The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

15_CP21401_อาชญาวิทยางาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:15:18

15_CP21401_อาชญาวิทยางาน

15_CP21401_อาชญาวิทยางาน

วิชา ปป. (CP) ๒๑๔๐๑

อาชญาวิทยาและงานยตุ ธิ รรม

ตําÃÒàÃÕ¹

ËÅÑ¡ÊμÙ Ã ¹Ñ¡àÃÕ¹¹ÒÂÊÔºตาํ ÃǨ

ÇªÔ Ò »». (CP) òñôðñ ÍÒªÞÒÇÔ·ÂÒáÅЧҹÂμØ Ô¸ÃÃÁ

เอกสารนี้ “໚¹¤ÇÒÁÅѺ¢Í§·Ò§ÃÒª¡ÒÔ หามมิใหผูหนึ่งผูใดเผยแพร คัดลอก ถอดความ
หรอื แปลสว นหนง่ึ สว นใด หรอื ทงั้ หมดของเอกสารนเ้ี พอ่ื การอยา งอนื่ นอกจาก “à¾Í×è ¡ÒÃÈ¡Ö ÉÒͺÃÁ”
ของขาราชการตํารวจเทาน้ัน การเปดเผยขอความแกบุคคลอ่ืนที่ไมมีอํานาจหนาท่ีจะมีความผิดตาม
ประมวลกฎหมายอาญา

กองบญั ชาการศึกษา สาํ นักงานตํารวจแหง ชาติ

พ.ศ.๒๕๖๔

คํานํา

หลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจ (นสต.) เปนหลักสูตรการศึกษาอบรมท่ีมีเปาหมาย
เพ่ือเสริมสรางใหบุคคลภายนอกผูมีวุฒิประกาศนียบัตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา ที่เขารับการฝกอบรมมีความรู ความสามารถ และ
ทักษะวิชาชีพตาํ รวจ รวมถึงพัฒนาบุคลิกภาพรางกายใหเหมาะสมสําหรับการปฏิบัติงานตํารวจ
ในกลุมสายงานปองกันปราบปราม ตลอดจนเตรียมความพรอมทางดานจิตใจและวุฒิภาวะใหมี
จติ สาํ นึกในการใหบริการเพอื่ บําบดั ทกุ ขบ ํารุงสขุ ของประชาชนเปน สาํ คญั

กองบัญชาการศึกษา ไดรวมกับ ครู อาจารย และครูฝก ในสังกัดกองบังคับการ
ฝก อบรมตาํ รวจกลาง และกลุมงานอาจารย กองบัญชาการศึกษา ศูนยฝกอบรมตํารวจภูธรภาค ๑ - ๙
และกองบัญชาการตาํ รวจตระเวนชายแดน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒิจากภายนอก จัดทําตาํ ราเรียน
หลกั สตู รนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจชดุ น้ี ซง่ึ ประกอบดว ยองคค วามรตู า งๆ ทจ่ี ําเปน ตอ การพฒั นาศกั ยภาพ
ของนกั เรยี นนายสบิ ตาํ รวจใหเ ปน ขา ราชการตํารวจทพี่ งึ ประสงคข องประชาชน เพอ่ื ใชส ําหรบั ประกอบ
การเรียนการสอนนักเรียนนายสิบตํารวจใหมีความพรอมทั้งดานความรู ความสามารถ กําลังกาย
และจติ ใจ จนสามารถเปน ขา ราชการตาํ รวจทป่ี ฏบิ ตั งิ านใหบ รกิ ารสงั คมและประชาชนไดอ ยา งตรงตาม
ความตองการอยางแทจริง และมคี วามพรอ มในการเขาสปู ระชาคมอาเซยี น

ขอขอบคุณครู อาจารย ครูฝก และผูทรงคุณวุฒิทุกทาน ที่ไดรวมกันระดมความคิด
ใหคําปรึกษา คําแนะนํา ประสบการณที่เปนประโยชน รวมถึงการถายทอดองคความรู
ที่เปนประโยชน จนทําใหการจัดทําตาํ ราเรียนหลักสูตรนักเรียนนายสิบตาํ รวจสําเร็จลุลวงไดดวยดี
ซ่ึงกองบัญชาการศึกษาหวังเปนอยางยิ่งวาตําราเรียนชุดน้ีคงเปนประโยชนตอการจัดการเรียน
การสอนและการจัดการฝกอบรมของครู อาจารย และครูฝก รวมตลอดถึงใชเปนคูมือการปฏิบัติงาน
ของขาราชการตํารวจ อันจะสงผลทาํ ใหสํานักงานตํารวจแหงชาติสามารถสรางความเชื่อมั่น ศรัทธา
และความผาสุกใหแ กป ระชาชนไดอยางแทจริง

