The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4_LA22204_ระเบียบการตำรวจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-28 04:26:24

4_LA22204_ระเบียบการตำรวจ

4_LA22204_ระเบียบการตำรวจ

วิชา กม. (LA) ๒๒๒๐๔

ระเบียบการตาํ รวจเกี่ยวกบั คดี

ตําÃÒàÃÕ¹

ËÅ¡Ñ ÊμÙ Ã ¹Ñ¡àÃÕ¹¹ÒÂÊºÔ ตาํ ÃǨ

ÇÔªÒ ¡Á. (LA) òòòðô ÃÐàºÕº¡ÒÃตําÃǨà¡èÂÕ Ç¡Ñº¤´Õ

เอกสารน้ี “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมใิ หผูหนึง่ ผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทง้ั หมดของเอกสารนเี้ พอื่ การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอื่นท่ีไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
¡Í§ºÞÑ ªÒ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ สํา¹¡Ñ §Ò¹ตําÃǨáË‹§ªÒμÔ
¾.È.òõöô

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพื่อเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สํานกึ ในการใหบ ริการเพอ่ื บําบัดทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝกอบรมตาํ รวจกลาง และกลมุ งานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ นี้ ซงึ่ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตํารวจใหเ ปน ขา ราชการตาํ รวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตอ งการอยางแทจ รงิ และมคี วามพรอมในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคาํ ปรึกษา คาํ แนะนาํ ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทาํ ใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางย่ิงวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กประชาชนไดอ ยา งแทจ ริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผูบ ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ
ÇÔªÒ ÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตําÃǨà¡ÕèÂǡѺ¤´Õ
ñ
º··Õè ñ อาํ ¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·è¢Õ ͧตําÃǨ ๑
- หลักทั่วไป ๒
- อํานาจและหนา ท่ขี องตํารวจตามระเบียบการตํารวจเก่ยี วกบั คดี ÷

º··Õè ò ¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ ๑๑
- การตรวจคน ในทร่ี โหฐาน ๑๑
- การตรวจคนบคุ คลหรอื ยานพาหนะในท่สี าธารณสถาน ๑๒
- การตรวจคนในเขตรัฐสภาหรอื สถานที่ราชการอื่น ๑๓
- การตรวจคน รถไฟ ๑๓
- การตรวจคนของผดิ กฎหมายในหีบหรือตเู กบ็ เงนิ หลวงในระหวางทาง ๑๔
- การตรวจคนของผดิ กฎหมายในเรอื สนิ คาตางประเทศและเรือสินคาชายฝง ๑๔
- การตรวจคน ของตาํ รวจหนว ยอื่นทม่ี ใิ ชต าํ รวจเจา ของทอ งที่ ò÷
- การอายัดพสั ดุไปรษณยี ในประเทศ ๒๗
๓๐
º··Õè ó ¡ÒèºÑ ¡ÁØ áÅСÒäǺ¤ÁØ ๓๙
- การจับกมุ ๕๐
- วิธกี ารจับ
- การควบคุม öù
- การพบทนายความ การเย่ยี มและรักษาพยาบาล

º··Õè ô ÃÐàºÂÕ ºสํา¹¡Ñ ¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÇÕ Ò‹ ´ŒÇ¡Òû¯ÔºμÑ ÔáÅлÃÐÊÒ¹§Ò¹
¡Ã³Õ·ËÒö¡Ù ËÒÇÒ‹ ¡ÃзÒí ¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞÒ ¾.È.òõôô

º··Õè õ ¡Òû¯ÔºÑμÔμ¹áÅСÒÃàº¡Ô ¤ÇÒÁ໚¹¾ÂÒ¹ÈÒŠ˹ŒÒ
- การปฏิบตั ิตนตอ ศาล øù
- การรายงานตนเม่อื ถกู อา งเปนพยาน ๘๙
- การดาํ เนินการกอ นเปนพยานศาล ๘๙
- กรณีเมื่อเบกิ ความเปนพยานตอศาล ๙๐
- ขอ บกพรอ งของเจาพนักงานในการเปนพยานศาล ๙๑
- หนังสือสั่งการสาํ นกั งานตํารวจแหง ชาติกรณกี ารเปนพยานศาล ๙๒
- คาตอบแทนการเปน พยาน ๙๓
๙๓



º··Õè ñ

อาํ ¹Ò¨Ë¹ÒŒ ·Õè¢Í§ตาํ ÃǨ

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ûŒÙ ÃÐจําº·

ผูเรียนมีความรูและสามารถอธิบายเก่ียวกับอํานาจหนาท่ีของตํารวจตามระเบียบการ
ตาํ รวจเกี่ยวกบั คดี

ËÅÑ¡·èÇÑ ä»

สํานักงานตํารวจแหงชาติเปนสวนราชการมีฐานะเปนนิติบุคคลอยูภายใตบังคับบัญชา
ของนายกรฐั มนตรี

การดาํ เนนิ คดอี าญาผถู กู กลา วหาวา ไดก ระทาํ ผดิ กฎหมายนนั้ นอกจากประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความอาญาจะไดบ ญั ญตั อิ าํ นาจหนา ทห่ี ลกั ใหต าํ รวจปฏบิ ตั แิ ลว กย็ งั มคี วามจาํ เปน จะตอ ง
กําหนดแนวทางปฏิบัติใหเปนไปดวยความบริสุทธ์ิยุติธรรม มีประสิทธิภาพรัดกุมเปนหลักประกัน
การคุมครองสิทธิเสรีภาพขั้นพ้ืนฐานของประชาชนสอดคลองกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
และนโยบายการรักษาความสงบเรียบรอยของสํานักงานตํารวจแหงชาติ โดยยึดหลักความศักดิ์สิทธิ์
ของกฎหมายและใหความสําคัญกับการปองกันควบคูไปกับปราบปรามอาชญากรรม และเพื่อใหการ
สอบสวนคดีอาญาในช้ันพนักงานสอบสวน ซึ่งเปนกระบวนการยุติธรรมขั้นตนสามารถพิสูจน
การกระทําผิดและเปนหลักฐานเบ้ืองตนในการพิจารณาชั้นพนักงานอัยการและชั้นศาลไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

อาํ นาจหนา ทขี่ องตาํ รวจตามพระราชบญั ญตั ติ าํ รวจแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๖ มดี งั น้ี
(๑) รักษาความปลอดภัยสําหรับองคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท
ผูสาํ เรจ็ ราชการแทนพระองค พระบรมวงศานวุ งศ และพระราชอาคนั ตกุ ะ
(๒) ดูแล ควบคุมและกํากับการปฏิบัติงานของขาราชการตํารวจซึ่งปฏิบัติการตาม
ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา
(๓) ปองกันและปราบปรามการกระทําความผิดทางอาญา
(๔) รักษาความสงบเรียบรอย ความปลอดภัยของประชาชนและความมั่นคงของ
ราชอาณาจกั ร
(๕) ปฏิบัติการอื่นตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของขาราชการตํารวจ
หรอื สํานกั งานตํารวจแหง ชาติ
(๖) ชว ยเหลือการพัฒนาประเทศตามท่ีนายกรัฐมนตรมี อบหมาย
(๗) ปฏิบัติการอื่นใดเพ่ือสงเสริมและสนับสนุนใหการปฏิบัติการตามอํานาจหนาท่ี
ตาม (๑) (๒) (๓) (๔) หรอื (๕) เปน ไปอยางมปี ระสิทธภิ าพ



อาํ ¹Ò¨áÅÐ˹ŒÒ·Õ¢è ͧตาํ ÃǨμÒÁÃÐàºÂÕ º¡ÒÃตําÃǨà¡ÂÕè ǡѺ¤´Õ

ñ. ตํารวจคือเจาพนักงานซ่ึงกฎหมายใหมีอํานาจและหนาท่ีรักษาความสงบเรียบรอย
ของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญาและกฎหมายอื่น

ò. หนาท่ีอันถือวาเปนหลักสําคัญในราชการตํารวจในเวลาปกติคือ การรักษา
ความสงบเรยี บรอ ยของประชาชน จงึ กาํ หนดอาํ นาจและหนา ทขี่ องตาํ รวจในสว นทเี่ กยี่ วกบั คดอี าญาไว
ดงั ตอ ไปน้ี

๒.๑ ตํารวจมีหนาท่ีรับผิดชอบในการปฏิบัติหนาที่ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา และตามบทกฎหมายอื่นอันเกี่ยวกับความผิดอาญาในเขตอํานาจตามที่
กําหนดไวใ หปฏบิ ตั ิงานตามอาํ นาจหนาทีข่ องตนโดยเครงครดั

๒.๒ ตาํ รวจทไ่ี มม หี นา ทรี่ บั ผดิ ชอบดงั กลา วหรอื อยนู อกเขตอาํ นาจทรี่ บั ผดิ ชอบนนั้
หากมีเหตุเกิดขน้ึ ในลกั ษณะท่ีจะตอ งรีบระงบั ปราบปรามก็ตอ งปฏิบัตติ ามความจาํ เปน แกกรณี

ó. ตํารวจไมมีอํานาจหนาท่ีจับกุมและควบคุมบุคคลซึ่งกระทําการอันตองรับผิด
ในทางแพงคงมีอํานาจหนาที่เฉพาะในการจับกุมปราบปรามผูกระทําผิดในทางอาญาเทานั้น ในกรณี
ไมแนชัดหรือมีการโตแยงวาการกระทํานั้นไมเปนความผิดอาญาหรือเปนคดีแพง ใหรีบสืบสวน
ขอเทจ็ จรงิ เสนอผูบงั คบั บญั ชาวนิ จิ ฉยั สง่ั การกอ นดาํ เนินการ

ô. ความผิดอาญาแผนดิน แมไมมีผูใดรองทุกข กลาวโทษ หรือเพียงแตตํารวจ
ทราบวามีการกระทําความผิดอาญาเกิดขึ้น ก็เปนหนาท่ีโดยตรงของตํารวจที่จะทําการสืบสวน
ตามหนา ท่โี ดยทันที

õ. สําหรบั ความผิดอนั ยอมความได (ความผิดตอสวนตวั ) ตอ งมเี จาทกุ ขห รือผูเสยี หาย
มารองทุกขข อใหส อบสวนดําเนนิ คดเี สยี กอน ตํารวจจงึ จะมอี าํ นาจดําเนินการได

ö. ในการปฏิบัติหนาที่ของตํารวจจักตองกระทําดวยความรอบคอบ รวดเร็ว และ
โปรงใสเปนท่ีเช่ือถือและศรัทธาของประชาชน โดยตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ
และเสรภี าพของบุคคลตามรัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยและกฎหมายอน่ื ดวยเสมอ

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè ôó÷/òõñõ ศาลฎีกาพิเคราะหบาดแผลของนายตาตามรายงาน
ตรวจชันสตู รบาดแผลทายฟอ งแลว เห็นวา

นายตาถูกจําเลยที่ ๑ เตะทั้งรองเทา มีบาดแผลชํ้าบวมหลายแผล ริมฝปากแตก และ
เบา ตาช้าํ บวม เขยี ว ตาขาวมีรอยชาํ้ เลอื ด รักษาหายใน ๗ วัน เชน นี้ถือวา เกิดอันตรายแกกายแลว

จาํ เลยที่ ๑ จงึ มคี วามผดิ ตามฟอ ง
สวนขอหาตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ และ ๓๑๐ น้นั
เห็นวาเมื่อจําเลยที่ ๑ และที่ ๒ ไดจับกุมนายตาผูเสียหายซึ่งเมาสุรา ประพฤติวุนวาย
ครองสติไมไดขณะอยูใ นถนนสาธารณะ อันเปนความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๗๘
ไปท่สี ถานีตํารวจแลว



นายตาผูเสียหาย รองเอะอะอาละวาดเตะโนนเตะน่ี เดินไปเดินมาและจะลงไปจาก
สถานีตํารวจ จําเลยท่ี ๑ กลัวของของสถานีตํารวจจะเสียหาย จึงขอกุญแจสิบเวรพานายตา
เขาหอ งขงั ไวจ นสวา งรงุ เชา เหน็ วา นายตาหายเมาสรุ าแลว กพ็ านายตาออกมานอกหองขัง

ขอเท็จจริงเปนเชนน้ี เห็นวาจําเลยท่ี ๑ พานายตาผูเสียหายเขาหองขังก็เพื่อรักษา
ความสงบเรียบรอยท่ีสถานีตํารวจแหงนั้น และเพ่ือรักษาความปลอดภัยไมใหทรัพยสินของทาง
ราชการเสียหาย

การกระทําของจําเลยจึงมิใชเปนการปฏิบัติหนาท่ีโดยมิชอบ เพ่ือใหเกิดความเสียหาย
แกนายตา หรือหนวงเหนี่ยวกักขัง ทําใหนายตาปราศจากเสรีภาพในรางกาย อันเปนความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ และ ๓๑๐

คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·Õè óùöò/òõò÷
โจทกฟองวา จําเลยซึ่งเปนเจาพนักงานมีหนาที่สืบสวนจับกุมผูกระทําความผิดตาม
กฎหมาย มีอาวธุ ปนบกุ รุกเขา ไปในหอ งท่โี จทกค รอบครอง และคนสง่ิ ของของโจทก โดยไมมีหมายคน
หมายจับ ขอใหลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗, ๓๖๒, ๓๖๕
ศาลชน้ั ตนไตสวนมลู ฟอ งแลว พิพากษายกฟอ ง
โจทกอ ทุ ธรณ
ศาลอุทธรณพ ิพากษายนื
โจทกฎ ีกา
ศาลฎกี าวินิจฉยั วา จําเลยเปน พนักงานสอบสวนและมีตาํ แหนงสารวัตรปกครองปอ งกัน
ประจําสถานีตํารวจภูธรอําเภอเมืองเลย ไดไปที่บานโจทกพบนางสาวจําปคนเฝาบานโจทก นางสาว
จําปเปดประตูและเปดไฟให จําเลยถามหาโจทก นางสาวจําปเขาไปในบานแลวออกมาบอกวาไมอยู
จําเลยเดินเขาไปดูในหองนอนของโจทกโดยมีนางสาวจําปยืนอยูท่ีประตูหอง เมื่อดูแลวไมเห็นโจทก
จําเลยก็กลับออกมา นางสาวจําปถามวามีอะไรกัน จําเลยวาเก่ียวกับเรื่องที่จําเลยจับโจทกในขอหา
มีอาวุธปน การที่จําเลยเขาไปในบานโจทกเพ่ือตามหาตัวโจทกไดก็โดยนางสาวจําปคนเฝาบานของ
โจทกอนุญาตใหเขาไป จําเลยเขาไปในหองนอนของโจทกเพียงเพ่ือตรวจหาตัวโจทกโดยนางสาวจําป
ยืนเฝาดูอยูเม่ือไมพบโจทกก็ออกมาทันที ดังน้ี ถือไมไดวาการกระทําของจําเลยเปนการรบกวน
การครอบครองอสงั หารมิ ทรพั ยข องโจทกโ ดยปกตสิ ขุ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๖๒, ๓๖๕
และไมเ ปน การปฏบิ ตั หิ นา ทโ่ี ดยมชิ อบ เพอื่ ใหเ กดิ ความเสยี หายแกโ จทก ตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๕๗
พิพากษายนื



คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·èÕ ÷ô÷õ/òõõó
ป.ว.ิ อ. มาตรา ๑๘, ๑๒๐
รอยตํารวจเอก ส. เปนขาราชการตํารวจซ่ึงมียศต้ังแตช้ันนายรอยตํารวจตรีข้ึนไป
มอี าํ นาจสอบสวนความผดิ อาญา ซง่ึ ไดเ กดิ ขนึ้ ภายในเขตอาํ นาจของตนตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๑๘ วรรคหนง่ึ
แมระหวางสอบสวนจะมีพนักงานสอบสวนซึ่งไมมีอํานาจสอบสวนรวมนั่งฟงอยูดวยก็ไมทําให
การสอบสวนนน้ั เสียไป เมื่อพันตํารวจโท น. ไดรับคาํ สง่ั แตง ต้งั ใหเปน พนกั งานสอบสวนผูร บั ผิดชอบ
พันตํารวจโท น. ยอมมีอํานาจสอบสวนกอนรอยตํารวจเอก ส. โอนสํานวนการสอบสวนและหลัง
จากน้ันรอยตํารวจเอก ส. ยังคงมีอํานาจสอบสวนเพื่อชวยเหลือพันตํารวจโท น. ได ดังนั้น
การสอบสวนคดีนช้ี อบดวยกฎหมาย พนักงานอัยการมีอาํ นาจฟอ งตาม ป.วิ.อ. มาตรา ๑๒๐
สรุปรอยตํารวจเอก ส. ขาราชการตํารวจซ่ึงมียศต้ังแตช้ันนายรอยตํารวจตรีขึ้นไป
มอี าํ นาจสอบสวนความผดิ อาญาซงึ่ ไดเ กดิ ขนึ้ ภายในเขตอาํ นาจของตนตาม ป.ว.ิ อ.มาตรา ๑๘ วรรคหนงึ่
แมระหวางสอบสวนจะมีพนักงานสอบสวนซ่ึงไมมีอํานาจสอบสวนรวมนั่งฟงอยูดวยก็ไมทําให
การสอบสวนน้ันเสียไปเพราะการสอบสวน เปนการรวบรวมพยานหลักฐานและการดําเนินการ
ท้ังหลายอ่ืนตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ซึ่งพนักงานสอบสวนได
ทําไปเก่ียวกับความผิดที่กลาวหา เพื่อที่จะทราบขอเท็จจริงหรือพิสูจนความผิดและเพ่ือจะเอาตัว
ผกู ระทาํ ผดิ มาฟอ งลงโทษและพนั ตาํ รวจโท น. ไดร บั คาํ สงั่ แตง ตง้ั ใหเ ปน พนกั งานสอบสวนผรู บั ผดิ ชอบ
ซึ่งพนักงานสอบสวนคือ เจาพนักงานซ่ึงกฎหมายใหมีอํานาจและหนาที่ทําการสอบสวนและ
รอ ยตํารวจเอก ส. ยงั คงมีอาํ นาจสอบสวนเพือ่ ชวยเหลือพันตํารวจโท น. ได ดังนนั้ การสอบสวนคดนี ้ี
ชอบดวยกฎหมาย และขาราชการตํารวจท้ังสองนายยังปฏิบัติหนาที่โดยชอบดวยกฎหมาย ดวย
กฎหมายท่ีเกี่ยวของมาตรา ๑๘ ใหจังหวัดอ่ืน นอกจากจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี พนักงาน
ฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจชนั้ ผใู หญ ปลดั อาํ เภอและขา ราชการตาํ รวจ ซง่ึ มยี ศตง้ั แตช น้ั นายรอ ยตาํ รวจตรี
หรือเทียบเทานายรอยตํารวจตรีขึ้นไป มีอํานาจสอบสวนความผิดอาญาซึ่งไดเกิด หรืออาง
หรอื เชอ่ื วา ไดเ กดิ ภายในเขตอาํ นาจของตน หรอื ผตู อ งหามที อ่ี ยู หรอื ถกู จบั ภายในเขตอาํ นาจของตนได
สําหรับในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรีใหขาราชการตํารวจซึ่งมียศต้ังแตชั้นนายรอยตํารวจตรี
หรอื เทยี บเทานายรอยตํารวจตรขี น้ึ ไปมอี าํ นาจสอบสวนความผดิ อาญาซ่งึ ไดเ กดิ หรืออาง หรือเช่ือวา
ไดเกิดภายในเขตอํานาจของตนหรือผูตองหามีท่ีอยูหรือถูกจับภายในเขตอํานาจของตนได ภายใต
บังคบั แหงบทบญั ญัติในมาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐ และมาตรา ๒๑ ความผดิ อาญาไดเกดิ ในเขตอาํ นาจ
พนักงานสอบสวนคนใดโดยปกปดใหเปนหนาท่ีพนักงานสอบสวนผูน้ันเปนผูรับผิดชอบในการ
สอบสวนความผิดน้ัน เพ่ือดําเนินคดีเวนแตเม่ือมีเหตุจําเปน หรือเพื่อความสะดวกจึงใหพนักงาน
สอบสวนแหงทองที่ที่ผูตองหามีท่ีอยูหรือถูกจับเปนผูรับผิดชอบดําเนินการสอบสวน ในเขตทองที่ใด
มีพนักงานสอบสวนหลายคน การดําเนินการสอบสวนใหอยูในความรับผิดชอบของพนักงาน
สอบสวนผูเปนหัวหนาในทองท่ีน้ัน หรือผูรักษาการแทนมาตรา ๑๒๐ หามมิใหพนักงานอัยการ
ยื่นฟองคดีใดตอ ศาล โดยมไิ ดม ีการสอบสวนในความผดิ นน้ั กอ น



คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒ®Õ¡Ò·Õè øøó/òõòð สถานทใี่ ดจะเปนสาธารณสถานหรือไม ไมตอ งคํานึง
วาสถานที่น้ันจะเปนสถานท่ีผิดกฎหมาย เชน สถานการคาประเวณีหรือไม เพียงแตพิจารณาวา
สถานทน่ี ั้นประชาชนมคี วามชอบธรรมทจี่ ะเขาไปไดห รอื ไม และตอ งพจิ ารณาขอเท็จจริงเปน รายๆ ไป
ถาประชาชนมีความชอบธรรมที่จะเขา ไปได สถานท่นี น้ั ก็เปนสาธารณสถานไมใชท รี่ โหฐาน

