในการใชชวี ิต
๒. ยึดถอื การประกอบอาชีพดว ยความถกู ตอ ง ซ่ือสัตยส ุจรติ
๓. ละเลกิ การแกง แยงผลประโยชนและแขง ขันในทางการคา แบบตอ สกู ันอยางรุนแรง
๔. ไมหยุดน่ิงที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากดวยการขวนขวายใฝหา
ความรใู หม ีรายไดเพม่ิ พูนขึ้น จนถงึ ข้นั พอเพียงเปน เปา หมายสาํ คญั
๕. ปฏบิ ัตติ นในแนวทางท่ีดี ลดละส่งิ ชว่ั ประพฤตติ ามหลักศาสนา

¡ÒþѲ¹Ò»ÃÐà·ÈμÒÁá¹ÇàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

การพัฒนาประเทศมิไดมีแบบอยางตายตัวตามตํารา หากแตตองเปนไปตามสภาพ
ภูมปิ ระเทศทางภมู ศิ าสตร สังคมวิทยา วฒั นธรรมชมุ ชน ทม่ี คี วามหลากหลาย ในขณะเดยี วกนั กระแส
การเปล่ียนแปลงของสังคมโลกท่ีเกิดข้ึนอยางรวดเร็วตามอิทธิพลของกระแสโลกาภิวัตน จําเปน
ที่จะตองพยายามหาแนวทางดํารงชีวิตตามหลักการพ้ืนฐานของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อใหเกิด
ความสมดุลและสอดคลองกับสภาพแวดลอม เพื่อสรางเปนภูมิคุมกัน ปองกันผลกระทบตอชุมชน
เอกลกั ษณ และวฒั นธรรมของชมุ ชน มิใหล มสลายไป

จากแนวพระราชดําริ เศรษฐกิจพอเพียง เปนแนวทางท่ีใหประชาชนดําเนินตามวิถี
แหงการดํารงชีพ ศานติสุข โดยมีธรรมะเปนเครื่องกํากับ และใจตนเปนสําคัญ ซึ่งก็คือ วิถีชีวิตไทย
ท่ียึดทางสายกลางของความพอดี ในหลักพึ่งพาตนเอง ๕ ประการดงั นี้



๑. ความพอดีดานจิตใจ ตองมีความเขมแข็ง พึ่งตนเองได มีจิตสํานึกท่ีดี เอื้ออาทร
ประนปี ระนอม โดยคํานึงถึงประโยชนส ว นรวม

๒. ความพอดีดานสังคม คอื ความชวยเหลอื เกอ้ื กลู กนั สรา งความเขม แข็งใหแกช ุมชน
รจู ักผนึกกําลงั และทส่ี าํ คญั ตอ งมกี ระบวนการเรียนรูเพื่อใหเกดิ รากฐานทม่ี ่นั คงและแขง็ แรง

๓. ความพอดดี า นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม ตอ งรจู กั ใชแ ละจดั การอยา งฉลาด
และรอบคอบ เพื่อใหเกดิ ความย่ังยนื สงู สุด

๔. ความพอดดี า นเทคโนโลยี ตอ งรจู กั ประยกุ ตใ ชเ ทคโนโลยที เ่ี หมาะสม ใหส อดคลอ งกบั
ความตอ งการ และควรจะพฒั นาเทคโนโลยจี ากภมู ปิ ญ ญาชาวบา นของเราเอง เพอ่ื ใหเ กดิ ประโยชนต อ
สภาพแวดลอ มของเราเอง

๕. ความพอดีดานเศรษฐกจิ ตอ งรจู ักเพม่ิ รายได ลดรายจา ย ดํารงชวี ติ อยางพอสมควร
พออยพู อกินตามอัตภาพ และฐานะของตนเอง

จะเห็นไดวาการพัฒนาจะเริ่มจาก การสรางพื้นฐาน ความพอกินพอใช ของประชาชน
ในชาตเิ ปน สว นใหญก อ น แลว จงึ คอ ยเสรมิ สรา งความเจรญิ และฐานะทางเศรษฐกจิ ตามลาํ ดบั เพอ่ื ให
เกดิ ความสมดลุ ทางดานตางๆ หรอื ดาํ เนนิ การใหเปนไปเปน ข้ันเปน ตอน มิใชการกาวกระโดด ทีต่ อ ง
พ่ึงปจจัยจากภายนอกมาเปนตัวกระตุน ซ่ึงมักแตจะสรางปญหาตามมาอยางมากมายและไมย่ังยืน
ดังนนั้ วธิ กี ารตางๆ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ เปน หนทางทีม่ ั่นคง มลี ําดับขัน้ ตอนในการ
ปฏิบัติท่ีจะใหประชาชนในชาติและพ้ืนฐานของเศรษฐกิจโดยรวม มีความเขมแข็ง มีรากฐานท่ีม่ันคง
ย่งั ยืนอยา งยาวนานอยา งแทจริง

๑๑

º··Õè ò

¾ÅàÁ×ͧ¡ºÑ ¤ÇÒÁÃѺ¼´Ô ªÍºμ‹Í¡Ò÷بÃμÔ

ñ. ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШӺ·

๑.๑ เพ่อื ใหนกั เรยี นนายสิบตาํ รวจมที ัศนคติ และความตระหนักถงึ ผลกระทบทร่ี า ยแรง
ของการทุจริต

๑.๒ เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจมจี ติ สาํ นกึ ความเปน พลเมอื งดใี นการปอ งกนั และตอ ตา น
การทุจรติ

ò. ÊÇ‹ ¹¹Ó

จิตสํานึกความเปนพลเมืองท่ีมีความหมายมากกวาประชาชน ความเปนพลเมืองท่ีดี
ทีม่ ีสว นรวมในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ ตลอดจนการนาํ หลกั ธรรมาภบิ าลมาแกไ ขปญหา
การทจุ ริต

ó. à¹Í×é ËÒμÒÁËÇÑ ¢ŒÍ

๓.๑ ความหมายและบทบาทของพลเมอื ง
๓.๒ แนวคิดเกีย่ วกบั การทจุ รติ
๓.๓ หลกั ธรรมาภบิ าลและการแกไ ขปญ หาการทจุ รติ

ô. ÊÇ‹ ¹ÊÃØ»

คานิยมและคุณสมบัติท่ีพึงปรารถนาของพลเมืองไทยที่จะทําใหประเทศมีระบบ
ธรรมาภบิ าลที่ดีและแกไขปญ หาการทจุ รติ ได

õ. ¡¨Ô ¡ÃÃÁá¹Ð¹Ó

ผสู อนตง้ั ปญ หาใหน กั เรียนวนิ ิจฉยั เปน รายบคุ คล และสว นรวม เพอ่ื ใหร จู ักคดิ วิเคราะห
และวิจารณเ นอ้ื หาทีเ่ รียน ดวยการนําเทคนคิ วิธกี ารตา ง ๆ ซึง่ สามารถบรู ณาการความคิดได

ö. ÃÒ¡ÒÃ͌ҧÍÔ§

แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อสรางความตระหนักรูและมีสวนรวมในการ
ปอ งกันการทจุ ริตของ สํานักงาน ป.ป.ช.

๑๒

คนนบั เปน รากฐานสาํ คญั ของสงั คมเปน สง่ิ ทต่ี อ งลงทนุ ในการพฒั นากอ นสง่ิ อนื่ ใดใหค นมี
ความเขม แขง็ เปน “พลงั ของแผน ดนิ ” เปน บคุ คลทม่ี คี วามรคู วามสามารถดแู ลรบั ผดิ ชอบการดาํ เนนิ ชวี ติ
ของตนเองไดเปนอยางดี มคี ณุ ภาพ มีคณุ ธรรมภายในกรอบกติกาของสังคมอยางมคี วามสุข สังคมจะ
พัฒนาไดตองข้ึนอยูกับการพัฒนาคนท่ีอยูในสังคมน้ัน รากฐานการพัฒนาคนอยูท่ีเปนคนมีความสุข
คือ สามารถใชชีวิตอยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางปกติสุข กระแสโลกาภิวัตนและเศรษฐกิจ
ฐานความรใู นสงั คมเทคโนโลยสี ารสนเทศมผี ลกระทบตอ สงั คมไทยทงั้ ทพ่ี งึ ประสงคแ ละไมพ งึ ปรารถนา
การพัฒนาเศรษฐกิจโดยไมพัฒนาคนและสังคมยอมสงผลเสียในดานตางๆ ซึ่งนําไปสูคุณภาพชีวิต
ของคนไทยทตี่ กตา่ํ สงั คมไทยในปจ จบุ นั มคี วามเปราะบางดา นคณุ ธรรมจรยิ ธรรมมงุ เนน การเปลยี่ นแปลง
ท่ีรวดเร็วสูวิถีโลกปจจุบันโดยขาดการตริตรองอยางรอบคอบของการกาวเดินไปขางหนา ภาพท่ี
เห็นชัดเจนก็คือ การทุจริตคอรรัปชัน การกออาชญากรรม การเสพและการคายาเสพติดของวัยรุน
จากปญหาและสถานการณตางๆ ที่เกิดข้ึน เด็กและเยาวชนไดรับอิทธิพลโดยตรงทําใหมีคานิยม
ดานวตั ถุ ขาดระเบยี บวนิ ยั ขาดความรบั ผดิ ชอบ และจรยิ ธรรมในสังคม

ñ. ¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊÓ¤ÞÑ ¢Í§¾ÅàÁÍ× §

ñ.ñ ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¤Ø³ÅѡɳоÅàÁÍ× §
คุณลักษณะ (Characteristic) หมายถึง เครื่องหมายหรือสิ่งท่ีชี้ใหเห็นความดี

หรือลักษณะประจํา มีท้ังที่เปนลักษณะประจําตัวบุคคล เชน คุณลักษณะของเด็กไทย เปนตน
และลักษณะท่ีดีของส่ิงตางๆ ท่ีมิใชตัวบุคคล เชน คุณลักษณะของพุทธศาสนา คุณลักษณะของสี
คุณลักษณะระบบการบริหารที่ดี เปนตน

สวนคําวา พลเมือง (Citizen) หมายถึง พลังหรือกําลังคนของประเทศซึ่งอยูใน
ฐานะเปน เจา ของประเทศ ตางจากชาวตา งดาวเขาเมอื งซงึ่ เขา มาอยูในประเทศเพยี งชัว่ คราว

เมื่อกลาวถึงพลเมืองของประเทศใด ยอมหมายถงึ บุคคลทง้ั หลายท่ีมสี ญั ชาตขิ อง
ประเทศนนั้ ๆ ตามกฎหมายของแตล ะประเทศ เชน เมอื่ กลา วถงึ พลเมอื งของประเทศไทยยอ มหมายถงึ
คนทั้งหลายที่มีสัญชาติไทยตามกฎหมายไทย พลเมืองของแตละประเทศยอมมีสิทธิและหนาท่ีตาม
กฎหมายของประเทศน้นั บุคคลตางสญั ชาติที่เขาไปอยูอาศยั ซึ่งเรยี กวาคนตางดา ว ไมม ีสิทธิเทา เทียม
กับพลเมืองและมีหนาที่แตกตางออกไป เชน อาจมีหนาท่ีเสียภาษี หรือคาธรรมเนียมเพิ่มข้ึนตามท่ี
กฎหมายของแตละประเทศบัญญัติไว สิทธิและหนาที่เปนส่ิงคูกัน เม่ือมีสิทธิก็ตองมีหนาที่พลเมือง
ของทุกประเทศมีท้ังสิทธิและหนาที่ แตจะมีมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับกฎหมายของประเทศน้ันๆ
ความเปนพลเมืองมีความหมายท่ีสะทอนใหเห็นถึงบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของสมาชิก
ทางสังคมทม่ี ตี อรัฐตอประเทศ

คุณลักษณะพลเมืองไทยจึงหมายถึง พลังหรือกําลังคนของประเทศไทยซึ่งอยูใน
ฐานะเปนเจาของประเทศท่มี ลี ักษณะประจําตัวบุคคลทเ่ี หมาะสม

๑๓

นอกจากนี้มผี ใู หค วามหมายของพลเมอื งไวใ นลักษณะตา งๆ ไดแก
ประเวศ วะสี (อา งใน กิตตศิ กั ดิ์ ปรกติ, ม.ป.ป.) ไดใ หความหมายพลเมอื งวา เปน คาํ ที่
บง บอกถงึ คณุ ภาพในทางที่ “มศี กั ดศิ์ รแี หง ความเปน คนมอี สิ ระ มคี วามรู มเี หตผุ ล มสี ว นรว มในกจิ การ
ของสวนรวมหรอื กระบวนการทางนโยบาย”
ฤาชตุ า เทพายากลุ (๒๕๕๔) ไดใ หค วามหมายของคาํ วา ความเปน พลเมอื ง (citizenship)
วา หมายถงึ ฐานะของความเปน พลเมอื ง (citizen) ทเ่ี ปน สมาชกิ ของชมุ ชนทางการเมอื งหรอื รฐั มสี ทิ ธิ
และความรบั ผดิ ชอบทกี่ าํ หนดโดยกฎหมายในฐานะทเี่ ปน พลเมอื งมกี ารแสดงพฤตกิ รรมทเ่ี กย่ี วขอ งกบั
กิจสาธารณะภายใตกฎหมาย กฎเกณฑทางสงั คมและศีลธรรม
สวนคําวา พลเมอื งดี หมายถึง ผทู ่ปี ฏิบัติหนาที่พลเมืองไดค รบถว น ทงั้ กิจท่ีตองทํา และ
กจิ ที่ควรทาํ หนาที่ กจิ ทีต่ อ งทํา หรือควรทาํ เปนสิง่ ท่ีกาํ หนดใหทํา หรอื หามมิใหก ระทํา ถา ทาํ กจ็ ะกอ
ใหเ กดิ ผลดี เกิดประโยชนตอ ตนเอง ครอบครวั หรือสงั คมสว นรวมแลว แตก รณี ถา ไมท ําหรือไมล ะเวน
การกระทําตามทกี่ าํ หนด จะไดรบั ผลเสียโดยตรง คอื ไดร ับโทษ หรือถกู บังคบั เชน ปรบั จาํ คุก หรือ
ประหารชวี ติ เปน ตน โดยท่ัวไปสิ่งท่ีระบุกิจทต่ี องทํา ไดแ ก กฎหมาย เปน ตน
กิจท่ีควรทํา คือ สิ่งที่คนสวนใหญเห็นวาเปนหนาที่ที่จะตองทํา หรือละเวนการกระทํา
ถาไมทําหรือละเวนการกระทํา จะไดรับผลเสียโดยทางออม เชน ไดรับการดูหมิ่นเหยียดหยาม
หรือไมค บคา สมาคมดวย ผูก ระทํากิจท่คี วรทาํ จะไดร บั การยกยองสรรเสริญจากคนในสงั คม โดยทวั่ ไป
ส่งิ ท่ีระบกุ ิจทีค่ วรทาํ ไดแก วฒั นธรรมประเพณี เปน ตน
พลเมืองดีมีหนาที่ตองปฏิบัติตามกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม
ของชาติ คาํ สง่ั สอนของพอ แม ครู อาจารย มคี วามสามคั คี เออื้ เฟอ เผอื่ แผซ ง่ึ กนั และกนั รจู กั รบั ผดิ ชอบ
ชวั่ ดตี ามหลกั จรยิ ธรรม และหลกั ธรรมของศาสนา มคี วามรอบรู มสี ตปิ ญ ญา ขยนั ขนั แขง็ สรา งความเจรญิ
กาวหนา ใหแกต นเอง ครอบครัว สงั คม และประเทศชาติ
ดวงเดอื น พนั ธุมนาวิน (๒๕๒๒:๒๘) และ ปรชี า ตงมณี (๒๕๓๑:๔๑) ไดใ หค วามหมาย
ของคําวา พลเมืองดีไวในแนวทางเดียวกันวา พลเมืองดี หมายถึง ผูที่มีจริยธรรมสูง กลาทําความดี
โดยไมหวงั ผล มที ศั นคตแิ ละนสิ ยั อันพงึ ปรารถนาของสังคม
ñ.ò ¤ÇÒÁÊÓ¤ÞÑ ¢Í§¾ÅàÁ×ͧ´Õ

พลเมืองเปนองคประกอบที่สําคัญของสังคม ทุกสังคมยอมตองการพลเมืองที่มี
คุณภาพ ซง่ึ หมายถึง ความมรี า งกายจิตใจดี คดิ เปน ทําเปน แกไ ขปญ หาไดม ปี ระสิทธภิ าพ เปนกาํ ลัง
สําคัญในการพัฒนาความเจริญกาวหนา ความมั่นคงใหกับประเทศชาติ และการเปนพลเมืองดีน้ัน
ยอ มตอ งการปฏบิ ตั ติ ามบรรทดั ฐานและขนบธรรมเนยี มประเพณขี องสงั คม มคี ณุ ธรรมเปน แนวปฏบิ ตั ิ
ในการดาํ เนนิ ชวี ติ เพ่อื การพัฒนาสงั คมใหยง่ั ยนื

๑๔

ò. ¤Ø³ÅѡɳФÇÒÁ໹š ¾ÅàÁ×ͧ·´Õè Õ

การเปนพลเมืองดีจะมีลักษณะอยางไรนั้น สังคมจะเปนผูกําหนดลักษณะท่ีพึงประสงค
เพื่อท่ีจะไดพลเมืองที่ดีตามท่ีตองการ คุณลักษณะของสมาชิกในสังคมจะตองมีคุณลักษณะพ้ืนฐาน
คือคุณลักษณะท่ัวไปของการเปนพลเมืองดี เชน ขยัน อดทน ซ่ือสัตย ประหยัด รับผิดชอบ
มีเหตผุ ล โอบออมอารี มีเมตตา เห็นความสาํ คัญของประโยชนส วนรวม และมคี ณุ ลกั ษณะเฉพาะ คือ
คณุ ลักษณะเฉพาะอยางที่สังคมตองการใหบ ุคคลพึงปฏิบตั ิ เชน ตอ งการบุคคลทีม่ ีคุณธรรม นําความรู
ยึดมัน่ และเทดิ ทนู สถาบนั เปน ตน

¡Òû¯ÔºÑμμÔ ¹à»¹š ¾ÅàÁÍ× §´Õ
บุคคลจะเปนพลเมืองดีของสังคมน้ัน ตองตระหนักถึงบทบาทหนาท่ีท่ีจะตองปฏิบัติ
และมงุ มน่ั เพ่ือใหบรรลุเปา หมายดว ยความรบั ผดิ ชอบอยา งเตม็ ที่ สอดคลองกบั หลกั ธรรม วัฒนธรรม
ประเพณี และรฐั ธรรมนญู ที่กําหนดไว รวมทงั้ บทบาททางสงั คมทีต่ นดํารงอยู เพอ่ื ใหเกิดประสทิ ธภิ าพ
สูงสุด และไดประสิทธิผลทั้งในสวนตนและสังคม เม่ือสามารถปฏิบัติหนาที่ไดอยางถูกตองสมบูรณ
ยอ มเกดิ ความภาคภมู ิใจและเกดิ ผลดีทัง้ ตอตนเองและสังคม ดว ยการเปน พลเมอื งดีทเ่ี คารพกฎหมาย
เคารพสทิ ธเิ สรภี าพของผอู นื่ มคี วามกระตอื รอื รน ทจ่ี ะเขา มามสี ว นรว มในการแกป ญ หาของชมุ ชนและ
สงั คม มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมเปนหลักในการดําเนินชีวิตอยางผาสุก
¾ÅàÁ×ͧ´ÁÕ ËÕ ¹ÒŒ ·μèÕ ŒÍ§»¯ÔºμÑ Ô´§Ñ ¹Õé
หนาท่ีเปนภารกิจที่บุคคลตองกระทําเพื่อสรางคุณคาของความเปนมนุษย เม่ือเกิดมา
เปน คนและคา ของคนอยทู ก่ี ารปฏบิ ตั หิ นา ที่ โดยมคี วามรบั ผดิ ชอบเปน หวั ใจสาํ คญั และตอ งสอดคลอ ง
กับบทบาททางสังคมท่ีแตละบุคคลดํารงอยู หนาท่ีจึงเปนภารกิจท่ีจะตองกระทําเพื่อใหชีวิตดํารงอยู
อยา งมคี ณุ คา และเปน ทยี่ อมรบั ของสงั คม ซง่ึ อาจเปน หนา ทตี่ ามหลกั ศลี ธรรม กฎหมาย หรอื จติ สาํ นกึ
ท่ีถกู ตองเหมาะสม หนา ที่ท่เี ปน ภารกิจของพลเมืองดีโดยท่ัวไปพงึ ปฏิบตั ิ มดี ังน้ี
¡Òû¯ÔºÑμμÔ ¹à»¹š ¾ÅàÁÍ× §´ÕμÒÁËÅ¡Ñ ¸ÃÃÁ
ความสําคัญของจริยธรรม คุณธรรม ศีลธรรม มนุษยนับวาเปนทรัพยากรท่ีมีคุณคา
และมคี วามสาํ คญั มากทส่ี ดุ ในโลก เพราะมนษุ ยเ ปน ทรพั ยากรทสี่ ามารถเรยี นรแู ละรบั การฝก อบรมสงั่ สอน
จนสามารถนําความรูที่ไดรับมาสรางสรรคสิ่งตางๆ ท่ีเปนคุณประโยชนตอโลกได ในการเรียนรู
และการฝก อบรมเพอื่ สะสมประสบการณช วี ติ มนษุ ยค วรไดร บั การปลกู ฝง คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมไปดว ย
พรอ ม ๆ กนั เพราะคณุ ธรรมจรยิ ธรรมมคี วามสาํ คญั ตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ยท กุ คนเปน อยา งมาก
¤Ø³¸ÃÃÁáÅШÃÔ¸ÃÃÁ คือ ส่ิงที่เปนความดีควรประพฤติปฏิบัติ เพราะจะนําความสุข
ความเจริญ ความมน่ั คงมาสูป ระเทศชาติ สงั คม และบคุ คล คณุ ธรรมจริยธรรมทีส่ ําคัญ ๆ มดี ังตอ ไปน้ี
๑. ความจงรักภกั ดีตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ  ประเทศชาติ

