The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

6_GE21107_การป้องกันปรามปรามทุจริต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-29 02:07:11

6_GE21107_การป้องกันปรามปรามทุจริต

6_GE21107_การป้องกันปรามปรามทุจริต

๔๗

ÁÒμáÒ÷ҧ¡®ËÁÒÂà¡ÂÕè Ç¡ºÑ ¡Òû͇ §¡¹Ñ ¼Å»ÃÐ⪹·Ñº«ŒÍ¹

ñ. ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑμÔ»ÃСͺÃÑ°¸ÃÃÁ¹ÙÞÇ‹Ò´ŒÇ¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃÔμ
¾.È.òõöñ

ÁÒμÃÒ ñòö นอกจากเจาพนักงานของรัฐที่รัฐธรรมนูญกาํ หนดไวเปนการเฉพาะแลว
หามมิใหกรรมการ ผูดํารงตาํ แหนงในองคกรอิสระ และเจาพนักงานของรัฐท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ประกาศกาํ หนด ดําเนนิ กจิ การดงั ตอ ไปนี้

(๑) เปน คสู ญั ญาหรอื มสี ว นไดเ สยี ในสญั ญาทท่ี าํ กบั หนว ยงานของรฐั ทเ่ี จา พนกั งานของรฐั ผนู นั้
ปฏบิ ตั หิ นา ทใี่ นฐานะทเ่ี ปน เจา พนกั งานของรฐั ซง่ึ มอี ํานาจไมว า โดยตรงหรอื โดยออ มในการกํากบั ดแู ล
ควบคมุ ตรวจสอบหรอื ดาํ เนินคดี

(๒) เปน หนุ สว นหรอื ผถู อื หนุ ในหา งหนุ สว นหรอื บรษิ ทั ทเ่ี ขา เปน คสู ญั ญากบั หนว ยงานของรฐั
ที่เจาพนักงานของรัฐผูนั้นปฏิบัติหนาที่ในฐานะที่เปนเจาพนักงานของรัฐซ่ึงมีอาํ นาจไมวาโดยตรงหรือ
โดยออมในการกํากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดาํ เนินคดี เวนแตจะเปนผูถือหุนในบริษัทจํากัด
หรอื บริษัทมหาชนจํากดั ไมเ กนิ จาํ นวนท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด

(๓) รบั สมั ปทานหรอื คงถอื ไวซ ง่ึ สมั ปทานจากรฐั หนว ยราชการ หนว ยงานของรฐั รฐั วสิ าหกจิ
หรอื ราชการสว นทอ งถิ่น หรอื เขาเปน คูส ญั ญากบั รัฐ หนวยราชการ หนว ยงานของรัฐ รัฐวสิ าหกิจ หรือ
ราชการสว นทอ งถ่ิน อนั มีลกั ษณะเปน การผกู ขาดตัดตอน หรือเปนหุนสว นหรือผูถือหุนในหางหุน สวน
หรือบริษัทที่รับสัมปทานหรือเขาเปนคูสัญญาในลักษณะดังกลาว ในฐานะที่เปนเจาพนักงานของรัฐ
ซึ่งมีอาํ นาจ ไมวาโดยตรงหรือโดยออมในการกํากับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดาํ เนินคดี เวนแต
จะเปนผูถอื หุน ในบรษิ ทั จํากดั หรือบริษทั มหาชนจํากัดไมเ กนิ จํานวนทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด

(๔) เขาไปมีสวนไดเสียในฐานะเปนกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงานหรือลูกจาง
ในธุรกิจของเอกชนซ่ึงอยูภายใตการกํากับ ดูแล ควบคุม หรือตรวจสอบของหนวยงานของรัฐ
ท่ีเจาพนักงานของรัฐผูนั้นสังกัดอยูหรือปฏิบัติหนาท่ีในฐานะเปนเจาพนักงานของรัฐ ซ่ึงโดยสภาพ
ของผลประโยชนของธุรกิจของเอกชนนั้นอาจขัดหรือแยงตอประโยชนสวนรวม หรือประโยชน
ทางราชการ หรือกระทบตอ ความมอี ิสระในการปฏบิ ตั หิ นาทีข่ องเจาพนักงานของรัฐผูน้ัน

ò. »ÃСÒȤ³Ð¡ÃÃÁ¡Òû͇ §¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃμÔ á˧‹ ªÒμÔ àÃÍ×è § ËÅ¡Ñ à¡³±
¡ÒÃÃºÑ ·ÃѾÂʏ ¹Ô ËÃÍ× »ÃÐ⪹Í×è¹ã´â´Â¸ÃÃÁ¨ÃÃÂҢͧà¨ÒŒ ˹ŒÒ·¢èÕ Í§ÃÑ° ¾.È.òõôó

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๐๓ แหง พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ย
การปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
แหงชาติ จึงกําหนดหลักเกณฑและจํานวนทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดที่เจาหนาที่ของรัฐจะรับจาก
บคุ คลไดโดยธรรมจรรยาไว ดงั นี้

๔๘

ขอ ๑ ประกาศนเ้ี รยี กวา “ประกาศคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ
เรอื่ ง หลกั เกณฑก ารรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจา หนา ทขี่ องรฐั พ.ศ.๒๕๔๓”

ขอ ๒ ประกาศนี้ใหใชบ ังคบั ตัง้ แตว ันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปนตน ไป
ขอ ๓ ในประกาศนี้
“การรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยา” หมายความวา การรับทรัพยสิน
หรือประโยชนอื่นใดจากญาติหรือจากบุคคลที่ใหกันในโอกาสตางๆ โดยปกติตามขนบธรรมเนียม
ประเพณี หรอื วฒั นธรรม หรอื ใหก ันตามมารยาททปี่ ฏบิ ตั ิกันในสงั คม
“ญาติ” หมายความวา ผบู ุพการี ผสู บื สนั ดาน พี่นอ งรวมบิดามารดาหรือรว มบดิ า หรือ
มารดา เดยี วกนั ลงุ ปา นา อา คสู มรส ผูบพุ การหี รอื ผูสบื สนั ดานของคสู มรส บุตรบญุ ธรรม หรือผรู บั
บุตรบุญธรรม
“ประโยชนอื่นใด” หมายความวา ส่ิงที่มีมูลคา ไดแก การลดราคา การรับความบันเทิง
การรับบรกิ าร การรับการฝก อบรม หรือส่งิ อื่นใดในลกั ษณะเดยี วกัน
ขอ ๔ หามมิใหเจาหนาที่ของรัฐผูใดรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดจากบุคคล
นอกเหนือจากทรัพยสินหรือประโยชนอันควรไดตามกฎหมาย หรือกฎ ขอบังดับ ที่ออกโดยอาศัย
อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เวนแตการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยา
ตามที่กาํ หนดไวใ นประกาศนี้
ขอ ๕ เจา หนา ทขี่ องรฐั จะรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใดโดยธรรมจรรยาไดด งั ตอ ไปน้ี

(๑) รบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดจากญาตซิ งึ่ ใหโ ดยเสนห าตามจาํ นวนทเ่ี หมาะสม
ตามฐานานรุ ูป

(๒) รบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใดจากบคุ คลอนื่ ซงึ่ มใิ ชญ าตมิ รี าคาหรอื มลู คา
ในการรับจากแตละบคุ คล แตละโอกาสไมเกนิ สามพันบาท

(๓) รบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใดทก่ี ารใหน น้ั เปน การใหใ นลกั ษณะใหก บั บคุ คล
ทั่วไป

ขอ ๖ การรบั ทรพั ยส ินหรือประโยชนอ่นื ใดจากตา งประเทศ ซ่ึงผใู หมิไดร ะบใุ หเปน ของ
สว นตวั หรอื มหี รอื มลู คา เกนิ กวา สามพนั บาท ไมว า จะระบเุ ปน ของสว นตวั หรอื ไม แตม เี หตผุ ลความจําเปน
ท่ีจะตอ งรับไวเพอ่ื รักษาไมตรี มิตรภาพ หรอื ความสมั พนั ธอันดรี ะหวา งบุคคล ใหเ จา หนาทขี่ องรัฐผูนนั้
รายงานรายละเอยี ดขอ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั การรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนด งั กลา วใหผ บู งั คบั บญั ชาทราบ
โดยเรว็ หากผบู ังคบั บัญชาเห็นวา ไมม ีเหตทุ ีจ่ ะอนญุ าตใหเจาหนาที่ผูน้ันยดึ ถือทรพั ยส นิ หรอื ประโยชน
ดังกลาวนั้นไวเปนประโยชนสวนบุคคล ใหเจาหนาท่ีของรัฐผูน้ันสงมอบทรัพยสินใหหนวยงานของรัฐ
ทเ่ี จาหนา ทีข่ องรฐั ผนู ้นั สงั กัดโดยทันที

ขอ ๗ การรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดที่ไมเปนไปตามหลักเกณฑ หรือมีราคาหรือ
มมี ูลคา มากกวา ทีก่ ําหนดไวในขอ ๕ ซ่งึ เจาหนา ท่ีของรัฐไดรับมาแลวโดยมคี วามจาํ เปน อยา งยิง่ ที่ตอ ง

๔๙

รับไว เพื่อรักษาไมตรีมิตรภาพ หรือความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล เจาหนาที่ของรัฐผูนั้นตองแจง
รายละเอียด ขอเท็จจริงเกี่ยวกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนนั้นตอผูบังคับบัญชา ซึ่งเปนหัวหนา
สวนราชการ ผูบริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือผูบริหารสูงสุดของหนวยงาน สถาบันหรือองคกรท่ี
เจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นสังกัดโดยทันทีที่สามารถกระทําได เพ่ือใหวินิจฉัยวามีเหตุผลความจําเปน
ความเหมาะสมและสมควรทจี่ ะใหเ จา หนา ทขี่ องรฐั ผนู นั้ รบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนน นั้ ไวเ ปน สทิ ธขิ องตน
หรอื ไม

ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาหรือผูบริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หนวยงานหรือสถาบันหรือ
องคกรท่ีเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นสังกัด มีคําส่ังวาไมสมควรรับทรัพยสินหรือประโยชนดังกลาว ก็ใหคืน
ทรัพยสินหรือประโยชนน้ันแกผูใหโดยทันที ในกรณีท่ีไมสามารถคืนใหไดใหเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้น
สง มอบทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนด งั กลา วใหเ ปน สทิ ธขิ องหนว ยงานทเ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั ผนู น้ั สงั กดั โดยเรว็

เม่ือไดด ําเนนิ การตามความในวรรคสองแลว ใหถอื วาเจาหนา ที่ของรฐั ผนู ั้น ไมเ คย
ไดร ับทรัพยส นิ หรือประโยชนดงั กลาวเลย

ในกรณีที่เจาหนาท่ีของรัฐผูไดรับทรัพยสินไวตามวรรคหนึ่งเปนผูดํารงตําแหนง
ผบู งั คบั บญั ชา ซงึ่ เปน หวั หนา สว นราชการระดบั กระทรวงหรอื เทยี บเทา หรอื เปน กรรมการหรอื ผบู รหิ าร
สูงสุดของรฐั วิสาหกิจ หรือเปนกรรมการ หรอื ผบู ริหารสงู สุดของหนวยงานของรฐั ใหแ จงรายละเอยี ด
ขอเท็จจริงเก่ียวกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนน้ันตอผูมีอํานาจแตงตั้งถอดถอน สวนผูที่ดํารง
ตําแหนงประธานกรรมการและกรรมการในองคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือผูดํารงตําแหนงท่ีไมมี
ผบู ังคับบัญชาที่มีอาํ นาจถอดถอนใหแ จงตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทั้งน้ี เพื่อดาํ เนนิ การตามความใน
วรรคหน่งึ และวรรคสอง

ในกรณีที่เจาหนาท่ีของรัฐผูไดรับทรัพยสินไวตามวรรคหน่ึง เปนผูดํารงตําแหนง
สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร หรือสมาชิกวฒุ ิสภา หรอื สมาชิกสภาทองถนิ่ ใหแ จงรายละเอียดขอ เท็จจรงิ
เก่ียวกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนนั้นตอประธานสภาผูแทนราษฎร ประธานวุฒิสภาหรือ
ประธานสภาทองถิ่นที่เจาหนาที่ของรัฐผูนั้นเปนสมาชิก แลวแตกรณี เพื่อดําเนินการตามวรรคหน่ึง
และวรรคสอง

ขอ ๘ หลกั เกณฑก ารรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดของเจา หนา ทข่ี องรฐั ตามประกาศ
ฉบบั นีใ้ หใชบ ังคบั แกผ ซู ึง่ พน จากการเปน เจาหนา ท่ขี องรฐั มาแลวไมถ งึ สองปด ว ย

ó. ÃÐàºÕºÊíҹѡ¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÕÇ‹Ò´ŒÇ¡ÒÃãËŒËÃ×ÍÃѺ¢Í§¢ÇÑޢͧ਌Ò˹ŒÒ·Õè¢Í§ÃÑ°
¾.È.òôôô

โดยที่ที่ผานมาคณะรัฐมนตรีไดเคยมีมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติในการ
ใหของขวัญและรับของขวัญของเจาหนาท่ีของรัฐไวหลายคร้ัง เพ่ือเปนการเสริมสรางคานิยมใหเกิด
การประหยดั มใิ หม กี ารเบยี ดเบยี นขา ราชการโดยไมจ าํ เปน และสรา งทศั นคตทิ ไี่ มถ กู ตอ งเนอ่ื งจากมกี าร

๕๐

แขงขันกันใหของขวัญในราคาแพง ท้ังยังเปนชองทางใหเกิดการประพฤติมิชอบอื่นๆ ในวงราชการ
อีกดวย และในการกําหนดจรรยาบรรณของเจาหนาที่ของรัฐประเภทตางๆ ก็มีการกําหนดในเรื่อง
ทาํ นองเดยี วกนั ประกอบกบั คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาตไิ ดป ระกาศกาํ หนด
หลกั เกณฑแ ละจาํ นวนทเ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั จะรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ น่ื ใดโดยธรรมจรรยาได ฉะนนั้
จงึ สมควรรวบรวมมาตรการเหลา นนั้ และกาํ หนดเปน หลกั เกณฑก ารปฏบิ ตั ขิ องเจา หนา ทข่ี องรฐั ในการให
ของขวญั และรบั ของขวญั ไวเ ปน การถาวรมมี าตรฐานอยา งเดยี วกนั และมคี วามชดั เจนเพอ่ื เสรมิ มาตรการ
ของคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาตใิ หเ ปน ผลอยา งจรงิ จงั ทง้ั นี้ เฉพาะในสว นท่ี
คณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติไมไ ดกําหนดไว

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผนดิน พ.ศ.๒๔๓๔ นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จงึ วางระเบยี บไวดังตอ ไปนี้

ขอ ๑ ระเบียบน้ีเรียกวา “ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการใหหรือรับของขวัญ
ของเจา หนา ทีข่ องรฐั พ.ศ.๒๕๔๔”

ขอ ๒ ระเบยี บนีใ้ หใชบ ังคบั ตง้ั แตว ันถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเปนตนไป
ขอ ๓ ในระเบียบน้ี

“ของขวัญ” หมายความวา เงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดท่ีใหแกกัน
เพ่ืออัธยาศัยไมตรี และใหหมายความรวมถึง เงิน ทรัพยสิน หรือประโยชนอื่นใดที่ใหเปนรางวัล
ใหโดยเสนหาหรือเพ่ือการสงเคราะหหรือใหเปนสินน้ําใจ การใหสิทธิพิเศษซึ่งมิใชเปนสิทธิท่ีจัดไว
สําหรับบุคคลทั่วไป ในการไดรับการลดราคาทรัพยสิน หรือการใหสิทธิพิเศษในการไดรับบริการหรือ
ความบนั เทงิ ตลอดจนการออกคา ใชจ า ยในการเดนิ ทางหรอื ทอ งเทย่ี ว คา ทพ่ี กั คา อาหาร หรอื สงิ่ อนื่ ใด
ในลักษณะเดียวกันและไมวาจะใหเปนบัตร ต๋ัว หรือหลักฐานอื่นใด การชําระเงินใหลวงหนา
หรือการคนื เงนิ ใหใ นภายหลงั

“ปกติประเพณีนิยม” หมายความวา เทศกาลหรือวันสําคัญซ่ึงอาจมีการให
ของขวัญกัน และใหหมายความรวมถึงโอกาสในการแสดงความยินดี การแสดงความขอบคุณ
การตอ นรบั การแสดงความเสยี ใจ หรอื การใหค วามชว ยเหลอื ตามมารยาททถ่ี อื ปฏบิ ตั กิ นั ในสงั คมดว ย

“หนว ยงานของรัฐ” หมายความวา สวนราชการหรือหนวยงานที่อยใู นกํากบั ดแู ล
ของรัฐทกุ ระดบั ทงั้ ในราชการสวนกลาง ราชการสวนภูมิภาค ราชการสว นทอ งถน่ิ และรัฐวิสาหกิจ

“เจาหนา ท่ีของรัฐ” หมายความวา ขาราชการ พนักงานและลกู จา งของหนวยงาน
ของรฐั

“ผูบงั คบั บญั ชา” ใหหมายความรวมถึง ผูซ ึ่งปฏิบตั ิหนาทหี่ วั หนาหนว ยงานทแี่ บง
เปนการภายในของหนวยงานของรฐั และผซู ึง่ ดาํ รงตําแหนง ในระดบั ทีส่ ูงกวาและไดรับมอบหมายใหม ี
อํานาจบงั คับบญั ชาหรอื กาํ กับดูแลดว ย

๕๑

“บคุ คลในครอบครัว” หมายความวา คสู มรส บตุ ร บิดา มารดา พ่ีนอ งรว มบดิ า
มารดา หรือรวมบดิ าหรือมารดาเดียวกนั

ขอ ๔ ระเบียบนี้ไมใชบังคับกับกรณีการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดของเจาหนาท่ี
ของรฐั ซึ่งอยูภ ายใตบังคับกฎหมายประกอบรัฐธรรมนญู วาดว ยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ขอ ๕ เจาหนาท่ีของรัฐจะใหของขวัญแกผูบังคับบัญชาหรือบุคคลในครอบครัวของ
ผูบังคับบญั ชานอกเหนือจากกรณีปกติประเพณนี ยิ มทม่ี กี ารใหของขวัญแกกันมไิ ด

การใหของขวัญตามปกติประเพณีนิยมตามวรรคหนึ่ง เจาหนาท่ีของรัฐจะให
ของขวญั ทมี่ รี าคาหรอื มลู คา เกนิ จาํ นวนทค่ี ณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาตกิ าํ หนดไว
สาํ หรบั การรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดโดยธรรมจรรยาของเจา หนา ทข่ี องรฐั ตามกฎหมายประกอบ
รฐั ธรรมนูญวาดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริตมิได

เจา หนา ทขี่ องรฐั จะทาํ การเรย่ี ไรเงนิ หรอื ทรพั ยส นิ อนื่ ใดหรอื ใชเ งนิ สวสั ดกิ ารใด ๆ
เพอี่ มอบใหห รอื จดั หาของขวญั ใหผ บู งั คบั บญั ชาหรอื บคุ คลในครอบครวั ของผบู งั คบั บญั ชาไมว า กรณใี ด ๆ
มไิ ด

ขอ ๖ ผบู งั คบั บญั ชาจะยนิ ยอมหรอื รเู หน็ เปน ใจใหบ คุ คลในครอบครวั ของตนรบั ของขวญั
จากเจาหนาที่ของรัฐซงึ่ เปนผอู ยใู นบงั คับบัญชามิได เวนแตเ ปน การรับของขวญั ตาม ขอ ๕

ขอ ๗ เจา หนา ทขี่ องรฐั จะยนิ ยอมหรอื รเู หน็ เปน ใจใหบ คุ คลในครอบครวั ของตนรบั ของขวญั
จากผูที่เกี่ยวของในการปฏิบัติหนาที่ของเจาหนาท่ีของรัฐมิได ถามิใชเปนการรับของขวัญตามกรณีที่
กําหนดไวใ นขอ ๘

ผทู เ่ี กยี่ วขอ งในการปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ องเจา หนา ทขี่ องรฐั ตามวรรคหนงึ่ ไดแ ก ผมู าตดิ ตอ งาน
หรือผซู ่งึ ไดร ับประโยชนจ ากการปฏิบตั ิงานของเจาหนาที่ของรฐั ในลกั ษณะดงั ตอ ไปนี้

๑. ผูซึ่งมีคําขอใหหนวยงานของรัฐดําเนินการอยางหน่ึงอยางใด เชน การขอใบรับรอง
การขอใหอ อกคาํ สัง่ ทางปกครอง หรือการรอ งเรียน เปน ตน

๒. ผูซ่ึงประกอบธุรกจิ หรอื มสี ว นไดเ สยี ในธรุ กิจท่ีทาํ กับหนว ยงานของรัฐ เชน การจัดซ้ือ
จดั จา ง หรอื การไดรับสัมปทาน เปน ตน

๓. ผซู ง่ึ กาํ ลงั ดาํ เนนิ กจิ กรรมใด ๆ ทม่ี หี นว ยงานของรฐั เปน ผคู วบคมุ หรอื กาํ กบั ดแู ล เชน
การประกอบกจิ การโรงงาน หรือธุรกจิ หลักทรัพย เปนตน

๔. ผูซึ่งอาจไดรับประโยชนหรือผลกระทบจากการปฏิบัติหนาที่หรือละเวนการปฏิบัติ
หนาท่ขี องเจาหนา ท่ีของรฐั

ขอ ๘ เจาหนาที่ของรัฐจะยินยอมหรือรูเห็นเปนใจใหบุคคลในครอบครัวของตน
รับของขวัญจากผูที่เก่ียวของในการปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่ของรัฐไดเฉพาะกรณี การรับของขวัญ
ทใ่ี หต ามปกตปิ ระเพณนี ยิ ม และของขวญั นน้ั มรี าคาหรอื มลู คา ไมเ กนิ จาํ นวนทคี่ ณะกรรมการปอ งกนั และ

๕๒

ปราบปรามการทุจริตแหงชาติกําหนดไว สําหรับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยา
ของเจา หนา ที่ ของรฐั ตามกฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต

ขอ ๙ ในกรณที บ่ี คุ คลในครอบครวั ของเจา หนา ทข่ี องรฐั รบั ของขวญั แลว เจา หนา ทข่ี องรฐั
ทราบในภายหลงั วา เปน การรบั ของขวญั โดยฝา ฝน ระเบยี บนใ้ี หเ จา หนา ทข่ี องรฐั ปฏบิ ตั ติ ามหลกั เกณฑท ่ี
คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาตกิ าํ หนดไวส าํ หรบั การรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชน
อน่ื ใดโดยธรรมจรรยาของเจา หนา ทข่ี องรฐั ทม่ี รี าคาหรอื มลู คา เกนิ กวา ทกี่ าํ หนดไวต ามกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต

ขอ ๑๐ ในกรณที เี่ จา หนา ทข่ี องรฐั ผใู ดจงใจปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั การใหข องขวญั หรอื รบั ของขวญั
โดยฝา ฝนระเบยี บน้ีใหดําเนนิ การดังตอ ไปน้ี

(๑) ในกรณีที่เจาหนาท่ีของรัฐเปนขาราชการการเมือง ใหถือวาเจาหนาท่ีของรัฐ
ผูน้ัน ประพฤติปฏิบัติไมเปนไปตามคุณธรรมและจริยธรรม และใหดําเนินการตามระเบียบที่
นายกรฐั มนตรี กาํ หนดโดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรวี า ดว ยมาตรฐานทางคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม
ของขาราชการการเมือง

(๒) ในกรณที เ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั เปน ขา ราชการประเภทอนื่ นอกจาก (๑) หรอื พนกั งาน
ขององคก รปกครองสว นทอ งถนิ่ หรอื พนกั งานของรฐั วสิ าหกจิ ใหถ อื วา เจา หนา ทขี่ องรฐั ผนู น้ั เปน ผกู ระทาํ
ความผิดทางวินัย และใหผูบังคับบัญชามีหนาท่ีดําเนินการใหมีการลงโทษทางวินัยเจาหนาที่ของรัฐ
ผนู ้นั

ขอ ๑๑ ใหส าํ นกั งานปลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรมี หี นา ทสี่ อดสอ ง และใหค าํ แนะนาํ ในการ
ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนแี้ กห นว ยงานของรฐั ในกรณที ม่ี ผี รู อ งเรยี นตอ สาํ นกั งานปลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า
เจาหนาท่ีของรัฐผูใดปฏิบัติในการใหของขวัญหรือรับของขวัญฝาฝนระเบียบน้ีใหสํานักงานปลัดสํานัก
นายกรัฐมนตรีแจงไปยังผูบงั คับบัญชาของเจา หนา ที่ของรัฐผูน ้ันเพอื่ ดําเนนิ การตามระเบยี บน้ี

ขอ ๑๒ เพอื่ ประโยชนใ นการเสรมิ สรา งใหเ กดิ ทศั นคตใิ นการประหยดั แกป ระชาชนทว่ั ไป
ในการแสดงความยินดี การแสดงความปรารถนาดี การแสดงการตอนรับ หรือการแสดงความเสียใจ
ในโอกาสตา งๆ ตามปกตปิ ระเพณนี ยิ มใหเ จา หนา ทข่ี องรฐั พยายามใชว ธิ กี ารแสดงออกโดยใชบ ตั รอวยพร
การลงนาม ในสมดุ อวยพร หรือใชบัตรแสดงความเสียใจแทนการใหข องขวัญ

ใหผ บู งั คบั บญั ชามหี นา ทเี่ สรมิ สรา งคา นยิ มการแสดงความยนิ ดี การแสดงความปรารถนาดี
การแสดงการตอ นรบั หรอื การแสดงความเสยี ใจ ดว ยการปฏบิ ตั ติ นเปน แบบอยา ง แนะนาํ หรอื กาํ หนด
มาตรการจงู ใจทจ่ี ะพฒั นาทศั นคติ จติ สาํ นกึ และพฤตกิ รรมของผอู ยใู นบงั คบั บญั ชาใหเ ปน ไปในแนวทาง
ประหยดั

๕๓

º··èÕ õ

¡®ËÁÒÂà¡ÂèÕ Ç¡ºÑ ¡Òû͇ §¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃμÔ

ñ. ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÕ¹»ÃШӺ·

๑.๑ เพอ่ื ใหน กั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจไดท ราบถงึ กฎหมายทเี่ กยี่ วกบั การปอ งกนั และปราบปราม
การทุจริต

๑.๒ เพ่ือใหนักเรียนนายสิบตํารวจไดทราบถึงความเช่ือมโยงทางกฎหมายและอํานาจ
หนา ท่ีของหนวยงานท่ีเกีย่ วของกบั การปองกันและปราบปรามการทจุ ริต

ò. ʋǹ¹Ó

คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) มอี าํ นาจหนาท่ีในการ
ตรวจสอบคดกี ารทุจรติ ของผดู ํารงตาํ แหนงทางการเมอื ง ผบู ริหารทองถ่นิ และขาราชการประจําตง้ั แต
ระดบั ผอู าํ นวยการกองขน้ึ ไป นอกจากนน้ั จะเปน อาํ นาจหนา ทขี่ องคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปราม
การทจุ รติ ในภาครัฐ (ป.ป.ท.)