ไดความวา
เจาของสถานการคาประเวณีหรือซองโสเภณี มิไดหวงหามผูหน่ึงผูใดที่จะไปหาความสุข
กับหญิงโสเภณี หรือไปธุระอ่ืนท่ีจะเขาไปในหองโถงซึ่งใชเปนที่รับแขกในสถานการคาประเวณี
หรือซองโสเภณีน้ัน หองโถงจึงเปนสถานที่ซึ่งประชาชนมีความชอบธรรมท่ีจะเขาไปไดเปน
สาธารณสถานไมใชทร่ี โหฐาน
พนักงานตํารวจมีอํานาจคนและจับไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๙๓, ๗๘ (๓)
จําเลยมีและใชอาวุธปนยิงตอสูขัดขวางมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๑๔๐, ๒๘๙ (๒), ๘๐, ๕๒ (ประชุมใหญ คร้งั ที่ ๑๒/๒๕๑๙)
คาํ ¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷèÕ òôôô/òõòñ
โจทกฟองวา จําเลยเปนเจาพนักงานตํารวจมีหนาท่ีสืบสวนจับกุมผูกระทําผิด จําเลย
บุกรกุ เขาไปในบา นและกลั่นแกลง จบั กมุ นายจํารัส คงพลาย ผูเ สียหาย อา งวา กระทําผิดฐานเมาสุรา
อาละวาดเนื่องจากจําเลยโกรธผูเสียหายท่ีพูดวา “ที่นี่ไมมีไพ มีแตวงเหลา” อันเปนการปฏิบัติหนาที่
โดยมิชอบดวยกฎหมายเม่ือจับกุมแลว จําเลยไดรวมกันใชกําลังกายกระชาก ฉุด ล็อกคอผูเสียหาย
ออกจากบานไปที่โรงเรียนปญญาวรคุณซ่ึงเปนการหนวงเหน่ียวกักขังผูเสียหาย จนเปนเหตุใหเกิด
อนั ตรายแกก าย ขอใหล งโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗, ๒๙๕, ๓๑๐, ๓๖๔, ๓๖๕(๒),
๘๓ พระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.๒๕๐๒ มาตรา ๑๓ จําเลยทั้งสาม
ใหก ารปฏิเสธ
ศาลชนั้ ตน พพิ ากษาวา จาํ เลยทงั้ สามมคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๑๕๗,
๓๑๐ ลงโทษฐานเปนเจาพนักงานปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบจําคุกคนละ ๑ ป ลงโทษฐานหนวงเหน่ียว
กักขังผูอ่ืนจําคุกคนละ ๒ เดือน กับลงโทษจําเลยท่ี ๑ ฐานทํารายรางกายผูอื่น จําคุก ๒ เดือน
รวมจาํ คุกจําเลยที่ ๑ ๑ ป ๔ เดอื น จาํ คกุ จาํ เลยท่ี ๒ ท่ี ๓ คนละ ๑ ป ๒ เดอื น จาํ เลยทง้ั สามอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณวินิจฉัยวา ความผิดตามมาตรา ๑๕๗ และ ๓๑๐ นั้นเปนกรรมเดียว
ผิดกฎหมายหลายบทและโจทกมิไดนําสืบใหปรากฏวาจําเลยที่ ๑ มีเจตนาทํารายผูเสียหาย
พิพากษาแกเปนวาใหลงโทษจําเลยท้ังสามตามมาตรา ๑๕๗ ซ่ึงเปนบทหนักท่ีสุด จําคุกคนละ ๑ ป
ใหย กฟอ งจาํ เลยที่ ๑ สําหรบั ความผิดฐานทํารายรางกาย นอกจากทแี่ กคงใหเ ปน ไปตามคําพพิ ากษา
ศาลช้นั ตน โจทกฎ ีกาขอใหลงโทษจาํ เลยทงั้ สามตามคําพิพากษาศาลชน้ั ตน



ศาลฎีกาวินิจฉัยวา การท่ีจําเลยท่ี ๑ จับมือผูเสียหายกระชากโดยแรงจนผูเสียหาย
ลมลงและไดรับบาดเจ็บที่น้ิวนางซายและหัวเขาซาย แพทยลงความเห็นวาบาดแผลของผูเสียหาย
ตองใชเวลารักษาประมาณ ๕ วัน ตามพฤติการณแสดงวาจําเลยมีเจตนาทํารายผูเสียหายแลว
จําเลยที่ ๑ จึงตองมีความผิดฐานทํารายรางกายผูอื่นตามมาตรา ๒๙๕ สวนปญหาท่ีวา จําเลย
ท้ังสามกระทําความผิดฐานเปนเจาพนักงานปฏิบัติหนาท่ี โดยมิชอบตามมาตรา ๑๕๗ และ
ความผิดฐานหนวงเหนี่ยวกักขังใหผูอ่ืนปราศจากเสรีภาพตามมาตรา ๓๑๐ จะเปนการกระทําผิด
กรรมเดียวหรือหลายกรรมตางกันนั้น ศาลฎีกาเห็นวา แมการกระทําผิดของจําเลยทั้งสามจะเปน
การกระทําหลายอยาง แตก็ดวยเจตนาอันเดียวกัน คือ เปนเจาพนักงานปฏิบัติหนาท่ีโดยมิชอบ
เพ่ือใหเกิดความเสียหายแกผูหน่ึงผูใด และเปนการกระทําตอเนื่องกัน การกระทําของจําเลยท้ังสาม
จงึ เปนกรรมเดยี วกนั แตเปนความผดิ ตอ กฎหมายหลายบทตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๐
พิพากษาแกเ ปนวา จําเลยท่ี ๑ มคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๒๙๕ อีกกระทงหนงึ่
จาํ คกุ ๒ เดือน นอกจากทแี่ กใหเปนไปตามคาํ พพิ ากษาศาลอุทธรณ

ÊûØ

อาํ นาจหนาที่ของตาํ รวจท่ีถือวาเปนหลักสาํ คัญ คือ รักษาความปลอดภัยสาํ หรับองค
พระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศานุวงศ และ
มหี นา ท่ีรักษาความสงบเรียบรอยของบานเมอื งและมีอํานาจจะสอบสวน จบั กมุ ควบคมุ ปราบปราม
เปนเคร่ืองมือสาํ คัญในการปฏิบัติหนาท่ี อาํ นาจเหลาน้ีสามารถสรางคุณและโทษไดเทาๆ กัน สุดแต
การใช ตํารวจทกุ คนจึงจาํ เปนตอ งควบคมุ จติ ใจใหมัน่ คงและเทย่ี งธรรมในการปฏิบัตหิ นาท่ี

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹

๑. ผูส อนและผเู รยี นชวยกนั สรุปเน้ือหา
๒. ใหผ เู รียนยกตัวอยา งอาํ นาจหนา ท่ีของตํารวจอยางนอย ๓ ขอ

͌ҧͧÔ

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๖๐) คมู อื ตาํ รวจหลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ. กรงุ เทพฯ.
โรงพมิ พตํารวจ

สํานักพิมพสูตรไพศาล.(๒๕๕๖) ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี. กรุงเทพฯ.
โรงพิมพสํานกั พิมพส ตู รไพศาล



º··èÕ ò

¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÂÕ ¹Ã»ÙŒ ÃÐจาํ º·

ผูเรียนมีความรูและสามารถอธิบายเก่ียวกับการตรวจคนในหนาท่ีของตํารวจ
ตามระเบียบการตาํ รวจเกยี่ วกบั คดี

ในทางอาญาถือวาการคนเปนวิธีการหน่ึงที่นํามาใชเพ่ือปราบปรามและปองกัน
อาชญากรรม ซึ่งรัฐจะใหอํานาจแกเจาพนักงานของรัฐ เชน ตํารวจมีอํานาจในการคนเพื่อเปนการ
ปราบปรามการกระทําผิด การใหอาํ นาจในการคนแกตํารวจหรือองคกรอื่นท่ีมีกฎหมายใหอาํ นาจ
ถือเปนการดาํ เนินการควบคุมอาชญากรรม ตามหลักของ Crime Control ย่ิงรัฐใหอํานาจการคน
มากเทา ไหร ประสทิ ธภิ าพในการปราบปรามและปอ งกนั อาชญากรรมกย็ ง่ิ มปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ เทา นน้ั
แตในทางกลับกัน สิทธิและเสรีภาพของประชาชนจะถูกกระทบกระเทือนจากการใหอํานาจแก
เจาพนักงานของรัฐในการปราบปรามและปองกันนั้นได ดังนั้นในการตรวจคนจึงตองดําเนินการตาม
กฎหมายอยางเครง ครัด และถอื ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี

ñ. ในการตรวจคนเจาพนักงานผูทําการตรวจคนพึงระลึกวาบุคคลยอมมีเสรีภาพ
ในรางกายและในเคหสถาน การตรวจคนตัวบุคคลและการตรวจคนในเคหสถาน ไมวากรณีใดๆ
จะกระทํามิไดเวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายในการตรวจคน ผูถูกตรวจคน
จะตอ งไดร บั แจง เหตุและรายละเอียดตามสมควรในการถกู ตรวจคน โดยไมชักชา

ò. การตรวจคน คือ การท่ีกฎหมายใหอํานาจเจาพนักงานทําการคนเพื่อพบ
และยดึ สง่ิ ของซงึ่ จะใชเ ปน พยานหลกั ฐาน หรอื เพอื่ พบและชว ยบคุ คลทถ่ี กู หนว งเหนยี่ วกกั ขงั โดยมชิ อบ
ดวยกฎหมาย หรือเพ่ือพบบุคคลท่ีมีหมายใหจับ หรือเพื่อพบและยึดสิ่งของซ่ึงมีไวเปนความผิด
หรือไดม าโดยผิดกฎหมายหรอื มเี หตุอันควรสงสยั วาไดใชหรอื ต้ังใจจะใชในการกระทําความผิด

การตรวจคน แบงเปน ๒ ประเภท คอื การตรวจคนตวั บคุ คล และการตรวจคน สถานท่ี
ó. การตรวจคนจะตอ งปฏิบัติดวยความสุภาพ โดยคาํ นึงถงึ สถานภาพของแตล ะบคุ คล
และใหกระทําในสถานทีอ่ นั เหมาะสม หากผถู กู ตรวจคนเปนหญิงตองใหห ญงิ ดวยกันเปน ผตู รวจคน
ô. การตรวจคนในพระราชวังหรือในท่ีซ่ึงพระมหากษัตริย พระราชินี รัชทายาท หรือ
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค พระบรมวงศต้ังแตสมเด็จเจาฟาขึ้นไป ประทับหรืออยู ตองไดรับ
อนุญาตจากนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมาย และไดแจงเลขาธิการ
พระราชวังหรือสมหุ ราชองครกั ษร ับทราบแลว
õ. ถามีเหตุอันควรสงสัยวาบุคคลซ่ึงอยูในท่ีซ่ึงทําการตรวจคน ตรวจหรือจะถูกคน
จะขัดขวางถึงกับทําใหการตรวจคนไรผล เจาพนักงานผูตรวจคนมีอํานาจเอาตัวผูนั้นควบคุมไว
หรือใหอยูในความดูแลของเจาพนักงานในขณะที่ทําการตรวจคนเทาที่จําเปน เพ่ือมิใหขัดขวางถึงกับ
ทําใหการตรวจคน นัน้ ไรผล



ถามีเหตุอันควรสงสัยวา บุคคลนั้นไดเอาสิ่งของที่ตองการพบซุกซอนในรางกาย
เจา พนกั งานผูตรวจคนมีอาํ นาจตรวจคน ตวั ผนู น้ั ไดโดยตอ งปฏบิ ัติตามขอ ๓

ö. การตรวจคนในวังของพระบรมวงศานุวงศต้ังแตช้ันหมอมเจาขึ้นไป ตองไดรับ
อนญุ าตจากผบู งั คบั บญั ชาการตาํ รวจหรอื หวั หนา ตาํ รวจภธู รจงั หวดั ขนึ้ ไปกอ น เวน แตเ ปน การตรวจคน
เพ่ือจับกุมการกระทําผิดซึ่งหนาและเมื่อตรวจคนแลวตองรายงานใหสํานักงานตํารวจแหงชาติ
ทราบเปน ลายลักษณอ กั ษรโดยเรว็

÷. สงิ่ ของใดทย่ี ดึ ไดต อ งใหเ จา ของหรอื ผคู รอบครองสถานที่ บคุ คลในครอบครวั ผตู อ งหา
จําเลย ผูแทน หรือพยานดู เพ่ือใหรับรองวาถูกตอง ถาบุคคลเชนกลาวนั้นรับรอง หรือไมยินยอม
รบั รองก็ใหบ นั ทึกการตรวจคนตามแบบทายบทน้ี

สิ่งของซึ่งยึดไดในการตรวจคน ใหหอหรือบรรจุหีบหอ ตีตราไว หรือใหทําเครื่องหมาย
ไวเ ปน สาํ คญั ใหเ จา พนกั งานผตู รวจคน บนั ทกึ รายละเอยี ดแหง การตรวจคน และสง่ิ ของทตี่ รวจคน ไดน นั้
ตองมบี ญั ชรี ายละเอยี ดสงิ่ ของตามแบบทายบทนี้

บนั ทกึ การตรวจคน และบญั ชสี ง่ิ ของนน้ั ใหอ า นใหเ จา ของหรอื ผคู รอบครองสถานท่ี บคุ คล
ในครอบครัว ผูตองหา จําเลย ผูแทน หรือพยานฟง แลวแตกรณี แลวใหผูน้ันลงลายมือช่ือ
รับรองไวหากไมยินยอมใหบันทึกเหตผุ ลไว

ø. เมื่อเจาพนักงานไดจัดการตามหมายคนแลว ใหบันทึกรายละเอียดในการจัดการ
นั้นวาจัดการตามหมายไดหรือไม แลวใหสงบันทึกไปยังศาลท่ีออกหมายโดยเร็วแตตองไมชากวา
๑๕ วัน นับแตวันจัดการตามหมาย ท้ังน้ี เจาของหรือผูครอบครองสถานท่ีตามหมายคนจะรองขอ
ใหศาลออกหลักฐานการตรวจคน พรอมสําเนาบันทึกการตรวจคนและบัญชีทรัพยท่ีไดจากการ
ตรวจคนน้นั ใหก ็ได

ในกรณที ตี่ รวจคน โดยไมม หี มายโดยเจา พนกั งานอน่ื ซง่ึ ไมใ ชพ นกั งานสอบสวน ใหส ง บนั ทกึ
บัญชี และสง่ิ ของไปยงั พนักงานสอบสวน หรอื เจา หนาท่ใี ดซึ่งตองการสงิ่ เหลาน้ัน



¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ ã¹·èÃÕ âË°Ò¹

ñ. การตรวจคนในท่ีรโหฐาน (สถานท่ี) แบงเปน ๒ ประเภท คือ การตรวจคน
โดยมีหมายและการตรวจคน โดยไมตองมหี มาย

ò. หามมิใหคนในที่รโหฐานโดยไมมีหมายคนหรือคําส่ังของศาล ในกรณีท่ีคนได
โดยมีหมาย ซึ่งตองเปน ตาํ รวจทีม่ ียศตั้งแตช น้ั รอ ยตาํ รวจตรีขึ้นไปเทา น้นั

ó. การตรวจคนในท่ีรโหฐานโดยไมตองมีหมายหรือคาํ สั่งของศาล จะตองคนได
เมื่อมเี หตดุ งั ตอไปนี้ (ป.วิ อาญา ม.๙๒)

๓.๑ มีเสียงรองขอใหชวยมาจากขางในที่รโหฐาน หรือมีเสียงหรือพฤติการณ
อื่นใดอนั แสดงไดว ามีเหตุรายเกิดขนึ้ ในที่รโหฐานนัน้

๓.๒ ปรากฏความผดิ ซง่ึ หนากาํ ลงั กระทําลงในทร่ี โหฐาน
๓.๓ บุคคลท่ีไดกระทําความผิดซึ่งหนาขณะที่ถูกไลจับ หนีเขาไป หรือมีเหตุ
อนั แนน แฟน ควรสงสยั วา ไดเขาไปซกุ ซอ นตัวอยใู นท่รี โหฐานนนั้
๓.๔ มีพยานหลักฐานตามสมควรวา สิ่งของที่มีไวเปนความผิดหรือไดมาโดยการ
กระทําผิดหรือไดใชหรือมีไวเพ่ือจะใชในการกระทําความผิด หรืออาจเปนพยานหลักฐานพิสูจน
การกระทําความผิด ไดซอนหรืออยูในนั้น ประกอบทั้งตองมีเหตุอันควรเชื่อวาเน่ืองจากการเนิ่นชา
กวา จะเอาหมายคนมาได สิง่ ของนัน้ อาจถูกโยกยา ยหรอื ทาํ ลายเสยี กอน
๓.๕ ท่รี โหฐานน้นั ผจู ะตองถกู จบั เปนเจา บา น และการจับน้นั มีหมายจบั หรอื ผูจ ับ
มอี าํ นาจจับไดโดยไมตอ งมีหมายจบั ตามทก่ี ฎหมายบัญญตั ไิ ว
ô. การตรวจคนในท่ีรโหฐานตองกระทาํ ระหวางพระอาทิตยข้ึนและตก เวนแตในกรณี
ตอ ไปน้ี จะตอ งคน ในเวลากลางคืนก็ได คอื (ป.วิ อาญา ม.๙๖)
๔.๑ เมื่อลงมอื ตรวจคนแตในเวลากลางวัน ถา ยังไมเ สร็จจะตรวจคนตอ ไปในเวลา
กลางคืนกไ็ ด
๔.๒ “ในกรณีฉุกเฉินอยางยิ่ง” หมายความวา เปนกรณีท่ีจําเปนอยางยิ่งท่ีจะเขา
จัดการในเวลาปจจุบันทันดวน หรือชุลมุนวุนวาย หากเน่ินชาไปยอมจะเสียหายอยางมากตอการ
ดําเนนิ คดหี รอื ความปลอดภยั ของประชาชนหรือของรัฐ เชน
เห็นผูกระทําผิดกําลังกระทําผิดอยูในบานเวลากลางคืน ถาไมจับในขณะกระทําผิด
เชน น้นั กจ็ ะไมเปนการประจักษแจง วาผนู น้ั กระทําความผดิ และพยานหลกั ฐานของกลางก็จะจบั ไมได
หรือไมค รบถว นบริบรู ณ
เห็นคนหลายคนกําลังกระทําผิดอยู หากปลอยใหเนิ่นชาไปโดยไมจับทันที ก็อาจ
จบั ผูกระทาํ ผดิ ไมไ ดเ ลย เพราะปะปนกันอยมู าก พยานหลกั ฐานตางๆ ก็อาจสญู หาย หรอื ถกู ทาํ ลาย

๑๐

หรือเปนการกระทําผิดท่ีมักจะกระทําในเวลากลางคืนและถาไมจับในเวลากลางคืนจะเกิดภยันตราย
แกชีวิต หรือรางกายของบุคคลท่ีตองการคนใหพบตัว หรือบุคคลน้ันอาจจะหลบหนีไป หรือพยาน
หลกั ฐานท่ปี รากฏอยูใ นที่รโหฐานนัน้ อาจถกู ทาํ ลายก็ได

๔.๓ มีกฎหมายอ่ืนบัญญัติใหตรวจคนไดเปนพิเศษ เชน ตามพระราชบัญญัติ
ปองกันและปราบปรามยาเสพติด พ.ศ.๒๕๑๙ มาตรา ๑๔ (๑) และพระราชบัญญัติปองกัน
และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ.๒๕๔๒ มาตรา ๓๘ (๓)

๔.๔ เมื่อไดรับการอนุญาตพิเศษจากศาลตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดใน
ขอบังคับของประธานศาลฎีกาในกรณีเพื่อจับผูดุรายหรือผูรายสําคัญ โดยหัวหนาในการคนตองเปน
นายตํารวจซงึ่ มียศตงั้ แตช ้ันรอยตาํ รวจเอกข้นึ ไป

“ผูดุรายหรือผูรายสําคัญ” คือ ผูกระทําความผิดที่โดยลักษณะของคดีหรือลักษณะ
ของการกระทําเปน ท่กี ระทบกระเทอื นความสงบสุขของประชาชนเปนอยา งมาก

õ. การตรวจคนในท่ีรโหฐานน้ัน จะตรวจคนไดแตเฉพาะเพ่ือหาตัวคนหรือส่ิงของ
ท่ตี อ งการตรวจคนเทา น้นั แตม ีขอยกเวน ดงั น้ี (ป.วิ อาญา ม.๙๘)

๕.๑ ในกรณีท่ีตรวจคนหาส่ิงของโดยไมจํากัดส่ิง เจาพนักงานผูตรวจคนมีอํานาจ
ยึดส่งิ ของใดๆ ซง่ึ นา จะใชเปน พยานหลักฐานเพอ่ื เปนประโยชนห รอื ยนั ผูต องหาหรอื จําเลย

๕.๒ เจาพนักงานซ่ึงทําการตรวจคนมีอํานาจจับบุคคล หรือส่ิงของอ่ืนในท่ี
ตรวจคนนั้นได เมื่อมหี มายอีกตางหาก หรือในกรณีความผดิ ซ่งึ หนา

ö. การตรวจคน ในท่รี โหฐาน เจา พนักงานตอ งปฏิบัตดิ ังนี้ (ป.วิ อาญา ม.๑๐๒)
๖.๑ ตํารวจท่ีจะทําการตรวจคนตองแตงเคร่ืองแบบ เวนแตมีเหตุจําเปน หรือ

เปนขาราชการตํารวจดํารงตําแหนงตั้งแตผูกาํ กับการข้ึนไป จึงไมตองแตงเครื่องแบบ แตตองแสดง
นาม ตาํ แหนงและบัตรประจาํ ตัว

๖.๒ กอนลงมือตรวจคน ใหเจาพนักงานที่จะทําหนาท่ีตรวจคนทุกคนแสดง
ความบริสุทธ์ิเสียกอนแลวจึงลงมือคนตอหนาผูครอบครองสถานท่ีนั้น หรือถาหาบุคคลเชนกลาวน้ัน
ไมไ ด ก็ใหคนตอ หนา บคุ คลอืน่ อยา งนอ ยสองคน ซง่ึ เจาพนกั งานไดข อรอ งมาเปนพยาน เมื่อคนแลว
ใหแ สดงความบริสทุ ธิ์เชน กัน