พลตํารวจโท
( อภิรตั นยิ มการ )
ผบู ัญชาการศกึ ษา

ÊÒúÑÞ Ë¹ŒÒ

ÇªÔ Ò ÍÒªÞÒÇ·Ô ÂÒáÅЧҹÂØμ¸Ô ÃÃÁ

º··Õè ñ º··èÇÑ ä» ñ
- บทนํา ๑
- ความหมายของอาชญากรรม ๒
- สาเหตุการเกดิ อาชญากรรม ๗
- ปจ จัยทท่ี ําใหเ กดิ อาชญากรรม ๙
- ประเภทของอาชญากรรม ๑๐
- ปญหาสงั คมทน่ี ําไปสอู าชญากรรม ๑๒
- การจัดระเบียบสงั คม ๑๔
- เหยือ่ ของอาชญากรรม ๑๙

º··èÕ ò Ãкº§Ò¹ÂμØ Ô¸ÃÃÁ¡Ñº¡ÒäǺ¤ØÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ ò÷
- ความหมายของการควบคุมอาชญากรรม ๒๗
- ระบบงานยุตธิ รรมกับการควบคมุ อาชญากรรม ๒๗
- เปา หมายของการลงโทษ ๒๙
- ตัวแบบในการควบคมุ อาชญากรรม (Crime Control Models) ๓๐
- สรปุ ๓๑

º··èÕ ó ·ÄÉ®ÕÍÒªÞÒÇÔ·ÂÒáÅСÒû‡Í§¡¹Ñ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ óó
- ววิ ัฒนาการของทฤษฎอี าชญาวทิ ยา ๓๓
- การแบงทฤษฎีอาชญาวิทยา ๓๔
- ทฤษฎีการบงั คับใชกฎหมาย ๓๖
- ทฤษฎกี ารควบคุมทางสังคม ๓๖
- ทฤษฎชี มุ ชนสมั พนั ธ ๓๗
- ทฤษฎกี ารควบคุมอาชญากรรมโดยสภาพแวดลอม ๔๐
- ทฤษฎกี ารตํารวจชมุ ชน ๔๓
- ทฤษฎีหนาตา งแตก ๕๑
- การประยกุ ตใ ชแนวคิดทฤษฎที ่เี กย่ี วของกับการปองกนั ปราบปรามอาชญากรรม ๕๕

º··Õè ô ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¾ÔàÈÉ Ë¹ŒÒ
- บทนาํ ๕๙
- ประเภทของอาชญากรรมพเิ ศษ ๕๙
๖๐
- อาชญากรรมเศรษฐกจิ ๖๐
- อาชญากรรมขา มชาติ ๖๑
- อาชญากรรมคอมพวิ เตอร ๖๒
- อาชญากรรมการคา มนุษย ๖๓
๖๗
º··èÕ õ ÊÀÒ¾¡Òó͏ ÒªÞÒ¡ÃÃÁÂ¤Ø ãËÁ‹ ๖๗
- บทนาํ ๖๘
- ความแตกตา งของอาชญากรรมในอดีต ปจ จุบัน ๖๙
๘๓
และแนวโนม ของอาชญากรรมในอนาคต
- อาชญากรรมยุคใหมทางคอมพิวเตอร øõ
- คณุ สมบตั ิตํารวจในสถานการณอ าชญากรรมยคุ ใหม

ºÃóҹ¡Ø ÃÁ



º··Õè ñ

º··ÑèÇä»

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. ผูเรียนเขาใจความหมายของอาชญากรรม สาเหตุและปจจัยการเกิดอาชญากรรม
ประเภทของอาชญากรรม ประเภทของอาชญากร ปญหาสังคมท่ีนําไปสูอาชญากรรม
การจัดระเบยี บสังคม และเหย่อื ของอาชญากรรม