ó. à¹éÍ× ËÒμÒÁËÑǢ͌

๓.๑ อํานาจหนาที่ของ ป.ป.ช.
๓.๒ อาํ นาจหนา ที่ของ ป.ป.ท.

ô. ÊÇ‹ ¹ÊÃØ»

ผทู ถี่ กู คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ (ป.ป.ช.) หรอื คณะกรรมการ
ปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั (ป.ป.ท.) ชมี้ ลู ความผดิ จะถกู ดาํ เนนิ การทง้ั ทางวนิ ยั และทาง
อาญา

õ. ¡Ô¨¡ÃÃÁá¹Ð¹Ó

ผูสอนตง้ั ปญ หาใหนกั เรียนวนิ ิจฉัยเปน รายบุคคล และสวนรวม เพือ่ ใหรจู กั คดิ วเิ คราะห
และวจิ ารณเ น้ือหาที่เรียน ดวยการนาํ เทคนคิ วธิ ีการตา งๆ ซงึ่ สามารถบูรณาการความคิดได

ö. ÃÒ¡ÒÃÍÒŒ §Í§Ô

แนวทางการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรเพื่อสรางความตระหนักรูและมีสวนรวมในการ
ปองกันการทุจริตของ สาํ นักงาน ป.ป.ช.

๕๔

ñ. ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òû‡Í§¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃÔμá˧‹ ªÒμÔ (».».ª.)

ตามรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ไดก าํ หนดทม่ี า และอาํ นาจ
หนาท่ีของคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหงชาติ (ป.ป.ช.) ไวดังนี้

ÁÒμÃÒ òóò คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติประกอบดวย
กรรมการจํานวนเกาคน ซ่ึงพระมหากษัตริยทรงแตงตั้งตามคําแนะนําของวุฒิสภาจากผูซึ่งไดรับ
การสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา

ผซู ง่ึ ไดร บั การสรรหาตอ งเปน ผมู คี วามซอ่ื สตั ยส จุ รติ เปน ทปี่ ระจกั ษ มคี วามรู ความเชย่ี วชาญ
และประสบการณด า นกฎหมาย บญั ชี เศรษฐศาสตร การบรหิ ารราชการแผน ดนิ หรอื การอน่ื ใดอนั เปน
ประโยชนต อ การปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ และตองมีคณุ สมบัตอิ ยา งหนง่ึ อยางใด ดังตอไปนี้
ดวย

(๑) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอธิบดีผูพิพากษา อธิบดี
ศาลปกครองชน้ั ตน ตลุ าการพระธรรมนญู หวั หนา ศาลทหารกลาง หรอื อธบิ ดอี ยั การมาแลว ไมน อ ยกวา
หาป

(๒) รับราชการหรือเคยรับราชการในตําแหนงไมต่ํากวาอธิบดีหรือหัวหนาสวนราชการ
ท่เี ทียบเทา มาแลว ไมน อยกวา หาป

(๓) เปนหรือเคยเปนผูดํารงตําแหนงผูบริหารสูงสุดของรัฐวิสาหกิจ หรือหนวยงานอื่น
ของรัฐท่ไี มเปนสว นราชการหรอื รัฐวสิ าหกิจมาแลวไมนอยกวาหาป

(๔) ดํารงตําแหนงหรือเคยดํารงตําแหนงศาสตราจารยของมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
มาแลว ไมนอยกวาหา ป และยังมผี ลงานทางวชิ าการเปน ทีป่ ระจกั ษ

(๕) เปน หรอื เคยเปน ผปู ระกอบวชิ าชพี ทมี่ กี ฎหมายรบั รองการประกอบวชิ าชพี โดยประกอบ
วิชาชีพอยางสมํ่าเสมอและตอเน่ืองมาเปนเวลาไมนอยกวาย่ีสิบปนับถึงวันท่ีไดรับการเสนอชื่อ
และไดรับการรับรองการประกอบวชิ าชีพจากองคก รวชิ าชีพนัน้

(๖) เปนผมู คี วามรูความชํานาญและประสบการณท างดานการบรหิ าร การเงนิ การคลงั
การบัญชี หรือการบริหารกิจการวิสาหกิจในระดับไมตํ่ากวาผูบริหารระดับสูงของบริษัทมหาชนจํากัด
มาแลว ไมนอ ยกวาสบิ ป

(๗) เคยเปน ผดู ํารงตาํ แหนง ตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรอื (๖) รวมกนั ไมน อ ยกวาสบิ ป
การนับระยะเวลาตามวรรคสอง ใหนับถึงวันท่ีไดรับการเสนอช่ือหรือวันสมัครเขารับ
การสรรหา แลวแตก รณี
ÁÒμÃÒ òóô คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาตมิ หี นา ทแ่ี ละอาํ นาจ
ดงั ตอไปนี้
(๑) ไตสวนและมีความเห็นกรณีมีการกลาวหาวาผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตุลาการ
ศาลรัฐธรรมนูญ ผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ หรือผูวาการตรวจเงินแผนดิน ผูใดมีพฤติการณ

๕๕

รํ่ารวยผดิ ปกติ ทุจรติ ตอหนา ที่ หรอื จงใจปฏบิ ัตหิ นาท่ีหรือใชอาํ นาจขัดตอ บทบัญญตั ิแหง รัฐธรรมนูญ
หรอื กฎหมาย หรอื ฝา ฝน หรอื ไมป ฏบิ ตั ติ ามมาตรฐานทางจรยิ ธรรมอยา งรา ยแรง เพอื่ ดาํ เนนิ การตอ ไปตาม
รฐั ธรรมนญู หรอื ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ

(๒) ไตสวนและวินิจฉัยวาเจาหนาท่ีของรัฐรํ่ารวยผิดปกติ กระทําความผิดฐานทุจริต
ตอ หนา ท่ี หรอื กระทาํ ความผดิ ตอ ตาํ แหนง หนา ทร่ี าชการ หรอื ความผดิ ตอ ตาํ แหนง หนา ทใี่ นการยตุ ธิ รรม
เพอ่ื ดาํ เนนิ การตอ ไปตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ

(๓) กําหนดใหผูดํารงตําแหนงทางการเมือง ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ผูดํารงตําแหนง
ในองคกรอิสระ ผูวาการตรวจเงินแผนดิน และเจาหนาท่ีของรัฐยื่นบัญชีทรัพยสินและหนี้สินของตน
คูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ รวมทั้งตรวจสอบและเปดเผยผลการตรวจสอบทรัพยสินและ
หนส้ี นิ ของบคุ คลดงั กลา ว ทงั้ นี้ ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปราม
การทุจรติ

(๔) หนา ที่และอาํ นาจอ่ืนทบ่ี ญั ญตั ิไวใ นรัฐธรรมนูญหรอื กฎหมาย
ในการปฏิบัติหนาท่ีตาม (๑) (๒) และ (๓) ใหเปนหนาที่ของคณะกรรมการปองกัน
และปราบปรามการทุจริตแหงชาติท่ีจะตองจัดใหมีมาตรการหรือแนวทางท่ีจะทําใหการปฏิบัติหนาท่ี
มปี ระสทิ ธภิ าพเกดิ ความรวดเรว็ สจุ รติ และเทย่ี งธรรม ในกรณจี าํ เปน จะมอบหมายใหห นว ยงานของรฐั
ท่ีมีหนาท่ีและอํานาจเก่ียวของกับการปองกันและปราบปรามการทุจริตดําเนินการแทนในเร่ืองที่
มิใชเปนความผิดรายแรงหรือที่เปนการกระทําของเจาหนาที่ของรัฐบางระดับหรือกําหนดใหพนักงาน
เจา หนา ทข่ี องหนว ยธรุ การของคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาตเิ ปน ผดู าํ เนนิ การ
สอบสวนหรอื ไตส วนเบอื้ งตน ตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอ่ื นไขทบี่ ญั ญตั ไิ วใ นพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ
รัฐธรรมนญู วาดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ กไ็ ด
ÊÃ»Ø ÍӹҨ˹ŒÒ·ãÕè ¹ÀÒ¾ÃÇÁ¢Í§¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ».».ª. äÇäŒ ´àŒ »¹š ù ¡Ã³Õ ´§Ñ μ‹Í仹éÕ
ñ. ¡ÒÃμÃǨÊͺ·Ã¾Ñ Âʏ ¹Ô áÅÐ˹ÕÊé Ô¹

ผดู ํารงตําแหนง ทางการเมือง และเจาหนาที่ของรัฐตามทกี่ ฎหมายบญั ญัติ มหี นาท่ี
ย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สิน พรอมเอกสารประกอบซ่ึงเปนสําเนาหลักฐานท่ีพิสูจน
ความมีอยูจริงของทรัพยสินและหน้ีสินดังกลาวตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทุกครั้งที่เขารับตําแหนง
พนจากตําแหนง พนจากตาํ แหนงครบ ๑ ป ทกุ สามปท ีอ่ ยใู นตําแหนง หรือดาํ รงตําแหนงครบทุก ๆ
หา ป ซง่ึ เปน ไปตามแตล ะตาํ แหนง ตามทกี่ ฎหมายบญั ญตั ิ สาํ หรบั ผมู หี นา ทย่ี นื่ บญั ชนี นั้ นอกจากผดู าํ รง
ตําแหนงตามที่กฎหมายกําหนดแลว กฎหมายย่ิงใหอํานาจคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจกําหนด
ตําแหนงผูมีหนาท่ีย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินเพิ่มเติมได นอกจากน้ันกฎหมายยังได
บัญญัติใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจหนาท่ีตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริง รวมทั้ง
ความเปล่ียนแปลงของทรัพยสินและหนี้สินที่ย่ืนไวและกําหนดหลักเกณฑวิธีการย่ืนบัญชี ตลอดจน

๕๖

มีหนาท่ีเกี่ยวกับการดําเนินการกับผูยื่นบัญชีเพ่ือไมปฏิบัติตามกฎหมายหรือฝาฝนกฎหมายอีกดวย
ซึง่ สามารถแยกอํานาจหนาทขี่ องคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในกรณีน้ีไดด งั น้ี

๑.๑ กาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารยน่ื บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ ของ
เจาของหนาท่ีของรัฐ และการเปดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหน้ีสินของผูดํารงตําแหนง
นายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรมี กี ารกาํ หนดแบบบญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ เพอื่ ใหผ มู หี นา ทย่ี น่ื ใช
ในการยน่ื บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ ตามรฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย และพระราช
บญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๙ (๖)

๑.๒ กําหนดหลักเกณฑเก่ียวกับการกําหนดตําแหนงและชั้น หรือระดับของ
เจา หนา ทขี่ องรฐั ทจี่ ะตอ งยนื่ บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
วาดว ยการปองกันและปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๙ (๕)

๑.๓ กาํ หนดตาํ แหนง ของเจา หนา ทข่ี องรฐั ซงึ่ ตอ งยน่ื บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ
และหนส้ี นิ เพม่ิ เตมิ จากทกี่ าํ หนดไวใ นพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปราม
การทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๓๙

๑.๔ สง่ั ใหเ จา หนา ทขี่ องรฐั ตาํ แหนง อน่ื ๆ นอกจากทกี่ าํ หนดไวใ นมาตรา ๓๙ และ
ตามทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนดตามมาตรา ๔๐ แหงพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนูญวาดว ย
การปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ.๒๕๔๒ ย่นื บัญชีแสดงรายการทรัพยสนิ และหนี้สินของตน
คสู มรส และบตุ รทย่ี ังไมบ รรลนุ ติ ิภาวะ ตามหลักเกณฑ วิธีการและระยะเวลาท่กี าํ หนด

๑.๕ ตรวจสอบความถูกตองและความมีอยูจริงรวมท้ังความเปล่ียนแปลงของ
ทรัพยสินและหนี้สินของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง และเจาหนาที่ของรัฐ รวมท้ังคูสมรสและบุตร
ทย่ี งั ไมบ รรลนุ ติ ภิ าวะตามบญั ชแี ละเอกสารประกอบทไี่ ดย นื่ ไวต อ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ทกุ ครงั้ ทเี่ ขา รบั
ตําแหนง จากตําแหนง พนจากตําแหนงครบ ๑ ป ทุกสามปที่อยูในตําแหนงหรือดํารงตําแหนง
ครบทุกๆ หา ป

๑.๖ ตรวจสอบวาเจาหนาท่ีของรัฐผูใดจงใจไมยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสิน
และหนส้ี นิ และเอกสารประกอบตามท่ีกฎหมายกําหนด

๑.๗ เสนอเรอื่ งใหศ าลรฐั ธรรมนญู วนิ จิ ฉยั ชข้ี าดเมอื่ ผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื ง
ผใู ดจงใจไมย นื่ บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ และเอกสารประกอบตามทกี่ าํ หนดไวใ นรฐั ธรรมนญู
หรอื จงใจยน่ื บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ และเอกสารประกอบดว ยขอ ความอนั เปน เทจ็ หรอื
ปกปดขอ เทจ็ จริงทค่ี วรแจงใหทราบ เพ่อื ใหผนู น้ั พนจากตําแหนง และผูน้ันตองหา มมิใหดํารงตาํ แหนง
ทางการเมอื งใดๆ เปน เวลาหาปนบั แตวนั ท่พี นจากตาํ แหนง

๑.๘ สง เรอื่ งใหอ ยั การสงู สดุ เพอ่ื ดาํ เนนิ คดตี อ ศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู าํ รง
ตําแหนงทางการเมืองใหทรัพยสินของผูดํารงตําแหนงทางการเมืองที่ตรวจสอบพบวาเพ่ิมขึ้นผิดปกติ
ตกเปน ของแผนดนิ

๕๗

๑.๙ ดําเนินการของคดีเองหรือแตงตั้งทนายความใหฟองคดีแทนในกรณีอัยการ
สงู สดุ เหน็ วา รายงานเอกสาร และความเหน็ ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. สง ใหย งั ไมส มบรู ณท จ่ี ะดาํ เนนิ คดไี ด
และคณะทํางานท้ังสองฝายไมอาจหาขอ ยตุ เิ กย่ี วกบั การดําเนินการฟองคดไี ด

๑.๑๐ ดาํ เนนิ คดอี าญาแกเ จา หนา ทข่ี องรฐั ทจี่ งใจไมย น่ื บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ
และหนี้สินและเอกสารประกอบภายในเวลาที่พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๔๒ กําหนด หรือจงใจย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สิน
และเอกสารประกอบดว ยขอ ความอนั เปนเท็จหรือปกปด ขอ เทจ็ จรงิ ทค่ี วรแจงใหท ราบ

ò. ¡Òöʹ¶Í¹ÍÍ¡¨Ò¡μÓá˹‹§
ในกรณีของอํานาจจนการดําเนินการถอดถอนผูดํารงตําแหนงทางการเมืองและ

ผดู าํ รงตาํ แหนงระดบั สงู ออกจากตาํ แหนงนน้ั พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู วาดวยการปอ งกนั
และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ.๒๕๔๒ ไดกาํ หนดใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอํานาจหนา ทีด่ ังน้ี

๒.๑ ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวน พรอมท้ังทําความเห็นเสนอวุฒิสภา
โดยในรายงานตอ งระบใุ หช ดั เจนวา ขอ กลา วหาตามคาํ รอ งขอขอ ใดมมี ลู หรอื ไม เพยี งใด พรอ มทงั้ ระบุ
เหตุแหงการนั้น กรณีท่ีประธานวุฒิสภาสงเรื่องที่มีการลงชื่อรองขอตอประธานวุฒิสภาใหถอดถอน
ผูด าํ รงตาํ แหนง นายกรฐั มนตรี รัฐมนตรี สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชิกวุฒสิ ภา ประธานศาลฎกี า
ประธานศาลรฐั ธรรมนูญ ประธานศาลปกครองสูงสุด อัยการสูงสดุ กรรมการการเลือกต้งั ผตู รวจการ
แผนดินของรัฐสภา ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ กรรมการตรวจเงินแผนดิน รองประธานศาลฎีกา
รองประธานศาลปกครองสงู สดุ หวั หนา สาํ นกั ตลุ าการทหาร รองอยั การสงู สดุ ผดู าํ รงตาํ แหนง ระดบั สงู
ไดแก ผดู าํ รงตาํ แหนงหัวหนาสวนราชการระดับกรม ทบวง หรือกระทรวงสําหรบั ขาราชการพลเรอื น
ผดู าํ รงตาํ แหนง ผบู ญั ชาการเหลา ทพั หรอื ผบู ญั ชาการทหารสงู สดุ สาํ หรบั ขา ราชการทหาร ผดู าํ รงตาํ แหนง
ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ ผูดํารงตําแหนงปลัดกรุงเทพมหานคร กรรมการและผูบริหารสูงสุดของ
รัฐวิสาหกิจ หัวหนาหนวยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญที่มีฐานะเปนนิติบุคคล หรือผูดํารงตําแหนงอื่น
ตามท่ีกฎหมายอ่ืนบัญญัติ (กรณีมีกฎหมายอ่ืนบัญญัติใหเปนผูดํารงตําแหนงระดับสูงตามกฎหมาย
ประกอบวาดวยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ.๒๕๔๒)

๒.๒ สง รายงานและเอกสารทมี่ อี ยพู รอ มทงั้ ความเหน็ ไปยงั อยั การสงู สดุ เพอื่ ดาํ เนนิ การ
ฟองคดตี อศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู ํารงตาํ แหนงทางการเมอื งเม่อื ขอกลา วหาใดมมี ลู

๒.๓ ดาํ เนนิ การฟอ งคดเี อาหรอื แตง ตง้ั ทนายความใหฟ อ งคดแี ทนในกรณที อ่ี ยั การ
สงู สดุ เหน็ วา รายงาน เอกสาร และความเหน็ ทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. สง ใหย งั ไมส มบรู ณพ อทจ่ี ะดาํ เนนิ
คดีได และคณะทาํ งานทั้งสองฝา ยไมอาจหาขอ ยตุ ิเกีย่ วกบั การดาํ เนินการฟอ งคดไี ด

๕๘

ó. ¡ÒôÓà¹¹Ô ¤´ÍÕ ÒÞҡѺ¼ÙŒ´ÓçμÓá˹‹§·Ò§¡ÒÃàÁÍ× §
ในเรอ่ื งการดาํ เนนิ คดอี าญากบั ผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื งซงึ่ รฐั ธรรมนญู กาํ หนด

ใหมีศาลฎีกาแผนกคดีอาญาสาํ หรบั ผูดํารงตําแหนงทางการเมอื งขนึ้ เปน การเฉพาะน้ัน คณะกรรมการ
ป.ป.ช. มีอาํ นาจหนาที่ ดังน้ี

๓.๑ ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ และสรปุ สาํ นวนพรอ มทงั้ ทาํ ความเหน็ สง ไปยงั อยั การสงู สดุ
เพ่ือฟองคดีตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง กรณีผูเสียหายย่ืนคํารอง
ใหดําเนินการกับนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือขาราชการ
การเมืองอื่น ร่ํารวยผิดปกติ กระทําความผิดตอตําแหนงหนาท่ีราชการตามประมวลกฎหมายอาญา
หรือกระทําความผิดตอตําแหนงหนาท่ีหรือทุจริตตอหนาที่ตามกฎหมายอ่ืน รวมท้ังกรณีท่ีบุคคล
ดังกลาวหรือบุคคลอื่นเปนตัวการ ผูใช หรือผูสนับสนุนดวยเมื่อปรากฏผลการไตสวนขอเท็จจริงแลว
เห็นวาขอ กลา วหามีมูล หากขอกลาวหาใดไตส วนขอ เท็จจริงแลว ไมมีมลู ขอกลาวหานนั้ ก็เปนอันตกไป

๓.๒ ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ และสรปุ สาํ นวนพรอ มทงั้ ทาํ ความเหน็ สง ไปยงั อยั การสงู สดุ
เพอ่ื ฟอ งคดตี อ ศาลฎกี าแผนกคดอี าญาของผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื งกรณมี ผี กู ลา วหานายกรฐั มนตรี
รัฐมนตรี สมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา หรือขาราชการการเมืองอ่ืน วาร่ํารวยผิดปกติ
เมอื่ ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ แลว พฤตกิ ารณม มี ลู วา รา่ํ รวยผดิ ปกติ หากไตส วนขอ เทจ็ จรงิ แลว ไมม มี ลู ขอ กลา วหา
กเ็ ปน อันตกไป

๓.๓ ดาํ เนนิ การฟอ งคดเี อาหรอื แตง ตงั้ ทนายความใหฟ อ งคดแี ทนในกรณที อ่ี ยั การ
สงู สดุ เหน็ วา รายงาน เอกสาร และความเหน็ ทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. สง ใหย งั ไมส มบรู ณพ อทจี่ ะดาํ เนนิ
คดไี ด และคณะทาํ งานทง้ั สองฝายไมอ าจหาขอ ยตุ เิ ก่ียวกับการดําเนนิ การฟอ งคดีได