๖.๓ ตองพยายามมิใหม กี ารเสยี หายและกระจัดกระจายเทา ทจี่ ะทาํ ได
๖.๔ กรณีมีหมายคนใหแจงขอความในหมายแกผูเกี่ยวของทราบแลวบันทึกไว
ในหมาย แตถาคนโดยไมมีหมายคนใหแสดงนามและตําแหนงใหทราบ แลวบันทึกขอความท่ี
แจงไวเ ปนหลกั ฐาน

๑๑

๖.๕ การตรวจคนท่ีอยูหรือสํานักงานของผูตองหาหรือจําเลยซ่ึงถูกควบคุม
หรอื ขงั อยใู หท าํ ตอ หนา ผนู นั้ ถา ผนู นั้ ไมส ามารถหรอื ไมต ดิ ใจมากาํ กบั จะตงั้ ผแู ทนหรอื พยานมากาํ กบั กไ็ ด
ถา ผแู ทนหรอื พยาน ไมม ี ใหตรวจคนตอ หนาบคุ คลในครอบครัว หรอื ตอหนาพยานดงั กลา วใน ๖.๒

÷. ใหเจาพนักงานซ่ึงทําการตรวจคนในที่รโหฐานส่ังเจาของหรือคนที่อยูในนั้น
หรือผูรักษาสถานท่ีซึ่งตรวจคนยอมใหเขาไปโดยมิหวงหาม อีกทั้งใหความสะดวกตามสมควร
ทกุ ประการในอันทีจ่ ะจัดการตรวจคนนัน้

ถาบุคคลดังกลาวขางตนไมยอมใหเขาไป ใหเจาพนักงานช้ีแจงเหตุความจําเปนกอน
ถายังไมยอมอีกเจาพนักงานมีอํานาจใชกําลังเขาไป ในกรณีจําเปนจะเปดหรือทําลายประตูบาน
ประตูเรือน หนาตา ง รั้ว หรอื สิง่ กดี ขวางอยางอ่นื ๆ ทํานองเดียวกนั แตจะทําใหเ สียหายมากเกินกวา
ความจาํ เปนไมไ ด

ø. ในกรณีตรวจคนหาสิ่งของท่ีหาย ถาพอทําได จะใหเจาของหรือผูครอบครอง
ส่งิ ของนนั้ หรือผแู ทนของเขาไปกบั เจาพนกั งานในการตรวจคนนนั้ ดวยก็ได

¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ º¤Ø ¤ÅËÃ×ÍÂÒ¹¾Ò˹Ðã¹·ÊèÕ Ò¸Òóʶҹ

ñ. หา มมใิ หเ จา พนกั งานตรวจคน บคุ คลในทส่ี าธารณสถาน เวน แตเ มอื่ มเี หตอุ นั ควรสงสยั
ตอไปนี้ (ป.วิ อาญา ม.๙๓)

๑.๑ บคุ คลนน้ั ครอบครองส่ิงของท่ีมไี วเ ปนความผดิ เชน ยาเสพติดใหโ ทษ มีวัตถุ
ระเบิด เปน ตน หรอื

๑.๒ บุคคลน้ันไดมาหรือเพื่อจะใชส ิ่งของในการกระทําความผิด เชน มีอาวุธท่ีได
ใชท าํ รา ยหรอื จะนําไปทํารา ยผอู ่นื เปนตน

ò. หามมิใหเจาพนักงานตรวจคนยานพาหนะในท่ีสาธารณสถาน เวนแตเมื่อมีเหตุ
อันควรสงสยั ตอ ไปน้ี

๒.๑ เม่ือพบบุคคลในยานพาหนะโดยบุคคลนั้นมีพฤติการณวาไดกอเหตุราย
และหลบหนมี าหรือนา จะกอเหตุรา ยใหเกิดภยันตรายแกบ ุคคลหรือทรพั ยส นิ ของผูอ ืน่

๒.๒ ในยานพาหนะ มสี งิ่ ของทมี่ ไี วเ ปน ความผดิ หรอื ไดม าโดยการกระทาํ ความผดิ
หรอื ไดใ ชห รือเพ่อื จะใชใ นการกระทาํ ความผิดไดซ อนเรนหรืออยูในนั้น

¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹ã¹à¢μÃ°Ñ ÊÀÒËÃÍ× Ê¶Ò¹·ÕèÃÒª¡ÒÃÍ×¹è

ñ. การตรวจคน ในรฐั สภา ไมว า จะมหี มายคน หรอื ไมก ต็ าม กอ นทาํ การตรวจคน ตาํ รวจ
จะตองดําเนินการสืบสวนรวบรวมพยานหลักฐานใหไดความแนชัดและมีเหตุท่ีจะตรวจคนไดตาม

๑๒

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เม่ือจะเขาทําการตรวจคนใหสารวัตรหัวหนาหนวยงาน
หรอื หวั หนา สถานตี าํ รวจแจง ใหเ ลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎรหรอื เลขาธกิ ารวฒุ สิ ภาแลว แตก รณที ราบกอ น
จึงจะเขาทําการตรวจคนได สวนหัวหนาในการตรวจคนจะตองมีนายตํารวจยศตั้งแตรอยตํารวจตรี
ข้ึนไปเปนผูควบคุมทําการตรวจคน และบันทึกการตรวจคน จับกุมไวในสมุดรายงานประจําวัน
เปนหลักฐานทั้งกอ นและภายหลงั การตรวจคน

ò. การตรวจคนในสถานท่ีราชการนั้น ไมวาจะมีหมายคนหรือไมก็ตาม กอนทําการ
ตรวจคน ตํารวจจะตองดําเนินการสืบสวนรวบรวมพยานหลักฐานใหไดความแนชัดและมีเหตุท่ีจะ
ตรวจคน ไดต ามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา เมอ่ื จะเขา ทาํ การตรวจคน ใหส ารวตั รหวั หนา
หนวยงานหรือหัวหนาสถานีตํารวจ แจงขอความรวมมือไปยังหัวหนาสวนราชการน้ัน เพื่อขอเขา
ทําการตรวจคน กรณีที่มีความจําเปนไมสามารถแจงกอนทําการตรวจคนได ก็ใหรีบแจงโดยเร็วที่สุด
ภายหลังท่ีไดทําการตรวจคนแลว ท้ังนี้เพ่ือปองกันมิใหเกิดความเขาใจผิดอันอาจเกิดผลเสียหายขึ้นได
สว นหวั หนา ในการตรวจคน จะตอ งมนี ายตาํ รวจยศตงั้ แตร อ ยตาํ รวจตรขี น้ึ ไปเปน ผคู วบคมุ ทาํ การตรวจคน
และบันทึกผลการตรวจคนจับกุมไวในสมุดรายงานประจําวันเปนหลักฐาน ท้ังกอนและภายหลัง
การตรวจคน

ó. การตรวจคนสถานท่ีและท่ีรโหฐานอันเปนเขตที่ต้ังทหารหรือของทางราชการทหาร
นอกจากจะตองปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๘ และประมวลกฎหมาย
วธิ พี จิ ารณาความอาญาแลว ใหผ มู อี าํ นาจหนา ทใี่ นการตรวจคน ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี
วาดว ยการปฏบิ ตั ิและประสานงานกรณีทหารถกู หาวากระทําผดิ อาญาดวย

¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹Ã¶ä¿

ñ. การตรวจคนรถไฟ อยาหยุดขบวนจะทําใหเสียเวลา ใหแจงนายสถานี
หรือพนักงานรักษารถหรือพนักงานประจําขบวนรถไฟทราบกอน แตถาขบวนรถนั้นมีตํารวจ
หรือเจาพนักงานของรัฐควบคุมมาท้ังขบวนหรือเฉพาะหลังเปนพิเศษ ใหแจงพนักงานผูควบคุมรถ
น้ันทราบ แทนการแจงพนักงานรถไฟดังกลาวแลว เวนแตเมื่อมีเหตุผลอันควรเช่ือไดวาพนักงาน
รถไฟหรือเจา พนักงานของรฐั ท่คี วบคุมรถน้นั จะมีสว นเก่ยี วขอ งกบั การกระทาํ ผิดอยูด วย กใ็ หทาํ การ
ตรวจคนทันทีโดยไมต องแจง กอ น แตเ ม่ือตรวจคน แลว ตอ งรีบแจง ใหผ ูเ กย่ี วขอ งทราบโดยเร็ว

เจาพนักงานที่จะทําการตรวจคนตองแตงเคร่ืองแบบ เวนแตกรณีจําเปนจึงไมตอง
แตงเคร่ืองแบบ แตตองแสดงนาม ตําแหนงและบัตรประจาํ ตัวถึงความเปนเจาพนักงาน
หรือเปนขาราชการตํารวจดํารงตําแหนงตั้งแตผูกํากับการข้ึนไปและแจงความประสงคในการตรวจคน
ใหผูเกยี่ วขอ งทราบในโอกาสแรกทสี่ ามารถจะกระทําได

๑๓

ò. การตรวจคนสินคาและพัสดุภัณฑ ซึ่งมีวิธีการบรรทุกเปนพิเศษบนขบวนรถไฟ
เพอื่ ปอ งกนั มใิ หเ กดิ ความเสยี หายใหอ ายดั และควบคมุ รถนน้ั ไปทาํ การตรวจคน ณ สถานรี ถไฟปลายทาง

ó. เจาพนักงานที่มีอํานาจหนาที่ตามกฎหมายอ่ืนทําการตรวจคนบนขบวนรถไฟ
ถา เจา พนกั งานนั้นขอความชวยเหลอื ก็ใหเ จา พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจรว มมอื ชว ยเหลอื ดวย

ô เม่ือเจาพนักงานตรวจคนและจะยึดส่ิงของเปนของกลาง ใหนายสถานีช่ังน้ําหนัก
เพอ่ื จะไดเก็บคาระวางเสียกอน

¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ ¢Í§¼´Ô ¡®ËÁÒÂã¹ËÕºËÃÍ× μŒÙࡺç à§¹Ô ËÅǧã¹ÃÐËÇÒ‹ §·Ò§

ñ. หามมิใหเจาพนักงานตรวจคนหีบหรือตูเก็บเงินหลวงในระหวางทาง ซึ่งมีเหตุ
อันควรสงสัยวาจะมีของผิดกฎหมายบรรจุอยูภายในหีบหรือตูเก็บเงินนั้น ใหอายัดและควบคุมไปยัง
คลังหรือท่ีทําการปลายทางพรอมกับผูท่ีควบคุม เพื่อทําการเปดหีบหรือตูเก็บเงินออกแลวตรวจคน
ตอหนาคณะกรรมการเก็บรกั ษาเงินคลงั

ò. ใหนาํ บนั ทึกการตรวจคนตามมาใชโดยอนโุ ลม

¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹¢Í§¼Ô´¡®ËÁÒÂã¹àÃÍ× ÊÔ¹¤ŒÒμ‹Ò§»ÃÐà·ÈáÅÐàÃÍ× ÊÔ¹¤ŒÒªÒ½˜›§

ñ. การตรวจคนของตองหามในเรือสินคาตางประเทศและเรือคาชายฝง เปนหนาที่
ของเจาพนักงานศุลกากรโดยเฉพาะ เวนแตจะมีการกระทําผิดอาญาเกิดข้ึนซึ่งหนาหรือมีผูรองขอ
ความชว ยเหลือ จึงใหตาํ รวจขึน้ ไปดาํ เนินการจบั กุมหรอื ระงบั เหตรุ า ยบนเรอื ได

ตํารวจอาจทําการตรวจคนเรือสินคาตางประเทศเพ่ือจับของหนีภาษีศุลกากรหรือของ
ตอ งหา มตอ งจาํ กดั โดยทาํ การรว มกบั เจา พนกั งานศลุ กากร ฉะนนั้ กอ นลงเรอื ตา งประเทศเพอ่ื ตรวจคน
ใหตาํ รวจตดิ ตอ แจงเหตุตอเจา พนกั งานศลุ กากรกอ น ดังน้ี

๑.๑ ทากรุงเทพฯ ใหแจงแกสารวัตรเวรท่ีกรมศุลกากร ในกรณีที่จําเปนตอง
ปฏิบัติโดยเรงดวน ไมอาจแจงตอสารวัตรเวรไดทัน ก็ใหแจงตอเจาพนักงานศุลกากรประจําเรือที่จะ
ตรวจคนแลว ใหร วมกนั ทําการตรวจคน และตาํ รวจผเู ปนหัวหนา ทาํ การตรวจคน นั้น จะตอ งแจง เหตุที่
ทาํ การตรวจคน ใหก รมศุลกากรทราบในโอกาสแรกท่สี ามารถแจง ได

๑.๒ ทาภูมิภาค ใหแจงนายดาน ในกรณีที่จําเปนตองปฏิบัติโดยเรงดวน ไมอาจ
แจง แกน ายดา นไดท ัน ก็ใหแจงตอ เจาพนกั งานศุลกากรประจาํ เรอื ท่ีจะตรวจคน แลว ใหร วมกันทาํ การ
ตรวจคน และตํารวจผูเปนหัวหนาทําการตรวจคนจะตองแจงเหตุที่ทําการตรวจคนใหนายดานทราบ
ในโอกาสแรกทส่ี ามารถแจงได

ขณะเม่ือเรืออยูนอกเขตทาศุลกากรหรือกําลังเดินทางอยูในทะเล ตํารวจยอมทําการ
ตรวจคนไดตามปกติ

ทั้งนี้ไมเปนการตัดอาํ นาจของตาํ รวจน้ํา ซึ่งไดก าํ หนดอาํ นาจและหนาท่ไี วเ ปน พเิ ศษ

๑๔

¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ ¢Í§ตาํ ÃǨ˹Nj Â͹è× ·èÕÁÔ㪋ตําÃǨà¨ÒŒ ¢Í§·ŒÍ§·èÕ

ñ. ถาตํารวจหนวยอ่ืนจะทําการตรวจคนบุคคลหรือสถานที่ในเขตทองที่ของสถานี
ตํารวจใดหรือในเขตอํานาจของตํารวจซ่ึงปฏิบัติหนาท่ีเฉพาะ เชน ตํารวจรถไฟ ตํารวจน้ํา หรือกรณี
ท่ีทางราชการ จัดใหตํารวจไปปฏิบัติราชการอยางใดอยางหนึ่งหรือรักษาความปลอดภัยบุคคล
หรอื สถานทใ่ี ดเปนพเิ ศษ เปน ตน ใหปฏบิ ตั ิตามลักษณะ ๔ บทท่ี ๒ ขอ ๗ และขอ ๘ โดยอนโุ ลม

ในกรณตี าํ รวจทอ งทหี่ รอื ตาํ รวจหนว ยอน่ื สบื สวนไดข อ เทจ็ จรงิ เกยี่ วกบั ความผดิ ภาษอี ากร
ความผดิ เกยี่ วกบั การเงนิ และการธนาคาร และความผดิ เกยี่ วกบั การคา การพาณชิ ย การคมุ ครองผบู รโิ ภค
และคุณภาพสิ่งแวดลอม ใหมีอํานาจทําการตรวจคนไดแตตองแจงใหตํารวจกองบังคับการสืบสวน
สอบสวนคดเี ศรษฐกิจรว มทําการตรวจคนดวย

ถาตํารวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวนเศรษฐกิจไมมารวมตรวจคนตามท่ีไดแจงไว
หรอื กรณมี คี วามจาํ เปน ไมส ามารถแจง กอ นทาํ การตรวจคน ได กใ็ หด าํ เนนิ การตรวจคน ตามลาํ พงั เฉพาะ
ในคร้ังนั้น เมื่อตรวจคนแลวใหรีบรายงานผลใหกองบังคับการสืบสวนสอบสวนคดีเศรษฐกิจ
และผบู งั คับบญั ชาตามลาํ ดบั ชัน้ ของตนจนถึงผูบัญชาการทราบ

¡ÒÃÍÒÂÑ´¾ÊÑ ´äØ »ÃɳՏ㹻ÃÐà·È

เพื่อใหการรวมมือในการปองกันและปราบปรามผูมีเจตนาหลีกเลี่ยงภาษีศุลกากร
โดยการลักลอบนําเขามาในราชอาณาจักรซึ่งสิ่งของหรือสินคาตองอากรและผิดกฎหมายจาก
ตางประเทศนํามาฝากสงเขาสูทางไปรษณียในประเภทพัสดุไปรษณียในประเทศ ณ ที่ทําการ
ไปรษณียโทรเลข การส่ือสารแหงประเทศไทย และเพ่ือใหการปฏิบัติงานรวมกันของเจาหนาท่ี
การส่ือสารแหงประเทศไทย เจาหนาที่กรมศุลกากร และเจาหนาท่ีสํานักงานตํารวจแหงชาติเปนไป
โดยสะดวกเรียบรอย การสื่อสารแหงประเทศไทย กรมศุลกากร และสํานักงานตํารวจแหงชาติ
จงึ รว มกันทําขอ ตกลงนขี้ ้ึนเพอื่ ถือเปน แนวปฏิบตั ิ ดงั นี้

ñ. ขอตกลงน้ีจัดทําข้ึนเมื่อวันที่ ๒๒ มกราคม ๒๕๒๙ ระหวางการสื่อสารแหง
ประเทศไทยกับกรมศุลกากรและสาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ (และที่แกไ ขเพ่มิ เติมจนถึงปจจบุ นั )

ò. เจาหนาท่ผี มู ีสทิ ธอิ ายัดตองเปนเจาหนาที่ชั้นสญั ญาบตั รขนึ้ ไป
ó. ผูขออายัดตองนําหนังสือขออายัดจากผูบังคับบัญชาตนสังกัดหรือผูทําการแทน
ย่ืนตอหัวหนาที่ทําการหรือเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบของการส่ือสารแหงประเทศไทย ณ ที่ทําการท่ีขอ
อายดั พรอ มแสดงหลักฐานบัตรประจาํ ตวั
ô. หนังสืออายัดใหปรากฏรายละเอียดเก่ียวกับที่ทําการไปรษณียโทรเลขตนทาง
และหรอื รายละเอยี ดอนื่ ๆ เชน เลขหมาย เครอื่ งหมาย จา หนา ลกั ษณะพสั ดไุ ปรษณยี ท ตี่ อ งการอายดั

๑๕

õ. ผูขออายัดตองอายัดหีบหอพัสดุไปรษณียในประเทศที่มีเหตุอันชวนเช่ือไดวา
ส่ิงของภายในเปนส่ิงของตองสงสัยวาจะหลีกเล่ียงภาษีอากร หรือของตองจํากัด หรือของตองหาม
ในการนาํ เขาในราชอาณาจกั ร การอายดั ถงึ ไปรษณยี จะกระทาํ มไิ ด

ö. สถานท่ีขออายัด
(๑) การขออายัดควรกระทํา ณ ที่ทําการไปรษณียโทรเลขตนทางกอนการปดถุง

และสง ตอ ถงุ ไปรษณยี เปนอนั ดับแรก
(๒) หากไมส ามารถปฏบิ ตั ติ ามขอ (๑) ได จงึ ใหข ออายดั ณ ทท่ี าํ การไปรษณยี โ ทรเลข

กลางทางที่ทําหนาท่ีเปดถุงไปรษณียที่ประสงคจะขออายัดน้ัน หรือที่ทําการไปรษณียโทรเลข
ปลายทางตามจาหนาพัสดไุ ปรษณยี น้ันๆ

(๓) ถุงไปรษณียที่อยูในระหวางการขนสงไปยังที่ทําการไปรษณียโทรเลขกลางทาง
หรอื ปลายทางกด็ ี จะขออายดั มไิ ด แตอ นโุ ลมใหผ ขู ออายดั แจง การขออายดั พรอ มแจง รายละเอยี ดถงุ ฯ
จากตนทางใด ถึงปลายทางใด และเลขหมายถุงฯ ใหผูควบคุมการขนสงถุงไปรษณีย เพ่ือแจงให
ที่ทําการไปรษณียโทรเลขกลางทาง หรือปลายทางทราบ จากนั้นใหผูขออายัดไปดําเนินการเกี่ยวกับ
การอายัด ณ ทที่ าํ การไปรษณยี โทรเลขกลางทางหรอื ปลายทางแลวแตก รณี แตท ัง้ น้ีตอ งไมก อใหเ กิด
การกีดขวางหรือความไมส ะดวกตอ การปฏบิ ัตงิ านของเจา หนา ท่ีขนสง ถงุ ไปรษณีย

÷. การขออายัด ณ สถานท่ีตามขอ ๖(๒) ผูขออายดั ตองไปคัดเลอื กหอพสั ดุไปรษณีย
ที่ประสงคจะอายัดในขณะที่เจาหนาท่ีของการส่ือสารแหงประเทศไทยทําการเปดถุงเทานั้น
เม่ือไดหอพัสดุไปรษณียท่ีตองการแลว ใหทําบัญชีรายละเอียดตามตัวอยางท่ีแนบตามขอตกลง
ในขอ ๑ ยืน่ ตอหวั หนา ที่ทาํ การเพือ่ ขอรับไปเปด ตรวจตอ ไป

ø. การเปดตรวจหอพัสดุไปรษณียตามขอ ๗ ตองกระทําโดยเร็วท่ีสุด ผูขออายัด
ตองทําการเปดหอเองโดยมีเจาหนาที่ของการสื่อสารแหงประเทศไทยเปนพยาน หลังจากนั้น
ผูขออายัดตองทําบัญชีรายละเอียดสิ่งของท่ีบรรจุภายในแลวทําการหุมหอใหมโดยใชเจาหนาที่
และอปุ กรณข องผขู ออายดั เองแลว ใหเ จา หนา ทก่ี ารสอ่ื สารแหง ประเทศไทยลงชอ่ื เปน พยานไวใ นบญั ชี