๒. ผูเรียนสามารถอธิบายความหมายของอาชญากรรม สาเหตุและปจจัยการเกิด
อาชญากรรม ประเภทของอาชญากรรม ประเภทของอาชญากร ปญหาสังคมท่ีนําไปสูอาชญากรรม
การจดั ระเบยี บสงั คม และเหยือ่ ของอาชญากรรม

º·นาํ

อาชญาวทิ ยา หมายถงึ วทิ ยาการทวี่ า ดว ยปญ หาอาชญากรรม สาเหตอุ าชญากรรม และ
การปองกันอาชญากรรม โดยมีสถานภาพเปนสหวิทยาการ เนื่องจากเปนการศึกษาถึงสาเหตุในการ
กระทาํ ผดิ ของคน โดยใชความรูจากศาสตรสาขาตางๆ มาใชอธิบายการกระทาํ ของคน

การปฏิบัติหนาที่ของตํารวจในปจจุบันตองเผชิญกับสภาพการทํางานที่เปลี่ยนแปลง
อยางรวดเร็ว ตามความกาวหนาและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดลอม
และเทคโนโลยีที่สลับซับซอน สิ่งเหลานี้เปนปจจัยที่ทําใหคนในสังคมตองตอสูด้ินรน มีการเรียกรอง
การเอาตวั รอด การเอารดั เอาเปรยี บ กา วรา ว ขาดความยงั้ คดิ มกี ารกระทาํ ผดิ กฎหมาย กอ อาชญากรรม
โดยมีแนวโนมของความรุนแรงเพ่ิมมากยิ่งข้ึน ปญหาหนึ่งท่ีประชาชนและประเทศไทยตองเผชิญ
รวมกันคือปญหาอาชญากรรม ซ่ึงถือเปนตัวบั่นทอนความสงบ ปลอดภัย ในการดํารงชีวิตของ
ประชาชนและกระทบตอ ความเชอื่ มน่ั ของนกั ลงทนุ จากตา งประเทศอยา งมนี ยั สาํ คญั ทาํ ใหก ารปฏบิ ตั งิ าน
ของตํารวจตอ งเผชญิ กับความทาทาย ความยากลาํ บาก ตรากตราํ คาดคะเนไดยากและเส่ียงภยั ย่ิงข้ึน
ดังน้ันตํารวจจึงควรแสวงหาหนทางและมาตรการเพ่ือปรับเปล่ียนบทบาท พฤติกรรมใหเหมาะสม
กับการตอบสนองตอสิ่งเราตางๆ ที่มาพรอมกับความเปล่ียนแปลงดังกลาว จึงเปนทางออกท่ีดีที่สุด
ซง่ึ แนวทางการแกไ ขปญ หาอาชญากรรมทถ่ี กู ตอ งและไดร บั การยอมรบั วา มปี ระสทิ ธผิ ลดี คอื การมงุ เนน
การปองกันมากกวาการปราบปรามอาชญากรรม การปองกันมิใหมีเหตุเกิดขึ้นจะมีผลดีมากกวา
การมุงสืบสวนจับกมุ คนรา ยมาลงโทษหลังจากท่ีเหตเุ กิดขึ้นแลว

แนวความคิดและการปฏิบัติงานในการปองกันอาชญากรรมแบบดั้งเดิมน้ัน มุงเนนท่ี
การบังคบั ใชกฎหมาย ไดแ ก การตรวจทอ งที่ การจัดสายตรวจ การจดั เขตตรวจ เนน การปรากฏตัวของ
เจาหนาที่ตาํ รวจสายตรวจ เพื่อลดชองโอกาสการกระทําผิดของคนราย มุงการเพิ่มประสิทธิภาพ



เคร่ืองมือเคร่ืองใช พัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ ในการตรวจทองท่ี ซึ่งถือเปนการดําเนินการปองกัน
อาชญากรรมโดยเจาหนาท่ีตาํ รวจแตเพียงฝายเดียว ไมมีความรวมมือจากหนวยงานอื่น ทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน หรอื แมก ระทง่ั คนในชุมชนเอง ทําใหก ารปอ งกันอาชญากรรมไมมีประสทิ ธิภาพเทาที่ควร
เม่ือมีแรงกดดันจากสังคมตอการแกไขปญหาอาชญากรรม ทาํ ใหแนวทางการปองกันอาชญากรรม
มุงเนนความรวมมือจากทุกภาคสวนในสังคม มิใชดาํ เนินการโดยเจาหนาที่ตํารวจแตเพียงฝายเดียว
อยา งแตกอ น

