The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

4_LA22204_ระเบียบการตำรวจ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-06-28 04:26:24

4_LA22204_ระเบียบการตำรวจ

4_LA22204_ระเบียบการตำรวจ

๔๗

¡ÒäǺ¤ØÁ¼Ù¶Œ ¡Ù ¤ÁØ ¢Ñ§Ê§‹ ·Ò§Ã¶ä¿
ñ. ใหเปนหนาท่ีของหัวหนาสถานีตํารวจหรือหัวหนารับผิดชอบหนวยงานที่ควบคุม
ผูตองหา ผูตองขังหรือจําเลยติดตอขอตูรถไฟสําหรับบรรทุกโดยเฉพาะจากสถานีรถไฟตนทาง
และใหปฏบิ ัตดิ งั น้ี

๑.๑ ทาํ หนังสอื ขอรถรับสง โดยแจง ใหทราบดวยวา จะสงจากไหนถึงไหน กําหนด
วันเวลาใด จํานวนผูถูกคุมขังก่ีคน ควบคุมเทาใด และตองขอขบวนเท่ียวแรกท่ีจะออกจากสถานี
รถไฟแหงน้นั ทกุ คราว

๑.๒ กรณีจะสงจากจังหวัดอ่ืนนอกจากกรุงเทพมหานคร ตองบอกลวงหนากอน
ที่จะสงไมนอยกวาเจ็ดวัน ถาจะสงจากกรุงเทพมหานคร ตองบอกลวงหนากอนท่ีจะสงไมนอยกวา
ยีส่ ิบสีช่ ัว่ โมง

๑.๓ การรถไฟแหงประเทศไทยไดตกลงไววา จะจัดรถสําหรับควบคุมสงตางหาก
โดยจะคิดคาโดยสารชั้นท่ี ๓ จํานวนหาคนเปนอยางนอย ถาคนโดยสารเกินหาคนจะคิดคาโดยสาร
เปน รายคน แตสาํ หรบั ผถู กู คุมขงั คา โดยสารจะลดลงเหลือกึ่งหนง่ึ

ò. กอ นทจี่ ะควบคมุ ผถู ูกคุมขังขน้ึ รถไฟ ใหหัวหนาผคู วบคุมตรวจตราดงั น้ี
๒.๑ เครอ่ื งพันธนาการเรยี บรอ ยแขง็ แรงมนั่ คงดีหรอื ไม
๒.๒ มีเครือ่ งมือหรอื อาวธุ อยา งใดติดตัวบา งหรอื ไม
เม่ือตรวจเรียบรอยแลว ใหคุมขึ้นรถไฟ แลวลามโซผูถูกคุมขังติดไวกับที่น่ังในรถไฟ

อีกชัน้ หนง่ึ
ó. ในกรณีท่ีเจาหนาท่ีตํารวจไมสามารถจัดหาเจาหนาที่ควบคุมไดเพียงพอ เมื่อไดรับ

การรอ งขอใหทางเรือนจาํ จดั ผูคมุ สมทบกบั ตาํ รวจ และใหถ ือปฏิบัตดิ งั น้ี
๓.๑ ใหผ คู มุ ของเรอื นจาํ อยใู นบงั คบั บญั ชาของตาํ รวจผเู ปน หวั หนา ในการควบคมุ นน้ั
๓.๒ หากผูถูกคุมขังเปนนักโทษอุกฉกรรจมหันตโทษ ใหเรือนจําจัดขาราชการ

ระดบั สามหรือเทียบเทาข้นึ ไปเปนผคู ุมรว มไปดว ย
ô. หากการควบคุมผูถูกคุมขังโดยทางรถไฟ จะตองพักคางคืนในระหวางทางแลว

จะตองปฏบิ ัตดิ ังนี้
๔.๑ ใหหัวหนาสถานีตํารวจหรือหัวหนารับผิดชอบหนวยงานตนทางแจงไปยัง

หัวหนาสถานีตํารวจหรือหัวหนาผูรับผิดชอบหนวยงานทองท่ีที่ขบวนรถไฟไปจอดคางคืนจัดตํารวจ
ไปชวยควบคุมดูแลโดยจะควบคุมไวบนขบวนรถหรือจะฝากควบคุมไวที่สถานีตํารวจหรือหนวยงาน
นั้นก็ได ถามีความประสงคจะฝากควบคุมยังเรือนจํา ใหพิจารณาเฉพาะแตกรณีที่เห็นวาถาควบคุม
ไวบนขบวนรถไฟจะเกิดการเสียหาย เชน ผูถูกควบคุมมีจํานวนมาก หรือมีเหตุสอพิรุธวา
มกี ารหลบหนใี นการนเี้ พอื่ ความสะดวกควรทาํ ความตกลงกบั จงั หวดั ทจี่ ะพกั คา งคนื ใหเ รยี บรอ ยเสยี กอ น

๔๘

๔.๒ ในกรณีท่ีไมสามารถแจงลวงหนาหรือทําความตกลงกอนไดทัน ใหหัวหนา
สถานีตํารวจหรือหัวหนารับผิดชอบหนวยงานตนทางแจงความประสงคใหหัวหนาสถานีตํารวจ
หรอื หวั หนารบั ผิดชอบงานทองทีท่ ีข่ บวนรถไฟจะพักคางคืนทราบพรอมกันกไ็ ด

¡ÒäǺ¤ØÁ¼Œ¶Ù Ù¡¤ÁØ ¢§Ñ ä»ÁÒÃÐËÇ‹Ò§ÈÒÅ¡ºÑ àÃ×͹จํา
ñ. ใหจัดทําสมุดบัญชีรับมอบตัวผูตองหาหรือผูตองขังหรือจําเลยไปมาระหวางศาล
ขึ้น ๑ เลม สําหรับจดรายช่ือตามที่รับและมอบตัว โดยใหเจาพนักงานตํารวจผูรับตัวลงนามไวเปน
หลกั ฐาน ถา มอบตวั ผถู กู คมุ ขงั แกเ จา หนา ทเ่ี รอื นจาํ เจา หนา ทอี่ ยั การหรอื เจา หนา ทศ่ี าลกใ็ หล งชอ่ื รบั ตวั
ในสําเนาหนังสือสงตัวเปนหลักฐาน แลวนํากลับมาบันทึกเพิ่มเติมไวเปนหลักฐานอีกช้ันหน่ึง
ถานําตัวกลับมาคุมขงั ตอกใ็ หลงชื่อรับคนื ตวั กันไวใหถ ูกตอง
ò. ผูท่ีมีความประสงคจะเย่ียมหรือติดตอกับผูถูกคุมขังท่ีถูกควบคุมไปมาระหวาง
ศาลกับเรือนจําตองไดรับอนุญาตจากหัวหนาตํารวจผูควบคุมเสียกอนเมื่อไดรับอนุญาตแลวจะเย่ียม
หรือตดิ ตอได
ó. ผูขอเย่ยี มหรอื ตดิ ตอ จะไมไ ดร ับอนญุ าตใหเ ขาเยยี่ มหรอื ติดตอ ในกรณตี อไปนี้

๓.๑ มีอาการแสดงวาเสพสุรามึนเมานาจะกอความรําคาญหรือความไมสงบ
เรยี บรอ ยขนึ้ ได

๓.๒ มเี หตผุ ลอันควรเชือ่ วา ถา อนญุ าตใหเย่ียมหรอื ตดิ ตอ แลว จะกอ การรายข้ึนได
๓.๓ ไมเ ปนญาตมิ ติ รหรอื ไมมกี จิ ธุระเก่ยี วของกบั ผจู ะเขา เยี่ยม
๓.๔ มีกริ ยิ าไมส ภุ าพ พูดจาเสยี ดสผี ูอ ืน่
ô. ผูควบคุมจะรับฝากเงินหรือส่ิงใดๆ จากผูถูกคุมขังไมไดและจะตองระมัดระวัง
กวดขนั การรบั สง ส่งิ ของจากบคุ คลภายนอกดวย
¡ÒÃนํา¼ŒÙ¶Ù¡¤ÁØ ¢Ñ§à´Ô¹·Ò§
ñ. การนําผูตองหา จําเลย หรือผูตองขังซ่ึงถูกพันธนาการเดินไปในทางสาธารณะ
หรือยานพาหนะสาธารณะที่มีผูโดยสารอ่ืนปะปนอยูดวยนั้น ไมควรกระทําเพราะเปนการประจาน
และนาอับอายแกผูถูกคุมขัง ถาจะพาผูถูกคุมขังเดินทางก็ใหหายานพาหนะเฉพาะซึ่งไมเกี่ยวกับ
ประชาชนท่ีจะรวมไปดวยได เวนแตกรณีท่ีไมมีทางหลีกเลี่ยงตามเหตุผลท่ีกลาวนี้ไดใหเปนหนาที่ของ
ผูที่จัดใหควบคุมไปบันทึกเหตุผลแหงความจําเปนที่ไมมีทางหลีกเล่ียง เชน ทางที่จะไปน้ันคับแคบ
จาํ ตองพาเดินไป เปนตน
การใชยานพาหนะเพ่ือนําผูถูกคุมขังเดินทางน้ี ถาไดพยายามดําเนินการทุกทางแลว
แตไมสําเร็จ ก็ใหหาเชายานพาหนะโดยเฉพาะเทาที่จําเปนได เวนแตการควบคุมผูวิกลจริตนั้น
ใหใ ชยานพาหนะ เฉพาะเปนพิเศษทกุ คราวไป

๔๙

ò. การจัดกําลังและอาวุธท่ีจะใชในการควบคุมผูถูกคุมขัง ใหผูมีหนาที่รับผิดชอบ
ปฏบิ ตั ดิ ังน้ี

๒.๑ จัดกําลังตํารวจและอาวุธใหเหมาะสมแกการควบคุมอยาใหผูถูกคุมขัง
หลบหนีไดโ ดยอาศยั แนวทางพจิ ารณาประกอบดงั น้ี

๒.๑.๑ ความหนกั เบาแหง ขอหา
๒.๑.๒ ความประพฤติ
๒.๑.๓ สถานที่ เวลาและระยะทางทจ่ี ะควบคมุ ไป
๒.๑.๔ ยานพาหนะท่ีใชใ นการควบคุม
๒.๑.๕ จํานวนตํารวจที่จะจัดน้ันพอที่จะผลัดเปล่ียนและระมัดระวัง
ตามสมควรหรอื ไม
๒.๒ จา ยอาวุธปน แกผคู วบคมุ ใหเ หมาะสมแกเ หตุการณ
๒.๓ หามผคู วบคุมพาผถู กู คมุ ขังแวะเวยี นไปในทใ่ี ดๆ
สําหรับผูตองขังหรือจําเลยคนใดถึงกับจะตองใชตรวนหรือไมนั้น ใหเปนหนาท่ีของ
ผูบัญชาการ หรือพัศดีเรือนจํากับหัวหนาสถานีตํารวจ หรือสารวัตรหัวหนาหนวยงานรวมกัน
พิจารณาเปนรายๆ ไป
ó. การนําผูถูกคุมขังซ่ึงถูกพันธนาการเดินทางหรืออยูในสถานที่ ใหเจาพนักงาน
ผูรับผิดชอบใชความระมัดระวังและใหความปลอดภัยแกผูถูกคุมขังตามความเหมาะสมแกเหตุการณ
เชน ผูตองหาถูกใสกุญแจมือจะพาขามนํ้าโดยเรือ ควรจะใสกุญแจมือขางเดียวรอยปลายโซไว
หรอื เกดิ อคั คภี ยั ใกลส ถานทคี่ วบคมุ จนมองเหน็ ไดว า ไมป ลอดภยั แกผ ถู กู ควบคมุ ใหร บี หาทางแยกยา ย
ผตู อ งหาใหพ น เขตอนั ตราย เปนตน
¡Òû¯ºÔ μÑ Ô㹡ÒäǺ¤ÁØ ¼ŒÙμŒÍ§ËÒ·ºèÕ Ò´à¨çº
ñ. กรณีผูตองหาไดรับบาดเจ็บและแพทยรับตัวไวรักษาในโรงพยาบาลหรือ
สถานพยาบาล ถา โรงพยาบาลหรอื สถานพยาบาลน้ันอยูใ นเขตทอ งท่ีท่เี กิดเหตุ ใหพ นักงานสอบสวน
เจาของคดีจัดตํารวจในบังคับบัญชาไปควบคุม ถาโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลอยูนอกเขตทองท่ี
ใหรีบแจงขอใหเจาหนาที่ตํารวจทองท่ีที่โรงพยาบาลน้ันต้ังอยูจัดตํารวจไปควบคุมผูตองหานั้น
ใหเจาหนาท่ีตํารวจ ผูไดรับการรองขอจัดตํารวจไปควบคุม การควบคุมน้ีจะตองดําเนินการ
ตามกฎหมายวาดว ยอํานาจการควบคุม
ò. ถาปรากฏแกเจาพนักงานตํารวจวามีผูบาดเจ็บมาขอใหแพทย โรงพยาบาลหรือ
สถานพยาบาลใดรักษาโดยลําพัง หากไดความวาผูบาดเจ็บเปนผูกระทําความผิดในเขตทองท่ีใด
และหลบหนีมา ใหควบคุมและรบี แจง พนักงานสอบสวนทองท่ีที่เกดิ เหตุมารบั ตัวดาํ เนินการตอ ไป

๕๐

ó. ในกรุงเทพมหานคร ถาจะตองควบคุมผูตองหาหรือผูคุมขัง หรือจําเลยในคดี
เก่ียวกับการเมือง ซึ่งตองรับการรักษายังโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลแลวใหเปนหนาที่ของ
ผูบังคับการตํารวจสันติบาลจัดการควบคุม ถาจังหวัดอื่นท่ีไมมีกองตํารวจสันติบาลตั้งอยูใหเปน
หนา ทีข่ องตาํ รวจทอ งทรี่ บั ดาํ เนินการควบคุมตามแนวทางที่ตาํ รวจสันติบาลไดม อบหมายไว

ô. ถาผูตองหามีเครื่องพันธนาการอยูและแพทยผูตรวจรักษาใหถอดเคร่ือง
พันธนาการเพ่ือสะดวกแกการตรวจรักษาแลว ก็ใหดําเนินการตามที่แพทยประสงค เม่ือเสร็จแลว
จงึ ใชเครอ่ื งพนั ธนาการตามเดิม

¡Òýҡ¤Çº¤ØÁ
ñ. เมื่อตํารวจหนวยอ่ืนจับกุมผูตองหาในทองที่ของสถานีตํารวจใดได และจะตอง
นําตัวผูตองหานั้นไปดําเนินคดียังที่ทําการของตํารวจผูทําการจับกุมหรือพนักงานสอบสวนอ่ืน
แตไมสามารถจะเดินทางไปในวันน้ันไดทัน หรือควบคุมผูตองหาหรือจําเลยหรือผูตองขังผานมา
เพ่ือพักคางคืนในเขตทองท่ีของสถานีตํารวจใด ใหตํารวจผูจับกุมหรือควบคุมผานมาพักคางคืนน้ัน
นาํ ตวั ผถู กู ควบคมุ ไปฝากควบคมุ ไวย งั สถานตี าํ รวจเจา ของทอ งทที่ จ่ี บั ไดห รอื เจา ของทอ งทที่ เี่ ดนิ ทางไปถงึ
ใหสถานีตํารวจนั้นรบั ฝากควบคุมไว
กรณีที่สถานีตํารวจใดมีผูถูกควบคุมจํานวนมาก ไมมีหองควบคุมพอบรรจุไดทั้งหมด
หรือเพื่อประโยชนแหงคดี ตองการจะแยกผูถูกควบคุมในคดีเดียวกันไวคนละแหง อาจนําตัวผูถูก
ควบคุมนั้นไปฝากควบคุมไวยังสถานีตํารวจอ่ืนใกลเคียงได ใหสถานีตํารวจน้ันรับฝากควบคุมไว
เชน เดยี วกัน
ò. ใหเจาพนักงานผูฝากและรอยตํารวจเวรประจําการผูรับฝากทําหลักฐาน
การรับฝากไดตอกัน และลงลายมือชื่อไวฝายละฉบับ เม่ือรับตัวคืนก็ใหทําหลักฐานไวเชนเดียวกัน
การรับฝาก และรับตวั คืนใหลงรายงานประจําวนั ไวดวย
ó. เม่ือตํารวจหนวยอื่นขอกําลังสถานีตํารวจทองท่ีเพ่ือคุมตัวผูถูกควบคุมสง
ณ ที่ใดๆ ภายในจังหวัดเดียวกันหรือจังหวัดใกลเคียง ใหตํารวจทองท่ีจัดกําลังตํารวจชวยเหลือ
ตามสมควร

¡Òþº·¹Ò¤ÇÒÁ ¡ÒÃàÂÂèÕ ÁáÅÐÃÑ¡ÉÒ¾ÂÒºÒÅ

ñ. ใหเจาพนักงานตํารวจซึ่งรับมอบตัวผูถูกจับหรือผูตองหา มีหนาท่ีแจงใหผูถูกจับ
หรือผูตองหานั้นทราบในโอกาสแรกถึงสิทธิในการพบและปรึกษาทนายความ หรือผูที่จะเปน
ทนายความสองตอสอง ไดร บั การเยีย่ มหรอื ตดิ ตอกบั ญาติไดตามสมควรและไดร บั การรกั ษาพยาบาล
โดยเร็วเมื่อเกิดอาการเจ็บปวย แลวลงรายงานประจําวันของสถานีตํารวจหรือที่ทําการของตํารวจ
โดยใหผูแ จง และผูถกู จับหรอื ผูต องหาลงช่ือไวเ ปน หลักฐานตามแบบลกั ษณะ ๓ บทที่ ๒

๕๑

ò. การพบและปรึกษาทนายเปนสิทธิเฉพาะตัวของผูถูกจับหรือผูตองหาท่ีถูกควบคุม
หรือขังผูอืน่ หรอื ทนายท่ีไมไ ดร บั การรองขอจากผูถกู จบั หรอื ผตู องหาไมอาจใชส ทิ ธดิ ังกลาวนี้ได

ó. วิธปี ฏิบัติเกี่ยวกบั การรองขอพบและปรึกษาทนายความ มีดงั นี้
๓.๑ เม่ือผูถูกจับหรือผูตองหาตองการพบเพ่ือปรึกษาทนายความจะตองรองขอ

ตอรอยเวรสอบสวนประจําสถานีตํารวจหรือหนวยราชการท่ีตนถูกควบคุมหรือขังอยูโดยตองระบุ
ชื่อทนายความท่ีผูถ กู จบั หรอื ผตู อ งหาประสงคจ ะพบและปรกึ ษาดว ย

๓.๒ การรองขอพบเพื่อปรึกษาทนายความผูถูกจับหรือผูตองหาจะทําคํารอง
เปน หนังสอื หรอื ดว ยวาจาก็ได กรณรี อ งขอดวยวาจาใหบ นั ทกึ ประจาํ วนั ไวเ ปนหลกั ฐานดวย

ô. เมื่อทนายความท่ีผูถูกจับหรือผูตองหารองขอพบและปรึกษา ขอเขาพบผูถูกจับ
หรอื ผตู อ งหาในวนั และเวลาอนื่ นอกเวลาราชการ เมอื่ รอ ยตาํ รวจเวรสอบสวนพจิ ารณาเหน็ วา มเี หตผุ ล
และความจําเปนก็อาจอนุญาตใหพบและปรึกษากันไดเปนการเฉพาะรายหากเห็นสมควรไมอนุญาต
ใหบนั ทึกเสนอหัวหนา สถานีตํารวจ หรือสารวตั รหวั หนา หนวยงานพิจารณาสง่ั การโดยมิชักชา

õ. การอนุญาตใหผูถูกจับหรือผูตองหาพบและปรึกษาทนายความเปนการเฉพาะตัว
ใหถ ือปฏิบัติดังนี้

๕.๑ สถานีตํารวจ หรือหนวยราชการใดมีหองควบคุมที่อาจจัดขึ้นเปนพิเศษ
เพ่ือใหทนายความพบและปรึกษากับผูถูกจับหรือผูตองหาสองตอสองโดยแบงเปนสัดสวนได
ตองจดั ใหผ ูถกู จับหรือผูตองหาพบและปรึกษาทนายความในทซี่ ่ึงจัดไวน ัน้

๕.๒ สถานีตํารวจหรือหนวยราชการใดยังไมมีหองควบคุมท่ีอาจจัดข้ึนเปนพิเศษ
เพ่ือใหทนายความพบและปรึกษากับผูถูกจับหรือผูตองหาสองตอสองโดยแบงเปนสัดสวนได ควรให
ผูถูกจับหรือผูตองหาพบและปรึกษาทนายความทํานองการเย่ียมอยางธรรมดา แตพยายามเปด
โอกาสใหพบและปรึกษากนั เปนสว นตัวเทาทจี่ ะกระทาํ ได

ในระหวางผูถูกจับหรือผูตองหากับทนายพบและปรึกษากันจะตองอยูในสายตาของ
ผูควบคมุ ตลอดเวลาและระมัดระวังอยา ใหผ ูถ กู จบั หรือผตู องหาหลบหนีเปน อนั ขาด

ö. กอนที่รอยเวรสอบสวนจะอนุญาตใหผูถูกจับหรือผูตองหาไดพบและปรึกษา
กับบุคคลใดซึ่งอางวาเปนทนายความท่ีผูถูกจับหรือผูตองหาระบุชื่อขอพบ ใหกรอกขอความ
ลงในบันทึกการพบและปรึกษาทนายความตามแบบทายบทนี้ และใหพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ
นําบันทกึ ดังกลาว รวมไวใ นสํานวนการสอบสวนเพอื่ เปน หลักฐานดวย

÷. ใหสถานีตํารวจหรือหนวยราชการที่มีหนาที่ควบคุมผูตองหาทุกแหง จัดใหมี
สมุดบันทึกการพบและปรึกษาทนายความของผูถูกจับหรือผูตองหา เพ่ือจดบันทึกการปฏิบัติ
เปนหลักฐาน ในกรณีดังตอ ไปนี้

๕๒

๗.๑ เมื่อไดรับคํารองขอจากผูถูกจับหรือผูตองหาวาจะขอพบและปรึกษา
ทนายความ รอยเวรสอบสวนตองจดบันทึกลงไวในสมุดแสดงวาผูถูกจับหรือผูตองหารองขอพบ
ทนายความผูใ ดไดม ีการรองขอวนั เวลาใด แลวใหผูถูกจับหรือผูตอ งหาลงชือ่ ไวเ ปน หลักฐาน

๗.๒ เมื่อไดอนุญาตใหผูถูกจับหรือผูตองหาพบและปรึกษาทนายความ รอยเวร
สอบสวนตองจดบันทึกลงไวในสมุดใหปรากฏรายละเอียดวา ทนายความผูใดเขาพบและปรึกษากับ
ผูถูกจับหรือผูตองหาเม่ือเวลาใด กลับเวลาใด แลวใหผูถูกจับหรือผูตองหาและทนายความลงช่ือ
ไวเปน หลักฐานในสมุดนน้ั ดวย

๗.๓ ในกรณีที่หัวหนาสถานีตํารวจ หรือสารวัตรหัวหนาหนวยงานสั่งไมอนุญาต
ใหผูถูกจับหรือผูตองหาพบและปรึกษากับทนายความโดยมีเหตุอันควร ตองจดบันทึกเหตุผลท่ีส่ัง
ไมอนญุ าตไวใ นสมุดโดยละเอยี ดแลว ใหผ ูถูกจับหรอื ผูตอ งหาลงชือ่ รบั ทราบไว