ô. ¡ÒÃμÃǨÊͺà¨ÒŒ ˹ŒÒ·è¢Õ ͧÃÑ°
ในเรอ่ื งอาํ นาจหนา ทท่ี มี่ ตี อ เจา หนา ทอ่ี นื่ ของรฐั ทม่ี ใิ ชผ ดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื งนนั้

กฎหมายไดก าํ หนดใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. มอี าํ นาจหนา ท่ตี รวจสอบดังตอไปนี้
๔.๑ ไตสวนและวินิจฉัยกรณีมีการกลาวหาวาเจาหนาท่ีอื่นของรัฐท่ีมิใชผูดํารง

ตาํ แหนง นายกรฐั มนตรี รฐั มนตรี สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา หรอื ขา ราชการการเมอื งอนื่
วา กระทาํ ความผดิ ฐานทจุ รติ ตอ หนา ที่ กระทาํ ความผดิ ตอ ตาํ แหนง หนา ทรี่ าชการ หรอื กระทาํ ความผดิ
ตอ ตาํ แหนง หนา ทใี่ นการยตุ ธิ รรม กรณขี อ กลา วหาใดไมม มี ลู ขอ กลา วหานน้ั เปน อนั ตกไป ถา ขอ กลา วหาใด
มีมูลก็ใหสงรายงานและเอกสารที่มีอยูไปยังผูบังคับบัญชาเพื่อลงโทษทางวินัย หรือผูมีอํานาจแตงตั้ง
ถอดถอนเพ่ือดําเนนิ การตามอาํ นาจหนา ที่ หรอื ตอ ประธานคณะกรรมการตลุ าการ ประธานกรรมการ
ตุลาการศาลปกครอง หรือประธานคณะกรรมการอยั การ เพ่อื พิจารณาดําเนนิ การตามกฎหมาย และ
หากมีมูลความผิดทางอาญาดวยก็ใหสงรายงาน เอกสารและความเห็นไปยังอัยการสูงสุดเพ่ือดําเนิน
คดอี าญาในศาลซง่ึ มเี ขตอาํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดี โดยใหถ อื วา เปน สาํ นวนการสอบสวนตามประมวล
กฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา และศาลตองประทับฟองไวพิจารณาโดยไมต อ งไตส วนมลู ฟอ ง

๕๙

๔.๒ ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ กรณมี เี หตอุ นั ควรสงสยั วา เจา หนา ทขี่ องรฐั ผใู ดกระทาํ ความผดิ
ฐานทจุ รติ ตอ หนา ที่ กระทาํ ความผดิ ตอ ตาํ แหนง หนา ทรี่ าชการ หรอื กระทาํ ความผดิ ตอ ตาํ แหนง หนา ท่ี
ในการยุติธรรม กรณีขอกลาวหาใดไมมีมูลขอกลาวหาน้ันเปนอันวาตกไป ถาขอกลาวหาใดมีมูลก็ให
สงรายงานและเอกสารทม่ี อี ยไู ปยังผบู งั คับบัญชาเพอ่ื ลงโทษทางวนิ ัย หรอื ผมู อี าํ นาจแตงตงั้ ถอดถอน
เพื่อดําเนินการตามอํานาจหนาที่ หรอื ตอประธานคณะกรรมการตลุ าการ ประธานกรรมการตลุ าการ
ศาลปกครอง หรือประธานคณะกรรมการอยั การ เพ่ือพิจารณาดาํ เนนิ การตามกฎหมาย และหากมีมูล
ความผิดทางอาญาดวยก็ใหสงรายงาน เอกสารและความเห็นไปยังอัยการสูงสุดเพ่ือดําเนินคดีอาญา
ในศาล ซง่ึ มเี ขตอาํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดี โดยใหถ อื วา เปน สาํ นวนการสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา และศาลตองประทับฟองไวพ ิจารณาโดยไมตอ งไตส วนมูลฟอ ง

๔.๓ ดาํ เนนิ การฟอ งคดเี องหรอื แตง ตง้ั ทนายความใหฟ อ งคดแี ทนในกรณที อ่ี ยั การ
สงู สดุ เหน็ วา รายงาน เอกสาร และความเหน็ ทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. สง ไปยงั ไมส มบรู ณพ อทจี่ ะดาํ เนนิ
คดีได และคณะทาํ งานท้ังสองฝา ยไมอาจหาขอยตุ เิ ก่ยี วกบั การดําเนินการฟอ งคดีได

๔.๔ ฟอ งคดีตอศาลซึง่ มเี ขตอาํ นาจพจิ ารณาพิพากษาคดี กรณีผูถูกกลาวหาเปน
อยั การสูงสดุ เพื่อดาํ เนนิ คดีอาญาในศาล

๔.๕ สงรายงานและเอกสารท่ีมีอยูพรอมทั้งความเห็นไปยังผูบังคับบัญชา หรือ
หัวหนาหนวยงานที่เก่ียวของเพื่อขอใหศาลมีคําสั่งหรือคําพิพากษาใหยกเลิกหรือเพิกถอนสิทธิ
หรอื เอกสารสทิ ธทิ ผ่ี ถู กู กลา วหาไดอ นมุ ตั หิ รอื อนญุ าตใหส ทิ ธปิ ระโยชนห รอื ออกเอกสารสทิ ธแิ กบ คุ คลใด
ไปโดยมิชอบดวยกฎหมายหรอื ระเบียบของทางราชการอันเปน เหตุใหเสยี หายแกทางราชการ

๔.๖ แจง ใหผ ถู กู กลา วหาไปรายงานตวั เมอื่ จะมกี ารฟอ งคดอี าญาหากผถู กู กลา วหา
ไมรายงานตัวตามกําหนด ใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. แจงพนักงานฝายปกครอง หรือตํารวจจัดการ
ใหไ ดต วั ผูถูกกลา วหาเพ่อื สงอยั การสูงสุด หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. แลว แตก รณเี พอื่ ดําเนนิ คดตี อไป

๔.๗ พจิ ารณาเกี่ยวกับการควบคุมตวั ผถู กู กลา วหาและการปลอยตัวชวั่ คราว
õ. ¡ÒÃÌͧ¢ÍãËŒ·ÃѾÊÔ¹μ¡à»š¹¢Í§á¼¹‹ ´¹Ô

คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีอาํ นาจไตสวนและวนิ จิ ฉัยกรณที ่มี กี ารกลา วหาวา ผดู ํารง
ตําแหนงทางการเมืองหรือเจาหนาที่ของรัฐผูใดรํ่ารวยผิดปกติ กรณีไมมีมูลขอกลาวหาเปนอันตกไป
กรณมี มี ูลจะตอ งดําเนินการเพือ่ ขอใหท รพั ยส นิ ตกเปน ของแผน ดิน ดงั น้ี

๕.๑ สงเร่ืองใหอัยการสูงสุดย่ืนคํารองตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารง
ตําแหนงทางการเมือง หรือศาลซึ่งมีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษาคดี เพ่ือขอใหศาลส่ังใหทรัพยสิน
ตกเปน ของแผน ดนิ

๕.๒ ประธานกรรมการ ป.ป.ช. ยื่นคํารองตอศาลซึ่งมีเขตอํานาจพิจารณา
พพิ ากษาคดเี พอื่ ขอใหศ าลสงั่ ใหท รพั ยส นิ ตกเปน ของแผน ดนิ ในกรณที ผี่ ถู กู กลา วหาเปน ผดู าํ รงตาํ แหนง
อยั การสงู สุด

๖๐

๕.๓ แจง ใหผ บู งั คบั บญั ชาหรอื ผมู อี าํ นาจแตง ตง้ั ถอดถอนผถู กู กลา วหาใหส ง่ั ลงโทษ
ไลอ อกหรอื ปลดออก โดยใหถ อื วา กระทาํ ความผดิ ฐานทจุ รติ ตอ หนา ที่ เวน แตผ ถู กู กลา วหาเปน ขา ราชการ
ตลุ าการ ขา ราชการตลุ าการศาลปกครอง หรอื ขา ราชการฝา ยอยั การ ใหแ จง ไปยงั ประธานคณะกรรมการ
ตลุ าการ ประธานคณะกรรมการตุลาการศาลปกครอง หรือประธานคณะกรรมการอัยการ

๕.๔ ย่ืนคํารองตอศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผูดํารงตําแหนงทางการเมือง
หรือศาล ซึ่งมีเขตอํานาจพิจารณาพิพากษาคดีเองเพื่อขอใหศาลส่ังใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน
ในกรณที อี่ ยั การสงู สดุ เหน็ วา รายงาน เอกสาร และความเหน็ ทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. สง ใหย งั ไมส มบรู ณ
พอที่จะดาํ เนินคดีได และคณะทาํ งานทั้งสองฝา ยไมอ าจหาขอ ยุตเิ ก่ยี วกบั การดาํ เนนิ การของคดไี ด

(พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๘๐)

ö. ¡ÒáÓ˹´μÓá˹§‹ à¨ÒŒ ˹Ҍ ·¢Õè Í§Ã°Ñ ·μÕè ÍŒ §ËÒŒ Á´Óà¹¹Ô ¡¨Ô ¡ÒÃÍ¹Ñ à»¹š ¡Òâ´Ñ ¡¹Ñ ÃÐËÇÒ‹ §
»ÃÐ⪹ʏ ‹Ç¹º¤Ø ¤ÅáÅлÃÐ⪹ʏ ‹Ç¹ÃÇÁ

คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอี าํ นาจในการกาํ หนดตาํ แหนง ทหี่ า มกระทาํ การอนั เปน การ
ขดั กนั ระหวา งประโยชนส ว นบคุ คลและประโยชนส ว นรวมซง่ึ ผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื งหรอื เจา หนา ทอี่ นื่
ของรัฐตองรบั ผิดชอบดาํ เนนิ กจิ การเกีย่ วกับเรอื่ งตา งๆ ดงั ตอไปนี้

(๑) เปน คสู ญั ญาหรอื มสี ว นไดเ สยี ในสญั ญาทเี่ กยี่ วกบั หนว ยงานของรฐั ทเ่ี จา หนา ที่
ของรฐั ผนู น้ั ปฏบิ ตั หิ นา ทใ่ี นฐานะทเี่ ปน เจา หนา ทข่ี องรฐั ซงึ่ มอี าํ นาจกาํ กบั ดแู ล ควบคมุ ตรวจสอบ หรอื
ดําเนินคดี

(๒) เปน หนุ สว นหรอื ผถู อื หนุ ในหา งหนุ สว นหรอื บหุ รที่ เ่ี ขา เปน คสู ญั ญากบั หนว ยงาน
ของรัฐ ที่เจาหนาที่ของรัฐผูนั้นปฏิบัติหนาท่ีในฐานะที่เปนเจาหนาท่ีของรัฐซ่ึงมีอํานาจกํากับ ดูแล
ควบคุม ตรวจสอบ หรอื ดาํ เนินคดี

(๓) รบั สมั ปทานหรอื คงถอื ไวซ ง่ึ สมั ปทานจากรฐั หนว ยราชการ หนว ยงานของรฐั
รัฐวิสาหกิจหรือราชการสวนทองถิ่นอันมีลักษณะเปนการผูกขาดตัดตอน ทั้งน้ี ไมวาโดยทางตรง
หรอื ทางออ ม หรอื เปน หนุ สว นหรอื ผถู อื หนุ ในหา งหนุ สว น หรอื บรษิ ทั ทร่ี บั สมั ปทานหรอื เขา เปน คสู ญั ญา
ในลักษณะดังกลาว

(๔) เขาไปมีสวนไดเสียในฐานะเปนกรรมการ ที่ปรึกษา ตัวแทน พนักงาน
หรอื ลกู จา งในธรุ กจิ ของเอกชนซงึ่ อยภู ายใตก ารกาํ กบั ดแู ล ควบคมุ หรอื ตรวจสอบของหนว ยงานของรฐั
ท่ีเจาหนาที่ของรัฐผูน้ันสังกัดอยู หรือปฏิบัติหนาที่ในฐานะเปนเจาหนาท่ีของรัฐผูซ่ึงโดยสภาพของ
ผลประโยชนข องธรุ กจิ ของเอกชนนนั้ อาจขดั หรอื แยง ตอ ประโยชนส ว นรวม หรอื ประโยชนท างราชการ
หรือกระทบตอความมีอสิ ระในการปฏิบัติหนา ทขี่ องเจาหนา ทีข่ องรฐั ผนู ้ัน

๖๑

ประกาศคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ เร่ือง กําหนด
ตําแหนงหนาที่ของรัฐที่ตองหามมิใหดําเนินกิจการตามความในมาตรา ๑๐๐ แหงพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ.๒๕๔๒ ลงวนั ที่ ๑๕ กมุ ภาพนั ธ
๒๕๔๔ ไดกําหนดใหตําแหนงนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีเปนตําแหนงตองหามตามมาตราดังกลาว
และประกาศฉบบั ดงั กลา วใหใ ชบ งั คบั ไดเ มอ่ื พน กาํ หนดหนง่ึ รอ ยแปดสบิ วนั นบั แตว นั ถดั จากวนั ประกาศ
ในราชกจิ จานเุ บกษาเปน ตน ไป (ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั กฤษฎกี า เลม ที่ ๑๑๘ ตอนท่ี ๑๓ ก
วันที่ ๒๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๔๔)

÷. ¡ÒáíÒ˹´ËÅѡࡳ±¡ÒÃÃѺ·ÃѾÊÔ¹ËÃ×Í»ÃÐ⪹Íè×¹ã´â´Â¸ÃÃÁ¨ÃÃÂҢͧ
਌Ò˹Ҍ ·è¢Õ ͧÃÑ°

กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ไดบ ญั ญตั ิ
หามมิใหเจาหนาที่ของรัฐผูใดรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากบุคคลนอกเหนือจากทรัพยสิน
หรือประโยชนอ่ืนควรไดตามกฎหมาย หรือกฎขอบังคับท่ีออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง
กฎหมาย เวนแตการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยาตามหลักเกณฑและจํานวน
ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนดและใหใชบังคับกับการรับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใด
ของผซู ่งึ พนจากการเปน เจาหนาทขี่ องรัฐมาแลว ไมถงึ สองปดวยโดยอนโุ ลม

(พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๑๐๓)

เพื่อใหเปนไปตามมาตราดังกลาวคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดออกประกาศ
คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง ชาติ เรอื่ งหลกั เกณฑก ารรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชน
อื่นใดโดยธรรมจรรยาของเจาหนาที่ของรัฐ พ.ศ.๒๕๔๓ โดยไดกําหนดวาเจาหนาที่จะรับทรัพยสิน
หรอื ประโยชนอื่นใดโดยธรรมจรรยาได ๓ กรณี ดงั น้ี

(๑) รบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดจากญาตซิ ง่ึ ใหโ ดยเสนห าตามจาํ นวนเหมาะสม
ตามฐานานรุ ปู

(๒) รบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดจากบคุ คลอน่ื ซง่ึ มใิ ชญ าตซิ ง่ึ มรี าคาหรอื มลู คา
ในการรบั จากแตล ะบุคคล แตล ะโอกาสไมเ กินสามพนั บาท

(๓) รับทรัพยสินหรือประโยชนอื่นใดที่การใหน้ันเปนการใหในลักษณะที่ใหกับ
บคุ คลท่วั ไป

ทัง้ ไดก าํ หนดความหมายของถอ ยคาํ ที่เกย่ี วของดังนี้
“การรับทรัพยสินหรือประโยชนผูอ่ืนใดโดยธรรมจรรยา หมายความวา การรับ
ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดจากญาตหิ รอื จากบคุ คลทใี่ หก นั ในโอกาสตา งๆ โดยปกตติ ามขนบธรรมเนยี ม
ประเพณี หรอื วัฒนธรรม หรือใหกันตามมารยาททีป่ ฏบิ ตั กิ นั ในสังคม

๖๒

“ญาติ” หมายความวา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน พ่ีนองรวมบิดามารดา หรือรวมบิดา
หรอื มารดาเดียวกนั ลุง ปา นา อา คสู มรส ผบู พุ การหี รอื ผูสืบสนั ดานของคูส มรส บตุ รบุญธรรมหรือ
ผูร วมบญุ ธรรม

ประโยชนอื่นใด หมายความวา สิ่งท่ีมีมูลคา ไดแก การลดราคา การรับความบันเทิง
การรับบรกิ าร การรบั การฝกอบรม หรอื สง่ิ อนื่ ใดในลกั ษณะเดียวกัน

นอกจากนน้ั ยังไดก าํ หนดวิธกี ารปฏิบัติ เมือ่ มกี รณีจาํ เปนตอ งรบั ไว ดงั น้ี
(๑) การรับทรัพยสินหรือประโยชนอ่ืนใดจากตางประเทศ ซ่ึงผูใหมิไดระบุใหเปนของ
สวนตัวหรือมีราคาหรือมูลคาเกินกวาสามพันบาท ไมวาจะระบุเปนของสวนตัวหรือไมแตมีเหตุผล
ความจําเปนตองรับไวเพื่อรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล ใหรายงาน
ผบู งั คบั บัญชาเพ่ือพิจารณาวา สมควรจะยดึ ไวเ ปนสวนบคุ คล หรอื หนวยงานของรฐั ท่ีเจา หนาทีข่ องรัฐ
ผรู บั ไวส ังกดั
(๒) การรบั ทรพั ยส นิ หรอื ประโยชนอ นื่ ใดโดยไมเ ปน ไปตามธรรมจรรยาโดยมคี วามจาํ เปน
อยางย่ิงตองรับไวเพื่อรักษาไมตรี มิตรภาพ หรือความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล ใหรายงาน
ผบู งั คบั บญั ชาสงู สดุ หรอื คณะกรรมการ ป.ป.ช. เพอื่ ใหว นิ จิ ฉยั วา มเี หตผุ ล ความจาํ เปน ความเหมาะสม
และสมควรทจี่ ะใหเ จาหนา ทข่ี องรฐั ผูน ้นั รับไวเ ปนสิทธิของตนหรอื ไม

ò. ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òû͇ §¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃμÔ ã¹ÀÒ¤ÃÑ° (».».·.)

สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั (ป.ป.ท.) เปน หนว ยงาน
จัดตงั้ ขึน้ ใหมภ ายหลังท่มี ีการปรบั ปรงุ กระทรวง ทบวง กรมตางๆ เมื่อป ๒๕๕๒ โดยจดั ตัง้ ข้ึนตาม
มาตรา ๕๑ แหงพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ.๒๕๕๑ ที่กําหนดใหสํานักงาน ป.ป.ท. เปนสวนราชการระดับกรม สังกัดกระทรวงยุติธรรม
โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ท. ซ่ึงเปนขาราชการพลเรือนสามัญมีหนาที่ควบคุมดูแล
และรับผิดชอบการปฏิบัติราชการของสํานักงาน ขึ้นตรงตอรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม ทั้งนี้
ในการปฏบิ ตั งิ านทเ่ี กย่ี วขอ งกบั อาํ นาจหนา ทขี่ องคณะกรรมการ ป.ป.ท. เลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ท.
จะปฏิบัตงิ านข้ึนตรงตอประธานกรรมการ

ÍӹҨ˹Ҍ ·èÕ ÊÓ¹¡Ñ §Ò¹ ».».·. มอี าํ นาจตามทก่ี าํ หนดไวใ นพระราชบญั ญตั มิ าตรการของ
ฝา ยบรหิ ารในการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พ.ศ.๒๕๕๑ และคณะรฐั มนตรยี งั ไดม มี ตมิ อบหมาย
ใหเปนหนวยงานหลักขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
ดวย ดังนี้

๑. ตามมาตรา ๕๑ แหง พระราชบญั ญตั มิ าตรการของฝา ยบรหิ ารในการปอ งกนั และปราบปราม
การทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ กําหนดใหสํานักงาน ป.ป.ท. มีอํานาจหนาที่รับผิดชอบในงานธุรการของ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. ตลอดท้ังการสนับสนุนและอํานวยความสะดวกใหการปฏิบัติหนาที่ของ

๖๓

คณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ประสานงานและใหความรวมมือกับ
สว นราชการและหนว ยงานของรฐั อน่ื ทเ่ี กยี่ วขอ งกบั การปอ งกนั และแกไ ขปญ หาการทจุ รติ ประสานงาน
และใหค วามรว มมอื ระหวา งประเทศเกย่ี วกบั การปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ รวบรวมและเผยแพรข อ มลู
เกย่ี วกบั การทจุ รติ จดั ใหม หี รอื ใหค วามรว มมอื กบั องคก รอนื่ ในการศกึ ษาอบรมและพฒั นาความรเู กยี่ วกบั
การปองกันและแกไขปญหาการทุจริต รวมท้ังปฏิบัติการอ่ืนตามท่ีพระราชบัญญัติและกฎหมายอ่ืน
หรือตามท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย

๒. คณะรฐั มนตรไี ดม มี ตเิ มอื่ วนั ท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๕๑ ใหห นว ยงานภาครฐั นาํ แนวทาง
และมาตรการตามยทุ ธศาสตรช าตวิ า ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช.
และภาคีทุกภาคสวนรวมจัดทําขึ้น เพ่ือใชเปนกรอบทิศทางการประสานความรวมมือในการปองกัน
และปราบปรามการทจุ รติ แปลงไปสกู ารปฏบิ ตั โิ ดยกาํ หนดไวใ นแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ๔ ป และแผนปฏบิ ตั ิ
ราชการประจาํ ป มสี ํานกั งาน ก.พ. สาํ นักงาน ก.พ.ร. และสํานักงาน ป.ป.ท. เปนหนว ยงานหลกั ในการ
สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร นอกจากน้ีคณะรัฐมนตรียังมีมติแตงต้ังคณะกรรมการขับเคล่ือน
ยุทธศาสตรชาติวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐโดยมีนายกรัฐมนตรีเปนประธาน
กรรมการ รัฐมนตรีท่ีดแู ลนโยบายการบรหิ ารจัดการทดี่ แี ละรฐั มนตรวี า การกระทรวง ก.พ. เลขาธกิ าร
ก.พ.ร. และผอู าํ นวยการสํานักงบประมาณเปนกรรมการ โดยมีเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ท. เปน
กรรมการและเลขานกุ าร

º·ºÒ·ã¹¡Òû͇ §¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃÔμ
จากอาํ นาจหนา ทดี่ งั กลา ว สาํ นกั งาน ป.ป.ท.จงึ มบี ทบาทเปน องคก รหลกั ของฝา ยบรหิ าร
ในการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ และการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติในการปองกัน
และปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ โดยเปนศูนยกลางทั้งดานการปองกัน การปราบปราม
และการประสานงานกับหนวยงานของรัฐท่ีเก่ียวของทั้งหมดในการดําเนินตามนโยบายรัฐบาล
เก่ียวกับการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ รวมท้ังกําหนดมาตรการเพ่ือใหการปองกัน
และปราบปรามการทุจริตในฝายบริหารสามารถบูรณาการการดําเนินการระหวางหนวยงานตางๆ
ใหบ งั เกิดประสทิ ธภิ าพมากย่งิ ข้นึ
ÊÃ»Ø ÊÒÃÐÊÓ¤ÞÑ ¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ÁÔ ÒμáÒâͧ½Ò† ºÃËÔ ÒÃ㹡Òû͇ §¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ
¡Ò÷¨Ø ÃÔμ ¾.È.òõõñ
๑. เขตอํานาจการปองกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครัฐ
๒. องคก รดาํ เนินการ
๓. การไตส วนขอ เทจ็ จริง
๔. สนับสนนุ การปองกนั และปราบปราม

๖๔

à¢μÍÓ¹Ò¨ ¡Òû͇ §¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃμÔ ã¹ÀÒ¤ÃÑ°
๑. เจาหนาทีข่ องรัฐ
๒. การกระทําทจุ รติ ในภาครัฐ
à¨ÒŒ ˹Ҍ ·Õ¢è Í§Ã°Ñ à¨ŒÒ˹ŒÒ·¢Õè ͧÃÑ°·èÍÕ ÂÙ‹ã¹ÍÒí ¹Ò¨¢Í§ ».».·. ไดแก “เจา หนาทขี่ องรัฐ
ท่ีดํารงตําแหนงต่ํากวาผูบริหารระดับสูง หรือขาราชการท่ีดํารงตําแหนงตํ่ากวาผูอํานวยการกอง
ลงมา” ซง่ึ เจา หนา ทขี่ องรฐั ดงั กลา ว ไดแ ก ขา ราชการพลเรอื นสามญั ทกุ กระทรวง ทบวง กรม ขา ราชการ
ตาํ รวจ ขา ราชการทหาร ขา ราชการครู พนกั งานองคก รมหาชน พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ ขา ราชการองคก ร
ปกครองสวนทองถ่ิน ตลอดจนขาราชการและพนักงานหนวยงานของรัฐที่จัดตั้งในรูปแบบพิเศษอ่ืน
รวมทัง้ สนิ้ ประมาณ ๑๐,๐๐๐ หนว ยงาน

à»ÃÕºà·ÕºÍӹҨ˹ŒÒ·èբͧ ».».ª. áÅÐ ».».·.