๑๕

๒. ความรับผิดชอบตอหนาท่ี หมายถึง การปฏิบัติกิจการงานของตนเองและที่ไดรับ
มอบหมายดวยความมานะพยายาม อุทิศกําลังกายกําลังใจอยางเต็มความสามารถ ไมเห็นแก
ความเหน็ดเหน่ือยจนงานประสบความสําเร็จตรงตามเวลา บังเกิดผลดีตอตนเองและสวนรวม ท้ังน้ี
รวมไปถงึ การรบั ผิดเมื่องานลมเหลว พยายามแกไ ขปญ หาและอปุ สรรคโดยไมเกี่ยงงอนผูอ ่นื

๓. ความมรี ะเบยี บวนิ ยั หมายถงึ การเปน ผรู แู ละปฏบิ ตั ติ ามแบบแผนทตี่ นเอง ครอบครวั
และสังคมกําหนดไว โดยท่ีจะปฏิเสธไมร บั รกู ฎเกณฑห รอื กติกาตาง ๆ ของสงั คมไมได คุณธรรมขอ น้ี
ตอ งใชเ วลาปลกู ฝง เปน เวลานาน และตอ งปฏบิ ตั สิ มาํ่ เสมอจนกวา จะปฏบิ ตั เิ องได และเกดิ ความเคยชนิ
การมีระเบียบวนิ ยั ชว ยใหส งั คมสงบสขุ บา นเมอื งมคี วามเรยี บรอย เจริญรงุ เรือง

๔. ความซื่อสัตย หมายถึง การปฏิบัตติ น ทางกาย วาจา จิตใจ ที่ตรงไปตรงมา ไมแสดง
ความคดโกง ไมหลอกลวง ไมเ อาเปรียบผอู ่ืน ลั่นวาจาวาจะทํางานสิง่ ใดก็ตอ งทาํ ใหส ําเรจ็ เปน อยางดี
ไมก ลบั กลอก มคี วามจรงิ ใจตอ ทุกคน จนเปนทไี่ ววางใจของคนทุกคน

๕. ความเสยี สละ หมายถึง การปฏิบตั ติ นโดยอุทศิ กําลงั กาย กําลงั ทรัพย กาํ ลังปญญา
เพอ่ื ชว ยเหลอื ผอู นื่ และสงั คมดว ยความตงั้ ใจจรงิ มเี จตนาทบี่ รสิ ทุ ธิ์ คณุ ธรรมดา นนเ้ี ปน การสะสมบารมี
ใหแ กต นเอง ทําใหมคี นรักใครไวว างใจ เปนท่ยี กยอ งของสังคม ผคู นเคารพนับถอื

๖. ความอดทน หมายถึง ความเปนผูท่ีมีจิตใจเขมแข็ง ไมทอถอยตออุปสรรคใดๆ
มงุ มนั่ ทจ่ี ะทํางานใหบงั เกดิ ผลดโี ดยไมใ หผ อู ื่นเดือดรอน

๗. การไมทาํ บาป หมายถึง การงดเวนพฤติกรรมท่ีชว่ั ราย สรา งความเดอื ดรอ นใหผ ูอื่น
เพราะเปน เรอื่ งเศรา หมองของจิตใจ ควรงดเวนพฤตกิ รรมชั่วราย ๓ ทาง คือ

๘. ความสามคั คี หมายถึง การท่ที กุ คนมคี วามพรอมกาย พรอมใจ และพรอ มความคิด
เปน นํ้าหน่ึงใจเดยี วกนั มีจุดมุงหมายทจี่ ะปฏบิ ัติงานใหป ระสบความสําเรจ็ โดยไมม กี ารเกย่ี งงอนหรอื
คิดชิงดีชิงเดนกัน ทุกคนมุงท่ีจะใหสังคมและประเทศชาติเจริญรุงเรือง มีความรักใครกลมเกลียวกัน
ดวยความจรงิ ใจ ความไมเหน็ แกตัว การวางตนเสมอตนเสมอปลายก็หมายถงึ ความสามคั คดี ว ย

˹Ҍ ·èբͧ¾ÅàÁÍ× §´ÕμÒÁÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞ
รัฐธรรมนูญไดใหสิทธิและเสรีภาพแกประชาชนใหมีสิทธิที่จะมีสวนรวมในการปกครอง
ประเทศมากขนึ้ สทิ ธแิ ละเสรภี าพโดยทว่ั ไปมกั ใชร วม ๆ ไปดว ยกนั รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย
พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ไดกลา วถึงหนา ทข่ี องชนชาวไทยตามระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ 
ทรงเปนประมุข ซ่ึงเปนหนาท่ีตามบทบัญญัติแหงกฎหมายสูงสุดของประเทศ ซึ่งทุกคนจะตองรักษา
และปฏิบัติตามจะหลีกเลยี่ งมิได ไวใ นมาตรา ๕๐ ดังน้ี
ÁÒμÃÒ õð บุคคลมหี นา ท่ี ดงั ตอไปน้ี
(๑) พทิ กั ษร กั ษาไวซ งึ่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ  และการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย
อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ
(๒) ปอ งกันประเทศ พทิ กั ษรกั ษาเกียรตภิ มู ิ ผลประโยชนของชาติ และสาธารณสมบตั ิ
ของแผน ดินรวมทง้ั ใหค วามรวมมอื ในการปอ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

๑๖

(๓) ปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายอยางเครง ครดั
(๔) เขา รบั การศกึ ษาอบรมในการศกึ ษาภาคบังคับ
(๕) รับราชการทหารตามท่ีกฎหมายบัญญตั ิ
(๖) เคารพและไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น และไมกระทําการใดท่ีอาจกอ
ใหเ กิดความแตกแยกหรอื เกลยี ดชงั ในสังคม
(๗) ไปใชสิทธิเลือกตั้งหรือลงประชามติอยางอิสระโดยคํานึงถึงประโยชนสวนรวมของ
ประเทศเปน สําคญั
(๘) รวมมือและสนับสนุนการอนุรักษและคุมครองสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ
ความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทงั้ มรดกทางวัฒนธรรม
(๙) เสยี ภาษอี ากรตามที่กฎหมายบัญญัติ
(๑๐) ไมรว มมอื หรือสนับสนนุ การทุจริตและประพฤตมิ ิชอบทกุ รปู แบบ

ó. ¸ÃÃÁÒÀÔºÒšѺ¡ÒÃμÍ‹ μÒŒ ¹¡Ò÷¨Ø ÃÔμ

¸ÃÃÁÒÀºÔ ÒÅ (Good Governance) ตามความหมายของธนาคารโลก คือ ลกั ษณะ
และแนวทางการใชอํานาจการเมืองเพื่อการบริหารจัดการบานเมืองโดยการจัดการทรัพยากร
ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพ่ือการพัฒนา เพ่ือชวยในการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งนี้
โดยการเพม่ิ ศกั ยภาพของรฐั บาลใหส ามารถบรกิ ารอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ มรี ะบบทยี่ ตุ ธิ รรม มกี ระบวนการ
ทางกฎหมายท่ีอิสระ รวมทั้งมีระบบราชการ ฝายนิติบัญญัติ สื่อท่ีมีความโปรงใส รับผิดชอบ
และตรวจสอบได

¸ÃÃÁÒÀºÔ ÒÅ ตามความหมายขององคการพัฒนาแหงสหประชาชาติ (United Nations
Development Program - UNDP) คือ การดําเนินงานของผูมีอํานาจทางเศรษฐกิจ การเมือง
และสงั คม ทจ่ี ะจดั การกบั กจิ การของประเทศในทกุ ระดบั โดยใหค วามสาํ คญั กบั การสง เสรมิ ใหป ระเทศ
ตา งๆ พฒั นาตนเองในลกั ษณะท่ีพ่งึ ตนเองได ไดแ ก ความเทาเทียมกัน การใชอํานาจ การมงี านทาํ
และการอนุรักษส งิ่ แวดลอ ม เปน การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยอยางย่ังยืน

สวนประเทศไทยน้ัน คําวา ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ เร่ิมไดยินกันมากขึ้นหลังจากประเทศไทย
ประสบกบั ภาวะเศรษฐกจิ ชะงกั งนั กบั วกิ ฤตการณต ม ยาํ กงุ ตอ มาเมอื่ ป พ.ศ.๒๕๔๒ โดยคณะรฐั มนตรี
ไดม มี ตเิ หน็ ชอบวาระแหงชาติ สําหรับการสรา งระบบบรหิ ารกจิ การบานเมอื งทด่ี ี พ.ศ.๒๕๔๒ โดยทุก
ภาคสวนราชการตองถือปฏิบัติและรายงานผลการปฏิบัติตอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา ตามระเบียบ
สาํ นกั นายกรฐั มนตรไี ดร ะบถุ งึ หลกั ธรรมาภบิ าล ๖ หลกั เพอื่ เปน กรอบแนวทางใหแ กห นว ยงานราชการ
ไดถ อื ปฏบิ ตั ิ ตอ มาไดม กี ารยกเลกิ ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรดี งั กลา วพรอ มทงั้ ออก ¾ÃÐÃÒª¡ÄÉ®¡Õ Ò
Ç‹Ò´ÇŒ ÂËÅѡࡳ±á ÅСÒúÃÔËÒá¨Ô ¡ÒúҌ ¹àÁÍ× §·è´Õ Õ ¾.È.òõôö ซง่ึ แนวคดิ เรอ่ื งการบรหิ ารจัดการ
บา นเมอื งทดี่ ตี ามพระราชกฤษฎกี าฯ ไดข ยายกรอบแนวคดิ จากเดมิ เพอื่ ใหค รอบคลมุ ในเรอื่ งการบรหิ ารงาน

๑๗

ภาครัฐแนวใหมซึ่งรวมถึงการเปนองคกรแหงการเรียนรู (Learning Organization) และการจัดการ
เรยี นรู (Knowledge Management) นอกจากน้ี กระทรวงมหาดไทย ไดก ลาวถงึ ๑๑ องคประกอบ
ในการสรา งเสรมิ การบรหิ ารกิจการบา นเมอื งและสังคมทีด่ ี ดงั น้ี

ñ. ¡ÒÃÁÊÕ Ç‹ ¹ÃÇ‹ Á (Participation) เปน การมสี ว นรว มของทงั้ ประชาชนและเจา หนา ทร่ี ฐั
ในการบริหารงาน เพ่ือใหเกิดความคิดริเร่ิมและพลังการทํางานท่ีสอดประสานกัน เพ่ือใหบรรลุ
เปา หมายในการบรหิ ารงานบคุ คล

ò. ¤ÇÒÁÂÑè§Â×¹ (Sustainable) มกี ารบริหารทีอ่ ยบู นหลกั ของความสมดลุ ท้ังในเมือง
และชนบท ระบบนเิ วศและทรพั ยากรทางธรรมชาติ

ó. »ÃЪҪ¹ÁÕ¤ÇÒÁÃÙŒÊÖ¡Ç‹Ò໚¹ÊÔ觷ÕèªÍº¸ÃÃÁ (Legitimate) áÅÐãËŒ¡ÒÃÂÍÁÃѺ
(Acceptance) การดาํ เนนิ งานของแตล ะหนว ยงาน สอดคลอ งกบั ความตอ งการของประชาชน ประชาชน
พรอมทจี่ ะยอมสูญเสียผลประโยชนส ว นตนไปเพื่อประโยชนสว นรวมที่ตองรบั ผิดชอบรวมกัน

ô. ¤ÇÒÁâ»Ã§‹ ãÊ (Transparency) ขอ มลู ตา ง ๆ ตอ งตรงกบั ขอ เทจ็ จรงิ ของการดาํ เนนิ การ
และสามารถตรวจสอบได มีการดําเนินการท่ีเปดเผย ชดั เจน และเปน ไปตามท่ีกาํ หนดไว

õ. ʧ‹ àÊÃÁÔ ¤ÇÒÁ໹š ¸ÃÃÁ (Equity) áÅФÇÒÁàÊÁÍÀÒ¤ (Equality) มกี ารกระจาย
การพฒั นาอยา งท่วั ถงึ เทาเทยี มไมม ีการเลือกปฏิบัติ และมีระบบการรับเร่ืองราวรองทุกขท่ชี ัดเจน

ö. Á¤Õ ÇÒÁÊÒÁÒö·¨Õè о²Ñ ¹Ò·Ã¾Ñ ÂÒ¡ÃáÅÐÇ¸Ô ¡Õ ÒúÃËÔ Òá¨Ô ¡ÒúҌ ¹àÁÍ× §áÅÐ椄 ¤Á
·´èÕ Õ เจาหนาท่ีของทกุ หนวยงานจะตองไดรบั การพฒั นาความรูแ ละทกั ษะเพอ่ื สามารถนาํ ไปปรบั ใชกับ
การทํางานได และมีการกําหนดขั้นตอนการดําเนินงานท่ีชัดเจนเพื่อใหทุกหนวยงานยึดถือเปนแนว
ปฏิบตั ิรวมกนั

÷. ʧ‹ àÊÃÁÔ ¤ÇÒÁàÊÁÍÀÒ¤·Ò§à¾È (Promoting Gender Balance) เปด โอกาสใหส ตรี
ท้ังในเมืองและชนบทเขา มามสี ว นรว มในการพฒั นาชุมชนและสงั คมในทกุ ๆ ดาน โดยเฉพาะอยางยิง่
ใหเขา มามสี ว นรวมในการปกครองทอ งถิ่นมากขน้ึ

ø. ¡ÒÃÍ´·¹Í´¡Å¹éÑ (Tolerance) áÅСÒÃÂÍÁÃºÑ (Acceptance) ตอ ทศั นะทห่ี ลากหลาย
(Diverse Perspectives) รวมทั้งตองยุตขิ อขดั แยง ดว ยเหตุผล หาจดุ รวมทที่ ุกฝา ยยอมรบั รวมกนั ได

ù. ¡ÒôÓà¹¹Ô ¡ÒÃμÒÁËÅ¡Ñ ¹μÔ ¸Ô ÃÃÁ (Operating by Rule of Law) พฒั นาปรบั ปรงุ
แกไ ขและเพิม่ เติมกฎหมายใหม คี วามทันสมยั และเปนธรรม

ñð. ¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍº (Accountability) เจา หนา ทจ่ี ะตอ งมคี วามรบั ผดิ ชอบตอ ประชาชน
ความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงาน จะเปนตัวช้ีวัดสําคัญในการประเมินความสําเร็จของ
หนวยงานและเจา หนาที่

ññ. ¡ÒÃ໚¹¼ÙŒ¡íҡѺ´ÙáÅ (Regulation) แทนการควบคุม โอนงานบางอยางไปให
องคกรทองถ่นิ ซงึ่ ใกลช ดิ กบั ประชาชนทสี่ ดุ หรอื งานบางอยา งก็ตองแปรรูปใหเอกชนดําเนินการแทน

ดังน้ันจึงเห็นไดวา การเสริมสรางธรรมาภิบาลมุงใหความสําคัญกับการพัฒนา “คน”
ในทกุ กลมุ ทกุ ภาคสว นของสงั คมไทย ใหม พี น้ื ฐานทางจติ ใจทย่ี ดึ มน่ั ใน “คณุ ธรรม” “จรยิ ธรรม” “ความซอื่ สตั ย

๑๘

สจุ รติ ” และ “ความรอบร”ู อนั เปน เงอื่ นไขทจ่ี ะทาํ ใหเ กดิ การประพฤตปิ ฏบิ ตั ติ นไดอ ยา ง “มเี หตผุ ล” “รจู กั
สทิ ธิ หนา ท”่ี และ “ความรบั ผดิ ชอบในฐานะพลเมอื งไทย” ตามระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ 
ทรงเปนพระประมุข พรอมท้ังใหความสําคัญเก่ียวกับการเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับระบบ
โครงสราง กลไกที่เปดโอกาสใหทุกภาคสวนพรอมทั้งการปฏิรูปกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวของกับ
การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพื่อสราง “สมดุล” ในการจัดสรรและกระจายผลประโยชนจากการ
พฒั นาใหท ว่ั ถงึ และเปน ธรรม รวมทงั้ สรา งความมน่ั คงของประเทศและสงั คมใหม คี วามอยรู อดปลอดภยั
อันจะเปน “ภูมิคุมกัน” และสงเสริมใหเกิดการบริหารจัดการและการพัฒนาประเทศใหเกิดดุลยภาพ
ท้ังในมิติของเศรษฐกิจ สงั คม ทรพั ยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และความม่นั คง ซึง่ จะนําไปสสู ันตสิ ขุ
และยัง่ ยืน

ô. »Þ˜ ËÒ¡ÒâҴ¸ÃÃÁÒÀÔºÒÅ

การขาดธรรมาภิบาลในสังคมไทย จะแกไขปญหาไดดวยการปลูกจิตสํานึก เรียนรูและ
เขา ใจคา นยิ มทถ่ี กู ตอ งใหแ กเ ดก็ และเยาวชนในวนั นท้ี จ่ี ะเตบิ ใหญเ ปน พลงั สาํ คญั ในการพฒั นาประเทศ
ในวนั ขา งหนา ทส่ี าํ คญั พวกเขาเหลา นน้ั ตอ งตระหนกั ถงึ ความสาํ คญั ของคาํ วา “ธรรมาภบิ าล” สงั คมไทย
ตองปรับเปล่ียนคานิยมซ่ึงหมายถึงสิ่งที่คนๆ หนึ่งยึดถือวามีคุณคาและเปนกฎเกณฑการตัดสินใจ
เลอื กกระทําในสงิ่ ตางๆ คา นยิ มเปน ปจ จยั สําคญั ที่กําหนดพฤติกรรมคอรร ปั ชัน ไดแ ก

ñ. ¤‹Ò¹ÔÂÁã¹Êѧ¤ÁÍØ»¶ÑÁÀ ในความเปนจริงนั้น ระบบอุปถัมภมีสภาพเปน “กลาง”
ดงั นน้ั ระบบอปุ ถมั ภจ ะสง ผลใหเ กดิ คณุ หรอื โทษจงึ ขน้ึ อยกู บั การนาํ ไปใชข องคนในสงั คม อาจกลา วไดว า
ในทกุ ๆ ระบบของสงั คมจําเปน จะตอ งมรี ะบบอปุ ถมั ภเ ปน ตวั เชอ่ื มประสานอยู และในสงั คมไทยเชน กนั
หากไมมีระบบอุปถัมภเสียเลย สังคมไทยอาจจะอยูไมได เพราะจะกลายเปนสังคมที่เห็นแกตัว
และคนในสงั คมขาดการพง่ึ พาซงึ่ กนั และกนั ได เปน ตน แตอ ยา งไรกต็ ามตอ งยอมรบั วา คา นยิ มในสงั คม
อุปถัมภที่ใชอยางไมถูกตองเปนสาเหตุสําคัญของการฉอราษฎรบังหลวง ทั้งในวงการการเมืองและ
ในวงการราชการ อาทิ

ñ.ñ ¤‹Ò¹ÔÂÁ¤³Ð¹ÔÂÁ คานิยมในระบบอุปถัมภมักนําไปสูการเลนพรรคเลนพวก
จึงเปนเหตุใหขาราชการถือประโยชนของพวกพองมากกวาประโยชนของสวนรวม ภายในระบบ
จะยดึ โยงกนั เปน เครอื ขา ยอปุ ถมั ภต ามความสมั พนั ธส ว นบคุ คล พจิ ารณาวา บคุ คลใดเปน พวกพอ งมากกวา
การพิจารณาความรูความสามารถหรือผลงาน หรือการละเลยการกระทําผิดของคนรูจัก ครอบครัว
ญาติพนี่ อง หรือคนทใี่ หผ ลประโยชนแกต น คือ มไิ ดมองวาการกระทําดงั กลา วเปน การกระทําผดิ ตอ
ชาตบิ า นเมอื ง

ñ.ò ¤Ò‹ ¹ÔÂÁ¹éíÒ¾Öè§àÃ×Í àÊÍ× ¾Ö§è »Ò† สงั คมไทยมีความสัมพันธแ บบอุปถัมภทชี่ ดั เจน
ลักษณะของการอปุ ถมั ภจะอยูในลักษณะ “น้ําพง่ึ เรือ เสือพึ่งปา” เพือ่ หวงั ผลประโยชนตอบแทนซึ่งกนั
และกัน อาทิ ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชากับลูกนอง ขาราชการการเมืองกับขาราชการ

๑๙

ประจาํ ประชาชนกับขาราชการ ประชาชนกับนักการเมือง ตางฝา ยตางตองพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกนั
และมีการแลกเปล่ียนผลประโยชนตางตอบแทนท้ังในดานวัตถุและจิตใจโดยไมคํานึงถึงความถูกตอง
ชอบธรรม

ñ.ó ¤‹Ò¹ÔÂÁ¡μÑސ٠ขอดีประการหน่ึงของระบบอุปถัมภคือ การสงเสริมใหเกิด
คา นยิ มของความกตญั รู คู ณุ คน อนั เปน เหตใุ หค นทเี่ คยไดร บั การชว ยเหลอื มคี วามปรารถนาทจ่ี ะตอบแทน
คนทท่ี าํ ความดใี หก บั ตน ซง่ึ เปน สง่ิ ทดี่ งี ามหากกระทาํ อยา งเหมาะสม แตอ ยา งไรกต็ ามคา นยิ มดงั กลา ว
สง ผลใหเ กดิ การสง เสรมิ การคอรร ปั ชนั ขนึ้ ดว ย เชน การละเมดิ กฎเกณฑร ะเบยี บของราชการเพอ่ื ชว ยเหลอื
ผูมีพระคุณ การจําใจตองรับเด็กฝาก เด็กเสน การชวยเหลือผูกระทําผิด เพราะตนเองเคยไดรับ
ความชวยเหลือจากผูนั้นมากอ น