๗.๔ ในกรณอี น่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วกบั การน้ี ซง่ึ รอ ยเวรสอบสวนเหน็ สมควรกใ็ หจ ดบนั ทกึ ไว
ø. เมื่อผูถูกจับหรือผูตองหาที่ถูกควบคุมหรือขังประสงคจะพบญาติหรือบุคคลอ่ืนใด
ใหเจาพนักงานตํารวจอํานวยความสะดวกแจงใหญาติหรือบุคคลอ่ืนใดนั้นทราบตามที่ผูถูกจับ
หรอื ผูตองหารอ งขอ
การเยี่ยมหรือติดตอกับผูถูกจับหรือผูตองหาที่ถูกควบคุมหรือขังอยูสถานีตํารวจ
หรอื ที่ทําการ ใหเย่ียมหรอื ติดตอตามเวลาท่ผี ูบัญชาการสาํ นักงานตาํ รวจแหง ชาติกําหนดไว
กรณีการเยี่ยมนอกเวลาที่ผูบัญชาการสํานักงานตํารวจแหงชาติกําหนดไวจะตอง
ไดรับอนุญาตจากรอยเวรสอบสวนกอน เมื่อไดรับอนุญาตแลวจึงจะเขาเยี่ยมหรือติดตอได หาก
รอยเวรสอบสวนพิจารณาแลวเห็นวาผูขอเยี่ยมหรือติดตอไมมีเหตุอันสมควรท่ีจะอนุญาตไดก็ให
เสนอถงึ หวั หนาสถานีตาํ รวจหรือสารวัตรหัวหนา หนวยงานพจิ ารณาสัง่ การตามควรแกก รณี
ù. กรณีผูถูกจับหรือผูตองหาในคดีเกิดเจ็บปวยกอนควบคุมตัวหรือในระหวางเดินทาง
ใหเจาหนาท่ีตํารวจผูจับนําผูถูกจับหรือผูตองหาที่เจ็บปวยสงโรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานี
อนามยั ในเขตทอ งทท่ี เ่ี กดิ เหตุ หรอื ใกลเ คยี ง เพอื่ รบั การรกั ษาพยาบาลโดยเรว็ และใหพ นกั งานสอบสวน
จัดเจาหนาที่ตํารวจไปควบคุม ถาโรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยอยูนอกเขตทองที่ ก็ใหรีบติดตอ
เจาหนาท่ีตํารวจทองที่ที่โรงพยาบาลหรือสถานีอนามัยตั้งอยู จัดเจาหนาท่ีตํารวจควบคุม
ผูถูกจับหรือผูตองหานั้น ใหเจาหนาที่ตํารวจผูไดรับการรองขอจัดเจาหนาท่ีตํารวจไปทําการควบคุม
โดยจะตองดําเนินการตามระเบียบวาดวยการควบคุม ท้ังน้ีใหพนักงานสอบสวนบันทึกรายละเอียด
การสง ตัวผูถูกจับหรือผตู อ งหาไปรักษาพยาบาลลงสมุดรายงานประจําวนั ดวย
ñð. กรณีผูตองหาเกิดเจ็บปวยในระหวางถูกควบคุมตัวที่สถานีตํารวจหรือที่ทําการ
ใหรอยเวรสอบสวนรีบรายงานใหหัวหนาสถานีตํารวจ หรือสารวัตรหัวหนาหนวยงาน เพ่ืออนุญาต
นําตัวผูตองหาท่ีเกิดเจ็บปวยสงโรงพยาบาลของทางราชการหรือสถานีอนามัยเพื่อรับการรักษา

๕๓

ถาผูมีอํานาจอนุญาตไมอยูหรือไมอาจปฏิบัติหนาที่ไดและหากลาชาอาจเกิดอันตรายแกผูถูกจับ
หรือผูตองหาที่เจ็บปวยใหรอยเวรสอบสวนรีบสงตัวผูถูกจับหรือผูตองหาที่เจ็บปวยไปรับ
การรกั ษาพยาบาลโดยเร็วเมื่อสง แลวใหรายงานใหผมู อี าํ นาจอนุญาตทราบ

ññ. ในกรณีผูถูกจับหรือผูตองหาเจ็บปวย ไมอาจนําตัวสงโรงพยาบาลทางราชการ
หรอื สถานอี นามัยตาม ๙ และ ๑๐ ไดท ันทวงที จะนาํ ตัวผูถูกจบั หรอื ผูตองหาสง โรงพยาบาลเอกชน
ท่ีใกลเคียงใหชวยเหลือรักษาในเบื้องตนก็ได การควบคุมผูถูกจับหรือผูตองหาใหดําเนินการตาม ๙
โดยอนุโลม

ñò. กรณีผูถูกจับหรือผูตองหารองขอพบแพทยสวนตัวคนใด ใหเจาพนักงานตํารวจ
อํานวยความสะดวกจัดการใหแพทยน้ันมาพบเพ่ือรักษาพยาบาลก็ได แตตองอยูในความควบคุม
ดแู ลอยา งใกลชดิ เพ่ือปองกันการหลบหนี

๕๔

º¹Ñ ·Ö¡¡Òâ;ºáÅÐ»Ã¡Ö ÉÒ·¹Ò¤ÇÒÁ

สถานที่บนั ทกึ ................................................
วัน................เดอื น............................พ.ศ. .................
บนั ทกึ นเ้ี ปน หลกั ฐานแสดงวา (นาย/นาง/นางสาว)............................................................................
อาย.ุ ..........ป ทนายความตามใบอนญุ าตเลขท.่ี ........ลงวนั ท.่ี ........เดอื น.........................พ.ศ. ..........
เปน ผทู จ่ี ะเปน ทนายของผตู อ งหา (นาย/นาง/นางสาว)...........................................................................
ตอ งหาวา .......................................................................................................................................
เหตเุ กดิ เมอ่ื วนั ท.ี่ ...........เดือน...............................พ.ศ. ............ท.่ี ..................................................
ตาํ บล/แขวง....................................อาํ เภอ/เขต....................................จงั หวดั ....................................
รอ งขอพบและใหคําปรกึ ษาตามประมวลกฎหมายวธิ ีพจิ ารณาความอาญา มาตรา ๗/๑ ซง่ึ เจา หนาที่
ตาํ รวจจะไดด ําเนินการใหต อไป

ลงชื่อ................................................ทนายความ
(.............................................)

ลงช่ือ................................................รอ ยเวรสอบสวน
(.............................................)

(คด.๖-๑๒๐๖/๒๕๔๐)

๕๕

คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ôùõø/òõõñ
แมเจาพนักงานตํารวจจะมิไดดําเนินการขอหมายคนจากศาลชั้นตนกอนเขาตรวจคน
บานจําเลยก็ตาม แตขอเท็จจริงฟงไดวาสายลับลอซ้ือเมทแอมเฟตามีนที่หนาบานจําเลย และ
เจาพนักงานตํารวจผูจับกุมไดแอบซุมดูและเห็นเหตุการณการลอซื้อดังกลาว จึงเขาตรวจคน
และจบั กมุ จาํ เลย เปน กรณที เี่ จา พนกั งานตาํ รวจพบเหน็ การกระทาํ ความผดิ ฐานจาํ หนา ยเมทแอมเฟตามนี
และมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพ่ือจําหนายอันเปนความผิดซ่ึงหนา และการตรวจคน
จับกุมไดกระทําตอเนื่องกัน เจาพนักงานตํารวจจึงเขาตรวจคนบานจําเลยไดโดยไมจําตองมีหมายคน
ตาม ป.วิ.อ.มาตรา ๙๒(๒) (เดิม) ซ่ึงเปน กฎหมายท่ใี ชบงั คับในขณะกระทําความผิด
โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.๒๕๒๒
มาตรา ๔, ๗, ๘, ๑๕, ๖๖, ๑๐๒ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ รบิ ของกลาง
จาํ เลยใหก ารปฏิเสธ
ศาลชนั้ ตน พพิ ากษาวา จาํ เลยมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒
มาตรา ๑๕ วรรคหนึ่ง (เดิม), ๖๖ วรรคหนึ่ง (ที่แกไขใหม) เรียงกระทงลงโทษตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๙๑ ฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพ่ือจําหนาย จําคุก ๑๐ ป
ฐานจําหนายเมทแอมเฟตามีน จําคุก ๕ ป รวมจําคุก ๑๕ ป จําเลยใหการรับสารภาพในชั้นจับกุม
และชั้นสอบสวนเปนประโยชนแกการพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษ ลดโทษใหหน่ึงในสาม
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ คงจําคุก ๑๐ ป ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จําàÅÂÍ·Ø ¸Ã³
ศาลอุทธรณภาค ๒ พิพากษาแกเปนวา ความผิดฐานมีเมทแอมเฟตามีน
ไวในครอบครองเพือ่ จําหนา ย จาํ คกุ ๗ ป ลดโทษใหหนึง่ ในสาม คงจําคกุ ๔ ป ๘ เดือน เมือ่ รวม
กับโทษในความผิดฐานจําหนายเมทแอมเฟตามีนแลว เปนจําคุก ๗ ป ๑๒ เดือน นอกจากที่แกไข
ใหเ ปน ไปตามคําพิพากษาศาลช้ันตน
จาํ àÅ®աÒ
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา “เห็นวา คดีนี้ศาลช้ันตนพิพากษาลงโทษจําเลยในความผิดฐานมี
เมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพื่อจําหนาย จําคุก ๑๐ ป และฐานจําหนายเมทแอมเฟตามีน
จาํ คกุ ๕ ป รวมจาํ คุก ๑๕ ป ลดโทษใหหน่ึงในสามตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ คงจาํ คุก
๑๐ ป ศาลอุทธรณภาค ๒ พิพากษายืนในความผิดฐานจําหนายเมทแอมเฟตามีน สวนความผิด
ฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพ่ือจําหนาย ศาลอุทธรณภาค ๒ พิพากษาแกโทษจําคุก
ใหนอยลงจาก ๑๐ ป เปน ๗ ป และลดโทษใหห น่ึงในสาม คงจําคุก ๔ ป ๘ เดือน จึงเปนกรณที ีศ่ าล
อุทธรณภาค ๒ พพิ ากษายนื และแกไ ขเล็กนอย โดยลงโทษจําคุกแตล ะกระทงไมเ กนิ ๕ ป คดีจงึ ตอ ง
หา มมิใหค ูค วามฎกี าในปญหาขอ เท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๒๑๘
วรรคหน่ึง ทจี่ าํ เลยฎกี าวา พยานหลักฐานของโจทกไ มน าเช่ือวามกี ารวางแผนลอซื้อเมทแอมเฟตามีน

๕๖

จากจําเลยและโจทกไมไดนําสายลับมาเบิกความ ท้ังประจักษพยานโจทกก็ไมนาเห็นเหตุการณ
เนื่องจากขณะเกิดเหตุเปนเวลากลางคืนและบริเวณท่ีเกิดเหตุมีแสงสลัวๆ เทานั้น อีกทั้งจําเลย
ใหการรับสารภาพโดยไมสมัครใจ พยานหลักฐานของโจทกจึงไมพอฟงลงโทษจําเลยกับที่จาํ เลยขอให
ลงโทษสถานเบานั้น ลวนเปนการโตแยงดุลพินิจในการรับฟงพยานหลักฐานและดุลพินิจในการ
ลงโทษของศาลอุทธรณ ภาค ๒ จึงเปนฎีกาในปญหาขอเท็จจริงซึ่งตองหามมิใหฎีกาตามบท
กฎหมายขางตน การที่ศาลชั้นตนส่ังรับฎีกาของจําเลยดังกลาวมาจึงเปนการไมชอบ ศาลฎีกาไมรับ
วินิจฉัยให คงมีปญหาขอกฎหมายท่ีตองวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยเพียงวา เจาพนักงานตํารวจ
ตรวจคนบานจําเลยโดยไมมีหมายคนเปนการไมชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา แมเจาพนักงาน
ตํารวจจะมิไดดําเนินการขอหมายคนจากศาลช้ันตนกอนเขาตรวจคนบานจําเลยก็ตาม แตขอเท็จจริง
ฟงไดวาสายลบั ลอ ซ้ือเมทแอมเฟตามีนที่หนาบานจําเลย และเจาพนกั งานตาํ รวจผจู บั กมุ ไดแอบซุม ดู
และเห็นเหตุการณลอซ้ือดังกลาว จึงเขาตรวจคนและจับกุมจําเลย เปนกรณีท่ีเจาพนักงานตํารวจ
พบเห็นการกระทําความผิดฐานจําหนายเมทแอมเฟตามีนและมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครอง
เพื่อจําหนายอันเปนความผิดซ่ึงหนาและการตรวจคนจับกุมไดกระทําตอเนื่องกัน เจาพนักงาน
ตํารวจจึงเขาตรวจคนบานจําเลยไดโดยไมจําตองมีหมายคนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
อาญา มาตรา ๙๒(๒) (เดิม) ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชบังคับในขณะทําความผิด ดังน้ี การตรวจคนบาน
จําเลยจงึ เปน ไปโดยชอบดวยกฎหมายแลว ฎีกาของจาํ เลยฟง ไมข ้ึน

พพิ ากษายืน
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷèÕ ñóòø/òõôô
นายดาบตาํ รวจ ว. คน บา นของจาํ เลยโดยมหี มายคน สว นทหี่ มายคน ระบเุ ลขทบี่ า นผดิ ไป
หามีผลทําใหหมายคนเสียไปไม การคนบานจําเลยจึงไมขัดตอรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๓๕ นายดาบตํารวจ ว. กับพวกเห็นจําเลยจําหนายเมทแอมเฟตามีน
ใหแกสายลับ เมื่อเขาไปตรวจคนบานจําเลยก็พบเมทแอมเฟตามีนอีก ๑ เม็ด การกระทําของ
นายดาบตํารวจ ว. กับพวกกระทําตอเน่ืองกันเมื่อพบเห็นจําเลยจําหนายและมียาเสพติดใหโทษ
ไวในครอบครองเพ่ือจําหนาย อันเปนความผิดซ่ึงหนาตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๘๐ จึงมีอํานาจจับจําเลยไดโดยไมตองมีหมายจับตามมาตรา ๗๘(๑) เม่ือเปนการตรวจคน
และจับจําเลยโดยชอบดวยกฎหมาย พยานหลักฐานของโจทกจึงมิใชพยานหลักฐานที่ไดมา
โดยมชิ อบดว ยมาตรา ๒๒๕ คาํ พพิ ากษายอยาว
โจทกฟอ งวา จําเลยมีเมทแอมเฟตามีน อนั เปนยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๑ จาํ นวน
๓ เม็ด นํ้าหนัก ๐.๒๑ กรัม ไวในครอบครองเพ่ือจําหนาย และจําเลยไดจําหนายเมทแอมเฟตามีน
ดังกลาวจํานวน ๓ เม็ด ใหแกสายลับผูลอซื้อในราคา ๒๐๐ บาท ขอใหลงโทษตามพระราชบัญญัติ
ยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๔, ๗, ๑๕, ๖๖, ๖๗ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑
และใหค ืนธนบตั รของกลางแกเ จา ของจาํ เลยใหก ารปฏิเสธ

๕๗

ศาลชน้ั ตน พพิ ากษาวา จาํ เลยมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒
มาตรา ๑๕ วรรคหนงึ่ , ๖๖ วรรคหนึง่ ใหเ รียงกระทงลงโทษตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๙๑
ฐานมีเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองเพ่ือจําหนาย จําคุก ๕ ป ฐานจําหนายเมทแอมเฟตามีน
จาํ คุก ๕ ป รวมจําคุก ๑๐ ป คืนธนบตั รของกลางแกเจาของ

จาํ àÅÂÍ·Ø ¸Ã³
ศาลอุทธรณภาค ๗ พิพากษาแกเปนวา ลดโทษใหจําเลยหน่ึงในส่ีตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ แลว คงจาํ คกุ ๗ ป ๖ เดอื น นอกจากท่ีแกใ หเ ปนไปตามคาํ พพิ ากษา
ของศาลช้ันตน
จาํ àÅ®¡Õ Ò
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา “ขอเท็จจริงฟงไดเปนยุติวา เม่ือวันท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๔๐ เวลา
๑๒.๐๐ นาฬก า นายดาบตาํ รวจ ว. กบั พวกทราบจากสายลบั วา ทบ่ี า นของจาํ เลยมกี ารลกั ลอบจาํ หนา ย
เมทแอมเฟตามีน จึงไดวางแผนใหสายลับไปลอซื้อเมทแอมเฟตามีนจากจําเลย โดยไดขอหมายคน
จากผบู งั คบั บญั ชาตามเอกสารหมาย จ.๓ ซงึ่ ไดร ะบใุ หค น บา นของจาํ เลยแตร ะบเุ ลขบา นเปน บา นเลขที่
๕๓/๓ ซ่ึงมิใชบานของจําเลย และไดลงบันทึกประจําวันไวกอนไปลอซ้ือดวยตามสําเนารายงาน
ประจําวันเกี่ยวกับคดีเอกสารหมาย จ.๒ สายลับไปซื้อเมทแอมเฟตามีน ๓ เม็ด จากจําเลยเปนเงิน
๒๐๐ บาท นายดาบตํารวจ ว. ซึ่งซุมดูอยูไดรับเมทแอมเฟตามีนจากสายลับแลวไดไปคนบานของ
จาํ เลยซง่ึ ยินยอมใหตรวจคน ได และไดเมทแอมเฟตามนี ๑ เม็ด กบั ธนบัตรฉบับละ ๑๐๐ บาท ๒ ฉบบั
เปนของกลาง จึงแจงขอหาแกจําเลยวา มียาเสพติดใหโทษในประภท ๑ ไวในครอบครอง
เพื่อจําหนายและจําหนาย จําเลยใหการปฏิเสธตามบันทึกการตรวจคนจับกุมดานหลังหมายคน
เอกสารหมาย จ.๓ มปี ญ หาตอ งวนิ จิ ฉยั ในชนั้ ฎกี าแตเ พยี งวา พยานหลกั ฐานของโจทกใ นคดนี ช้ี อบดว ย
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๖ หรือไม ท่ีจําเลยฎีกาวานายดาบตํารวจ ว.
กับพวกซ่ึงมิใชพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจชั้นผูใหญไปตรวจคนบานของจําเลยและยึดของกลาง
แลวจับจําเลยมาดําเนินคดีโดยไมมีหมายคนและหมายจับอันถูกตองเปนเรื่องจงใจทําตอจําเลย
โดยผิดกฎหมายเพราะจําเลยไดรับความคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๔๐ มาตรา ๓๕ ในการที่จะอยูอาศัยและครอบครองเคหสถานโดยปกติสุข พยานหลักฐานของ
โจทกจึงเปนพยานหลักฐานท่ีไดมาโดยมิชอบดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๒๒๖ น้ัน เห็นวานายดาบตาํ รวจ ว. ไปคนบานของจาํ เลยโดยมีหมายคนตามเอกสารหมาย
จ.๓ ไปดวย ดังจะเห็นไดวาไดมีการทําบันทึกการตรวจคนจับกุมท่ีดานหลังของหมายคนและใน
หมายดังกลาวมีขอความระบุใหคนบาน ซ่ึงเปนช่ือของจาํ เลย สวนที่ระบุเลขท่ีบานเปนบาน
เลขที่ ๕๓/๓ ไมตรงกับเลขท่ีบานของจาํ เลยซ่ึงเปนบานเลขที่ ๕๔/๓ นาจะเปนเรื่องเขียนตัวเลข
ผิดพลาดไปดังจะเห็นไดจากรายงานประจําวันเก่ียวกับคดีตามเอกสารหมาย จ.๒ ท่ีไดลงไวกอนไป
ตรวจคนบานของจําเลยวาไดระบุชื่อจาํ เลยและบานของจําเลยเปนบานเลขท่ี ๕๔/๓ การระบุเลขท่ี

๕๘

ของบา นจาํ เลยผดิ ไปดงั กลา วหามผี ลทาํ ใหห มายคน ดงั กลา วเสยี ไปไม ทง้ั จําเลยกย็ อมใหน ายดาบตํารวจ ว.
ตรวจคนบานของจําเลยโดยดี การตรวจคนบานของจําเลยจึงไมขัดตอรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๓๕ ตามท่ีจําเลยฎีกา สวนที่นายดาบตํารวจ ว. กับพวกจับจําเลย
มาดําเนินคดีเนื่องจากนายดาบตํารวจ ว. กับพวกเห็นจําเลยจําหนายเมทแอมเฟตามีนใหแกสายลับ
เม่ือเขาไปตรวจคนบานของจําเลยก็พบเมทแอมเฟตามีนอีก ๑ เม็ด ซ่ึงจําเลยเบิกความยอมรับวา
เปนของจาํ เลย การกระทาํ ของนายดาบตํารวจ ว. กับพวกกระทาํ ตอเน่ืองกัน เม่ือพบเห็นจาํ เลย
กระทําความผิดฐานจําหนา ยยาเสพติดใหโ ทษในประเภท ๑ และฐานมยี าเสพตดิ ใหโ ทษในประเภท ๑
ไวในครอบครองเพื่อจาํ หนาย อันเปนความผิดซ่ึงหนาดังท่ีบัญญัติไวในประมวลกฎหมาย
วธิ ีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๐ นายดาบตาํ รวจ ว. กับพวกจงึ มีอํานาจจบั จําเลยไดโดยไมต องมี
หมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๘(๑) การกระทําของ
นายดาบตํารวจ ว. กับพวกเปนการตรวจคนและจับจาํ เลยโดยชอบดวยกฎหมาย พยานหลักฐาน
ของโจทกมิใชพยานหลักฐานท่ีไดมาโดยมิชอบดวยประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๒๒๖ ตามท่ีจําเลยอา งแตอยางใด ฎีกาของจาํ เลยฟงไมขน้ึ ”

พิพากษายืน
คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ôôöñ/òõôð
จาสิบตํารวจ ส. และรอยตํารวจเอก ป. จับจําเลยได ขณะท่ีจําเลยกําลังขายวัตถุ
ออกฤทธิ์ใหแกจาสิบตํารวจ ส. ผูลอซ้ือ ถือวาเปนความผิดซ่ึงหนาขณะน้ันธนบัตรที่ใชลอซ้ืออยูที่
จําเลยและจําเลยดิ้นรนตอสู ถาปลอยใหเน่ินชากวาจะนําหมายจับและหมายคนมาได จําเลย
อาจหลบหนีและพยานหลักฐานอาจสูญหายจึงเปนกรณีฉุกเฉินอยางย่ิง จาสิบตํารวจ ส. และ
รอยตํารวจเอก ป. จึงมีอํานาจเขาไปในบริเวณบานท่ีเกิดเหตุอันเปนท่ีรโหฐานในเวลากลางคืน
โดยไมตองมีหมายคน และมีอํานาจจับจําเลยซึ่งเปนผูกระทําความผิดไดโดยไมตองมีหมายจับ
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๘๐, ๘๑ ประกอบมาตรา ๙๒(๒) และ
มาตรา ๙๖(๒)
โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลยตามพระราชบัญญัติวัตถุท่ีออกฤทธ์ิตอจิตและประสาท
พ.ศ.๒๕๑๘ มาตรา ๔, ๖, ๑๓ ทว,ิ ๘๙, ๑๑๖ คนื ธนบัตรของกลางแกเ จา ของ จําเลยใหการปฏิเสธ
ศาลชั้นตนพิพากษายกฟอ ง คืนธนบตั รของกลางแกเจา ของ
โจทกอทุ ธรณ
ศาลอุทธรณภาค ๒ พิพากษากลับวา จําเลยมีความผิดตามพระราชบัญญัติวัตถุ
ทีอ่ อกฤทธิ์ตอจติ และประสาท พ.ศ.๒๕๑๘ มาตรา ๔, ๕, ๑๓ ทวิ วรรคหนึ่ง, ๘๙, ๑๑๖ ใหลงโทษ
จําคุก ๕ ป จําเลยใหการรับสารภาพช้ันจับกุมและสอบสวน มีเหตุบรรเทาโทษลดโทษใหจําเลย
หน่ึงในสามตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ คงจําคุกจําเลย ๓ ป ๔ เดือน คืนธนบัตร
ท่ีใชล อ ซ้อื แกเ จา ของ