ù. เมื่อเปดตรวจหอพัสดุไปรษณียตามขอ ๘ แลว ปรากฏวาพัสดุไปรษณียหอใด
ทบ่ี รรจสุ งิ่ ของไมต อ งสงสยั ตามขอ ๕ ผขู ออายดั จะตอ งหมุ หอ พสั ดไุ ปรษณยี ด งั กลา วใหมใ หม นั่ คงแขง็ แรง
เพ่ือปองกันมิใหสิ่งของภายในรั่วไหล สูญหายโดยวิธีผูกเชือก ประทับตราตะก่ัว หรือใชกระดาษกาว
หรอื เทปทเ่ี หนยี วหนาปด ผนกึ รอยเปด ใหม น่ั คง ประทบั ตราขอ ความ “เปด ตรวจโดย” (เจา หนา ทศ่ี ลุ กากร
หรือตํารวจแลวแตกรณี) ลงลายมือช่ือผูเปดตรวจพรอมวันเดือนป” บนตัวหอใหคาบกับกระดาษกาว
หรอื เทปแหง เดยี วหรอื หลายแหง ตามความเหมาะสม แลว สง มอบใหเ จา หนา ทสี่ อื่ สารแหง ประเทศไทย
รบั ไปดาํ เนนิ การตอไป

๑๖

พัสดุไปรษณียหอใดท่ีตรวจพบวาสิ่งของภายในเปนส่ิงของตองสงสัยตามขอ ๕ ใหผูขอ
อายดั รบั ไปดาํ เนนิ การตอ ไป โดยทาํ บญั ชรี ายละเอยี ดของพสั ดไุ ปรษณยี แ ตล ะหอ พรอ มลงนามรบั มอบ
แลวมอบใหหัวหนาท่ีทําการที่ขออายัดไวเปนหลักฐาน และถือวาพัสดุไปรษณียดังกลาว
พนความรับผิดชอบของการส่ือสารแหงประเทศไทย ท้ังน้ีผูขออายัดจะตองทําหนังสือแจงผูฝากสง
หรอื ผรู ับแลวแตกรณที ราบถึงกรณีดังกลาวทเ่ี กิดขนึ้ และสําเนาใหก ับทท่ี าํ การทข่ี ออายดั ทราบดวย

ñð. พัสดุไปรษณียตามขอ ๙ วรรคสอง ตองนําไปดําเนินการ ณ สถานที่ทําการของ
ผูขออายัดเอง เวนแตกรณีท่ีจําเปนตองใชสถานท่ีสําหรับเก็บรักษาหอพัสดุไปรษณียไวรอดําเนินการ
เทา นน้ั และตอ งอยใู นความรบั ผดิ ชอบของผขู ออายดั โดยไดร บั อนญุ าตจากหวั หนา ทที่ าํ การทข่ี ออายดั

การขอรับพัสดุไปรษณียตามวรรคหนึ่ง ผูขออายัดตองเปนผูมารับจากเจาหนาที่ของ
การสอ่ื สารแหง ประเทศไทยโดยตรง ทง้ั น้ี การสอ่ื สารแหง ประเทศไทยจะไมจ า ยพสั ดไุ ปรษณยี ด งั กลา ว
ใหแกผ ูอ ่ืนใดนอกเหนอื จากน้เี ปนอันขาด

ññ. พัสดุไปรษณียที่ผูขออายัดรับไปดําเนินการตามกฎหมายแลว และยังมิไดจัดสง
มอบใหแ กผ ฝู ากหรอื ผรู บั หากประสงคจ ะฝากสง เขา สทู างไปรษณยี เ พอื่ ใหก ารสอ่ื สารแหง ประเทศไทย
สงไปนําจายแกผูรับตามจาหนา ผูขออายัดตองหุมหอตามขอ ๙ วรรคหนึ่ง ในกรณีที่
การหุมหอดังกลาวยังมีสภาพที่ไมม่ันคงแข็งแรงพออาจนําหอพัสดุไปรษณียดังกลาวบรรจุลงใน
ถุงพลาสติกท่ีเหนียวหนาพอสมควรและผูกปากถุงหนีบตราตะกั่วอีกชั้นหน่ึง แลวสงมอบพรอม
ทําหนังสอื แจงเหตุผลตอ หัวหนา ที่ทาํ การทข่ี ออายัด

ñò. ขอตกลงฉบับนี้อาจแกไขเปล่ียนแปลงไดหากมีเหตุผลและความจําเปน ท้ังน้ี
โดยความตกลงยนิ ยอมของทง้ั สองฝา ย

ñó. รายละเอียดและวิธีปฏิบัตินอกเหนือจากที่กําหนดไวในขอตกลงน้ี หนวยงานที่
เกีย่ วของอาจแจงเปน หนงั สือตอ กนั เพือ่ ใหก ารปฏิบัติงานเปน ไปโดยเรยี บรอย

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·èÕ ñöðõ/òõôô
สิบตํารวจโท ช. สืบทราบวาบานของจําเลยเปนแหลงลักลอบจําหนายยาเสพติดใหโทษ
ก็ไดใชวิธีซุมดูพฤติการณของจําเลย เม่ือเห็นจําเลยขุดบริเวณแปลงผักและนําสิ่งของใสในหลุมท่ีขุด
แลวกลบไว จึงใชวิทยุสื่อสารเรียกเจาพนักงานตํารวจที่รออยูใหไปที่เกิดเหตุและไดออกมาแสดงตัว
เปนเจาพนักงานตํารวจ เพอื่ ขอตรวจคน เม่อื ใชจ อบขดุ บริเวณท่จี าํ เลยกลบไวก พ็ บเมทแอมเฟตามนี
กรณีดังกลาวถือไดวามีเหตุสงสัยตามสมควรวา ส่ิงของที่ไดมาโดยการกระทําผิดไดซอน
อยูในบริเวณที่เกิดเหตุ ประกอบท้ังมีเหตุอันควรเชื่อวาเนื่องจากการเนิ่นชากวาจะเอาหมายคนมาได
ส่ิงของนั้นจะถกู โยกยา ยเสียกอน
แมสิบตํารวจโท ช. กับพวกเขาคนโดยไมมีหมายคนก็สามารถกระทําไดโดยชอบตาม
ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๒(๔)

๑๗

คํา¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒŮաҷèÕ ÷óø÷/òõôó
ขอยกเวนการคนในท่ีรโหฐานโดยไมตองมีคําส่ังหรือหมายคนของศาลวา “ทั้งน้ีตาม
กฎหมายบัญญัติ” ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฯ มาตรา ๒๓๘ นั้น มิใชจะตองมีการ
ออกกฎหมายบัญญัติใชในภายหลังจากกฎหมายรัฐธรรมนูญมีผลใชบังคับแลวเทานั้นเน่ืองจาก
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยฯ มาตรา ๖ บญั ญตั วิ า รฐั ธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสดุ ของประเทศ
บทบญั ญตั ใิ ดของกฎหมาย กฎ หรอื ขอ บงั คบั ขดั หรอื แยง ตอ รฐั ธรรมนญู น้ี บทบญั ญตั นิ น้ั เปน อนั ใชบ งั คบั
มิได จึงเห็นไดวาบทบัญญัติดังกลาวรับรองใหกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับ ที่มีอยูกอนรัฐธรรมนูญนี้
ใชบ งั คบั ถา โดยเนอื้ หาไมข ดั หรอื แยง ตอ รฐั ธรรมนญู นแ้ี ลว กย็ งั มผี ลใชบ งั คบั ไดต อ ไป ดงั นนั้ บทบญั ญตั ิ
เรือ่ งการคา ในทีร่ โหฐานในกรณมี ีเหตุจําเปนเรง ดวนยอมใชบ งั คับตอ ไปได
กอนการคนบานผูตองหาครัง้ น้ี เจา พนักงานตํารวจไดจ บั กุม ท. พรอ มเมทแอมเฟตามนี
จํานวน ๙๕ เม็ด ในเวลา ๑๖ นาฬกาเศษ การคนในที่รโหฐานตามปกติจะตองกระทําในเวลา
กลางวนั ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๖ ขณะนน้ั เปน เวลาเยน็ ใกลจ ะมดื แลว
ประกอบกับยาเสพติดเปนส่ิงของที่ขนยายหลบหนีไดงายโดยเฉพาะในเวลากลางคืน นอกจากน้ี
สถานีตํารวจอําเภอหางฉัตรมิไดอยูใกลกับศาลชั้นตน การไปขอใหศาลช้ันตนออกหมายคน
ยอมทําใหเนิ่นชา กวาจะเอาหมายคนมาไดเมทแอมเฟตามีนอาจจะถูกโยกยายเสียกอนแลว ดังน้ัน
จึงเขาขอยกเวนใหคนไดโดยไมตองมีหมายคนของศาลตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๙๒(๔)
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·Õè ñðóõ/òõóö
คาํ วา “เจา บา น” ตามบทบญั ญตั ปิ ระมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๙๒ (๕)
หมายความถึงผูเปนหัวหนาของบุคคลท่ีพักอาศัยอยูในบานหลังน้ันและรวมตลอดถึงคูสมรส
ของผูเปนหัวหนาเทาน้ัน เพราะบุคคลดังกลาวเปนผูรับผิดชอบในการครอบครองบานและปกครอง
ผูอ ยูอาศยั ในบา นหลังน้ัน
หาไดรวมถึงผูอยูในบานทุกคนไม ตามทะเบียนบานหลังเกิดเหตุมี บ. บิดาจําเลยเปน
หัวหนามีชื่อจําเลยอยูในฐานะเปนบุตร จําเลยจึงมิไดอยูในฐานะเปนเจาบานตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๒ (๕) การท่ีผูเสียหายกับพวกเขาไปจับกุมจําเลยในบานดังกลาว
ตามหมายจับแตไมมีหมายคน ท้งั ผเู สยี หายกับพวกมใิ ชเ จาพนกั งานตํารวจชั้นผใู หญท จ่ี ะทําการคน ได
โดยไมตองมีหมายคน จึงเปนการจับกุมโดยไมชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๘๑ และเปนการจับกุมโดยไมมีอํานาจ จําเลยจึงชอบท่ีจะปองกันสิทธิของตนใหพนจาก
ภยันตรายอันเกิดจากการจับกุมโดยไมชอบเชนน้ันได หากจําเลยจะชกตอยผูเสียหายจริงก็เปนการ
กระทําเพ่ือปองกันสิทธิของตนพอสมควรแกเหตุ และไมมีความผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงาน
ในการปฏิบตั กิ ารตามหนา ที่และทาํ รายรา งกาย

๑๘

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷèÕ ôôöñ/òõôð
จาสิบตํารวจ ส. และรอยตํารวจเอก ป. จับจําเลยได ขณะท่ีจําเลยกําลังขายวัตถุ
ออกฤทธิ์ใหแกจาสิบตํารวจ ส. ผูลอซื้อ ถือวาเปนความผิดซ่ึงหนา ขณะนั้นธนบัตรที่ใชลอซ้ืออยูที่
จําเลยและจําเลยด้ินรนตอสู ถาปลอยใหเนิ่นชากวาจะนําหมายจับและหมายคนมาได จําเลย
อาจหลบหนีและพยานหลกั ฐานอาจสูญหาย
จึงเปนกรณีฉุกเฉินอยางยิ่ง จาสิบตํารวจ ส. และรอยตํารวจเอก ป. จึงมีอํานาจเขาไป
ในบรเิ วณบา นทเี่ กดิ เหตอุ นั เปน ทร่ี โหฐานในเวลากลางคนื โดยไมต อ งมหี มายคน และมอี าํ นาจจบั จาํ เลย
ซึ่งเปนผูกระทําความผิดไดโดยไมตองมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๘๐, ๘๑ ประกอบมาตรา ๙๒(๒) และมาตรา ๙๖(๒)
คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·èÕ ôùõð/òõôð
ที่จําเลยท่ี ๑ ฎีกาวา ไมไดกระทําความผิดฐานมีอาวุธปนไวในครอบครองโดยไมไดรับ
อนุญาต โดยอางเหตุพยานโจทกท่ีนําสืบมาฟงไมไดวาอาวุธปนที่จําเลยที่ ๑ มีไวใชยิงไดหรือไม
จงึ ฟง ไมไ ดวา เปนอาวุธปนตามกฎหมาย จาํ เลยที่ ๑ จงึ ไมมคี วามผิดนน้ั
ปญ หาวา อาวธุ ปนใชย ิงไดหรอื ไมเปน ฎีกาในขอเทจ็ จรงิ ปญ หาตามท่ีจําเลยที่ ๑ ฎีกาวา
จําเลยท่ี ๑ ไมไดกระทําความผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงานโดยอางเหตุวาขณะที่เจาพนักงาน
เขาตรวจคนและจับกุม พวกลักลอบเลนการพนันนั้น เจาพนักงานตํารวจไมมีหมายคนและหมายจับ
จงึ ไมอ าจตรวจคน และจับกมุ ได จาํ เลยท่ี ๑ ขัดขวางการจบั กมุ ไมเปน ความผิด แมปญหาน้จี าํ เลยที่ ๑
ไมไดยกข้ึนวากลาวในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ แตที่เปนปญหาอันเกี่ยวดวยความสงบเรียบรอย
ศาลฎีกามีอํานาจวินิจฉัยไดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบดวย
มาตรา ๒๒๕
ในขณะเขาตรวจคนและจับกุมผูตองหาลักลอบเลนการพนันเจาพนักงานตํารวจไมมี
หมายคนและหมายจับ แตเห็นวาการเลนการพนันเปนการกระทําผิดซึ่งหนาหากไมเขาตรวจคน
และจับกุมทันทีตามท่ีพลเมืองดีแจง ผูตองหาอาจหลบหนีไปไดเปนกรณีฉุกเฉินอยางย่ิง จึงตรวจคน
ในเวลากลางคนื ไดโ ดยไมต อ งมหี มายคน ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๒(๒)
ประกอบดวยมาตรา ๙๒(๒) การกระทําของเจาพนักงานตํารวจเปนการตรวจคนและจับกุมผูเลน
การพนนั โดยชอบดว ยกฎหมาย
การท่ีจําเลยท่ี ๑ ขัดขวางการจับกุมโดยใชมือดึงผูเลนการพนันใหออกไป จึงมีความผิด
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๓๘ วรรคหน่ึง การปรับบทความผิด
และลงโทษจําเลยที่ ๑ เปนเหตุอยูในสวนลักษณะคดี แมจําเลยท่ี ๒ ไมไดฎีกา ศาลฎีกาก็มีอํานาจ
พิพากษาตลอดถึงจําเลยท่ี ๒ ดวยไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๓
ประกอบมาตรา ๒๒๕

๑๙

คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒŮաҷèÕ ñø÷/òõð÷
การจบั ในทรี่ โหฐาน ในเวลากลางคืนโดยไมม หี มายจับนนั้
เมื่อพฤติการณปรากฏวาความผิดซึ่งหนาซ่ึงจําเลยผูถูกจับไดกระทําแลวหลบหนีเขาไป
เปนเพียงความผิดฐานลหุโทษ ตํารวจผูจับรูจักจําเลยและหลักแหลงของจําเลยมากอนท้ังไมปรากฏ
วาจําเลยจะหลบหนีตอไปเชนนี้ ก็ไมเปนกรณีฉุกเฉินอยางยิ่งตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา มาตรา ๙๖(๒)
จาสบิ ตาํ รวจ สบิ ตาํ รวจโท และพลตาํ รวจจงึ ไมมอี ํานาจเขา ไปจบั การเขาไปจบั โดยไมม ี
อาํ นาจเชน นี้ จําเลยยอ มกระทาํ การปอ งกันไดแ ละเมื่อไมเ กนิ สมควรแกเ หตุ จาํ เลยก็ไมมคี วามผดิ
คํา¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·Õè ÷ðö/òõñö
การบรรยายฟองเกี่ยวแกการกระทําตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๑๕๘(๕) หาไดบัญญัติวา ตองใชถอยคําของกฎหมายไม โจทกจะบรรยายถอยคําอยางใด
พอใหเ ขาใจไดว า จําเลยไดก ระทําการท่ีกฎหมายบัญญตั ิวา เปนความผดิ ก็ใชไ ด
ฟอ งขอใหล งโทษจาํ เลยตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๓๐๙ และ
มาตรา ๒๙๕ โดยโจทกบรรยายฟองวา “จําเลยมีจิตคิดรายเจตนากล่ันแกลงปฏิบัติหนาท่ีโดยมิชอบ
รวมกันจับมือ ขา กระชากและเตะโจทก ใสกุญแจมือโจทกไพลหลังจนโจทกมีบาดแผลและ
ทงั้ ควบคุมโจทกไว ๒ คืน โจทกไ ดรับความเสยี หาย” ขอความดังกลาวเขาใจไดดีแลว วา พฤตกิ ารณท ี่
จําเลยกระทําตอโจทกน้ัน เปนการที่จําเลยไดขมขืนใจใหโจทกตองจํายอมตอการกระทําของจําเลย
โดยทําใหก ลวั วาจะเกดิ อันตรายตอชีวติ รางกาย เสรีภาพของโจทกแ ละการที่จาํ เลยจับมือ ขา กระชาก
และเตะโจทกจนมีบาดแผล ถือไดวาเปนการประทุษรายใหเกิดอันตรายแกกายเพราะการกระทําของ
จาํ เลยเปนการกระทาํ ซ่ึงกฎหมายบัญญัติวา เปนผิด จึงเปน ฟองที่สมบูรณแ ลว
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ มิไดยกเลิกไปเสียทีเดียวเพียงแตถูกแกไข
เพิ่มเติมพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ.๒๕๐๒ มาตรา ๑๓ และยังคง
เปนบทบังคับอยูเชนเดิม แมฟองโจทกอางแตพระราชบัญญัติและมาตราเดิมไมอางกฎหมายที่แกไข
เพิ่มเติมเปนบทลงโทษก็ใชได ถือวาเปนหนาท่ีของศาลตองรูเองศาลยอมมีอํานาจลงโทษตาม
มาตรา ๑๕๗ ที่แกไขได
โจทกไดกระทําผิดซึ่งหนา แตความผิดท่ีโจทกกระทําเปนแตเพียงความผิดฐานลหุโทษ
ฐานฉายภาพยนตรในโรงภาพยนตรเก็บคาดูจากประชาชนโดยไมไดรับอนุญาต จําเลยทุกคนรูจัก
หลักแหลงของโจทกแลว จึงไมเปนเหตุใหถือวาเปนกรณีฉุกเฉินอยางย่ิงตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา มาตรา ๙๖(๒) การท่ีจําเลยท้ังหมดผูเปนเจาพนักงานไปทําการจับกุมโจทก
ในที่รโหฐานในเวลากลางคืน โดยไมมีหมายจึงไมมีอํานาจท่ีจะทําไดตามกฎหมาย โจทกมีสิทธิ
ปองกันการจับกุมได และการท่ีจําเลยทั้งหมดควบคุมโจทกจากโรงภาพยนตรไปสถานีตํารวจ
ถอื ไดว าเปนการหนวงเหนีย่ วโจทกใ หป ราศจากเสรภี าพในรา งกายเชนกัน

๒๐

คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·èÕ ññöô/òõôö
เจา พนกั งานตาํ รวจไดข อความยนิ ยอมจาก น. มารดาจาํ เลยซงึ่ เปน เจา ของบา นทเ่ี กดิ เหตุ
กอนทําการคน แสดงวาการคนกระทําขึ้นโดยอาศัยอํานาจความยินยอมของ น. แมการคน
จะกระทําโดยไมมหี มายคน ทีอ่ อกโดยศาลอนุญาตใหค นได กห็ าไดเ ปน การคน โดยมิชอบไม
นอกจากน้ีกอนท่ีเจาพนักงานตํารวจจะดําเนินการคนไดเห็นจําเลยซึ่งอยูในหองนอน
โยนเมทแอมเฟตามีนออกไปนอกหนาตาง อันเปนกรณีที่เจาพนักงานตํารวจพบจําเลยกําลังกระทํา
ความผดิ ซง่ึ หนา และไดก ระทาํ ลงในทรี่ โหฐาน เจา พนกั งานตาํ รวจยอ มมอี าํ นาจจบั จาํ เลยได โดยไมต อ ง
มีหมายจับหรือหมายคนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘(๑), ๙๒(๒)
เมทแอมเฟตามีนทีเ่ จา พนักงานตํารวจยดึ ไดจ งึ นาํ มารับฟง ประกอบคํารบั สารภาพของจาํ เลยได
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷèÕ ø÷òò/òõõõ
บริเวณท่ีเกิดเหตุอยูบนถนนสุทธาวาส ไมใชหลังซอยโรงถานที่มีอาชญากรรมประเภท
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พระราชบัญญัติอาวุธปนฯ และความผิดเก่ียวกับทรัพยเปนประจํา และ
จําเลยไมมีทาทางเปนพริ ธุ คงเพียงแตน ง่ั โทรศพั ทอ ยู
การทสี่ บิ ตาํ รวจโท ก. และสบิ ตาํ รวจตรี พ. อา งวา เกดิ ความสงสยั ในตวั จาํ เลยจงึ ขอตรวจคน
โดยไมมีเหตุผลสนับสนุนวาเพราะเหตุใด จึงเกิดความสงสัยในตัวจําเลย จึงเปนขอสงสัยท่ีอยูบน
พื้นฐานของความรูสึกเพียงอยางเดียว ถือไมไดวามีเหตุอันควรสงสัยตามกฎหมายตามประมวล
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๓ ท่ีจะทําการตรวจคนได การตรวจคนตัวจําเลยจึงไม
ชอบดวยกฎหมาย จําเลยซ่ึงถูกกระทําโดยไมชอบดวยกฎหมายยอมมีสิทธิโตแยงและตอบโต
เพอ่ื ปอ งกนั สทิ ธขิ องตนตลอดจนเพกิ เฉยไมป ฏบิ ตั ติ ามคาํ สงั่ ใดๆ อนั สบื เนอื่ งจากการปฏบิ ตั ทิ ไี่ มช อบได
จําเลยจึงไมมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๖, มาตรา ๑๓๘ วรรคสอง และ
มาตรา ๓๖๗
คาํ ¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷèÕ óòóñ/òõóñ
เจาพนักงานตํารวจขอตรวจคนรถของจําเลย คร้ังแรกจําเลยไมยอมใหคนเนื่องจาก
เกรงวา ตาํ รวจจะกลน่ั แกลง เพราะเหตทุ เี่ คยมสี าเหตกุ บั ตาํ รวจนน้ั มากอ น ในทส่ี ดุ จาํ เลยยอมใหค น ดงั นี้
เห็นไดวาจําเลยขาดเจตนาตอสูหรือขัดขวางเจาพนักงาน การกระทําของจําเลยจึงไมเปนความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๘
การท่ีจําเลยวาตํารวจจะเอาของผิดกฎหมายใสรถจําเลย ตํารวจจะรุมทํารายจําเลย
ไมแนใจวาเปนตํารวจ ตํารวจแตงเครื่องแบบปลนก็มีเปนการกลาวเพราะเชื่อโดยสุจริตวาจําเลยถูก
ตํารวจกลั่นแกลง เน่ืองจากตํารวจหาเหตุมาหยุดรถและคนรถของจําเลยโดยเฉพาะ การที่จําเลย
กลาวถอยคําเชนนั้นจึงเปนการปกปองตนเอง มิใหตํารวจกระทําการดังกลาว การกระทําของจําเลย
จึงไมเ ปนความผิดฐานดหู มิ่นเจา พนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๖