ò. ¤‹Ò¹ÔÂÁã¹Êѧ¤Á¸¹Ò¹ÔÂÁ สังคมไทยอยูภายใตระบบธนาธิปไตย คือ อธิปไตยที่
เกิดจากเงนิ หากใครมเี งินจะสามารถเปน ใหญไ ด สงั คมปจ จุบัน กลายเปนสงั คมท่ี “เหน็ เงนิ เปน ใหญ”
สังคมวัดฐานะกันที่เงินโดยไมสนใจวาจะไดมาดวยวิธีใดก็ตาม คานิยมดังกลาวสงผลกระทบตอระบบ
ราชการอยา งใหญห ลวง เพราะขา ราชการไดร บั เงนิ เดอื นนอ ย การปรบั เงนิ เดอื นขา ราชการยงั ไมข านรบั
กับดัชนีคาครองชีพ เมื่อบวกกับคานิยมยกยองคุณคาเงินตราของคนในสังคม ยิ่งทําใหขาราชการ
เกดิ ความปรารถนาอยากไดเ งนิ ทอง วตั ถปุ ระสงค เครอื่ งอาํ นวยความสะดวกตา งๆ ในชวี ติ เพอื่ ใหเ ทา เทยี ม
ผอู น่ื ในสงั คม ในขณะทชี่ อ งทางทเี่ ออ้ื อาํ นวยและงา ยตอ การไดม าซง่ึ ทรพั ยส นิ คอื การคอรร ปั ชนั นนั่ เอง
คา นิยมในสงั คมธนานิยมอนั เปนเหตุใหเกดิ คอรรัปชนั อาทิ

ò.ñ ¤Ò‹ ¹ÂÔ Á¡ÂÍ‹ §à§¹Ô ÁÒ¡¡ÇÒ‹ ¤ÇÒÁ´áÕ ÅФÇÒÁ¶¡Ù μÍŒ § ปจ จบุ นั เรยี กไดว า สงั คมไทย
เปนสังคมท่ี “เงินเปนใหญกวากฎ” เพราะเงินสามารถแลกกับความถูกตองได คานิยมสังคมยกยอง
สรรเสริญคนรวยมากกวาคนท่ีกระทําความดี โดยไมสนใจวาจะไดเงินน้ันดวยวิธีใด สงผลใหคนใน
สงั คมมงุ แสวงหาความมงั่ คงั่ ใหก บั ตนเองอยา งไมจ าํ กดั วธิ ี เพอื่ ใหไ ดเ งนิ ทเี่ รว็ ทส่ี ดุ และงา ยทส่ี ดุ โดยขาด
ความตระหนักในจริยธรรมเร่ืองความซื่อสัตย เพราะคิดวาคนท่ีซื่อสัตยมักจะไมมีเกียรติและยากจน
จึงตอ งกลายเปน ผูท คี่ นในสังคมดถู กู ดแู คลน

ò.ò ¤Ò‹ ¹ÂÔ Á¡ÂÍ‹ §ÇμÑ ¶Ø ªÍè× àÊÂÕ § à¡ÂÕ ÃμÂÔ È ในประวตั ศิ าสตรส งั คมไทยมกี ารแบง
ชนชั้นวรรณะอยางชัดเจนในภาคปฏิบัติ คนในสังคมสวนใหญยอมจํานนตอเกียรติท่ีไดรับมาจาก
ชาตติ ระกลู และความมงั่ คง่ั เมอื่ บวกกบั กระแสวตั ถนุ ยิ มและเสรนี ยิ มคนไทยสว นใหญจ งึ แสวงหาผลประโยชน
ใหกับตนเองเพ่ือยกระดับฐานะของตนใหเทาเทียมกับคนท่ีมั่งค่ังในสังคม จนกลายเปนความละโมบ
และความเหน็ แกต วั ทส่ี รา งความเสยี หายแกส ว นรวม โดยสงั คมพยายามใหเ หตผุ ลสนบั สนนุ การกระทาํ
เชนนี้วาเปนส่ิงท่ีถูกตอง เพราะมีคานิยมที่เห็นวา ถาใครสามารถโกงผูอ่ืนไดมากโดยผูอ่ืนไมสามารถ
ทําอะไรเขาได คนผูน ัน้ เปน คนท่ฉี ลาดและสังคมท่ีมคี นทท่ี ําเชน นัน้ มากจะเปนสงั คมท่ีฉลาดดวย

ò.ó ¤Ò‹ ¹ÔÂÁÂÖ´ËÅ¡Ñ »¯ÔºÑμÔ¹ÂÔ ÁÁÒ¡¡ÇÒ‹ ËÅ¡Ñ ¡ÒùÔÂÁ สังคมไทยยดึ คา นิยมปฏิบัติ
นิยมมากกวาหลักการนิยม โดยมีการเห็นวาสิ่งใดท่ีทําแลวตนเองไดรับประโยชนมากกวาจะเลือกทํา

๒๐

ส่ิงนน้ั สง ผลใหการคอรรปั ชนั เปน สงิ่ ท่ีทาํ ได หากทาํ แลวตนเองไดประโยชน แมจ ะทําในส่งิ ท่ีไมถูกตอ ง
หรือทําดวยวิธีการไมถูกตอง หรือทําไมถูกกฎระเบียบก็ตาม คานิยมเชนนี้ทําใหเกิดการละเลยที่จะ
ตระหนกั ถงึ ผลเสยี ของการคอรร ปั ชนั ทใี่ นทสี่ ดุ จะตกแกร ะบบราชการ ประชาชน และสงั คมโดยสว นรวม

ó. ¤Ò‹ ¹ÂÔ Áã¹Ê§Ñ ¤ÁÃÌ٠¡Ñ ÉÒμÇÑ Ãʹ໹š ÂÍ´´Õ สาเหตขุ องความลม เหลวในการปราบปราม
การคอรร ปั ชนั ประการหนงึ่ คอื การทสี่ งั คมยดึ คา นยิ ม “รรู กั ษาตวั รอดเปน ยอดด”ี หรอื การรจู กั เอาตวั รอด
จากสถานการณรายตาง ๆ โดยใชทุกวิถีทางไมขึ้นกับวาทางนั้นถูกตองชอบธรรมหรือไม ขอเพียง
ทําใหชีวิตตนเองพนภัยหรือไดรับผลประโยชนอ่ืนๆ ถือเปนทางเลือกท่ีฉลาดแลว คานิยมในสังคม
รูรักษาตัวรอดเปน ยอดดีทเี่ ปน สาเหตุใหเ กดิ การคอรรัปชันท้ังทางตรงและทางออ ม อาทิ

ó.ñ ¤Ò‹ ¹ÂÔ Áà¢ÒŒ àÁÍ× §μÒËÅÇÔè μÍŒ §ËÅÇèÔ μÒμÒÁ โดยปกตแิ ลว การวา ยทวนนาํ้ ยอ มยาก
ลําบาก และอาจไปไมถ งึ ฝง แตการวายตามนา้ํ งายสบายและถึงฝง อยางปลอดภัย เชนเดียวกบั ระบบ
คอรร ปั ชนั ทฝ่ี ง ลกึ ในระบบราชการและระบบการเมอื ง มกั จะเปน เหตใุ หข า ราชการใหมซ งึ่ กาํ ลงั เปน คนไฟแรง
มีอุดมการณ มีความมุงม่ันตั้งใจที่จะทํางาน ตองถูกดึงดวยอิทธิพลของระบบกินตามน้ํา คนท่ี
วา ยทวนกระแสไมไ หวจะกลายเปน “แกะดาํ ” ทค่ี นอน่ื ไมค บคา ดว ย จนในทสี่ ดุ ตอ งหลดุ ออกจากระบบไป
ในขณะเดยี วกนั คนอกี จาํ นวนไมน อ ยตดั สนิ ใจยอมทาํ ตามระบบเพอ่ื ความอยรู อด ดว ยเหตนุ จี้ งึ ยงั ไมม ี
ใครตอตานหรือกวาดลางการคอรรัปชันในระบบใหหมดไปไดตราบเทาที่คานิยม “เขาเมืองตาหลิ่ว
ตองหลิ่วตาตาม” ยังคงมีอทิ ธิพลตอขาราชการรุนใหมๆ อยู

ó.ò ¤‹Ò¹ÔÂÁÍ‹Òá¡Ç‹§à·ŒÒËÒàÊéÕ¹ การคอรรัปชันยังเปนมะเร็งรายเรื้อรัง
ในระบบราชการและระบบการเมือง สาเหตุประการหนึง่ เนอ่ื งจากไมมีใครกลาเปน พยานโจทก มีการ
วิเคราะหไววา การนําตัวพยานบุคคลมาข้ึนศาลน้ันเปนการยาก เน่ืองจากธรรมเนียมประเพณีของ
คนไทยนน้ั มคี าํ พงั เพยอยวู า “กนิ ขห้ี มาดกี วา ขน้ึ ศาล” “คา ขดี้ กี วา คา ความ” “อยา แกวง เทา หาเสยี้ น” และ
“บา นเมอื ง ไมใ ชข องเราคนเดยี ว ใครกนิ ใครโกงกช็ า งหวั มนั ” หรอื หากโจทกพ สิ จู นไ มไ ดว า จาํ เลยผดิ จรงิ
อาจถกู ฟอ งกลับในฐานะหมน่ิ ประมาทได ทางการจงึ ไมจับคนผดิ มาลงโทษได แมจ ะมีตวั บทกฎหมาย
ทเ่ี ขม งวดเพยี งใดก็ตาม

ó.ó ¤Ò‹ ¹ÂÔ Á»Ãй»Õ ÃйÍÁ สงั คมไทยมลี กั ษณะปฏบิ ตั กิ ารนยิ มมากกวา อดุ มการณ
นิยม ซึ่งสะทอนออกมาชัดเจน เชน การที่โดยท่ัวๆ ไป คนไทยไมชอบการตัดสินปญหาในลักษณะ
โผงผาง แตกหกั แตจ ะนยิ มการผอ นปรนรอมชอมเขา หากนั เมอื่ มกี รณขี ดั แยง ไมว า จะเปน ในครอบครวั
ในทที่ าํ งาน หรือในระดับประเทศชาติก็ตาม

ô. ¤‹Ò¹ÔÂÁã¹Êѧ¤ÁÍíÒ¹Ò¨¹ÔÂÁ ในสมัยอยุธยาอาชีพท่ีถือวาเปนเกียรติและศักด์ิศรี
มากท่สี ดุ คืออาชพี “รับราชการ” บคุ คลทเ่ี ปน ขา ราชการจะอยูในฐานะผูป กครอง ซง่ึ เตม็ เปย มไปดวย
อํานาจ เกยี รติยศ บรรดาศักดิ์ ช่อื เสยี ง ขาทาสบรวิ าร และมเี สถียรภาพในการดําเนินชีวติ ขา ราชการ
ในอดตี ถอื อยใู นฐานะเปน “นาย” ของประชาชน เนอ่ื งจากมฐี านะทางสงั คมสงู กวา ประชาชนตามการ
กําหนดโดยระบบศักดินา ประชาชนซึ่งเปนชนช้ันผูถูกปกครองตางใหความเคารพยําเกรงขาราชการ

๒๑

เพราะเปน ผปู กครองทมี่ อี าํ นาจในการใหค ณุ และโทษได แมใ นปจ จบุ นั ขา ราชการจะมสี ถานะและสภาพ
ที่เปล่ียนแปลงไป แตยังคงมีลักษณะความคิดและการปฏิบัติเชนสมัยเดิมหลงเหลือไวใหเห็นอยูบาง
คานยิ มในสังคมอํานาจนิยมที่สงผลใหเกิดการคอรร ัปชนั ได

คานิยมท่ีใหคุณคาในสิ่งท่ีผิดเหลาน้ี อาจสงผลกระทบใหคนในสังคมตองเดินหนาอยูใน
สงั คมทล่ี าํ บากยงิ่ ขนึ้ เพราะเขาไมส ามารถเดนิ หนา อยบู นเสน ทางแหง ความถกู ตอ งไดอ ยา งมน่ั คง เพราะ
เสน ทางนนั้ คนในสงั คมไมย อมรบั เชน เขาไมส ามารถไดร บั การยกยอ งใหเ กยี รติ หากเขาเปน ขา ราชการ
ท่ซี ่ือสัตยแตยากจน เขาจะไมสามารถทําธุรกิจใดๆ ไดอยางประสบความสําเร็จหากไมเรียนรูทจี่ ะจา ย
คานํ้ารอนนํ้าชาบาง และเขาอาจจะอยูในตําแหนงเดิมตลอดชีวิตเพียงเพราะเขาไมไดเลนพรรค
เลน พวกกบั หวั หนา งาน ฯลฯ คา นยิ มเชน น้ี สง ผลใหไ มม ผี กู ลา หาญเพยี งพอทจ่ี ะยนื หยดั อยบู นความถกู ตอ ง
ชอบธรรมได เพราะในที่สุดจําตองไหลไปกับระบบ กลายเปนคนท่ีกระทําความผิดตามกฎหมายไป
เพยี งเพ่ือที่จะอยรู อดและไดรับการยอมรับจากคนในสงั คม คานิยมตางๆ เหลา นีส้ ง ผลกระทบใหการ
คอรร ปั ชนั กลายเปน เนอ้ื รา ยในสงั คม คนในสงั คมจาํ นวนไมน อ ยปลอ ยใหเ กดิ ขน้ึ และไมม คี วามเดอื ดเนอ้ื
รอนใจอยางรุนแรงทจี่ ะตดั มันทง้ิ ไป สังคมทใ่ี หค ุณคาผดิ ๆ เชน นี้จงึ เปน อุปสรรคอยา งมากในการท่ีใคร
สักคนจะยนื หยดั ในสง่ิ ท่ถี ูกตองและดีงาม นน่ั เปนเพราะสงั คมขาดธรรมาภิบาล

õ. ¡ÒÃÊÃÒŒ §¸ÃÃÁÒÀºÔ ÒÅμ‹ÍμÒŒ ¹¡Ò÷¨Ø ÃÔμ

คา นยิ มและคณุ สมบตั ทิ พี่ งึ ปรารถนาของพลเมอื งไทยทจ่ี ะทาํ ใหป ระเทศมรี ะบบธรรมาภบิ าล
ทดี่ ี และแกไ ขปญ หาเปน การปอ งกนั ปราบปรามการทจุ รติ จาํ เปน ตอ งมกี ารกาํ หนดคณุ ลกั ษณะทดี่ ขี อง
พลเมืองในประเทศ เชน

ñ. «Íè× ÊÑμÂʏ بÃÔμ (Honesty and Integrity) แนวคิดคอื การดําเนินชวี ิตในสังคมนน้ั
ความซ่ือสัตยสุจริตเปนเรื่องท่ีสําคัญและจําเปน ไมวาจะซื่อสัตยตอตนเองหรือผูอื่น ดังน้ัน การท่ี
เราจะมีความซื่อสัตยสุจริตน้ัน เราจะตองปลูกฝงและสรางจิตสํานึกเกี่ยวกับความซื่อสัตยสุจริต
อยา งถกู ตอ ง และใหเ หน็ โทษของการไมซือ่ สตั ยส จุ รติ วา จะสง ผลตอตนเองและสังคมอยา งไร

ò. ¨μÔ ÊÒ¸ÒóР(Greater Good and Public Spirit) แนวคดิ คอื การอยรู ว มกนั ของ
สมาชกิ ในสงั คมหนง่ึ นน้ั ตอ งอาศยั ความเออ้ื เฟอ เผอ่ื แผ ความเขา ใจซงึ่ กนั และกนั รวมทง้ั การทส่ี มาชกิ
ในสังคมคิดและทาํ เพอื่ สว นรวม รูจกั การใหเ พ่อื สงั คม ไมเห็นแกป ระโยชนส วนตนเปนใหญ และพรอม
ทีจ่ ะเสียสละหรอื ชว ยปกปอ งผลประโยชนของสว นรวม

ó. ¤ÇÒÁ໹š ¸ÃÃÁ·Ò§Ê§Ñ ¤Á (Fairness and Justice) แนวคดิ คือทุกคนควรไดร บั
ความเปนธรรมอยางเสมอภาคและเทา เทียมกนั ไมว า จะแตกตา งกันดว ยเช้ือชาติ ศาสนา ภูมกิ ําเนดิ
ฐานะ หรือการศึกษา และตองไมละเมิดสิทธิของผูอื่นดวย ดังน้ัน การใหความเคารพในศักดิ์ศรี
ความเปน มนษุ ยข องผอู นื่ การไมเ อาเปรยี บผอู นื่ และการเขา ใจสทิ ธแิ ละหนา ทขี่ องตนเองจะชว ยใหเ กดิ
ความเปนธรรมในสังคมไดม ากข้นึ

๒๒

ô. ¡ÃзÒí ÍÂÒ‹ §ÃºÑ ¼´Ô ªÍº (Responsibility and Accountability) แนวคดิ คอื ในทกุ สงั คม
ประกอบดวยสมาชิกหรือบุคคลท่ีแตกตางหลากหลายตามบทบาทและหนาที่ตางๆ ที่เหมือนกันบาง
และตา งกนั บา ง ตง้ั แตเ ปน สมาชกิ ของครอบครวั สมาชกิ ของโรงเรยี น สมาชกิ ของทที่ าํ งาน และสมาชกิ
ของสังคม ดังน้ัน การอยูรวมกันอยางสันติสุขเขาใจซึ่งกันและกัน ไมละเมิดผูอ่ืนและพรอมยอมรับ
ในการกระทาํ ของตนเองนนั้ สมาชกิ ทกุ คนจะตอ งเขา ใจความรบั ผดิ ชอบในบทบาทและหนา ทขี่ องตนเอง
และบคุ คลตา ง ๆ รวมทงั้ การปฏบิ ตั หิ นา ทตี่ า ง ๆ อยา งมคี วามรบั ผดิ ชอบพรอ มทจ่ี ะใหม กี ารตรวจสอบได
มีความเคารพตอ กฎเกณฑกติกาอยา งมีวนิ ยั

õ. ໚¹Í‹ÍÙ ÂÒ‹ §¾Íà¾ÂÕ § (Sufficiency and Moderation) แนวคิดคือการดาํ เนิน
ชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งนน้ั ถอื วา เปน แบบอยา งทด่ี ที ค่ี วรเลอื กปฏบิ ตั ิ การรจู กั ความพอดี
พอประมาณในการใชช วี ติ การรสู กึ พอใจในสง่ิ ทตี่ นเองมอี ยู การรปู ระหยดั และรคู ณุ คา สง่ิ ของเปน เรอ่ื ง
สําคัญในการสรางนิสัยที่เปนอยูอยางพอเพียง จะไมทําใหเกิดการด้ินรนแบบเห็นแกตัวและขาดสติ
ไมเอาเปรียบผอู ่ืนและสงั คมในภาพรวมดวย

๒๓

º··Õè ó

»ÃÐàÀ·áÅÐÃٻẺ¢Í§¡Ò÷بÃμÔ

ñ. ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÂÕ ¹»ÃШӺ·

๑.๑ เพ่อื ใหนกั เรียนนายสบิ ตาํ รวจไดท ราบถงึ รปู แบบของการทจุ ริต
๑.๒ เพื่อใหนักเรียนนายสิบตํารวจไดทราบถึงผลกระทบของการทุจริตตอการพัฒนา
ของประเทศ

ò. ÊÇ‹ ¹¹Ó

ระบบอุปถัมภ เม่ือแปรเปล่ียนไปเปนการกระทําเพื่อตองการผลประโยชนตอบแทน
โดยมิชอบท้ังทางดานกฎหมายหรือศีลธรรม ไมวาจะเปนการทําเพ่ือประโยชนสวนตัวหรือพวกพอง
กต็ าม ยอ มสง ผลกระทบทางดา นลบตอ สงั คมโดยรวม ซง่ึ ในประเทศไทยการทจุ รติ ไมใ ชป ญ หาเลก็ นอ ย
หากมีผลกระทบกระเทอื นท้ังทางดา นสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง

ó. à¹×Íé ËÒμÒÁËÑǢ͌

๓.๑ ความหมายและประเภทของการทจุ ริต
๓.๒ กฎหมายทม่ี บี ทบญั ญตั ซิ งึ่ แสดงใหเ หน็ ถงึ รปู แบบและวธิ กี ารทจุ รติ ในองคก รภาครฐั

ô. ʋǹÊÃØ»

สรปุ ไดว า องคป ระกอบทส่ี าํ คญั ในการพจิ ารณาวา การกระทาํ ใดเปน การทจุ รติ หรอื ไม คอื
การกระทํานั้นมีลักษณะเปน การแสวงหาประโยชนอ นั มคิ วรไดโดยชอบสําหรับตน พวกพอ ง หรอื ผูอื่น
ไมวาจะเปนประโยชนใ นทางทรัพยสนิ หรือไม โดยอาศยั ตําแหนง หนา ท่ีหรอื อาํ นาจที่ไดรับมอบหมาย

õ. ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ð¹Ó

ผูสอนต้งั ปญ หาใหน กั เรียนวนิ ิจฉัยเปนรายบคุ คล และสวนรวม เพ่อื ใหรจู ักคิด วเิ คราะห
และวิจารณเ นื้อหาทเี่ รยี น ดว ยการนําเทคนิค วิธีการตา ง ๆ ซ่ึงสามารถบรู ณาการความคดิ ได

ö. ÃÒ¡ÒÃÍÒŒ §Í§Ô

แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อสรางความตระหนักรูและมีสวนรวมในการ
ปอ งกนั การทจุ รติ ของสาํ นกั งาน ป.ป.ช.