ป.ป.ช.

ผอู าํ นวยการตน , พันตาํ รวจเอก, พันเอก, นาวาเอก

ป.ป.ท.

਌Ò˹ŒÒ·Õè¢Í§Ã°Ñ à¨ÒŒ ˹ŒÒ·¢èÕ Í§ÃÑ°·ÍèÕ Â‹ãÙ ¹ÍíÒ¹Ò¨¢Í§ ».».·. ไดแก “เจาหนา ท่ีของรัฐ
ที่ดํารงตําแหนงตํ่ากวาผูบริหารระดับสูง หรือขาราชการท่ีดํารงตําแหนงตํ่ากวาผูอํานวยการกอง
ลงมา” ซง่ึ เจา หนา ทขี่ องรฐั ดงั กลา ว ไดแ ก ขา ราชการพลเรอื นสามญั ทกุ กระทรวง ทบวง กรม ขา ราชการ
ตาํ รวจ ขา ราชการทหาร ขา ราชการครู พนกั งานองคก รมหาชน พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ ขา ราชการองคก ร
ปกครองสว นทอ งถ่นิ ตลอดจนขา ราชการและพนักงานหนวยงานของรฐั ทีจ่ ัดต้งั ในรปู แบบพิเศษอนื่

´§Ñ ¹éѹ ¢ŒÒÃÒª¡ÒáÒÃàÁ×ͧ ¼ºŒÙ ÃÔËÒ÷ŒÍ§¶¹èÔ áÅТҌ ÃÒª¡ÒûÃШӷÕÁè μÕ Óá˹§‹ ʧ٠¡ÇÒ‹
¼ŒÙÍӹǡÒáͧ ¨ÐÍ‹Ùã¹ÍÓ¹Ò¨¡ÒÃμÃǨÊͺ¢Í§ ».».ª.

๖๕

à»ÃÕºà·ÂÕ ºÍӹҨ˹Ҍ ·¢èÕ Í§ ».».ª. áÅÐ ».».·.

ประเด็นเปรียบเทียบ หนว ยงาน
ป.ป.ช ป.ป.ท.

๑. ที่มาและกฎหมาย รธน. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๓๔ พ.ร.บ.มาตรการของฝายบริหารใน
ที่ใหอ ํานาจ การปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
พ.ศ.๒๕๕๑

๒. สถานะ เปน องคก รอสิ ระ - เปน เครอ่ื งมอื /กลไกของฝา ยบรหิ าร
ในการปองกันและปราบปราม
การทจุ รติ ในภาครฐั โดยมสี ถานะเปน
กรมในสงั กดั สาํ นกั นายกฯ ขนึ้ ตรงตอ
นายกรฐั มนตรี
- คณะกรรมการ ป.ป.ท.เปน องคก ร
ท่ีแตงตั้งโดย ครม. แตมีการทํางาน
อยางอิสระ

๓. อาํ นาจหนา ท่ี คณะกรรมการ ป.ป.ช. รบั ผดิ ชอบ - คณะกรรมการ ป.ป.ท. รบั ผดิ ชอบ

การไตสวนและวินิจฉัยคดี จนท. การไตส วนและวนิ จิ ฉยั คดี จนท.ของรฐั
ของรัฐ ตั้งแตผูบริหารระดับสูง ซงึ่ กระทาํ การทจุ รติ ในภาครฐั ในระดบั
หรือขาราชการซ่ึงดํารงตําแหนง ตา่ํ กวา ผอ.กอง ลงมา
ตั้งแต ผอ.กอง หรือเทียบเทา
ข้ึนไป ในกรณี
- รํ่ารวยผิดปกติ/มีทรัพยสิน - สํานักงาน ป.ป.ท. รับผิดชอบ
เพม่ิ ขึ้น การตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ เรอื่ งรอ งเรยี น
- กระทําความผิดฐานทุจริตตอ การทุจริตและการใชอํานาจของ
หนา ที่ เจา หนา ทขี่ องรฐั โดยมิชอบ
- กระทําความผิดตอตําแหนง
หนา ท่รี าชการ
- กระทําความผิดตอตําแหนง
หนาท่ใี นการยตุ ิธรรม

๖๖

¤ÇÒÁ¼Ô´·ÕÍè ‹ãÙ ¹ÍÓ¹Ò¨¢Í§ ».».·. (ตาม มาตรา ๓)
“ทุจรติ ในภาครฐั ” หมายความวา ทุจริตตอ หนาทหี่ รือประพฤตมิ ิชอบในภาครฐั
“ทจุ รติ ตอ หนา ท”่ี หมายความวา ปฏบิ ตั หิ รอื ละเวน การปฏบิ ตั อิ ยา งใดในตาํ แหนง หรอื หนา ที่

หรือปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติอยางใดในพฤติการณท่ีอาจทําใหผูอื่นเชื่อวามีตําแหนงหรือหนาที่
ทง้ั ทต่ี นมไิ ดม ตี าํ แหนง หรอื หนา ทน่ี น้ั หรอื ใชอ าํ นาจในตาํ แหนง หรอื หนา ที่ ทง้ั น้ี เพอ่ื แสวงหาประโยชน
ที่มิควรไดโ ดยชอบสําหรับตนเองหรือผอู ่นื หรือกระทําการอันเปนความผิดตอ ตาํ แหนงหนา ทร่ี าชการ
หรอื ความผิดตอ ตาํ แหนง หนาทีใ่ นการยุตธิ รรมตามประมวลกฎหมายอาญาหรือตามกฎหมายอืน่

“ประพฤตมิ ชิ อบ” หมายความวา ใชอ าํ นาจในตาํ แหนง หรอื หนา ทอี่ นั เปน การฝา ฝน กฎหมาย
ระเบียบ คําสั่ง หรือมติคณะรัฐมนตรีท่ีมุงหมายจะควบคุมดูแลการรับ การเก็บรักษา หรือการใชเงิน
หรือทรพั ยสนิ ของแผนดนิ

ͧ¤¡ ôÒí à¹¹Ô ¡ÒÃμÒÁ¡®ËÁÒ ตามพระราชบญั ญตั มิ าตรการของฝา ยบรหิ ารในการปอ งกนั
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ บัญญัติใหมีองคกรรองรับเพื่อทําหนาท่ีในการปองกัน
และปราบปรามการทจุ ริต ประกอบดวย

๑. ¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ».».·.
๒. Êӹѡ§Ò¹ ».».·.

๒.๑ พนกั งาน ป.ป.ท.
๒.๒ เจาหนาท่ี ป.ป.ท.
¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ÁÔ ÒμáÒâͧ½Ò† ºÃËÔ ÒÃ㹡Òû͇ §¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃμÔ ¾.È.òõõñ
ÍӹҨ˹ŒÒ·¤èÕ ³Ð¡ÃÃÁ¡Òà ».».·.
๑. เสนอนโยบาย มาตรการและแผนพฒั นาการปองกนั ปราบปรามฯ ตอคณะรัฐมนตรี
๒. เสนอแนะใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการปรับปรุงกฎหมายขอบังคับ
เพ่อื ปอ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต
๓. เสนอตอกรรมการ ป.ป.ช. ในการกําหนดตําแหนงเจาหนาที่ของรัฐที่ตองยื่นบัญชี
แสดงทรัพยสิน
๔. ไตสวนขอ เทจ็ จรงิ และชมี้ ูลการทจุ ริตของเจา หนา ทขี่ องรัฐ
๕. ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ และสรปุ สาํ นวนพรอ มความเหน็ เสนอพนกั งานอยั การเพอื่ ฟอ งคดี
๖. จดั ทํารายงานผลการปฏิบตั เิ สนอคณะรฐั มนตรี สภาผูแทนฯ วุฒสิ ภา และ ป.ป.ช.
๗. แตง ตง้ั คณะอนุกรรมการเพอ่ื ดาํ เนนิ การตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย
ÍӹҨ㹡ÒÃäμ‹Êǹ¢ŒÍà·ç¨¨ÃÔ§ (ÁÒμÃÒ ñø)
๑. สอบถามหรือเรยี กใหส ถาบนั การเงนิ สว นราชการ องคกร ฯลฯ สง เจา หนา ทมี่ าให
ถอยคํา สง คําชแ้ี จง หรือสง เอกสารหลกั ฐานใดๆ

๖๗

๒. สอบถามหรอื เรยี กบคุ คลใด เพอ่ื มาใหถ อ ยคาํ สง คาํ ชแ้ี จงเปน หนงั สอื หรอื สง เอกสาร
หลกั ฐานใดๆ

๓. ขอใหศาลออกหมายเพื่อเขาไปในเคหสถาน สถานที่ทําการ หรือสถานที่อ่ืนใด
รวมท้ังยานพาหนะของบุคคลใดๆ เพื่อตรวจสอบ คน ยึด หรืออายัดเอกสาร ทรัพยสิน หรือ
พยานหลักฐานอน่ื ใด

๔. ขอใหห นว ยงานของรฐั หรอื เจา หนา ทขี่ องหนว ยงานของรฐั ใหค วามชว ยเหลอื สนบั สนนุ
หรอื เขา รวมในการปฏิบัตหิ นา ท่ีได

¡Ã³·Õ Õμè ÍŒ §·Ó¡ÒÃäμ‹Êǹ¢ÍŒ à·ç¨¨Ã§Ô (ÁÒμÃÒ òó)
๑. เมอ่ื ไดรบั คํากลาวหาวามีการกระทาํ ทุจรติ ในภาครฐั
๒. เมอ่ื มเี หตอุ นั ควรสงสยั วา มกี ารทจุ ริตในภาครัฐ
๓. เมอื่ ไดร ับเร่ืองจากพนกั งานสอบสวน
๔. เมื่อไดร บั เร่อื งจากคณะกรรมการ ป.ป.ช.
¡ÒôÓà¹Ô¹¡ÒÃäμ‹Êǹ¢ÍŒ à·ç¨¨ÃÔ§
๑. คณะกรรมการ ป.ป.ท. ดาํ เนินการไตส วนขอเท็จจรงิ เอง
๒. แตงตง้ั คณะอนุกรรมการไตส วนขอ เทจ็ จริงดาํ เนนิ การแทน

องคประกอบ มีผูแทนภาคประชาชน / ท่ีปรกึ ษา / ผูเช่ียวชาญ
๓. มอบหมาย พนกั งาน ป.ป.ท.
๔. ขณะไตสวนขอเท็จจริง ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นสมควรจะทําการตรวจสอบ
ทรพั ยสินกไ็ ด
¡ÒêéÕÁÙŤÇÒÁ¼´Ô
เมอ่ื คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมตชิ มี้ ูลวาเจา หนา ท่กี ระทําการทจุ ริตในภาครัฐแลว จะตอ ง
ดาํ เนินการ ดงั นี้
๑. ¡Ã³ÕÁÕÁÙŤÇÒÁ¼Ô´·Ò§ÇԹѠ: จะสงเรื่องใหผูบังคับบัญชาพิจารณาโทษทางวินัย
โดยผูบังคับบัญชาตองพิจารณาโทษภายใน ๓๐ วัน หากละเลยไมดําเนินการจะถือเปนความผิด
วนิ ัย หรอื หากดาํ เนนิ การไมเ หมาะสม คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะเสนอความเห็นไปยงั นายกรัฐมนตรี
เพอ่ื ส่ังการ (มาตรา ๔๐ - ๔๔)
๒. ¡Ã³ÁÕ ÁÕ ÅÙ ¤ÇÒÁ¼´Ô ·Ò§ÍÒÞÒ : จะสง เรอื่ งใหพ นกั งานอยั การฟอ งคดี (มาตรา ๔๕ - ๔๖)
๓. ¡Ã³àÕ ¨ÒŒ ˹Ҍ ·¢èÕ Í§Ã°Ñ «§èÖ ¶¡Ù ¡ÅÒ‹ ÇËÒä´ãŒ ªÍŒ Ó¹Ò¨·Ò§»¡¤Ãͧ : โดยการอนมุ ตั ิ อนญุ าต
ออกเอกสารสิทธิ ใหส ิทธปิ ระโยชน หรอื สั่งการใดๆ แกบคุ คลโดยมิชอบ หรืออาจเปน เหตุใหเ สยี หาย
แกราชการ จะแจงใหหัวหนาหนวยงานที่เกี่ยวของพิจารณาดําเนินการส่ังยกเลิกหรือเพิกถอน
(มาตรา ๔๙)

๖๘

¡Ãкǹ¡Òà ¢Ñé¹μ͹ ÇÔ¸´Õ Óà¹¹Ô §Ò¹¡Ã³Õ¶¡Ù ªéÁÕ ÅÙ ¤ÇÒÁ¼´Ô ·Ò§ÇÔ¹ÂÑ

ÁÒμÃÒ ôð
เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมตวิ า เจาหนาทีข่ องรฐั ผใู ดกระทาํ การทจุ ริตในภาครฐั และ

เปน กรณมี มี ลู ความผดิ ทางวนิ ยั ใหป ระธานกรรมการฯ สง รายงานและเอกสารทมี่ อี ยพู รอ มทงั้ ความเหน็
ไปยังผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงตั้ง ถอดถอนผูถูกกลาวหาน้ัน เพ่ือพิจารณาโทษทางวินัย
ตามฐานความผดิ ที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ไดม ีมติ โดยไมตองแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนวินยั อกี
ในการพจิ ารณาโทษทางวนิ ยั แกผ ถู กู กลา วหาใหถ อื วา รายงาน เอกสาร และความเหน็ ของคณะกรรมการ
ป.ป.ท. เปนสํานวนการสอบสวนทางวินัย ตามระเบียบ ขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลของ
ผถู ูกกลา วหาน้ันๆ
ÁÒμÃÒ ôñ

..เม่ือไดรับรายงานตามมาตรา ๔๐ ใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงตั้ง ถอดถอน
พจิ ารณาโทษภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทไี่ ดร บั เรอ่ื ง และใหผ บู งั คบั บญั ชาหรอื ผมู อี าํ นาจแตง ตงั้ ถอดถอน
สงสําเนาคําสั่งลงโทษดังกลาวไปใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ทราบ ภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดออก
คาํ สั่ง
ÁÒμÃÒ ôò

..ผบู งั คับบัญชาหรอื ผมู อี าํ นาจแตง ต้งั ถอดถอนผูใ ดละเลยไมดาํ เนนิ การ ตามมาตรา ๔๑
ใหถือวาผูนั้นกระทําผิดวินัยหรือกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลของ
ผถู กู กลา วหาน้ัน
ÁÒμÃÒ ôó

ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาของผูถูกกลาวหาไมดําเนินการทางวินัยตามมาตรา ๔๑ หรือ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวาการดําเนินการทางวินัยของผูบังคับบัญชาตามมาตรา ๔๑ ไมถูกตอง
หรือไมเหมาะสม ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. เสนอความเห็นไปยังนายกรฐั มนตรี และใหน ายกรัฐมนตรี
มีอาํ นาจสัง่ การตามท่ีเหน็ สมควร หรือกรณีจําเปนคณะกรรมการ ป.ป.ท. จะสง เรื่องใหคณะกรรมการ
ขา ราชการพลเรอื นตามกฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการพลเรอื น หรอื คณะกรรมการอน่ื ซงึ่ มหี นา ท่ี
ควบคมุ ดูแลการปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ระเบียบ ขอ บังคบั วา ดว ยการบริหารงานบคุ คลสําหรบั เจาหนา ที่
ของรัฐ ดําเนนิ การใหถูกตอ งเหมาะสมตอ ไป

๖๙

ÁÒμÃÒ ôô
... ผถู ูกกลาวหาท่ีถกู ลงโทษตามมาตรา ๔๑ จะใชสทิ ธิอุทธรณด ุลพนิ จิ ในการกาํ หนดโทษ

ของผบู งั คบั บญั ชาตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ บงั คบั วา ดว ยการบรหิ ารงานบคุ คลสาํ หรบั ผถู กู กลา วหา
น้นั ๆ กไ็ ด ทงั้ น้ี ตอ งใชสิทธิดงั กลา วภายในสามสิบวันนบั แตวันทไี่ ดรบั ทราบคําสัง่ ดงั กลา ว

¡Ãкǹ¡Òà ¢¹éÑ μ͹ Ç¸Ô Õ´Óà¹Ô¹§Ò¹¡Ã³¶Õ Ù¡ªÕéÁÙŤÇÒÁ¼´Ô ·Ò§ÍÒÞÒ

ÁÒμÃÒ ôõ
กรณีการกระทําของเจาหนาที่รัฐตามมาตรา ๔๐ เปนความผิดทางอาญาดวย

ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงสํานวนการไตสวนขอเท็จจริง รายงาน เอกสาร และความเห็นของ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหพนกั งานอยั การดาํ เนินการตอ ไป ...
ÁÒμÃÒ ôö

กรณที พี่ นกั งานอยั การมคี าํ สงั่ ฟอ งและตอ งนาํ ตวั ผถู กู กลา วหาไปศาล ใหแ จง ผถู กู กลา วหา
มาพบพนักงานอัยการตามเวลาท่ีกําหนด กรณีจําเปนตองจับผูถูกกลาวหา ใหอัยการแจงพนักงาน
ฝายปกครองหรือตํารวจท่ีมีเขตอํานาจเหนือทองที่ที่ผูถูกกลาวหามีภูมิลําเนา/ที่อยูเปนผูดําเนินการ
ทั้งน้ีใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงตั้ง ถอดถอน มีอํานาจรองขอตอศาลใหออกหมายจับได
(ตาม ป.วอิ าญา)

¡Ãкǹ¡Òà ¢¹Ñé μ͹ ÇÔ¸´Õ Óà¹Ô¹§Ò¹¡Ã³Õ¶¡Ù ªÁéÕ ÅÙ ¤ÇÒÁ¼´Ô ·Ò§»¡¤Ãͧ

ÁÒμÃÒ ôù
กรณที ค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ท. มมี ตวิ า ขอ กลา วหาใดมมี ลู นอกจากดาํ เนนิ การตามมาตรา ๔๐

หรือมาตรา ๔๕ แลว หากปรากฏวา เจาหนาทข่ี องรฐั ผถู กู กลา วหาไดอ นุมตั ิ อนญุ าต ออกเอกสารสิทธิ
ใหสิทธิประโยชนหรือสั่งการใดๆ แกบุคคลใดโดยมิชอบ หรืออาจเปนเหตุใหเสียหายแกทางราชการ
ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แจงใหหัวหนาหนวยงานท่ีเกี่ยวของพิจารณาดําเนินการสั่งยกเลิก หรือ
เพิกถอนการอนมุ ัติ อนญุ าต ออกเอกสารสทิ ธิ ใหสิทธปิ ระโยชนห รือสัง่ การใดๆ นน้ั ตอ ไปดว ย

๗๐

ÁÒμáÒÃʹºÑ ʹ¹Ø áÅШ٧ã¨

เพอ่ื เปน การยกระดบั มาตรการ กลไกการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ คณะกรรมการ
ป.ป.ท. มอี ํานาจส่งั ใหด ําเนนิ การ

๑. การคุมครองพยานแกผ ูใหเ บาะแส ขอมูล ขาวสาร (มาตรา ๕๓, ๕๔)
๒. การใหร างวลั ตอบแทนผทู าํ ประโยชน กรณบี คุ คลดงั กลา วเปน ประชาชน (มาตรา ๕๕)
และการเล่อื นขัน้ เงินเดือน/ตาํ แหนงแกเ จาหนาที่ กรณีเจา หนาที่เปน ผูท ําประโยชน (มาตรา ๕๖)
๓. การกนั ผูถกู กลา วหาเปนพยาน (มาตรา ๕๘)

๗๑

ÀÒ¤¼¹Ç¡

๗๓

¾ÃÐÃÒªºÑÞÞμÑ Ô

ÁÒμáÒâͧ½Ò† ºÃÔËÒÃ㹡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷بÃμÔ
¾.È. òõõñ

ÀÙÁÔ¾ÅÍ´ØÅÂà´ª ».Ã.
ãËŒäÇŒ ³ Çѹ·Õè òó Á¡ÃÒ¤Á ¾.È. òõõñ

໹š »‚·Õè öó ã¹ÃªÑ ¡ÒÅ»˜¨¨ØºÑ¹

พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ
ใหประกาศวา

โดยท่ีเปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยมาตรการของฝายบริหารในการปองกัน
และปราบปรามการทุจรติ

พระราชบญั ญตั นิ ม้ี บี ทบญั ญตั บิ างประการเกย่ี วกบั การจาํ กดั สทิ ธแิ ละเสรภี าพของบคุ คล
ซึ่งมาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๑ มาตรา ๓๒ มาตรา ๓๕ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา ๔๓
มาตรา ๕๖ และมาตรา ๖๒ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัย
อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ นึ้ ไวโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอมของ
สภานติ ิบญั ญตั ิแหงชาติ ดงั ตอ ไปน้ี

ÁÒμÃÒ ñ พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการ
ปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ พ.ศ.๒๕๕๑”

ÁÒμÃÒ ò[ñ] พระราชบญั ญตั นิ ใ้ี หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
เวน แตบทบัญญตั ใิ นหมวด ๒ การไตสวนขอเทจ็ จริง ใหมีผลใชบ ังคบั เม่ือพนกาํ หนดหนึง่ รอยยีส่ ิบวัน
นบั แตว นั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปนตนไป

ÁÒμÃÒ ó ในพระราชบญั ญตั ิน้ี
“ทุจรติ ในภาครัฐ” หมายความวา ทจุ ริตตอหนา ท่หี รอื ประพฤตมิ ชิ อบในภาครฐั
“ทจุ รติ ตอ หนา ท”่ี หมายความวา ปฏบิ ตั หิ รอื ละเวน การปฏบิ ตั อิ ยา งใดในตาํ แหนง หรอื หนา ที่
หรอื ปฏบิ ตั หิ รอื ละเวน การปฏบิ ตั อิ ยา งใดในพฤตกิ ารณท อ่ี าจทาํ ใหผ อู นื่ เชอื่ วา มตี าํ แหนง หรอื หนา ทที่ งั้ ที่
ตนมิไดมีตําแหนงหรือหนาท่ีนั้น หรือใชอํานาจในตําแหนงหรือหนาท่ี ทั้งน้ี เพ่ือแสวงหาประโยชน
ท่มี คิ วรไดโดยชอบสาํ หรับตนเองหรือผูอืน่ หรอื กระทาํ การอันเปน ความผดิ ตอ ตาํ แหนงหนาท่รี าชการ
หรือความผดิ ตอตาํ แหนงหนาที่ในการยตุ ธิ รรมตามประมวลกฎหมายอาญาหรอื ตามกฎหมายอ่ืน