๒๑

ตํารวจรูจักช่ือและท่ีอยูจําเลยแลวเพราะเคยไปคนบานจําเลยมากอน ไมมีความจําเปน
อยางไรท่ีจะตองถามช่ือและท่ีอยูจําเลยอีก การที่จําเลยมิไดแจงช่ือและท่ีอยูตามที่ตํารวจถาม จึงไม
เปนความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๖๗

คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ñùõô/òõôö
ผูเสียหายที่ ๑ สวมกางเกงขายาวสีกากี สวมเส้ือยืดคอกลมสีขาวเขาไปขอตรวจคนตัว
จําเลยโดยแจงวาเปนเจาพนักงานตํารวจ แตไมไดแตงเครื่องแบบตํารวจหรือแสดงหลักฐานใหเห็นวา
ตนเปนเจาพนักงานตํารวจผูทําการตามหนาที่ กรณีอาจทําใหจําเลยเขาใจผิดไปได แมจําเลยจะตอสู
ชกตอยหรอื ใชมดี แทงผเู สยี หายที่ ๑ เพือ่ ขัดขวางไมใ หผเู สียหายที่ ๑ ตรวจคน และจับกุม จาํ เลยกห็ า
มีความผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงานในการปฏิบัติการตามหนาที่และพยายามฆาเจาพนักงาน
ซึง่ กระทาํ การตามหนาทีไ่ ม
แมในช้ันสอบสวนจําเลยจะใหการรับสารภาพฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงานในการ
ปฏิบัติการตามหนาที่ แตบันทึกคําใหการชั้นสอบสวนเปนเพียงพยานบอกเลาโดยลําพังไมมีนํ้าหนัก
เพียงพอใหร บั ฟง เพอ่ื ลงโทษจาํ เลยได
ศาลช้ันตนกําหนดโทษและลดโทษใหแกจําเลย แตคํานวณโทษไมถูกตองครบถวน
เม่ือโจทกไมอุทธรณและฎีกาในปญหาน้ี ศาลฎีกาจึงไมอาจพิพากษาตามโทษจําคุกท่ีถูกตองได
เพราะเปนการพิพากษาเพิ่มโทษจําเลย ซ่ึงตองหามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๒๑๒

๒๒

º¹Ñ ·Ö¡¡ÒÃμÃǨ¤¹Œ

เขยี นท่ี......................................................
วนั ท่ี............เดอื น.............................พ.ศ. ...................
บันทึกน้แี สดงวา วันน้.ี ..................................................เวลา.......................................น. พนกั งานเจาหนา ท่ี
ประกอบดว ย...........................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
ไดม าขอทาํ การตรวจคน บา นเลขท.ี่ ....................ถนน.............................................แขวง/ตาํ บล..............................................
เขต/อําเภอ.......................................จงั หวัด.......................................โดยมี (นาย/นาง/นางสาว)..........................................
เปนเจาของบา นหรือผูดูแลแทนเจาของบาน เน่อื งจาก.........................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................พนกั งานเจา หนาที่ชุดดังกลาวไดพ บ
(นาย/นาง/นางสาว)..........................................................................ซง่ึ เปน ..........................................................................
พนกั งานเจา หนา ทไ่ี ดแ สดงตวั และชแี้ จงวตั ถปุ ระสงคต อ (นาย/นาง/นางสาว)..........................................................................
เขาใจในวัตถุประสงคของพนักงานเจาหนาท่ีแลว จึงเปนผูนาํ ทําการตรวจคน ซึ่งกอนลงมือทําการตรวจคน พนักงาน
เจา หนา ทที่ กุ คนไดแ สดงความบรสิ ทุ ธใิ์ ห (นาย/นาง/นางสาว)...................................................................................................
ดเู ปน ท่พี อใจแลว จึงเรมิ่ ทําการตรวจคน
ผลการตรวจคน ปรากฏวา .............................................................................................................................
.............................................................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................................................
เสรจ็ สนิ้ การตรวจคน เวลา........................................................น. หลงั การตรวจคน พนกั งานเจา หนา ทไ่ี ดแ สดง
ความบริสุทธ์ใิ ห (นาย/นาง/นางสาว)......................................................................................ดูจนเปนทน่ี า พอใจอกี ครงั้ หนง่ึ
อน่ึง ในการตรวจคนครั้งน้ี พนักงานเจาหนาที่ไดปฏิบัติอยางสุภาพ มิไดทาํ การขูเข็ญ บังคับ หรือกระทํา
ประการหนึ่งประการใดอันเปนการประทุษรายแกกายหรือจิตใจตอผูหน่ึงผูใด อีกทั้งมิไดทาํ ใหทรัพยสินอื่นใดเสียหาย สูญหาย
เสื่อมคา หรอื ไรป ระโยชนแ ตป ระการใด
ไดอานบันทึกน้ีให (นาย/นาง/นางสาว)................................................................................ฟงแลวรับวา
เขาใจขอความในบันทกึ นด้ี ีและถกู ตองเปน ความจริงทุกประการ จงึ ลงลายมอื ชอื่ ไวเปนหลักฐาน

(ลงช่ือ)................................เจา บา นหรือผูดแู ลแทนเจา บา น (ลงช่อื )......................................พนักงานเจาหนาทผี่ ูตรวจคน
(............................) (.................................)

(ลงชอ่ื )................................พนกั งานเจา หนา ทผี่ ตู รวจคน (ลงชอ่ื )....................................พนกั งานเจา หนา ท/่ี บันทกึ /อา น
(............................) (................................)

(Ê õö - òù)

๒๓

ป.จ.ว.ขอ .................เวลา..................น.
คดที ี.่ ...................................................

º¹Ñ ·Ö¡¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹â´ÂäÁ‹ÁÕËÁÒ¤¹Œ μÒÁบัญ»ช.ีขÇอÔ.งÍกÒลÞางÒลําÁดบั.ùท.ี่ò...(..ô...).................

สถานทบี่ นั ทกึ ...................................................................................................................................
วัน/เดือน/ป ที่บนั ทกึ ......................................................................................................................
วนั /เดอื น/ป ทต่ี รวจคน ....................................................................................................................
สถานทตี่ รวจคน ..............................................................................................................................
นามเจาพนักงานตํารวจที่ทําการจับกุม (ระบุยศ ชื่อ นามสกุล ตําแหนง สังกัด ของเจาพนักงาน
ตาํ รวจทที่ าํ การจบั กมุ ทกุ คน)..............................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
ไดรวมกันตรวจคนสถานที่ดังกลาวขางตน เนื่องจากมีพยานหลักฐานตามสมควรวาทรัพยท่ีมีไวเปน
ความผิด หรือไดมาโดยการกระทําความผิด หรือไดใชหรือมีไวเพื่อจะใชในการกระทําความผิด หรือ
อาจใชเปนพยานหลักฐานพิสูจนการกระทําความผิด ไดซอนอยูหรืออยูในน้ัน และมีเหตุอันควร
เชอื่ วาหากเน่ินชา กวาจะเอาหมายคนมาได ทรัพยนัน้ จะถูกโยกยายหรอื ทําลายเสยี กอน โดยมี (ระบุ
ช่ือ นามสกลุ อายุ ทอ่ี ยูของผคู รอบครองหรือผูนาํ การตรวจคน)
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
ผลการตรวจคนปรากฏวา (พบหรือไมพบทรัพยตามเหตุที่เขาตรวจคนโดยไมมีหมายคน ถาพบ
ใหระบุวาพบทรัพยตามเหตุท่ีเขาตรวจคน ซ่ึงมีรายละเอียดตามบัญชีทรัพยท่ีแนบทายบันทึกการ
ตรวจคน )...........................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
เสร็จสนิ้ การตรวจคน เวลา.....................................................น.

อน่ึงในการตรวจคนครั้งน้ี เจาพนักงานตํารวจผูตรวจคนมิไดทําใหทรัพยสินของผูใด
เสียหาย สูญหาย หรือเส่ือมคาแตประการใด และมิไดเอาทรัพยสินของผูหนึ่งผูใดมาเปนประโยชน
ของตนเองแตอยา งใด

ไดอานบันทึกนี้ใหผูนําการตรวจคนฟงแลว รับวาถูกตองและไดมอบสําเนาบันทึก
การตรวจคนกับบัญชที รัพย (ถามี) ใหผ นู าํ การตรวจคน ไวแลว จงึ ใหลงช่อื ไวเปน หลกั ฐาน

(ลงชอื่ ).......................................................เจาบา นหรอื ผคู รอบครอง/ผูนําการตรวจคน
(ลงชือ่ )...................................................ผูตรวจคน/บันทึก/อาน
ตาํ แหนง ..................................................
(ลงช่อื )...................................................ผูต รวจคน
(ลงชอื่ )...................................................ผตู รวจคน
(ลงชือ่ )...................................................ผตู รวจคน

(Ê õö - óñ) ไดร ับสาํ เนาบันทึกการตรวจคน น้ีไวแลว
(ลงชอ่ื ).................................เจาบา นหรือผคู รอบครองสถานที่

(.................................)
.........../........../..........

๒๔

ºÑÞªÕ·Ã¾Ñ Â»ÃСͺº¹Ñ ·¡Ö ¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹
â´ÂäÁ‹ÁÕËÁÒ¤Œ¹ μÒÁ ».ÇÔ.ÍÒÞÒ Á.ùò(ô)

ÅÒí ´ºÑ ÃÒ¡ÒÃ·Ã¾Ñ ÂÊÔ¹ ¨íҹǹ/¹Òéí ˹¡Ñ ÃÒ¤Ò ÊÀÒ¾/μÒí Ë¹Ô ¨´Ø ·¾èÕ º ËÁÒÂàËμØ

ขาฯ ขอรับรองวาทรัพยตามรายการดังกลาวขางตน เปนทรัพยท่ีผูตรวจคนพบ
และยดึ ไวต ามบนั ทกึ การตรวจคน จริง

อานใหฟงแลว รับวาถกู ตอ ง จงึ ใหลงชอ่ื ไวเ ปนหลกั ฐาน
(ลงช่อื )...................................................ผคู รอบครอง/ผูนาํ การตรวจคน
(ลงช่ือ)...................................................ผูต รวจคน/บันทกึ /อา น
(ลงชอ่ื )...................................................ผูตรวจคน

ไดร ับสาํ เนาบนั ทกึ การตรวจคนน้ีไวแ ลว
(ลงชอ่ื ).................................เจา บา นหรอื ผคู รอบครองสถานที่

(.................................)
.........../........../..........

(Ê õö - óò)

๒๕

ÊÃØ»

ในการตรวจคน พงึ ตระหนกั วา บคุ คลยอ มมเี สรภี าพในรา งกายและเคหสถาน การตรวจคน
ไมวา กรณีใดๆ จะกระทาํ มไิ ด เวนแต โดยอาศยั อาํ นาจตามบทบัญญตั แิ หง กฎหมายในการตรวจคน

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹

๑. ผสู อนและผูเรียนชว ยกนั สรุปเน้ือหา
๒. ใหผูเรียนอธิบายข้ันตอนการตรวจคนบุคคล และ/หรือยานพาหนะในท่ี
สาธารณสถาน

ÍÒŒ §ÍÔ§

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๖๐) คมู อื ตาํ รวจหลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ. กรงุ เทพฯ.
โรงพมิ พตาํ รวจ

สํานักพิมพสูตรไพศาล.(๒๕๕๖) ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี. กรุงเทพฯ.
โรงพิมพส ํานักพิมพส ูตรไพศาล

๒๗

º··èÕ ó

¡ÒèѺ¡ØÁáÅСÒäǺ¤ØÁ

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃÐจําº·

ผเู รยี นมคี วามรแู ละสามารถอธบิ ายเกย่ี วกบั การจบั กมุ และการควบคมุ ในหนา ทขี่ องตาํ รวจ
ตามระเบียบการตาํ รวจเก่ยี วกบั คดี

โดยหลักแลว บุคคลยอมมีสิทธิในความมีเสรีภาพ และความม่ันคงปลอดภัยของตน
และเสรีภาพในการเคลื่อนยาย จะตองไมถูกจับกุมหรือคุมขังโดยพลการ เวนแตเปนไปตามกฎหมาย
บัญญัติ

¡ÒèºÑ ¡ÁØ

ñ. บุคคลยอมมีเสรีภาพในรางกาย การจับกุมตัวบุคคล หรือการกระทําใดอันกระทบ
ตอ สทิ ธเิ สรภี าพบคุ คลไมว า กรณใี ดๆ จะกระทาํ มไิ ด เวน แตโ ดยอาศยั อาํ นาจตามบญั ญตั แิ หง กฎหมาย

กอนที่จะจับบุคคลใด ตํารวจจะตองสืบสวนสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานช้ันตน
ใหไ ดความเปน ทแี่ นช ดั เพียงพอตามสมควรวาผนู ้ันนา จะไดก ระทาํ ความผิดตามขอกลา วหาเสียกอ น

ในคดอี าญา การจับและคุมขงั บคุ คลใดจะกระทํามไิ ดเวน แตม ีคาํ สงั่ หรือหมายของศาล
ò. การจับ คือ การท่ีตํารวจใชอํานาจตามกฎหมายจับบุคคลใดซึ่งถูกกลาวหาวา
กระทําความผิดหรือไดกระทําความผิดซึ่งหนา หรือจับตามหมายจับเพื่อนําตัวผูถูกจับไปดําเนินคดี
ตามกฎหมาย
ó. ตํารวจจะจับผูใดโดยไมมีหมายจับ หรือคําส่ังของศาลน้ันไมได เวนแตในกรณี
ดังตอ ไปนี้ (ป.วิ อาญา ม.๗๘)

๓.๑ เม่ือบุคคลนั้นไดกระทําความผิดซึ่งหนาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา

๓.๒ เมื่อพบบุคคลโดยมีพฤติการณอันควรสงสัยวาผูนั้นนาจะกอเหตุราย ใหเกิด
ภยันตรายแกบุคคล หรือทรัพยสินของผูอ่ืนโดยมีเคร่ืองมือ อาวุธ หรือวัตถุอยางอื่นอันสามารถ
อาจใชใ นการกระทําความผิด

๓.๓ เมอ่ื มเี หตทุ จี่ ะออกหมายจบั บคุ คลนน้ั โดยมหี ลกั ฐานตามสมควรวา บคุ คลนน้ั
นาจะไดก ระทําผิดอาญา และมีเหตุอนั ควรเชอ่ื วาจะหลบหนี หรือไปยงุ เหยิงกบั พยานหลักฐาน หรอื
กอ เหตุอันตรายประการอืน่ แตมีความจาํ เปนเรง ดวนทไ่ี มอาจขอใหศาลออกหมายจับบุคคลน้นั ๑

๑ เพิ่มเติมโดยพระราชบญั ญตั ิแกไ ขเพิ่มเตมิ ประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา (ฉบบั ที่ ๒๒) พ.ศ.๒๕๔๗ มาตรา ๑๑๗

๒๘

๓.๔ เม่ือผูตองหาหรือจําเลยหนีหรือจะหลบหนี ใหพนักงานฝายปกครอง
หรือตํารวจที่พบการกระทําดังกลาว มีอํานาจจับผูตองหาหรือจําเลยน้ันได แตในกรณีท่ีบุคคล
ซ่ึงทําสัญญาประกันหรือเปนหลักประกันเปนผูพบเห็นการกระทําดังกลาว อาจขอใหพนักงาน
ฝายปกครองหรือตํารวจท่ีใกลท่ีสุดจับผูตองหาหรือจําเลยได และใหเจาพนักงานนั้นรีบจัดสง
ผูตองหาหรือจําเลยไปยังเจาพนักงานหรือศาล โดยคิดคาพาหนะจากบุคคลซึ่งทําสัญญาประกัน
หรอื เปนหลักประกนั น้นั ได๑

๓.๕ ถา บคุ คลทถี่ กู จบั ตามหมายหลบหนหี รอื มผี ชู ว ยใหห นไี ปได เจา พนกั งานผจู บั
มอี าํ นาจตดิ ตามจับกุมผูน้นั โดยไมตองมีหมายอกี

ô. ความผิดซึ่งหนา ไดแก ความผิดซ่ึงเห็นกาํ ลังกระทํา หรือพบในอาการใดซึ่งแทบจะ
ไมมีความสงสยั เลยวา เขาไดกระทําผดิ มาแลวสดๆ (ป.วิ อาญา ม.๘๐)

อยา งไรกด็ ี ความผดิ อาญาดงั ระบไุ วใ นบญั ชที า ยประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
และตามบญั ชที แี่ นบทายบทนี้ ใหถือวา ความผิดน้นั เปน ความผิดซง่ึ หนาในกรณี ดังน้ี

๔.๑ เมื่อบุคคลหนงึ่ ถูกไลจ ับดงั่ ผกู ระทําโดยมีเสียงรองเอะอะ
๔.๒ เม่ือพบบุคคลหน่ึงแทบจะทันทีทันใดหลังจากกระทําผิดในถ่ินแถว
ใกลเคียงกับที่เกิดเหตุนั้น และมีสิ่งของท่ีไดมาจากการกระทําผิดหรือมีเครื่องมือ อาวุธ หรือวัตถุ
อยางอ่ืนอันสันนิษฐานไดวาไดใชในการกระทําผิด หรือมีรองรอยพิรุธเห็นประจักษที่เส้ือผา
หรือเนือ้ ตวั ของผนู น้ั
õ. ตํารวจมีอํานาจทําการจับกุมไดท่ัวราชอาณาจักร แมนอกเขตพื้นท่ีหรือทองที่
ท่ีรบั ผดิ ชอบ ทงั้ น้ี ใหค ํานงึ ถงึ อํานาจหนา ที่ตามท่กี ฎหมาย ระบียบหรือคําส่ังไดกําหนดไวด ว ย
ö. เจาพนักงานผูจัดการตามหมายจับจะขอความชวยเหลือจากบุคคลใกลเคียง
เพ่ือจัดการตามหมายนน้ั กไ็ ด แตจ ะบงั คับใหผ ูใดชวยโดยอาจเกิดอนั ตรายแกเขาน้ันไมไ ด

๑ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแกไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ๒๒) พ.ศ.๒๕๔๗
มาตรา ๕๕/๑

๒๙

ºÑÞªáÕ ¹º·ŒÒ»ÃÐÁÇÅ¡®ËÁÒÂÇ¸Ô Õ¾Ô¨ÒóҤÇÒÁÍÒÞÒ
¤ÇÒÁ¼Ô´ã¹»ÃÐÁÇÅÍÒÞÒà·ÂÕ º¡®ËÁÒÂÅѡɳÐÍÒÞÒ·ÕèÁÒμÃÒ ÷ù ÍÒŒ §¶Ö§

«§èÖ ÃÒÉ®ÃÁÕอาํ ¹Ò¨¨Ñºä´âŒ ´ÂäÁμ‹ ŒÍ§ÁËÕ ÁÒÂ

ความผิดตอองคพระมหากษัตริย พระราชินี รัชทายาท มาตรา ๑๐๗ ถึงมาตรา ๑๑๒
และผูสาํ เร็จราชการแทนพระองค

ความผดิ ตอ ความมัน่ คงของรฐั ภายในราชอาณาจกั ร มาตรา ๑๑๓ ถึงมาตรา ๑๑๘

ความผดิ ตอ ความม่นั คงของรัฐภายนอกราชอาณาจักร มาตรา ๑๑๙ ถึงมาตรา ๑๒๙

ความผดิ ตอ สมั พันธไมตรีกบั ตางประเทศ มาตรา ๑๓๐ ถึงมาตรา ๑๓๕

ความผิดตอเจา พนกั งาน มาตรา ๑๓๘ ถงึ มาตรา ๑๔๒ และมาตรา ๑๔๕

ความผิดตอเจา พนักงานในการยุตธิ รรม มาตรา ๑๙๐ และมาตรา ๑๙๑

ความผิดเก่ยี วกบั ศาสนา มาตรา ๒๐๖ และมาตรา ๒๐๗

ความผดิ เกยี่ วกับความสงบสุขของประชาชน มาตรา ๒๑๕ และมาตรา ๒๑๖

ความผดิ เก่ียวกับการกอ ใหเ กดิ ภยันตรายตอ ประชาชน มาตรา ๒๑๗ ถงึ มาตรา ๒๒๔ มาตรา ๒๒๖
มาตรา ๒๒๙ ถงึ มาตรา ๒๓๒ มาตรา ๒๓๕
และมาตรา ๒๓๗