๒๔

“การทุจริต” เปนปญหาสําคัญที่อยูคูกับสังคมมาชานาน ไมวาจะเปนประเทศใด ๆ
ในโลก เร่ืองของการทุจริตยอมมีขึ้นและแทรกซึมอยูทุกภาคสวน แตสําหรับประเทศไทย ต้ังแตอดีต
จนถงึ ปจ จบุ นั “การทจุ รติ ” เปน ปรากฏการณท เ่ี กดิ ขน้ึ จากพฒั นาการของระบบอปุ ถมั ภใ นอดตี ระหวา ง
ผูท่ีมีอํานาจหรือมีสถานภาพที่เหนือกวากับผูท่ีดอยกวา ในลักษณะที่ตองพึ่งพาอาศัยซ่ึงกันและกัน
โดยผทู ่ีมีอาํ นาจเหนอื กวา หรืออาจจะเรียกวา “ผใู หญ” เปนทีค่ าดหมายไดว า จะตองปกปองคุมครอง
ผูที่ดอยกวา หรือ “ผูนอย” ซ่ึงมีสวนรวมของผลประโยชนอยูดวย ในขณะเดียวกัน “ผูนอย” ก็ตอง
ทําหนาท่ีสนับสนุน “ผูใหญ” ในทุกวิถีทางเทาท่ีสามารถจะทําได โดยทั้งสองฝายยืนอยูบนรากฐาน
ของความซ่ือสัตยตอกันและปรารถนาถึงส่ิงงอกเงยท่ีจะไดรับ และเมื่อใดก็ตามที่การอุปถัมภค้ําชู
ดงั กลา วแปรเปลยี่ นไปเปน การกระทาํ เพอ่ื ตอ งการผลประโยชนต อบแทนโดยมชิ อบทงั้ ทางดา นกฎหมาย
หรอื ศลี ธรรม ไมว า จะเปน การทาํ เพอ่ื ประโยชนส ว นตวั หรอื พวกพอ งกต็ าม ยอ มสง ผลกระทบทางดา นลบ
ตอสังคมโดยรวม ซ่ึงในประเทศไทยการทุจริตไมใชปญหาเล็กนอย หากมีผลกระทบกระเทือนทั้งทาง
ดา นสงั คม เศรษฐกจิ และการเมอื ง และยงิ่ ในปจ จบุ นั ทพี่ ฒั นาการของการทจุ รติ เรม่ิ ทาํ อยา งเปน ระบบ
โดยมิใชแคการทุจริตของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หากแตเปนการรวมมือกันทุจริตของกลุมบุคคลกลุมใด
กลมุ หน่งึ หรือหลายกลุม

ñ. ÊÒàËμ¢Ø ͧ¡Ò÷بÃμÔ

สาเหตขุ องการทจุ รติ โดยทวั่ ไปสามารถอธบิ ายไดอ ยา งนอ ยทสี่ ดุ ๕ ทฤษฎที างสงั คมศาสตร
คอื

ทฤษฎีดานศลี ธรรม (Moral approach) เปนการอธิบายสาเหตุมาจากความไมซือ่ สตั ย
ของบคุ คลสาธารณะ

ทฤษฎดี า นโครงสรา งนยิ ม (Structural approach) เปน การอธบิ ายสาเหตมุ าจากเงอื่ นไข
และอทิ ธิพลของรฐั สังคม และชมุ ชน

ทฤษฎีดานหนาที่นิยม (Functional approach) เปนการอธิบายสาเหตุมาจาก
ความสัมพันธร ะหวางการพัฒนากับการสรา งสังคมทท่ี นั สมัย และความสัมพนั ธร ะหวา งระบบทุนนิยม
กบั ระบอบประชาธปิ ไตยทส่ี ะทอ นออกมาซง่ึ ความออ นแอของสถาบนั การเมอื งและความออ นแอของ
ภาคประชาสังคม หรือการปรับตัวขององคกรของรัฐท่ีชากวาการเปลี่ยนแปลงของระบบธุรกิจ ทําให
นักการเมืองสามารถหาผลประโยชนไ ด

ทฤษฎดี า นสถาบนั นยิ ม (Institutional approach) เปน การอธบิ ายในแงม มุ ของกฎหมาย
การไมแ ยกบทบาทของฝา ยบรหิ ารกบั ฝา ยตลุ าการออกจากกนั ใหเ ดด็ ขาด จะทาํ ใหร ะบบการตรวจสอบ
ฝายบริหารออ นแอ เปน ตน และ

ทฤษฎดี านเศรษฐศาสตรก ารเมือง (Political economy approach) ซ่งึ มองการทุจรติ
คอรร ปั ชนั วา มคี วามซบั ซอ นและมรี ปู แบบทหี่ ลากหลายซงึ่ สามารถทาํ ความเขา ใจไดจ ากการใชม มุ มอง
ทางประวัตศิ าสตรและปจ จัยทางการเมอื งประกอบกนั

๒๕

ในมุมมองของนักวิชาการตางประเทศไดกลาวถึง ปจจัยสําคัญท่ีมีอิทธิพลตอการเกิด
คอรร ปั ชัน ๙ ประการ ไดแก

(๑) ระบบอุปถมั ภ
(๒) ความไมเ ทาเทยี มกนั ของฐานะทางเศรษฐกจิ สังคม และการเมอื ง
(๓) สงั คมบรโิ ภคนยิ มทม่ี ชี อ งวา งระหวา งความตอ งการกบั ความสามารถในการตอบสนอง
สินคาและบรกิ าร
(๔) การมีอํานาจในการควบคุมและแทรกแซงทมี่ ากหรอื นอ ยเกินไปของรฐั
(๕) การมรี ะเบียบกฎเกณฑที่มากหรอื นอยเกนิ ไป
(๖) การขยายขอบเขตของบทบาทหนา ทขี่ องรฐั บาลและการขยายขอบเขตของโครงสรา ง
สวัสดกิ ารสังคมใหค รอบคลุมมากยงิ่ ข้ึน
(๗) ภาวการณข าดแคลนทางเศรษฐกิจและเงินเฟอ
(๘) นักการเมืองท่ไี มซ่ือสัตยสุจริต
(๙) การมีระบบสบื สวนและการควบคมุ การทจุ ริตที่ไมเขม แขง็
การไมใหความสนใจปญหาคอรรัปชันของผูนํา และการมีความรูความเขาใจที่จํากัด
เกีย่ วกบั การคอรร ัปชนั ของสาธารณชน
แตอยางไรก็ดี สาเหตุพื้นฐานท่ีกอใหเกิดการทุจริตนั้นไมวาจะเปนการอธิบายโดยอาศัย
หลักทางทฤษฎีในแงมุมใด นอกเหนือจากการขาดจิตสํานึกในตัวผูทุจริตเองแลว สวนสําคัญก็มาจาก
แรงผลักดันจากการเปล่ียนแปลงของสังคม ซึ่งเปนสวนหนึ่งในการบีบคั้นใหคนในสังคมแปรเปล่ียน
พฤติกรรมไปในทิศทางดังกลาว ประกอบกับการท่ีกฎเกณฑหรือขอบังคับในปจจุบันมีความออนแอ
หรอื มขี อ บกพรอ ง ไมว า จะเปน เพราะกฎเกณฑด งั กลา วมชี อ งโหว หรอื เพราะการบงั คบั ใชท ไ่ี รป ระสทิ ธภิ าพ
จงึ ทําใหเ กดิ การทุจรติ เกดิ ขน้ึ
ñ.ñ áç¼Å¡Ñ ´¹Ñ ¨Ò¡¡ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§¢Í§Ê§Ñ ¤Á

การทจุ รติ เปน ผลมาจากการเปลย่ี นแปลงทางดา นเศรษฐกจิ และสงั คมอยา งมากมาย
ทําใหเกิดความไมเทาเทียมกันในสังคม เกิดคานิยมของสังคมไทยที่เนนเร่ือง วัตถุนิยม ความมั่งค่ัง
ร่ํารวย ซึง่ ทาํ ใหบ ุคคลน้ันไดรับการยอมรับในสังคม ทําใหเกิดความโลภ เกดิ การเลียนแบบพฤตกิ รรม
การแสวงหาประโยชนจ ากตาํ แหนง หนา ที่

แตในบางกรณีผูทุจริตอาจจะกระทําไปเพราะเห็นแกญาติพี่นองหรือพวกพอง
หรอื ตอ งการรกั ษาผลประโยชนเ ฉพาะกลมุ อกี ทง้ั การแกป ญ หาดว ยการผอ นสนั้ ผอ นยาว ประนปี ระนอม
ลวนนําไปสูกระบวนการสมัครใจหรือสมยอมกันในการใหประโยชนแกผูทุจริต หรือเพ่ือเปนการยุติ
ขอ ขัดขอ งอนั เกิดขนึ้ ในระบบของการดาํ เนินการในองคกรตา ง ๆ อยางไรกด็ กี ารท่ีสภาพเศรษฐกจิ และ
สังคมมีความเปลี่ยนแปลง ทําใหผูทุจริตตกอยูในภาวะแวดลอมที่บีบค้ัน ใหตองทําหรือเผชิญกับแรง
กดดนั อยางรนุ แรง ไมว า จะเปน เพราะภาวะบีบคั้นทางเศรษฐกิจทีผ่ ทู ุจริตไดรับความเดอื ดรอ นมคี วาม
จาํ เปน ตองใชเงิน จึงกอเหตุทจุ รติ ขนึ้ โดยวธิ กี ารตา งๆ

๒๖

ñ.ò ¤ÇÒÁº¡¾ÃÍ‹ §¢Í§¡®ËÁÒÂËÃ×Í¡®à¡³±ã¹Ê§Ñ ¤Á
สาเหตอุ กี ประการทเี่ ปน สว นเสรมิ ใหเ กดิ การทจุ รติ คอื การทกี่ ฎหมาย และระเบยี บ

กฎเกณฑตางๆ มีสภาพบงั คับทอ่ี อ นแอ ไมส ามารถบังคับใชไดใ นทางปฏบิ ัติ มกี ารเปดชองใหกระทาํ
การทจุ รติ ไดง า ย เชน การทกี่ ฎหมายเปด ชอ งใหเ จา หนา ทข่ี องรฐั สามารถใชด ลุ พนิ จิ ในการวนิ จิ ฉยั สง่ั การ
ไดตามอําเภอใจ แมวาการบริหารงานหรือปฏิบัติงานจําเปนตองอาศัยความยืดหยุนในบางกรณี
และกฎเกณฑท่ีสรางขึน้ อาจปรบั กันไมไดกบั ขอ เทจ็ จรงิ ทเ่ี กดิ ขึ้นใหมๆ แตการใชดลุ พนิ ิจของเจา หนาท่ี
กส็ มควรทจ่ี ะควบคมุ ใหอ ยใู นกฎเกณฑเ ทา ทจ่ี ะทาํ ได เพราะยง่ิ เปด ชอ งใหส ามารถใชด ลุ พนิ จิ ไดอ ยา งเสรี
จนถึงขนาดทีเ่ รยี กวา ตามอาํ เภอใจ กย็ งิ่ กอใหเ กดิ หนทางการทจุ ริตไดง า ย

ò. ¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¤ÓÇÒ‹ “·Ø¨ÃμÔ ”

¤ÇÒÁËÁÒÂμÒÁ¾¨¹Ò¹Ø¡ÃÁ
“การทุจริต” สามารถนิยามความหมายใหแตกตางกันออกไปจากหลายมุมมอง
ซ่ึงในแงมุมทางวิชาการ มีการแบงกลุมนักวิชาการที่ใหความหมายของการทุจริตออกเปน
หลายกลุมดวยกัน แตสําหรับความหมายของคําวา “ทุจริต” ตามตัวอักษร ในพจนานุกรม
ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน ใหความหมายไวว า
“ทุจริต” [ทุดจะหฺริด] น. ความประพฤติชั่ว, ถาเปนความประพฤติชั่ว ทางกายเรียกวา
กายทุจริต, ถาเปนความประพฤติชั่วทางวาจา เรียกวา วจีทุจริต, ถาเปนความประพฤติช่ัวทางใจ
เรียกวา มโนทุจรติ . ก. โกง เชน ทจุ ริตในการสอบ, คดโกง, ฉอโกง, เชน ทจุ รติ ตอหนาท่.ี ว. ไมซ ่ือตรง
เชน คนทุจริต. (ป. ทุจฺจรติ ).
สวนคําที่ใกลเคียงกันในภาษาไทย คือ คําวา “การฉอราษฎรบังหลวง” ซ่ึงจะใชในกรณี
ที่กลาวถึงการกระทําของขาราชการหรือเจาหนาที่ของรัฐ หรือแวดวงการเมืองโดยเฉพาะ โดยคําวา
“การฉอ ราษฎรบงั หลวง” ความหมายตามพจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถงึ
“การที่พนักงานเจาหนาที่เก็บเงินจากราษฎรแลวไมสงหลวงหรือเบียดบังเงินหลวง” ในขณะท่ียังมี
อีกคาํ ทีค่ นุ เคย จนบางคร้งั ก็มกี ารใชแทนกันหรอื พวงกันกบั คาํ วา “การทจุ รติ ” กค็ ือ คาํ วา “คอรร ัปชัน”
(Corruption) ในภาษาอังกฤษ หมายถึง พฤติกรรมทไ่ี มซ ่ือสตั ยและผดิ กฎหมาย (Dishonesty and
illegal behavior) โดยบคุ คลทอ่ี ยใู นตาํ แหนง ทมี่ อี าํ นาจหนา ทห่ี รอื เปน ผมู อี าํ นาจซง่ึ มที ม่ี าของคาํ ศพั ท
จากภาษาลาตนิ และภาษาฝรง่ั เศสสมยั เกา คอื Corruption รากศพั ทม าจากภาษาลาตนิ วา Corruptio
มีคาํ แปลและความหมายหลายนยั คือ
๑. การเปลี่ยนแปลงหรือผันแปรไปในทางท่ีเลว การกระทํา การกลับกลาย หรือกําลัง
เปน ไปในทางทีเ่ ลว
๒. ความประพฤตไิ มดีหรอื ชัว่ ชา ความเสือ่ มทราม
๓. เส่ือมสลายหรือเนาเปอย
๔. สงิ่ ของหรอื อทิ ธิพลใชใ นทางทผ่ี ดิ

๒๗

ดังนั้น การทุจริตที่เกิดขึ้นในวงราชการและแวดวงการเมือง ยอมหมายถึงพฤติกรรมที่
เจา หนา ทข่ี องรฐั ใชอ าํ นาจในตาํ แหนง หนา ทโี่ ดยมชิ อบเพอื่ มงุ หวงั ผลประโยชนส ว นตวั ซงึ่ เปน พฤตกิ รรม
ที่เบ่ียงเบนไปจากวิธีปฏิบัติท่ียอมรับกันเพื่อใหไดประโยชนสําหรับตนเอง เปนพฤติกรรมของบุคคล
ที่ฉอฉลตอความไววางใจของสังคม โดยในบริบทของสังคมไทย การทุจริตเกี่ยวกับการใชอํานาจรัฐ
มคี วามหมายเดยี วกบั การฉอ ราษฎรบ งั หลวง ซงึ่ นอกจากมคี วามหมายรวมถงึ การทเ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั ทจุ รติ
คดโกงราชการ เรียกรองเอาผลประโยชนม าเปน ของตน หรอื โดยการขมขืนใจใหผ อู ื่นยอมใหหรอื ยอม
จะใหตนหรือใหผูอื่นไดประโยชนเปนทรัพยสินเงินทองท่ีควรตองเอาเขาเปนรายไดหรือทรัพยสินของ
แผน ดนิ แตก ลับเอาเปน ของตนเองหรอื ใหพ วกพอ ง นอกจากน้ี ยังรวมถึงการเรียกรอ งเอาคาน้ํารอ น
น้ําชา เงินใตโ ตะ การรับของขวัญ ซึง่ เปน การแสดงความรักเคารพและนบั ถอื อันเนอ่ื งมาจากตาํ แหนง
หนาที่ การเลนพวก หรอื การใชเสนสาย การรบั สนิ บน การกินเปอรเซน็ ต และการใชอ าํ นาจโดยมิชอบ
และการประพฤติมิชอบ ทั้งน้โี ดยมีวธิ ีการแยบยล

¤ÇÒÁËÁÒÂã¹·Ò§¡®ËÁÒÂ
คาํ วา “ทจุ รติ ” ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑ (๑) หมายถงึ “เพอื่ แสวงหาประโยชน
ที่มิควรไดโดยชอบดวยกฎหมายสําหรับตนเองหรือผูอ ื่น”
คําวา “ทุจริตตอหนาท่ี” ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๔ หมายความวา ปฏบิ ตั ิหรือละเวนการปฏิบัติอยา งใด
ในตําแหนงหรือหนาที่ หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในพฤติการณที่อาจทําใหผูอ่ืนเช่ือวา
มีตาํ แหนง หรอื หนา ทีท่ งั้ ท่ีตนมิไดมีตําแหนง หรือหนา ท่นี ้ัน หรอื ใชอ าํ นาจในตําแหนง หรือหนา ท่ี ท้งั น้ี
เพือ่ แสวงหาประโยชนทมี่ ิควรไดโดยชอบสําหรบั ตนเองหรือผอู ืน่
ซึ่งการทุจริตตอหนาท่ีจะมีความหมายเชนเดียวกับการประพฤติมิชอบ โดยที่คําวา
“มชิ อบ” หมายความวา “ไมเปนไปตาม กฎหมาย ระเบยี บของทางราชการ คําสั่งของผบู ังคับบัญชา
มติคณะรัฐมนตรี แบบธรรมเนียมของทางราชการ หรอื ตามทํานองคลองธรรม คือไมเ ปน ไปตามทาง
ทถ่ี กู ทค่ี วร” ดงั นน้ั การประพฤตมิ ชิ อบจงึ หมายถงึ กรณที เ่ี จา หนา ทใ่ี ชต าํ แหนง หนา ทไี่ ปในทางทไี่ มถ กู ตอ ง
แตไมเก่ียวขอ งกบั การเรยี กรอ งเงิน
จากบทบญั ญตั แิ หง กฎหมายทไี่ ดใ หค าํ จาํ กดั ความของคาํ วา “การทจุ รติ ” ดงั นนั้ การทจุ รติ
ในขอบเขตของกฎหมายไทย จึงหมายถึงพฤติการณ การกระทําของเจาหนาที่ของรัฐที่ไดปฏิบัติ
หรอื ละเวน การปฏบิ ตั หิ นา ที่ ไมว า ในกรณดี งั กลา ว เจา หนา ทผ่ี นู น้ั มตี าํ แหนง หรอื หนา ทใ่ี นเรอ่ื งนนั้ หรอื ไม
หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาที่เพื่อวัตถุประสงคํในการแสวงหาประโยชนสําหรับตนเองหรือ
ผูอ่ืนโดยมิชอบ ไมวาพฤติการณดังกลาวจะมุงท่ีผลประโยชนในทางทรัพยสิน หรือประโยชนทางอื่น
ที่มิใชทรัพยสินก็ตาม เชน การใชตําแหนงหนาที่เอื้อประโยชนแกญาติพ่ีนองหรือเพื่อนฝูง ซ่ึงถือวา
เปน การเอารดั เอาเปรยี บสว นรวมและไมเ ปน ธรรมแกผ มู คี วามรคู วามสามารถอนั ควรคกู บั ตาํ แหนง นนั้

๒๘

หรอื กรณนี กั การเมอื งใชอ าํ นาจในการกาํ หนดนโยบายทางดา นเศรษฐกจิ ไปในทศิ ทางทเ่ี ออื้ ผลประโยชน
ใหแ กกลุมบุคคลบางกลุมกอ นการเลือกตั้งเพ่อื ทจี่ ะไดรบั เลอื กกลับเขา มาในตาํ แหนงอกี คร้ัง

และถาเปรียบเทียบกับแนวคิดในทางจริยธรรม “การทุจริต” มีขอบเขตที่กวางกวา
โดยรวมเอาการแสวงหาประโยชนท ไี่ มผ ดิ กฎหมาย แตข ดั กบั ความคาดหวงั ของสาธารณชนเรอ่ื งมาตรฐาน
ความซ่อื สัตยและพฤตกิ รรมทีด่ ขี องเจาหนาทขี่ องรัฐดว ย

¤ÇÒÁËÁÒÂ㹤ÇÒÁàË¹ç ¢Í§¹¡Ñ ÇÔªÒ¡ÒÃ
ศาสตราจารย ธานนิ ทร กรยั วเิ ชยี ร ไดใ หค วามเหน็ วา “คอรร ปั ชนั ” นา จะหมายความรวมถงึ
การฉอราษฎรบังหลวง ซ่ึงมีความหมายกวางกวาคําวา “การทุจริต” โดยคาํ วา “คอรร ปั ชนั ” หมายถึง
การเบียดบังหรือยักยอกทรัพยของรัฐและของสาธารณะ โดยรวมถึงการกินสินบาทคาดสินบน
และแสวงหาอํานาจโดยวิธีการอันผิดทํานองคลองธรรม ซ่ึงอาจไมผิดตอกฎหมายอาญา แตก็ถือ
วา เปนการคอรรัปชันดว ย
ศาสตราจารย เสนยี  ปราโมช ไดอธบิ ายคาํ วา “การฉอราษฎรบ ังหลวง” ไววา “...การท่ี
เจาพนักงานเรียกและรับสินบนจากราษฎรพอจะจัดไดวาเปนการฉอราษฎร คือ เปนการเรียกเอา
เงินหรืออามิสอยางอ่ืนเพ่ือปฏิบัติหรือไมปฏิบัติหนาที่ราชการ เปนการใหคุณแกผูใหสินบน แตการ
บงั หลวงเปนการทีเ่ จาพนักงานทาํ การทจุ ริตตอหนาทร่ี าชการ ทาํ ใหเกิดความเสยี หายแกผ ลประโยชน
ของแผนดิน ทั้งนี้โดยจะสมคบกับราษฎรเบียดบังผลประโยชนห รอื ไมก็ตาม...”
รองศาสตราจารย ณฐ สันตสวาง ไดใหคําจํากัดความคําวา คอรรัปชัน วาหมายถึง
“พฤติกรรมใดๆ ซ่ึงผิดแผกไปจากหนาที่ท่ีเปนทางการของผูมีบทบาทตอสาธารณะดวยเหตุผล
สว นตวั ไมวาจะเปนเพื่อผลตอบแทน หรือสถานภาพ หรือพฤตกิ รรมใดๆ ซึง่ ใชอ ิทธพิ ลไปในทางทีข่ ัด
ตอ กฎเกณฑ ระเบยี บ ขอบังคับซง่ึ ไดก าํ หนดไวโ ดยเหน็ แกป ระโยชนสวนตน”
อยา งไรกด็ ี ในความเห็นของนักวิชาการไทยสว นหน่งึ เห็นวา การพิจารณาวา พฤตกิ ารณ
หรือการกระทาํ ใดเปน การทุจริต นอกจากจะตอ งพิจารณากรอบทีก่ ฎหมายกาํ หนดข้นึ แลว ยังจะตอง
คํานึงถึงเรื่องคานิยมและความรูสึกในเชิงศีลธรรมของสังคม และธรรมเนียมปฏิบัติในทางวิชาชีพ
ท่ีเก่ียวของในพฤติการณแตละเร่ืองประกอบดวย ทัศนคติของบุคคลท่ีมีตอพฤติการณในแตละกรณี
อาจเหน็ ไมเ หมอื นกนั การแกป ญ หาดงั กลา วในทางปฏบิ ตั จิ งึ มกั ทาํ ดว ยการออกขอ กาํ หนดทางจรยิ ธรรม
ของเจาหนาท่ีของรัฐในแตละหนวยงานเพ่ือเปนเกณฑมาตรฐานหรือแมกระท่ังกําหนดเปนกฎหมาย
หามกระทําเปนเกณฑข้ึนมาใหมเพื่อความชัดเจนในทางปฏิบัติ และพฤติกรรมท่ีเรียกวาเปน
“การทจุ รติ คอรร ปั ชนั ” ไดน นั้ ไมอ าจตคี วามเฉพาะเทา ทมี่ กี ฎหมายบญั ญตั ไิ วเ ทา นน้ั หากแตค วรรวมถงึ
การแสวงหาประโยชนท ไ่ี มผ ดิ กฎหมาย แตข ดั กบั ความคาดหวงั ของสงั คมและเปน การเอารดั เอาเปรยี บ
สว นรวม โดยเปน พฤตกิ รรมทเ่ี ออื้ ผลประโยชนใ หแ กค นกลมุ นอ ย แตก ลบั สรา งภาระใหแ กค นกลมุ ใหญ
เชน ในกรณีท่ีผรู ับเหมากอ สรา งฮ้ัวกันในการประมูลอนั เปนการสรา งกําไรใหแกผ ปู ระกอบการไมก ี่ราย
ในขณะทีผ่ ูเสียภาษที ้ังประเทศตองแบกรบั ภาระคา ใชจา ยของภาครฐั ท่สี ูงเกินกวา ท่ีควรจะเปน