๕๙

จาํ เลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา ท่ีจําเลยฎีกาวา เจาพนักงานตํารวจผูจับไมมีอํานาจจับและเปนการ
จับจําเลยในที่รโหฐานในเวลากลางคืน โดยไมมีหมายคนดวย จึงไมชอบดวยกฎหมายน้ัน เห็นวา
จาสิบตํารวจ ส. และรอยตํารวจเอก ป. จับจําเลยไดขณะที่จําเลยกําลังขายวัตถุออกฤทธิ์ใหแก
จา สบิ ตาํ รวจ ส. ถอื วา เปน ความผดิ ซง่ึ หนา ขณะนนั้ ธนบตั รทใี่ ชล อ ซอ้ื อยทู จี่ าํ เลยและจาํ เลยดนิ้ รนตอ สู
ถาปลอยใหเน่ินชากวาจะนําหมายจับและหมายคนมาได จําเลยอาจหลบหนีและพยานหลักฐาน
อาจสญู หายจงึ เปน กรณฉี ุกเฉนิ อยางยิง่ จา สิบตํารวจ ส. และรอ ยตํารวจเอก ป. จงึ มอี าํ นาจเขา ไปใน
บริเวณบานที่เกิดเหตุอันที่เปนรโหฐานในเวลากลางคืนโดยไมตองมีหมายคนและมีอํานาจจับจําเลย
ซ่ึงเปนผูกระทําความผิดไดโดยไมตองมีหมายจับตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
มาตรา ๘๐, ๘๑ ประกอบมาตรา ๙๒(๒) และมาตรา ๙๖(๒) พพิ ากษายนื
คํา¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ñöðõ/òõôô
ป.วิ.อ. มาตรา ๙๒(๔)
สิบตํารวจโท ช. สืบทราบวาบานของจําเลยเปนแหลงลักลอบจําหนายยาเสพติดใหโทษ
ก็ไดใชวิธีซุมดูพฤติการณของจําเลย เม่ือเห็นจําเลยขุดบริเวณแปลงผักและนําส่ิงของใสในหลุมท่ีขุด
แลวกลบไว จึงใชวิทยุส่ือสารเรียกเจาพนักงานตํารวจที่รออยูใหไปที่เกิดเหตุและไดออกมาแสดงตัว
เปนเจาพนักงานตํารวจ เพื่อขอตรวจคน เมื่อใชจอบขุดบริเวณท่ีจําเลยกลบไวก็พบเมทแอมเฟตามีน
กรณีดังกลาวถือไดวามีเหตุสงสัยตามสมควรวาสิ่งของที่ไดมาโดยการกระทําผิดไดซอนอยูในบริเวณ
ท่ีเกิดเหตุ ประกอบทั้งมีเหตุอันควรเช่ือวาเน่ืองจากการเนิ่นชากวาจะเอาหมายคนมาได สิ่งของน้ัน
จะถูกโยกยายเสียกอน แมสิบตํารวจโท ช. กับพวกเขาคนโดยไมมีหมายคนก็สามารถกระทําได
โดยชอบตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๒(๔)
โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลยตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.๒๕๒๒
มาตรา ๔, ๗, ๘, ๑๕, ๖๖, ๑๐๒ และริบเมทแอมเฟตามนี ของกลาง
จาํ เลยใหการปฏิเสธ
ศาลชนั้ ตน พพิ ากษาวา จาํ เลยมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒
มาตรา ๑๕ วรรคหน่ึง, ๖๖ วรรคหน่ึง (ที่ถูกมาตรา ๑๐๒ ดวย) จําคุก ๙ ป จําเลยใหการรับ
สารภาพช้ันจับกุมและชั้นสอบสวนเปนประโยชนแกการพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษลดโทษให
หนึง่ ในสาม คงจําคกุ ๖ ป ริบเมทแอมเฟตามีนของกลาง
จาํ เลยอุทธรณ
ศาลอุทธรณภ าค ๗ พิพากษาแกเ ปนวา ใหล งโทษจําคกุ ๗ ป เมื่อลดโทษใหหนึ่งในสาม
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ แลวคงจาํ คุก ๔ ป ๘ เดอื น นอกจากทแี่ กใหเปน ไปตาม
คําพพิ ากษาศาลชน้ั ตน

๖๐

จําเลยฎีกา โดยผูพิพากษาซ่ึงพิจารณาและลงช่ือในคําพิพากษาศาลชั้นตนอนุญาตให
ฎีกาในปญหาขอเทจ็ จรงิ

ศาลฎีกาวินิจฉัยวา “คดีคงมีปญหาตามฎีกาของจาํ เลยวาจาํ เลยกระทําผิดตามฟองของ
โจทกหรือไม โดยจาํ เลยฎีกาวา คดีนี้เจาพนักงานตาํ รวจวางแผนจับกุมโดยไมมีการลอซ้ือ
เมทแอมเฟตามีนและมิไดออกหมายคน จงึ เปน การจับกมุ ทม่ี ิชอบและไมนา เชื่อวาจะมีอยจู ริง เห็นวา
การวางแผนจับกุมจําเลยในคดียาเสพติดใหโทษน้ัน ยอมกระทําไดหลายวิธี หาจําเปนตองใชสายลับ
ลอซื้อยาเสพติดใหโทษเสมอไปไม ในคดีนี้ เม่ือสิบตํารวจโท ช. พยานโจทกสืบทราบวาบานของ
จําเลยเปนแหลงลักลอบจําหนายยาเสพติดใหโทษ ก็ไดใชวิธีซุมดูพฤติการณของจําเลยในบริเวณ
กอไผหางจากบานของจาํ เลยประมาณ ๒๐ เมตร และเมื่อเห็นจําเลยขุดบริเวณแปลงผักและนาํ
ส่ิงของใสในหลุมที่ขุดแลวกลบไว สิบตํารวจโท ช. จึงใชวิทยุสื่อสารเรียกเจาพนักงานตาํ รวจที่รออยู
ใหไปยังท่ีเกิดเหตุ สวนพยานไดออกมาแสดงตัวเปนเจาพนักงานตาํ รวจเพื่อขอตรวจคน และในที่สุด
เมื่อใชจอบขุดบริเวณท่ีจําเลยกลบไวก็พบเมทแอมเฟตามีน จึงยึดไวเปนของกลางกรณีดังกลาว
ถือไดวามีความสงสัยตามสมควรวาส่ิงของที่ไดมาโดยการกระทาํ ผิดไดซอนอยูในบริเวณท่ีเกิดเหตุ
ประกอบทง้ั มเี หตอุ นั ควรเชอื่ วา เนอื่ งจากการเนนิ่ ชา กวา จะเอาหมายคน มาได สง่ิ ของนน้ั จะถกู โยกยา ย
เสียกอน ดงั น้ัน แมสิบตํารวจโท ช. กับพวกเขา คนเมทแอมเฟตามนี ในทีด่ นิ จาํ เลยโดยไมม หี มายคน
กส็ ามารถกระทาํ ไดโ ดยชอบ ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๙๒(๔) นอกจากน้ี
จาํ เลยยงั ใหก ารรบั สารภาพทง้ั ชน้ั จบั กมุ และชน้ั สอบสวนตลอดมา แมใ นชนั้ พจิ ารณาจาํ เลยใหก ารปฏเิ สธ
แตก ็มิไดตอ สูวา การท่ีจาํ เลยรบั สารภาพดังกลา วเปนเพราะถกู ขมขู บังคับ หรือหลอกลวงแตอยางใด
พยานหลักฐานของโจทกจึงมีนํ้าหนักรับฟงไดม่ันคงวา จําเลยกระทําผิดตามฟองของโจทก
ทศี่ าลอุทธรณภาค ๗ พิพากษาลงโทษจาํ เลยนัน้ ชอบแลว ฎีกาของจําเลยฟงไมข้นึ ”

พพิ ากษายืน
คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò·Õè óöð/òõôò
การคนในคดีน้ีเปนการคนเพื่อพบและยึดยาเสพติดซึ่งเปนส่ิงของท่ีมีไวเปนความผิด
ตามทไี่ ดร บั แจง จากสายลบั การออกหมายคน จงึ กระทาํ ไดต ามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
มาตรา ๖๙(๒) และไมจําตองออกหมายจับบุคคลตามมาตรา ๗๐ ดวย เมื่อตรวจคนแลวพบวา
จําเลยมีเฮโรอีน และเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครอง ซึ่งเปนความผิดซ่ึงหนา เจาพนักงานตํารวจ
จึงมีอํานาจจับจําเลยไดตามมาตรา ๗๘(๑) โจทกฟองขอใหลงโทษจําเลย ตามพระราชบัญญัติ
ยาเสพติดใหโ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๔, ๗, ๘, ๑๕, ๖๖, ๑๐๒ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒,
๓๓, ๘๓, ๙๑ และรบิ ของกลาง
จําเลยท่ี ๑ ใหก ารรับสารภาพ จาํ เลยที่ ๒ ใหก ารปฏเิ สธ

๖๑

ศาลช้ันตนพิพากษาวา จําเลยท้ังสองมีความผิดตามพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๑๕ วรรคหน่ึง, ๖๖ วรรคหนึง่ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๘๓ จําคกุ คนละ
๑๕ ป ลดโทษใหจําเลยท่ี ๑ ก่งึ หนึ่ง และลดโทษใหจําเลยที่ ๒ หนงึ่ ในสาม คงจาํ คกุ จาํ เลยที่ ๑ กาํ หนด
๗ ป ๖ เดือน จาํ คุก จาํ เลยที่ ๒ กาํ หนด ๑๐ ป รบิ ของกลาง
จําเลยท้งั สองอุทธรณ ศาลอทุ ธรณพพิ ากษายนื
จําàÅ·èÕ ò ®Õ¡Ò ศาลฎีกาวินิจฉัยวา ไดความจากคําเบิกความของรอยตํารวจโท ต.
และสบิ ตํารวจตรี ส. วา ในวันเกดิ เหตรุ อ ยตาํ รวจโท ต. ไดร ับแจงจากสายลบั วา ที่หองพักเลขที่ ๖๐๙
อาคาร เอส.ดบั บลิว แมนช่นั มีการลักลอบขายเฮโรอนี และเมทแอมเฟตามีน พยานทงั้ สองพรอมดว ย
สายลับจึงนําหมายคนไปตรวจคนท่ีหองดังกลาว เมื่อไปถึงสายลับไดเขาไปเคาะประตูหอง
ครนั้ ประตเู ปด พยานทงั้ สองกบั พวกเขา ไปในหอ งพบจาํ เลยทงั้ สอง จงึ ขอตรวจคน ผลการตรวจพบเฮโรอนี
จํานวน ๑๐ หลอด และเมทแอมเฟตามนี ๑,๐๕๐ เม็ด ซอ นอยูใตฟูก ท่นี อนกบั หลอดกาแฟจาํ นวน
๑ ถุง และเงินอีก ๓,๐๐๐ บาท อยูในล้ินชักหัวเตียง จึงยึดไวเปนของกลาง ชั้นจับกุมจําเลยทั้งสอง
ใหก ารรับสารภาพ และวนิ ิจฉยั ขอเท็จจรงิ ได โดยปราศจากขอสงสยั วา จาํ เลยที่ ๒ ไดรวมกบั จาํ เลย
ท่ี ๑ กระทําความผดิ ตามฟอ งแลว ท่จี าํ เลยที่ ๒ ฎีกาอกี ขอ ในทาํ นองวาเจาพนักงานตํารวจตรวจคน
และจับจําเลยท่ี ๒ โดยไมชอบน้ัน เห็นวา การคนในกรณีนี้เปนการคนเพ่ือพบและยึดยาเสพติด
ซ่ึงเปนสิ่งของท่ีมีไวเปนความผิดตามท่ีไดรับแจงจากสายลับ การออกหมายคนจึงกระทําไดตาม
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๖๙(๒) และไมจําตองออกหมายจับบุคคล
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๗๐ ดวย เมื่อตรวจคนแลวพบวาจําเลยที่ ๒
มีเฮโรอีนและเมทแอมเฟตามีนไวในครอบครองซึ่งเปนความผิดซ่ึงหนา เจาพนักงานตํารวจ
จงึ มีอํานาจจับจาํ เลยที่ ๒ ไดตามประมวลกฎหมายวิธพี จิ ารณาความอาญา มาตรา ๗๘(๑)
พพิ ากษายนื

คาํ ¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè ñóó÷ù/òõõõ
ป.ว.ิ อ.มาตรา ๑๙(๓) (๕) วรรคหนง่ึ , (ก) วรรคสาม, ๗๘(๑), ๘๖, ๒๒๖
การที่เจาพนักงานตํารวจจับกุม ท. ไดขณะลักลอบขนยาเสพติดใหโทษจากจังหวัด
มุกดาหารเพื่อจะไปสงมอบให จ. และจําเลย ผูรวมขบวนการซึ่งกําลังรอรับยาเสพติดใหโทษอยูท่ี
กรุงเทพมหานคร ถือไดวา ท. จ. และจําเลยมีเจตนารวมกระทําความผิดดวยกันอยูแลว การที่
เจาพนักงานตํารวจนําตัว ท. เดินทางตอไปยังกรุงเทพมหานครเพ่ือนํายาเสพติดใหโทษไปสงมอบ
ให จ. และจําเลย จึงเปนวิธีการแสวงหาหลักฐานเพ่ือพิสูจนความผิดของผูรวมกระทําผิด มิใช
เปน การลอ ใหบ คุ คลทม่ี ไิ ดม เี จตนาในการกระทาํ ความผดิ อยกู อ นใหห ลงกระทาํ ความผดิ การดาํ เนนิ การ
แสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อขยายผลจับกุมจําเลยของเจาพนักงานตํารวจ จึงไม
เปน การกระทําทผ่ี ิดตอ กฎหมาย

๖๒

เจาพนักงานตํารวจจับกุมในขณะกําลังกระทําความผิดซึ่งหนาโดยมียาเสพติดใหโทษ
ไวในครอบครองจึงไมตองมีหมายจับ สวนการท่ีผูจับกุมไมใสกุญแจมือจําเลยยอมเปนดุลพินิจ
ในการใชวธิ ีควบคมุ ผูถ ูกจับเทาที่จําเปน เพือ่ มใิ หห ลบหนี

ความผิดฐานรวมกันมียาเสพติดใหโทษไวในครอบครองเพื่อจําหนายซ่ึงมีผูรวมกระทํา
ความผิดสองคน ซึ่งเปนความผิดตอเนื่องและกระทําตอเนื่องกันในหลายทองท่ี จากที่ผูตองหา
คนหน่ึงนํายาเสพติดใหโทษติดตัวในขณะเดินทางผานอําเภอสีค้ิว จังหวัดนครราชสีมา เพ่ือสงตอ
มายังกรุงเทพมหานคร เม่ือเจาพนักงานตํารวจผูจับกุมผูตองหาคนแรกไดกอนในทองท่ีของสถานี
ตาํ รวจภธู รอาํ เภอสคี ว้ิ พนกั งานสอบสวนสถานตี าํ รวจภธู รอาํ เภอสคี วิ้ ซงึ่ เปน ทอ งทท่ี จ่ี บั ผตู อ งหาไดก อ น
จึงเปนพนักงานสอบสวนผูรับผิดชอบ การท่ีเจาพนักงานตํารวจชุดจับกุมควบคุมตัวจําเลยและ ท.
พรอ มดว ยยาเสพตดิ ใหโ ทษของกลางสง พนกั งานสอบสวนสถานตี าํ รวจภธู รอาํ เภอสคี ว้ิ ทาํ การสอบสวน
จึงชอบดว ยกฎหมาย

โจทกฟ อ งขอใหลงโทษจาํ เลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒, ๓๓, ๘๓, ๙๑
พระราชบัญญัติยาเสพติดใหโทษ พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๔, ๗, ๘, ๑๕, ๖๖, ๑๐๐/๑, ๑๐๒
ริบเมทแอมเฟตามนี ท่เี หลือจากการตรวจพิสจู นน า้ํ หนกั ๑๐๕.๖๓ กรมั โทรศพั ทเ คล่ือนท่ี ๒ เครื่อง
และรองเทาหนัง ๑ คู ของกลาง

จาํ เลยใหก ารปฏิเสธ
ศาลชน้ั ตน พพิ ากษาวา จาํ เลยมคี วามผดิ ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒
มาตรา ๑๕ วรรคสาม (๒), ๖๖ วรรคสาม ลงโทษจําคุกตลอดชีวิต และปรับ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ทางนําสืบของจําเลยเปนประโยชนแกการพิจารณา มีเหตุบรรเทาโทษลดโทษใหหน่ึงในสาม
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ (ท่ีถูก ประกอบมาตรา ๕๓) คงจําคุก ๓๓ ป ๔ เดือน
และปรับ ๖๖๖,๖๖๖.๖๖ บาท ริบโทรศัพทเคล่ือนท่ีย่ีหอโนเกีย หมายเลข ๐๘ ๔๗๘๕ ๒๕๖๑
ของกลาง สวนเมทแอมเฟตามีนที่เหลือจากการตรวจพิสูจนและรองเทาของกลาง (ท่ีถูก และ
โทรศัพทเคล่ือนท่ียี่หอโนเกีย หมายเลข ๐๘ ๖๐๑๖ ๒๙๖๗) ศาลมีคําส่ังใหริบในคดีอาญา
หมายเลขดําที่ ๑๓๕๓/๒๕๕๐ (คดีหมายเลขแดงท่ี ๑๗๔๕/๒๕๕๐) ของศาลชั้นตนแลว
จงึ ไมต อ งริบอีก ไมชําระคาปรับใหจ ัดการตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐
จําเลยอุทธรณ
ศาลอทุ ธรณภาค ๓ พิพากษายนื
จําเลยฎีกา
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา ขอเท็จจริงที่คูความมิไดโตแยงในช้ันฎีการับฟงไดเปนยุติวา จําเลย
ถูกเจาพนักงานตํารวจจับกุมพรอม ท. ชายสัญชาติลาว และมีการตรวจยึดเมทแอมเฟตามีน
ซ่ึงเปนยาเสพติดใหโทษประเภท ๑ จํานวน ๑,๑๙๓ เม็ด คํานวณเปนนํ้าหนักสารบริสุทธิ์
๒๒.๙๒๖ กรมั และยดึ โทรศัพทเคลื่อนที่ยห่ี อโนเกยี ๒ เครอ่ื ง หมายเลข ๐๘ ๖๐๑๖ ๒๙๖๗ และ
๐๘ ๔๗๘๕ ๒๕๖๑ เปน ของกลาง

๖๓

มีปญหาวินิจฉัยตามฎีกาของจําเลยวาจําเลยกระทําความผิดฐานรวมกับ ท. มี
เมทแอมเฟตามีน ๑,๑๙๓ เม็ด ของกลางไวในครอบครองเพื่อจําหนายตามคําพิพากษาศาลลาง
ท้ังสองหรือไม เห็นวา พันตํารวจตรี อ. และสิบตํารวจเอก พ. ตางเบิกความไดสอดคลองเชื่อมโยง
สมเหตสุ มผลมีรายละเอียดขอ เท็จจริงตอเนือ่ งนับแตก ารวางแผนจับกุม ท. จนขยายผลให ท. ตดิ ตอ
นัดหมายทางโทรศัพทเพื่อสงมอบเมทแอมเฟตามีนของกลางใหแกจําเลย จนกระทั่งมีการสงมอบ
และจับกุมจําเลยไดตามแผนการที่วางไว พยานโจทกลวนเปนเจาพนักงานปฏิบัติการไปตามอํานาจ
หนา ที่ ไมเ คยรจู กั และไมม สี าเหตโุ กรธเคอื งกบั จาํ เลยมากอ น จงึ ไมม เี หตใุ หร ะแวงสงสยั วา จะกลนั่ แกลง
ปรักปรําจําเลยใหตองรับโทษโดยปราศจากมูลความจริง เช่ือวาพยานโจทกเบิกความไปตามความ
เปนจริงตามท่ีไดปฏิบัติการ พยานโจทกดังกลาวจึงมีน้ําหนักในการรับฟง ท่ีจําเลยฎีกาอางวาจําเลย
รจู กั กบั ท. เพราะ ท. เคยใชบ รกิ ารรถแทก็ ซข่ี องจาํ เลย ในวนั เกดิ เหตุ ท. โทรศพั ทม าหาจําเลย เนอ่ื งจาก
ตองการวาจางรถของจาํ เลยแตจาํ เลยไมวาง ท. พูดจาหวานลอมอางวามีธุระจาํ เปนจะคุยกับจําเลย
ขอใหจ าํ เลยออกไปพบทบี่ รเิ วณปากซอยอนิ ทามระ ๒๐ จาํ เลยจงึ เดนิ ออกไปจนถกู เจา พนกั งานตํารวจ
จับกุมตัว โดยไมมีการนัดสงมอบยาเสพติดใหโทษใดๆ น้ัน เปนการยกขออางข้ึนลอยๆ โดยจําเลย
ไมมีพยานหลักฐานอื่นใดมาสนับสนุนใหขออางของจาํ เลยนาเชื่อถือ และท่ีจาํ เลยฎีกาอางวา
เจาพนักงานตํารวจชุดจับกุม ท. ควรตองควบคุมตัว ท. พรอมนํายาเสพติดใหโทษของกลางสงแก
พนกั งานสอบสวนเพอื่ ดาํ เนนิ คดี แตเ จา พนกั งานตาํ รวจชดุ จบั กมุ กลบั คนื ยาเสพตดิ ใหโ ทษของกลางแก
ท. เพอื่ ให ท. นาํ มาลอซ้ือที่กรงุ เทพมหานคร จงึ ตอ งถอื วา เจา พนกั งานตาํ รวจแสวงหาหลักฐานดวย
การกระทําผิดตอกฎหมายเสียเอง เห็นวา เมื่อเจาพนักงานตํารวจจับกุม ท. ไดขณะท่ีลักลอบขน
ยาเสพติดใหโทษของกลางจากจังหวัดมุกดาหารเพ่ือจะไปสงมอบใหบุคคลอื่นตอที่กรุงเทพมหานคร
ซง่ึ เปน ผรู ว มขบวนการ อนั ไดแ กน าย จ. และชายอกี คนหนง่ึ คอื จาํ เลยซง่ึ กาํ ลงั รองรบั ยาเสพตดิ ใหโ ทษอยู
ถือวา ท. นาย จ. และจําเลยมีเจตนารวมกระทําความผิดดวยกันอยูแลว การที่เจาพนักงานตํารวจ
ชุดจบั กุมวางแผนขยายผลโดยนําตัว ท. เดนิ ทางตอ ไปยังกรุงเทพมหานคร เพอ่ื นาํ ยาเสพติดใหโทษ
ไปสง มอบใหน าย จ. และจาํ เลย จงึ เปน วธิ กี ารแสวงหาหลกั ฐานเพอ่ื พสิ จู นค วามผดิ ของผรู ว มขบวนการ
มิใชเปนการลอใหบุคคลที่มิไดมีเจตนาในการกระทําความผิดอยูกอนใหหลงมากระทําความผิด
แตอยางใด การดําเนินการแสวงหาขอเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อขยายผลจับกุมจําเลย
ของเจา พนักงานตํารวจชุดจบั กมุ ในคดนี ี้ จงึ ไมเ ปนการกระทําทผ่ี ิดตอ กฎหมาย ดงั นนั้ พยานหลกั ฐาน
ของโจทกท่ีไดมาโดยวิธีดังกลาวจึงรับฟงลงโทษจําเลยได สวนที่จําเลยฎีกาวา เจาพนักงานตํารวจ
ชุดจับกุมหรือพนักงานสอบสวนคดีนี้ไมมีเอกสารขอมูลเกี่ยวกับการใชโทรศัพทติดตอกันระหวาง ท.
กับจําเลยมาแสดง จึงไมอาจรับฟงไดวามีการนัดหมายสงมอบยาเสพติดใหโทษน้ัน เห็นวา ขอมูล
ซึ่งนํามาสูการจับกุมจําเลยไดในภายหลังไมวาจะเปนขอมูลเก่ียวกับวันเวลาและสถานท่ีที่นัดหมาย
สงมอบยาเสพติดใหโทษ เจาพนักงานตํารวจไมทราบขอมูลเหลานี้มากอน แตเปนขอมูลท่ีได
จากการโทรศัพทติดตอนัดหมายระหวาง ท. กับจําเลยท้ังส้ินอันแสดงวาไดมีการติดตอกันจริง