ความผดิ เก่ียวกับเงินตรา มาตรา ๒๔๐ ถงึ มาตรา ๒๔๗ และมาตรา ๒๔๙

ความผดิ เก่ียวกับเพศ มาตรา ๒๗๖ ถงึ มาตรา ๒๘๐ มาตรา ๒๘๒
ถึงมาตรา ๒๘๕

ความผิดตอชวี ติ มาตรา ๒๘๘ ถงึ มาตรา ๒๙๐

ความผดิ ตอรา งกาย มาตรา ๒๙๕ ถงึ มาตรา ๒๙๘

ความผดิ ตอ เสรีภาพ มาตรา ๓๐๙ ถึงมาตรา ๓๑๐ ทวิ

ความผดิ ฐานลักทรัพยและว่งิ ราวทรัพย มาตรา ๓๓๔ ถึงมาตรา ๓๓๖ ทวิ

ความผดิ ฐานกรรโชก รดี เอาทรัพย ชิงทรัพยและปลนทรพั ย มาตรา ๓๓๗ ถึงมาตรา ๓๔๐ ตรี

(คด.๓-๐๑๐๔/๒๕๔๐)

๓๐

ÇÔ¸Õ¡ÒèºÑ

ñ. ในกรณที เี่ จา พนกั งานเปน ผจู บั ตอ งแจง ขอ กลา วหาใหผ ถู กู จบั ทราบ หากมหี มายจบั
ใหแสดงตอผูถูกจับ พรอมท้ังแจงดวยวา ผูถูกจับมีสิทธิท่ีจะไมใหการหรือใหการก็ไดและถอยคํา
ของผูถูกจับนั้น อาจใชเปนพยานหลักฐานในการพิจารณาคดีได และผูถูกจับมีสิทธิท่ีจะพบ
และปรึกษาทนายความ หรือผูซ่ึงจะเปนทนายความ ถาผูถูกจับประสงคจะแจงใหญาติหรือ
ผูซ่ึงตนไววางใจทราบถึงการจับกุมที่สามารถดําเนินการไดโดยสะดวก และไมเปนการขัดขวางการจับ
หรือการควบคุมผูถูกจับ หรือทําใหเกิดความไมปลอดภัยแกบุคคลหนึ่งบุคคลใด ก็ใหเจาพนักงาน
อนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควรแกกรณี ในการน้ีใหเจาพนักงานผูจับน้ัน บันทึกการจับ
ดังกลา วไวด วย

ถา บคุ คลซง่ึ จะถกู จบั ขดั ขวางหรอื จะขดั ขวางการจบั หรอื หลบหนี หรอื พยายามจะหลบหนี
ผูจ บั มอี าํ นาจใชวธิ หี รือความปองกันทั้งหลายเทาท่เี หมาะแกพ ฤติการณแหงเรื่องในการจบั ผูน ั้น

โดยทปี่ รากฏวา ตาํ รวจบางคนไดส งั่ ใหบ คุ คลใดไปยงั สถานตี าํ รวจหรอื ทที่ าํ การพรอ มดว ย
ผูส่ังซึ่งตามพฤติการณในขณะนั้นบุคคลนั้นไมมีทางโตแยงหรือขัดขืนคําส่ังได จึงมีลักษณะเปนการจับ
แตตํารวจผูสั่งอางวาเปนการเชิญตัวไมใชเปนการจับโดยไมไดแจงขอหาแกบุคคลน้ันวาเขาตองถูกจับ
ท้ังๆ ที่ตามพฤติการณมีลักษณะเปนการจับ ซึ่งอาจทาํ ใหบุคคลน้ันขาดเสรีภาพไดและอาจขัดตอ
บทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู ฉะนนั้ ตาํ รวจจงึ ตอ งระมดั ระวงั การปฏบิ ตั ใิ นเรอื่ งวธิ กี ารจบั นใ้ี หถ กู ตอ งตาม
กฎหมาย (ป.วิ อาญา ม.๘๓ และ ม.๘๔)

ò. ภายใตบังคับแหงบทบัญญัติท้ังหลายในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
วาดวยการจับและคน เจาพนักงานผูจัดการตามหมายน้ันตองแจงขอความในหมายใหแกผูเกี่ยวของ
ทราบและถา มคี ําขอรอ งใหส งหมายนั้นใหเ ขาตรวจดู

การแจงขอความในหมาย การสงหมายใหตรวจดู และวันเดือนปท่ีจัดการ ใหบันทึกไว
บนั ทกึ การจบั กุมใหทาํ ตามแบบทายบทน้ี

ó. ตาํ รวจผจู บั ตองเอาตัวผูถูกจับไปยงั ท่ที ําการของตาํ รวจโดยทนั ที หามนํา แวะเวยี น
ไปทอ่ี ื่น

ในกรณีมีผูนําผูถูกจับมาสงน้ัน ตํารวจจะควบคุมผูถูกจับหรือปลอยช่ัวคราวไปตาม
ระเบยี บกไ็ ดเ มอื่ เปนกรณีจับโดยมีหมายกใ็ หจัดการสง ผถู กู จบั ไปใหโดยเรว็

ถาราษฎรเปนผูจับ ใหตํารวจผูรับตัวบันทึก ชื่อ อาชีพ ท่ีอยูของผูจับ อีกท้ังขอเท็จจริง
และรายละเอียดท่เี กย่ี วกับการจบั นั้นไว แลวใหผ ูจับลงลายมอื ชอ่ื ไวเ ปน สําคญั ตามแบบทายบทน้ี

ในกรณีจําเปน ใหตํารวจหรือผูจับ จัดการใหผูถูกจับไดรับการรักษาพยาบาลเสียกอน
นาํ ตวั ไปสงตามขอ นี้ก็ได

๓๑

ô. ใหตํารวจซ่ึงรับมอบตัวผูถูกจับหรือผูตองหา แจงใหผูถูกจับ หรือผูตองหาทราบ
ในโอกาสแรกวา ผถู กู จบั หรอื ผูตอ งหา มสี ทิ ธิตามกฎหมายดังตอ ไปนี้

๔.๑ พบและปรกึ ษาผทู จี่ ะเปน ทนายความเปน การเฉพาะตัว
๔.๒ ใหท นายความหรอื ผซู งึ่ ตนไวว างใจเขา ฟง การสอบปากคาํ ตนไดใ นชนั้ สอบสวน
๔.๓ ไดร ับการเยีย่ มหรอื ตดิ ตอ กับญาตไิ ดต ามสมควร
๔.๔ ไดรับการรกั ษาพยาบาลโดยเรว็ เมื่อเกิดการเจ็บปวย
ท้ังนี้ใหบันทึกการแจงสิทธิดังกลาวใหบันทึกไวในรายงานประจําวันเกี่ยวกับคดี
ขอเดียวกับบันทึกรายงานประจําวันเกี่ยวกับคดีขอรับตัวผูถูกจับหรือผูตองหาไวควบคุม โดยไมตอง
บนั ทกึ การแจง สทิ ธดิ งั กลา วไวใ นบนั ทกึ คาํ ใหก ารและไมต อ งจดั ทาํ บนั ทกึ การแจง สทิ ธอิ กี ตาม ป.วอิ าญา
มาตรา ๘๓
อนง่ึ ถา ผถู กู จบั หรอื ผตู อ งหารอ งขอ ตอ งแจง ใหญ าติ หรอื บคุ คลอนื่ ไดท ราบเทา ทจี่ ะทาํ ได
ในกรณีชาวตางชาติถูกจับกุม หรือเสียชีวิตใหแจงสถานทูตหรือสถานกงสุลของสัญชาติ
บคุ คลนน้ั ทราบดว ยโดยเรว็ หากไมม สี ถานทตู หรอื สถานกงสลุ นน้ั ๆ ใหแ จง กระทรวงตา งประเทศทราบ
õ. เมื่อตํารวจไดจัดการตามหมายจับแลว ใหบันทึกรายละเอียดในการจัดการนั้น
ถา จดั การตามหมายไมไ ด ใหบ นั ทกึ พฤตกิ ารณไ ว แลว ใหส ง บนั ทกึ นนั้ ไปยงั เจา หนา ทผี่ อู อกหมายโดยเรว็
ö. เจาพนักงานผูจับหรือรับตัวผูถูกจับไวมีอํานาจคนตัวผูตองหา และยึดส่ิงของตางๆ
ทอี่ าจใชเปนพยานหลกั ฐานได (ป.วิ อาญา ม.๘๕)
การคน นัน้ จักตอ งทําโดยสภุ าพ ถาคนผหู ญงิ ตอ งใหผ หู ญงิ เปน ผคู น
สง่ิ ของใดทยี่ ดึ ไว พนกั งานสอบสวนมอี าํ นาจยดึ ไวจ นกวา คดถี งึ ทสี่ ดุ เมอื่ เสรจ็ คดแี ลว ใหค นื
แกผูต องหา หรือผูอ ่นื ซ่งึ มีสทิ ธเิ รยี กรอ งขอคนื สง่ิ ของน้นั ตามกฎหมายวา ดวยการนนั้ เวน แตศาลจะสั่ง
เปน อยา งอ่ืน
÷. ในกรณีตํารวจหนวยอื่นนอกจากตํารวจทองท่ี จะทําการจับกุมผูกระทําผิด
ในเขตทองที่ของสถานีตํารวจใด จะตองแจงใหตํารวจเจาของทองท่ีท่ีจะทําการจับกุมนั้นทราบ
ลว งหนา กอ น ถา ไมส ามารถจะแจง ใหท ราบลว งหนา ได ใหร บี แจง ในขณะเขา ทาํ การจบั กมุ ถา ไมส ามารถแจง
ในขณะนน้ั ได กใ็ หรีบแจงโดยเร็วทส่ี ุดหลงั จากท่ไี ดท าํ การจบั กมุ แลว เวน แตเ ปน การจับกุม ผกู ระทําผดิ
ซึ่งหนาและใหลงบันทึกประจําวันพรอมลงลายมือชื่อ ณ สถานีตํารวจเจาของทองที่เปนหลักฐาน
ทงั้ นีเ้ พอ่ื ปองกันมใิ หเ กดิ ความเขา ใจผดิ อันอาจเปนผลรา ยข้ึนได
ø. เมื่อตํารวจหนวยอื่นจะเขาไปจับกุมผูกระทําผิดในเขตพ้ืนที่หรือทองท่ีรับผิดชอบ
ของตาํ รวจโดยเฉพาะ เชน ตาํ รวจนา้ํ หรอื ตาํ รวจรถไฟ ตอ งปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การแจง เชน เดยี วกบั ในขอ ๗
กรณีท่ีทางราชการจัดใหตํารวจไปปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใด หรือรักษาความ
ปลอดภัยบุคคลหรือสถานท่ีใดเปนพิเศษ ไมวาจะเปนการประจําหรือชั่วคราวก็ตาม ใหตํารวจ
หนว ยอืน่ ท่จี ะไปทําการจบั กมุ แจงใหต ํารวจนัน้ ทราบเชน เดยี วกบั ในขอ ๗

๓๒

ป.จ.ว.ขอ .................เวลา..................น.
คดีที่....................................................

º¹Ñ ·¡Ö ¡ÒèºÑ ¡ØÁบญั ชขี องกลางลาํ ดบั ท่ี..........................

สถานทบี่ นั ทกึ ....................................................................................................................................
วนั /เดอื น/ป ทบ่ี นั ทกึ .......................................................................................................................
วนั /เดอื น/ป ทจ่ี บั กมุ ............................................................................................................................
สถานทจ่ี บั กมุ ท.ี่ .........................................................บา นเลขท.่ี ............................หม.ู .....................
ตรอก/ซอย................................แขวง/ตาํ บล....................................เขต/อาํ เภอ..................................
จงั หวดั นามเจา พนกั งานตาํ รวจทท่ี าํ การจบั กมุ (ระบยุ ศ ชอื่ นามสกลุ ตาํ แหนง สงั กดั ของเจา พนกั งาน
ตาํ รวจทท่ี าํ การจบั กมุ ทกุ คน)..............................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
ไดร ว มกนั จบั กมุ ตวั ............................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
พรอ มดว ยของกลางม.ี .......................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
(Ê õö - ò÷)

๓๓

(๒)
ตาํ แหนง ทพ่ี บของกลาง......................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
โดยกลา วหาวา ..................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
พรอ มท้งั แจง ใหผ ูถกู จับทราบดวยวา

๑. ผูถกู จบั มีสทิ ธิที่จะไมใหการหรอื ใหก ารก็ได
๒. ถอ ยคําของผถู ูกจับนน้ั อาจใชเ ปน พยานหลักฐานในการพจิ ารณาคดไี ด
๓. ผถู กู จบั มสี ทิ ธิจะพบและปรึกษาทนายความหรอื ผูซ่งึ จะเปนทนายความ
๔. ถาผูถูกจับประสงคจะแจงใหญาติ หรือผูซ่ึงตนไววางใจทราบถึงการจับกุมที่สามารถ
ดาํ เนนิ การไดโ ดยสะดวกและไมเ ปน การขดั ขวางการจบั หรอื การควบคมุ ถกู จบั หรอื ทาํ ใหเ กดิ ความไมป ลอดภยั
แกบุคคลหนึ่งบุคคลใด เจาพนักงานสามารถอนุญาตใหผูถูกจับดําเนินการไดตามสมควรแกกรณี
ขณะจบั กมุ ผถู กู จบั รบั ทราบขอ กลา วหา และสทิ ธขิ องผถู กู จบั ดงั กลา วขา งตน แลว และใหก าร...............
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................
เหตเุ กดิ ท.่ี ..........................................................................................................................................
เมื่อวันท่ี...................เดือน......................................พ.ศ. ...................... เวลา.............................น.
อนงึ่ ในการจบั กมุ ครง้ั นี้ เจา พนกั งานตาํ รวจผจู บั มไิ ดท าํ ใหท รพั ยส นิ ของผเู สยี หาย สญู หาย
หรือเสอ่ื มคา แตประการใด และมไิ ดท าํ ใหผูใ ดไดรบั อนั ตรายแกก าย หรอื จติ ใจแตอ ยา งใด
ไดอ า นบนั ทกึ นใี้ หผ ูถูกจบั ฟง แลว รบั วา ถูกตอ ง จงึ ใหล งชื่อไวเปนหลกั ฐาน

(ลงชอื่ )....................................................ผูถูกจับ
(ลงชื่อ)....................................................ผถู กู จบั
(ลงชอื่ )....................................................ผูจบั
ตําแหนง ..................................................
(ลงช่ือ)....................................................ผจู บั
ตําแหนง..................................................
(ลงช่อื )....................................................ผูจบั /บนั ทึก/อา น
ตาํ แหนง ..................................................
(Ê õö - ò÷)

๓๔

¡ÒèºÑ ã¹·ÃÕè âË°Ò¹
ñ. ตาํ รวจจะเขา จับบคุ คลในท่ีรโหฐานได แตตอ งมหี มายในกรณีดงั ตอ ไปน้ี

๑.๑ มที ้ังหมายคนและหมายจับ
๑.๒ มหี มายคน อยางเดียวแตในการคน นน้ั ไดพ บบุคคลกระทําความผิดซง่ึ หนา
๑.๓ เมื่อในที่รโหฐานท่ีจะเขาจับน้ัน ผูตองถูกจับเปนเจาบานและการจับนั้น
มีหมายจับแลว ไมตองมหี มายคน อีก
ò. ตาํ รวจจะเขาจับบุคคลในท่รี โหฐานไดโ ดยไมต องมหี มายในกรณีดังตอ ไปน้ี
๒.๑ เมอื่ มเี สยี งรอ งใหช ว ยจากขา งในทร่ี โหฐานหรอื มเี สยี งหรอื มพี ฤตกิ ารณอ น่ื ใด
อนั แสดงไดวา มีเหตรุ ายเกิดข้ึนในท่รี โหฐานน้ัน
๒.๒ เม่ือปรากฏความผดิ ซ่ึงหนากาํ ลงั กระทําในทร่ี โหฐาน
๒.๓ เมื่อบุคคลไดกระทําความผิดซึ่งหนาขณะท่ีถูกไลจับหนีเขาไป หรือมีเหตุ
อนั แนนแฟนควรสงสัยวา ไดเ ขาไปซกุ ซอนตวั อยูใ นทร่ี โหฐานน้ัน ตํารวจกม็ อี าํ นาจเขา ไปคน และจบั ได
ó. หามมิใหเขาทําการจับในพระราชวัง หรือในที่ซ่ึงพระมหากษัตริย พระราชินี
องคร ชั ทายาท หรอื ผสู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองคป ระทบั หรอื อยู ไมว า การจบั นน้ั จะมหี มายหรอื ไมก ต็ าม
นอกจากจะไดรับอนุญาตจากนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีซ่ึงนายกรัฐมนตรีมอบหมายและไดแจง
เลขาธกิ ารพระราชวังหรือสมหุ ราชองครักษรับทราบแลว
ความในวรรคหน่ึง มิใหใชบังคับในกรณีท่ีเจาพนักงานผูถวายความปลอดภัยแก
องคพระมหากษัตริย พระราชินี พระรัชทายาท พระบรมวงศต้ังแตสมเด็จเจาฟาขึ้นไปหรือผูสําเร็จ
ราชการแทนพระองค หรอื เจา หนา ที่ หรอื ผรู กั ษาสถานทน่ี นั้ แลว แตก รณี เปน ผจู บั ตามกฎหมายวา ดว ย
ราชองครกั ษห รือตามกฎหมาย กฎ หรอื ระเบียบเกี่ยวกับการใหค วามปลอดภยั
¡ÒèѺ¾ÃÐÀÔ¡ÉØÊÒÁà³Ã
ñ. พระภิกษุสามเณรถูกกลาวหาวาไดกระทําความผิดอาญา ตํารวจทําการจับกุม
และควบคุมไดเชนเดียวกับบุคคลทั่วไป แตใหพึงระลึกวาพระภิกษุสามเณรน้ัน ตามปกติเปนที่เคารพ
กราบไหวของพุทธศาสนิกชน ฉะน้ัน การปฏิบัติในการจับกุมและควบคุมพระภิกษุสามเณร
พงึ กระทําดวยความเคารพ สุภาพออ นโยนในทกุ กรณี
ò. พระภิกษุสามเณรรูปใดถูกจับโดยตองหาวาไดกระทําความผิดอาญา เม่ือพนักงาน
สอบสวนเห็นสมควรไมใหปลอยช่ัวคราว และเจาอาวาสแหงวัดที่พระภิกษุสามเณรรูปนั้นสังกัด
หรือพํานักอาศัยไมรับมอบตัวไวควบคุม หรือพนักงานสอบสวนเห็นสมควรไมใหเจาอาวาสรับตัวไป
ควบคุมหรือพระภิกษุสามเณรรูปนั้นมิไดสังกัดหรือพํานักอาศัยในวัดใดวัดหน่ึง ใหพนักงานสอบสวน
มอี ํานาจจดั ดาํ เนนิ การใหพ ระภิกษุสามเณรรปู นัน้ สละสมณเพศเสยี ได

๓๕

ó. การดําเนินการใหพระภิกษุสามเณรรูปใดสละสมณเพศ ใหนําพระภิกษุสามเณร
รปู นนั้ ไปพบเจา อาวาสแหง วดั ซงึ่ พระภกิ ษหุ รอื สามเณรรปู นน้ั สงั กดั หรอื พกั อาศยั หรอื พบเจา คณะตาํ บล
เจา คณะอําเภอ หรอื เจาคณะจังหวดั ในทองท่ีซงึ่ ความผิดไดเ กิด หรอื อา งหรือเชอ่ื วาไดเกดิ ภายในเขต
ปกครองของสงฆเพ่ือพิจารณาดาํ เนนิ การสละสมณเพศตามวธิ ีการของสงฆต อไป

หามควบคมุ พระภิกษุสามเณรทีย่ ังมิไดส ละสมณเพศรวมปะปนกับผตู องหาทว่ั ๆ ไป
¡ÒèºÑ ਌Ò˹ŒÒ·èբͧÃÑ°
ñ. เมื่อเจาหนาที่ของรัฐกระทําความผิดอาญา ตํารวจทําการจับไดเชนเดียวกับ
บคุ คลท่วั ไปแลวแจงใหผูบ งั คับบัญชาของผถู กู จับทราบ
เจาหนาที่ของรัฐไดแก ขาราชการหรือพนักงานสวนทองถิ่น กํานัน ผูใหญบาน ผูชวย
ผูใ หญบา น สารวัตรกํานนั แพทยประจําตําบล และหมายความรวมถึงกรรมการ อนกุ รรมการ ลูกจา ง
ของสว นราชการ หนว ยงานของรฐั หรือรัฐวิสาหกิจ
ถาผูถูกจับเปนขาราชการระดับ ๗ ข้ึนไป หรือขาราชการทหารหรือตํารวจประจําการ
ที่มียศ พันเอก (พิเศษ) นาวาเอก (พิเศษ) นาวาอากาศเอก (พิเศษ) และพันตํารวจเอก (พิเศษ)
ขึ้นไปในกรุงเทพมหานคร ใหรายงานตามลําดับช้ันจนถึงสํานักงานตํารวจแหงชาติ สวนในจังหวัดอื่น
นอกเขตกรงุ เทพมหานคร ใหรายงานใหผ ูวา ราชการจังหวดั ทราบ
ò. หากพนักงานไปรษณีย คนขับรถหรือเรือรับสงไปรษณีย คนขับรถประจําทาง
หรือคนขับรถซ่ึงเปนเจาหนาที่ของรัฐ ในขณะปฏิบัติหนาที่บริการประชาชนกระทําผิดลหุโทษ
หรือความผิด ท่ีมีอัตราโทษไมสูงกวาความผิดลหุโทษหรือความผิดวาดวยกฎหมายจราจรทางบก
ใหจดชื่อ ชื่อสกุล ภูมิลําเนาและสถานที่ทํางานไว แลวสั่งผูน้ันใหไปพบพนักงานสอบสวน
เมอื่ ปฏิบัติหนาทเี่ สร็จ เพื่อดําเนินคดตี อไป
ถาเปนคดีความผิดนอกจากที่กลาวขางตน ตํารวจอาจคุมตัวผูน้ันจนปฏิบัติหนาที่เสร็จ
หรือแจงใหผูบังคับบัญชาของผูนั้นจัดหาคนทํางานแทน แลวจึงจับสงพนักงานสอบสวนดําเนินคดี
กไ็ ด
ในกรณที ีผ่ นู ัน้ จะหลบหนีหรือไดล ะทงิ้ หนาที่ประจําไปแลว กใ็ หจับสงดาํ เนนิ คดีทันที
¡ÒèѺÊÁÒª¡Ô ÃÑ°ÊÀÒ
ñ. สมาชิกรัฐสภา ไดแก สมาชกิ วฒุ สิ ภา และสภาผแู ทนราษฎร
ò. เมอื่ สมาชิกรฐั สภาตอ งหาวา ไดกระทาํ ความผดิ อาญาใหป ฏิบัตดิ ังตอ ไปนี้