๒๙

ó. »ÃÐàÀ·áÅФÇÒÁÃ¹Ø áç¢Í§¡Ò÷¨Ø ÃÔμã¹»˜¨¨ØºÑ¹

ลกั ษณะของการทจุ รติ หรอื คอรร ปั ชนั เปน เรอ่ื งของความสมั พนั ธใ นเชงิ อาํ นาจ การตอ รอง
ระหวางรฐั และธุรกิจเอกชน ซึง่ ไมไดม มี ติ ทิ างดานเศรษฐกิจที่เกยี่ วขอ งกบั เร่ืองเงิน ๆ ทอง ๆ หรือวตั ถุ
เทานั้น แตที่สําคัญยังมีมิติทางดานการเมือง ท่ีเรียกกันวา คอรรัปชันทางการเมือง หรือ “ทุจริต
ทางการเมอื ง” ดว ย โดยเปน การใชอ าํ นาจในทางทผ่ี ดิ กฎหมายหรอื โดยขาดคณุ ธรรม เพอ่ื ผลประโยชน
ทางการเมือง เชน เพื่อทําลายคูแขงทางการเมือง โดยการทุจริตคอรรัปชันอาจพิจารณาไดจากในแง
ของรูปแบบ (Forms) ขนาด (Size) ระดับการยอมรับของชุมชน (Degree of Tolerability)
และลักษณะ (Dimension) ของการทจุ ริต

ñ. ã¹á§¢‹ ¹Ò´ มกี ารแบง คอรร ปั ชนั ออกเปน ขนาดเลก็ (Petty Corruption) ซง่ึ เปน การ
ตดิ สนิ บนกระทาํ โดยเจาหนา ท่ใี นระดบั ลาง และคอรร ัปชนั ขนาดใหญ (Grand Corruption) ทก่ี ระทาํ
โดยนกั การเมืองและขา ราชการช้ันผใู หญ

ò. ã¹á§‹ÃٻẺ คอรรัปชันไมไดมีรูปแบบใดเปนการเฉพาะแตมีหลายรูปแบบ
โดยขน้ึ อยกู บั สงิ่ แวดลอ ม จาํ นวนเงนิ กลวธิ ี และวฒั นธรรมซงึ่ แตกตา งกนั ไปในแตล ะสงั คม โดยจะเปน
รปู แบบเฉพาะของแตล ะสงั คม มกี ารเปลย่ี นแปลงไปตามยคุ สมยั และมคี วามซบั ซอ นมากยงิ่ ขน้ึ เนอื่ งจาก
กจิ กรรมการทจุ รติ ในปจ จบุ นั ไมไ ดเ กย่ี วขอ งเฉพาะอาํ นาจหนา ทข่ี องบคุ คลสาธารณะในสงั คมหนงึ่ เทา นนั้
หากแตย งั เกยี่ วขอ งกบั ธรุ กจิ เอกชนและการเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยที ที่ นั สมยั และตลาดระดบั โลกดว ย

ó. ã¹á§¢‹ ͧÃдºÑ ¡ÒÃÂÍÁÃºÑ ¢Í§ªÁØ ª¹ มกี ารจาํ แนกการทจุ รติ คอรร ปั ชนั ตามหลกั เกณฑ
ของสีทส่ี ะทอ นตามการยอมรบั ของชมุ ชน (Community’s tolerance) ทมี่ ตี อการทุจรติ โดยจาํ แนก
ออกเปน สีดํา สีเทา และสขี าว ตามลาํ ดับ

¡Ò÷بÃÔμÊÕ´íÒ (Black Corruption) เปนการกระทําที่ผูนําในสังคมและประชาชน
เหน็ พอ งตอ งกนั เปน สว นใหญว า การกระทาํ หนงึ่ สมควรถกู ตาํ หนแิ ละถกู ลงโทษ ไดแ ก การใชอ าํ นาจหนา ท่ี
หรอื ตาํ แหนง เพอื่ หาประโยชนส าํ หรบั ตนเองหรอื พรรคพวก โดยไมค าํ นงึ วา ผดิ กฎหมายหรอื ไม หรอื นาํ
ความทุกขย ากมาสปู ระชาชนและประเทศชาตหิ รอื ไม พฤติกรรมน้แี ยกไดเ ปน ๒ กรณี คือ

(๑) การใชอ าํ นาจหนา ทเี่ รยี กรอ งเอาผลประโยชนจ ากผกู ระทาํ ผดิ กฎหมายหรอื ผตู อ งการ
ความสะดวกโดยไมคํานึงวา ผูท ่ตี นเรียกรอ งเอาผลประโยชนนนั้ จะกระทําผิดกฎหมายหรอื ไม และ

(๒) การทุจริตคดโกงโดยไมคํานึงถงึ ความผดิ ตามกฎหมาย เปน การเจตนาฝาฝน
¡Ò÷بÃÔμÊàÕ ·Ò (Gray Corruption) เปนการกระทําทีผ่ ูนาํ ในสงั คมสวนหน่ึงเห็นวา
สมควรถกู ลงโทษ แตผนู ําในสังคมอีกสว นหนง่ึ หรือประชาชนทั่วไปเห็นแตกตางออกไป ในขณะท่เี สียง
สวนใหญมีความเห็นคลุมเครือไมแนใจวาเปนความผิดสมควรถูกลงโทษหรือไม กรณีน้ีเปนการใช
อํานาจหนาที่หาประโยชนใหแกตนเองและพรรคพวกในลักษณะท่ีประชาชนสมยอมตอการใชอํานาจ
โดยมิชอบนั้น เชน การใหค า นา้ํ รอนน้ําชา การใหคา นายหนา หรือเงนิ หักสวนลดราคาสนิ คา เปนตน
โดยแยกพฤติกรรมประเภทน้ไี ดเ ปน

๓๐

(๑) การเรยี กรอ งเอาประโยชนแ ทนการปฏบิ ตั หิ รอื ไมป ฏบิ ตั หิ นา ท่ี หรอื เพอ่ื เรง รดั งานให
รวดเรว็ ยิ่งขึ้น หรืออาจมีการลดหยอนมาตรฐานความเขม งวดเกย่ี วกับระเบยี บกฎเกณฑ และ

(๒) การใชต าํ แหนง หรอื อาํ นาจหนา ทเี่ พอ่ื หาผลประโยชนอ ยา งเตม็ ที่ โดยเปน ผปู ระกอบ
ธรุ กิจหรอื มผี ลประโยชนไ ดเ สียกับบรษิ ทั หา งรานท่ที าํ ธรุ กิจกับสว นราชการทีต่ นเองเปนผูรบั ผดิ ชอบ

¡Ò÷بÃÔμÊÕ¢ÒÇ (White Corruption) เปนการกระทําที่ผูนําในสังคมและประชาชน
ทว่ั ไป เหน็ วา พอจะรบั ไดห รอื ยอมทนรบั คอื ไมเ ลวรา ยนกั การทจุ รติ ในลกั ษณะนเี้ ปน เรอ่ื งทผี่ นู าํ ในสงั คม
และมวลชนสว นใหญไ มไ ดก ระตอื รอื รน ทจ่ี ะใหม กี ารลงโทษ เนอ่ื งจากเปน การรบั ผลประโยชนโ ดยองิ อยกู บั
ขนบธรรมเนยี มประเพณี และมไิ ดเ กดิ จากการเรยี กรอ งของผรู บั พฤตกิ รรมเชน นแี้ ยกไดเ ปน ๒ กรณี คอื

(๑) การใหซ งึ่ เปน การแสดง “นาํ้ ใจ” ของผนู อ ยตอ ผมู อี าํ นาจวาสนา หรอื ผทู อ่ี ยใู นตาํ แหนง
หนา ทีส่ ามารถใหคณุ ใหโทษ และ

(๒) การใหซ่ึงเปน “การตอบแทน” การปฏิบัติหรืองดเวนปฏิบัติของผูที่อยูในตําแหนง
และเปนคณุ ประโยชนแกผใู หโดยผรู ับมิไดเรียกรอ ง

ตัวอยางของการใหทั้งสองกรณี เชน การใหของขวัญที่มีคามากในโอกาสพิเศษตางๆ
ไมวาจะเปนในโอกาสวันเกิด วันแตงงานลูกหลาน วันข้ึนปใหม หรือเปนเจาภาพในงานกุศลของผูมี
อํานาจหนาที่ทางราชการ

ô. ã¹á§¢‹ Í§Å¡Ñ É³Ð¡Ò÷¨Ø ÃμÔ การทจุ รติ ของบรรดาบคุ คลสาธารณะอาจแบง ออกเปน
๓ มิติ คือ คอรรัปชันในการบริหารราชการแผนดิน (Administrative Corruption) คอรรัปชัน
ทางเศรษฐกจิ (Economic Corruption) และคอรร ัปชนั ทางการเมอื ง (Political Corruption)

¤ÍÃÏ »Ñ ª¹Ñ 㹡ÒúÃËÔ ÒÃÃÒª¡ÒÃá¼¹‹ ´¹Ô เปน การใชอ ทิ ธพิ ลทเี่ กนิ กวา อาํ นาจทางกฎหมาย
เพ่อื ไปกาํ หนดนโยบายและทําใหเกดิ ผล เชน การทาํ โครงการ การจัดซื้อจัดจางใหแกสมคั รพรรคพวก
ของตนเอง การซอื้ ขายตาํ แหนง การโยกยา ยตาํ แหนง โดยไมค าํ นงึ ถงึ หลกั การ ความสามารถและคณุ ธรรม
แตก ลับอาศยั ความเปน เครือญาตหิ รือสมัครพรรคพวกเปน ทตี่ ง้ั ฯลฯ

¤ÍÏÃÑ»ªÑ¹·Ò§àÈÃÉ°¡Ô¨ เปนการแสวงหากําไรเกิน หรือท่ีนักเศรษฐศาสตร เรียกวา
คา เชาทางเศรษฐกิจ (Economic Rents) โดยนิยามแลว คาเชาทางเศรษฐกจิ ถูกสรา งข้ึน เมือ่ รฐั เขา ไป
จํากัดการทํางานของตลาด ตัวอยางเชน กระบวนการท่ีมีการจํากัดปริมาณการแลกเปลี่ยนเงินตรา
ตางประเทศ การควบคุมการคาและการใหสัมปทานผูกขาดแกพรรคพวก การจัดซ้ือจัดจางในราคา
ทสี่ งู เกนิ จรงิ และการแปรรปู วสิ าหกจิ ใหก ลายมาเปน ทรพั ยส นิ ของตวั เอง ครอบครวั และพวกพอ ง ฯลฯ

¤ÍÃÏ »Ñ ª¹Ñ ·Ò§¡ÒÃàÁ×ͧ เปนการใชอ าํ นาจของรัฐบาลโดยขาดคณุ ธรรมและผดิ กฎหมาย
เพอื่ ผลประโยชนข องตนเอง หรอื เพอื่ ประโยชนท างการเมอื ง และผลประโยชนเ ชน วา น้ี ไมจ าํ ตอ งเปน วตั ถุ
หรอื เงนิ ทองเสมอไป ตวั อยา งของการทจุ รติ ทางการเมอื ง เชน การซอื้ เสยี งในการเลอื กตงั้ การปลอมแปลง
บัตรเลือกต้ัง การกีดกันและกลั่นแกลงพรรคคูแขงของรัฐบาล โดยการใชอํานาจของกฎหมายและ
หนว ยงานของรฐั การหลอกลวงดว ยการประกาศนโยบายหาเสยี งทเ่ี กนิ จรงิ และไมม ที างปฏบิ ตั ไิ ด ฯลฯ

๓๑

จากความเห็นและแนวคิดเก่ียวกับการทุจริตที่ไดกลาวมาแลวขางตนอาจสรุปไดวา
องคป ระกอบทส่ี าํ คญั ในการพจิ ารณาวา การกระทาํ ใดเปน การทจุ รติ หรอื ไม คอื การกระทาํ นนั้ มลี กั ษณะ
เปน การแสวงหาประโยชนอ นั มคิ วรไดโ ดยชอบสาํ หรบั ตน พวกพอ ง หรอื ผอู น่ื ไมว า จะเปน ประโยชนใ น
ทางทรพั ยส นิ หรอื ไม โดยอาศยั ตําแหนง หนา ท่หี รืออํานาจที่ไดร บั มอบหมาย

ô. ¡®ËÁÒ·ÁèÕ ºÕ ·ºÞÑ ÞμÑ «Ô §èÖ áÊ´§ãËàŒ Ë¹ç ¶§Ö û٠ẺáÅÐÇ¸Ô ¡Õ Ò÷¨Ø ÃμÔ ã¹Í§¤¡ ÃÀҤðÑ

ñ. »ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ
เปนกฎหมายที่กําหนดความผิดในทางอาญาสําหรับการกระทําที่เขาองคประกอบ

ความผิดตามท่ีกฎหมายกําหนด โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือลงโทษผูกระทําความผิด และเพื่อรักษา
ความสงบเรยี บรอ ยของบา นเมอื งและศลี ธรรมอนั ดขี องประชาชน ความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา
นาํ มาใชบ งั คบั กบั กรรมการ ผบู รหิ าร และพนกั งานของรฐั วสิ าหกจิ หรอื องคก รภาครฐั ทม่ี งุ เนน ดาํ เนนิ การ
ในเชิงธุรกิจ ในกรณีที่บุคคลดังกลาวปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนเจาพนักงานตามกฎหมาย โดยรูปแบบ
และวธิ กี ารทจุ รติ ทส่ี ะทอ นใหเ หน็ ในประมวลกฎหมายอาญา ปรากฏอยใู นบทบญั ญตั คิ วามผดิ ฐานเปน
เจา พนกั งานของรฐั ทกี่ ระทาํ ผดิ ตอ ตาํ แหนง หนา ที่ ตงั้ แตม าตรา ๑๔๗ ถงึ มาตรา ๑๖๖ สรปุ ฐานความผดิ
ไดตามลาํ ดบั ดังน้ี

- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹ÂÑ¡ÂÍ¡·Ã¾Ñ  (ÁÒμÃÒ ñô÷)
ÁÒμÃÒ ñô÷ ผใู ดเปน เจา พนกั งาน มีหนา ทีซ่ ื้อ ทาํ จัดการหรอื รักษาทรัพยใ ด

เบยี ดบงั ทรพั ยน นั้ เปน ของตน หรอื เปน ของผอู นื่ โดยทจุ รติ หรอื โดยทจุ รติ ยอมใหผ อู นื่ เอาทรพั ยน น้ั เสยี
ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงยี่สิบป หรือจําคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแตหน่ึงแสนบาท
ถงึ สี่แสนบาท

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹¡ÃÃ⪡·Ã¾Ñ  (ÁÒμÃÒ ñôø)
ÁÒμÃÒ ñôø ผใู ดเปน เจา พนกั งาน ใชอ าํ นาจในตําแหนงโดยมชิ อบ ขม ขนื ใจ

หรือจูงใจเพ่ือใหบุคคลใดมอบใหหรือหามาใหซ่ึงทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดแกตนเองหรือผูอื่น
ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหาปถึงยี่สิบป หรือจําคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแตหนึ่งแสนบาท
ถงึ สี่แสนบาท หรือประหารชีวติ

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹àÃÕ¡ÃѺËÃ×ÍÂÍÁ¨ÐÃºÑ Ê¹Ô º¹ (ÁÒμÃÒ ñôù)
ÁÒμÃÒ ñôù ผใู ดเปน เจา พนกั งาน สมาชกิ สภานติ บิ ญั ญตั แิ หง รฐั สมาชกิ สภา

จงั หวดั หรอื สมาชกิ สภาเทศบาล เรยี ก รบั หรอื ยอมจะรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดสาํ หรบั ตนเอง
หรอื ผอู น่ื โดยมชิ อบ เพอ่ื กระทาํ การหรอื ไมก ระทาํ การอยา งใดในตาํ แหนง ไมว า การนน้ั จะชอบหรอื มชิ อบ
ดว ยหนา ท่ี ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แตห า ปถ งึ ยส่ี บิ ป หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ติ และปรบั ตงั้ แตห นง่ึ แสนบาท
ถึงส่ีแสนบาท หรือประหารชวี ิต

๓๒

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹¡ÃзíÒ¡ÒÃËÃ×ÍäÁ‹¡ÃзíÒ¡ÒÃËÃ×ÍäÁ‹¡ÃзíÒ¡ÒÃ
â´ÂàËç¹á¡‹Ê¹Ô º¹·ÕèàÃÂÕ ¡ÃѺËÃÍ× ÂÍÁ¨ÐÃºÑ äÇ¡Œ ‹Í¹ (ÁÒμÃÒ ñõð)

ÁÒμÃÒ ñõð ผูใดเปนเจาพนักงาน กระทําการหรือไมกระทําการอยางใด
ในตําแหนงโดยเห็นแกทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด ซ่ึงตนไดเรียก รับ หรือยอมจะรับไวกอนที่ตน
ไดรับแตงต้ังเปนเจาพนักงานในตําแหนงน้ัน ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหาปถึงย่ีสิบป หรือจําคุก
ตลอดชวี ติ และปรบั ต้งั แตห นึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท

- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹ãªÍŒ Ó¹Ò¨ã¹μÓá˹§‹ â´Â·¨Ø ÃμÔ (ÁÒμÃÒ ñõñ)
ÁÒμÃÒ ñõñ ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาท่ีซื้อ ทํา จัดการหรือรักษาทรัพย

ใด ๆ ใชอ าํ นาจในตาํ แหนง โดยทจุ รติ อนั เปน การเสยี หายแกร ฐั เทศบาล สขุ าภบิ าลหรอื เจา ของทรพั ยน น้ั
ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แตห า ปถ งึ ยส่ี บิ ป หรอื จาํ คกุ ตลอดชวี ติ และปรบั ตง้ั แตห นงึ่ แสนบาทถงึ สแ่ี สนบาท

- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹ËÒ»ÃÐ⪹¨ Ò¡¡¨Ô ¡ÒÃã¹Ë¹ŒÒ·èÕ (ÁÒμÃÒ ñõò)
ÁÒμÃÒ ñõò ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาท่ีจัดการหรือดูแลกิจการใด

เขามีสวนไดเสียเพ่ือประโยชนสําหรับตนเองหรือผูอื่น เนื่องดวยกิจการน้ัน ตองระวางโทษจําคุก
ตง้ั แตห น่งึ ปถ ึงสบิ ป และปรบั ตง้ั แตสองหมน่ื บาทถึงสองแสนบาท

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹¨‹Ò·ÃѾà¡Ô¹¡Ç‹Ò·Õè¤Çè‹ÒÂà¾è×Í»ÃÐ⪹μ¹
(ÁÒμÃÒ ñõó)

ÁÒμÃÒ ñõó ผูใดเปน เจา พนักงาน มีหนาท่จี ายทรัพย จา ยทรัพยน ้นั เกินกวา
ที่ควรจายเพ่ือประโยชนสําหรับตนเองหรือผูอ่ืน ตองระวางโทษจําคุกต้ังแตหน่ึงปถึงสิบป และปรับ
ต้งั แตสองหม่นื บาทถึงสองแสนบาท

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹·¨Ø ÃÔμ㹡ÒÃàÃÕ¡ࡺç ÃÒÂä´Œ (ÁÒμÃÒ ñõô)
- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹ª‹ÇÂàËÅ×ͺ¤Ø ¤Å¼ÙàŒ ÊÕÂÀÒÉÕ (ÁÒμÃÒ ñõô)

ÁÒμÃÒ ñõô ผใู ดเปนเจา พนักงาน มีหนา ทีห่ รือแสดงวาตนมหี นาทเ่ี รียกเกบ็
หรือตรวจสอบภาษีอากร คาธรรมเนียม หรือเงินอ่ืนใด โดยทุจริตเรียกเก็บหรือละเวนไมเรียกเก็บ
ภาษีอากร คาธรรมเนียมหรือเงินนั้น หรือกระทําการหรือไมกระทําการอยางใด เพ่ือใหผูมีหนาที่
เสยี ภาษอี ากรหรอื คา ธรรมเนยี มนนั้ มติ อ งเสยี หรอื เสยี นอ ยไปกวา ทจ่ี ะตอ งเสยี ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตงั้ แต
หา ปถงึ ย่ีสิบป หรือจําคุกตลอดชีวติ และปรับตงั้ แตหน่งึ แสนบาทถึงส่ีแสนบาท

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹·Ø¨ÃÔμ㹡ÒáíÒ˹´ÃÒ¤Ò·ÃѾÊÔ¹ËÃ×ÍÊÔ¹¤ŒÒ
(ÁÒμÃÒ ñõõ)