๗๔

“ประพฤตมิ ชิ อบ” หมายความวา ใชอ าํ นาจในตาํ แหนง หรอื หนา ทอี่ นั เปน การฝา ฝน กฎหมาย
ระเบียบ คําส่ัง หรือมติคณะรัฐมนตรีที่มุงหมายจะควบคุมดูแลการรับ การเก็บรักษา หรือการใชเงิน
หรอื ทรัพยส ินของแผนดนิ

“คณะกรรมการ ป.ป.ช.” หมายความวา คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต
แหงชาติตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ

“เจา หนา ทข่ี องรฐั ” หมายความวา เจา หนา ทข่ี องรฐั ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู
วา ดวยการปองกนั และปราบปรามการทจุ ริต แตไ มรวมถึงเจาหนาท่ีของรฐั ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) ผูบริหารระดับสูง ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต

(๒) ผูพพิ ากษาและตลุ าการ
(๓) พนกั งานอัยการ
(๔) ผบู รหิ ารทอ งถนิ่ รองผบู รหิ ารทอ งถน่ิ ผชู ว ยผบู รหิ ารทอ งถนิ่ และสมาชกิ สภาทอ งถนิ่
ขององคกรปกครองสวนทองถ่นิ
(๕) เจา หนา ทีข่ องรัฐในหนว ยงานของศาล รัฐสภา องคกรตามรัฐธรรมนูญ และองคก ร
อิสระจากการควบคมุ หรอื กํากบั ของฝา ยบรหิ ารท่ีจัดตงั้ ข้นึ ตามรฐั ธรรมนูญ
(๖) เจาหนาท่ีของรัฐในสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ในภาครัฐ
(๗) เจาหนา ท่ีของรฐั ซงึ่ กระทําความผิดในลักษณะที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. เหน็ สมควร
ดาํ เนินการ ตามทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช. กาํ หนด
(๘) เจา หนา ทข่ี องรฐั ซงึ่ รว มกระทาํ ความผดิ กบั บคุ คลตาม (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗)
“ผูกลาวหา” หมายความวา ผูซึ่งไดรับความเสียหายจากการกระทําการทุจริตในภาครัฐ
ของเจาหนาท่ีของรัฐ หรือไดพบเห็นการทุจริตในภาครัฐของเจาหนาที่ของรัฐและไดกลาวหา
ตามบทบัญญัติแหง กฎหมายนี้
“ผถู กู กลา วหา” หมายความวา ผซู ง่ึ ถกู กลา วหาหรอื มพี ฤตกิ ารณป รากฏแกค ณะกรรมการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐวาไดกระทําการทุจริตในภาครัฐอันเปนมูลท่ีจะนําไปสู
การไตสวนขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัตินี้ และใหหมายความรวมถึงตัวการ ผูใช หรือผูสนับสนุน
ในการกระทาํ ดงั กลาวดวย
“ไตสวนขอเท็จจริง” หมายความวา แสวงหา รวบรวม และการดําเนินการอื่นใด
เพอื่ ใหไ ดม าซงึ่ ขอ เทจ็ จรงิ และพยานหลกั ฐาน ในการทจี่ ะทราบรายละเอยี ดและพสิ จู นเ กยี่ วกบั การทจุ รติ
ในภาครฐั ของเจาหนาทข่ี องรฐั
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตในภาครฐั และให
หมายความรวมถึงประธานกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ ในภาครัฐดวย

๗๕

“พนักงาน ป.ป.ท.” หมายความวา เลขาธิการ รองเลขาธิการ และผูซึ่งคณะกรรมการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐแตงตั้งจากขาราชการพลเรือนซึ่งดํารงตําแหนงในระดับ
ไมต า่ํ กวา หวั หนา งานหรือเทียบเทา ใหป ฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั ินี้

“เจาหนา ที่ ป.ป.ท.” หมายความวา ผซู ่ึงคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ
ในภาครฐั แตงตั้งจากขา ราชการพลเรือนหรือพนกั งานราชการใหปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบัญญัตินี้

“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ในภาครัฐ

“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ในภาครัฐ

“รองเลขาธิการ” หมายความวา รองเลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การทุจรติ ในภาครัฐ

ÁÒμÃÒ ô ใหน ายกรฐั มนตรรี กั ษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ และใหม อี าํ นาจออกระเบยี บ
และประกาศเพื่อปฏิบตั กิ ารตามพระราชบัญญตั นิ [้ี ๒]

ใหประธานกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐมีอํานาจออกระเบียบ
และประกาศกบั แตง ตง้ั พนกั งานเจา หนา ทโ่ี ดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปราม
การทุจรติ ในภาครฐั เพื่อปฏบิ ัติการตามพระราชบญั ญัตินี้

ระเบียบและประกาศตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองที่มีผลเปนการท่ัวไปเม่ือไดประกาศ
ในราชกจิ จานเุ บกษาแลวใหใชบ งั คับได

ËÁÇ´ ñ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òû‡Í§¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃμÔ ã¹ÀҤðÑ
ÁÒμÃÒ õ ใหม คี ณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั เรยี กโดยยอ วา
“คณะกรรมการ ป.ป.ท.” ประกอบดวย ประธานกรรมการคนหนึ่ง และกรรมการอ่ืนอีกหาคน
ซึ่งพระมหากษัตริยท รงแตง ตัง้ ตามมาตรา ๕/๑ และมเี ลขาธิการคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปราม
การทุจรติ แหงชาติ เปน กรรมการโดยตาํ แหนง[๓]
ใหเ ลขาธกิ ารเปน เลขานกุ าร และใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. แตง ตง้ั ขา ราชการในสาํ นกั งาน
จาํ นวนไมเกนิ สองคนเปนผูชว ยเลขานกุ าร
มิใหนําบทบัญญัติในมาตรา ๖ มาตรา ๘ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ มาใชบังคับกับ
เลขาธิการคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการทุจริตแหง ชาตทิ เี่ ปน กรรมการโดยตําแหนง
ÁÒμÃÒ õ/ñ[ô] เมอ่ื มีกรณที ่ีตองสรรหาและคดั เลอื กกรรมการ ใหด าํ เนินการดังตอ ไปน้ี
(๑) ในการสรรหากรรมการ ใหค ณะรฐั มนตรี คณะกรรมการ ป.ป.ช. และคณะกรรมการ
ตรวจเงินแผนดินสรรหาและเสนอรายช่ือบุคคลผูมีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา ๖

๗๖

และมาตรา ๗ (๔) องคกรละหาคน ภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีมีเหตุทําใหตองมีการสรรหา
และคัดเลือกกรรมการ เพ่ือเสนอตอคณะกรรมการคัดเลือก สําหรับกรณีที่เปนการสรรหาเพื่อแตงตั้ง
กรรมการแทนตาํ แหนง ทวี่ า ง ใหอ งคก รดงั กลา วแตล ะองคก รเสนอรายชอื่ เทา จาํ นวนกรรมการทวี่ า งลง

(๒) ใหม ีคณะกรรมการคัดเลอื ก ประกอบดวย ประธานศาลฎกี า ประธานศาลปกครอง
สงู สดุ ประธานศาลรฐั ธรรมนญู และประธานผูตรวจการแผนดิน เปนกรรมการคดั เลอื ก โดยใหเ ลอื ก
กนั เองเปน ประธานกรรมการคดั เลอื กคนหนงึ่ ในกรณที ไี่ มม ผี ดู าํ รงตาํ แหนง ใดหรอื มแี ตไ มส ามารถปฏบิ ตั ิ
หนาทไี่ ด ใหผ ูทาํ การแทน ผูป ฏบิ ัตหิ นา ทแ่ี ทน หรอื ผปู ฏิบัตหิ นา ทใี่ นตําแหนงนน้ั ทาํ หนาท่ีกรรมการ
คดั เลอื กแทน

(๓) ใหคณะกรรมการคัดเลือกพิจารณาคัดเลือกบุคคลเปนกรรมการจากรายช่ือบุคคล
ตาม (๑) ใหไดจาํ นวนตามท่จี ะตองแตง ตงั้

(๔) ในกรณที ่ีคณะกรรมการคดั เลอื กคัดเลือกบุคคลไดไ มครบจํานวนตาม (๓) ใหแจง ให
องคกรตาม (๑) แตละองคกรเสนอรายช่ือบุคคลใหมเปนจํานวนเทากับจํานวนกรรมการที่ยังขาดอยู
ภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีมีการคัดเลือกบุคคลไดไมครบจํานวนดังกลาว และใหคณะกรรมการ
คัดเลือกดําเนินการคัดเลือกเพิ่มเติมตาม (๓) เปนกรรมการเพ่ิมเติมจากที่มีการคัดเลือกบุคคลเปน
กรรมการไวแลว

(๕) เม่ือไดมีการคัดเลือกบุคคลเปนกรรมการครบจํานวนแลว ใหผูไดรับคัดเลือกเปน
กรรมการประชุมเลือกกันเองเพ่ือเปนประธานกรรมการคนหนึ่ง และใหคณะกรรมการคัดเลือกแจง
รายชอ่ื ผไู ดร บั คดั เลอื กเปน ประธานกรรมการและกรรมการ พรอ มเอกสารหลกั ฐานตามมาตรา ๗ วรรคสอง
รวมทง้ั ความยนิ ยอมของบคุ คลดงั กลา วตอ นายกรฐั มนตรเี พอ่ื นาํ ความกราบบงั คมทลู เพอ่ื ทรงแตง ตงั้ ตอ ไป

หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารคดั เลอื กกรรมการตาม (๓) และ (๔) ใหเ ปนไปตามที่คณะกรรมการ
คัดเลือกกาํ หนด

ÁÒμÃÒ ö กรรมการตอ ง
(ก) มีคณุ สมบตั ิ ดงั ตอ ไปน้ี

(๑) เปนผมู คี วามซ่ือสตั ยส จุ ริตเปนท่ีประจกั ษ
(๒) มีความรูความสามารถในการปฏิบัติหนาท่ีเกี่ยวกับการปองกันและปราบปราม
การทจุ รติ
(๓) มีสัญชาตไิ ทย
(๔) มอี ายุไมต ํา่ กวาสส่ี บิ หา ป
(๕) เปน หรอื เคยเปน ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู ตลุ าการศาลปกครองสงู สดุ ผพู พิ ากษา
ซงึ่ ดาํ รงตาํ แหนง ไมต าํ่ กวา ผพู พิ ากษาศาลฎกี า หรอื รบั ราชการหรอื เคยรบั ราชการในตาํ แหนง ไมต าํ่ กวา
รองอยั การสงู สดุ อธบิ ดหี รอื ผดู าํ รงตาํ แหนง ทางบรหิ ารในหนว ยงานของรฐั ทม่ี อี าํ นาจบรหิ ารเทยี บเทา
อธิบดี หรือดาํ รงตําแหนง ไมตา่ํ กวาศาสตราจารย

๗๗

(ข) ไมมลี ักษณะตอ งหา ม ดงั ตอไปนี้
(๑) เปนผมู ีตําแหนง ในพรรคการเมอื ง
(๒) วิกลจริตหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ
(๓) เปนภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรือนกั บวช
(๔) ตองคมุ ขังอยโู ดยหมายของศาลหรือโดยคําสง่ั ท่ชี อบดวยกฎหมาย
(๕) ติดยาเสพติดใหโ ทษ
(๖) เปนบคุ คลลมละลาย
(๗) ตองคําพิพากษาใหจําคุก แมคดีนั้นจะยังไมถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ

หรอื เคยไดร บั โทษจาํ คกุ โดยคาํ พพิ ากษาอนั ถงึ ทสี่ ดุ ใหจ าํ คกุ เวน แตใ นความผดิ ทไี่ ดก ระทาํ โดยประมาท
หรือความผดิ ลหโุ ทษ

(๘) เคยถกู ไลอ อก ปลดออก หรอื ใหอ อกจากราชการ หนว ยงานของรฐั หรอื รฐั วสิ าหกจิ
(๙) เคยตองคําพิพากษาหรือคําสั่งของศาลใหทรัพยสินตกเปนของแผนดิน
เพราะรา่ํ รวยผดิ ปกตหิ รือมีทรพั ยสินเพ่มิ ข้ึนผดิ ปกติ
(๑๐)เคยถกู วฒุ ิสภามมี ติใหถอดถอนออกจากตาํ แหนง
ÁÒμÃÒ ÷ ผูทไ่ี ดร บั แตง ต้งั เปนกรรมการตอ ง
(๑) ไมเปนกรรมการหรือทป่ี รึกษาของรฐั วิสาหกิจหรอื หนวยงานของรัฐ
(๒) ไมดํารงตําแหนงใดในหางหุนสวน บริษัท หรือองคการที่ดําเนินธุรกิจโดยมุงหา
ผลกาํ ไรหรือรายไดม าแบง ปน กนั หรือเปนลกู จางของบคุ คลใด
(๓) ไมป ระกอบวิชาชีพอสิ ระอ่นื ใด
(๔) ไมเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ขาราชการการเมือง สมาชิก
สภาทอ งถน่ิ หรอื ผบู รหิ ารทอ งถิ่น
(๕) ไมเ ปน เจา หนา ทข่ี องรฐั ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั
และปราบปรามการทุจรติ เวน แตใ นฐานะเปน กรรมการในคณะกรรมการ ป.ป.ท.
ผไู ดร บั คดั เลอื กเปน กรรมการผใู ดมลี กั ษณะตอ งหา มตามวรรคหนงึ่ ในวนั ทไี่ ดร บั การคดั เลอื ก
ถา ผนู ัน้ แสดงหลกั ฐานวาไดลาออกจากตําแหนง ตาม (๑) (๒) หรือ (๕) หรือแสดงหลกั ฐานใหเ ปน ท่เี ช่ือ
ไดว าตนเลิกประกอบวิชาชีพอสิ ระตาม (๓) แลว ท้ังนี้ ภายในสามสบิ วนั นบั แตวันที่ไดร ับการคัดเลือก
ใหคณะกรรมการคัดเลือกดําเนินการตอไปได ถาผูนั้นมิไดแสดงหลักฐานดังกลาวภายในระยะเวลา
ที่กําหนด ใหถ อื วาบคุ คลนั้นไมไ ดร บั การคัดเลอื ก และใหค ณะกรรมการคัดเลือกพจิ ารณาคดั เลือกใหม
โดยจะพิจารณาจากรายช่ือบุคคลท่ีมีการเสนอไวแลวตามมาตรา ๕/๑ (๑) หรือจะขอใหองคกรตาม
มาตรา ๕/๑ (๑) เสนอรายชอ่ื บคุ คลใหมก ไ็ ด โดยใหน าํ บทบญั ญตั มิ าตรา ๕/๑ (๔) มาใชบ งั คบั โดยอนโุ ลม[๕]
ÁÒμÃÒ ø กรรมการมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละส่ีป ผูซ่ึงพนจากตําแหนงแลว
อาจไดรบั แตง ตัง้ ใหมอ กี ได แตต องไมเกนิ สองวาระติดตอกนั

๗๘

ในกรณีที่กรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ แตยังมิไดมีการแตงต้ังกรรมการใหม
ใหกรรมการนน้ั ปฏิบัติหนาท่ีตอไปจนกวาจะไดแ ตง ตงั้ กรรมการใหม

ÁÒμÃÒ ù[ö] นอกจากการพนจากตําแหนง ตามวาระ กรรมการพน จากตําแหนง เมอ่ื
(๑) ตาย
(๒) มอี ายุครบเจ็ดสิบหา ป
(๓) ลาออก
(๔) ขาดคณุ สมบัตหิ รอื มีลกั ษณะตอ งหา มตามมาตรา ๖ หรอื มาตรา ๗
(๕) คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวากระทําการทุจริตตอหนาที่ หรือมีทรัพยสินเพ่ิมขึ้น
ผดิ ปกตหิ รอื รา่ํ รวยผดิ ปกติ หรอื จงใจไมย น่ื บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ และเอกสารประกอบ
หรือจงใจย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหน้ีสินและเอกสารประกอบดวยขอความอันเปนเท็จ
หรือปกปดขอเท็จจริงที่ควรแจงใหทราบตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต
(๖) คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติสองในสามของจํานวนกรรมการทั้งหมดเทาที่มีอยู
ใหอ อก เพราะบกพรอ งตอ หนาที่ มีความประพฤตเิ สอ่ื มเสยี หรือหยอนความสามารถ
ในกรณมี ปี ญ หาวา กรรมการผใู ดตองพนจากตาํ แหนงตาม (๔) หรอื ไม ใหค ณะกรรมการ
ป.ป.ช. เปน ผวู ินิจฉัย
การพน จากตําแหนงกรรมการตามวรรคหน่งึ ใหนาํ ความกราบบงั คมทลู เพ่อื ทรงทราบ
ÁÒμÃÒ ñð[÷] ในกรณที กี่ รรมการพน จากตาํ แหนง กอ นวาระ และยงั มไิ ดแ ตง ตงั้ กรรมการ
แทนตาํ แหนง ทวี่ า ง ใหก รรมการเทา ทเ่ี หลอื อยปู ฏบิ ตั หิ นา ทตี่ อ ไปได และใหถ อื วา คณะกรรมการ ป.ป.ท.
ประกอบดวยกรรมการเทาทม่ี อี ยู เวนแตม กี รรมการเหลอื อยไู มถ ึงหา คน
ในกรณที ป่ี ระธานกรรมการพน จากตาํ แหนง ใหก รรมการทเี่ หลอื อยเู ลอื กกรรมการคนหนงึ่
ทําหนาท่ีประธานกรรมการไปพลางกอนจนกวาประธานกรรมการท่ีไดรับแตงต้ังใหมจะเขารับหนาที่
และใหนําบทบัญญัตมิ าตรา ๕/๑ (๕) มาใชบ ังคับโดยอนุโลม
ÁÒμÃÒ ññ ใหถือวากรรมการเปนเจาหนาที่ของรัฐที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. กําหนด
ใหตองย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย
การปอ งกันและปราบปรามการทุจรติ
ÁÒμÃÒ ñò การประชุมของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตองมีกรรมการมาประชุม
ไมนอยกวาก่งึ หน่งึ ของจาํ นวนกรรมการทง้ั หมดเทาทมี่ อี ยู จงึ จะเปน องคป ระชุม
ÁÒμÃÒ ñó การประชุมใหเปนไปตามระเบยี บท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด
การนัดประชุมตองทําเปนหนังสือและแจงใหกรรมการทุกคนทราบลวงหนาไมนอยกวา
สามวัน เวนแตกรรมการนั้นจะไดทราบการบอกนัดในที่ประชุมแลว กรณีดังกลาวน้ีจะทําหนังสือ
แจงนดั เฉพาะกรรมการทไี่ มไดม าประชุมกไ็ ด

๗๙

บทบญั ญตั ใิ นวรรคสองมใิ หน าํ มาใชบ งั คบั ในกรณมี เี หตจุ าํ เปน เรง ดว นซง่ึ ประธานกรรมการ
จะนัดประชุมเปน อยางอนื่ กไ็ ด

ÁÒμÃÒ ñô ประธานกรรมการมีอํานาจหนาท่ีดําเนินการประชุม และเพื่อรักษา
ความเรียบรอ ยในการประชมุ ใหป ระธานกรรมการมอี ํานาจออกคําสงั่ ใดๆ ตามความจําเปน ได

ถาประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุมหรือไมสามารถปฏิบัติหนาท่ีได ใหกรรมการที่มา
ประชุมเลอื กกรรมการคนหน่งึ ทาํ หนาทเ่ี ปนประธานในทีป่ ระชุม

ÁÒμÃÒ ñõ การลงมติของท่ีประชุมใหถือเสียงขางมากของจํานวนกรรมการทั้งหมด
เทา ทมี่ อี ยู ไมว า เปน การลงมตใิ นการวนิ จิ ฉยั หรอื ใหค วามเหน็ ชอบตามบทบญั ญตั แิ หง พระราชบญั ญตั นิ ้ี

กรรมการคนหน่ึงใหมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธาน
ในทปี่ ระชมุ ออกเสยี งเพม่ิ ข้นึ อีกเสียงหนึ่งเปนเสยี งช้ีขาด

ÁÒμÃÒ ñö ในการประชุมตอ งมรี ายงานการประชมุ เปน หนงั สอื
ถามีความเห็นแยงใหบันทึกความเห็นแยงพรอมทั้งเหตุผลไวในรายงานการประชุม และ
ถา กรรมการฝายขางนอ ยเสนอความเหน็ แยงเปน หนังสือกใ็ หบนั ทึกไวด วย
ÁÒμÃÒ ñ÷ ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. มีอาํ นาจหนาที่ ดังตอไปนี้
(๑) เสนอนโยบาย มาตรการ และแผนพัฒนาการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ในภาครัฐตอ คณะรฐั มนตรี
(๒) เสนอแนะและใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการปรับปรุงกฎหมาย กฎ
ขอ บงั คบั หรอื มาตรการตา งๆ เพือ่ ปอ งกนั และปราบปรามการทุจริตในภาครฐั
(๓) เสนอแนะตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการกําหนดตําแหนงของเจาหนาที่ของรัฐ
ซงึ่ ตอ งยน่ื บญั ชแี สดงรายการทรพั ยส นิ และหนส้ี นิ ตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ
รัฐธรรมนูญวาดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต
(๔) ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ และชม้ี ลู เกย่ี วกบั การกระทาํ การทจุ รติ ในภาครฐั ของเจา หนา ทข่ี องรฐั
(๕) ไตสวนขอเท็จจริงและสรุปสํานวนพรอมท้ังความเห็นสงพนักงานอัยการเพ่ือฟอง
คดีอาญาตอ เจา หนา ท่ขี องรัฐ
(๖) จัดทํารายงานผลการปฏิบัติงานประจําปเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพื่อเสนอตอ
สภาผแู ทนราษฎร วุฒสิ ภา และคณะกรรมการ ป.ป.ช. ทราบดว ย
(๗) แตง ต้ังคณะอนุกรรมการเพอ่ื ดาํ เนนิ การตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย
(๘) ปฏบิ ตั กิ ารอน่ื ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หรอื การอนื่ ใดเกย่ี วกบั การปอ งกนั และปราบปราม
การทจุ รติ ในภาครัฐตามทค่ี ณะรฐั มนตรหี รอื คณะกรรมการ ป.ป.ช. มอบหมาย

๘๐

ÁÒμÃÒ ñø ในการปฏบิ ตั หิ นาท่ีตามมาตรา ๑๗ (๔) และ (๕) ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท.
มีอํานาจดงั ตอ ไปนี้ดว ย

(๑) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกใหสถาบันการเงิน สวนราชการ องคกรหรือหนวยงาน
ของรัฐหรอื รฐั วิสาหกิจ สงเจา หนาท่ที ี่เก่ยี วของมาเพื่อใหถ อ ยคํา สงคําช้ีแจงเปน หนังสือ หรอื สงบัญชี
เอกสารหรือหลกั ฐานใดๆ มาเพื่อไตส วนหรอื เพ่ือประกอบการพจิ ารณา

(๒) มีหนังสือสอบถามหรือเรียกบุคคลใดๆ มาเพ่ือใหถอยคํา สงคําช้ีแจงเปนหนังสือ
หรอื สง บัญชีเอกสารหรอื หลกั ฐานใดๆ มาเพ่อื ไตส วนหรือเพ่ือประกอบการพิจารณา

(๓) ดําเนินการขอใหศาลท่ีมีเขตอํานาจออกหมายเพื่อเขาไปในเคหสถาน สถานที่
ทําการหรือสถานท่ีอ่ืนใด รวมท้ังยานพาหนะของบุคคลใดๆ ในเวลาระหวางพระอาทิตยข้ึนและ
พระอาทติ ยต กหรอื ในระหวา งเวลาทม่ี กี ารประกอบกิจการเพ่อื ตรวจสอบ คน ยึด หรืออายดั เอกสาร
ทรัพยสิน หรือพยานหลักฐานอื่นใดซึ่งเกี่ยวของกับเรื่องท่ีไตสวนขอเท็จจริง และหากยังดําเนินการ
ไมแลวเสรจ็ ในเวลาดงั กลา วใหสามารถดําเนนิ การตอ ไปไดจนกวาจะแลวเสร็จ