๒.๑ ในระหวางสมัยประชุม หามมิใหจับหรือคุมขังหรือหมายเรียกตัวสมาชิก
วุฒิสภา หรือสมาชิกสภาผูแทนราษฎรไปทําการสอบสวนในฐานะท่ีเปนผูตองหาในคดีอาญา
เวน แตใ นกรณที ีไ่ ดร บั อนญุ าตจากสภาท่ีผนู ้ันเปน สมาชิกหรือในกรณที ่ีจบั ในขณะกระทําความผิด

๓๖

กรณที มี่ กี ารจบั สมาชกิ วฒุ สิ ภาหรอื สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรในขณะกระทาํ ความผดิ
ใหรายงานไปยังประธานแหงสภาท่ีผูน้ันเปนสมาชิกโดยดวน และประธานแหงสภาที่ผูน้ัน
เปน สมาชกิ อาจสั่งใหป ลอยผูถ กู จับได

๒.๒ ถา สมาชกิ วฒุ สิ ภาหรอื สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎร ถกู คมุ ขงั ในระหวา งสอบสวน
อยูกอนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุมถาประธานแหงสภาท่ีผูนั้นเปนสมาชิกไดรองขอใหปลอย
ใหพ นักงานสอบสวนสง่ั ปลอ ยช่ัวคราวทันที

คําสั่งปลอยช่ัวคราวขางตน ใหมีผลบังคับต้ังแตวันสั่งปลอยจนถึงวันสุดทาย
แหง สมยั ประชุม

ó. การขออนุญาตตามขอ ๒.๑ ใหรายงานไปยังกระทรวงมหาดไทยกอน พรอมดวย
เหตุผลและความจําเปน ซึ่งจะตองทําการจับกุมสมาชิกผูน้ัน รวมท้ังใหรายงานดวยวาหลักฐาน
ในคดนี น้ั มมี ูลควรเชื่อถือไดเพยี งไร เพื่อกระทรวงมหาดไทยจะไดด ําเนนิ การตอไป

¡ÒèѺ¤³Ð¼áÙŒ ·¹·Ò§·μÙ ¾¹¡Ñ §Ò¹½†Ò¡§ÊÅØ áÅо¹Ñ¡§Ò¹Í§¤¡ ÒÃÃÐËÇÒ‹ §»ÃÐà·È
ñ. คณะผแู ทนทางทตู ไดแ ก

๑.๑ หัวหนาคณะผูแทน คือ บุคคลที่ไดรับมอบหมายจากรัฐผูสง ใหมีหนาที่
กระทาํ การในฐานะนั้น แบงออกเปน ๓ ช้นั

๑.๑.๑ ชนั้ เอกอคั รราชทตู หรอื เอกอคั รสมณทตู ซง่ึ แตง ตง้ั ไปยงั ประมขุ ของรฐั
และหัวหนา คณะผแู ทนอ่ืนทม่ี ชี น้ั เทากัน

๑.๑.๒ ชนั้ รฐั ทตู อคั รราชทตู และอคั รสมณทตู ซงึ่ แตง ตง้ั ไปยงั ประมขุ ของรฐั
๑.๑.๓ ชน้ั อปุ ทตู ซงึ่ แตง ตงั้ ไปยงั รฐั มนตรวี า การกระทรวงการตา งประเทศ
๑.๒ ตัวแทนทางทูต คือ หัวหนาของคณะผูแทนหรือบุคคลในคณะเจาหนาที่
ฝายทูตของคณะผูแทน
๑.๓ บุคคลในคณะเจา หนา ท่ีฝา ยทตู คอื บคุ คลในคณะเจา หนา ที่ของคณะผแู ทน
ซงึ่ มีตําแหนง ทางทูต
๑.๔ บคุ คลในคณะเจา หนา ทข่ี องคณะผูแทน คือ บุคคลในคณะเจา หนาทฝ่ี า ยทูต
คณะเจาหนาที่ฝายธุรการ และฝา ยวิชาการและคณะเจาหนา ทฝี่ ายบริหารของคณะผูแทน
๑.๕ บุคคลในคณะเจาหนาท่ีฝายธุรการและฝายวิชาการ คือ บุคคลใน
คณะเจา หนา ที่ของคณะผแู ทน ซึ่งทาํ งานเกี่ยวกับบรกิ ารฝา ยธุรการและฝา ยวิชาการของคณะผแู ทน
๑.๖ บุคคลในคณะเจาหนาท่ีฝายบริการ คือ บุคคลในคณะเจาหนาที่ของ
คณะผแู ทนในฝา ยบรกิ ารรบั ใชของคณะผูแทน
๑.๗ คนรับใชส วนตวั คือ บุคคลซง่ึ อยูในฝา ยบรกิ ารรบั ใชของบุคคลในคณะผแู ทน
และซึง่ มไิ ดเปน ลกู จา งของรฐั ผูสง

๓๗

ò. พนักงานฝายกงสุล หมายถึง บุคคลใดๆ รวมทั้งหัวหนาสถานที่ทําการทางกงสุล
ทไ่ี ดร บั มอบหมายใหป ฏบิ ตั ิหนาทท่ี างกงสลุ ในฐานะนั้น และยงั แบง ออกไดเปน ๒ ฝาย คอื

๒.๑ พนักงานฝายกงสุลอาชีพ คือ ขาราชการของรัฐผูสงท่ีปฏิบัติหนาท่ีกงสุล
ในผูรับโดยมไิ ดมีอาชีพอืน่ ใด

๒.๒ พนกั งานฝา ยกงสลุ กติ ตมิ ศกั ด์ิ คอื บคุ คลทม่ี สี ญั ชาตขิ องรฐั ผรู บั หรอื สญั ชาตอิ นื่
และปฏิบัติหนาทใ่ี นทางกงสลุ ใหกับรฐั ผสู งในราชอาณาจักรไทย

ó. พนักงานองคการระหวางประเทศ ไดแก
๓.๑ พนกั งานองคการสหประชาชาติ
๓.๒ พนักงานทบวงการชํานญั พิเศษ
๓.๓ พนกั งานองคก ารระหวา งประเทศทปี่ ระเทศไทยยอมรบั ความมอี ยใู นเอกสทิ ธิ์

และความคุม กนั
ô. คณะผูแทนทางทูต พนักงานฝายกงสุล พนักงานองคการระหวางประเทศ

และคนในครอบครัวอันประกอบเปนสวนของครัวเรือนของบุคคลดังกลาว ซ่ึงไมใชคนสัญชาติไทย
หรือมีถ่ินที่อยูถาวรในราชอาณาจักรไทยไดรับความคุมกันท่ีจะไมถูกจับและไมถูกควบคุมจากการ
กระทําความผิดอาญา เมื่อตรวจสอบแลวปรากฏวาบุคคลเหลานั้นถูกจับ หรือถูกควบคุมอยู
ใหต ํารวจรบี ปลอ ยตัวไปทันที

ใหตํารวจปฏิบัติตอบุคคลเหลานี้ตามจารีตประเพณีและกฎหมายระหวางประเทศ
ดวยอัธยาศัยไมตรี แตความคุมกันน้ันอาจสละไดดวยการท่ีรัฐผูสง หรือหัวหนาคณะผูแทนของ
บคุ คลดงั กลา ว ไดแจงใหพนกั งานสอบสวนทราบเปนลายลักษณอักษร เม่อื มกี ารสละความคมุ กนั แลว
ใหพ นักงานสอบสวนดําเนินคดผี ูกระทําความผดิ ตอไป

õ. สถานที่ทํางาน ท่ีอยูสวนตัว หนังสือโตตอบ ถุงทางทูต หีบหอซึ่งรวมเปนถุง
ทางทูต ผูส่ือสารทางทูตและการส่ือสารคมนาคมของคณะผูแทนทางทูต พนักงานฝายกงสุล
พนักงานองคการระหวางประเทศไดรับเอกสิทธิ์และความคุมกัน ตํารวจไมมีอํานาจทําการตรวจคน
ยึด หรอื อายัดเปนอนั ขาด เวน แตจ ะไดร ับความยินยอมจากผมู อี ํานาจหรอื ผคู รอบครอง

ö. กระทรวงการตางประเทศโดยกรมพิธีการทูต ไดออกบัตรประจําตัวใหกับบุคคล
ตาม ๑ ๒ และ ๓ ซ่ึงประจําในราชอาณาจักรตามแบบทายบทนี้ ในกรณีท่ีบุคคลดังกลาวแสดง
บัตรประจําตัวตํารวจไมมีอํานาจที่จะทําการละเมิดเอกสิทธ์ิและความคุมกันและใหปฏิบัติตอบุคคล
เหลา นีต้ ามจารตี ประเพณี และกฎหมายระหวา งประเทศดวยอธั ยาศยั ไมตรี

÷. เม่ือตํารวจพบบุคคลตาม ๑ ๒ และ ๓ กระทําความผิดอาญารายแรง มีลักษณะ
จะกอใหเกิดภยันตรายแกชีวิตและทรัพยสินของผูอ่ืนภายนอกบริเวณสถานที่ไดรับเอกสิทธ์ิ

๓๘

และความคมุ กนั ใหต าํ รวจควบคมุ ตวั บคุ คลนนั้ ไวเ พอ่ื ปอ งกนั เหตรุ า ย แลว รบี แจง เหตไุ ปยงั กรมพธิ กี ารทตู
กระทรวงการตา งประเทศและสถานทตู หรอื สถานกงสลุ หรอื องคก ารระหวา งประเทศทบี่ คุ คลทก่ี อ เหตุ
อยูในบังคบั เพื่อกรมพิธกี ารทตู กระทรวงการตางประเทศ จะไดป ระสานใหพ นกั งานสอบสวนปฏบิ ัติ
ไดอยางถูกตอง

ø. ในกรณีที่ผูถูกจับ ถูกคน อางวาตนมีเอกสิทธ์ิและความคุมกัน ใหตํารวจทําการ
ตรวจสอบหลกั ฐานกอ น เชน บตั รประชาชน หนงั สอื เดนิ ทาง เปน ตน หากมคี วามสงสยั ใหร บี สอบถาม
ไปยังกรมพิธีการทูต กระทรวงการตางประเทศโดยเร็ว เม่ือไดรับการยืนยันเปนหนังสือวา เปนผูมี
เอกสิทธ์ิและความคุมกัน ใหลงบันทึกประจําวันเปนหลักฐานแลวงดการปฏิบัติหรือปลอยตัวไปตาม
คาํ แนะนาํ ทนั ที

¡ÒèѺ¼Ù¡Œ ÃзíÒ¼´Ô ã¹àÃ×ÍμÒ‹ §»ÃÐà·È
ñ. การจบั ผกู ระทําผิดในเรอื ตา งประเทศในนานน้าํ ไทย ใหปฏิบตั ิดังน้ี

๑.๑ ถาเปนความผิดเล็กนอยท่ีวากลาวได ไมวาผูกระทําผิดเปนคนเรือลํานั้น
หรือไมก็ตาม ควรจะหามปรามใหงดเวนหรือวากลาวใหระงับเสีย ถายังขัดขืนก็ใหแจงนายตํารวจ
ตั้งแตรอยตํารวจตรีขึ้นไปเปนผูทําการจับกุม โดยใหแจงนายเรือทราบกอน เวนแตจะเปนกรณี
ทีไ่ มอ าจแจงไดท ันหรอื นายเรือขอรองใหจ ับ ก็ใหจ ับไดท ันที

๑.๒ ถา เปน ความผดิ อาญาตอ แผน ดนิ และจะตอ งจบั กมุ โดยรบี ดว น ไมว า ความผดิ
นัน้ จะเกดิ ขึ้นระหวางคนเรือกับคนภายนอกหรือไมกต็ าม ใหจ บั กมุ ไดตามระเบยี บวาดว ยการจบั

๑.๓ การจับใหกระทําโดยสุภาพ เม่ือจับกุมแลวใหแจงนายเรือและสถานทูต
หรือสถานกงสุลท่ีเรือลําน้ันสังกัดโดยไมชักชา และรายงานใหสํานักงานตํารวจแหงชาติทราบ
เปน ลายลกั ษณอกั ษร

¡ÒèѺ¾¹Ñ¡§Ò¹Ã¶ä¿
ñ. การจบั กมุ พนกั งานรถไฟซง่ึ กาํ ลงั ทาํ การของรถไฟอยตู ามหนา ทอี่ นั เกย่ี วกบั การเดนิ รถ
โดยตรง ซงึ่ ถา ไมมพี นักงานผูนัน้ กาํ กับการอยูแลวอาจเกดิ ภยนั ตรายแกป ระชาชนและใหป ฏบิ ตั ดิ งั นี้

๑.๑ แจงใหผูบังคับบัญชาของผูจะถูกจับทราบกอนวา ผูน้ันจะถูกจับในขอหาใด
เพื่อจะไดจัดหาคนทําแทน หากผูบังคับบัญชาอยูใกลในขณะจับกุมใหแจงดวยวาจาโดยตรง
ถาผูบังคับบัญชาอยูไกลจะแจงโดยใหผูถูกจับน้ันติดตอกับนายสถานีรถไฟน้ันทางโทรศัพทเองก็ได
แตถ า นายสถานถี กู จบั เองและมผี ชู ว ยนายสถานอี ยกู ใ็ หผ ชู ว ยนายสถานเี ปน ผโู ทรศพั ทแ จง ถา หากไมม ี
ผูชวยนายสถานีก็ใหนายสถานีผูจะถูกจับเปนผูโทรศัพทแจงเอง และใหบันทึกโทรศัพท
ทผี่ ูบ งั คบั บญั ชาของผูต อ งหาน้นั ตอบมาเปน หลกั ฐาน

๓๙

๑.๒ ถาหาเจาหนาท่ีอื่นทําการแทนไมได ก็ใหคุมตัวผูนั้นไว แตใหทําการ
ตามหนา ทไี่ ปจนมผี ทู าํ การแทน

ในกรณพี นกั งานรถไฟนนั้ จะหลบหนหี รอื ไดล ะทงิ้ หนา ทป่ี ระจาํ นน้ั ไปแลว กใ็ หจ บั กมุ
ไดโ ดยไมต องมีคนแทน

ò. ผูบังคับบัญชาที่ผูถูกจับกุมจะตองแจงใหทราบกอน ปรากฏตามบัญชีแสดง
ตําแหนง หนา ทพ่ี นกั งานรถไฟผถู กู จบั กมุ และผูบังคบั บัญชาทจ่ี ะตองแจง ใหท ราบทายบทนี้

¡ÒèºÑ º¤Ø ¤Å·Õàè »š¹ÂÒÁà½Ò‡ ·ÃѾÂˏ Ã×Íʶҹ·èÕ
ñ. เม่ือบุคคลที่เปนยามเฝาทรัพยหรือสถานท่ีถูกกลาวหาวาไดกระทําความผิดอาญา
และจําเปนตอ งทาํ การจับกุม ใหปฏิบตั ดิ งั นี้

๑.๑ ใหแจงหรือบอกกลาวตอเจาของทรัพยหรือเจาของสถานที่เพ่ือใหเขามีเวลา
จดั การในเรื่องการเฝารกั ษาทรัพยหรอื สถานทีเ่ สียกอน

๑.๒ ถาผูเปนเจาของทรัพยหรือสถานที่ยังจัดหาคนเฝาแทนตัวคนยาม
ผูถูกจับกุมไมได ใหจัดตํารวจเฝาทรัพยหรือสถานท่ีน้ันแทนใหเปนการชั่วคราว และบอกกลาวให
ผูเปนเจาของทรัพยหรือเจาของสถานท่ีรีบจัดการรักษาทรัพยโดยเร็ว อยาจับเอาตัวไปโดยไมมี
ผูใ ดมาเฝารกั ษาทรัพยห รือสถานทแ่ี ทนเปน อนั ขาด

¡ÒäǺ¤ÁØ

ñ. ควบคุม หมายถึง การควบคุมหรือกักขังผูถูกจับ โดยพนักงานฝายปกครอง
หรือตาํ รวจในระหวา งสืบสวนและสอบสวน

ò. หามมิใหใชวิธีควบคุมผูถูกจับเกินกวาท่ีจําเปนเพื่อปองกันมิใหผูถูกจับหนีเทานั้น
(ป.วิ อาญา ม.๘๖)

ó. หา มมใิ หค วบคมุ ผถู กู จบั ไวเ กนิ กวา จาํ เปน ตามพฤตกิ ารณแ หง คดี (ป.วิ อาญา ม.๘๗)
๓.๑ ในกรณีซ่ึงเปนความผิดลหุโทษ หรือความผิดท่ีมีอัตราโทษไมสูงกวา

ความผดิ ลหโุ ทษ จะควบคมุ ผถู กู จบั ไวไ ดเ ทา เวลาทจ่ี ะถามคาํ ใหก าร และทจี่ ะรตู วั วา เปน ใครและอยทู ไ่ี หน
เทาน้ัน

๓.๒ หามมิใหควบคุมผูถูกจับไวเกินกวาส่ีสิบแปดชั่วโมง นับแตเวลาที่ผูถูกจับ
มาถึงทีท่ าํ การของพนกั งานสอบสวน

๓.๓ ถาเกิดความจําเปนท่ีจะควบคุมผูถูกจับไวเกินกวากําหนดเวลา เพ่ือใหการ
สอบสวนเสร็จสิ้นใหสงผูตองหามาศาลใหพนักงานอัยการหรือพนักงานสอบสวนย่ืนคํารองตอศาล
ขอหมายขงั ผูตองหาน้นั ไว ซ่ึงศาลอาจเรียกพนกั งานอัยการหรือพนกั งานสอบสวนมาชแ้ี จงเหตจุ าํ เปน
หรอื อาจเรยี กพยานหลกั ฐานมาเพอื่ ประกอบการพจิ ารณาก็ได

๔๐

๓.๔ ในกรณคี วามผดิ อาญาทไี่ ดก ระทาํ ลงมอี ตั ราโทษจาํ คกุ อยา งสงู ไมเ กนิ หกเดอื น
หรอื ปรับไมเกนิ หารอยบาทหรือทงั้ จําทัง้ ปรบั ศาลมอี ํานาจสัง่ ขังไดครง้ั เดยี ว มีกาํ หนดไมเกนิ เจ็ดวัน

๓.๕ ในกรณีความผิดอาญาที่มีอัตราโทษจําคุกอยางสูงเกินกวาหกเดือน
แตไมถึงสิบป หรือปรับเกินกวาหารอยบาท หรือท้ังจําทั้งปรับ ศาลมีอํานาจสั่งขังหลายครั้งติดๆ
กันได แตคร้ังหนงึ่ ตอ งไมเกินสบิ สองวัน และรวมกันทงั้ หมดตองไมเ กินสสี่ ิบแปดวนั

๓.๖ ในกรณีความผิดอาญาท่ีมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงตั้งแตสิบปขึ้นไปจะมี
โทษปรบั ดวยหรือไมก ็ตาม ศาลมีอาํ นาจสั่งขงั หลายครัง้ ติดๆ กันได แตค รั้งหนึง่ ตอ งไมเกนิ สิบสองวนั
และรวมกนั ทง้ั หมดตอ งไมเกินแปดสบิ ส่วี นั

๓.๗ ในกรณีท่ีศาลสั่งขังครบส่ีสิบแปดวันแลว หากพนักงานสอบสวนยื่นคํารอง
ตอศาลเพื่อขอขังตอไปอีกโดยอางเหตุจําเปนใหพนักงานสอบสวนแสดงถึงเหตุจําเปนและนําพยาน
หลกั ฐานมาใหศาลไตส วนจนเปน ทีพ่ อใจแกศาลดว ย

๓.๘ ถาพนักงานสอบสวนตองไปทําการสอบสวนในทองที่อื่น นอกเขตของศาล
ซึ่งไดสั่งขังผูตองหาไว พนักงานสอบสวนจะย่ืนคํารองขอใหโอนการขังไปยังศาลในทองที่ท่ีจะตองไป
ทําการสอบสวนนัน้ กไ็ ด