ÁÒμÃÒ ñõõ ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาท่ีกําหนดราคาทรัพยสินหรือ
สนิ คาใด ๆ เพ่ือเรียกเกบ็ ภาษีอากรหรือคา ธรรมเนียมตามกฎหมาย โดยทจุ รติ กาํ หนดราคาทรัพยสิน
หรอื สินคานน้ั เพ่อื ใหผูม ีหนาท่เี สยี ภาษอี ากรหรือคา ธรรมเนยี มนน้ั มิตองเสียหรือเสยี นอยไปกวาทจ่ี ะ
ตอ งเสยี ตอ งระวางโทษจําคกุ ต้ังแตห าปถ ึงย่ีสิบป หรอื จาํ คกุ ตลอดชีวติ และปรบั ตั้งแตหนึง่ แสนบาท
ถึงส่แี สนบาท

๓๓

- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹·Ø¨ÃÔ쪋ÇÂàËÅ×Íà¡ÕèÂǡѺ¡ÒúÑÞªÕ (ÁÒμÃÒ ñõö)
ÁÒμÃÒ ñõö ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ตรวจสอบบัญชีตามกฎหมาย

โดยทจุ รติ แนะนาํ หรอื กระทาํ การหรอื ไมก ระทาํ การอยา งใด เพอื่ ใหม กี ารละเวน การลงรายการในบญั ชี
ลงรายการเทจ็ ในบญั ชี แกไ ขบญั ชี หรอื ซอ นเรน หรอื ทาํ หลกั ฐานในการลงบญั ชอี นั จะเปน ผลใหก ารเสยี
ภาษีอากรหรือคาธรรมเนียมน้ันมิตองเสีย หรือเสียนอยกวาท่ีจะตองเสีย ตองระวางโทษจําคุกต้ังแต
หา ปถึงยสี่ บิ ป หรือจาํ คกุ ตลอดชวี ติ และปรับตัง้ แตห นึง่ แสนบาทถึงส่แี สนบาท

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹»¯ÔºÑμÔËÃ×ÍÅÐàÇŒ¹¡Òû¯ÔºÑμÔ˹ŒÒ·èÕâ´ÂÁԪͺ
(ÁÒμÃÒ ñõ÷)

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹»¯ÔºÑμÔËÃ×ÍÅÐàÇŒ¹¡Òû¯ÔºÑμÔ˹ŒÒ·èÕâ´Â·Ø¨ÃÔμ
(ÁÒμÃÒ ñõ÷)

ÁÒμÃÒ ñõ÷ ผูใดเปนเจาพนักงาน ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาท่ี
โดยมิชอบ เพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูหน่ึงผูใด หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาท่ีโดยทุจริต
ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตง้ั แตห นงึ่ ปถ งึ สบิ ป หรอื ปรบั ตง้ั แตส องหมน่ื บาทถงึ สองแสนบาท หรอื ทงั้ จาํ ทง้ั ปรบั

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹·íÒÍѹμÃÒ·ÃѾËÃ×ÍàÍ¡ÊÒÃã¹»¡¤Ãͧ
(ÁÒμÃÒ ñõø)

ÁÒμÃÒ ñõø ผใู ดเปน เจา พนกั งาน ทาํ ใหเ สยี หาย ทาํ ลาย ซอ นเรน เอาไปเสยี
หรอื ทาํ ใหส ญู หายหรอื ทาํ ใหไ รป ระโยชน ซงึ่ ทรพั ยห รอื เอกสารใดอนั เปน หนา ทข่ี องตนทจ่ี ะปกครองหรอื
รักษาไว หรือยนิ ยอมใหผอู ่ืนกระทาํ เชน นน้ั ตองระวางโทษจําคกุ ไมเกินเจด็ ป และปรบั ไมเ กินหนง่ึ แสน
สีห่ ม่ืนบาท

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹·íÒÍѹμÃÒÂμÃÒËÃ×Íà¤ÃÍè× §ËÁÒ·è»Õ ÃзѺ ·Õè·ÃѾ
ËÃÍ× àÍ¡ÊÒà (ÁÒμÃÒ ñõù)

ÁÒμÃÒ ñõù ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ดูแล รักษาทรัพยหรือเอกสารใด
กระทําการอันมิชอบดวยหนาที่ โดยถอน ทําใหเสียหาย ทําลายหรือทําใหไรประโยชน หรือ
โดยยินยอมใหผูอื่นกระทําเชนน้ัน ซึ่งตราหรือเครื่องหมายอันเจาพนักงานไดประทับหรือหมายไว
ที่ทรัพยหรือเอกสารนั้นในการปฏิบัติการตามหนาท่ี เพื่อเปนหลักฐานในการยึดหรือรักษาส่ิงนั้น
ตองระวางโทษจําคกุ ไมเ กนิ หา ป หรือปรบั ไมเกนิ หนึง่ แสนบาท หรือทงั้ จําทง้ั ปรับ

- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹ãªŒ´Ç§μÃÒËÃÍ× ÃÍÂμÃÒâ´ÂÁԪͺ (ÁÒμÃÒ ñöð)
ÁÒμÃÒ ñöð ผใู ดเปน เจา พนกั งาน มหี นา ทรี่ กั ษาหรอื ใชด วงตราหรอื รอยตรา

ของราชการหรือของผูอ่ืน กระทําการอันมิชอบดวยหนาที่ โดยใชดวงตราหรือรอยตราน้ัน หรือ
โดยยนิ ยอมใหผ อู น่ื กระทาํ เชน นนั้ ซงึ่ อาจทาํ ใหผ อู นื่ หรอื ประชาชนเสยี หาย ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ
หาป หรือปรบั ไมเ กนิ หน่ึงแสนบาท หรือท้งั จาํ ทั้งปรับ

๓๔

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ÒŒ ¾¹Ñ¡§Ò¹»ÅÍÁàÍ¡ÊÒà (ÁÒμÃÒ ñöñ)
ÁÒμÃÒ ñöñ ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาท่ีทําเอกสาร กรอกขอความลงใน

เอกสารหรือดูแลรกั ษาเอกสาร กระทําการปลอมเอกสารโดยอาศยั โอกาสทีต่ นมหี นาทนี่ ้นั ตองระวาง
โทษจําคุกไมเ กินสบิ ป และปรับไมเ กนิ สองแสนบาท

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹ÃѺÃͧ໚¹ËÅ¡Ñ °Ò¹à·ç¨ (ÁÒμÃÒ ñöò)
ÁÒμÃÒ ñöò ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนา ทที่ ําเอกสาร รบั เอกสารหรือกรอก

ขอความลงในเอกสาร กระทําการดงั ตอ ไปนใ้ี นการปฏบิ ตั ิการตามหนาที่
(๑) รับรองเปนหลักฐานวา ตนไดกระทําการอยางใดข้ึน หรือวาการอยางใด

ไดกระทาํ ตอ หนาตนอันเปน ความเทจ็
(๒) รับรองเปนหลักฐานวา ไดมกี ารแจงซง่ึ ขอ ความอันมิไดมีการแจง
(๓) ละเวน ไมจ ดขอ ความซง่ึ ตนมหี นา ทต่ี อ งรบั จด หรอื จดเปลย่ี นแปลงขอ ความ

เชนวาน้ัน หรือ
(๔) รับรองเปนหลักฐานซึ่งขอเท็จจริงอันเอกสารน้ัน มุงพิสูจนความจริง

อนั เปน ความเท็จ
ตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจด็ ป และปรบั ไมเ กนิ หนึ่งแสนสหี่ มนื่ บาท

- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹à»´ ¨´ËÁÒÂËÃÍ× â·ÃàÅ¢¢Í§¼ÍŒÙ ¹×è (ÁÒμÃÒ ñöó(ñ))
- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹·Òí ÅÒ ·íÒãËÊŒ ÞÙ ËÒÂ«Ö§è ¨´ËÁÒÂËÃÍ× â·ÃàÅ¢¢Í§
¼ÙŒÍ×è¹ (ÁÒμÃÒ ñöó (ò))
- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹¡¡Ñ ¨´ËÁÒÂËÃÍ× â·ÃàÅ¢¢Í§¼ÍŒÙ ¹×è (ÁÒμÃÒ ñöó (ó))
- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹à»´à¼Â¢ŒÍ¤ÇÒÁ·èÕÊ‹§·Ò§ä»ÃɳՏ â·ÃàÅ¢ ËÃ×Í
â·ÃÈ¾Ñ · (ÁÒμÃÒ ñöó (ô))

ÁÒμÃÒ ñöó ผูใดเปนเจาพนักงาน มีหนาที่ในการไปรษณีย โทรเลขหรือ
โทรศพั ท กระทําการอันมิชอบดวยหนาท่ดี งั ตอไปนี้

(๑) เปด หรอื ยอมใหผ อู น่ื เปด จดหมายหรอื สงิ่ อน่ื ทส่ี ง ทางไปรษณยี ห รอื โทรเลข
(๒) ทาํ ใหเ สยี หาย ทาํ ลาย ทาํ ใหส ญู หาย หรอื ยอมใหผ อู น่ื ทาํ ใหเ สยี หาย ทาํ ลาย
หรอื ทําใหส ญู หาย ซง่ึ จดหมายหรือสิ่งอืน่ ทีส่ ง ทางไปรษณียหรอื โทรเลข
(๓) กัก สงใหผิดทาง หรือสงใหแกบุคคลซึ่งรูวามิใชเปนผูควรรับซึ่งจดหมาย
หรอื สิ่งอ่นื ที่สง ทางไปรษณียห รอื โทรเลข หรือ
(๔) เปดเผยขอความที่สงทางไปรษณยี  ทางโทรเลขหรือทางโทรศัพท
ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หา ป หรอื ปรบั ไมเ กนิ หนง่ึ แสนบาท หรอื ทงั้ จาํ ทง้ั ปรบั
- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹·Òí ã˼Œ ͌٠¹è× ÅÇ‹ §Ã¤ŒÙ ÇÒÁÅºÑ ã¹ÃÒª¡Òà (ÁÒμÃÒ ñöô)
ÁÒμÃÒ ñöô ผูใดเปนเจาพนักงาน รูหรืออาจรูความลับในราชการ กระทํา
โดยประการใด ๆ อนั มชิ อบดว ยหนา ท่ี ใหผ อู นื่ ลว งรคู วามลบั นน้ั ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หา ป หรอื
ปรับไมเ กนิ หนึง่ แสนบาท หรือท้งั จําทัง้ ปรบั

๓๕

- ¤ÇÒÁ¼´Ô °Ò¹à¨ÒŒ ¾¹¡Ñ §Ò¹»Í‡ §¡¹Ñ ËÃÍ× ¢´Ñ ¢ÇÒ§¡Òû¯ºÔ μÑ μÔ ÒÁ¡®ËÁÒ (ÁÒμÃÒ ñöõ)
ÁÒμÃÒ ñöõ ผใู ดเปน เจา พนกั งาน มหี นา ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารใหเ ปน ไปตามกฎหมาย

หรอื คาํ สง่ั ซง่ึ ไดส งั่ เพอ่ื บงั คบั การใหเ ปน ไปตามกฎหมาย ปอ งกนั หรอื ขดั ขวางมใิ หก ารเปน ไปตามกฎหมาย
หรือคาํ สัง่ นั้น ตองระวางโทษจาํ คุกไมเกนิ หน่ึงป หรอื ปรบั ไมเ กินสองหมนื่ บาท หรอื ทงั้ จาํ ทง้ั ปรับ

- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹Ñ¡§Ò¹ÅзÔ駧ҹ¡Ã³Õ¸ÃÃÁ´Ò (ÁÒμÃÒ ñöö ÇÃä˹Öè§)
- ¤ÇÒÁ¼Ô´°Ò¹à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹ÅзÔ駧ҹ¡Ã³¾Õ ÔàÈÉ (ÁÒμÃÒ ñöö ÇÃäÊͧ)

ÁÒμÃÒ ñöö ผูใดเปนเจาพนักงาน ละทิ้งงานหรือกระทําการอยางใด ๆ
เพื่อใหงานหยุดชะงักหรือเสียหาย โดยรวมกระทําการเชนน้ันดวยกันตั้งแตหาคนข้ึนไป ตองระวาง
โทษจาํ คกุ ไมเ กินหาป หรอื ปรบั ไมเกินหนึ่งแสนบาท หรอื ทงั้ จําทั้งปรบั

ถาความผิดนั้นไดกระทําลงเพื่อใหเกิดการเปล่ียนแปลงในกฎหมายแผนดิน
เพื่อบังคับรัฐบาลหรือเพื่อขมขูประชาชน ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป และปรับไมเกิน
สองแสนบาท

ò. ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔÇ‹Ò´ŒÇ¤ÇÒÁ¼Ô´¢Í§¾¹Ñ¡§Ò¹ã¹Í§¤¡ÒÃËÃ×Í˹‹Ç§ҹ¢Í§ÃÑ°
¾.È.òõðò

เปน กฎหมายทต่ี ราขนึ้ เพอื่ กาํ หนดความผดิ และบทลงโทษหนกั สาํ หรบั การกระทาํ ของ
“พนักงาน” ซึ่งไดแก กรรมการและผูปฏิบัติงานในองคกรภาครัฐท่ีมุงเนนการดําเนินการในเชิงธุรกิจ
ทไี่ มม สี ถานะเปน เจา พนกั งานตามกฎหมาย เนอื่ งจากตระหนกั วา องคก รภาครฐั ทม่ี งุ เนน การดาํ เนนิ งาน
ในเชิงธุรกิจไมตองถูกผูกมัดใหปฏิบัติตามระเบียบราชการโดยเครงครัด จึงจําเปนตองควบคุม
การกระทาํ ของผูปฏบิ ัติงานในองคก รดงั กลาวไมใหส งผลเสยี หายแกหนว ยงานและรฐั โดยรปู แบบและ
วิธกี ารทจุ รติ ท่สี ะทอนใหเ ห็นในพระราชบญั ญตั ดิ ังกลา ว สรปุ ไดดงั นี้

- เปน พนกั งานผมู หี นา ทซี่ อื้ ทาํ จดั การ หรอื รกั ษาทรพั ยใ ด กระทาํ การเบยี ดบงั ทรพั ย
นั้นเปน ของตนหรือเปนของผูอ ่ืน หรือโดยทุจริตยอมใหผูอ่ืนเอาทรัพยน ้นั ไป (มาตรา ๔)

- การใชอํานาจในหนา ท่ีโดยมิชอบ ขมขนื หรอื จูงใจ เพ่ือใหบคุ คลใดมอบใหห รือหา
มาใหซ ง่ึ ทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอ ่นื ใดแกตนเองหรอื ผอู น่ื (มาตรา ๕)

- การเรียกรับหรือยอมจะรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดสําหรับตนเองหรือผูอ่ืน
โดยมิชอบ เพื่อกระทําการหรือไมกระทําการอยางใดในหนาที่ ไมวาการนั้นจะชอบหรือมิชอบดวย
กฎหมาย (มาตรา ๖)

- การกระทาํ การหรอื ไมก ระทาํ การอยา งใดในหนา ทโี่ ดยเหน็ แกท รพั ยส นิ หรอื ประโยชน
อืน่ ใดซง่ึ ตนไดเรียกรับหรอื ยอมจะรับไวก อ นท่ตี นไดรับแตง ตัง้ เปน พนักงาน (มาตรา ๗)

- การเปนพนักงานผูมีหนาที่ซื้อ ทํา จัดการ หรือรักษาทรัพยใด ใชอํานาจหนาท่ี
โดยทจุ ริตอนั เปน การเสียหายแกองคการ บรษิ ทั จาํ กดั หางหุนสว นนติ บิ คุ คล หรือหนว ยงานท่เี รียกชื่อ
อยา งอื่น (มาตรา ๘)

๓๖

- การเปนพนักงานผูมีหนาที่จัดการดูแลกิจการใด เขามีสวนไดเสียเพื่อประโยชน
สาํ หรบั ตนเองหรอื ผูอ ่ืนเนอ่ื งดวยกิจการน้ัน (มาตรา ๙)

- การเปน พนกั งานผมู หี นา ทจ่ี า ยทรพั ย จา ยทรพั ยน นั้ เกนิ กวา ทค่ี วรจา ย เพอื่ ประโยชน
สาํ หรบั ตนเองหรอื ผอู น่ื (มาตรา ๑๐)

- การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบ เพื่อกอใหเกิดความเสียหายแก
ผูหนงึ่ ผใู ด หรือปฏบิ ตั ิหรอื ละเวนการปฏบิ ตั หิ นา ทีโ่ ดยทุจรติ (มาตรา ๑๑)

ó. ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ»ÃСͺÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞÇ‹Ò´ŒÇ¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃÔμ
¾.È.òõôò

เปน กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู ทตี่ ราขน้ึ เพอื่ สรา งกลไกและมาตรการในการปอ งกนั
และปราบปรามการทุจริตของเจาหนาที่ของรัฐและผูดํารงตําแหนงระดับสูง ซ่ึงในนิยามมาตรา ๔
เจาหนาที่ของรัฐ นอกจากจะหมายความถึง ผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ขาราชการหรือพนักงาน
สว นทอ งถนิ่ แลว ยงั รวมถงึ พนกั งาน ผปู ฏบิ ตั งิ าน หรอื ลกู จา งของรฐั วสิ าหกจิ หรอื หนว ยงานอน่ื ของรฐั ดว ย
และผูดํารงตําแหนงระดับสูง ยังหมายความรวมถึง กรรมการและผูบริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจดวย
มาตรการท่ีกฎหมายกําหนดจึงมีลักษณะเปนมาตรการปองกันการกระทําทุจริตของบุคลากรเหลาน้ัน
โดยรูปแบบและวิธีการทจุ ริตที่สะทอนใหเหน็ ในพระราชบัญญตั ดิ ังกลาว สรปุ ไดดงั นี้

- หามเจาหนาที่ของรัฐดําเนินการในลักษณะเปนการขัดกันระหวาง ประโยชนสวน
บุคคลและประโยชนส วนรวม ไดแ ก เปนคูสัญญา หรอื มสี วนไดเสียในสัญญาที่ทํากับหนว ยงานของรฐั
ท่ีเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นปฏิบัติหนาท่ี เปนหุนสวนหรือผูถือหุนในหางหุนสวนหรือบริษัทท่ีเขาเปน
คูสัญญากับหนวยงานของรัฐที่เจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นปฏิบัติหนาท่ี รับสัมปทานหรือคงถือสัมปทาน
จากรัฐวิสาหกิจอันมีลักษณะผูกขาดไมวาทางตรงหรือทางออม หรือเปนหุนสวนหรือผูถือหุน
ในหางหุนสวนหรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเขาเปนคูสัญญาในลักษณะดังกลาว เขาไปมีสวนไดเสีย
ในฐานะเปน กรรมการ ทป่ี รกึ ษา ตวั แทน พนกั งานหรอื ลกู จา งในธรุ กจิ ของเอกชนซงึ่ อยภู ายใตก ารควบคมุ
ตรวจสอบ หรอื กํากบั ดูแลของหนว ยงานของรัฐท่เี จา หนาท่ีของรฐั ผูน น้ั สังกัดหรือปฏิบัตหิ นาท่อี ันอาจ
ขดั ตอ ประโยชนส ว นรวมหรือความเปนอิสระในการปฏิบตั ิหนา ท่ี (มาตรา ๑๐๐)

- หามเจาหนาที่ของรัฐรับประโยชนทางทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุคคล
นอกจากทรัพยส นิ หรอื ประโยชนอ ันควรไดต ามกฎหมายหรอื กฎระเบียบขอ บงั คับทีอ่ อกตามกฎหมาย
เวน แตเปนการรบั ทรัพยส นิ หรือประโยชนต ามธรรมจรรยา (มาตรา ๑๐๓)

จากบทบญั ญตั ขิ องพระราชบญั ญตั ดิ งั กลา วขา งตน สามารถนาํ มาสงั เคราะห รปู แบบและ
วิธีการทจุ ริตในองคก รภาครัฐ ไดด ังน้ี

(ñ) ¡Òû¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·ËèÕ ÃÍ× ãªÍŒ Ó¹Ò¨ã¹μÓá˹§‹ ˹Ҍ ·ãèÕ ¹·Ò§áÊǧËÒ»ÃÐ⪹ʏ ÓËúÑ
μ¹àͧËÃÍ× ¼ÙŒÍ×è¹

รูปแบบการทุจริตนี้แสดงใหเห็นถึงการกระทําที่เปนการทุจริตอันเขาลักษณะของ
หลักเกณฑ “การทุจริต” เพราะมีการปฏิบัติหนาท่ีหรือใชตําแหนงหนาที่เพื่อมุงแสวงหาประโยชน

๓๗

เพ่ือตนเองหรือพวกพอง และเปนรูปแบบและวิธีการทุจริตท่ีพบมากท่ีสุดในรัฐวิสาหกิจหรือองคกร
ของรัฐท่ีดําเนินการในเชิงธุรกิจ ตัวอยางของการทุจริตในรูปแบบน้ี คือ การท่ีเจาหนาท่ีในองคกร
ภาครัฐที่มุงเนนการดําเนินการในเชิงธุรกิจยักยอกเงินหรือทรัพยขององคกรไปเปนของตน ซึ่งเปน
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๔๗ หรือการท่ีเจาหนาที่ในองคกรภาครัฐเรียกหรือ
รับสินบนเพื่อยอมใหมีการสมยอมในการเสนอราคา ในกระบวนการจัดซื้อจัดจางของรัฐวิสาหกิจ
ซึ่งเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๔๙ มาตรา ๑๕๐ รวมทั้งเปนความผิดตาม
พระราชบัญญัตวิ าดวยความผิดเก่ยี วกับการเสนอราคาตอหนว ยงานของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๐
นอกจากนี้ อาจเปนความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๓ ทั้งน้ีโดยสวนใหญรูปแบบการทุจริตดังกลาว
มักเปน การทุจริตขนาดเลก็ ทกี่ ระทาํ โดยเจาหนาทร่ี ะดบั ลาง

(ò) ¡Òû¯ºÔ μÑ ËÔ ¹ÒŒ ·ËèÕ ÃÍ× ãªÍŒ Òí ¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·¡èÕ Í‹ ãËàŒ ¡´Ô ¤ÇÒÁàÊÂÕ ËÒÂá¡Ã‹ °Ñ ËÃÍ× ¼ËŒÙ ¹§Öè ¼ãŒÙ ´
รปู แบบการกระทาํ ทกี่ อ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกร ฐั หรอื ผหู นงึ่ ผใู ดทเ่ี ปน ความผดิ ตาม