ดงั น้ัน การปฏบิ ตั ิงานของตํารวจจึงตอ งมีความพรอมในทุกๆ ดาน เพื่อใหส ามารถปฏิบตั ิ
หนา ท่ีไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ อนั ไดแ ก ความรู (Knowledge) ความสามารถ (Competency) ทกั ษะ
ความชํานาญในการทํางาน (Skills) เพ่ือใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมืออาชีพ (Professional)
มกี ารปฏิบตั ิงานตรงตามขน้ั ตอนของการปฏิบตั ิงาน (Standard of Procedure)

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Definition of Crime)

ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Crime) มคี วามหมายหลายอยา ง ดงั จะนําคําจํากดั ความมาเสนอใหพ จิ ารณา
ดังตอ ไปน้ี

»ÃСÒÃáá ความหมายในแงข องกฎหมายบอกใหท ราบวา อาชญากรรม คอื การกระทาํ
หรอื การงดเวนการกระทาํ ท่มี ีโทษตามทก่ี ฎหมายกําหนดไว (Fattah, ๑๙๙๗ : ๓๑)

»ÃСÒ÷ÊèÕ Í§ ความหมายในแงร ฐั ศาสตร เรอ่ื งน้ี Guinney ไดใ หท ศั นะไวว า อาชญากรรม
คือ คําจาํ กัดความเกี่ยวกับความประพฤติซ่ึงบัญญัติข้ึนโดยมีอํานาจในสังคมที่ดาํ รงอยูแบบการเมือง
(Guiney, ๑๙๗๐ : ๑๕)

»ÃСÒ÷ÕÊè ÒÁ ความหมายในแงสังคมวทิ ยาในประเด็นน้ี ปารมมลี ี (Parmelee) ไดก ลา ว
ไววาอาชญากรรม คือ พฤติกรรมที่เปนปฏิปกษตอสังคมและอยูในวิสัยท่ีจะตองปราบปราม ทั้งนี้
เพือ่ จะรกั ษาสงั คมใหดํารงอยูตอ ไปได (Cited in Fattah, ๑๙๙๗ : ๓๕-๓๖)

»ÃСÒ÷ÊÕè èÕ ความหมายในแงจ ติ เวชศาสตร และจติ วทิ ยาในประเดน็ นี้ คนิ เบริ ก (Kinberg)
ไดกลาวไววา อาชญากรรม คือ การปรับตัวที่ไมถูกตองกอใหเกิดความยุงยากแกบุคคลท่ีจะทาํ ตนให
สอดคลองกับภาวะแวดลอ ม (Cited in Fattah, ๑๙๙๗ : ๓๗)

»ÃСÒ÷èÕËŒÒ ความหมายในแงของศาสนา ในเรื่องน้ีทานพุทธทาสภิกขุ ไดกลาวไววา
อาชญากรรม คือ ความผิดทกุ อยางที่สมควรจะไดรบั โทษเน่ืองจากการทําผดิ ตอสงั คม (พทุ ธทาสภกิ ษ,ุ
๒๕๒๗ : ๓๒)

จากแนวความคดิ ตา ง ๆ ทไี่ ดเ สนอใหพ จิ ารณาพอจะสรปุ ไดว า อาชญากรรม คอื พฤตกิ รรม
ทเ่ี ปน อนั ตรายตอบุคคลและสงั คม จะตอ งไดรับโทษตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ

จากขอ สรปุ นอี้ าจจะกลา วไดว า คาํ สําคญั ทคี่ วรแกก ารทําความเขา ใจกค็ อื คาํ วา อนั ตราย
ไดร ับโทษและกฎหมายบัญญัติ กลาวคอื