ô. ในการสอบสวนคดีอาญาท่ีอยูในอํานาจศาลแขวงท่ีจะพิจารณาพิพากษาได
เม่ือมีการจับตัวผูตองหาแลว ใหพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบสงตัวผูตองหาพรอมดวยสํานวน
การสอบสวนไปยงั พนกั งานอยั การเพอ่ื ใหพ นกั งานอยั การยนื่ ฟอ งตอ ศาลแขวงใหท นั ภายในกาํ หนดเวลา
ส่ีสิบแปดช่ัวโมง นับแตเวลาท่ีผูตองหาถูกจับแตมิใหนับเวลาเดินทางตามปกติท่ีนําตัวผูตองหาจาก
ทจ่ี บั มายงั ทที่ าํ การของพนกั งานสอบสวน จากทที่ าํ การของพนกั งานสอบสวนและหรอื จากทท่ี าํ การของ
พนักงานอยั การมาศาลเขา ในกาํ หนดเวลาสสี่ ิบแปดชัว่ โมงน้นั ดว ย

ในกรณที เ่ี กดิ ความจาํ เปน ไมส ามารถฟอ งผตู อ งหาตอ ศาลใหท นั ภายในกาํ หนดเวลา
ดงั กลา วในวรรคหน่งึ ใหพนกั งานสอบสวนย่ืนคาํ รองตอศาลเพื่อขอผดั ฟองตอ ไปไดอ กี คราวละไมเ กนิ
หกวัน แตท้ังน้ีตองไมเกินสามคราว ถามีการขอใหขังผูตองหาดวย หรือผูตองหาแสดงตัวตอศาล
ศาลอาจเรยี กพนักงานสอบสวนมาชแี้ จงเหตุจาํ เปน หรืออาจเรยี กพยานมาเบิกความประกอบกไ็ ด

เมื่อศาลส่ังอนุญาตใหผัดฟองครบสามคราวแลว หากพนักงานสอบสวนยื่นคํารอง
ตอศาลเพื่อขอผัดฟองตอไปอีกโดยอางเหตุจําเปน ใหพนักงานสอบสวนนําพยานไปเบิกความ
จนเปน ทพี่ อใจแกศ าล ถา มกี ารขอใหข งั ผตู อ งหาหรอื ผตู อ งหาแสดงตวั ตอ ศาล ศาลมอี าํ นาจสงั่ อนญุ าต
ใหผ ัดฟอ งตอ ไปไดค ราวละไมเกินหกวนั แตท ัง้ น้ตี อ งไมเ กินสองคราว

õ. ในกรณที ม่ี เี หตจุ าํ เปน พนกั งานสอบสวนอาจรอ งขอใหศ าลขงั ผตู อ งหาไว ณ สถานท่ี
ท่ีพนักงานสอบสวนรองขอ โดยใหอยูในความควบคุมของพนักงานสอบสวนตามกําหนดเวลาที่ศาล
เหน็ สมควร

๔๑

ö. ในกรณีท่ีผูตองหาหลบหนีจากการควบคุมหรือการขัง มิใหนับระยะเวลาท่ี
ผตู องหาหลบหนีนนั้ เขาในกําหนดระยะเวลาตาม ๓ ถงึ ๕

ในกรณีที่ไดมีการสงตัวผูตองหาไปดําเนินคดียังศาลทหารหรือศาลเยาวชนและ
ครอบครัวหากปรากฏในภายหลังวาผูตองหาไมไดอยูในอํานาจของศาลดังกลาว และมีการสงตัว
ผูตองหามายังพนักงานสอบสวนเพ่ือดําเนินคดีในศาลแขวงตอไปนั้น มิใหนับระยะเวลาท่ีผูตองหา
ถูกควบคมุ หรอื ขงั อยตู ามกฎหมายดงั กลาวน้นั เขาในกาํ หนดระยะเวลาตาม ๓ ถึง ๕

÷. ในคดีอาญาที่อยูในอํานาจศาลแขวงที่จะพิจารณาพิพากษาไดนั้น การควบคุม
ตัวผูตองหาใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความอาญา เชน หามมิใหใชวิธีควบคุม
ผถู กู จบั เกนิ กวา ทจี่ าํ เปน เพอื่ ปอ งกนั เขาหนเี ทา นน้ั หรอื ควบคมุ ผถู กู จบั ไวเ กนิ กวา จาํ เปน ตามพฤตกิ ารณ
แหง คดี เปน ตน แตก รณีจะเปนอยางไรกต็ ามพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจจะควบคุมตัวผูตองหา
ไวเกินกวา กําหนดเวลาดังกลาวใน ๔ วรรคหน่ึงมิได

ถา ผตู อ งหาอยใู นความควบคมุ ของพนกั งานฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจ ใหพ นกั งานสอบสวน
นาํ ตัวผูตองหามาสงศาลพรอมกับการย่ืนคาํ ขอผดั ฟอ ง และขอใหศ าลออกหมายขงั ผูต องหาไว แตถา
ผูตองหาปวยอยูในสภาพท่ีไมอาจนํามาศาลไดใหพนักงานสอบสวนขออนุญาตศาลรวมมาในคําขอ
ใหศาลออกหมายขังผูตองหาโดยมีพยานหลักฐานประกอบจนเปนที่พอใจแกศาลในเหตุท่ีไมอาจนํา
ตวั ผตู องหามาศาลได

ในกรณีที่ผูตองหาตกอยูในความควบคุมของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ
หลังจากท่ีศาลอนุญาตใหผัดฟองแลว ใหพนักงานสอบสวนนําตัวผูตองหามาสงศาลในโอกาสแรก
ท่จี ะสงไดเพือ่ ขอใหศ าลออกหมายขงั ผตู อ งหาไว

คาํ ขอใหศาลออกหมายขังผูต อ งหา จะขอรวมมาในคํารองขอผดั ฟองก็ได
ø. การนับวันควบคุมนั้น ใหนับวันแรกท่ีรับตัวไวควบคุมเปนวันหนึ่ง ไมวาจะรับ
ตวั ผถู กู ควบคุมน้นั ในเวลาใดของวนั นั้น
ù. ในกรณีนับวันควบคุมน้ัน ถาผูตองหาถูกปลอยช่ัวคราวหรือไดหลบหนีท่ีควบคุมไป
ตอมาผูตองหาถูกเพิกถอนการปลอยช่ัวคราว หรือถูกจับกุมตัวไว และตองการควบคุมผูตองหาอีก
จะตอ งนับรวมกับวันท่ีถกู ควบคุมในคร้งั กอ นดวย
ñð. พนักงานสอบสวนจะตองระมัดระวังการควบคุมใหอยูในขอบเขตท่ีกฎหมาย
ใหอ าํ นาจไว การอา งเหตจุ าํ เปน ทจ่ี ะควบคมุ ผตู อ งหาตอ ไป หรอื ทจี่ ะใหศ าลสง่ั ขงั ตอ นน้ั จกั ตอ งมเี หตผุ ล
อนั จําเปนอยางแทจริง
ññ. พนักงานสอบสวนจะควบคุมหรือจัดการใหควบคุมผูตองหาหรือบุคคลใด
ซงึ่ ในระหวา งสอบสวนปรากฏวา เปน ผกู ระทาํ ผดิ หรอื จะปลอ ยชวั่ คราวโดยไมม ปี ระกนั เลย หรอื มปี ระกนั
หรือมีประกันและหลักประกันดวย หรือปลอยไปตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญาในเรอ่ื งนั้นๆ ก็ได

๔๒

หากปรากฏขอเท็จจริงวา ผูตองหาหรือบุคคลใดมิไดกระทําผิดหรือไมมีการกระทําผิด
เกิดขึ้นตามขอกลาวหาใหพนักงานสอบสวนรีบดําเนินการสอบสวนสรุปสํานวนมีความเห็นควรสั่ง
ไมฟองแลวปลอยตัวผูตองหาไปโดยเร็วและถาผูตองหาถูกควบคุมโดยศาล ใหพนักงานสอบสวน
รบี ยืน่ คํารองตอ ศาลขอปลอ ยตัวไป

ถาปรากฏวาผูกลาวหาหรือบุคคลใดมิไดกระทําผิดหรือมิไดมีการกระทําผิดเกิดขึ้น
ก็ไมจําเปนตองเรียกจับกุมหรือจัดการใหไดมาซึ่งตัวผูถูกกลาวหามาสอบสวน ใหพนักงานสอบสวน
รีบสรปุ สาํ นวนมีความเหน็ ควรส่งั ไมฟอ งสงพนักงานอยั การโดยมิชกั ชาเชนเดียวกนั

ในระหวางควบคุม ใหผูมีหนาที่ควบคุมผูตองหาคอยเตือนพนักงานสอบสวนถึงวัน
ครบกาํ หนดการฝากขงั ผตู อ งหาทุกครง้ั

ñò. พนักงานสอบสวนตองบันทึกเหตุผลความจําเปนในการตองควบคุมผูตองหา
ตามแบบบันทึกการควบคุมทายบทน้ีติดสํานวนไวทุกคดีไป รายการควบคุมน้ีตองลงทุกวัน ถาตอมา
ไดขอใหศาลขังก็ใหขีดเสนแดงคั่นไวคนละตอนกับการควบคุม แลวลงรายการปฏิบัติในช้ันศาลขัง
ตอไปทกุ วัน (ใหบันทกึ เหตุผลความจาํ เปน ไวดวย)

ñó. ในกรณีท่ีผูตองหาเคยถูกศาลสั่งขังระหวางสอบสวนและปลอยตัว เพราะอํานาจ
ขอส่ังขังหมดไปภายหลังคดีมีพยานหลักฐานพอฟองใหพนักงานสอบสวนรีบสรุปสํานวน
การสอบสวนสงไปยังพนักงานอัยการพิจารณาส่ังฟองในคดีน้ันกอนแลวจึงจับตัวผูตองหาสงภายหลัง
โดยจะจับกุมผตู องหาใหมแ ละควบคุมไวไ ดเ พียงเทา ทจ่ี ําเปนในการนาํ สง ศาลเทานั้น

ñô. เรื่องการใชอํานาจควบคุมน้ี ใหพนักงานสอบสวนผูเปนหัวหนาในทองท่ีน้ัน
หม่ันตรวจตรา และพิจารณาการปฏิบัติของพนักงานสอบสวนในบังคับบัญชาอยาใหใชอํานาจ
ควบคมุ เกินกวา ความจําเปนในการดาํ เนินคดีเปนอันขาด

¡ÒÃ㪌à¤ÃèÍ× §¾¹Ñ ¸¹Ò¡ÒÃ
ñ. การใชเ ครอ่ื งพนั ธนาการ เชน กญุ แจมอื ในการควบคมุ ผตู อ งหานน้ั เจา พนกั งานตาํ รวจ
ไมจาํ เปน ตองใชพ รํ่าเพร่อื ทกุ กรณี หากจําเปน ตอ งใชใ หพ ิเคราะหตามหลักเกณฑดังตอไปนี้

๑.๑ การกระทําผิด ใหพิจารณาถึงความหนักเบาแหงขอหาเปนสําคัญวาเปน
คดีความผิดเลก็ นอยหรือความผดิ ที่มีอัตราโทษสูง

๑.๒ สถานภาพของบุคคล จะตองพิจารณาถึงสถานภาพของบุคคล
หรือผตู องหาน้นั วาเปน อยางไร เชน

๑.๒.๑ ขาราชการ
๑.๒.๒ พนักงานรฐั วสิ าหกจิ ท่ีมหี ลกั ฐานม่นั คง
๑.๒.๓ พระภิกษสุ ามเณร นักพรตหรือนกั บวชในศาสนาตางๆ

๔๓

๑.๒.๔ พอคา ประชาชนหรือคหบดีซึ่งมีช่ือเสียงและมีหลักฐาน
การทํามาหากินโดยสจุ ริต

๑.๒.๕ ชาวตางประเทศ ซึ่งมีชื่อเสียงและมีหลักฐานการทํามาหากิน
โดยสุจรติ

๑.๒.๖ หญิง คนชรา เด็ก คนพิการ และเจ็บปวยซ่ึงไมสามารถ
จะหลบหนไี ดด ว ยกาํ ลังตนเอง

๑.๓ เวลาและสถานท่ี จะตองพิจารณาถึงเวลาและสถานที่ท่ีจะควบคุมไปวา
เปนเวลากลางวันหรือกลางคืน เปนทางเปลี่ยวไมมีบานผูคนหรือมีบางก็เล็กนอย ผูตองหามีโอกาส
ทจี่ ะหลบหนหี รือทําอนั ตรายผคู วบคมุ ไดหรือไม

๑.๔ กิริยาและความประพฤติ จะตองพิจารณาถึงกิริยาและความประพฤติของ
ผตู อ งหาวา เคยตอ งคดอี าญาหรอื เคยหลบหนกี ารควบคมุ หรอื แสดงกริ ยิ าวา จะหลบหนหี รอื จะทาํ รา ย
ผคู วบคมุ หรอื ไม

ò. การใสกุญแจมือผูตองหาน้ัน จะตองใสใหพอดีกับขอมือผูตองหา ไมใหหลวม
หรือคบั เกนิ ไป

¡ÒäǺ¤ØÁμÇÑ ¼Ù¶Œ ¡Ù ¨ÑºäÇ·Œ ÕèʶҹตÕ าํ ÃǨ
ñ. การควบคุมตวั ผูถ กู จับไวที่สถานีตาํ รวจนั้น ตามปกติใหค วบคุมไวในหอ งควบคมุ

หากผูถูกควบคุมมีจํานวนมาก ไมสามารถจะนําตัวเขาควบคุมในหองควบคุมได
ท้ังหมดหรอื มเี หตจุ าํ เปนอยา งอนื่ เชน ผตู องหาหญิง เด็กหรอื เยาวชน และไมม ีหองควบคุมซ่งึ จัดไว
โดยเฉพาะ เปนตน ใหนายตํารวจท่ีเปนหัวหนาผูรับผิดชอบในสถานีตํารวจแหงน้ัน จัดสถานท่ี
ควบคุมข้นึ พิเศษเปนการเฉพาะคราวได

เพอ่ื ความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย และสะดวกตอ การตรวจสอบใหส ถานตี าํ รวจทกุ แหง
จัดทําสมุดควบคุมผูถูกควบคุมขึ้น โดยใหสมุดเบอร ๒ จัดทําบัญชีรายช่ือผูถูกควบคุมตามแบบทาย
บทน้ีทุกๆ คร้ังเมื่อมีการเปล่ียนเวรรับมอบหนาที่สิบเวรในวันน้ัน ใหลงชื่อรับมอบตัวผูถูกควบคุม
ใหถ กู ตอง

ò. ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติจัดการใหแตละหองควบคุมมีหองน้ํา หองสวม
ท่ถี ูกสขุ ลกั ษณะไวในบริเวณเดยี วกับหอ งควบคมุ เทา ท่ีจะทําได

ó. เฉพาะในเวลากลางวัน หากผูถูกควบคุมจะขออนุญาตไปถายอุจจาระนอกหอง
ควบคุมหรือมีความจําเปนที่ผูถูกควบคุมจะถายอุจจาระในหองควบคุมไมได หรือผูถูกควบคุม
ขออนญุ าตอาบน้ํากด็ ี ใหน ายรอยตาํ รวจเวรหรือหัวหนา สถานีตาํ รวจแลว แตกรณพี จิ ารณาอนญุ าตให
ผูถูกควบคุมนั้นไปถายอุจจาระหรืออาบนํ้านอกหองควบคุมได แตผูอนุญาตจะตองรับผิดชอบในการ

๔๔

อนญุ าต เพอ่ื ปอ งกนั มใิ หผ ถู กู ควบคมุ หลบหนไี ปได การอนญุ าตใหอ อกไปถา ยอจุ จาระหรอื ไปอาบนาํ้ นน้ั
ผูควบคุมจะพาออกไปนอกบริเวณสถานท่ีทําการตํารวจไมไดและการอาบน้ํานั้นใหอาบไดเพียง
วนั ละหนง่ึ ครั้ง

ô. การควบคุมในสถานที่ซึ่งทําไวสําหรับควบคุมโดยตรง เม่ือไดควบคุมอยูในสถานท่ี
น้ันแลว จะใชเคร่ืองพันธนาการอ่ืนใดแกผูถูกควบคุมอีกไมได นอกจากใสกุญแจควบคุมและตรวจ
สภาพของท่ีควบคุมเพ่ือปองกันมิใหผูถูกควบคุมหลบหนีไดเทาน้ัน หากเห็นวาหองควบคุม
ไมแ ข็งแรงพอกใ็ หจ ดั ตาํ รวจควบคมุ เพ่มิ ขน้ึ และใหใชความระมดั ระวังเปนพเิ ศษ

õ. การเลี้ยงอาหารผูตองหาท่ีถูกควบคุมอยู ณ สถานีตํารวจใหนายตํารวจซึ่งเปน
หัวหนาสถานีแหงนั้นเปนผูจัดหาคนเล้ียงแลวทําบัญชีขอใหเจาหนาที่จายเงินใหตามอัตราท่ีทาง
ราชการกําหนดและใหนายรอยตํารวจเวรประจําการหรือนายตํารวจอื่นผูมีหนาท่ีตรวจดวยวาอาหาร
พอรับประทานหรือไม มีอาหารชนิดใดบางแลวลงรายการชื่ออาหารในรายงานประจําวันทุกม้ือ
ถาเห็นวาอาหารไมสมควรแกราคาก็ตองตักเตือนผูเลี้ยงและรายงานผูบังคับบัญชาจัดการแกไข
แตถาผูตองหารับประทานอาหารไมไดเพราะขัดกับลัทธิศาสนา ก็ใหพิจารณาจายเบี้ยเล้ียงตามอัตรา
ไปจดั ซอ้ื อาหารตามทผี่ ตู อ งหาประสงค หรอื ในกรณมี ผี นู าํ อาหารมาใหผ ตู อ งหาเปน พเิ ศษกใ็ หต รวจคน
อยา ใหมีของตองหามซุกซอ นมาดวย

ö. เวลาที่จะใหผูถูกควบคุมรับประทานอาหาร ตามปกติใหนายสิบตํารวจเวร
ไขกุญแจหองควบคุมสงอาหารใหรับประทานในหองควบคุม ใสกุญแจประตูหองควบคุมเสีย
เมอ่ื รบั ประทานอาหารแลวจงึ ไขกญุ แจนําภาชนะออก แลวใสกญุ แจหองควบคมุ ไวต ามเดมิ

÷. เม่ือจะนําตัวผูใดเขาหองควบคุม ตองตรวจคนตัวผูจะถูกควบคุมกอน เพ่ือมิให
มีส่ิงของใดๆ อันอาจใชในการกระทําอันตรายตนเองหรือผูอ่ืน ตลอดจนมิใหมีส่ิงของเหลาน้ี
อยูตามตัวหรอื นาํ เขา ไปในหอ งควบคุม เชน

๗.๑ ยาพิษ
๗.๒ ยาเสพตดิ ใหโทษ
๗.๓ เครอื่ งดองของเมา
๗.๔ เครื่องมอื การพนนั
๗.๕ สรรพส่ิงซ่ึงเปนเช้อื เพลงิ
๗.๖ ธนบตั ร ทรัพยส นิ หรอื สิง่ ของอนั มคี า อนื่ ๆ
๗.๗ อาวุธ สิ่งซึง่ อาจใชเปนอาวธุ หรอื เคร่ืองมอื ท่ใี ชเ จาะ งัด ตัด ได
หากมเี งินทองหรอื อาวธุ หรอื สิ่งของใดๆ ดงั กลา วแลว ใหยึดหรอื เก็บรักษาไวตาม
ระเบียบท่ีทางราชการกําหนดและหามมิใหมีส่ิงของอยางหนึ่งอยางใดอยูในหองควบคุม เวนแต
เครือ่ งนุงหม ตามสมควรแกอัตภาพเทา นน้ั

๔๕

¡ÒäǺ¤ÁØ ¼μÙŒ ÍŒ §¢Ñ§ทํา§Ò¹
ñ. การจัดอัตรากําลังตํารวจควบคุมผูตองขังทํางาน ใหจัดกําลังตามท่ีไดกลาวไวใน
บททว่ี าดว ยการนําผถู กู ควบคมุ เดนิ ทางโดยอนุโลม
ò. ตํารวจช้ันประทวนซ่ึงรับหนาที่ควบคุมผูตองขังไปทํางานมีอาวุธปนพรอมดวย
กระสนุ ใหเ หมาะสมแกเ หตกุ ารณ
ó. เมอ่ื เดนิ ทางไปถงึ สถานทที่ จ่ี ะใหท าํ งานแลว ใหห วั หนา ผคู วบคมุ จดั ตาํ รวจประจาํ อยู
ตามท่ีผูตองขังอาจจะหลบหนีไปได สวนหัวหนาผูควบคุมใหควบคุมอยูใกลๆ ใหหมั่นนับจํานวน
ผตู อ งขงั ใหค รบตามจํานวนอยูเสมอ
ô. หามตํารวจที่ควบคุมพูดคุยกับผูตองขัง นอกจากสั่งการ และใหยืนคุมอยูหางจาก
ผูตอ งขงั ตามสมควร อยาใหผ ูตองขงั เขาใกลแยงอาวธุ หรือหลบหนีได
ถา ผูตองขงั หลบหนีใหตาํ รวจติดตามจบั โดยทันที

๔๖ ºÞÑ ªÕÃÒª×Íè ¼ŒÙ¶Ù¡¤Çº¤ØÁ
»ÃÐจําÇѹ·.Õè .....................
ลําดบั รายชือ่ ผูถ ูกควบคุม
ขอหา วนั เดอื นป วันเดือนป รอยเวร หมายเหตุ
ควบคุม ปลอยตัว สอบสวน
หรอื สงศาล

..................................................เจา หนา ทผี่ คู วบคมุ ไดม อบตวั ผตู อ งหาจํานวน................................คน
ใหแก....................................เจาหนาท่ีผูควบคุมผลัดใหม ต้ังแตเวลา................................คน
เปนที่เรียบรอยแลว

ลงชอ่ื ................................................ผมู อบเวร
(............................................)

ลงชอ่ื ................................................ผูร ับมอบเวร
(คด.๖-๐๒๐๑/๒๕๔๐)


Click to View FlipBook Version