ท่กี ฎหมายบญั ญตั ิ ไดแ ก
- ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา เชน การทําลายทรัพยสินหรือเอกสาร

ขององคก รทตี่ นครอบครองอยซู งึ่ เปน ความผดิ ตามมาตรา ๑๕๘ การทาํ ใหผ อู น่ื ลว งรคู วามลบั ในองคก ร
ซ่ึงเปนความผิดตามมาตรา ๑๖๔ หรือการละท้ิงงานหรือทําใหงานหยุดชะงัก ซึ่งเปนความผิดตาม
มาตรา ๑๖๖

- ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั วิ า ดว ยความผดิ ของพนกั งานในองคก ารหรอื หนว ยงาน
ของรฐั พ.ศ.๒๕๐๒ เชน การเปน พนกั งานผมู หี นา ทซี่ อ้ื ทาํ จดั การ หรอื รกั ษาทรพั ยใ ด ใชอ าํ นาจหนา ท่ี
โดยทจุ รติ อนั เปน การเสยี หายแกอ งคก ารตามมาตรา ๘ การปฏบิ ตั หิ รอื ละเวน การปฏบิ ตั หิ นา ทโ่ี ดยมชิ อบ
เพอ่ื กอใหเ กิดความเสียหายแกผ ูหนึง่ ผใู ดตามมาตรา ๑๐

- ความผดิ ตามพระราชบญั ญตั วิ า ดว ยความผดิ เกยี่ วกบั การเสนอราคาตอ หนว ยงาน
ของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๒ เชน การละเวนไมดําเนินการยกเลิกการเสนอราคาท่ีมีการสมยอมราคากันตาม
มาตรา ๑๐ หรอื การกาํ หนดมาตรฐานในการเสนอราคาโดยทจุ รติ เพอ่ื ไมใ หม กี ารแขง ขนั อยา งเปน ธรรม
ตามมาตรา ๑๑

(ó) ¤ÇÒÁ¢Ñ´á§Œ ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐ⪹ʏ ‹Ç¹º¤Ø ¤ÅáÅлÃÐ⪹ʏ Ç‹ ¹ÃÇÁ (Conflict of
interests)

การกระทําท่ีเปนความขัดแยงกันระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชน
สวนรวม (Conflict of interest) หมายถึง สถานการณที่ผูดํารงตําแหนงสาธารณะมีผลประโยชน
สว นตนอนั เนอ่ื งมาจากการปฏบิ ตั หิ นา ทห่ี รอื การใชอ าํ นาจหนา ทขี่ องตน ซง่ึ ไมส อดคลอ งกบั ประโยชน
ของสว นรวม ซ่ึงมอี งคประกอบหลัก ๓ ประการรว มกัน คือ

ประการทหี่ นง่ึ มผี ลประโยชนส ว นตวั ไมว า จะเปน ตวั เงนิ หรอื ไม หรอื เปน ผลประโยชน
สวนตวั ของตนหรือของพวกพองคนใกลช ิด

๓๘

ประการท่ีสอง มีหนาที่และความรับผิดชอบตามตําแหนงราชการหรือสาธารณะ
ซ่ึงตอ งมคี วามเปน กลาง โดยยดึ ผลประโยชนส าธารณะเหนือประโยชนส วนตน

ประการทส่ี าม มกี ารแทรกแซงการใชด ลุ พนิ จิ อยา งเปน กลาง คอื สภาพความขดั แยง
เขามามีบทบาทหรือแทรกแซงการใชดุลพินิจท่ีเปนกลางของผูดํารงตําแหนง จนทําใหการตัดสินใจ
เบยี่ งเบนไปจากมาตรฐานทคี่ วรจะเปน ในการปฏิบตั ิงาน

เมอื่ พจิ ารณาองคป ระกอบสามประการขางตน จะเหน็ ไดวา ความขัดแยงระหวาง
ผลประโยชนสวนตนและสวนรวมเขาขายเปนการทุจริตอีกลักษณะหนึ่ง เนื่องจากมีการใชอํานาจ
หรือตําแหนงหนาท่ีในการแสวงหาประโยชนสวนตน ซ่ึงความขัดแยงของผลประโยชนนี้เปนรูปแบบ
การทุจริตที่มีความสําคัญและกอใหเกิดผลเสียหายตอการดําเนินงานขององคกรภาครัฐที่มุงเนน
การดาํ เนนิ การในเชงิ ธรุ กจิ ไดม าก เนอ่ื งจากประโยชนท ไี่ ดร บั จากการกระทาํ ทมี่ กี ารขดั กนั ของผลประโยชน
อาจไมใชประโยชนโดยตรง แตเปนประโยชนแอบแฝงและคลุมเครือ ทําใหย ากตอการตรวจสอบหรือ
พจิ ารณาวา การกระทาํ ในลกั ษณะนน้ั เปน การแสวงหาประโยชนโ ดยไมช อบ หรอื เปน ความผดิ ทสี่ มควร
ถูกลงโทษหรือไม และกวาจะพิจารณาไดชัดเจน ผูกระทําการอันมีลักษณะขัดกันของผลประโยชน
อาจไดร ับประโยชนไปแลว มากมายมหาศาล ในขณะทีผ่ ลเสียหายรา ยแรงตกอยแู กองคกรไปเสยี แลว

แตเดิมความเขาใจของคนทั่วไปเห็นวา การขัดกันของผลประโยชนเปนเร่ืองของ
จริยธรรมและไมเปนที่สนใจนัก แตในปจจุบันเปนเรื่องที่อยูในกระแสสังคมอยางมากเพราะการรับรู
ขา วสารทกี่ วา งขวางและละเอยี ดลกึ ซงึ้ ทาํ ใหเ หน็ ถงึ ขอ เทจ็ จรงิ ทเี่ ปน ปญ หาเกดิ ขนึ้ เปน จาํ นวนมาก จนมี
การกาํ หนดกรณกี ารขดั กนั ของผลประโยชนใ นบางกรณไี วใ นกฎหมายเพอื่ ใหม ผี ลบงั คบั ใชก บั เจา หนา ที่
ของรฐั ในลกั ษณะเปน มาตรการปอ งกนั การทจุ รติ และเปน บทกาํ หนดความผดิ ทช่ี ดั เจนและแนน อนยงิ่ ขนึ้
ซึ่งสามารถจําแนกวิธีการทุจริตท่ีมีลักษณะเปนการขัดกันของผลประโยชนในองคกรภาครัฐท่ีมุงเนน
การดําเนินการในเชิงธุรกจิ ตามทม่ี ีกฎหมายกาํ หนดไวไ ดด ังนี้

(๑) การเปนคูสัญญา หุนสวน หรือมีสวนไดเสียในสัญญาหรือในกิจการที่ทํา
กบั องคก รภาครฐั ที่มุงเนนการดาํ เนนิ การในเชงิ ธรุ กจิ ซ่งึ ตนปฏิบัติหนาท่ีอยู

(๒) การเปนผูรับสัมปทานหรือคูสัญญาท่ีมีลักษณะผูกขาดกับหนวยงานของรัฐ
ทตี่ นปฏบิ ัตหิ นา ทีอ่ ยูไมวาโดยทางตรงหรอื ทางออม

(๓) การเปนกรรมการ ทปี่ รกึ ษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจา งในธุรกิจของเอกชน
ซ่งึ อยภู ายใตการกาํ กบั ดูแล ควบคุม หรอื ตรวจสอบของรัฐหรือซง่ึ แขงขันกับองคกรภาครัฐ ท่มี ุง เนน
การดําเนนิ การในเชิงธรุ กิจซง่ึ ตนอยูในสงั กดั หรอื ปฏิบัตหิ นา ทอี่ ยู

(๔) การดํารงตําแหนงทับซอนในหลายองคกรหรือสถาบันซ่ึงมีความเก่ียวของกับ
องคกรภาครัฐท่ีมุงเนนการดําเนินการในเชิงธุรกิจ อันอาจกอใหเกิดการตัดสินใจที่โนมเอียงไปจาก
ประโยชนส าธารณะอนั เนอ่ื งมาจากบทบาทอกี สถานะหนง่ึ ทข่ี ดั แยง กนั เชน การเปน กรรมการรฐั วสิ าหกจิ
มากกวาหน่ึงแหง การเปนกรรมการหรือเจาหนาท่ีในพรรคการเมือง ซ่ึงเปนชองทางใหฝายการเมือง
แทรกแซงการดําเนินงานขององคกรภาครัฐได

๓๙

º··èÕ ô

¡Òâ´Ñ ¡Ñ¹¢Í§¼Å»ÃÐ⪹ÊÇ‹ ¹μ¹áÅмŻÃÐ⪹ʏ ‹Ç¹ÃÇÁ

ñ. ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÕ¹»ÃШӺ·

๑.๑ เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจไดเ ขา ใจความหมายและปญ หาของการขดั กนั ระหวา ง
ประโยชนส ว นตนและประโยชนสว นรวม

๑.๒ เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจไดท ราบถงึ มาตรการของรฐั ในการปอ งกนั ความขดั แยง กนั
ระหวางผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสว นรวม

ò. ʋǹ¹Ó

การขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสว นรวม คอื การท่ีเจาหนาท่ีของรฐั
ปฏิบัติหนาที่โดยคํานึงถึงประโยชนสวนตนหรือพวกพองเปนหลัก โดยไมคํานึงถึงประโยชนสวนรวม
(ประโยชนสาธารณะ) ซึ่งถือเปนความผิดเชิงจริยธรรมและเปนความผิดข้ันแรกท่ีจะนําไปสูการทุจริต
สรา งความเสียหายใหเกดิ ขนึ้ กับประเทศชาติ

ó. à¹éÍ× ËÒμÒÁËÑÇ¢ŒÍ

๓.๑ ความหมายของผลประโยชนทบั ซอ น
๓.๒ มาตรการของรัฐในการปองกันความขัดแยงกันระหวางผลประโยชนสวนตน
และผลประโยชนสวนรวม

ô. ÊÇ‹ ¹ÊûØ

ปญหาการทุจริตเกิดจากพฤติกรรมของคนในสังคม หากคนในสังคมรูบทบาทหนาที่
ของตน ทําหนาที่ของตนอยางซ่ือสัตยสุจริต รูจักแยกประโยชนสวนตนออกจากประโยชนสวนรวม
ก็จะปราศจากการทุจริต

õ. ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ð¹Ó

ผูสอนตงั้ ปญหาใหนกั เรียนวนิ ิจฉัยเปน รายบุคคล และสวนรวม เพอื่ ใหร ูจักคดิ วเิ คราะห
และวิจารณเ นื้อหาทเี่ รยี น ดวยการนาํ เทคนิค วิธกี ารตางๆ ซ่ึงสามารถบรู ณาการความคิดได

ö. ÃÒ¡ÒÃÍÒŒ §ÍÔ§

แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อสรางความตระหนักรูและมีสวนรวมในการ
ปองกนั การทุจรติ ของสาํ นกั งาน ป.ป.ช.

๔๐

การขัดกันของผลประโยชนสวนตนและผลประโยชนสวนรวม หรือการขัดกันระหวาง
ผลประโยชนส ว นบคุ คลกบั ผลประโยชนส าธารณะ หรอื การขดั แยง ผลประโยชนห รอื ผลประโยชนท บั ซอ น
หรอื การทจุ รติ เชิงนโยบาย (Conflict of Interests : COI) มคี วามหมายเดียวกัน คอื การท่เี จาหนา ท่ี
ของรัฐปฏิบัติหนาที่โดยคํานึงถึงประโยชนสวนตนหรือพวกพองเปนหลัก โดยไมคํานึงถึงประโยชน
สวนรวม (ประโยชนสาธารณะ) ซึ่งถือเปนความผิดเชิงจริยธรรมและเปนความผิดขั้นแรกที่จะนําไปสู
การทจุ รติ สรางความเสียหายใหเกดิ ขน้ึ กบั ประเทศชาติ

เพอื่ เปน การเสรมิ สรา งคณุ ธรรมและความโปรง ใสในการดาํ เนนิ งานของหนว ยงานภาครฐั
รัฐบาลจึงกําหนดยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามทุจริต ระยะท่ี ๓ (พ.ศ.๒๕๖๐ -
๒๕๖๔) กําหนดใหการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสเปนกลยุทธสําคัญในการปองกันการทุจริต
เชงิ รกุ เพอื่ ใหห นว ยงานภาครฐั มกี ารดาํ เนนิ งานอยา งโปรง ใส มแี นวทางในการปอ งกนั ความเสยี่ งทอ่ี าจ
กอ ใหเ กดิ การทจุ ริตและสามารถยบั ยั้งการทจุ รติ ทอ่ี าจเกดิ ขึ้นได

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¼Å»ÃÐ⪹· ºÑ «ŒÍ¹

คําวา Conflict of Interests มีการใชคําในภาษาไทยไวหลายคํา เชน “ผลประโยชน
ทับซอน” “ผลประโยชนขัดกัน” “ผลประโยชนขัดแยง” หรือ “ความขัดแยงกันระหวางผลประโยชน
สวนตนและผลประโยชนสวนรวม” ถอยคําเหลานี้ถือเปนรูปแบบหน่ึงของการแสวงหาประโยชน
โดยมิชอบ อันเปนการกระทําที่ขัดตอหลักคุณธรรม จริยธรรม และหลักการบริหารกิจการบานเมือง
ท่ีดี (Good Governance) โดยท่ัวไปเร่ืองผลประโยชนทับซอน จึงหมายถึงความทับซอนระหวาง
ผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชนส าธารณะทมี่ ผี ลตอ การปฏบิ ตั หิ นา ทข่ี องเจา หนา ทขี่ องรฐั กลา วคอื
เปนสถานการณท่ีเจาหนาที่ของรัฐมีผลประโยชนสวนตนอยูและไดใชอิทธิพลตามอํานาจหนาท่ีและ
ความรบั ผดิ ชอบ เพอื่ ใหเ กดิ ประโยชนส ว นตวั โดยกอ ใหเ กดิ ผลเสยี ตอ ผลประโยชนส ว นรวม มหี ลากหลาย
รูปแบบไมจํากัดวาจะอยูเฉพาะในรูปของตัวเงินหรือทรัพยสินเทานั้น แตรวมถึงผลประโยชนอ่ืนๆ
ทีไ่ มใชในรปู ตัวเงนิ หรือทรัพยส ิน

ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹ ¡.¾. ไดใ หน ยิ ามคาํ วา “ผลประโยชนท บั ซอ น” คอื สถานการณห รอื การกระทาํ
ของบุคคล (ไมวาจะเปนนักการเมือง ขาราชการ พนักงานบริษัท ผูบริหาร) มีผลประโยชนสวนตน
เขามาเก่ียวของ จนสงผลกระทบตอการตัดสินใจ หรือการปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงนั้น การกระทํา
ดงั กลา วอาจเกดิ ข้นึ â´ÂÃÙŒμÇÑ ËÃ×ÍäÁ‹ÃμÙŒ ÇÑ ·Ñ§é à¨μ¹Ò ËÃÍ× äÁ‹à¨μ¹Ò หรอื บางเร่อื งเปนการปฏบิ ัติสืบตอ
กนั มาจนไมเ หน็ วา จะเปน สง่ิ ผดิ แตอ ยา งใด พฤตกิ รรมเหลา นเี้ ปน การกระทาํ ความผดิ ทางจรยิ ธรรมของ
เจา หนา ทรี่ ฐั ทต่ี อ งคาํ นงึ ถงึ ผลประโยชนส าธารณะ (ประโยชนข องสว นรวม) แตก ลบั ตดั สนิ ใจปฏบิ ตั หิ นา ที่
โดยคาํ นึงถงึ ประโยชนของตนเองหรอื พวกพอง

ผลประโยชนทับซอนหรือการขัดกันของผลประโยชน (conflict of interests) คือ
สถานการณท ่ีบุคคลผูด าํ รงตําแหนง อนั เปน ทไ่ี ววางใจ (เชน ทนายความ นักการเมอื ง ผบู ริหาร หรอื

๔๑

ผูอํานวยการของบริษัทเอกชน หรือหนวยงานรัฐ) เกิดความขัดแยงข้ึนระหวางผลประโยชนสวนตัว
กบั ผลประโยชนท างวชิ าชีพ (professional interests) อันสง ผลใหเ กิดปญ หาทีเ่ ขาไมสามารถปฏิบัติ
หนา ทไ่ี ดอ ยา งเปน กลาง/ไมล าํ เอยี งผลประโยชนท บั ซอ นทเี่ กดิ ขน้ึ อาจสง ผลใหเ กดิ ความไมไ วว างใจทม่ี ตี อ
บคุ คลผนู นั้ วา เขาจะสามารถปฏบิ ตั งิ านตามตาํ แหนง ใหอ ยใู นครรลองของคณุ ธรรมจรยิ ธรรมไดม ากนอ ย
เพยี งใด

¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ (Conflict) คอื สถานการณที่ขดั กัน ไมล งรอย เปนเหตกุ ารณอ ันเกิดขึน้
เมอื่ บคุ คลไมส ามารถตดั สนิ ใจกระทาํ อยา งใดอยา งหนง่ึ ความขดั แยง อาจเกดิ ขนึ้ ไดจ ากความไมล งรอยกนั
ในเรอื่ งความคดิ แนวทางปฏิบตั ิ หรือผลประโยชน

¼Å»ÃÐ⪹Ê‹Ç¹μ¹ (Private Interest) คือ ผลตอบแทนที่บุคคลไดรับโดยเห็นวา
มคี ณุ คา ทจ่ี ะสนองตอบความตอ งการของตนเองหรอื ของกลมุ ทต่ี นเองเกยี่ วขอ ง ผลประโยชนเ ปน สงิ่ จงู ใจ
ใหค นเรามีพฤตกิ รรมตา งๆ เพื่อสนองความตองการทง้ั หลาย

¼Å»ÃÐ⪹Ê‹Ç¹μ¹ ÁÕ ò »ÃÐàÀ· ¤×Í
๑. ผลประโยชนสวนตนท่ีเก่ียวกับเงิน (pecuniary) ไมไดเก่ียวกับการไดมาซ่ึงเงินทอง
เทา นนั้ แตยังเกี่ยวกบั การเพม่ิ พูนประโยชนหรอื ปกปอ งการสูญเสยี ของสง่ิ ที่มอี ยแู ลว เชน ท่ีดนิ หุน
ตําแหนงท่ีรับงานจากหนวยงาน รวมถึงการไดมาซ่ึงผลประโยชนอื่นๆ ที่ไมไดอยูในรูปตัวเงิน เชน
สมั ปทาน สวนลด ของขวัญ หรอื ของทแี่ สดงนาํ้ ใจไมตรีอน่ื ๆ
๒. ผลประโยชนท ไ่ี มเ กย่ี วกบั เงนิ (non-pecuniary) เกดิ จากความสมั พนั ธร ะหวา งบคุ คล
ครอบครวั หรอื กจิ กรรมทางสังคม วัฒนธรรมอนื่ ๆ เชน สถาบันการศึกษา สมาคม ลัทธิแนวคิด มักอยู
ในรูปความลําเอียง/อคติ/เลือกท่ีรักมักท่ีชัง และมีขอสังเกตวาแมแตความเชื่อ/ความคิดเห็นสวนตัว
กจ็ ัดอยใู นประเภทน้ี
¼Å»ÃÐ⪹ʏ ‹Ç¹ÃÇÁËÃ×ͼŻÃÐ⪹ʏ Ò¸ÒóР(Public Interest) ส่งิ ใดก็ตามท่ีให
ประโยชนส ขุ แกก ลมุ บคุ คลทง้ั หลายในสงั คม ผลประโยชนส าธารณะยงั หมายถงึ หลกั ประโยชนต อ มวลสมาชกิ
ในสงั คม
¼Å»ÃÐ⪹·ºÑ «ÍŒ ¹ (Conflict of Interests) องคก รสากล หรอื Organization for
Economic Cooperation and Development (OECD) นยิ ามความหมายวา เปน ความทบั ซอ นระหวา ง
ผลประโยชนส วนตนและผลประโยชนท บั ซอ น มี ๓ ประเภท คอื
๑. ผลประโยชนทับซอนที่เกิดขึ้นจริง (actual) มีความทับซอนระหวางผลประโยชน
สว นตน และสาธารณะเกิดขึ้น
๒. ผลประโยชนทับซอนทเี่ ห็น (perceived & apparent) เปน ผลประโยชนทับซอ นที่คน
เห็นวามี แตจริงๆ อาจไมมีก็ได ถาจัดการผลประโยชนทับซอนประเภทนี้อยางขาดประสิทธิภาพ
ก็อาจนํามาซ่ึงผลเสียไมนอยกวาการจัดการผลประโยชนทับซอนท่ีเกิดข้ึนจริง ขอน้ีแสดงวาเจาหนาท่ี
ไมเพียงแตจะตองประพฤติตนอยางมีจริยธรรมเทานั้น แตตองทําใหคนอ่ืนๆ รับรูและเห็นดวยวา
ไมไ ดรบั ประโยชนเชนนนั้ จริง

๔๒

๓. ผลประโยชนท บั ซอ นทเี่ ปน ไปได (potential) ผลประโยชนส ว นตนทมี่ ใี นปจ จบุ นั อาจจะ
ทับซอนกับผลประโยชนสาธารณะไดในอนาคต

˹Ҍ ·èշѺ«ŒÍ¹ (Conflict of Duty) ËÃ×ͼŻÃÐ⪹àºÂÕ ´«ÍŒ ¹¡¹Ñ (Competing
Interests) ÁÕ ò »ÃÐàÀ· ¤×Í