(๔) ขอใหห นว ยงานของรฐั หรอื เจา หนา ทขี่ องหนว ยงานของรฐั ใหค วามชว ยเหลอื สนบั สนนุ
หรอื เขา รวมปฏบิ ัตหิ นาท่ีไดต ามความเหมาะสม โดยใหห นวยงานของรฐั หรอื เจา หนาท่ีของหนวยงาน
ของรฐั ปฏิบัตกิ ารตามท่ีขอไดตามสมควรแกกรณี

คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจมอบหมายใหอนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรือ
เจา หนา ที่ ป.ป.ท. ดาํ เนนิ การตามวรรคหนงึ่ แทนได ทง้ั น้ี ใหเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ วธิ กี ารและเงอ่ื นไขท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด

ÁÒμÃÒ ñù[ø] เพื่อประโยชนในการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะแจงใหห นว ยงานใดดาํ เนนิ การจัดใหก รรมการ เลขาธิการ หรอื อนกุ รรมการ
หรือพนักงาน ป.ป.ท. ซ่ึงไดรับมอบหมายใหไตสวนขอเท็จจริง เขาถึงขอมูลเกี่ยวกับผูถูกกลาวหา
หรอื บคุ คลอน่ื ทม่ี เี หตอุ นั ควรเชอื่ ไดว า จะเกยี่ วขอ งในเรอ่ื งทกี่ ลา วหาเพอ่ื ประโยชนใ นการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ
หรอื เพ่ือประโยชนใ นการพจิ ารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ได

หลกั เกณฑ วธิ กี าร และเงอื่ นไขทก่ี รรมการ เลขาธกิ าร อนกุ รรมการ หรอื พนกั งาน ป.ป.ท.
จะขอเขา ถงึ ขอ มลู ของหนว ยงานใดตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ไปตามระเบยี บทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด
แตตองอยูภายใตบังคับของกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับเกี่ยวกับการคุมครองขอมูลขาวสารของ
หนวยงานนั้น

ÁÒμÃÒ òð ในกรณีทก่ี รรมการ อนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรอื เจาหนา ท่ี ป.ป.ท.
ผูใดมีสวนไดเสียไมวาโดยทางตรงหรือทางออมในเรื่องใด คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจมีมติมิใหผูนั้น
เขา รว มดาํ เนนิ การไตส วนขอ เทจ็ จรงิ พจิ ารณา หรอื วนิ จิ ฉยั เรอื่ งนนั้ แลว แตก รณี ทงั้ น้ี ตามหลกั เกณฑ
วิธีการและเงื่อนไขท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

๘๑

ÁÒμÃÒ òñ ในกรณีท่ีกรรมการผใู ดถูกกลาวหาตอ คณะกรรมการ ป.ป.ช. วากระทาํ การ
ทุจริตตอ หนาทห่ี รือรํ่ารวยผดิ ปกตหิ รอื มีทรพั ยส นิ เพ่มิ ขน้ึ ผิดปกติ และคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมตริ บั
คาํ กลา วหาไวด าํ เนนิ การไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั
และปราบปรามการทุจริต การปฏิบัติหนาท่ีของกรรมการผูนั้นตอไปใหเปนไปตามท่ีคณะกรรมการ
ป.ป.ช. กาํ หนด โดยคณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจกาํ หนดใหก รรมการผนู นั้ ยตุ กิ ารปฏบิ ตั หิ นา ทไี่ วก อ นกไ็ ด

ในกรณีท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติวาคํากลาวหาไมมีมูลความผิด ใหกรรมการท่ียุติ
การปฏิบัติหนาที่ตามวรรคหนึ่งมีสิทธิไดรับเงินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทน
อยา งอน่ื ในระหวางทีย่ ตุ ิการปฏบิ ตั ิหนาทเี่ ต็มจาํ นวน

ÁÒμÃÒ òò ใหกรรมการไดรับเงินเดือน เงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทน
อยา งอนื่ ตามทก่ี าํ หนดในพระราชกฤษฎีกา

ใหกรรมการโดยตําแหนงไดรับเงินประจําตําแหนง และประโยชนตอบแทนอยางอื่น
ตามระเบียบทคี่ ณะรฐั มนตรีกําหนด

ใหอนุกรรมการไดรับเบี้ยประชุมและประโยชนตอบแทนอยางอื่นตามระเบียบที่
คณะรฐั มนตรกี ําหนด

ËÁÇ´ ò
¡ÒÃäμÊ‹ ǹ¢ŒÍà·¨ç ¨ÃÔ§
ÁÒμÃÒ òó ภายใตบังคับมาตรา ๒๕ และมาตรา ๒๖ เม่ือมีกรณีดังตอไปนี้ให
คณะกรรมการ ป.ป.ท. ดาํ เนนิ การไตส วนขอ เทจ็ จรงิ โดยเรว็ ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารทค่ี ณะกรรมการ
ป.ป.ท. กาํ หนด
(๑) เมือ่ ไดร ับการกลาวหาตามมาตรา ๒๔
(๒) เมือ่ มีเหตอุ นั ควรสงสัยวาเจา หนาท่ีของรฐั ผใู ดกระทําการทจุ รติ ในภาครัฐ
(๓) เมอ่ื ไดร ับเรอ่ื งจากพนักงานสอบสวนตามมาตรา ๓๐
(๔) เมือ่ ไดร ับเรือ่ งจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. เพ่ือดําเนนิ การไตส วนขอเทจ็ จรงิ
บทบญั ญตั ติ ามวรรคหนงึ่ ใหใ ชบ งั คบั กบั กรณที เ่ี จา หนา ทขี่ องรฐั หรอื บคุ คลอน่ื เปน ตวั การ ผใู ช
หรือผูสนับสนุนดวย
ÁÒμÃÒ òó/ñ[ù] ในการพิจารณาของคณะกรรมการ ป.ป.ท. วาจะรบั หรือไมร บั หรอื
ส่งั จาํ หนา ยเร่ืองตามมาตรา ๒๗ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สัง่ ใหแลว เสรจ็ ภายในสามเดือนนับแตว ัน
ที่ไดร ับเรอื่ งกลา วหา
กอ นดาํ เนนิ การไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ตามมาตรา ๒๓ คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจมอบหมาย
ใหเลขาธิการดําเนินการแสวงหาขอเท็จจริงและรวบรวมพยานหลักฐานในเร่ืองกลาวหานั้นเพื่อใหได
ขอ เทจ็ จรงิ เพยี งพอตอ การไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ตอ ไปกไ็ ด ในการนี้ เลขาธกิ ารอาจมอบหมายใหพ นกั งาน

๘๒

ป.ป.ท. หรือเจา หนา ท่ี ป.ป.ท. เปน ผูดําเนนิ การแทนก็ได ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑ วธิ กี าร และเง่ือนไข
ที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

ÁÒμÃÒ òó/ò[ñð] ในการดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงตามมาตรา ๒๓ คณะกรรมการ
ป.ป.ท. อาจมอบหมายใหเลขาธิการไตสวนขอเท็จจริงเปนเบ้ืองตนแทนคณะกรรมการ ป.ป.ท.
แลว นําเสนอสาํ นวนตอ คณะกรรมการ ป.ป.ท. พจิ ารณาตามมาตรา ๓๙ ตอ ไป

เลขาธกิ ารอาจมอบหมายใหพ นกั งาน ป.ป.ท. ดาํ เนนิ การไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ตามวรรคหนง่ึ
กไ็ ด

เพอ่ื ประโยชนใ นการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ตามวรรคหนง่ึ และวรรคสอง ใหเ ลขาธกิ ารมอี าํ นาจ
ตามมาตรา ๑๘ วรรคหนึ่งดวย

หลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขในการมอบหมายใหไตสวนขอเท็จจริงเบื้องตนแทน
คณะกรรมการ ป.ป.ท. และการดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงของเลขาธิการและพนักงาน ป.ป.ท.
ใหเปน ไปตามระเบียบท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด

ÁÒμÃÒ òô การกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐวากระทําการหรือเกี่ยวของกับการกระทํา
การทจุ รติ ในภาครฐั จะทําดวยวาจาหรือทาํ เปนหนังสอื ก็ได

ในกรณที ก่ี ลา วหาดว ยวาจา ใหพ นกั งาน ป.ป.ท. หรอื เจา หนา ที่ ป.ป.ท. บนั ทกึ คาํ กลา วหา
และจัดใหลงลายมือช่ือผูกลาวหาในบันทึกการกลาวหานั้นไว และในกรณีท่ีผูกลาวหาไมประสงค
จะเปด เผยตน หา มไมใ หพ นกั งาน ป.ป.ท. หรอื เจา หนา ท่ี ป.ป.ท. เปด เผยชอ่ื หรอื ทอ่ี ยู รวมทงั้ หลกั ฐาน
อนื่ ใดทีเ่ ปน การสาํ แดงตัวของผกู ลาวหา

ในกรณีทก่ี ลาวหาเปนหนังสือ ผกู ลา วหาจะตองลงช่ือและท่อี ยูของตน แตห ากผูกลาวหา
จะไมลงช่ือและที่อยูของตนตองระบุพฤติการณแหงการกระทําของเจาหนาท่ีของรัฐ ซ่ึงถูกกลาวหา
และพยานหลักฐานเบื้องตน ไวใ หเ พียงพอทจ่ี ะดาํ เนินการไตสวนขอ เทจ็ จรงิ ตอ ไปได

ÁÒμÃÒ òõ ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. สง เรอื่ งกลา วหาทรี่ บั ไวด งั ตอ ไปนใ้ี หค ณะกรรมการ
ป.ป.ช. ดาํ เนนิ การตอ ไป

(๑) เรอื่ งกลา วหาบคุ คลซง่ึ มใิ ชเ จา หนา ทข่ี องรฐั แตอ ยใู นอาํ นาจหนา ทข่ี องคณะกรรมการ
ป.ป.ช.

(๒) เรื่องกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐที่อยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
วากระทําความผิดรวมกับบุคคลซ่ึงมิใชเจาหนาท่ีของรัฐ แตเปนบุคคลซ่ึงอยูในอํานาจหนาท่ีของ
คณะกรรมการ ป.ป.ช.

(๓) เรื่องกลาวหาท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. แจง ใหส ง ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณา
ในกรณเี รอ่ื งกลา วหาตาม (๓) ถา คณะกรรมการ ป.ป.ท. ไดด าํ เนนิ การไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ไวแ ลว
ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สงสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดวย ทั้งน้ี
คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะถือสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงดังกลาวเปนสํานวนการไตสวนขอเท็จจริง

๘๓

ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ หรอื จะดาํ เนนิ การ
ไตสวนขอเท็จจริงใหมก ไ็ ด

ÁÒμÃÒ òö หา มมิใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. รบั หรอื พิจารณาเร่อื งดงั ตอ ไปน้ี
(๑) เรือ่ งที่คณะกรรมการ ป.ป.ช. รับไวพ จิ ารณาหรอื ไดว นิ ิจฉัยเสร็จเด็ดขาดแลว
(๒) เรอ่ื งทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. ไดว นิ จิ ฉยั เสรจ็ เดด็ ขาดแลว และไมม พี ยานหลกั ฐานใหม
ซึง่ เปนสาระสาํ คญั แหง คดี
(๓) เรื่องท่ีผูถูกกลาวหาถูกฟองเปนคดีอาญาในประเด็นเดียวกันและศาลประทับฟอง
หรือพิพากษาหรือมีคําส่ังเสร็จเด็ดขาดแลวโดยไมมีการถอนฟองหรือทิ้งฟอง หรือเปนกรณีท่ีศาล
ยังไมไ ดวนิ ิจฉัยในเน้ือหาแหง คดี
(๔) เรื่องที่ผูถกู กลาวหาพน จากการเปน เจา หนาท่ขี องรัฐกอนถกู กลาวหาเกินกวา หาป
ÁÒμÃÒ ò÷ คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะไมร บั หรือสัง่ จาํ หนา ยเรอ่ื งทมี่ ลี ักษณะดังตอ ไปน้ี
ก็ได
(๑) เร่ืองท่ีไมระบุพยานหลักฐานหรือระบุพฤติการณแหงการกระทําท่ีชัดเจนเพียงพอ
ที่จะดําเนนิ การไตสวนขอเทจ็ จริงได
(๒) เรอ่ื งทลี่ ว งเลยมาแลว เกนิ หา ปน บั แตว นั เกดิ เหตจุ นถงึ วนั ทม่ี กี ารกลา วหาและเปน เรอ่ื ง
ท่ีไมอาจหาพยานหลกั ฐานเพียงพอท่จี ะดําเนินการไตส วนขอ เท็จจริงตอ ไปได
(๓) เรือ่ งท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ท. เหน็ วาไมใชเปน การกระทําผิดวนิ ัยอยางรา ยแรง
(๔) เรอ่ื งทอี่ งคก รบรหิ ารงานบคุ คลหรอื หนว ยงานของรฐั กาํ ลงั พจิ ารณาอยหู รอื ไดพ จิ ารณา
เปน ท่ยี ุตแิ ลว และไมม ีเหตแุ สดงใหเ หน็ วา การพจิ ารณานัน้ ไมชอบ
ÁÒμÃÒ òø เรอื่ งใดทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. ไมรับหรือส่งั จาํ หนายตามมาตรา ๒๗ (๑)
(๒) หรือ (๓) ถาคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาเหน็ สมควรใหแ จง ผบู ังคับบัญชาของเจา หนาที่ของรฐั
ผูถูกกลาวหาดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีโดยเร็วและแจงผลการดําเนินการใหคณะกรรมการ ป.ป.ท
ทราบ
ÁÒμÃÒ òù คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจมอบหมายใหเลขาธิการเปนผูพิจารณารับ
หรอื ไมร ับเรื่องใดไวพจิ ารณาตามมาตรา ๒๖ หรือมาตรา ๒๗ แลวรายงานใหคณะกรรมการ ป.ป.ท.
ทราบ ทัง้ นี้ ตามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด
ÁÒμÃÒ óð ในกรณีท่ีมีการรองทุกขหรือกลาวโทษตอพนักงานสอบสวนใหดําเนินคดี
กับเจา หนาทีข่ องรฐั ตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ อนั เนือ่ งมาจากการกระทําการทจุ รติ ในภาครฐั ใหพนักงาน
สอบสวนสงเรื่องใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ภายในสามสิบวันนับแตวันที่มีการรองทุกขหรือกลาวโทษ
เพอื่ ดําเนนิ การไตส วนขอเทจ็ จรงิ ตอไป ในการนี้ คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจแจงใหพ นักงานสอบสวน
ดําเนินการสอบสวนเสียกอนและสงสํานวนการสอบสวนใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามระยะเวลา
ที่กําหนด โดยคณะกรรมการ ป.ป.ท. จะถือวาสํานวนการสอบสวนดังกลาวทั้งหมดหรือบางสวน
เปน สํานวนการไตสวนขอ เท็จจรงิ ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. กไ็ ด

๘๔

เพอ่ื ประโยชนใ นการดาํ เนนิ การตามวรรคหนงึ่ ใหส าํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ กรมสอบสวน
คดพี เิ ศษและหนว ยงานอน่ื ของรฐั ทเ่ี กยี่ วขอ งทาํ ความตกลงกบั สาํ นกั งาน โดยกาํ หนดขน้ั ตอนและวธิ ปี ฏบิ ตั ิ
ตา ง ๆ รวมถงึ การจัดทาํ สํานวนการสอบสวน การควบคุมตวั การปลอ ยชั่วคราว และการดําเนนิ การ
อื่น ๆ เพือ่ ถือปฏิบตั ริ วมกัน

ในกรณที มี่ กี ารกระทาํ ความผดิ ทางอาญาอนื่ ทมี่ ใิ ชก ารกระทาํ การทจุ รติ ในภาครฐั รวมอยดู ว ย
และคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวา หากใหพนักงานสอบสวนดําเนินคดีไปตามอํานาจหนาที่จะเปน
ประโยชนกวา จะสงเรอื่ งคืนใหพ นกั งานสอบสวนภายในสามสิบวันนบั แตวันท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ท.
ไดร ับเร่อื ง และขอใหพ นักงานสอบสวนดาํ เนินการตามอาํ นาจหนาท่ตี อไปกไ็ ด โดยใหนําขนั้ ตอนและ
วิธีปฏิบัติตาง ๆ ท้ังหมดที่ไดกําหนดไวตามวรรคสองมาใชบังคับโดยอนุโลม และใหคณะกรรมการ
ป.ป.ท. สง่ั จาํ หนายเร่อื งนัน้ ในกรณีนี้ถา คณะกรรมการ ป.ป.ท. เหน็ สมควรจะแจงผบู งั คับบัญชาของ
เจา หนา ที่ของรัฐผถู กู กลา วหาเพ่ือดําเนินการตามอาํ นาจหนาท่ีตอ ไปดวยก็ได[ ๑๑]

ÁÒμÃÒ óð/ñ[ñò] ในกรณที ่พี นักงานสอบสวนไดสงเรอื่ งใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตาม
มาตรา ๓๐ โดยไดมีการควบคุมตัวผูถูกกลาวหาไวแลว ใหพนักงาน ป.ป.ท. มีอํานาจควบคุมและ
พิจารณาส่ังคํารองขอปลอยช่ัวคราวผูถูกกลาวหาที่ถูกควบคุมตัวนั้นไดเชนเดียวกับพนักงานสอบสวน
ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา

การปลอ ยชวั่ คราวตามวรรคหนง่ึ ใหเ ปน ไปตามทปี่ ระมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
กําหนด

ในกรณีท่ีจําเปนตองควบคุมตัวผูถูกกลาวหาไวเพ่ือประโยชนในการไตสวนขอเท็จจริง
หรือการฟองคดี พนักงาน ป.ป.ท. อาจย่ืนคํารองขอหมายขังผูถูกกลาวหาตอศาลได หากกรณีที่มี
การควบคมุ ตวั ผถู กู กลา วหาไวใ นอาํ นาจของศาลแลว ใหพ นกั งาน ป.ป.ท. มอี าํ นาจขอใหศ าลควบคมุ ตวั
ผูถูกกลาวหาไวไดตอไป โดยใหมีอํานาจหนาท่ีเชนเดียวกับพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วธิ ีพจิ ารณาความอาญา หรอื พนักงานอยั การ แลว แตกรณี

ÁÒμÃÒ óñ เรื่องที่พนักงานสอบสวนสงมายังคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามมาตรา ๓๐
ถา คณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาแลว เหน็ วาเปน กรณดี งั ตอไปนี้ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สง เรอื่ ง
กลับไปยงั พนกั งานสอบสวนเพอ่ื ดําเนนิ การตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญาตอไป

(๑) เรื่องทีไ่ มใ ชกรณตี ามมาตรา ๒๓
(๒) เร่ืองที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. ตองหามมิใหรับหรอื พจิ ารณาตามมาตรา ๒๖ (๑) (๒)
และ (๓)
(๓) เรอ่ื งทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. ตอ งหา มมใิ หร ับหรอื พิจารณาตามมาตรา ๒๖ (๔)
ในกรณีตาม (๑) และ (๓) ถาเปนเร่ืองที่อยูในอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. สง เรือ่ งใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาดําเนินการตอไป

๘๕

ÁÒμÃÒ óò คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะแตงตั้งคณะอนกุ รรมการเพื่อดาํ เนินการไตสวน
ขอเทจ็ จรงิ แทนหรอื มอบหมายใหพ นักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนา ที่ ป.ป.ท. ดําเนนิ การแสวงหาขอมูล
และรวบรวมพยานหลกั ฐานเพอื่ ทจี่ ะทราบขอ เทจ็ จรงิ หรอื มลู ความผดิ กไ็ ด โดยคาํ นงึ ถงึ ความเหมาะสม
และระดับและตาํ แหนงของผถู ูกกลาวหาดวย

คณะอนกุ รรมการตามวรรคหนง่ึ ตอ งแตง ตงั้ จากบคุ คลซง่ึ มคี วามซอื่ สตั ยส จุ รติ และมคี วามรู
ความสามารถในการปฏบิ ตั หิ นาท่นี ้นั

การปฏิบัติหนาท่ีของคณะอนุกรรมการ พนักงาน ป.ป.ท. และเจาหนาท่ี ป.ป.ท. ตาม
วรรคหนึง่ ใหเปนไปตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด

ÁÒμÃÒ óó[ñó] (ยกเลิก)
ÁÒμÃÒ óô คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจแตงต้ังบุคคลเปนท่ีปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญ
เพ่ือใหคําปรึกษาหรือชวยเหลือคณะกรรมการ ป.ป.ท. หรือคณะอนุกรรมการไตสวนขอเท็จจริง
หรอื ดาํ เนินการอื่นใดตามทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย แลวแตกรณี
การแตงต้ังที่ปรึกษาหรือผูเชี่ยวชาญตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ
ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด โดยใหประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
ทปี่ รกึ ษาหรอื ผเู ชยี่ วชาญ มสี ทิ ธไิ ดร บั คา ตอบแทน คา เดนิ ทาง คา ทพี่ กั และสทิ ธปิ ระโยชนอ นื่
ตามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั [๑๔]
ÁÒμÃÒ óõ หา มมใิ หแ ตง ตงั้ บคุ คลซง่ึ มเี หตดุ งั ตอ ไปนเ้ี ปน อนกุ รรมการ พนกั งาน ป.ป.ท.
หรือเจา หนา ที่ ป.ป.ท. ในการไตส วนขอเทจ็ จริง
(๑)[๑๕] รเู หน็ เหตกุ ารณ หรอื เคยสอบสวนหรอื พจิ ารณาเกยี่ วกบั เรอื่ งทกี่ ลา วหาในฐานะอนื่
ที่มิใชในฐานะพนักงาน ป.ป.ท. หรอื เจา หนาที่ ป.ป.ท. มากอน
(๒) มสี วนไดเสยี ในเร่ืองท่ีกลา วหา
(๓) มสี าเหตุโกรธเคอื งกับผกู ลา วหาหรอื ผูถ กู กลาวหา
(๔) เปน ผูกลาวหา หรอื ผูถกู กลาวหา หรอื เปน คสู มรส บุพการี ผูสืบสันดานหรือพีน่ อง
รว มบดิ ามารดาหรือรว มบิดาหรือมารดากบั ผกู ลาวหาหรือผถู กู กลาวหา
(๕) มีความสัมพันธใกลชิดในฐานะญาติ หรือเปนหุนสวน หรือมีผลประโยชนรวมกัน
หรอื ขดั แยงกันทางธรุ กิจกบั ผกู ลาวหาหรือผูถูกกลาวหา
ผมู สี วนไดเสยี จะคัดคา นอนกุ รรมการ พนักงาน ป.ป.ท. หรือเจาหนา ท่ี ป.ป.ท. ซง่ึ มีเหตุ
ตามวรรคหนึ่งก็ได โดยย่ืนคํารองตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. และใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. วินิจฉัย
โดยพลนั ในระหวา งทร่ี อการวนิ จิ ฉยั ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหอ นกุ รรมการ พนกั งาน ป.ป.ท. หรอื
เจาหนาที่ ป.ป.ท. ซงึ่ ถกู คัดคานระงับการปฏิบตั ิหนา ทีไ่ วพ ลางกอ น
ÁÒμÃÒ óö ในการไตสวนขอเท็จจริง ใหแจงขอกลาวหาแกผูถูกกลาวหาทราบ
และกําหนดระยะเวลาตามสมควรท่ีผูถูกกลาวหาจะมาชี้แจงขอกลาวหาและแสดงพยานหลักฐานหรือ
นําพยานบคุ คลมาใหถ อยคาํ ประกอบการช้แี จง ทงั้ นี้ ตามหลกั เกณฑท ่คี ณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด

๘๖

ในการชแ้ี จงขอ กลา วหาและการใหถอยคาํ ผูถ กู กลาวหามสี ิทธินําทนายความหรอื บคุ คล
ซึง่ ผถู ูกกลา วหาไววางใจเขาฟงการชแ้ี จงหรือใหถ อ ยคาํ ของตนได