๖๔

ดังนัน้ แมโ จทกไ มมรี ายการการใชโ ทรศัพทข องบคุ คลดังกลาวมาแสดงตอ ศาล กไ็ มเปนพิรุธแตอยางใด
สวนท่ีจําเลยฎีกาอีกวาเจาพนักงานตํารวจจับกุมตัวจําเลยโดยไมมีหมายจับ ไมแจงขอกลาวหา และ
ไมใสกุญแจมือจําเลย อีกท้ังไมมีเจาพนักงานตํารวจในทองท่ีกรุงเทพมหานครรวมจับกุมดวย
หลังจับกุมจําเลยก็ไมสงตัวจําเลยตอพนักงานสอบสวนในกรุงเทพมหานครอันเปนทองที่ที่เกิดเหตุ
แตกลับควบคุมตัวจําเลยสงพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา
ใหทําการสอบสวนเปนการไมชอบเห็นวา เจาพนักงานตํารวจจับกุมจําเลยในขณะที่จําเลยกําลัง
กระทําความผิดซึ่งหนาโดยมียาเสพติดใหโทษไวในครอบครองจึงไมตองมีหมายจับ และตามบันทึก
การจับกุมมีขอความระบุไวชัดแจงวา เจาพนักงานตํารวจชุดจับกุมไดแจงขอกลาวหาใหจําเลยทราบ
แลวในขณะจับกุม สวนการท่ีผูจับกุมไมใสกุญแจมือจําเลยยอมเปนดุลพินิจในการใชวิธีควบคุม
ผูถูกจับเทาท่ีจําเปนเพื่อมิใหหลบหนีจึงชอบแลว และเมื่อความผิดคดีนี้ผูตองหาท่ีเปนตัวการกระทํา
ความผิดดวยกันมีสองคน คือ ท. กับจําเลย โดยไดรวมกันมียาเสพติดใหโทษไวในครอบครอง
เพอ่ื จาํ หนา ยซง่ึ เปน ความผดิ ตอ เนอ่ื งและกระทาํ ตอ เนอ่ื งกนั ในหลายทอ งท่ี จากการทผี่ ตู อ งหาคนหนง่ึ
นํายาเสพติดใหโทษติดตัวในขณะท่ีเดินทางผานอําเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา เพื่อตอมายัง
กรุงเทพมหานคร พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอสีค้ิวท่ีเก่ียวของจึงมีอํานาจสอบสวน
และเมอ่ื เจา พนกั งานตาํ รวจจบั กมุ ท. ผตู อ งหาคนแรกไดก อ นในทอ งทข่ี องสถานตี าํ รวจภธู รอาํ เภอสคี วิ้
พนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอสีคิ้วซ่ึงเปนทองที่ท่ีจับผูตองหาไดกอน จึงเปนพนักงาน
สอบสวนผูรบั ผดิ ชอบ ดังนัน้ การทเี่ จา พนักงานตาํ รวจชุดจับกุมควบคุมตวั จาํ เลยและ ท. พรอ มดวย
ยาเสพติดใหโทษของกลางสงพนักงานสอบสวนสถานีตํารวจภูธรอําเภอสีคิ้วทําการสอบสวน จึงชอบ
ดวยกฎหมายแลว ถือไดวาคดีน้ีมีการสอบสวนโดยชอบ พนักงานอัยการโจทกจึงมีอํานาจฟอง
จําเลยได ที่ศาลอุทธรณภาค ๓ พิพากษาลงโทษจําเลยมาศาลฎีกาเห็นพองดวยฎีกาของจําเลย
ฟง ไมขึ้น

อนึ่ง ศาลลางท้ังสองพิพากษาลงโทษปรับจํานวน ๖๖๖,๖๖๖.๖๖ บาท โดยไมไดส่ังให
กักขังแทนคาปรับไดเกินกวาหน่ึงป จึงไมอาจกักขังจําเลยแทนคาปรับไดเกินกวาหนึ่งป ศาลฎีกา
เหน็ ควรมคี ําส่ังใหช ัดเจน

พพิ ากษายืน ในกรณีกักขังแทนคา ปรบั ใหกกั ขังไดไมเกินหนึง่ ป

๖๕

คํา¾¾Ô Ò¡ÉÒÈÒÅ®¡Õ Ò : ®Õ¡ÒàÅ¢·Õè ôùõð/òõôð
โจทกฟ องขอใหลงโทษจําเลยทงั้ สองตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๙, ๑๓๘,
๑๔๐, ๘๐, ๘๓, ๙๑ พระราชบัญญัติอาวุธปน เครื่องกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง
และส่งิ เทยี มอาวุธปน พ.ศ.๒๔๙๐ มาตรา ๗, ๗๒
จาํ àÅ·é§Ñ ÊͧãË¡Œ Òû¯àÔ Ê¸
ศาลชน้ั ตน พพิ ากษาวา จาํ เลยทง้ั สองมคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๘
วรรคหน่ึง ประกอบมาตรา ๑๔๐ วรรคหน่ึง ฐานรวมกันตั้งแต ๓ คนขึ้นไป ขัดขวางเจาพนักงาน
ในการปฏบิ ตั กิ ารตามหนาท่ี จําคกุ คนละ ๑ ป และจาํ เลยที่ ๒ มคี วามผดิ ตามพระราชบัญญัตอิ าวธุ ปน
เครือ่ งกระสุนปน วัตถรุ ะเบิด ดอกไมเ พลิง และสิง่ เทยี มอาวธุ ปน พ.ศ.๒๔๙๐ มาตรา ๗, ๗๒ ฐานมี
อาวธุ ปน ไมม เี ครอื่ งหมายทะเบยี นของเจา พนกั งานไวใ นความครอบครอง โดยไมไ ดร บั อนญุ าต จาํ คกุ
๖ เดือน รวมโทษจาํ เลยท่ี ๑ จําคกุ ๑ ป ๖ เดือน ขอหาอนื่ นอกจากนใ้ี หยก
จาํ àÅ·ѧé ÊͧÍØ·¸Ã³
ศาลอทุ ธรณพิพากษาแกเปน วา ใหป รับจําเลยท่ี ๒ เปน เงิน ๕,๐๐๐ บาท อกี สถานหน่ึง
โทษจําคกุ จําเลยที่ ๒ ใหร อการลงโทษไว มีกาํ หนด ๒ ป ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๕๖
ไมช าํ ระคาปรับ ใหจดั การตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐ และจําเลยที่ ๑ มคี วามผดิ
ตามพระราชบัญญัติอาวุธปน เคร่ืองกระสุนปน วัตถุระเบิด ดอกไมเพลิง และสิ่งเทียมอาวุธปน
พ.ศ.๒๔๙๐ มาตรา ๗, ๗๐ วรรคสาม นอกจากท่ีแกค งใหเ ปนไปตามคาํ พิพากษาศาลช้นั ตน
จําàÅ·Õè ñ ®¡Õ Ò
ศาลฎีกาวินิจฉัยวา จําเลยที่ ๑ ฎีกาประการแรกวา จําเลยท่ี ๑ ไมไดกระทําความผิด
ฐานมีอาวุธปนไวในครอบครองโดยไมไดรับอนุญาต โดยอางเหตุพยานโจทกที่นําสืบมาฟงไมไดวา
อาวุธปนที่จําเลยที่ ๑ มีไวใชยิงไดหรือไม จึงฟงไมไดวาเปนอาวุธปนตามกฎหมาย จําเลยท่ี ๑
จงึ ไมม คี วามผดิ น้ัน เห็นวา อาวุธปนใชย งิ ไดหรือไม เปนการฎกี าในขอ เท็จจริง คดีขอหาน้ศี าลช้นั ตน
จําคุกจําเลยที่ ๑ ไว ๖ เดือน ศาลอุทธรณพิพากษาแกไขเล็กนอย หามมิใหคูความฎีกาในปญหา
ขอเท็จจริงตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๘ วรรคหนึ่ง ท่ีศาลชั้นตน
รับฎีกาขอน้มี าจึงไมชอบ ศาลฎีกาไมรับวินจิ ฉัยให
จําเลยท่ี ๑ ฎีกาประกอบตอมาวา จําเลยที่ ๑ ไมไดกระทําความผิดฐานตอสูขัดขวาง
เจาพนักงาน โดยอางเหตุวาขณะที่เจาพนักงานเขาตรวจคนและจับกุมพวกลักลอบเลนการพนันนั้น
เจาพนักงานตํารวจไมมีหมายคนและหมายจับ จึงไมอาจตรวจคนและจับกุมได จําเลยท่ี ๑ ขัดขวาง
การจับกุม ไมเปนความผิด ปญหาน้ีจําเลยที่ ๑ ไมไดยกขึ้นวากลาวในศาลชั้นตนและศาลอุทธรณ
แตเปนปญหาอันเก่ียวดวยความสงบเรียบรอย ศาลฎีกามีอํานาจวินิจฉัยไดตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๑๙๕ วรรคสอง ประกอบดวยมาตรา ๒๒๕ ศาลฎีกาเห็นสมควร
วินิจฉัยใหในการวินิจฉัยปญหาขอกฎหมายศาลฎีกาตองฟงขอเท็จจริงตามศาลอุทธรณ ซ่ึงฟงวา

๖๖

ในขณะเขาตรวจคนและจับกุม ผูตองหาลักลอบเลนการพนัน เจาพนักงานตํารวจไมมีหมายคน
และหมายจบั แตเ หน็ วา การเลน การพนนั เปน การกระทาํ ผดิ ซง่ึ หนา หากไมเ ขา ตรวจคน และจบั กมุ ทนั ที
ตามทพ่ี ลเมอื งดแี จง ผตู อ งหาอาจหลบหนไี ปไดเ ปน กรณฉี กุ เฉนิ อยา งยงิ่ จงึ ตรวจคน ในเวลากลางคนื ได
โดยไมตองมีหมายคนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๙๒(๒) ประกอบดวย
มาตรา ๙๖(๒) การกระทําของเจาพนักงานตํารวจ เปนการตรวจคนและจับกุมผูเลนการพนัน
โดยชอบดวยกฎหมาย การที่จําเลยที่ ๑ ขัดขวางการจับกุมโดยใชมือดึงผูเลนการพนันใหออกไป
จึงมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๘ วรรคหนึ่ง เทานั้น ปญหาท่ีตองวินิจฉัย
ประการสุดทายมีวามีเหตุควรรอการลงโทษจําเลยท่ี ๑ หรือไม เห็นวาตามพฤติการณแหงความผิด
ทศ่ี าลอุทธรณไมร อการลงโทษใหจําเลยที่ ๑ นัน้ เหมาะสมแลว แตการกําหนดโทษใหจ าํ คุกจาํ เลยท่ี ๑
ไวมีกําหนด ๑ ป เห็นวาหนักเกินไป สมควรแกไขใหเหมาะสมแกพฤติการณและความรายแรง
แหงการกระทําผิด ซึ่งการปรับบทความผิดและลงโทษจําเลยท่ี ๑ ดังกลาวเปนเหตุอยูในสวน
ลักษณะคดี แมจําเลยท่ี ๒ ไมไดฎีกาศาลฎีกาก็มีอํานาจพิพากษาตลอดถึงจําเลยที่ ๒ ดวยไปตาม
ประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา มาตรา ๒๑๓ ประกอบมาตรา ๒๒๕

พิพากษาแกเปนวา จําเลยท่ี ๑ มีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๘
วรรคหนงึ่ ๘๓ พระราชบญั ญตั อิ าวธุ ปน เครอ่ื งกระสนุ ปน วตั ถรุ ะเบดิ ดอกไมเ พลงิ และสงิ่ เทยี มอาวธุ ปน
พ.ศ.๒๔๙๐ มาตรา ๗, ๗๒ วรรคสาม ความผิดฐานตอสูขัดขวางเจาพนักงาน จําคุก ๖ เดือน
ความผิดฐานมีอาวุธปน จําคุก ๖ เดือน รวมจําคุกจําเลยท่ี ๑ มีกําหนด ๑๒ เดือน จําเลยที่ ๒
มคี วามผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๓๘ วรรคหนง่ึ , ๘๓ จาํ คกุ ๖ เดอื น ปรบั ๑,๐๐๐ บาท
โทษจําคุกจําเลยที่ ๒ ใหรอการลงโทษไวมีกําหนด ๒ ป ไมชําระคาปรับ ใหจัดการตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๒๙, ๓๐ ขอหานอกจากนีใ้ หย ก

๖๗

ÊûØ

เจาหนาที่ตาํ รวจผูปฏิบัติจะตองยึดบทบัญญัติแหงกฎหมายเปนหลัก ใชความสุภาพ
ละมนุ ละมอ มในการจับกมุ จะใชอาํ นาจอยางจริงจงั กต็ อ เมื่อมีความจําเปน เทา นัน้

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹

๑. ผสู อนและผเู รียนชวยกันสรปุ เนอ้ื หา
๒. ใหผ ูเรยี นอธิบายวธิ กี ารปฏิบัติ การควบคุมผถู ูกคมุ ขังไปมาระหวา งศาลกบั เรือนจํา

ÍÒŒ §Í§Ô

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๖๐) คมู อื ตาํ รวจหลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ. กรงุ เทพฯ.
โรงพิมพตํารวจ

สํานักพิมพสูตรไพศาล.(๒๕๕๖) ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี. กรุงเทพฯ.
โรงพมิ พส าํ นักพมิ พส ูตรไพศาล

๖๙

º··Õè ô

ÃÐàºÂÕ ºสํา¹Ñ¡¹Ò¡ÃÑ°Á¹μÃÇÕ Ò‹ ´ÇŒ Â
¡Òû¯ÔºμÑ áÔ ÅлÃÐÊÒ¹§Ò¹¡Ã³·Õ ËÒö¡Ù ËÒÇ‹Ò

¡ÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´ÍÒÞÒ ¾.È.òõôô

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ ÒÃàÃÕ¹ÌٻÃÐจาํ º·

ผูเรียนมีความรูและสามารถอธิบายเก่ียวกับระเบียบสํานักนายกรัฐนตรีวาดวยการ
ปฏบิ ตั แิ ละประสานงาน กรณที หารถูกหาวากระทําความผิดอาญา พ.ศ.๒๕๔๔

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการปฏิบัติและประสานงานกรณีทหารถูกหาวา
กระทําความผิดอาญา พ.ศ.๒๕๔๔

ñ. ระเบยี บนเี้ รยี กวา “ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วา ดว ยการปฏบิ ตั แิ ละประสานงาน
กรณีทหารถูกหาวากระทาํ ความผิดอาญา พ.ศ.๒๕๔๔”

ò. ระเบยี บน้ใี หใชบ ังคับต้ังแตวันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ó. ใหยกเลิก

๓.๑ ขอตกลงระหวางกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การปฏิบัติ
และประสานงานเกี่ยวกบั กรณที ่ที หารเปนผูเสยี หายหรอื เปน ผูตองหาในความผดิ อาญา พ.ศ.๒๔๙๘

๓.๒ ขอตกลงระหวางกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การปฏิบัติ
และประสานงานเก่ียวกับกรณีท่ีทหารเปนผูเสียหายหรือเปนผูตองหาในความผิดอาญา พ.ศ.๒๔๙๘
(ฉบบั ท่ี ๑) พ.ศ.๒๕๐๗

๓.๓ ขอตกลงระหวางกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การปฏิบัติ
และประสานงานเก่ียวกับกรณีท่ีทหารเปนผูเสียหายหรือเปนผูตองหาในความผิดอาญา พ.ศ.๒๔๙๘
(ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๑๒

๓.๔ ขอตกลงระหวางกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การปฏิบัติ
และประสานงานเก่ียวกับกรณีที่ทหารเปนผูเสียหายหรือเปนผูตองหาในความผิดอาญา พ.ศ.๒๔๙๘
(ฉบบั ท่ี ๓) พ.ศ.๒๕๑๘

๓.๕ ขอตกลงระหวางกระทรวงกลาโหมกับกระทรวงมหาดไทย เร่ือง การปฏิบัติ
และประสานงานเก่ียวกับกรณีที่ทหารเปนผูเสียหายหรือเปนผูตองหาในความผิดอาญา พ.ศ.๒๔๙๘
(ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ.๒๕๒๕

บรรดาขอ ตกลง ขอบงั คบั ระเบยี บ หรือคําสัง่ อื่นใดในสว นทกี่ ําหนดไวแลว ในระเบียบน้ี
หรอื ขดั แยง กบั ระเบยี บน้ี ใหใ ชระเบียบนแ้ี ทน

ô. ในระเบียบน้ี
“à¢μ·μèÕ §éÑ ·ËÒÔ หมายความวา อาคาร สถานทีห่ รือบรเิ วณซ่ึงมีหนว ยทหารต้ังอยู

๗๐

“¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÔ หมายความวา คณะกรรมการวา ดว ยการปฏิบัติและประสานงานกรณี
ทหารถูกหาวา กระทําความผิดอาญา

“μÒí ÃǨ” หมายความวา ขา ราชการตาํ รวจตามกฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการตํารวจ
“·ËÒÔ หมายความวา ขาราชการทหาร ทหารกองประจําการและนักเรียนในสังกัด
กระทรวงกลาโหม ตามกฎหมายวาดว ยระเบียบขา ราชการทหาร
“¾¹Ñ¡§Ò¹½†Ò»¡¤Ãͧ” หมายความวา เจาพนักงานซ่ึงมิใชตํารวจและทหาร แตมี
อํานาจหนาท่ีในการรักษาความสงบเรียบรอยของประชาชนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญาหรือกฎหมายอนื่
“ÊÔè§Êè×ÍÊÒÔ หมายความรวมถึง จดหมาย โทรศัพท โทรเลข โทรสาร โทรพิมพ วิทยุ
และการติดตอ สอ่ื สารสงขอความทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สท กุ ชนดิ
õ. ใหน ายกรัฐมนตรรี ักษาการตามระเบียบน้ี

ËÁÇ´ ñ
¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒÃÇÒ‹ ´ÇŒ ¡Òû¯ºÔ μÑ ÔáÅлÃÐÊÒ¹§Ò¹
¡Ã³Õ·ËÒö١ËÒÇÒ‹ ¡ÃзÒí ¤ÇÒÁ¼´Ô ÍÒÞÒ
“·ËÒÔ หมายความวา ขาราชการทหาร ทหารกองประจําการและนักเรียนในสังกัด
กระทรวงกลาโหม ตามกฎหมายวา ดว ยระเบยี บขา ราชการทหาร
ö. องคประกอบของคณะกรรมการ
ใหม คี ณะกรรมการวา ดว ยการปฏบิ ตั แิ ละประสานงานกรณที หารถกู หาวา กระทาํ ความผดิ
อาญาคณะหนึง่ ประกอบดวย
(๑) รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม เปนประธานกรรมการ
(๒) ผบู ญั ชาการตํารวจแหง ชาติ เปน รองประธานกรรมการ
(๓) ปลัดกระทรวงกลาโหม เปนกรรมการ
(๔) ปลดั กระทรวงมหาดไทย เปน กรรมการ
(๕) ปลดั กระทรวงยตุ ธิ รรม เปนกรรมการ
(๖) ผบู ัญชาการทหารสงู สุด หรือผูบัญชาการ
เหลา ทพั ทผ่ี ูบัญชาการทหารสูงสดุ มอบหมาย เปน กรรมการ
(๗) รองอยั การสูงสดุ คนหนึ่งตามที่
อยั การสูงสุดมอบหมาย เปนกรรมการ
(๘) ขาราชการตํารวจระดับผบู ญั ชาการขึ้นไป
คนหนง่ึ ตามทผ่ี ูบัญชาการตํารวจแหง ชาติ
มอบหมาย เปน กรรมการ

๗๑

(๙) อธิบดกี รมการปกครอง เปน กรรมการ
(๑๐) เจา กรมพระธรรมนญู เปนกรรมการและเลขานุการ
÷. อํานาจหนา ทข่ี องคณะกรรมการ
คณะกรรมการมีอาํ นาจหนาท่ี ดังน้ี
(๑) วางมาตรการปองกัน แกไข วินิจฉัย สั่งการหรือใหคําแนะนําแกเจาหนาท่ี
หรอื ผเู สยี หาย ทรี่ อ งเรยี นเมอื่ มปี ญ หาในทางปฏบิ ตั อิ นั เกดิ จากการใชร ะเบยี บน้ี ในกรณที เี่ หน็ วา ปญ หาใด
เปนเร่ืองสําคัญอันควรไดรับคําวินิจฉัยหรือสั่งการใหมีผลเปนการทั่วไปใหเสนอนายกรัฐมนตรี
เพอ่ื พจิ ารณา
(๒) ออกขอกาํ หนดเกี่ยวกับแบบของหนังสือ ข้ันตอนหรือรายละเอียดในการปฏิบัติ
และประสานงานกรณีทหารถูกหาวากระทําความผิดอาญา ตลอดจนขอกําหนด วาดวยการประพฤติ
ปฏิบัติของทหาร พนักงานฝายปกครองและตาํ รวจ ในการรักษาความสงบเรียบรอยของสังคม
ขอ กาํ หนดดังกลา ว ใหมผี ลเมอื่ ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
(๓) เสนอนายกรัฐมนตรีใหพิจารณาปรับปรุงแกไขกฎ ระเบียบ คําส่ัง หรือขอบังคับ
ซ่งึ เก่ียวขอ งกบั การปฏบิ ัติและประสานงานกรณที หารถกู หาวากระทาํ ความผิดอาญา
(๔) แตงต้ังคณะอนุกรรมการ คณะทํางาน หรือมอบหมายใหบุคคลใดชวยในการ
ปฏบิ ัตงิ านของคณะกรรมการ
บุคคลใดเห็นวาตนหรือสมาชิกในครอบครัวของตนไดรับความเสียหายหรือความ
ไมเปนธรรม เนื่องจากการที่ทหาร พนักงานฝายปกครอง หรือตาํ รวจ อางการปฏิบัติตามระเบียบนี้
หรอื ละเลยการปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บน้ี บคุ คลนนั้ มสี ทิ ธริ อ งเรยี นตอ คณะกรรมการหรอื ผทู ีค่ ณะกรรมการ
มอบหมายเพ่อื แนะนําวินจิ ฉัยหรือสั่งการไดตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการกําหนด

ËÁÇ´ ò
¡ÒûÃÐÊÒ¹§Ò¹ÃÐËÇ‹Ò§·ËÒáѺ¾¹¡Ñ §Ò¹½Ò† »¡¤ÃͧËÃ×Íตาํ ÃǨ

ø. การประสานงานกอ นเกิดเหตุ
ใหผูบังคับบัญชาของทหาร พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ สงเสริมและสนับสนุน
ใหเจาหนาท่ีทุกฝายมีความสามัคคีระหวางกัน และพยายามปองกันหรือระงับความขัดแยงเพื่อมิให
เกิดความไมสงบเรยี บรอ ยขนึ้ โดยเฉพาะในบริเวณนอกเขตทีต่ งั้ ทหาร ในการนพ้ี นกั งานฝา ยปกครอง
หรือตํารวจอาจขอใหฝายทหารจัดสงสารวัตรทหารหรือเจาหนาท่ีฝายทหารไปรวมรักษา
ความสงบเรยี บรอ ยในบางสถานทหี่ รอื บางโอกาสเพอ่ื ปอ งปรามหรอื ปอ งกนั เหตรุ า ยไดต ามความจาํ เปน
ù. พนกั งานฝายปกครองหรอื ตาํ รวจขอความรว มมอื จากทหาร
ในกรณีที่พนักงานฝายปกครองหรือตํารวจสืบทราบวาทหารจะกระทําความผิดอาญา
ใชอิทธิพลในทางมิชอบกอเหตุเดือดรอนรําคาญแกประชาชนหรือจะมีการกอเหตุวิวาทนอกเขตท่ีต้ัง
ทหารไมวาจะเปนการกระทําโดยฝายทหารทั้งหมดหรือมีทหารรวมอยูดวย ใหพนักงานฝายปกครอง

๗๒

หรือตํารวจตักเตือนหามปรามไปตามอํานาจหนาท่ี ถาเกรงวาจะไมเปนผลใหแจงเหตุแกฝายทหาร
โดยดวนเพอ่ื ขอความรวมมอื ในการสอดสอ งตรวจตราระงบั ยบั ยงั้ หรอื ปอ งกันมิใหมเี หตรุ า ยเกดิ ขนึ้

เมอื่ มกี ารรอ งขอหรอื แจง เหตดุ งั กลา ว ใหฝ า ยทหารใหค วามรว มมอื ตามความจาํ เปน ทง้ั นี้
ทหาร พนักงานฝา ยปกครอง หรือตํารวจทีป่ ฏิบตั ิหนาทเ่ี พอ่ื ระงับเหตุตอ งสวมเครือ่ งแบบ สว นจะนํา
อาวุธไปดวยหรือไม ใหอยูในดุลพินิจของผูบังคับบัญชา ผูเปนหัวหนาหนวยของฝายน้ันๆ แตมิให
ใชอาวุธ เวนแตจะมีความจําเปนอันมิอาจหลีกเล่ียงได หัวหนาชุดของแตละฝายที่จะควบคุมไป
ตองเปน ขาราชการ นายทหาร หรือนายตํารวจช้ันสญั ญาบตั ร หา มมิใหทหาร พนักงานฝายปกครอง
หรือตาํ รวจทมี่ ไิ ดร บั คําส่งั ไปยงั สถานที่นั้นเองเปน อนั ขาด

ñð. ทหารขอความรวมมือจากพนกั งานฝายปกครองหรือตํารวจ
เมอื่ ฝา ยทหารจบั กมุ ตวั ทหารทถ่ี กู หาวา กระทาํ ผดิ วนิ ยั ทหารหรอื กระทาํ ความผดิ อาญาได
และประสงคจ ะใชส ถานที่ สงิ่ สือ่ สาร หรือยานพาหนะของพนักงานฝา ยปกครองหรอื ตํารวจ เพื่อการ
สอบสวนหรือดําเนินการในสวนของทหารใหขอความรวมมือจากพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจได
ตามความจําเปน
ññ. หนว ยประสานงาน
การรองขอ การขอความรวมมือหรือการแจงเหตุใดๆ ตอฝายทหารตามระเบียบนี้
นอกจากการประสานงานกับผูบังคับบัญชาตนสังกัดของทหารผูเก่ียวของหรือหนวยทหารในเขตที่ต้ัง
ทหารซง่ึ ใกลท สี่ ดุ กบั บรเิ วณทเี่ กดิ เหตหุ รอื เชอ่ื วา จะเกดิ เหตโุ ดยใชส ง่ิ สอ่ื สารแลว พนกั งานฝา ยปกครอง
หรือตาํ รวจอาจประสานโดยใชสิง่ ส่ือสารกับหนวยทหารอน่ื ในพ้ืนทไ่ี ดต ามความจาํ เปน
ñò. การรายงานคดี
ในกรณีที่นายทหารชั้นสัญญาบัตรประจําการหรือขาราชการกลาโหม พลเรือน
ช้ันสัญญาบัตร ตองหาวากระทําความผิดอาญาอันมิใชความผิดลหุโทษ ความผิดประเภทที่พนักงาน
สอบสวนมีอํานาจเปรียบเทียบได หรือคดีที่เสร็จสิ้นหรือระงับไปในช้ันพนักงานสอบสวนแลว
ใหพนักงานสอบสวนรายงานคดีตามลําดับถึงผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ หรือผูไดรับมอบหมาย
เพื่อแจง ใหกระทรวงกลาโหมทราบ

ËÁÇ´ ó
¡ÒèѺ¡ÁØ ¡ÒäǺ¤ØÁáÅÐÃѺμÑÇ·ËÒÃ令Ǻ¤ØÁ

ñó. การจับกุมทหาร
ในกรณีมีคําส่ังหรือหมายของศาลใหจับทหารผูใด ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ
แจงใหผูบังคับบัญชาของทหารผูนั้นทราบในโอกาสแรก เวนแตเปนการกระทําความผิดซ่ึงหนา หรือ
มีเหตุจําเปนอยางอ่ืนท่ีกฎหมายใหจับไดโดยไมตองมีหมาย หรือมีเหตุอันควรเช่ือวาทหารผูนั้น
จะหลบหนีการจับกุมตามหมาย
ในการจับกุมทหารผูใด ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจแจงใหทหารผูน้ันไปยัง
ที่ทําการของพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ หากไมยอมไป ขัดขวางหรือมีเหตุอันควรเชื่อวาจะ

๗๓

หลบหนี ใหจ ับกุมไดต ามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญาและตามรฐั ธรรมนญู มาตรา ๒๓๗
โดยอาจรองขอใหสารวัตรทหารชวยควบคุมตัวผูน้ันไปสงพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจก็ได
หากทหารมีจํานวนมากใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจรีบแจงใหฝายทหารทราบโดยเร็ว
เพ่อื มาชว ยระงับเหตุและรวมมือในการจบั กมุ ทหารผกู ระทําผิดไปดาํ เนนิ คดี

ในการจับกุมตามวรรคหน่ึง หากทหารผูนั้นสวมเครื่องแบบอยูใหปฏิบัติตามขอ ๑๔
โดยอนุโลม และหลีกเล่ียงการใชเครื่องพันธนาการ เวนแตมีความจําเปนอยางยิ่งและมิใหใชอาวุธ
ระหวา งการจับกมุ โดยไมจําเปน

ถา เปน กรณที หารและตาํ รวจหรอื พนกั งานฝา ยปกครองกาํ ลงั กอ การววิ าทกนั ใหร บี รายงาน
ผูบังคับบัญชาของแตละฝายทราบทันที และใหผูบังคับบัญชาท่ีเก่ียวของออกไประงับเหตุโดยเร็ว
สวนการดาํ เนนิ การขัน้ ตอ ไปใหปฏบิ ตั ิตามความในวรรคกอน

ñô. การควบคุมตวั ทหาร
การควบคุมตัวทหารท่ีถูกหาวากระทําความผิดอาญาและถูกจับกุมตัวไปยังที่ทําการของ
พนักงานฝายปกครองหรอื ตํารวจ ใหเปนไปตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา
ถาทหารที่ถูกจับกุมและควบคุมตัวสวมเคร่ืองแบบใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจ
ดาํ เนินการดงั น้ี
(๑) แนะนําใหทหารผูน้ันทราบถึงเกียรติของเคร่ืองแบบทหาร และขอใหพิจารณาวา
จะถอดเครื่องแบบหรือไม
(๒) ถาทหารไมยอมถอดเครื่องแบบ ใหแจงฝายทหารทราบเพ่ือจัดสงเจาหนาที่
ฝายทหารมาแนะนําใหทหารถอดเคร่ืองแบบแลวดําเนินการตามวรรคแรก หากฝายทหารไมมา
ภายในระยะเวลาอันสมควรหรอื ระยะเวลาทก่ี ําหนด หรอื ดําเนินการใดๆ แลว ไมเ ปนผล ใหพนกั งาน
ฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจปฏบิ ตั ติ ามวรรคแรกได และบนั ทกึ เหตผุ ลไว แลว แจง เหตนุ นั้ ใหฝ า ยทหารทราบ
ñõ. การปลอยชัว่ คราว
การปลอ ยชว่ั คราวหรอื การพจิ ารณาคาํ ขอประกนั ทหารผตู อ งหา ใหเ ปน ไปตามรฐั ธรรมนญู
มาตรา ๒๓๙ ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญาและระเบยี บปฏิบตั ิวา ดวยการนี้ เชนเดียวกับ
ผตู องหาทัว่ ไป
ñö. การรบั ตัวทหาร
เม่ือควบคุมตัวทหารไวตามขอ ๑๔ แลว ใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจแจงการ
จับกุมใหฝายทหารที่เปนผูบังคับบัญชาของทหารผูนั้นทราบทางส่ิงส่ือสารหรือหนังสือโดยไมชักชา
และใหด ําเนินการดงั ตอไปน้ี
(๑) ผูบังคับบัญชาทหารไมมีอํานาจควบคุมตัวผูตองหาซึ่งเปนบุคคลที่อยูในอํานาจ
ศาลทหาร ตามมาตรา ๔๖ แหงพระราชบัญญัติพระธรรมนูญศาลทหารฯ อีกตอไป การคุมขัง
ผตู องหาซึ่งเปน บุคคลท่ีอยใู นอาํ นาจศาลทหาร จะตองกระทาํ โดยมคี าํ สั่งหรอื หมายของศาลทหารท่มี ี
อาํ นาจพจิ ารณาพพิ ากษาคดอี าญาตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญามาตรา ๘๗ ประกอบ
พระราชบัญญัติธรรมนูญศาลทหาร มาตรา ๔๕ แตท้ังน้ีไมกระทบกระเทือนถึงอํานาจลงทัณฑของ

๗๔

ผูบังคับบัญชาทหารในสวนที่เกี่ยวของกับสมรรถภาพและวินัยทหาร ซ่ึงยังคงมีอยูตามรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๖๔ และพระราชบญั ญตั วิ าดว ยวนิ ัยทหารพทุ ธศกั ราช ๒๔๗๖

(๒) หากฝายทหารแจงวาประสงคจะรับตัวผูตองหาไปจากพนักงานสอบสวนก็ใหนํา
หนังสือขอรับตัวผูตองหามาแสดงตอพนักงานสอบสวน ในกรณีนี้ใหพนักงานสอบสวนทําหนังสือ
สง มอบตัว และใหบ นั ทึกเปน หลกั ฐานรวมเขาสาํ นวนไว พรอมกบั ลงบันทึกในรายงานประจาํ วนั ดว ย

(๓) หากพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจเห็นวามีความจําเปนในทางคดีที่จะตองนํา
ตวั ทหารไปดาํ เนนิ การเพอ่ื ประโยชนแ กก ารรวบรวมพยานหลกั ฐานนอกจากการสอบปากคาํ เชน การนาํ ช้ี
สถานท่ีเกิดเหตุ การช้ีตัว การทําแผนประทุษกรรม อาจขอดําเนินการกอนที่จะสงมอบตัวทหาร
ผูตองหาใหฝายทหารรับตัวไปก็ได ในกรณีเชนนี้ถาผูตองหาตองการใหฝายทหาร ทนายความ หรือ
ผูอ่ืนซึ่งตนไววางใจอยูในสถานท่ีนั้นดวย ก็ใหอนุญาตตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
และรฐั ธรรมนญู มาตรา ๒๔๑ และมาตรา ๒๔๒

หนังสือขอรับตัวและหนังสือสงมอบตัวผูตองหาตามขอนี้ใหเปนไปตามแบบที่
คณะกรรมการกาํ หนด

ในการรับตัวทหารไปจากพนักงานสอบสวน หากพนักงานสอบสวนเห็นควรให
ฝายทหารควบคุมตัวผูตองหาไวเพื่อประโยชนทางคดี ก็ใหแจงเปนหนังสือและใหฝายทหาร
ดําเนินการตามกฎหมายวา ดวยธรรมนญู ศาลทหาร

การรับตัวทหารที่ไดรับบาดเจ็บและถูกควบคุมตัวไว ณ สถานพยาบาล ใหดําเนินการ
ดงั กลา วขางตน แตใหพนักงานสอบสวนแจงผมู ีหนาทเ่ี กี่ยวของทราบดวย

ËÁÇ´ ô
¡ÒÃμÃǨ¤Œ¹

ñ÷. การตรวจคนตวั บุคคล
การตรวจคนตัวทหาร ใหผูมีอํานาจหนาที่ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา
ñø. การตรวจคน สถานท่แี ละที่รโหฐาน
การตรวจคนสถานที่และที่รโหฐานของทหารที่ไมเก่ียวกับราชการทหาร ใหเปนไปตาม
ประมวลกฎหมายวธิ ีพิจารณาความอาญาและรฐั ธรรมนญู มาตรา ๒๓๘
การตรวจคนสถานที่และท่ีรโหฐานอันเปนเขตท่ีต้ังทหารหรือของทางราชการทหาร
นอกจากจะตองปฏิบัติตามวรรคกอนแลวใหผูมีอํานาจหนาท่ีในการตรวจคนแจงใหผูบังคับบัญชา
หรือผูรับผดิ ชอบเขตท่ตี ้งั ทหารนัน้ สงผูแทนไปอยใู นการตรวจคนดว ย
ñù. การตรวจคน ยานพาหนะ
การตรวจคนยานพาหนะของทหารไมวาจะเปนของสวนตัวหรือทางราชการทหาร
หรอื การคน ตวั ทหารท่อี ยใู นยานพาหนะนัน้ ไมว าจะสวมเครอื่ งแบบหรือไมก ็ตาม ใหผมู ีอํานาจหนา ท่ี

๗๕

ปฏิบัติตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและรัฐธรรมนูญ และใหทหารผูครอบครอง
หรอื ผูควบคุมยานพาหนะใหค วามรวมมอื และความสะดวกจนกวา การตรวจคนจะเสรจ็ สน้ิ

การตรวจคนยานพาหนะของทางราชการ เชน รถสงคราม เคร่ืองบิน เรือซ่ึงชักธง
ราชนาวี ขณะปฏิบัติหนาที่ราชการ และมีนายทหารชั้นสัญญาบัตรควบคุมยานพาหนะนั้นมา
ผูมีอํานาจหนาที่ตรวจคนจะตรวจคนไดตอเมื่อมีหนังสืออนุมัติจากผูบังคับบัญชายานพาหนะนั้นๆ
ตั้งแตช ้นั ผูบ ญั ชาการกองพลหรือเทยี บเทา ขึน้ ไป

การตรวจคนยานพาหนะของทางราชการทหารอนั ผบู งั คับบัญชาฝา ยทหารผูเ ปน หัวหนา
ของหนว ยน้นั มหี นังสือรบั รองวาจะเปนเหตใุ หก ารปฏบิ ัติการยุทธพงึ เสียเปรียบ ใหง ดการตรวจคน

òð. การตรวจคนสิ่งของราชการลบั
ในการตรวจคนถาไดรับแจงจากฝายทหารวาสิ่งของใดเปนราชการลับทางทหาร
ใหดําเนินการ ดังน้ี
(๑) เม่ือนายทหารช้ันสัญญาบัตรที่เปนเจาหนาที่เกี่ยวของทําหนังสือรับรองกํากับ
ส่ิงของน้ันและแจงใหพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจทราบ ใหผูมีอํานาจหนาที่ตรวจคนงดเวน
การตรวจคน เฉพาะสิ่งของดังกลาว แลวทําบันทึกเหตุงดเวนการตรวจคน พรอมทั้งลงชื่อรับรอง
ทุกฝา ยแลว รีบรายงานผบู ังคบั บญั ชาทราบ
(๒) ถาผูมีอํานาจหนาที่ตรวจคนซึ่งมีตําแหนงต้ังแตช้ันปลัดอําเภอหรือหัวหนาสถานี
ตํารวจข้ึนไปยังติดใจสงสัยท่ีจะตรวจคน ใหทําเครื่องหมายลงช่ือทุกฝายปดผนึกหรือกํากับไวท่ีหีบหอ
หรือภาชนะบรรจุสิ่งของนั้น แลวจัดสงสิ่งของน้ันไปยังสถานที่ปลายทางตามท่ีตกลงกัน เพื่อรวมกัน
แตง ตั้งคณะกรรมการเปดตรวจสง่ิ ของนัน้ ตอไป
ถาส่ิงของใดอาจกอใหเกิดอันตรายแกผูตรวจคนหรือกอใหเกิดความเสียหายอนั จะทําให
ทางราชการไดรับความเสียหาย ไมวาจะเปนส่ิงของราชการลับหรือไมก็ตาม ใหดําเนินการตาม
วรรคกอนโดยอนโุ ลม
การตรวจคนสิ่งของใดอันผูบังคับบัญชาฝายทหารผูเปนหัวหนาของหนวยนั้นมีหนังสือ
รับรองวาจะเปน เหตใุ หการปฏบิ ัติการยุทธพึงเสยี เปรียบใหงดการตรวจคน
òñ. การประสานการตรวจคน
ในการตรวจคนตัวบุคคล สถานท่ีและที่รโหฐาน ยานพาหนะหรือส่ิงของตามหมวดน้ี
ใหก ระทาํ ในเวลาและสถานทอี่ นั สมควร โดยใชค วามสภุ าพนมุ นวลตามควรแกก รณี ถา มสี ารวตั รทหาร
อยู ณ สถานท่ีหรือบริเวณท่ีจะตรวจคน ใหผูมีอํานาจหนาท่ีตรวจคนประสาน โดยขอสารวัตรทหาร
มารวมเปนพยานในการตรวจคนดวย แตถาไมมีหรือมีแตสารวัตรทหารไมยินยอมรวมเปนพยานก็ให
บันทึกไว และเมื่อผูมีอํานาจหนาที่ตรวจคนดําเนินการเสร็จแลว ใหทําบันทึกพรอมกับใหทุกฝาย
ลงชอ่ื รบั รองและตางยึดถอื ไวฝ า ยละหนงึ่ ฉบบั

๗๖

ËÁÇ´ õ
¡ÒÃÊͺÊǹ

òò. การสอบสวนคดที หาร
ฝา ยทหารจะทาํ การสอบสวนการกระทาํ ความผดิ ของทหารตามกฎหมายวา ดว ยธรรมนญู
ศาลทหารไดเ ฉพาะกรณีดงั ตอ ไปนี้
(๑) คดที อี่ ยูในอาํ นาจศาลทหารตามกฎหมายวาดว ยธรรมนูญศาลทหาร
(๒) คดีท่ีผูกระทําผิดและผูเสียหายตางอยูในอํานาจศาลทหารดวยกันตามกฎหมาย
วาดวยธรรมนูญศาลทหาร ไมว าจะเกิดข้นึ ในเขตทีต่ ้ังทหารหรือไมก ต็ าม
(๓) คดอี าญาท่ีเกีย่ วดว ยวินยั ทหารตามกฎหมายวา ดวยวนิ ยั ทหาร
(๔) คดอี าญาทีเ่ กีย่ วดวยความลบั ของทางราชการทหาร
ในกรณีท่ีฝายทหารรองขอใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนโดยลําพังหรือรวมกับ
ฝา ยทหารหรือชว ยดําเนินการอยางอ่นื เพื่อประโยชนใ นการรวบรวมพยานหลกั ฐาน เชน การสืบสวน
การคนหรอื การจับกมุ ใหพนกั งานสอบสวนใหค วามรวมมือตามทีฝ่ า ยทหารรอ งขอ
คดตี ามวรรคหนง่ึ ถา ฝา ยปกครองหรอื ตาํ รวจไดร บั คาํ รอ งทกุ ขห รอื คาํ กลา วโทษไวก อ นแลว
หรือไดประสบเหตุและมีความจําเปนตองสอบสวน ใหพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนแลวรีบแจง
ใหฝายทหารทราบ ถาฝายทหารขอรับตัวทหารผูตองหาไปดําเนินการใหมอบตัวและสํานวน
การสอบสวนใหไป แตถาฝายทหารไมมารับตัวและไมแจงขอขัดของใหทราบ ใหพนักงานสอบสวน
ดาํ เนินการสอบสวนตอ ไปจนเสร็จสน้ิ
òó. การสอบสวนคดอี าญา
ในกรณีที่ทหารเปนผูตองหาในคดีอาญา ใหพนักงานสอบสวนแจงผูบังคับบัญชาของ
ทหารผูน้ันทราบ แลวดําเนินการสอบสวนไปตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และให
แจงสิทธขิ องผตู องหาตามรฐั ธรรมนูญใหผตู องหาทราบ ดังน้ี
(๑) สิทธทิ จี่ ะขอประกันตวั ตามมาตรา ๒๓๙
(๒) สิทธิท่ีจะพบและปรึกษาทนายความเปนการเฉพาะตัวในกรณีถูกควบคุม
หรอื คมุ ขงั ตามมาตรา ๒๓๙
(๓) สทิ ธทิ ่ีจะไดร บั การเย่ียมตามสมควรในกรณถี ูกควบคุมหรือคุมขังตามมาตรา ๒๓๙
(๔) สิทธิที่จะไดรับการสอบสวนดวยความรวดเร็ว ตอเน่ืองและเปนธรรมตาม
มาตรา ๒๔๑
(๕) สิทธิที่จะใหทนายความหรือผูซ่ึงตนไววางใจ เชน นายทหารพระธรรมนูญ หรือ
นายทหารช้ันสัญญาบัตร เขา ฟงการสอบปากคาํ ของตนไดต ามมาตรา ๒๔๑
(๖) สิทธิที่จะตรวจหรือคัดสําเนาคําใหการของตนในช้ันสอบสวน หรือเอกสาร
ประกอบคําใหการของตนตามหลักเกณฑของกฎหมาย เมื่อพนักงานอัยการไดยื่นฟองคดีตอศาล
แลวตามมาตรา ๒๔๑