»ÃÐàÀ·áá เกดิ จากการที่เจา หนาท่มี บี ทบาทหนา ทม่ี ากกวาหน่งึ เชน เปนเจา หนาที่ใน
หนว ยงานและเปน คณะกรรมการดา นระเบยี บวนิ ยั ประจาํ หนว ยงานดว ย ปญ หาจะเกดิ เมอื่ ไมส ามารถ
แยกแยะบทบาทหนาท่ีทั้งสองออกจากกันได อาจทําใหทํางานไมมีประสิทธิภาพ หรือแมกระท่ังเกิด
ความผิดพลาดหรอื ผดิ กฎหมาย ปกตหิ นวยงานมักมีกลไกปองกันปญ หานโี้ ดยแยกแยะบทบาทหนาท่ี
ตางๆ ใหชัดเจน แตก็ยังมีปญหาไดโดยเฉพาะอยางย่ิงในหนวยงานท่ีมีกําลังคนนอยหรือมีเจาหนาที่
บางคนเทาน้ัน ท่ีสามารถทํางานบางอยางท่ีคนอื่นๆ ทําไมได คนสวนใหญไมคอยหวงปญหานี้กัน
เพราะดเู หมือนไมมเี รอื่ งผลประโยชนส ว นตนมาเก่ยี วขอ ง

»ÃÐàÀ··ÊÕè ͧ เกิดจากการทเี่ จาหนา ท่ีมีบทบาทหนาท่มี ากกวาหน่งึ บทบาท และการทาํ
บทบาทหนา ท่ใี นหนว ยงานหนง่ึ นั้น ทาํ ใหไ ดขอมูลภายในบางอยา งทอ่ี าจนาํ มาใชป ระโยชนแ กการทํา
บทบาทหนาที่ใหแกอีกหนวยงานหน่ึงได ผลเสียคือ ถานําขอมูลมาใชก็อาจเกิดการประพฤติมิชอบ
หรือความลําเอียง/อคติตอคนบางกลุม ควรถือวาหนาที่ทับซอนเปนปญหาผลประโยชนทับซอนดวย
เพราะวา มหี ลกั การจดั การแบบเดยี วกนั นน่ั คอื การตดั สนิ ใจทาํ หนา ทตี่ อ งเปน กลางและกลไกการจดั การ
ผลประโยชนทับซอ นก็สามารถนาํ มาจดั การกบั หนาท่ที บั ซอ นได

û٠Ẻ¢Í§¼Å»ÃÐ⪹·Ñº«ÍŒ ¹â´Â·ÇèÑ ä»ÊÒÁÒöầ‹ Í͡໹š ÷ û٠Ẻ ไดแ ก
๑. การรบั ผลประโยชนต า งๆ (Accepting benefits) คอื การรบั สนิ บน หรอื รบั ของขวญั
หรอื ผลประโยชนใ นรปู แบบอนื่ ๆ ทไี่ มเ หมาะสมและมผี ลตอ การปฏบิ ตั งิ านของเจา หนา ที่ เชน หนว ยงาน
ราชการรับเงินบริจาคสรางสํานักงานจากนักธุรกิจหรือบริษัทธุรกิจท่ีเปนคูสัญญากับหนวยงาน
การใชง บประมาณของรฐั เพอ่ื จดั ซอื้ จดั จา ง แลว เจา หนา ทไ่ี ดร บั ของแถมหรอื ผลประโยชนอ น่ื ตอบแทน
๒. การทําธุรกิจกับตัวเอง (Self-dealing) หรือเปนคูสัญญา (Contracts) หมายถึง
สถานการณท เ่ี จา หนา ทข่ี องรฐั มสี ว นไดเ สยี ในสญั ญาทที่ าํ กบั หนว ยงานทต่ี นสงั กดั เชน การใชต าํ แหนง
หนา ทท่ี ท่ี าํ ใหห นว ยงานทาํ สญั ญาซอ้ื สนิ คา จากบรษิ ทั ของตนเองหรอื จา งบรษิ ทั ของตนเองเปน ทป่ี รกึ ษา
หรอื ซ้ือที่ดินของตนเองในการจดั สรางสาํ นักงาน
๓. การทาํ งานหลงั จากออกจากตาํ แหนง สาธารณะหรอื หลงั เกษยี ณ (Post-employment)
หมายถงึ การทบ่ี คุ ลากรออกจากหนว ยงานของรฐั และไปทาํ งานในบรษิ ทั เอกชนทด่ี าํ เนนิ ธรุ กจิ ประเภท
เดยี วกับทต่ี นเองเคยมอี าํ นาจควบคุม กํากบั ดูแล
๔. การทาํ งานพเิ ศษ (Outside employment or moonlighting) เชน เจา หนา ทข่ี องรฐั
ตั้งบริษัทดําเนินธุรกิจท่ีเปนการแขงขันกับหนวยงานหรือองคกรสาธารณะท่ีตนสังกัด หรือการรับจาง
เปนท่ีปรึกษาโครงการ โดยอาศัยตําแหนงในราชการสรางความนาเชื่อถือวาโครงการของผูวาจาง
จะไมม ปี ญ หาติดขัดในการพจิ ารณาจากหนวยงานที่ตนสังกดั อยู Conflict of Interests

๔๓

๕. การรบั รขู อ มลู ภายใน (Inside information) หมายถงึ สถานการณท ผี่ ดู าํ รงตาํ แหนง
สาธารณะใชประโยชนจากการรูขอมูลภายในเพื่อประโยชนของตนเอง เชน ทราบวาจะมีการตัดถนน
ไปตรงไหน กร็ ีบไปซ้อื ท่ดี ินโดยใสชอ่ื ภรรยา หรอื ทราบวาจะมีการซื้อที่ดนิ เพื่อทําโครงการของรฐั ก็รีบ
ไปซื้อทด่ี นิ เพอ่ื เกง็ กําไรและขายใหกบั รฐั ในราคาท่สี งู ข้นึ

๖. การใชทรัพยสินของหนวยงานเพ่ือประโยชนของธุรกิจสวนตัว (Using your
employer’s property for private advantage) เชน การนาํ เครอ่ื งใชส าํ นกั งานตา งๆ กลบั ไปใชท บ่ี า น
การนาํ รถยนตใ นราชการไปใชเพื่องานสวนตวั

๗. การนําโครงการสาธารณะลงในเขตเลือกต้ังเพื่อประโยชนในทางการเมือง
(Pork-belling) เชน การทร่ี ฐั มนตรอี นมุ ตั โิ ครงการของกระทรวงไปลงในพนื้ ทหี่ รอื บา นเกดิ ของตนเอง
หรือการใชง บประมาณสาธารณะเพ่อื การหาเสยี งเลือกต้ัง

จากรปู แบบประเภทตา งๆ ของปญหาความขัดแยง กนั ในประโยชนส ว นตัวและประโยชน
สวนรวม จะเห็นวาโอกาสความเปนไปไดที่จะเกิดปญหามีสูงมากเพราะปญหาดังกลาวมีขอบเขต
ครอบคลุมพฤติกรรมท่ีเขาขายความขัดแยงอยางกวางขวาง ดังน้ัน กลไกหรือเครื่องมือสวนใหญท่ีใช
ในการจัดการกบั ปญหาความขัดแยงของผลประโยชนส วนตวั กบั ผลประโยชนส วนรวม คือ การมีหลกั
คุณธรรมและจริยธรรมในการทํางานของบุคคลสาธารณะรวมถึงการมีกฎหมายท่ีสามารถครอบคลุม
ถงึ การกระทําผดิ

¡ÒÃãËŒ - ¡ÒÃÃѺ¢Í§¢ÇÞÑ áÅмŻÃÐ⪹

ขา ราชการและเจา หนา ทภ่ี าครฐั ตอ งตดั สนิ ใจและกระทาํ หนา ทโี่ ดยยดึ ผลประโยชนส าธารณะ
เปน หลกั ปราศจากผลประโยชนส ว นบคุ คล หากขา ราชการและเจา หนา ทภี่ าครฐั คนใดรบั ของขวญั และ
ผลประโยชนที่ทําใหมีอิทธิพลตอการตัดสินใจ และการกระทําหนาท่ีที่ถือวาเปนการประพฤติมิชอบ
ยอ มทาํ ลายความเชอ่ื ถอื ไวว างใจของประชาชน กระทบตอ ความถกู ตอ งชอบธรรมทอี่ งคก รภาครฐั ยดึ ถอื
ในการบรหิ ารราชการ รวมทั้งกระทบตอกระบวนการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย

อะไรคอื ของขวัญและประโยชนอ ่นื ใดท่ีใชใ นความหมายนี้
➢ ของขวัญและประโยชนอื่นใด หมายถึง สิ่งใดๆ หรือบริการใดๆ (เงิน ทรัพยสิน
สงิ่ ของ บรกิ ารหรอื อนื่ ๆ ทม่ี มี ลู คา ) ทข่ี า ราชการและเจา หนา ทภี่ าครฐั ใหแ ละหรอื ไดร บั ทน่ี อกเหนอื จาก
เงินเดือน รายได และผลประโยชนจ ากการจา งงานในราชการปกติ
➢ ของขวัญและผลประโยชนอ่ืนใดสามารถตีคาตีราคาเปนเงิน หรืออาจไมสามารถ
ตีคา ตรี าคาได
➢ ของขวัญท่ีสามารถคิดราคาได (Tangible gifts) หมายรวมถึง สินคาบริโภค
ความบนั เทิง การตอ นรับ ใหท ี่พกั การเดินทาง อุปกรณเ ครื่องใช เชน ตัวอยางสนิ คา บัตรของขวญั
เครื่องใชส ว นตัว บตั รกํานลั บตั รลดราคาสนิ คาหรอื บรกิ าร และเงิน เปนตน

๔๔

➢ ของขวญั และประโยชนอ นื่ ใดทค่ี ดิ เปน ราคาไมไ ด (Intangible gifts and benefits)
หมายถึง ส่ิงใดๆ หรอื บริการใดๆ ท่ไี มสามารถคดิ เปนราคาท่ีจะซื้อขายได อาทิ การใหบ ริการสวนตวั
การปฏิบตั ิดวยความชอบสวนตน การเขา ถงึ ประโยชนหรอื การสัญญาวา จะใหหรือการสัญญาวาจะได
รับประโยชนม ากกวา คนอ่นื ๆ

ÁÒμáÒâͧÃѰ㹡Òû‡Í§¡Ñ¹¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§¡Ñ¹ÃÐËÇ‹Ò§¼Å»ÃÐ⪹Ê‹Ç¹μ¹
áÅмŻÃÐ⪹ʏ ‹Ç¹ÃÇÁ

จะเหน็ ไดว า เจา หนา ทข่ี องรฐั จะตอ งเปน ผมู จี ติ สาํ นกึ ทถ่ี กู ตอ งและจรยิ ธรรมในการปฏบิ ตั ิ
หนา ทเ่ี พอ่ื สว นรวมตลอดเวลา พฤตกิ รรมความขดั แยง กนั ระหวา งผลประโยชนส ว นตนและผลประโยชน
สวนรวมอาจเกิดข้ึนไดโดยเจตนาหรือไมเจตนา รัฐจึงไดมีขอกําหนดเพ่ือปองกันพฤติกรรมดังกลาว
ดงั น้ี

๑. กําหนดคุณสมบัติพึงประสงคและคุณสมบัติตองหามของรัฐ (Qualification and
Disqualification from Office) เชน เจาหนาที่ของรฐั จะตองไมเ ปน กรรมการบรษิ ทั เปน ตน

๒. การเปดเผยขอมูลทรัพยสิน หนี้สิน และธุรกิจครอบครัวตอสาธารณะ (Discloser
of Personal Interest) การแจงถงึ จํานวนหนุ หรือธรุ กิจสวนตวั วามอี ะไรบาง เชน การแจง ทรัพยส ิน
สว นบคุ คล เมือ่ มขี อขดั แยงเกิดข้ึน การแจงทรัพยสนิ ของเจา หนา ทร่ี ฐั กอนและหลงั ดาํ รงตาํ แหนง

๓. การกําหนดขอพึงปฏิบัติ (Code of Conduct) เพื่อเปนการสรางกรอบพฤติกรรม
ใหเจาหนาท่ีของรัฐยึดม่ันในหลักจรรยาบรรณ ไมทําลายความเช่ือม่ันของสังคม หรือกอใหเกิดวิกฤต
ศรทั ธา

μÑÇÍ‹ҧ¢ÍŒ äÁ‹¾§Ö »¯ºÔ μÑ Ô¢Í§à¨ÒŒ ˹ŒÒ·èբͧÃÑ°

๑. เจาหนาท่ีของรัฐ äÁ‹¾Ö§ÃѺ¢Í§μͺ᷹ ท่ีเปนเงินและไมใชตัวเงินที่มูลคาสูงเกิน
ความเหมาะสมและไดมาโดยมิชอบ

๒. เจาหนาท่ีของรัฐ äÁ‹¾Ö§μÑ´ÊÔ¹ã¨ã¹Ë¹ŒÒ·Õè¡Ò÷íÒ§Ò¹ â´ÂÁÕàÃè×ͧ¢Í§¡ÒÃà§Ô¹
áÅСÒÃàÁ×ͧࢌÒÁÒà¡èÕÂÇ¢ŒÍ§ เชน การลงคะแนนเสียงของขาราชการเพื่อออกกฎหมายหรือกระทํา
อน่ื ใดท่มี ีผลกระทบตอ สวนรวม

๓. เจา หนา ทขี่ องรฐั äÁ¾‹ §Ö ·Ó§Ò¹ã¹μÓá˹§‹ ·àÕè ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ §ã¹ÀÒ¤¸ÃØ ¡¨Ô ËÅ§Ñ ¾¹Œ μÓá˹§‹
ราชการ เปนการปองกันมิใหผูดํารงตําแหนงทางราชการนําขอมูลลับภายในหนวยงานราชการท่ีทราบ
ไปใชป ระโยชนห ลงั ออกจากตาํ แหนง แลว และปอ งกนั การใชส ทิ ธพิ เิ ศษในการตดิ ตอ กบั หนว ยงานราชการ
ในฐานะที่เคยดาํ รงตาํ แหนง สาํ คญั ในหนว ยงานราชการมาแลว

๔๕

ËÅÑ¡¡Òà ô »ÃСÒÃÊÓËÃºÑ ¡Òû͇ §¡¹Ñ àÃÍ×è §¼Å»ÃÐ⪹· Ѻ«ŒÍ¹
๑. »¡»Í‡ §¼Å»ÃÐ⪹ʏ Ò¸ÒóР: การทาํ เพอื่ ผลประโยชนข องสาธารณะเปน หนา ทห่ี ลกั

ท่ีตองตัดสินใจและใหคําแนะนําภายในกรอบกฎหมายและนโยบาย จะตองทํางานในขอบเขตหนาที่
พจิ ารณาความถกู ผดิ ไปตามเนอ้ื ผา ไมใ หผ ลประโยชนส ว นตนมาแทรกแซง รวมถงึ ความเหน็ หรอื ทศั นคติ
สว นบุคคล การปฏิบัติตอแตละบุคคลอยางเปนกลาง ไมม อี คตลิ าํ เอยี งดว ยเรื่องศาสนา อาชพี จุดยนื
ทางการเมือง เผา พนั ธุ วงศตระกลู ฯลฯ ทั้งน้ี เจาหนา ท่ีไมเ พยี งปฏิบัติตามกฎหมายเทา น้ัน แตต อ งมี
จรยิ ธรรมดวย

๒. ʹѺʹع¤ÇÒÁâ»Ã‹§ãÊáÅФÇÒÁ¾ÃŒÍÁÃѺ¼Ô´ : การปองกันผลประโยชนทับซอน
ตองอาศัยกระบวนการแสวงหา เปดเผยและการจัดการท่ีโปรงใส นั่นคือ เปดโอกาสใหตรวจสอบ
และมีความพรอ มรบั ผดิ มวี ธิ กี ารตางๆ เชน จดทะเบยี นผลประโยชน โยกยา ยเจาหนาท่จี ากตาํ แหนง
ที่เก่ียวของกับผลประโยชนทับซอน การเปดเผยผลประโยชนสวนตนหรือความสัมพันธที่อาจมีผลตอ
การปฏบิ ตั หิ นา ที่ ถอื เปน ขนั้ ตอนแรกของการจดั การผลประโยชนท บั ซอ น การใชก ระบวนการอยา งเปด
เผยทว่ั หนา จะทาํ ใหเ จา หนา ทร่ี ว มมอื และสรา งความเชอื่ มน่ั แกป ระชาชนผรู บั บรกิ ารและผมู สี ว นไดเ สยี

๓. ʧ‹ àÊÃÁÔ ¤ÇÒÁÃºÑ ¼´Ô ªÍºÊÇ‹ ¹º¤Ø ¤ÅáÅл¯ºÔ μÑ μÔ ¹à»¹š ẺÍÂÒ‹ § : การแกป ญ หาหรอื
จัดการผลประโยชนทับซอ นจะสะทอ นถงึ ความยึดหลกั คณุ ธรรมและความเปนมอื อาชีพของเจา หนาที่
และองคกร การจดั การตองอาศยั ขอมลู นําเขา จากทกุ ระดับในองคกร ฝายบรหิ ารตองรบั ผดิ ชอบเรื่อง
การสรางระบบและนโยบาย เจาหนาท่ีก็ตองมีหนาท่ีความรับผิดชอบระบุผลประโยชนทับซอนที่ตนมี
ตองจัดการกับเรื่องสวนตน เพื่อหลีกเล่ียงผลประโยชนทับซอนมากท่ีสุดเทาที่ทําได และหัวหนา
หนว ยงานก็ตอ งเปน แบบอยา งดวย

๔. ÊÃÒŒ §ÇѲ¹¸ÃÃÁͧ¤¡ à : หัวหนาหนว ยงานตอ งสรางสภาพแวดลอ มเชิงนโยบายที่
ชว ยสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในเวลาทม่ี ปี ระเดน็ ผลประโยชนท บั ซอ นเกดิ ขน้ึ และการสรา งวฒั นธรรมแหง
ความซื่อตรงตอหนาที่ ซึ่งตอ งอาศยั วิธีการดังนี้

- ใหข อ แนะนาํ และการฝก อบรมเจา หนา ทเี่ พอ่ื สง เสรมิ ความเขา ใจเกยี่ วกบั กฎเกณฑ
และการปฏบิ ัติ รวมถึงการใชกฎเกณฑทม่ี ใี นสภาพแวดลอ มการทาํ งาน

- สง เสรมิ ใหม กี ารสอื่ สารอยา งเปด เผยและมกี ารเสวนาแลกเปลย่ี นเพอื่ ใหเ จา หนา ที่
สบายใจในการเปด เผย และหารอื เก่ยี วกบั ผลประโยชนทบั ซอ นในที่ทาํ งาน

- ปองกันไมใหขอมูลเกี่ยวกับผลประโยชนทับซอนที่เจาหนาที่เปดเผยเพื่อมิใหมี
ผูนําไปใชในทางทผ่ี ิด

- ใหเ จา หนา ทมี่ สี ว นรว มในการพฒั นาและปรบั ปรงุ นโยบายและกระบวนการจดั การ
ผลประโยชนทบั ซอน เพื่อใหร สู กึ เปน เจา ของและปฏิบตั ิตาม ในเวลาเดียวกันก็ตองสรางระบบโดยการ
พัฒนาในเรอื่ งตอไปน้ี

๔๖

- มาตรฐานในการสงเสริมความซ่ือตรงตอหนาท่ีโดยรวมไวในขอกําหนดทาง
จรยิ ธรรม

- กระบวนการระบคุ วามเสย่ี งและจดั การผลประโยชนทับซอ น
- กลไกความพรอมรบั ผิดทงั้ ภายในและภายนอก
- วธิ กี ารจดั การ (รวมถงึ การลงโทษ) ทท่ี าํ ใหเ จา หนา ที่ถอื วา เปนความรับผิดชอบ
ของตนเอง ทจี่ ะตอ งทาํ ตามกฎระเบยี บและมาตรฐาน

á¹Ç·Ò§¡Òû¯ºÔ μÑ Ôμ¹¢Í§à¨ÒŒ ˹ŒÒ·¢èÕ Í§ÃÑ°

ตามหลกั ธรรมาภบิ าลของการบรหิ ารกจิ การบา นเมอื งทด่ี มี อี งคป ระกอบ ๖ ประการ ดงั นี้
๑) หลกั นติ ธิ รรม ไดแ ก การตรากฎหมาย กฎ ขอบังคับตางๆ ใหท ันสมัยและเปนธรรม
เปนที่ยอมรับของสังคม ไมเลือกปฏิบัติ และสังคมยินยอมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎ
ขอ บังคับเหลา นนั้ โดยถอื วาเปนการปกครองภายใตกฎหมาย มิใชต ามอาํ เภอใจ หรือตามอาํ นาจของ
ตวั บคุ คล
๒) หลกั ความโปรง ใส ไดแ ก การสรา งความไวว างใจซงึ่ กนั โดยมกี ารใหแ ละการรบั ขอ มลู
ทส่ี ะดวกเปน จรงิ ทันการณ ตรงไปตรงมา มที ีม่ าทไี่ ปที่ชดั เจนและเทา เทยี ม มีกระบวนการตรวจสอบ
ความถกู ตอ งชัดเจนได
๓) หลักการมีสวนรวม ไดแก การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรูและรวมคิด
รวมเสนอความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญของประเทศในดานตางๆ เชน การแจงความเห็น
การไตส วนสาธารณะ การประชาพจิ ารณ การแสดงประชามติ นอกจากนยี้ งั รวมไปถงึ การรว มตรวจสอบ
และรว มรบั ผิดชอบตอ ผลของการกระทํานัน้
๔) หลกั ความรบั ผดิ ชอบตรวจสอบได ไดแ ก ความรบั ผดิ ชอบทตี่ รวจสอบไดเ ปน การสรา ง
กลไกใหมีผูรับผิดชอบ ตระหนักในหนาที่ ความสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหา
สาธารณะของบานเมือง และกระตือรือรนในการแกปญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็น
ท่ีแตกตางและความกลาท่จี ะยอมรบั ผลจากการกระทําของตน
๕) หลกั ความคมุ คา ไดแ ก การบรหิ ารจดั การและการใชท รพั ยากรทม่ี จี าํ กดั ใหเ กดิ ประโยชน
คมุ คา เพ่อื ใหเ กดิ ประโยชนส งู สุดแกสว นรวม
๖) หลักคุณธรรม ไดแก การยึดม่ันในความถูกตองดีงาม สํานึกในหนาที่ของตนเอง
มีความซอื่ สตั ยสจุ รติ จรงิ ใจ ขยัน อดทน มีระเบยี บวนิ ัย และเคารพในสทิ ธิของผอู ่ืน


Click to View FlipBook Version