- การกระทําใดเปน อันตราย การกระทํานน้ั คอื อาชญากรรม
- การกระทําใดสมควรไดร บั โทษ การกระทํานน้ั เปนอาชญากรรม
- การกระทาํ ใดมกี ฎหมายบัญญตั ไิ ว การกระทาํ น้ันเปน อาชญากรรม
กฎหมายที่บญั ญัตคิ วามเปน อาชญากรรม เรยี กวา กฎหมายอาญา (Criminal Law) จงึ มคี าํ กลาววา
อาชญากรรม คอื การละเมดิ กฎหมายอาญา (Crime is a violation of criminal law)
ʧÔè กํา˹´¤ÇÒÁ໹š ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ
สง่ิ ที่กําหนดหรอื ตีกรอบวา พฤติกรรมใดเปน อาชญากรรมมดี ังตอ ไปนี้
(ñ) ¡ÒáÃÐทาํ (An Act)

การกระทําหรอื การละเวนการกระทาํ (Commission of an Act) จะตอ งบังเกดิ ข้ึน
แคคิดแตไ มไ ดท ําถอื วา ไมเปน อาชญากรรม เชน คดิ วา จะชกหนา บุคคลบางคน แตไ มไ ดชกจรงิ ก็ถือวา
ไมเปนอาชญากรรม คือ ตองคิดแลวชกจริงจึงจะเปนอาชญากรรม การกระทําจึงเปนปจจัยสาํ คัญ
อยางหนง่ึ ของการเปนอาชญากรรม ขาดการกระทําทางกายก็จะไมเปน อาชญากรรม

(ò) ¡ÒÃÁÕ¡®ËÁÒÂÃͧÃѺ (The Legality)
ภาษาละตินกลาวไววา nullum crimen sine lege (No Crime Without Law)

กฎหมายอาญากาํ หนดไววา การกระทาํ อยางใดเปนอาชญากรรมก็ใหถือวาอาชญากรรมมิได
บังเกิดขึ้น กฎหมายที่กําหนดการกระทาํ ความผิดคือกฎหมายอาญา กฎหมายใหความสนใจในเรื่อง
ของการกระทาํ ทเ่ี ปนความผิด

(ó) ¤ÇÒÁ໚¹Í¹Ñ μÃÒ (The Harm)
อนั ตรายคอื ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการกระทาํ เชน ความเสยี หายของทรพั ยส นิ

ความเสยี หายของชวี ติ และรา งกาย เปน ตน ถา ไมม อี นั ตรายทเ่ี ปน การเฉพาะเกดิ ขนึ้ กถ็ อื วา อาชญากรรม
มไิ ดเกิดข้ึนดวยเชนกนั

(ô) ÊÒàËμآͧ¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô (The Causation)
เรอ่ื งของสาเหตใุ นการกระทาํ ผดิ นมี้ คี ํากลา ววา อาชญากรรมจะไมส มบรู ณเ วน เสยี

แตว า พฤตกิ รรมของผกู ระทาํ ไดก อใหเ กดิ อนั ตรายข้นึ โดยมไิ ดมกี ารแทรกแซงโดยบุคคลอน่ื
(õ) ¤ÇÒÁμ§Ñé ã¨ËÃ×ͨμÔ ã¨·èμÕ ÍŒ §¡ÒÃทํา¼´Ô Men Rea (The Guilty Mind)
ในขอน้ีมีคํากลาวไววา ไมมีใครกระทาํ อาชญากรรมเวนเสียแตวาเขาไดกระทํา

โดยรวู า การกระทาํ น้ันเปน ความผดิ
(ö) ¤ÇÒÁÊÍ´¤ÅŒÍ§μŒÍ§¡Ñ¹ (The Concurrence)
ในทน่ี ห้ี มายถงึ ความสอดคลอ งตอ งกนั ระหวา งการประกอบอาชญากรรม (Criminal

Act) กบั จติ ใจของการเปนอาชญากร (Criminal Mind)



(÷) ¡ÒÃŧâ·É (The Punishment)
การลงโทษนถี้ อื เปน สงิ่ สําคญั ทกี่ ําหนดไวใ นกฎหมายอาญา หากไมม กี ารลงโทษเกดิ ขน้ึ

กถ็ อื วา อาชญากรรมมไิ ดเ กดิ ขน้ึ กฎหมายอาญาไดก ําหนดไวว า กระทําความผดิ เชน ไรไดร บั โทษแคไ หน
เชน การฆา บุคคลอืน่ ไดร บั โทษประหารชีวติ เปนตน