ÁÒμÃÒ ó÷ กอ นทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ท. มมี ตวิ า เจา หนา ทข่ี องรฐั ผใู ดกระทาํ การทจุ รติ
ในภาครฐั ถา คณะกรรมการ ป.ป.ท. มมี ตวิ า การทเี่ จา หนา ทข่ี องรฐั ผถู กู กลา วหายงั อยใู นตาํ แหนง หนา ที่
ตอไป จะเปน อปุ สรรคตอ การไตส วนขอเท็จจรงิ สมควรสั่งพกั ราชการ พักงานหรอื ใหพนจากตาํ แหนง
หนา ท่ขี องเจา หนา ทข่ี องรัฐผถู กู กลาวหานนั้ ไวกอน ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สง เรอื่ งใหผ บู ังคับบญั ชา
ของผูถูกกลาวหาดําเนินการสั่งพักราชการ พักงานหรือใหพนจากตําแหนงหนาที่ แลวแตกรณี
ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับวาดวยการบริหารงานบุคคลที่ใชบังคับแกเจาหนาท่ีของรัฐ
ผถู กู กลาวหานั้น

ในกรณที ผ่ี บู งั คบั บญั ชาของเจา หนา ทขี่ องรฐั ไมเ หน็ ดว ยกบั มตขิ องคณะกรรมการ ป.ป.ท.
ตามวรรคหนงึ่ ใหเ สนอเรอื่ งตอ นายกรฐั มนตรใี นฐานะหวั หนา รฐั บาลเพอื่ พจิ ารณา เมอื่ นายกรฐั มนตรี
วินจิ ฉัยประการใด ใหผ ูบังคับบญั ชาดําเนนิ การไปตามคําวินิจฉัยน้ัน

ในกรณีท่ีผลการไตสวนขอเท็จจริงปรากฏวาขอกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐผูนั้นไมมีมูล
ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แจงใหผ บู งั คับบัญชาของเจา หนา ที่ของรฐั ผูน น้ั ทราบภายในเจด็ วันนบั แตว นั
ทมี่ มี ติ และใหผ บู งั คบั บญั ชาดาํ เนนิ การสง่ั ใหเ จา หนา ทข่ี องรฐั ผนู นั้ กลบั เขา รบั ราชการหรอื กลบั เขา ทาํ งาน
ตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอ บงั คับทใ่ี ชบังคบั แกเจาหนา ท่ีของรัฐผนู ั้น

ÁÒμÃÒ óø หามมใิ หก รรมการ อนกุ รรมการ พนกั งาน ป.ป.ท. หรือเจาหนา ที่ ป.ป.ท.
กระทําการใด ๆ อันเปน การลอ ลวงหรือขูเข็ญ หรือใหสญั ญากับผถู ูกกลาวหาหรือพยาน เพอ่ื จงู ใจให
ผนู ัน้ ใหถ อ ยคําใด ๆ ในเร่อื งที่ไตสวนขอเท็จจริง

ถอ ยคาํ ใดที่ไดมาโดยฝา ฝน วรรคหนง่ึ ไมอ าจรับฟงเปน พยานหลกั ฐานได
ÁÒμÃÒ óù เม่ือดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงเสร็จแลว ใหจัดทําสํานวนการไตสวน
ขอ เทจ็ จรงิ เสนอตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามหลักเกณฑทค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด
เพอ่ื ประโยชนแ หง ความเปน ธรรม คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะสง่ั ใหม กี ารไตส วนขอ เทจ็ จรงิ
เพ่ิมเติมหรอื ตง้ั คณะอนุกรรมการเพ่อื ไตส วนขอเทจ็ จรงิ ใหมก ็ได
ÁÒμÃÒ ôð เมื่อคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติวาเจาหนาที่ของรัฐผูใดกระทําการทุจริต
ในภาครฐั และเปน กรณมี มี ลู ความผดิ ทางวนิ ยั ใหป ระธานกรรมการสง รายงานและเอกสารทมี่ อี ยพู รอ มทง้ั
ความเห็นไปยงั ผบู งั คบั บัญชาหรอื ผมู อี ํานาจแตงต้งั ถอดถอนผถู กู กลาวหาผูนั้น เพ่ือพิจารณาโทษทาง
วนิ ยั ตามฐานความผดิ ทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. ไดม มี ตโิ ดยไมต อ งแตง ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนวนิ ยั อกี
ในการพจิ ารณาโทษทางวนิ ยั แกผ ถู กู กลา วหา ใหถ อื วา รายงาน เอกสาร และความเหน็ ของคณะกรรมการ
ป.ป.ท. เปน สาํ นวนการสอบสวนทางวนิ ยั ของคณะกรรมการสอบสวนวนิ ยั ตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื
ขอบงั คับวา ดว ยการบรหิ ารงานบุคคลของผถู กู กลา วหานนั้ ๆ แลวแตก รณี

๘๗

สาํ หรบั ผถู กู กลา วหาซงึ่ ไมม กี ฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ บงั คบั เกยี่ วกบั วนิ ยั เมอื่ คณะกรรมการ
ป.ป.ท. มมี ตวิ า ผถู กู กลา วหาดงั กลา วไดก ระทาํ ผดิ ในเรอื่ งทถ่ี กู กลา วหา ใหป ระธานกรรมการสง รายงาน
และเอกสารที่มีอยูพรอมท้ังความเห็นของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ไปยังผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจ
แตงตงั้ ถอดถอนเพอื่ ดําเนนิ การตามอาํ นาจหนาที่ตอ ไป

ÁÒμÃÒ ôñ เมื่อไดร บั รายงานตามมาตรา ๔๐ ใหผบู ังคับบัญชาหรอื ผมู อี าํ นาจแตง ตั้ง
ถอดถอนพิจารณาลงโทษภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดรับเร่ืองและใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจ
แตงต้ังถอดถอนสงสําเนาคําส่ังลงโทษดังกลาวไปใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ทราบภายในสิบหาวัน
นบั แตวนั ทีไ่ ดออกคําสง่ั

ÁÒμÃÒ ôò ผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงตั้งถอดถอนผูใดละเลยไมดําเนินการ
ตามมาตรา ๔๑ ใหถือวาผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงตั้งถอดถอนผูนั้นกระทําความผิดวินัย
หรอื กฎหมายตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ บงั คบั วา ดว ยการบรหิ ารงานบคุ คลของผถู กู กลา วหานนั้ ๆ

ÁÒμÃÒ ôó ในกรณีที่ผูบังคับบัญชาของผูถูกกลาวหาไมดําเนินการทางวินัยตาม
มาตรา ๔๑ หรือคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวาการดําเนินการทางวินัยของผูบังคับบัญชาตาม
มาตรา ๔๑ ไมถกู ตอ งหรอื ไมเหมาะสมใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. เสนอความเหน็ ไปยงั นายกรฐั มนตรี
และใหนายกรัฐมนตรีมีอํานาจสั่งการตามท่ีเห็นสมควรหรือในกรณีท่ีจําเปนคณะกรรมการ ป.ป.ท.
จะสงเร่ืองใหคณะกรรมการขาราชการพลเรือนตามกฎหมายวาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน หรือ
คณะกรรมการอ่ืนซ่ึงมีหนาท่ีควบคุมดูแลการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ หรือขอบังคับวาดวย
การบริหารงานบุคคลสําหรับเจาหนาที่ของรัฐ หรือคณะกรรมการท่ีทําหนาที่บริหารรัฐวิสาหกิจ
หรือผูสั่งแตงต้ังกรรมการ อนุกรรมการ ลูกจางของสวนราชการ หนวยงานของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ
แลว แตก รณี พจิ ารณาดาํ เนนิ การตามอาํ นาจหนา ทเี่ พอื่ ใหม กี ารดาํ เนนิ การทถี่ กู ตอ งเหมาะสมตอ ไปกไ็ ด

ÁÒμÃÒ ôô ผูถูกกลาวหาที่ถูกลงโทษตามมาตรา ๔๑ จะใชส ทิ ธอิ ุทธรณด ุลพินิจในการ
กาํ หนดโทษของผบู งั คบั บญั ชาตามกฎหมาย ระเบยี บ หรอื ขอ บงั คบั วา ดว ยการบรหิ ารงานบคุ คลสาํ หรบั
ผถู กู กลา วหานนั้ ๆ กไ็ ด ทง้ั นี้ ตอ งใชส ทิ ธดิ งั กลา วภายในสามสบิ วนั นบั แตว นั ทไี่ ดร บั ทราบคาํ สง่ั ดงั กลา ว

ÁÒμÃÒ ôõ ในกรณที กี่ ารกระทาํ ของเจา หนา ทข่ี องรฐั ตามมาตรา ๔๐ เปน ความผดิ ทาง
อาญาดว ย ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. สง เรอื่ งพรอมทัง้ สาํ นวนการไตสวนขอ เทจ็ จรงิ รายงาน เอกสาร
และความเหน็ ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหพ นกั งานอยั การดาํ เนนิ คดตี อ ไป โดยใหถ อื วา การดาํ เนนิ การ
และสาํ นวนการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ของคณะกรรมการ ป.ป.ท. เปน การสอบสวนและสาํ นวนการสอบสวน
ของพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา

ในกรณที พี่ นกั งานอัยการมีความเห็นวา ขอเท็จจริง รายงาน เอกสาร หรอื ความเห็นของ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. ทไ่ี ดร บั ยงั ไมส มบรู ณพ อทจ่ี ะดาํ เนนิ คดไี ด ใหพ นกั งานอยั การแจง ใหค ณะกรรมการ
ป.ป.ท. ทราบเพอ่ื ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ เพม่ิ เตมิ โดยใหร ะบขุ อ ทไ่ี มส มบรู ณน นั้ ใหค รบถว นในคราวเดยี วกนั
ในกรณจี าํ เปน คณะกรรมการ ป.ป.ท. จะรว มกบั อยั การสงู สดุ ตงั้ คณะทาํ งานรว มกนั เพอื่ ไตส วนขอ เทจ็ จรงิ
เพิม่ เตมิ กไ็ ด

๘๘

ในกรณที พี่ นกั งานอยั การเหน็ ควรสงั่ ไมฟ อ ง แตค ณะกรรมการ ป.ป.ท. มมี ตยิ นื ยนั ใหฟ อ ง
ใหส งเรอ่ื งใหอัยการสูงสดุ วนิ ิจฉัย คําวินจิ ฉยั ของอยั การสูงสดุ ใหเ ปน ท่ีสดุ

บทบัญญัติในมาตรานี้ใหนํามาใชบังคับในกรณีท่ีพนักงานอัยการย่ืนอุทธรณ ฎีกา
หรอื ถอนฟอง ถอนอุทธรณ ถอนฎีกา โดยอนุโลม

ÁÒμÃÒ ôö ในกรณีที่พนักงานอัยการมีคําส่ังฟองและจําเปนตองนําตัวผูถูกกลาวหา
ไปศาลใหแจงใหผูถูกกลาวหามาพบพนักงานอัยการตามเวลาที่กําหนดและในกรณีมีความจําเปนตอง
จบั ตวั ผถู กู กลา วหา ใหพ นกั งานอยั การแจง พนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจทมี่ เี ขตอาํ นาจเหนอื ทอ งที่
ที่ผูถูกกลาวหามีภูมิลําเนาหรือท่ีอยูเปนผูดําเนินการ และเพ่ือการน้ีใหผูบังคับบัญชา หรือผูมีอํานาจ
แตงตั้งถอดถอนเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหา พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจดังกลาว มีอํานาจ
รองขอตอศาลท่ีมีเขตอํานาจเหนือทองท่ีน้ันใหออกหมายจับได ทั้งนี้ ใหนําบทบัญญัติเร่ืองการจับ
การขังและการปลอ ยตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญามาใชบงั คบั

ในกรณีที่มีการจับกุม ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจสงตัวผูถูกจับพรอมท้ังบันทึก
การจับไปยังศาลแลว แจง ใหพ นักงานอยั การทราบภายในสสี่ ิบแปดช่วั โมง

ÁÒμÃÒ ô÷[ñö] กรณีท่ีผูถูกกลาวหาเปนบุคคลที่อยูในอํานาจศาลทหาร ในการดําเนิน
คดอี าญาตามมาตรา ๔๕ และมาตรา ๔๖ ใหเ ปน อาํ นาจหนา ทขี่ องอยั การทหาร ในกรณเี ชน นน้ั อาํ นาจ
ของอัยการสูงสดุ ตามมาตรา ๔๕ วรรคสาม ใหเปนอาํ นาจของเจา กรมพระธรรมนญู

ÁÒμÃÒ ôø ในการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ถา คณะกรรมการ ป.ป.ท. เหน็ ควรตรวจสอบทรพั ยส นิ
และหนี้สินของเจาหนาท่ีของรัฐผูถูกกลาวหา และเปนกรณีท่ีเจาหนาท่ีของรัฐผูน้ันตองยื่นบัญชีแสดง
รายการทรพั ยส นิ และหนสี้ นิ ไวต อ คณะกรรมการ ป.ป.ช. แลว ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. ขอความรว มมอื
จากคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหสงบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหน้ีสินที่ยื่นไวมาใหตรวจสอบได
แตถาเปนกรณีท่ีเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหามิไดเปนผูท่ีตองย่ืนบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและ
หนี้สินไวตอคณะกรรมการ ป.ป.ช. ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีอํานาจสั่งใหเจาหนาท่ีของรัฐผูน้ัน
ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพยสินและหนี้สินของตน คูสมรส และบุตรท่ียังไมบรรลุนิติภาวะตอ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. ตามรายการและภายในเวลาท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนดได

ในการไตสวนตามวรรคหนึ่งหรือในกรณีอื่นใดที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. มีเหตุอันควร
สงสัยวาเจาหนาที่ของรัฐผูถูกกลาวหารํ่ารวยผิดปกติหรือมีทรัพยสินเพ่ิมข้ึนผิดปกติใหสงเร่ืองทั้งหมด
พรอมทง้ั สาํ นวนการไตสวนและเอกสารหลักฐานท่ีเก่ียวของใหคณะกรรมการ ป.ป.ช. ดําเนินการตาม
อํานาจหนาทีต่ อไป ในกรณเี ชนนนั้ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะถือเอาสํานวนการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ ของ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนสํานวนการไตสวนขอเท็จจริงของคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยจะไตสวน
ขอเทจ็ จรงิ เพม่ิ เติมดว ยหรอื ไมก ็ได

ในกรณีท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. ไตสวนแลวเห็นวาเจาหนาท่ีของรัฐผูนั้นมิไดร่ํารวย
ผิดปกติหรือมิไดมีทรัพยสินเพ่ิมข้ึนผิดปกติ แตมีกรณีตองดําเนินการเก่ียวกับการทุจริตในภาครัฐ

๘๙

คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะสงเรื่องคืนใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ดําเนินการตามอํานาจหนาท่ี
หรอื จะไตส วนและชี้มลู ตามอํานาจหนาท่ีของตนตอไปกไ็ ด

ÁÒμÃÒ ôù ในกรณที คี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. มมี ตวิ า ขอ กลา วหาใดมมี ลู นอกจากดาํ เนนิ การ
ตามมาตรา ๔๐ หรือมาตรา ๔๕ แลว หากปรากฏวา เจา หนา ทขี่ องรัฐผถู ูกกลาวหาไดอนมุ ตั ิ อนุญาต
ออกเอกสารสทิ ธิ ใหส ทิ ธปิ ระโยชนห รอื การสง่ั การใด ๆ แกบ คุ คลใดโดยมชิ อบ หรอื อาจเปน เหตใุ หเ สยี หาย
แกทางราชการ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แจงใหหัวหนาหนวยงานท่ีเก่ียวของพิจารณาดําเนินการ
สั่งยกเลิกหรือเพิกถอนการอนุมัติ อนุญาต ออกเอกสารสิทธิ ใหสิทธิประโยชน หรือการสั่งการใดๆ
น้ัน ตอ ไปดวย

ÁÒμÃÒ õð เจาหนาท่ีของรัฐผูใดถูกกลาวหาวากระทําการทุจริตในภาครัฐ และ
คณะกรรมการ ป.ป.ท. มมี ติรบั ไวพิจารณาตามพระราชบัญญัติน้ี แมภายหลงั เจาหนาทีข่ องรัฐผนู ั้นจะ
พน จากการเปน เจา หนา ทขี่ องรฐั ไปแลว ดว ยเหตอุ น่ื ไมเ กนิ หา ป นอกจากตาย ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท.
มีอํานาจดําเนินการตอไปได แตตองดําเนินการใหแลวเสร็จภายในสองปนับแตวันที่ผูถูกกลาวหานั้น
พนจากการเปนเจาหนาที่ของรัฐ หรือวันที่มีการกลาวหาเจาหนาท่ีของรัฐนั้นในกรณีท่ีมีการกลาวหา
เมอ่ื เจาหนาที่ของรัฐผูน นั้ พนจากตําแหนง แลว แตก รณี

ในกรณีท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ท. มีมติวาผูถูกกลาวหาตามวรรคหนึ่งกระทําการทุจริต
ในภาครัฐ ใหผูบังคับบัญชาหรือผูมีอํานาจแตงต้ังถอดถอนผูถูกกลาวหาดําเนินการตามอํานาจหนาท่ี
ตอ ไปไดเ สมอื นวา ผนู นั้ ยงั เปน เจา หนา ทขี่ องรฐั และในกรณที ก่ี ารกระทาํ ความผดิ ดงั กลา วเปน ความผดิ
ทางอาญาดว ย ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. ดําเนินการตามมาตรา ๔๕

ËÁÇ´ ó
Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃÔμã¹ÀҤðÑ
ÁÒμÃÒ õñ ใหมีสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
เปน สวนราชการมีฐานะเปนกรมทไ่ี มสังกดั สํานักนายกรฐั มนตรี กระทรวง หรือทบวง โดยมีเลขาธิการ
เปนผูรับผิดชอบขึ้นตรงตอนายกรัฐมนตรี มีหนาที่ควบคุมดูแลและรับผิดชอบการปฏิบัติราชการของ
สํานักงานตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. และเปนผูบังคับบัญชาขาราชการและเจาหนาที่ในสํานักงาน
โดยมรี องเลขาธิการเปนผชู ว ยสง่ั และปฏิบตั ริ าชการ[๑๗]
สาํ นกั งานมีอํานาจหนา ทด่ี งั ตอ ไปนี้
(๑) รบั ผดิ ชอบในงานธรุ การของคณะกรรมการ ป.ป.ท. รวมตลอดทงั้ สนบั สนนุ และอาํ นวย
ความสะดวกใหการปฏิบัตหิ นา ท่ขี องคณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนไปอยางมีประสทิ ธิภาพ
(๒) ประสานงานและใหค วามรว มมอื กบั สว นราชการและหนว ยงานของรฐั อนื่ ทเี่ กยี่ วขอ ง
กับการปองกันและแกไขปญ หาการทจุ รติ

๙๐

(๓) ประสานงานและใหค วามรว มมอื ระหวา งประเทศเกยี่ วกบั การปอ งกนั และปราบปราม
การทจุ รติ

(๔) รวบรวมและเผยแพรข อ มูลเกย่ี วกับการทุจรติ
(๕) จดั ใหม หี รอื ใหค วามรว มมอื กบั องคก รอนื่ ในการศกึ ษาอบรมและพฒั นาความรเู กยี่ วกบั
การปอ งกันและแกไขปญหาการทุจรติ
(๖) ปฏิบัติการอื่นตามที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้และกฎหมายอ่ืน หรือตามท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ท. มอบหมาย
เพอ่ื ประโยชนใ นการปฏบิ ตั ติ ามอาํ นาจหนา ทใี่ น (๓) ใหส าํ นกั งานหารอื และทาํ ความตกลง
รวมกนั กบั สาํ นกั งาน ป.ป.ช.
ÁÒμÃÒ õñ/ñ[ñø] ใหเ ลขาธกิ ารเปน ขา ราชการพลเรอื นสามญั ซง่ึ นายกรฐั มนตรนี าํ ความ
กราบบงั คมทลู เพอ่ื โปรดเกลา ฯ แตง ตงั้ ตามผลการคดั เลอื กของคณะกรรมการ ป.ป.ท. โดยความเหน็ ชอบ
ของวฒุ ิสภา
ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. เปนผูคัดเลือกบุคคลเพื่อดํารงตําแหนงเลขาธิการ แลวเสนอ
นายกรัฐมนตรีดําเนนิ การตอไป
ในการคัดเลือกตามวรรคสอง ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. หารอื กบั คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ดวย
เพอ่ื ประโยชนใ นการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการพลเรอื นในสว นทเี่ กยี่ วกบั
การบริหารงานบุคคลของสํานักงาน ใหสํานักงานมีคณะอนุกรรมการสามัญประจํากระทรวง โดยให
ถอื วา ประธานกรรมการมฐี านะเปน ประธานอนกุ รรมการสามญั ประจาํ กระทรวง และเลขาธกิ ารมฐี านะ
เปนรองประธานอนกุ รรมการสามัญประจํากระทรวง
ÁÒμÃÒ õò[ñù] ใหพ นกั งาน ป.ป.ท. เจา หนาท่ี ป.ป.ท. และขา ราชการในสาํ นักงานเปน
ผดู าํ รงตาํ แหนงทม่ี เี หตุพเิ ศษตามกฎหมายวา ดวยระเบยี บขาราชการพลเรอื น
ใหพ นกั งาน ป.ป.ท. และเจา หนา ที่ ป.ป.ท. ไดร บั เงนิ เพมิ่ สาํ หรบั ตาํ แหนง ในทาํ นองเดยี วกนั
กับคาตอบแทนพิเศษประจําตําแหนงพนักงานไตสวนและผูชวยพนักงานไตสวนตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรฐั ธรรมนูญวา ดวยการปองกันและปราบปรามการทุจริต ท้งั นี้ ตามระเบียบทคี่ ณะกรรมการ
ป.ป.ท. กาํ หนดโดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง
ÁÒμÃÒ õò/ñ[òð] การแตงต้ังพนักงาน ป.ป.ท. ตามพระราชบัญญัติน้ี ใหแตงต้ังจาก
ขาราชการพลเรือนในสังกัดสํานักงาน ซ่ึงดํารงตําแหนงในระดับไมตํ่ากวาชํานาญการหรือเทียบเทา
ขึ้นไป และมีคุณสมบัติอยา งใดอยา งหนึง่ ดงั ตอ ไปนีด้ วย
(๑) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทางกฎหมายและสอบไลไดเปนเนติบัณฑิตตาม
หลักสตู รของสาํ นกั อบรมศึกษากฎหมายแหงเนตบิ ณั ฑติ ยสภา และเปนผทู ีม่ คี วามรแู ละประสบการณ
ในการสอบสวนขอ เทจ็ จรงิ และวนิ จิ ฉัยคดี หรือการใหค วามเห็นทางกฎหมายไมน อ ยกวา หกป

๙๑

(๒) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททางกฎหมายและสอบไลไดเปนเนติบัณฑิตตาม
หลักสตู รของสํานกั อบรมศกึ ษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา และเปนผูที่มคี วามรูแ ละประสบการณ
ในการสอบสวนขอ เทจ็ จริงและวนิ ิจฉยั คดี หรือการใหความเหน็ ทางกฎหมายไมนอ ยกวาสปี่ 

(๓) สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกทางกฎหมาย และเปน ผทู มี่ คี วามรแู ละประสบการณ
ในการสอบสวนขอเท็จจริงและวินิจฉัยคดี หรือการใหความเห็นทางกฎหมายไมนอยกวาสองป
แตถาสอบไลไดเปนเนติบัณฑิตตามหลักสูตรของสํานักอบรมศึกษากฎหมายแหงเนติบัณฑิตยสภา
ดวยระยะเวลาสองปใหลดเหลอื หนึง่ ป