๗๗

(๗) สิทธิท่ีจะไดรับความชวยเหลือจากรัฐดวยการจัดหาทนายความใหตามหลักเกณฑ
ของกฎหมายตามมาตรา ๒๔๒

(๘) สิทธิท่ีจะไมใหถอยคาํ เปนปฏิปกษตอตนเองอันอาจทาํ ใหตนถูกฟองคดีอาญา
ตามมาตรา ๒๔๓

(๙) สิทธิที่จะไดรับการเตือนวาถอยคําซ่ึงเกิดจากการจูงใจ มีคําม่ันสัญญา ขูเข็ญ
หลอกลวง ถูกทรมาน ใชกําลังบังคับหรือกระทําโดยมิชอบประการใดๆ ไมอาจรับฟงเปนพยาน
หลกั ฐานไดตามมาตรา ๒๔๓

ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยวาทหารผูตองหาไดกระทําหรือจะกระทําความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญาทหารหรือกฎหมายวาดวยวินัยทหารดวย ผูบังคับบัญชาของทหารผูตองหา
อาจสงนายทหารพระธรรมนูญหรือนายทหารชั้นสัญญาบัตรอ่ืนใดเขาฟงการสอบปากคาํ ทหาร
ผตู อ งหากไ็ ด

ใหน ําขอ ๑๔ ขอ ๑๕ และขอ ๑๖ มาใชกบั การควบคุมตัวและการปลอยช่วั คราวทหาร
ผูตองหาในระหวางการสอบสวนโดยอนุโลม ทั้งน้ี ใหคํานึงถึงกาํ หนดเวลาควบคุมตัวตามกฎหมาย
วาดวยธรรมนูญศาลทหาร และประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาดวย ในกรณีท่ีฝายทหาร
เหน็ วาการสอบสวนลาชา จะขอใหพ นักงานสอบสวนเรงรัดหรอื ชี้แจงเหตุผลกไ็ ด

òô. คดใี นอํานาจศาลแขวงและคดีทเ่ี ปรียบเทียบได
ถาทหารผูตองหาคดีอาญาซ่ึงอยูในอาํ นาจศาลแขวงใหการรับสารภาพตลอดขอหา
ใหพนักงานสอบสวนดําเนินการตามกฎหมายวาดวยวิธีพิจารณาความอาญาในศาลแขวงโดยแจงให
ฝายทหารทราบการจับกุมและการฟอ งคดีดวย
คดีอาญาท่ีทหารตองหาวากระทําความผิดนั้นอยูในอํานาจของพนักงานสอบสวน
ที่จะเปรียบเทียบไดตามกฎหมาย ไมวาจะเปนคดีที่อยูในอํานาจศาลทหารหรือไมก็ตาม และทหาร
ผูตองหายินยอมใหเปรียบเทียบได ใหพนักงานสอบสวนทําการเปรียบเทียบตามอาํ นาจหนาที่
ถาผูตองหาไมยินยอมใหเปรียบเทียบ ก็ใหสงสาํ นวนการสอบสวนไปยังพนักงานอัยการหรืออัยการ
ทหารเพือ่ ดําเนนิ การตอ ไป
òõ. การสอบสวนกรณีทหารและตํารวจกอ การววิ าทกัน
ในกรณีท่ีทหารกับตาํ รวจกอการวิวาทกันไมวาจะมีบุคคลอ่ืนรวมกระทาํ ความผิด
หรือไดรับความเสียหายดวยหรือไมก็ตาม ใหฝายตาํ รวจรายงานตามลาํ ดับช้ันถึงผูบัญชาการ
ตาํ รวจนครบาลหากเหตเุ กดิ ในกรงุ เทพมหานคร หรอื หวั หนา ตํารวจภธู รจงั หวดั หากเหตเุ กดิ ในจงั หวดั อนื่
เพ่ือใหแตงตั้งคณะพนักงานสอบสวนรวมกันระหวางฝายตํารวจกับฝายทหารมีจํานวนตาม
ความจาํ เปน แหง รปู คดี โดยใหแ ตล ะฝา ยมจี ํานวนเทา กนั เมอ่ื การสอบสวนเสรจ็ สนิ้ ใหพ นกั งานสอบสวน
ฝายตาํ รวจส่ังคดีไปตามอาํ นาจหนาท่ีประกอบกับผลการสอบสวนนั้น แตถาความเห็นของ

๗๘

คณะพนักงานสอบสวนรวมกันของฝายตาํ รวจไมตรงกับฝายทหาร ใหผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ
หรือผูไดร บั มอบหมายเปนผมู ีความเห็นทางคดีแลวสงสํานวนใหพนกั งานอัยการดาํ เนินการตอไป

หากพนักงานสอบสวนฝายหน่ึงฝายใดไมมารวมการสอบสวนตามกาํ หนดนัด
ใหคณะพนักงานสอบสวนรวมกันเทาท่ีมีอยูดําเนินการสอบสวนตอไปจนแลวเสร็จ เพ่ือมิให
การสอบสวนลาชาจนเกิดความเสียหายหรือเปนผลใหผูตองหาถูกควบคุมตัวไวนาน ท้ังน้ีใหบันทึก
การทฝี่ ายใดไมม ารว มทาํ การสอบสวนติดสาํ นวนไวด วย

ในระหวางรอการแตงต้ังหรือรอการประชุมคณะพนักงานสอบสวนรวมกันตามวรรคหนึ่ง
ใหพนักงานสอบสวนฝายตํารวจปฏิบัติหนาท่ีเทาที่จําเปนกอนไดตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญาเพอ่ื มิใหเ สยี หายแกร ปู คดีหรือเพ่อื ประโยชนแกความเท่ียงธรรมของคดี

òö. การชันสูตรพลกิ ศพ
ในกรณีท่ีทหารตายโดยการกระทําของเจาพนักงานซึ่งอางวาปฏิบัติการตามหนาที่
หรือตายในระหวางอยูในความควบคุมของเจาพนักงานซ่ึงอางวาปฏิบัติการตามหนาท่ีใหจัดใหมี
การสอบสวนและชันสูตรพลิกศพตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และใหพนักงาน
สอบสวนแจงใหผูบังคับบัญชาฝายทหารหรือหนวยทหารตามขอ ๑๑ ทราบ เพื่อสงนายทหาร
สญั ญาบัตรเขา ฟง การสอบสวน และรว มสังเกตการณชนั สตู รพลิกศพดว ย

ËÁÇ´ ö
¡ÒÃʧ‹ สํา¹Ç¹¡ÒÃÊͺÊǹ

ò÷. การสงสํานวนและผูตองหาใหอัยการ
เม่อื การสอบสวนเสร็จสิ้นลง ใหพ นกั งานสอบสวนดาํ เนนิ การ ดังนี้
(๑) ถาเปนคดีอาญาซึ่งอยูในอาํ นาจศาลทหารตามกฎหมายวาดวยธรรมนูญศาลทหาร
ใหสงสาํ นวนการสอบสวนไปยังอัยการทหารเพ่ือดําเนินการตามหนาท่ีตอไป สวนตัวผูตองหานั้น
ถาไดมอบตัวใหผูบังคับบัญชารับไปควบคุมไวกอนแลวตาม ขอ ๑๖ ก็อาจไมตองขอรับตัว
มาดําเนินการอีก แตใหบันทึกและแจงใหอัยการทหารทราบวาไดมอบตัวผูตองหาใหผูบังคับบัญชา
ผใู ดรบั ตวั ไปแลวตั้งแตเ มือ่ ใด
(๒) ถาเปนคดีอาญาซึ่งอยูในอาํ นาจศาลยุติธรรม ใหสงสาํ นวนการสอบสวนพรอมท้ัง
ตัวทหารผูตองหาไปยังพนักงานอัยการเพ่ือดําเนินการตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
ตอไป การสงตัวทหารผูตองหาที่อยูในการควบคุมของผูบังคับบัญชาใหพนักงานสอบสวนแจง
ผูบังคับบัญชาเพ่ือสงตัวทหารผูนั้นมายังพนักงานสอบสวนตามสถานที่และเวลาที่กาํ หนดเพื่อสงให
พนกั งานอัยการ พรอ มกบั สาํ นวน

๗๙

ในกรณีที่พนักงานอัยการส่ังฟองมิไดมีการสั่งใหปลอยชั่วคราว ใหพนักงานอัยการ
มอบตัวผูตองหาใหอยูในความควบคุมของพนักงานสอบสวนสาํ หรับในกรุงเทพมหานคร สวนใน
จังหวดั อน่ื ใหฝายตัวผตู องหาใหเรอื นจําควบคมุ ไว

òø. การสงสาํ นวนใหอ ัยการทหาร
ใหพนักงานสอบสวนสงสํานวนการสอบสวนไปยังอัยการทหารเพื่อดาํ เนินการตาม
กฎหมายวา ดว ยธรรมนญู ศาลทหารตอไป ในกรณีดังตอ ไปนี้
(๑) คดีอาญาซึ่งพนักงานสอบสวนมีอาํ นาจเปรียบเทียบไดและเปรียบเทียบเสร็จแลว
หรือทหารผูตอ งหาไมย อมใหเ ปรียบเทยี บตามขอ ๒๔ วรรคสอง
(๒) คดอี าญาซึง่ อยูในอาํ นาจศาลทหารและยังจับตัวทหารผูตองหาไมไ ด
(๓) คดีอาญาซึ่งอยูในอํานาจศาลทหารและจับตัวทหารผูตองหาได แตหลักฐาน
ไมพอฟอง หรอื พนักงานสอบสวนเห็นควรสง่ั ไมฟ อ ง
(๔) กรณมี คี วามตายเกดิ ขนึ้ โดยการกระทาํ ของฝา ยทหารซง่ึ อา งวา ปฏบิ ตั กิ ารตามหนา ที่
(๕) กรณีท่ีพนักงานสอบสวนทําการสอบสวนคดีทหารตามท่ีฝายทหารรองขอตาม
ขอ ๒๒ วรรคสอง เสร็จสนิ้ แลว
ในกรณีท่ีฝายทหารเปนผูทาํ การสอบสวนเกี่ยวกับคดีที่ตองทาํ การชันสูตรพลิกศพ
เม่ือพนักงานสอบสวนชันสูตรพลิกศพตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาเสร็จแลว
ใหพ นกั งานสอบสวนสง สาํ นวนชนั สตู รพลกิ ศพไปใหเ จา หนา ทส่ี อบสวนฝา ยทหารตามทไ่ี ดร บั การรอ งขอ
òù. การแจงผลคดเี พอ่ื การประสานงาน
ในคดีอาญาซ่ึงทหารเปนผูตองหาและอยูในอํานาจศาลยุติธรรม ใหพนักงานสอบสวน
และพนกั งานอยั การแจง ผลคดเี พอ่ื การประสานงาน ดงั นี้
(๑) เมื่อพนักงานสอบสวนเห็นควรส่ังฟองไมฟอง ใหหัวหนาพนักงานสอบสวน
หรือหัวหนา สถานีตาํ รวจท่ีเกีย่ วขอ งแจงความเห็นทางคดชี นั้ สอบสวนไปยงั ฝายทหาร
(๒) เมือ่ พนกั งานอัยการมคี าํ ส่งั ฟอ งหรอื มคี าํ ส่งั เดด็ ขาดไมฟอ งแลว ใหพ นกั งานอัยการ
แจง คาํ ส่งั ดังกลา วไปยงั ฝายทหาร
(๓) เมื่อศาลยุติธรรมมีคาํ พิพากษาประการใด ใหพนักงานอัยการแจงคําพิพากษา
ของทกุ ชนั้ ศาลไปยังฝา ยทหาร
(๔) ในกรณีท่ีทหารผูกระทาํ ผิดตองคาํ พิพากษาถึงที่สุดใหลงโทษจําคุก และฝายทหาร
ที่ไดรับแจงตองการที่จะรับตัวทหารผูกระทําผิดนั้นเม่ือพนโทษ ใหแจงการอายัดตัวใหผูบัญชาการ
เรือนจําท่ีทหารผูกระทําผิดน้ันตองคุมขังอยูไดทราบ และใหผูบัญชาการเรือนจําแจงใหฝายทหาร
ท่ีแจง อายัดตวั ทราบเมือ่ ใกลกาํ หนดวันเวลาท่ีจะปลอยตวั ไป

๘๐

(๕) เมื่อจะมีการปลอยตัวทหารผูกระทาํ ผิด หากมีเจาหนาที่ฝายทหารมารับตัวก็ให
มอบตัวไป แตถาไมมีก็ใหผูท่ีมีอาํ นาจส่ังปลอยหรือพนักงานอัยการในกรณีที่ศาลยุติธรรมเปน
ผสู ัง่ ปลอ ย แจงใหท หารผนู ั้นไปรายงานตวั ตอผบู ังคับบญั ชาตนสังกดั

(๖) ถาทหารผูน้ันตองหาในคดีอื่นซ่ึงจะตองนําตัวไปฟองยังศาลทหารอีกดวย หรือ
ผูบังคับบัญชาฝายทหารตองการตัว ใหฝายทหารมีหนังสืออายัดตัวไวกับพนักงานสอบสวน และให
พนักงานสอบสวนบันทึกไวในสาํ นวนการสอบสวนวาทางทหารยังตองการตัวและใหผูบังคับบัญชา
ฝา ยทหาร ตดิ ตอ กบั พนักงานสอบสวนหรอื พนักงานอัยการเพ่ือรับตวั ทหารนน้ั ไป

óð. การดาํ เนนิ คดีกบั บุคคลบางประเภท
การดําเนนิ คดีอาญากับบคุ คลบางประเภท ใหด าํ เนินการดงั ตอ ไปนี้
(๑) ในกรณีท่ีทหารผูตองหาวากระทําผิดคดีอาญาและอยูในอํานาจศาลทหารเปน
เด็กหรือเยาวชนตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชน
และครอบครวั ใหพ นกั งานสอบสวนดาํ เนนิ การไปตามกฎหมายนนั้ ทกุ ประการ และแจง ใหผ บู งั คบั บญั ชา
ของทหารผูตอ งหาน้ันทราบ
(๒) ในกรณีท่ีผูตองหาเปนพลเรือนในสังกัดราชการทหาร แตการกระทาํ ผิดคดีอาญา
เกิดในขณะที่บุคคลนั้นปฏิบัติหนาที่ยามรักษาสถานท่ีราชการทหาร ใหนาํ ความในขอ ๗ ขอ ๑๑
และขอ ๑๖ มาใชโ ดยอนุโลม
(๓) ในกรณีท่ีผูตองหาเปนอาสาสมัครทหารพรานที่อยูในความควบคุมดูแลของทาง
ราชการทหาร และการกระทําผิดคดีอาญาเกิดในขณะท่ีบุคคลน้ันยังสังกัดอยูในหนวยอาสาสมัคร
ทหารพราน ใหน ําความในขอ ๗ ขอ ๘ ขอ ๙ ขอ ๑๐ ขอ ๑๑ และขอ ๒๓ มาใชโ ดยอนโุ ลม

ประกาศ ณ วันที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๔
พันตาํ รวจโท ทกั ษณิ ชินวตั ร
นายกรฐั มนตรี

(ราชกิจจานเุ บกษา เลม ๑๑๘ ตอนพเิ ศษ ๑๑๘ง ลงวันท่ี ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๔)

๘๑

˹§Ñ ÊÍ× ¢ÍÃѺμÇÑ ¼ÙŒμÍŒ §ËÒ (แบบ ๑)

ที่....................................... (หนวยงานเจา ของหนงั สือ)
วนั ท.ี่ .............เดือน..............................พ.ศ. ............

ขอให. ..........................................................................................มอบตวั ทหารผตู อ งหา
ตามบญั ชีรายชื่อทา ยหนงั สอื นี้ รวม.................คน ซ่ึงควบคุมตัวไวใหแ ก. ................(หนว ยที่มอี ํานาจ
ควบคมุ ตวั )..................................ซงึ่ ไดแ ตง ตง้ั ให. .................................ตําแหนง ..................................
เปน ผรู บั ตวั ทหารผตู อ งหาไปตามระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรวี า ดว ยการปฏบิ ตั แิ ละประสานงานกรณี
ทหารถกู หาวา กระทําความผิดอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔

(ยศ, ชอื่ )......................................................
(ตาํ แหนง)......................................

ºÞÑ ªÃÕ Òª×Íè ·ËÒüŒμÙ ÍŒ §ËÒ·¢èÕ ÍãËŒÁͺμÇÑ á¡‹½†Ò·ËÒÃ

ที่ ยศ ช่ือ นามสกุล สงั กดั ตองหาวา หมายเหตุ

(ขอ กาํ หนดเก่ยี วกบั แบบของหนงั สือตามระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรี วา ดว ยการปฏิบตั ิ
และประสานงานกรณีทหารถูกหาวากระทําความผดิ อาญา พ.ศ.๒๕๔๔ ลงวนั ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๔๔
ขอ ๓)

๘๒

˹ѧÊÍ× Ê‹§ÁͺμÑǼμŒÙ ÍŒ §ËÒ (แบบ ๒)

ท่.ี ...................................... (หนว ยงานเจาของหนงั สือ)
วันท่ี..............เดือน..............................พ.ศ. ............

ตามทขี่ อให. .................................................................................มอบตวั ทหารผตู อ งหา
ตามบญั ชรี ายชอ่ื ทา ยหนงั สอื นไี้ ปเพอ่ื ควบคมุ ตวั ไวใ นระหวา งสอบสวนครงั้ แรกมกี าํ หนด................วนั
ซ่ึง..............................................................ไดแตงตั้งให...............................................................
ตําแหนง........................................................เปนผูรับตัวทหารผูตองหาไปเพื่อควบคุมตัวไวแลวน้ัน
หากไมไ ดร บั แจง ตามหนงั สอื แบบ ๓ ถงึ เหตผุ ลและความจาํ เปน ทข่ี อใหค วบคมุ ตวั ทหารผตู อ งหาตอ ตาม
ที่กาํ หนดไวใ นกฎหมายแลว ใหผ บู งั คับบัญชาทส่ี งั่ ควบคมุ ตวั ปลอยตัวทหารผูตอ งหาไป ทันที

ลงช่ือ...................................................ผูร บั ตวั ทหาร
ลงชือ่ ...................................................ผมู อบตวั ทหาร
ลงชื่อ...................................................พยาน
ลงช่อื ...................................................พยาน

ºÑÞªÃÕ ÒªÍ×è ·ËÒüŒμÙ ŒÍ§ËÒ·ÕÁè ͺãËŒ½Ò† ·ËÒÃÃºÑ ä»¤Çº¤ÁØ μÑÇ
ท่ี ยศ ชอ่ื นามสกลุ สงั กดั ตองหาวา โทษสูงสดุ ตามขอหา

ËÁÒÂàËμØ
๑. หนงั สอื นท้ี าํ ขน้ึ ๒ ฉบบั ขอ ความตรงกนั ทางฝายทหารนําไปมอบใหผูบ งั คับบญั ชา

ผูมีอํานาจสง่ั ควบคุมตัวฉบบั หน่ึง พนกั งานสอบสวนตดิ สํานวนไวฉบบั หน่ึง

๘๓

๒. กําหนดเวลาตามกฎหมายท่ีขอใหผ ูบังคบั บัญชาทหารควบคมุ ตวั ผตู อ งหาไดมีดังนี้
๒.๑ ความผดิ ทมี่ อี ตั ราโทษจาํ คกุ อยา งสงู ไมเ กนิ หกเดอื นหรอื ปรบั ไมเ กนิ หา รอ ยบาท

หรือท้งั จาํ ทง้ั ปรบั ผูบงั คับบญั ชาสัง่ ขงั ไดครั้งเดยี วมกี าํ หนดไมเ กนิ เจ็ดวัน
๒.๒ ความผดิ ทมี่ อี ตั ราโทษจาํ คกุ อยา งสงู เกนิ กวา หกเดอื นแตไ มถ งึ สบิ ป หรอื ปรบั เกนิ

กวาหารอยบาท หรือทง้ั จําทั้งปรับ ผูบ งั คับบญั ชาสงั่ ขังหลายครงั้ ตดิ ๆ กนั ได แตครั้งหน่งึ ตองไมเกนิ
สิบสองวัน และรวมกนั ทง้ั หมดตองไมเกินสีส่ ิบแปดวนั

๒.๓ ความผดิ อาญาทม่ี อี ตั ราโทษจาํ คกุ อยา งสงู ตงั้ แตส บิ ปข น้ึ ไป จะมโี ทษปรบั ดว ย
หรือไมกต็ าม ผูบังคบั บัญชาส่ังขังหลายครัง้ ติดๆ กนั ได แตครง้ั หน่ึงตองไมเ กินสิบสองวันและรวมกนั
ท้ังหมดตองไมเกนิ แปดสบิ สว่ี ัน

กรณที ่ผี ูบงั คบั บัญชาส่ังขังครบสี่สบิ แปดวันแลว หากพนกั งานสอบสวนยงั มคี วามจาํ เปน
ตองใหควบคุมตัวผูตองหาตอ ผูบังคับบัญชาจะสั่งขังตอไปไดก็ตอเมื่อพนักงานสอบสวนนําพยาน
หลกั ฐานไปแสดงใหป รากฏแหง ความจาํ เปน นน้ั โดยผตู อ งหาจะแตง ทนายเพอื่ คดั คา นและซกั ถามพยาน
ในวนั นัน้ ก็ได เมือ่ ควบคุมตวั ครบกาํ หนดส่สี บิ แปดวนั แลว ใหปลอยตวั ผูตองหาไปทันที

(¢ÍŒ กาํ ˹´à¡ÂÕè Ç¡ºÑ Ẻ¢Í§Ë¹§Ñ ÊÍ× μÒÁÃÐàºÂÕ ºสาํ ¹¡Ñ ¹ÒÂ¡Ã°Ñ Á¹μÃÕ ÇÒ‹ ´ÇŒ ¡Òû¯ºÔ μÑ Ô
áÅлÃÐÊÒ¹§Ò¹¡Ã³·Õ ËÒö¡Ù ËÒÇÒ‹ ¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ÍÒÞÒ ¾.È.òõôô Å§Ç¹Ñ ·Õè òõ ¸¹Ñ ÇÒ¤Á òõôô
¢ŒÍ ô)

๘๔

˹§Ñ Ê×Í¢ÍãËŒ¤Çº¤ÁØ μÇÑ (μÍ‹ ) (แบบ ๓)

ท่.ี ...................................... (หนว ยงานเจาของหนงั สือ)
วันท่ี..............เดือน..............................พ.ศ. ............

เรอ่ื ง ขอใหค วบคุมตัวตอ ครัง้ ท่.ี .........................
เรยี น ...............................................(ผูบงั คับบัญชาทหาร)
อา งถงึ ...........................................................................................................................................
สง่ิ ทสี่ ง มาดว ย.................................................................................................................................

ตามทไี่ ดข อใหค วบคมุ ตวั .........................................................................ทหารผตู อ งหา
ไวร ะหวา งสอบสวนตามหนงั สอื ...................................................................................................นนั้

ดว ยการสอบสวนยงั ไมแ ลว เสรจ็ เนอื่ งจาก....................................................................
......................................................................................................................................................
ดังปรากฏหลักฐานตามส่ิงที่สงมาดวย (หรือตามที่พนักงานสอบสวนนาํ มาแสดงเปนหลักฐาน) จึงขอ
ใหค วบคมุ ตวั ทหารผตู อ งหาตอ ไปอกี ....................วนั หากไมไ ดร บั แจง ถงึ เหตผุ ลและความจําเปน ทขี่ อ
ใหควบคุมตัวทหารผูตองหาตอตามที่กําหนดไวในกฎหมายแลว ใหผูบังคับบัญชาที่ส่ังควบคุมตัว
ปลอ ยตวั ทหารผตู อ งหาไปทันที

ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงชื่อ)..............................................................
(ตาํ แหนง)...............................................

ËÁÒÂàËμØ กาํ หนดเวลาตามกฎหมายท่ขี อใหผบู ังคับบญั ชาทหารควบคมุ ตวั ผตู อ งหาไดม ดี ังน้ี
๑. ความผดิ ทมี่ อี ตั ราโทษจาํ คกุ อยา งสงู ไมเ กนิ หกเดอื นหรอื ปรบั ไมเ กนิ หา รอ ยบาทหรอื

ทง้ั จําท้ังปรับ ผูบ ังคบั บญั ชาสงั่ ขงั ไดค รัง้ เดียวมีกาํ หนดไมเกินเจด็ วัน

๘๕

๒. ความผดิ ทมี่ อี ตั ราโทษจาํ คกุ อยา งสงู เกนิ กวา หกเดอื นแตไ มถ งึ สบิ ป หรอื ปรบั เกนิ กวา
หารอยบาท หรือทั้งจําท้ังปรับ ผูบังคับบัญชาสั่งขังหลายครั้งติดๆ กันได แตคร้ังหนึ่งตองไมเกิน
สิบสองวนั และรวมกันทงั้ หมดตอ งไมเกินสส่ี บิ แปดวนั

๓. ความผิดอาญาท่ีมีอัตราโทษจําคุกอยางสูงตั้งแตสิบปขึ้นไป จะมีโทษปรับดวยหรือ
ไมก็ตาม ผูบังคับบัญชาส่ังขังหลายคร้ังติดๆ กันได แตครั้งหนึ่งตองไมเกินสิบสองวันและรวมกัน
ท้ังหมดตองไมเ กนิ แปดสิบส่ีวัน

(¢ÍŒ กาํ ˹´à¡ÂèÕ Ç¡ºÑ Ẻ¢Í§Ë¹§Ñ ÊÍ× μÒÁÃÐàºÂÕ ºสาํ ¹¡Ñ ¹ÒÂ¡Ã°Ñ Á¹μÃÕ ÇÒ‹ ´ÇŒ ¡Òû¯ºÔ μÑ Ô
áÅлÃÐÊÒ¹§Ò¹¡Ã³·Õ ËÒö¡Ù ËÒÇÒ‹ ¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ÍÒÞÒ ¾.È.òõôô Å§Ç¹Ñ ·Õè òõ ¸¹Ñ ÇÒ¤Á òõôô
¢ÍŒ ô)

๘๖

คาํ ¾Ô¾Ò¡ÉÒÈÒŮաҷÕè õóóó/òõôõ
พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๑๕, ๖๖ พ.ร.บ.มาตรการในการปราบปราม
ผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๑๐ พ.ร.บ.ระเบียบขาราชการตํารวจ
พ.ศ.๒๕๒๑ มาตรา ๔, ๑๐ พ.ร.บ.รบั ราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗ มาตรา ๔(๓) (๘)
การทบี่ ุคคลใดจะเปนขา ราชการหรือไมต องเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย หาใชว า
บุคคลใดที่ตองไปปฏิบัติราชการแลวจะมีฐานะเปนขาราชการเสมอไป ซึ่งพระราชบัญญัติระเบียบ
ขา ราชการทหาร พ.ศ.๒๕๒๑ มาตรา ๔ บญั ญตั วิ า “ขา ราชการทหาร” หมายความวา ทหารประจาํ การ
และขาราชการกลาโหมพลเรือนท่ีบรรจุในตําแหนงอัตราทหาร สวนคําวา “ทหารกองประจําการ”
หมายความวา ทหารกองประจําการตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร และพระราชบัญญัติ
รบั ราชการทหาร พ.ศ.๒๔๗๙ มาตรา ๔(๓) บญั ญตั ิวา “ทหารกองประจาํ การ” หมายความวา ผูซ ง่ึ
ข้ึนทะเบียนกองประจําการและไดเขารับราชการในกองประจําการจนกวาจะไดปลดและมาตรา ๔(๘)
บัญญัติวา “ทหารประจําการ” หมายความวา ทหารซ่ึงรับราชการตามท่ีกระทรวงกลาโหมกําหนด
ซึ่งไมใชทหารกองประจําการจึงเห็นไดวาตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการทหารฯ และพระราช
บัญญัติรับราชการทหารฯ ไดแยกทหารประจําการ และทหารกองประจําการไวตางหากจากกัน
เฉพาะทหารประจําการเทานั้นท่ีถือวาเปนขาราชการจะแปลความใหหมายความรวมถึง จําเลยท่ี ๒
ซึ่งเปนทหารกองประจําการวาเปนขาราชการ อันจะตองรับโทษหนักขึ้นเปนสามเทาตาม
พระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผูกระทําความผิดเก่ียวกับยาเสพติดฯ มาตรา ๑๐ ดวย
หาไดไม
โจทกฟ อ งขอใหล งโทษจาํ เลยทง้ั สองตาม พ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ ทษ พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๔,
๗, ๘, ๕, ๖๖, ๑๐๒ ป.อ.มาตรา ๘๓ พ.ร.บ.มาตรการในการปราบปรามผกู ระทําความผิดเก่ียวกับ
ยาเสพติด พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๑๐ และริบของกลาง
จําเลยทงั้ สองใหการรับสารภาพ ศาลชั้นตนพิพากษาลงโทษจําคุกจาํ เลยทัง้ สอง
จาํ เลยท่ี ๒ อุทธรณ
ศาลอทุ ธรณภ าค ๒ พพิ ากษาแกเ ปน วา ไมป รบั บทลงโทษจาํ เลยที่ ๒ ตามพระราชบญั ญตั ิ
มาตรการในการปราบปรามผกู ระทาํ ความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๑๐ ใหจ าํ คกุ จาํ เลย
ท่ี ๒ มกี าํ หนด ๖ ป ลดโทษใหต ามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๗๘ ก่งึ หน่ึงแลว คงจําคกุ ๓ ป
นอกจากทแี่ กใ หเปน ไปตามคําพพิ ากษาศาลชัน้ ตน
โจทกฎีกา
ศาลฎีกาพิจารณาวาคดีนี้มีปญหาตองวินิจฉัยตามฎีกาของโจทกเก่ียวกับจําเลยที่ ๒
เพียงขอเดียววาจําเลยที่ ๒ ซึ่งเปนทหารกองประจําการถือเปนขาราชการอันจะตองรับโทษหนักข้ึน
เปนสามเทาตามพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผูกระทําความผิดเก่ียวกับยาเสพติด
พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๑๐ หรอื ไม โดยโจทกฎ กี าวา จําเลยท่ี ๒ มสี ถานะเปน ขา ราชการโดยเขา รบั ราชการ

๘๗

เปนทหารกองประจําการตามพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗ แมพระราชบัญญัติ
ระเบียบขาราชการทหารจะแยกทหารประจําการกับทหารกองประจาํ การไวตางหากจากกัน แตสิทธิ
และหนา ทสี่ ว นใหญเ หมอื นกนั ทง้ั ตามพจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถานคําวา “ขา ราชการ” หมายถงึ
ผูปฏิบัติราชการในสวนราชการเทาน้ัน ดังน้ัน การท่ีจําเลยท่ี ๒ ถูกคัดเลือกใหเขารับราชการทหาร
เปนทหารกองประจาํ การในสังกัดกองทัพบกซ่ึงเปนสวนราชการจึงมีสถานะเปนขาราชการนั้น เห็นวา
การที่บุคคลใดจะเปนขาราชการหรือไมตองเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมาย หาใชวาบุคคลใดท่ี
ตองไปปฏิบัติราชการแลวจะตองมีฐานะเปนขาราชการเสมอไป พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ
ทหาร พ.ศ.๒๕๒๑ บัญญัติไวในมาตรา ๔ วา “ขาราชการทหาร” หมายความวา ทหารประจําการ
และขาราชการกลาโหมพลเรือนท่ีบรรจุในตําแหนงอัตราทหาร สวนคําวา “ทหารกองประจําการ”
หมายความวา ทหารกองประจําการตามกฎหมายวาดวยการรับราชการทหาร และพระราชบัญญัติ
รับราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗ มาตรา ๔(๓) บญั ญตั วิ า “ทหารกองประจาํ การ” หมายความวา ผูซ ่งึ
ข้นึ ทะเบยี นกองประจาํ การและไดเ ขารับราชการในกองประจาํ การจนกวาจะไดป ลด และมาตรา ๔(๘)
บัญญัติวา “ทหารประจําการ” หมายความวา ทหารซ่ึงรับราชการตามที่กระทรวงกลาโหมกําหนด
ซง่ึ ไมใ ชท หารกองประจาํ การ จงึ เหน็ ไดว า เฉพาะทหารประจาํ การเทา นนั้ ทถี่ อื วา เปน ขา ราชการ นอกจากน้ี
ตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการทหาร พ.ศ.๒๕๒๑ มาตรา ๑๐ บัญญัติวา “การบรรจุบุคคล
เขารับราชการเปนขาราชการทหารจะใหไดรับเงินในช้ันใด ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ
ที่กาํ หนดในกฎกระทรวง” และมาตรา ๑๑ บัญญตั ิวา “การแตงตั้ง การเลอ่ื นหรือลดตาํ แหนง การยา ย
การโอน การเล่ือนขั้นเงินเดือนและการออกจากราชการของขาราชการทหารใหเปนไปตามกฎหมาย
ขอ บังคับและระเบยี บแบบแผนของกระทรวงกลาโหม

ใหน าํ ความในวรรคหนง่ึ มาใชบ งั คบั แกน กั เรยี นในสงั กดั กระทรวงกลาโหมดว ยโดยอนโุ ลม
การเลอ่ื นขนั้ เงนิ เดอื นของทหารกองประจาํ การ ใหเ ปน ไปตามทกี่ ระทรวงกลาโหมกาํ หนด”
จึงเห็นไดวาขาราชการทหารยอมจะมีสิทธิตางๆ ดีกวาทหารกองประจําการไมใช
ขาราชการทหาร เพียงแตกฎเกณฑหรือระเบียบบางอยางอาจนํามาใชในทหารกองประจําการดวย
เทานั้น เมื่อขาราชการทหารมีความหมายเฉพาะทหารประจําการเทาน้ันจะแปลความใหหมายความ
รวมถึงจําเลยที่ ๒ ซึ่งเปนเพียงทหารกองประจําการและเปนผูตองเขามาปฏิบัติหนาที่เปนสวนหนึ่ง
ในกองทัพตามเวลาที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติรับราชการทหาร พ.ศ.๒๔๙๗ เทาน้ันหาไดไม
จําเลยท่ี ๒ จึงมิไดเปนขาราชการตามความในพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผูกระทํา
ความผดิ เกย่ี วกบั ยาเสพตดิ พ.ศ.๒๕๓๔ มาตรา ๑๐ ทศี่ าลอทุ ธรณพ พิ ากษาแกเ ปน วา ไมป รบั บทลงโทษ
จาํ เลยท่ี ๒ ตาม พ.ร.บ.ฯ ดังกลาวน้นั ชอบแลว
พิพากษาแกเปนวา จําเลยที่ ๑ และท่ี ๒ มีความผิดตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดใหโทษ
พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๑๕ วรรคหน่ึง (เดมิ ), ๖๖ วรรคหน่ึง (ท่แี กไขใหม) นอกจากท่ีแกใหเปนไปตาม
คําพพิ ากษาศาลอทุ ธรณภ าค ๒

๘๘

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹

๑. ผูสอนและผูเ รียนชว ยกันสรุปเนอ้ื หา
๒. แบง กลมุ ผเู รยี นเพอื่ ระดมความคดิ เหน็ ในกรณกี ารจบั การควบคมุ ตวั และการตรวจคน
ทหารทก่ี ระทาํ ความผดิ

͌ҧͧÔ

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๖๐) คมู อื ตาํ รวจหลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ. กรงุ เทพฯ.
โรงพิมพต าํ รวจ

สํานักพิมพสูตรไพศาล.(๒๕๕๖) ประมวลระเบียบการตํารวจเก่ียวกับคดี. กรุงเทพฯ.
โรงพมิ พสาํ นักพมิ พสูตรไพศาล

๘๙

º··èÕ õ

¡Òû¯ºÔ μÑ μÔ ¹áÅСÒÃàº¡Ô ¤ÇÒÁ໚¹¾ÂÒ¹ÈÒÅ

ÇμÑ ¶»Ø ÃÐʧ¤¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃÐจาํ º·

ผูเรียนมีความรูและสามารถอธิบายเก่ียวกับการปฏิบัติตนตอศาลกรณีถูกอางเปนพยาน
การเตรียมตวั และการเบิกความเปน พยานศาล

¡Òû¯ºÔ ÑμÔμ¹μ‹ÍÈÒÅ

เจาหนาท่ีตาํ รวจเม่ือไดรับหมายเรียกหรือนัดโดยศาล จะตองปฏิบัติตนโดยเครงครัด
หากฝาฝนจะถูกลงโทษทางอาญา นอกจากจะเขาขอยกเวนใหผอนผันตามกฎหมาย เชน กรณี
การเปนพยานศาล

¡ÒÃÃÒ§ҹμ¹àÁèÍ× ¶¡Ù ͌ҧ໚¹¾ÂÒ¹
เม่อื ขา ราชการตาํ รวจถกู อางเปน พยานในคดอี าญา ใหป ฏิบัตดิ งั ตอไปนี้
๑. คดีอาญาที่พนักงานอยั การ อา งตํารวจเปน พยาน ถาผถู ูกอา งเปน

๑.๑ ตํารวจชน้ั ประทวน ใหเ ปน หนา ทขี่ องผบู งั คบั บญั ชา ผทู าํ การสอบสวนในคดนี นั้
หรือสารวัตรผูบังคับกองเรียกผูท่ีเปนพยานนั้นมาช้ีแจงความจําของตนที่ไดใหการไว เพ่ือปองกัน
การหลงลืม

๑.๒ นายตาํ รวจสัญญาบัตร เปนหนาที่ของนายตํารวจผูน้ันเอง จะตองเตรียมตัว
ไปเปนพยานหากสงสัยประเด็นขอ ใด ใหติดตอกับพนกั งานอยั การผวู าคดีน้ัน

๒. ถา จําเลยในคดพี นกั งานอยั การฟอ ง ไดอ า งวา ตํารวจผใู ดเปน พยานจําเลย ใหป ฏบิ ตั ิ
ดงั น้ี

๒.๑ ในคดีธรรมดา ใหตํารวจที่ถูกจําเลยอาง รายงานชี้แจงขอความท่ีตนรูเห็นตอ
ผูบังคับบัญชาโดยตรงใหทราบลวงหนาอยางนอย ๑ วัน ถาไมสามารถรายงานใหผูบังคับบัญชา
ทราบไดตามกําหนดนี้ ใหรายงานโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําได ถาเหตุที่จะเบิกความตามท่ีจําเลย
อางนั้นเกี่ยวกับระเบียบการของกรมตาํ รวจ ถาเปนตาํ รวจในกรุงเทพมหานคร ใหผูบังคับบัญชา
เสนอถึงผูก ํากบั การหรอื ผูบงั คบั การ

๒.๒ คดอี กุ ฉกรรจ คดเี กย่ี วกบั การเมอื งหรอื คดสี ําคญั ทจี่ าํ เลยมอี ทิ ธพิ ลใหร ายงาน
ผูบ ังคบั บญั ชาถงึ ผบู งั คบั การ เพื่อเสนอใหผูบงั คบั บัญชาชัน้ สงู ทราบ

๙๐

๒.๓ เมื่อขาราชการตาํ รวจไดรับหมายนัดของศาลใหไปเบิกความในคดีอาญา
ตองไปตามกาํ หนดนัดหากมีเหตุขัดของ หรือติดราชการสําคัญ หรือเจ็บปวยอยางรายแรง ใหรีบแจง
ผบู งั คบั บญั ชาทราบทนั ที เพอ่ื ทผ่ี บู งั คบั บญั ชาจะไดพ จิ ารณาเหตผุ ลขดั ขอ งนนั้ วา เปน การสมควรหรอื ไม
หากเห็นวาไมสมควร ก็ใหแจงผูน้ันรับหมายและไปศาลตามกําหนด หากเห็นวาเหตุขัดของน้ันจาํ เปน
และสมควรก็ใหรับรองและรีบแจงไปยังผูวาคดีหรือพนักงานอัยการ และตองแจงใหทราบกอนวันนัด
พิจารณาของศาล

¡ÒÃàºÔ¡¤ÇÒÁ໚¹¾ÂÒ¹ÈÒÅ
การรวบรวมพยานหลักฐาน จะตองสามารถนาํ พยานไปเบิกความตอศาลใหได การนํา
พยานไปพิสูจนตอศาลจึงสําคัญกวาการสอบสวนพยาน เนื่องจากเมื่อพยานไมไปเบิกความ ศาลตัด
พยาน ออกหมายจับพยาน ทาํ ใหพยานหลักฐานออ น ศาลยกฟอง ผลเม่ือศาลยกฟอ ง อยั การสงเรื่อง
ใหผูบังคับบัญชาตาํ รวจพิจารณาขอบกพรองผูเก่ียวของ ดังนั้น การเบิกความเปนพยานศาลจึงมี
ความสําคญั และจําเปน ซง่ึ ในขั้นตอนของการเตรยี มตัวตลอดจนการเบิกความตอ ศาล มีรายละเอียด
โดยสรปุ ดังนี้
ñ. ¡ÒÃดาํ à¹¹Ô ¡Òá‹Í¹à»š¹¾ÂÒ¹ÈÒÅ

(๑) เมื่อไดรับหมายเรียกใหไปเบิกความเปนพยานศาล ลงนามรับทราบในหมาย
มอบปลายหมายใหเจาหนาท่ี สวนตัวหมายเก็บไวกับเอกสารที่เกี่ยวของที่จําเปนตองใชและไดจัด
เตรียมไว เชน สําเนาคําใหการในชั้นพนักงานสอบสวน สําเนาบันทึกการจับกุม ภาพถายตางๆ
ในคดี และสําเนาเอกสารอื่นๆ ท่ีเกี่ยวของ เพื่อใชทบทวนเหตุการณที่เกิดข้ึน กอนเบิกความเปน
พยานศาล รวมท้ังลงรายละเอียด วัน เดือน ป เวลา และสถานท่ี ท่ีตองเปนพยานศาลไวในบันทึก
ชว ยจาํ

(๒) ทบทวนเหตุการณ วาเขาไปเกี่ยวของในคดีอยางไร ชวงระยะเวลาใด
กอนเกิดเหตุ ขณะเกิดเหตุ หรือหลังเกิดเหตุ ทั้งน้ีจะตองสอดคลองกับรายละเอียดในเอกสาร
ทีเ่ กยี่ วของตาม (๑)

(๓) ดูภาพถายผูตองหาในคดีเพื่อปองกันการจําผิดตัว เพราะระยะเวลาที่
เกิดเหตุหรือเกี่ยวของในคดีกับระยะเวลาการเปนพยานศาลระยะหางกันมาก เชนเดียวกับของกลาง
ในคดี และสถานที่เกิดเหต จะตองจดจาํ ในรายละเอียดใหได ในคดีสําคัญๆ จําเปนตองไปดู
สถานท่ีเกิดเหตุกอนไปเบิกความเปนพยานศาล จะไดทราบวาสถานที่เกิดเหตุมีการเปลี่ยนแปลง
หรือไม อยางไร เมื่อเปรียบเทียบกับภาพถายในขณะเกิดเหตุจะเกิดประโยชนในการเบิกความกรณีท่ี
ทนายจําเลยสอบถาม (ซกั คา น) เกย่ี วกับสถานทเ่ี กิดเหตุ หรอื นาํ ภาพถา ยท่รี ะบวุ าเปนสถานทเี่ กิดเหตุ
มาใหดูในชั้นศาลวา เปน ภาพถา ยบรเิ วณทเ่ี กดิ เหตุหรือไม อยางไร

(๔) กรณีเปนพยานคู จะตองประสานเพ่ือทบทวนในรายละเอียดใหสอดคลอง
กับพยานท่ีจะตองเบิกความดวยกัน พรอมขอคําแนะนําจากพนักงานอัยการเจาของสํานวน จะได
ทราบประเดน็ ขอตอสูของจาํ เลย และขอ ความจดจําในการเบิกความ

๙๑

(๕) เตรียมความพรอมในการเบิกความ ขอเท็จจริงตามรูปคดีในฐานะพยานโจทก
ขอตอ สูของฝายจําเลย โดยศึกษาจากคดีแบบเดียวกนั ทเี่ คยเบิกความมาแลว รวมท้งั แนวคําพพิ ากษา
ของศาลและบุคคลท่ีเคยเบิกความในคดีทาํ นองเดียวกันมากอน เพื่อปดชองการซักคานของทนาย
จาํ เลย

(๖) บุคคลท่ีไมเคยเปนพยานศาลมากอน ตองเตรียมตัวเปนพิเศษ โดยศึกษา
สอบถามจากผมู ปี ระสบการณ ในบางครงั้ หากมเี วลาและเปน คดสี าํ คญั ๆ ควรเขา ฟง การเปน พยานศาล
ในคดอี น่ื จะไดท ราบขนั้ ตอนตา งๆ จะไดไ มม คี วามรสู กึ ตน่ื เตน รวมทง้ั ทราบถงึ เทคนคิ ลลี า หรอื กลยทุ ธ
การซกั คา นของทนายจาํ เลย

(๗) พักผอนใหเต็มท่ีในคืนกอนวันเบิกความ พรอมทบทวนรายละเอียดแหงคดี
ตลอดจนจดจาํ ขอควรปฏิบัติในการไปเบิกความ ซ่ึงศาลจะแจงใหทราบโดยมีขอความอยูดานหลัง
หมายเรียก

(๘) ไปศาลตรงตามเวลาในหมาย และควรไปกอนเวลา จะไดมีโอกาสทบทวน
ไดพ บอัยการ และพบฝา ยจาํ เลย การพบอาจไดขอมูลอันเปน ประโยชนในการเบกิ ความ

(๙) ไมควรเล่ือนการเปนพยานศาล เพราะปจจุบันเปนการพิจารณาคดี
และสบื พยานแบบตอเนื่อง ศาลจะไมย อมใหเลือ่ นการเปนพยานศาล

(๑๐) กรณถี ูกจําเลยอา งเปน พยานฝายจําเลย จะตอ งรายงานใหผบู ังคับบัญชาทราบ
และไปศาลตามกาํ หนดนัด ศึกษาแนวทางใหดี เบิกความไปตามความเปนจริง พรอมระมัดระวัง
ในการเบิกความ อยา เบกิ ความในกรณีทเี่ ปนประโยชนตอ ฝายจําเลย