(๔) สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรที างกฎหมาย หรอื สาํ เรจ็ การศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี
อยางนอยสองสาขา หรือสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท และเปนผูที่มีความรูและประสบการณ
ในการสอบสวนขอ เท็จจริงและวนิ จิ ฉัยคดี หรือการใหความเห็นทางกฎหมายไมนอ ยกวาแปดป

(๕) สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในสาขาวิชาที่ขาดแคลนและจะยังประโยชนตอ
การดาํ เนินการไตส วนของสาํ นักงานเปน อยา งย่ิง และผา นการอบรมหลกั สตู รการไตส วน ทง้ั นี้ ตามท่ี
คณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด และรับราชการในสาํ นกั งานหรอื สํานกั งาน ป.ป.ช. มาแลว ไมนอ ยกวา
ระยะเวลาทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด ซง่ึ ตองไมน อ ยกวา ส่ปี 

ÁÒμÃÒ õó เพ่ือประโยชนในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ สํานักงานอาจจัดใหมี
มาตรการคุมครองเบื้องตน สาํ หรบั ผูก ลา วหา ผูเสยี หาย ผูทําคํารอ ง ผูร องทกุ ขก ลาวโทษ ผูใหถอ ยคาํ
หรือผูที่แจงเบาะแส หรือขอมูลใดเก่ียวกับการทุจริตในภาครัฐ หรือขอมูลอื่นอันเปนประโยชนตอ
การดาํ เนินการตามพระราชบัญญัติน้ี ทั้งน้ี ตามระเบียบทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด

ÁÒμÃÒ õô ในกรณีที่คณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวาคดีใดสมควรใหจัดใหมีมาตรการ
คุมครองชวยเหลือแกบุคคลตามมาตรา ๕๓ ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. แจงใหหนวยงานที่เก่ียวของ
เพ่ือดําเนินการใหมีมาตรการในการคุมครองบุคคลดังกลาว โดยใหถือวาบุคคลดังกลาวเปนพยานที่มี
สิทธิไดรับความคุมครองตามกฎหมายวาดวยการคุมครองพยานในคดีอาญา ทั้งน้ี ใหคณะกรรมการ
ป.ป.ท. เสนอความเห็นดวยวาสมควรใชมาตรการท่ัวไป หรือมาตรการพิเศษตามกฎหมายวาดวย
การคมุ ครองพยานในคดอี าญาสําหรับบคุ คลดงั กลาวดว ย

ในกรณเี กดิ ความเสยี หายแกช วี ติ รา งกาย อนามยั ชอ่ื เสยี ง ทรพั ยส นิ หรอื สทิ ธอิ ยา งหนงึ่
อยา งใดของบคุ คลตามวรรคหนง่ึ หรอื สามี ภรยิ า ผบู พุ การี ผสู บื สนั ดาน หรอื บคุ คลอน่ื ทม่ี คี วามสมั พนั ธ
ใกลช ดิ กบั บคุ คลดังกลา ว เพราะมีการกระทําผิดอาญาโดยเจตนา เน่อื งจากการดําเนนิ การหรอื การให
ถอ ยคาํ หรอื แจง เบาะแส หรอื ขอ มลู ตอ คณะกรรมการ ป.ป.ท. ใหบ คุ คลนน้ั มสี ทิ ธยิ นื่ คาํ รอ งตอ หนว ยงาน
ที่รับผิดชอบเพื่อขอรับคาตอบแทนเทาที่จําเปนและสมควรตามกฎหมายวาดวยการคุมครองพยาน
ในคดอี าญาดวย

ÁÒμÃÒ õõ คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจจัดใหมีรางวัลตอบแทนหรือประโยชนอ่ืนใด
แกบ ุคคลตามมาตรา ๕๓ ตามระเบยี บท่คี ณะกรรมการ ป.ป.ท. กําหนด

๙๒

ÁÒμÃÒ õö ในกรณีบุคคลตามมาตรา ๕๓ เปนเจาหนาท่ีของรัฐและคณะกรรมการ
ป.ป.ท. เหน็ วา การดาํ เนนิ การหรอื ใหถ อ ยคาํ หรอื แจง เบาะแสหรอื ขอ มลู ของบคุ คลดงั กลา วเปน ประโยชน
ตอการปองกันและปราบปรามการทุจริตอยางยิ่ง และสมควรไดรับการยกยองใหเปนแบบอยางแก
เจา หนา ทข่ี องรฐั และประชาชนโดยทว่ั ไป คณะกรรมการ ป.ป.ท. อาจเสนอคณะรฐั มนตรเี พอื่ การพจิ ารณา
เลอื่ นข้ันเงนิ เดอื น และระดบั ตาํ แหนงใหแ กบคุ คลน้ันเปนกรณพี ิเศษก็ได ท้ังน้ี ตามหลกั เกณฑ วิธีการ
และเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

ÁÒμÃÒ õ÷ ในกรณีบุคคลตามมาตรา ๕๓ เปนเจาหนาที่ของรัฐเม่ือบุคคลนั้นรองขอ
ตอคณะกรรมการ ป.ป.ท. วาหากยังคงปฏิบัติหนาท่ีในสังกัดเดิมตอไป อาจถูกกลั่นแกลงหรือไดรับ
การปฏบิ ตั โิ ดยไมเ ปน ธรรม อนั เนอื่ งจากการกลา วหาหรอื การใหถ อ ยคาํ หรอื แจง เบาะแสหรอื ขอ มลู นน้ั
และคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาแลวเห็นวา มเี หตอุ ันควรเชอ่ื ไดว านาจะมเี หตดุ งั กลาว ใหเ สนอตอ
นายกรฐั มนตรเี พอื่ พจิ ารณาสงั่ การใหไ ดร บั ความคมุ ครองหรอื มมี าตรการอน่ื ใดตามทเ่ี หน็ สมควรตอ ไป

ÁÒμÃÒ õø บุคคลหรือผูถูกกลาวหารายใดซึ่งมีสวนเกี่ยวของในการกระทําผิดกับ
เจาหนาท่ีของรัฐซ่ึงเปนผูถูกกลาวหารายอื่น หากไดใหถอยคําหรือแจงเบาะแสหรือขอมูลอันเปน
สาระสําคัญในการท่ีจะใชเปนพยานในการวินิจฉัยช้ีมูลการกระทําผิดของเจาหนาท่ีของรัฐรายอ่ืนน้ัน
หากคณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นสมควรจะกันผูนั้นไวเปนพยานโดยไมดําเนินคดีก็ได ทั้งน้ี
ตามหลักเกณฑ วธิ กี ารและเงอื่ นไขท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ท. กาํ หนด

ËÁÇ´ ó/ñ
ÁÒμáÒû͇ §¡¹Ñ ¡Ò÷¨Ø ÃÔμã¹ÀÒ¤Ã°Ñ [òñ]

ÁÒμÃÒ õø/ñ ในกรณีดังตอไปน้ี ใหคณะกรรมการ ป.ป.ท. พิจารณาดําเนินการตาม
มาตรา ๑๗ (๒) โดยเรว็

(๑) เมื่อปรากฏวากฎหมาย กฎ ขอบังคับ หรือมาตรการใดลาสมัย ขาดประสิทธิภาพ
หรอื ขาดการบงั คบั ใชอ ยา งทวั่ ถงึ เปน ชอ งทางใหเ จา หนา ทขี่ องรฐั กระทาํ การทจุ รติ ในภาครฐั หรอื เปน เหตุ
ใหเจาหนาที่ของรัฐไมอ าจปฏิบัติหนาทใี่ หเกิดผลดตี อราชการได

(๒) เมื่อปรากฏวาการดําเนินการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐไมบรรลุผล
เพราะไมม ีกฎหมาย กฎ ระเบยี บ หรอื ขอ บังคบั เกีย่ วกบั วนิ ยั หรอื มาตรการทจ่ี าํ เปน

ÁÒμÃÒ õø/ò ในกรณที ค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ท. เห็นวา หนวยงานของรัฐใดมวี ิธีปฏิบัติ
หรอื การดาํ เนนิ งานทเ่ี ปน เหตใุ หเ กดิ ความเดอื ดรอ นแกผ ใู ชบ รกิ ารหรอื ประชาชน และสอ ไปในทางทจุ รติ
ในภาครัฐ หรือเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกทางราชการอยางรายแรง ใหสํานักงานแจงใหหัวหนา
หนวยงานของรัฐนัน้ ทราบ

๙๓

เมอื่ ไดร บั แจง ตามวรรคหนงึ่ หวั หนา หนว ยงานของรฐั มหี นา ทตี่ อ งสงั่ การใหม กี ารตรวจสอบ
และดําเนินการ แลวแจงผลการดําเนินการใหสํานักงานทราบภายในสามสิบวันนับแตวันท่ีไดรับแจง
หากจะตอ งดาํ เนนิ การแกไ ขปรบั ปรงุ ตอ งกาํ หนดระยะเวลาทจี่ ะดาํ เนนิ การแลว เสรจ็ ใหส าํ นกั งานทราบดว ย
ในกรณที ห่ี วั หนา หนว ยงานของรฐั นน้ั จงใจไมด าํ เนนิ การหรอื ดาํ เนนิ การไมแ ลว เสรจ็ ภายในกาํ หนดเวลา
ดังกลาวโดยไมมีเหตุอนั สมควร ใหค ณะกรรมการ ป.ป.ท. รายงานใหค ณะรัฐมนตรแี ละคณะกรรมการ
ป.ป.ช. ทราบ เพ่ือดาํ เนนิ การตามอํานาจหนาท่ีตอ ไป

ÁÒμÃÒ õø/ó ในกรณที คี่ ณะกรรมการ ป.ป.ท. หรอื สาํ นกั งานพบวา การดาํ เนนิ โครงการใด
มกี ารกาํ หนดวงเงนิ สงู เกนิ ทเี่ ปน จรงิ หรอื ไมค มุ คา ใหแ จง ใหส าํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ เพอ่ื ดาํ เนนิ การ
ตามอํานาจหนา ทต่ี อ ไป

ËÁÇ´ ô
àºç´àμÅ´ç

ÁÒμÃÒ õù ใหสํานักงานจัดทําบัญชีเรื่องกลาวหาเจาหนาที่ของรัฐท่ีคณะกรรมการ
ป.ป.ท. รบั ไวพ จิ ารณาและผลการดาํ เนนิ การ เพอ่ื สง ใหส าํ นกั งาน ป.ป.ช. ตามพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบ
รฐั ธรรมนญู วา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ทราบ เพอื่ เปน การประสานงานตามระยะเวลา
วิธกี าร และรายการท่ตี กลงรวมกนั

ÁÒμÃÒ öð ในการปฏบิ ตั หิ นา ทต่ี ามพระราชบญั ญตั นิ ี้ ใหก รรมการ อนกุ รรมการ พนกั งาน
ป.ป.ท. และเจา หนา ท่ี ป.ป.ท. เปนเจา พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

ในการดําเนินการไตสวนขอเท็จจริงตามพระราชบัญญัตินี้ ใหกรรมการ อนุกรรมการ
และพนักงาน ป.ป.ท. เปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจช้ันผูใหญและเจาหนาที่ ป.ป.ท.
เปนพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจโดยใหมีอํานาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
เชนเดียวกับพนักงานสอบสวนดวย เวนแตอํานาจในการจับและคุมขัง ใหแจงพนักงานฝายปกครอง
หรอื ตาํ รวจเปนผดู ําเนนิ การ

ÁÒμÃÒ öñ[òò] คา ใชจ า ยในเรอ่ื งดงั ตอ ไปน้ี รวมทงั้ วธิ กี ารเบกิ จา ย ใหเ ปน ไปตามระเบยี บ
สาํ นักนายกรฐั มนตรีโดยไดร ับความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง

(๑) การไตสวนขอ เทจ็ จริง การแสวงหาขอมูล และการรวบรวมพยานหลกั ฐาน
(๒) การมาชวยปฏิบัติของหนวยงานของรัฐหรือเจาหนาท่ีของหนวยงานของรัฐตาม
มาตรา ๑๘ (๔)
(๓) การดําเนินการอ่ืนใดอันจําเปนแกการปองกันและปราบปรามการทุจริตตาม
พระราชบญั ญัติน้ี

๙๔

ÁÒμÃÒ öñ/ñ[òó] ในการดําเนินคดีอาญาตามพระราชบัญญัตินี้ ถาผูถูกกลาวหา
หรือจําเลยหลบหนีไปในระหวางถูกดําเนินคดีหรือระหวางการพิจารณาของศาล มิใหนับระยะเวลาที่
ผูถูกกลาวหาหรือจําเลยหลบหนีรวมเปนสวนหนึ่งของอายุความ และเม่ือไดมีคําพิพากษาถึงที่สุด
ใหลงโทษจําเลย ถาจําเลยหลบหนีไปในระหวางตองคําพิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษ มิใหนําบทบัญญัติ
แหง ประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๙๘ มาใชบงั คบั

ËÁÇ´ õ
º·¡Ó˹´â·É

ÁÒμÃÒ öò ผใู ดไมม าใหถ อ ยคาํ หรอื ไมส ง เอกสารหรอื หลกั ฐานหรอื ไมด าํ เนนิ การใด ๆ
ตามมาตรา ๑๘ (๑) และ (๒) โดยไมมีเหตอุ นั สมควร ตอ งระวางโทษจาํ คกุ ไมเ กนิ หกเดือน หรือปรบั
ไมเกนิ หนงึ่ หมน่ื บาท หรือท้งั จาํ ทั้งปรับ

ÁÒμÃÒ öó ผูใดไมปฏิบัติตามคําส่ังของคณะกรรมการ ป.ป.ท. ท่ีส่ังตามมาตรา ๔๘
ตองระวางโทษจาํ คกุ ไมเกนิ หกเดือน หรอื ปรบั ไมเ กินหนึง่ หมืน่ บาท หรือทงั้ จําท้ังปรับ

ÁÒμÃÒ öô ผใู ดเปด เผยขอ ความ ขอ เทจ็ จรงิ หรอื ขอ มลู ทไ่ี ดม าเนอ่ื งจากการปฏบิ ตั หิ นา ที่
ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี โดยมไิ ดร บั มอบหมายจากคณะกรรมการ ป.ป.ท. และมใิ ชก ารกระทาํ ตามหนา ท่ี
ราชการหรือเพ่ือประโยชนแกการตรวจสอบหรือไตสวนขอเท็จจริง หรือเพื่อประโยชนแกทางราชการ
หรือประโยชนสาธารณะ ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท
หรือทงั้ จาํ ท้ังปรับ

ÁÒμÃÒ öõ กรรมการ อนกุ รรมการ พนกั งาน ป.ป.ท. หรอื เจา หนา ท่ี ป.ป.ท. ผใู ดกระทาํ
การทุจรติ ในภาครฐั ตอ งระวางโทษเปน สองเทาของโทษที่กําหนดไวส าํ หรับความผดิ น้นั

º·à©¾ÒСÒÅ

ÁÒμÃÒ öö ใหดําเนินการแตงตั้งคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ในภาครฐั ใหแลว เสร็จภายในหกสบิ วนั นบั แตว นั ที่พระราชบัญญตั ิน้ใี ชบ ังคับ

ÁÒμÃÒ ö÷ ใหก ระทรวงยตุ ธิ รรม สาํ นกั งานปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั
สาํ นักงาน ก.พ.ร. สํานกั งาน ก.พ. สํานักงบประมาณและหนวยงานท่เี กย่ี วของรว มกนั จดั ทําโครงสรา ง
สาํ นกั งาน กรอบอตั รากาํ ลงั ขา ราชการและพนกั งานราชการและกาํ หนดงบประมาณ รวมถงึ การดาํ เนนิ การ
อื่นใดอันจําเปน เพ่ือรองรับการดําเนินการตามอํานาจหนาที่ของสํานักงานปองกันและปราบปราม
การทจุ รติ ในภาครฐั ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ภายในสามสิบวนั นบั แตวนั ทีพ่ ระราชบญั ญัตินี้ใชบ งั คบั

๙๕

ในระยะเริ่มแรก การกําหนดโครงสราง อัตรากําลังและงบประมาณตามวรรคหน่ึง
ตองรองรับการปฏบิ ตั ิงานตามอาํ นาจหนาท่ีของสาํ นักงานปอ งกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ
ในเขตพื้นทีต่ ามความจาํ เปนและเหมาะสมดวย

ผูร บั สนองพระบรมราชโองการ
พลเอก สรุ ยุทธ จุลานนท
นายกรฐั มนตรี

ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั น้ี คอื โดยทปี่ จ จบุ นั รฐั บาลมนี โยบายสาํ คญั
และเรงดวนในการปอ งกนั และปราบปรามการทุจริต แตยังไมม สี ว นราชการในสว นของฝายบริหารที่มี
อาํ นาจหนา ทรี่ บั ผดิ ชอบเกยี่ วกบั การปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ โดยตรง ทาํ ใหร ฐั บาลไมส ามารถ
กาํ กบั ดูแลและผลกั ดนั เพื่อใหการดาํ เนินการตามนโยบายดังกลา วเปนไปอยา งมีประสทิ ธิภาพและตรง
ตามเปาหมายท่ีวางไว อีกทั้งคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติซ่ึงเปนองคกร
อิสระที่มีอํานาจในการปองกันและปราบปรามการทุจริตของเจาหนาที่ของรัฐมีภารกิจที่อยูในความ
รบั ผดิ ชอบจาํ นวนมาก สมควรทจี่ ะมสี ว นราชการในฝา ยบรหิ ารทร่ี บั ผดิ ชอบในการดาํ เนนิ การดา นนโยบาย
ดงั กลา ว และเปน ศนู ยก ลางประสานงานกบั หนว ยงานของรฐั ทเี่ กยี่ วขอ งทงั้ หมด รวมทง้ั กาํ หนดมาตรการ
ตางๆ เพื่อใหการปองกันและปราบปรามการทุจริตในฝายบริหารสามารถดําเนินการในลักษณะ
บรู ณาการและมปี ระสทิ ธิภาพมากยิง่ ขน้ึ จงึ จําเปน ตอ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี

๙๖

¾ÃÐÃÒªºÞÑ ÞμÑ ÁÔ ÒμáÒâͧ½Ò† ºÃËÔ ÒÃ㹡Òû͇ §¡¹Ñ áÅлÃÒº»ÃÒÁ¡Ò÷¨Ø ÃμÔ (©ººÑ ·èÕ ò) ¾.È.òõõù[òô]
ÁÒμÃÒ ò พระราชบญั ญตั นิ ใี้ หใ ชบ งั คบั ตงั้ แตว นั ถดั จากวนั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา

เปนตน ไป
ÁÒμÃÒ òó บรรดาการดําเนินการใดๆ ท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ท. คณะอนุกรรมการ

ไตสวนขอ เทจ็ จริง พนกั งาน ป.ป.ท. และเจา หนา ท่ี ป.ป.ท. ไดก ระทําไปตามบทบญั ญตั แิ หงพระราช
บัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ กอนวันที่
พระราชบัญญัตนิ ้ใี ชบังคับ ใหเปน อันใชได

ÁÒμÃÒ òô ใหกรรมการตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ ซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
เปนกรรมการตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ.๒๕๕๑ ซงึ่ แกไ ขเพ่มิ เติมโดยพระราชบญั ญตั นิ ้ี

ÁÒμÃÒ òõ ใหเลขาธิการตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ ซึ่งดํารงตําแหนงอยูในวันกอนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ
เปนเลขาธิการตามพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต
พ.ศ.๒๕๕๑ ซึง่ แกไ ขเพิม่ เติมโดยพระราชบญั ญัตินี้

ÁÒμÃÒ òö ใหผูดํารงตําแหนงพนักงาน ป.ป.ท. และเจาหนาท่ี ป.ป.ท. ตามพระราช
บัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ อยูในวันกอน
วันท่ีพระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ เปนพนักงาน ป.ป.ท. และเจาหนาที่ ป.ป.ท. ตามพระราชบัญญัติ
มาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑ ซ่ึงแกไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบญั ญัติน้ี

ÁÒμÃÒ ò÷ บรรดาขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคําสั่งท่ีออกตามบทบัญญัติ
แหงพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ.๒๕๕๑
กอนวันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ และยังมีผลใชบังคับอยูในวันกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ
ใหย ังคงมีผลใชบงั คบั ตอ ไปเทา ทไี่ มขัดหรอื แยงกบั พระราชบญั ญตั ิน้ี จนกวาจะไดมขี อบังคับ ระเบียบ
ประกาศ หรือคาํ สง่ั ทอี่ อกตามบทบัญญตั แิ หง พระราชบญั ญัตมิ าตรการของฝายบริหารในการปองกัน
และปราบปรามการทจุ ริต พ.ศ.๒๕๕๑ ซงึ่ แกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั นิ ใ้ี ชบ งั คบั

ÁÒμÃÒ òø ใหนายกรฐั มนตรรี ักษาการตามพระราชบญั ญตั นิ ี้

๙๗

ËÁÒÂàËμØ :- เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญตั ฉิ บบั นี้ คอื โดยทป่ี จ จบุ นั การปอ งกนั และปราบปราม
การทุจริตในภาครัฐมีกระบวนการไตสวนขอเท็จจริงและการดําเนินการลาชา และกอใหเกิดปญหา
ในทางปฏิบัติซึ่งไมสอดคลองกับสภาพการณและรูปแบบของการทุจริตที่มีความซับซอนย่ิงข้ึน
เพอ่ื เปน การแกไ ขปญ หาดงั กลา ว สมควรปรบั ปรงุ กระบวนการไตส วนขอ เทจ็ จรงิ และกาํ หนดใหเ ลขาธกิ าร
คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ รวมทั้งพนักงานและเจาหนาที่ของรัฐของ
สาํ นกั งานคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั ไดช ว ยเหลอื และสนบั สนนุ การปฏบิ ตั ิ
หนา ทขี่ องคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั ใหเ หมาะสมและเกดิ ประสทิ ธภิ าพ
ยิ่งขึ้น นอกจากน้ี ไดมีการปรับปรุงโครงสรางของคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริต
ในภาครฐั ในสว นของการไดม า องคป ระกอบ คณุ สมบตั แิ ละลกั ษณะตอ งหา ม และการพน จากตาํ แหนง
ของคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ในภาครฐั และกาํ หนดใหส าํ นกั งานคณะกรรมการ
ปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐเปนสวนราชการท่ีไมสังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง
หรอื ทบวง เพอื่ ใหม คี วามเปน อสิ ระในการปฏบิ ตั งิ าน รวมทงั้ เพม่ิ เตมิ มาตรการปอ งกนั และปราบปราม
การทุจริตในภาครัฐ อันจะมีผลใหการปองกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐบรรลุผลและเกิด
ประโยชนแกประชาชน จงึ จาํ เปน ตองตราพระราชบัญญตั นิ ้ี

[๑] ราชกจิ จานเุ บกษา เลม ๑๒๕/ตอนท่ี ๒๑ ก/หนา ๑/๒๔ มกราคม ๒๕๕๑
[๒] มาตรา ๔ วรรคหน่ึง แกไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหาร
ในการปอ งกันและปราบปรามการทจุ รติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๙
[๓] มาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหาร
ในการปองกนั และปราบปรามการทุจริต (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๙
[๔] มาตรา ๕/๑ เพิ่มโดยพระราชบัญญัติมาตรการของฝายบริหารในการปองกันและ
ปราบปรามการทจุ ริต (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๙
[๕] มาตรา ๗ วรรคสอง แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั มิ าตรการของฝา ยบรหิ ารในการ
ปอ งกนั และปราบปรามการทุจรติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๙
[๖] มาตรา ๙ แกไขเพ่ิมเตมิ โดยพระราชบัญญัตมิ าตรการของฝา ยบริหารในการปองกัน
และปราบปรามการทุจริต (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๕๙
[๗] มาตรา ๑๐ แกไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติมาตรการของฝา ยบรหิ ารในการปอ งกัน
และปราบปรามการทุจรติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๙
[๘] มาตรา ๑๙ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั มิ าตรการของฝา ยบรหิ ารในการปอ งกนั
และปราบปรามการทุจรติ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๙


Click to View FlipBook Version