(๑๑) เม่ือเบิกความไปแลว ควรทบทวนในรายละเอียดและจดรายละเอียด
ประเดน็ ตางๆ ไว จะไดเ ก็บไวใชใ หเ ปน ประโยชนในคดีอ่นื ๆ ที่มขี อ เท็จจรงิ หรือลกั ษณะคดคี ลายคลึง
หรอื เหมอื นกนั

(๑๒) ในกรณีมีพยานหลักฐานเพิ่มเติมท่ีไมเคยปรากฏในสาํ นวนการสอบสวน
มากอน ใหเตรียมไปมอบใหพนักงานอัยการกอนขึ้นศาล เพื่อพนักงานอัยการจะไดพิจารณา
ยื่นตอ ศาลตอไป

ò. ¡Ã³ÕàÁè×ÍàºÔ¡¤ÇÒÁ໹š ¾ÂÒ¹μÍ‹ ÈÒÅ
(๑) การแตงกายสุภาพเรียบรอย สุภาพออนนอมและใหความเคารพตอ

ทา นผูพิพากษา พนกั งานอัยการ และทนายความ
(๒) เบิกความตามความเปนจริงใหสอดคลองหรือทาํ นองเดียวกับคาํ ใหการใน

ช้นั สอบสวน นาํ้ เสียงชดั เจน เสียงดงั ฟงชดั
(๓) กอนตอบคาํ ถามซักคานของทนายจําเลย ตองฟงคาํ ถามใหดี วิเคราะหแลว

จึงตอบไปตามความเปนจริง
(๔) ตอบคาํ ถามในสวนท่ีเกี่ยวของกับตัวพยานเองใหตรงกับขอเท็จจริงในกรณี

ท่ปี ระเด็นท่ีซกั คา นเก่ยี วขอ งกบั พยานผูอ ่นื พยานไมต อ งตอบ
(๕) การเบิกความตอ งรกั ษาผลประโยชนข องฝายโจทกใ หม าก

๙๒

(๖) เมื่อตกใจ ประหมา จะตองต้ังสติและควบคุมอารมณ พรอมตอบคําถาม
อยางวเิ คราะห

(๗) อยาโตเถียงกับทนายความ หากเกิดปญหาตางๆ ทานผูพิพากษาจะชวย
ดาํ เนนิ การใหเ กิดความเปน ธรรม

(๘) เม่ือไมแนใจในขอเท็จจริง อาจปฏิเสธคําถามโดยใชคําวา “จําไมได” กับ
“ไมไดส งั เกต” ตามสภาวะทเ่ี หมาะสม

(๙) ในการเบิกความ หลังจากท่ีทนายจําเลยซักคานแลว หากมีประเด็นท่ีเปน
ประโยชนเพ่ิมเติมหรือหักลางท่ีทนายจําเลยซักคาน พนักงานอัยการจะถามติง พยานจะตอง
วเิ คราะหดวยวา เหตุใดพนกั งานอัยการจงึ ถามติง

(๑๐) เม่อื รูวาตอบคาํ ถามผิดพลาดใหแถลงตอ ศาลขอเบกิ ความใหม
(๑๑) สิ่งสําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การรับรองเอกสาร หากเปนเอกสาร
ฝายโจทกตองดูใหละเอียดและถูกตองกอนรับรอง แตหากเปนเอกสารจากฝายจําเลยพิจารณาใหดี
กอนยนื ยนั หลกั ฐาน หากสงสัยไมแนใจ ไมค วรรับรอง
(๑๒) กอนเสร็จสิ้นการเบิกความ หากมีประเด็นที่เปนสาระสําคัญแหงคดี และ
พนกั งานอยั การไมไ ดถ าม ใหพยานแถลงตอ ศาลขอเบกิ ความเพม่ิ เติม
(๑๓) ตองต้ังใจฟงเม่ือศาลอานคาํ เบิกความ หากไดยินไมชัดเจน ตองขอ
อนุญาตศาลใหอานทวนใหฟง หากมีผิดพลาดไมตรงกับที่เบิกความใหทักทวงและขอแกไขใหถูกตอง
และใหศาลบนั ทกึ การแกไขไวใ นสํานวนดวย
(๑๔) หากทนายจําเลยถามถึงวิธีปฏิบัติซ่ึงเปนความลับ เชน การสืบสวนกอน
การจับกุมหรือการไดมาซึ่งขอมูลบางอยาง ไมควรตอบคําถามน้ัน โดยอางความเสียหายจะเกิดข้ึน
ตอ การสืบสวนในเรื่องสําคัญ หรอื กรณสี ายลบั โดยอา งเหตุอนั ตรายทจี่ ะเกดิ ตอสายลับ
ó. ¢ŒÍº¡¾ÃÍ‹ §¢Í§à¨ŒÒ¾¹¡Ñ §Ò¹ã¹¡ÒÃ໚¹¾ÂÒ¹ÈÒÅ
(๑) พยานไมส นใจ ขาดการฝกฝน ขาดประสบการณก ารเปนพยานศาล
(๒) พยานไมทําการบาน กลาวคือ ไมทบทวนขอเท็จจริงตามคําใหการ ไมไปดู
สถานที่เกิดเหตุ ไมไปพบพนักงานอัยการกอนเบิกความ จึงขาดในรายละเอียดและกลยุทธในการ
เบกิ ความ
(๓) พยานจดจําในรายละเอียดไมได อันอาจสืบเน่ืองมาจากไมไดรวมจับกุม
แตมีชือ่ ในบนั ทกึ การจบั กมุ จงึ ถกู ทนายจาํ เลยอางเปนพยานฝายจาํ เลย
(๔) ไมสามารถควบคุมอารมณโกรธ ประหมา ตื่นเตนตกใจ ขาดความมั่นใจ
ในตวั เอง
(๕) ตอบคําถามในสวนท่ีตนเองไมเก่ียวของ หรือตอบเกินประเด็นท่ีถาม หรือ
ตอบไมตรงคาํ ถาม หรอื ตอบไมสอดคลอ งกับพยานคนอืน่

๙๓

(๖) ดื่มสรุ า มาสาย ไมมาศาลตามนัด เล่อื นศาลเสมอ ไมใ หความสําคญั ตอคดี
(๗) ไมเตรียมตัว ไมสนใจเอกสารที่เก่ียวของ จัดระบบการรวบรวมเอกสารกอน
เบิกความไมดี
ô. ˹ѧÊÍ× ÊÑ觡ÒÃสาํ ¹Ñ¡§Ò¹ตาํ ÃǨáË‹§ªÒμÔ ¡Ã³¡Õ ÒÃ໹š ¾ÂÒ¹ÈÒÅ
สํานักงานตํารวจแหงชาติ มีหนังสือส่ังการท่ี ๐๐๐๔.๖/๑๘๑๙ ลงวันท่ี ๑๑
กมุ ภาพนั ธ ๒๕๔๕ กาํ ชบั การปฏบิ ตั กิ รณกี ารเปน พยานศาลของพนกั งานสอบสวนและผเู กย่ี วขอ ง ดงั น้ี
๔.๑ ใหตํารวจที่จะเปนพยาน ไปเบิกความตามท่ีศาลนัดโดยเครงครัด โดยถือ
เปน งานราชการสาํ คัญ
๔.๒ กรณีตํารวจท่ีเปนพยานศาลโยกยายไปท่ีอื่น ขอใหไปเบิกความที่ศาลเดิม
โดยถอื เปน การเดนิ ทางไปราชการ เพราะในการพจิ ารณาคดตี อ เนอื่ งจะไมส งั่ ประเดน็ ไปสบื พยานทอ่ี นื่
๔.๓ ใหตํารวจรายงานผลการสงหมายเรียกพยานกลับมายังศาลผูออกหมายเรียก
เพอ่ื ประโยชนในการประสานงานกับศาลผอู อกหมาย
๔.๔ หากมีพยานสําคัญท่ีจําเปนตองนํามาเบิกความกอนถึงวันเร่ิมสืบพยาน
หรือมีเหตุจําเปนเก่ียวกับความปลอดภัยของพยาน ใหตํารวจประสานงานกับอัยการ เพ่ือขอใหศาล
นัดสบื พยานดงั กลาวเปนกรณีพเิ ศษ
๔.๕ ขอใหสถานีตํารวจแตละแหง กําหนดบุคคลใดบุคคลหน่ึงในหนวยงานเปน
ผรู บั ผดิ ชอบในการติดตามพยานและประสานงานกับศาลชน้ั ตนแตล ะศาลโดยตรง
จึงแจงใหทราบวาการเปนพยานศาลนั้นถือวาเปนการปฏิบัติราชการสําคัญ
ทีต่ อ งใหความรว มมืออยางจริงจงั

¤‹Òμͺ᷹¡ÒÃ໹š ¾ÂÒ¹

การจายคาตอบแทนแกพยานในคดีอาญาตามระเบียบกระทรวงยุติธรรม วาดวย
คาตอบแทนและคาใชจายแกพยาน สามี ภริยา ผูบุพการี ผูสืบสันดาน ของพยานหรือบุคคลอ่ืนที่มี
ความสัมพันธใกลชิดกับพยานในคดีอาญา พ.ศ.๒๕๔๗ นั้น พยานจะไดรับคาตอบแทนเม่ือไดให
ขอเท็จจริง หรือเบิกความตอศาลแลว จึงจะมีสิทธิไดรับคาตอบแทนที่จําเปนและสมควรตามอัตรา
ทกี่ ําหนด ดงั น้ี

ในกรณีท่ีพยานมีท่ีพักอาศัยอยูในเขตจังหวัดท่ีมาใหขอเท็จจริงยังท่ีทําการพนักงาน
ผูมีอํานาจสบื สวนคดีอาญา พนักงานผูมีอํานาจสอบสวนคดอี าญา พนักงานผมู ีอํานาจฟอ งคดอี าญา
หรอื ศาล ไดรับคา ตอบแทนคร้งั ละ ๒๐๐ บาท

ในกรณีท่ีพยานผูท่ีมีท่ีพักอาศัยอยูนอกเขตจังหวัดที่เดินทางมาใหขอเท็จจริงยังท่ีทําการ
ของพนกั งานผมู อี าํ นาจสบื สวนคดอี าญา พนกั งานผมู อี าํ นาจสอบสวนคดอี าญา พนกั งานผมู อี าํ นาจฟอ ง
คดีอาญา หรือศาล ไดรับคาตอบแทนครั้งละ ๕๐๐ บาท

๙๔

เจาหนาที่ของรัฐซึ่งมีหนาท่ีเก่ียวของโดยตรงกับคดี เชน เจาหนาที่ตํารวจผูจับกุม
พนักงานสอบสวน หรือขาราชการอ่ืนๆ เม่ือไดเบิกความตอศาลในฐานะพยานโจทกในคดีอาญา
ความผิดตอแผนดินหรือในคดีอาญาความผิดตอสวนตัว ซ่ึงพนักงานอัยการเปนโจทกแลว เจาหนาที่
ของรัฐดงั กลา วยอมมสี ิทธิไดรับคา ตอบแทนทจ่ี ําเปน และสมควรตามที่กฎหมายบัญญัติ
อัตราคาตอบแทนจํานวน ๒๐๐ และ ๕๐๐ บาท ตามระเบียบกระทรวงยุติธรรม
ดังกลาวกําหนดจากระยะการเดินทางโดยถือเอาที่อยูของพยานเปนเกณฑนั้น มิไดมีเจตนารมณ
ใหจายเปนคาพาหนะ เพียงแตอาศัยระยะทางมาเปนตัวกําหนดคาใชจายเทาน้ัน ดังน้ัน พยานใน
คดีอาญาดังตอไปนี้ จงึ อยูในดลุ พินิจของศาลทีจ่ ะมีคาํ สัง่ ใหม กี ารจา ยคา ตอบแทนหรือไมก็ได
(๑) พยานโจทก เฉพาะคดคี วามผิดตอสว นตวั ซง่ึ ผูเสยี หายเปน โจทก
(๒) พยานจาํ เลย ทงั้ ในคดคี วามผดิ ตอ สว นตวั และคดคี วามผดิ ตอ แผน ดนิ ไมว า ผเู สยี หาย
หรอื พนักงานอยั การเปน โจทก
(®Õ¡ÒÂÍ‹ )
คาํ พพิ ากษาฎีกาท่ี ๑๐๓๓/๒๕๓๓
(นายลั่น สมหาญวงศ โจทก สบิ ตํารวจตรี ทน บรรจบ จาํ เลย)
เจา พนกั งานปฏิบัติหนาทีม่ ิชอบ (ม.๑๕๗)
เบกิ ความเท็จ (ม.๑๗๗)
หมิน่ ประมาท (ม.๓๒๖)
วธิ พี ิจารณาความอาญา อาํ นาจฟอ ง (ม.๒๘)
การปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยมิชอบหรือโดยทุจริตอันจะเปนความผิด
ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ นั้น หมายถึงหนาท่ีของเจาพนักงานผูนั้นโดยตรงตาม
ที่กฎหมายบัญญัติไวหรือไดรับมอบหมายใหมีหนาท่ีนั้นๆ เทาน้ัน ถาไมเกี่ยวกับหนาที่โดยตรงแลว
ยอมไมเปนความผิดตามมาตราน้ี การท่ีจําเลยเบิกความเปนพยานที่ศาล ไมใชหนาท่ีราชการ
หรอื หนา ท่ที ่ีไดร บั มอบหมายโดยตรงของจาํ เลย จําเลยจึงไมม คี วามผดิ ตามบทกฎหมายดงั กลาว
ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๗๗ บัญญัติขึ้น เปนการปองกันมิให
จําเลยที่ถูกฟองรองไดรับโทษหรือไดรับความเสียหายอันเกิดจากการรับฟงพยานอันเปนเท็จ
เมื่อโจทกในคดีน้ีมิไดถูกฟองเปนจําเลยในคดีที่จําเลยในคดีน้ีไปเบิกความเปนพยาน โจทกจึงไมไดรับ
ความเสียหายโดยตรงในการเบิกความของจําเลย โจทกไมใชผูเสียหายและไมมีอํานาจฟองจําเลย
ในความผดิ ตามมาตราน้ี ตามประมวลกฎหมายวธิ พี ิจารณาความอาญา มาตรา ๒๘ (๒)
ขอความที่จําเลยเบิกความเก่ียวกับตัวโจทก เปนขอที่จําเลยสืบทราบมาจากชาวบาน
จําเลยไมไดประสบมาดวยตนเอง และขอท่ีชาวบานบอกใหจําเลยรับทราบนี้ จะเปนความจริง
หรือไมโจทกก็ไมทราบ ดังนี้ การท่ีจําเลยเบิกความจึงมีเพียงเจตนาจะใหความจริงตอศาลในการ
พิจารณาคดีตามท่ีจําเลยสืบทราบมาเทาน้ัน หาไดมีเจตนาใสความโจทกใหถูกดูหมิ่นถูกเกลียดชังไม
จึงไมเ ปนความผดิ ฐานหมิ่นประมาท ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา ๓๒๖

๙๕

โจทกฟองขอใหล งโทษจําเลยตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๗๗, ๓๒๖, ๑๕๗,
๘๓ และ ๙๑ และใหจาํ เลยชําระเงนิ จํานวน ๕๐,๐๐๐ บาท แกโ จทก ศาลช้ันตน ไตสวนมูลฟอ งแลว
เห็นวา คดีโจทกไ มม มี ูลพพิ ากษายกฟอง โจทกอทุ ธรณ ศาลอุทธรณพ ิพากษายนื โจทกฎีกา

ศาลฎีกาวินิจฉัยวา “ทางไตสวนโจทกนําสืบวา เมื่อวันท่ี ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๓๐ เวลา
กลางวนั จาํ เลย เบกิ ความในคดอี าญาหมายเลขแดงที่ ๑๒๕/๒๕๓๑ ของศาลจงั หวดั สวรรคโลก ระหวา ง
พนกั งานอัยการประจาํ ศาลจังหวดั สวรรคโลก โจทก นายเปง เสาแกว คํา จาํ เลย วา โจทกเ ปนคนจาง
นายเปง ใหยิง นายเล่ือน วงคใจดาํ เพราะโจทกโกรธนายเลื่อนเก่ียวกับเร่ืองของวัด ท้ังน้ี จาํ เลยได
แจงเหตุน้ีให พันตํารวจตรีเยี่ยม แสงหิรัญ สารวัตรสืบสวนสอบสวน สถานีตํารวจภูธรอาํ เภอ
ทงุ เสลย่ี มทราบแลว ซงึ่ ขอ ความทจ่ี าํ เลยเบกิ ความนนั้ ไมเ ปน ความจรงิ แตป ระการใด ทาํ ใหโ จทกเ สยี หาย
คดีคงมีปญหาวา การเบิกความของจําเลยดังกลาวเปนการกระทําความผิดในขอหาตามประมวล
กฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗, ๑๗๗ และ ๓๒๖ หรือไม

พิเคราะหแลว ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๗ บญั ญัตวิ า “ผูใ ดเปนเจาพนกั งาน
ปฏิบัติหรือละเวนการปฏิบัติหนาท่ีโดยมิชอบ เพื่อใหเกิดความเสียหายแกผูหนึ่งผูใด หรือปฏิบัติ
หรือละเวนการปฏิบัติหนาที่โดยทุจริต ตองระวางโทษ...” ศาลฎีกาเห็นวา การปฏิบัติหรือละเวน
การปฏิบัติหนาท่ีตามบทบัญญัติมาตรานี้ หมายถึง หนาที่ของเจาพนักงานผูนั้นโดยตรงตามที่
กฎหมายบญั ญตั ไิ ว หรอื ไดร บั มอบหมายใหม หี นา ทนี่ น้ั ๆ เทา นน้ั ถา ไมเ กยี่ วกบั หนา ทข่ี องเจา พนกั งาน
ผูนั้นโดยตรงแลวยอมไมเปนความผิดตามมาตรานี้ ขอเท็จจริงตามทางไตสวนของโจทกไดความวา
จําเลยไดเบิกความเปนพยานโจทก ที่สวรรคโลก ซึ่งการเบิกความของเจาพนักงานตํารวจไมใชหนาที่
ราชการหรือหนา ทที่ ี่ไดรับมอบหมายโดยตรงของจาํ เลย จาํ เลยจึงไมม ีความผิดตามมาตราน้ี

ขอหาตอมา คือ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๗๗ ซ่ึงบัญญัติวา “ผูใดเบิกความ
อันเปนเท็จในการพิจารณาคดีตอศาล ถาความเท็จนั้นเปนขอสําคัญในคดี ตองระวางโทษ....”
ท่ีกฎหมายบัญญัติไวเชนนี้ เพ่ือปองกันมิใหจําเลยท่ีถูกฟองรองไดรับโทษหรือไดรับความเสียหาย
อันเกิดจากการรับฟงพยานอันเปนเท็จ ผูที่จะเสียหายคือจําเลยในคดีนั้น แตขอเท็จจริงในคดี
ดงั กลา วปรากฏวา โจทกม ไิ ดถ กู ฟอ งเปน จาํ เลย โจทกจ งึ ไมไ ดร บั ความเสยี หายโดยตรงในการเบกิ ความ
ของจาํ เลย ดงั นน้ั โจทกจ งึ ไมใ ชผ เู สยี หาย และไมม อี าํ นาจฟอ งจาํ เลยในความผดิ ตามกฎหมายมาตรานี้
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๘(๒)

ขอหาสุดทาย คือ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ ซ่ึงบัญญัติวา “ผูใดใสความ
ผูอื่นตอบุคคลท่ีสาม โดยประการท่ีนาจะทําใหผูอ่ืนน้ันเสียช่ือเสียง ถูกดูหม่ิน หรือถูกเกลียดชัง
ผูน น้ั กระทําความผดิ ฐานหม่ินประมาท ตอ งระวางโทษ....” การใสค วามตามมาตราน้ี ผกู ระทําตองมี
เจตนาใสความผูอื่น ขอเท็จจริงตามที่โจทกนําสืบชั้นไตสวน โจทกเบิกความวา ขอที่จําเลยเบิกความ
เก่ยี วกับตวั โจทก ในคดีอาญาหมายเลขแดงท่ี ๑๒๕/๒๕๓๑ ของศาลจังหวดั สวรรคโลกนั้น เปน ขอที่
จําเลยสืบทราบมาจากชาวบาน ไมใชขอท่ีจําเลยประสบมาดวยตนเอง สวนขอท่ีชาวบานบอกให

๙๖

จําเลยรับทราบนั้นจะเปนความจริงหรือไม โจทกไมทราบ เห็นไดวา การเบิกความของจําเลย
จําเลยมีเจตนาจะใหความจริงตอศาลในการพิจารณาคดีตามท่ีจําเลยสืบทราบมาเทาน้ัน จําเลย
หาไดมีเจตนาใสความโจทกใหถูกดูหม่ินถูกเกลียดชังแตอยางใดไม จึงไมเปนความผิดตามมาตรา
ดงั กลา ว ศาลลางท้งั สองพพิ ากษายกฟอ งโจทกมานัน้ ชอบแลว”

พิพากษายนื

ÊûØ

การนาํ พยานไปสบื ตอ ศาลสาํ คญั กวา การสอบสวนพยาน เนอื่ งจากเมอื่ พยานไมไ ปเบกิ ความ
ศาลตดั พยาน ออกหมายจบั พยาน ทําใหพ ยานหลกั ฐานออนศาลยกฟอ ง ผลเมอื่ ศาลยกฟอ ง อยั การ
สงเร่ืองใหผูบังคับบัญชาตํารวจ พิจารณาขอบกพรองท่ีเกี่ยวของ ดังนั้นการเบิกความเปนพยานศาล
จึงมีความสาํ คัญและจําเปน

¡¨Ô ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÂÕ ¹

๑. ผสู อนและผูเรยี นชวยกนั สรุปเนอื้ หา
๒. ใหผูเรยี นอธบิ ายขน้ั ตอนการเตรยี มตัวและการปฏบิ ตั ิตนเมอื่ ไปเปนพยานศาล

ÍÒŒ §ÍÔ§

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาต.ิ (๒๕๖๐) คมู อื ตาํ รวจหลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจ. กรงุ เทพฯ.
โรงพิมพตาํ รวจ

พ.ต.ท.สนธยา รัตนธารส “เขานอย ๑๘”.(๒๕๕๘) การคน การจบั และสิทธิตามกฎหมาย
(ฉบับปรับปรงุ ใหม ป ๒๕๕๘).

สํานักพิมพสูตรไพศาล.(๒๕๕๖) ประมวลระเบียบการตํารวจเก่ียวกับคดี. กรุงเทพฯ.
โรงพิมพสาํ นกั พิมพส ูตรไพศาล

๙๗

ºÃóҹءÃÁ

กองบัญชาการศึกษา สาํ นักงานตาํ รวจแหงชาต.ิ (๒๕๖๐). คมู ือตาํ รวจหลักสตู รนักเรยี นนายสิบตํารวจ.
กรุงเทพฯ : โรงพมิ พตํารวจ.
พ.ต.ท.สนธยา รตั นธารส.(๒๕๕๘). การคน การจบั และสทิ ธติ ามกฎหมาย (ฉบบั ปรงั ปรงุ ใหม ป ๒๕๕๘).
กรุงเทพฯ : สนิ ทวีกิจ พร้ินต้ิง.
สํานักพิมพสูตรไพศาล.(๒๕๕๖). ประมวลระเบียบการตํารวจเกี่ยวกับคดี.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ
สาํ นักพมิ พสตู รไพศาล.


Click to View FlipBook Version