สง่ิ กําหนด (Requirements) ทง้ั เจด็ ประการดงั กลา วมาน้ี ถอื เปน กรอบวา การกระทาํ ใด
เปน อาชญากรรมหรอื ไม เปน สงิ่ ทย่ี ดึ ถอื กนั ในวงวชิ าการทางอาชญาวทิ ยา (Adler Muller, and Laufer,
๑๙๙๕ : ๒๐๗-๒๑๒)

¢Íºà¢μ¢Í§ÍÒªÞÒÇ·Ô ÂÒ
อาชญาวทิ ยาประกอบดว ยเนอ้ื หาสาระทส่ี าํ คญั ๓ ประการ คอื (Sutherland and Cressey,
๑๙๖๖ : ๓)
(ñ) 椄 ¤ÁÇÔ·ÂÒ¡®ËÁÒÂÍÒÞÒ (Sociology of Criminal Law) เปนเร่ืองทีท่ าํ การ
วเิ คราะหว า กฎหมายอาญาเกดิ ขน้ึ ไดใ นสภาพการณอ ยา งไรบา ง เรอ่ื งของการเกดิ กฎหมายอาญานต้ี าํ รา
อาชญาวิทยาโดยท่ัวไปมกั จะไมค อ ยใหร ายละเอยี ดไวมากนัก
(ò) ÊÒàËμآͧ¡ÒÃà¡Ô´ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Causes of Crime) เปนการวิเคราะหวา
อาชญากรรมเกดิ จากอะไร ในเรอื่ งนต้ี อ งอาศยั ความรจู ากสาขาวชิ าตา ง ๆ หลายสาขา อาทิ นเิ วศวทิ ยา
ชวี วิทยา จิตวทิ ยา จิตเวชศาสตร จิตวิเคราะห สงั คมวิทยา ศาสนวทิ ยา วชิ าวาดว ยเหยือ่ อาชญากรรม
เปน ตน
(ó) ¡ÒäǺ¤ØÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Crime Control) เปนการวิเคราะหวาจะควบคุม
อาชญากรรมอยางไร จงึ จะทาํ ใหอาชญากรรมอยใู นระดับท่ไี มเปน อันตรายตอสงั คม
ในเนอ้ื หาสาระของอาชญาวทิ ยาทง้ั สามประการดงั ไดก ลา วมาแลว นน้ั เนอื้ หาของสาเหตุ
ของอาชญากรรมจะมมี ากกวา เนอื้ หาในสว นอน่ื ๆ และตอ งทาํ ความเขา ใจไวแ ตเ บอ้ื งตน วา การอธบิ าย
สาเหตขุ องอาชญากรรมนน้ั จะตอ งอธบิ ายดว ยทฤษฎี เพราะทฤษฎเี กดิ จากการคน ควา มาอยา งมรี ะบบ
ไดร บั ความเชอ่ื ถอื จากผรู เู ปน อยา งดี ในการศกึ ษาสาเหตขุ องอาชญากรรมจงึ ตอ งทําความเขา ใจทฤษฎี
ตา ง ๆ ใหเ ขา ใจอยา งชดั เจน คดอี าชญากรรมคดหี นง่ึ คดใี ดจะตอ งอธบิ ายดว ยทฤษฎอี ยา งนอ ย ๒ ทฤษฎี
ขน้ึ ไป ผศู กึ ษาจึงตอ งทาํ ความเขา ใจทฤษฎตี า งๆ ไวใหมาก ๆ เพื่อจะไดส ามารถอธบิ ายอาชญากรรม
ชนดิ หนึง่ ชนิดใดไดอ ยางชัดเจน
ÇÇÔ Ñ²¹Ò¡ÒâͧÍÒªÞÒÇÔ·ÂÒ (Evolution of Criminology)
เกยี่ วกบั ววิ ฒั นาการของอาชญาวทิ ยา หรอื พฒั นาการทางความคดิ เกยี่ วกบั วชิ าน้ี สามารถ
แบง ไดเ ปนส่ียคุ ดงั นี้ (Fox, ๑๙๘๕ : ๓๔-๔๑)
(ñ) Ãкº¤ÇÒÁ¤Ô´Â¤Ø ááàÃèÁÔ (The Classical School of Criminology) ระบบ
ความคิดยคุ นีเ้ กิดขึน้ ดว ยความเรียงของนกั อาชญาชาวอิตาลี ชื่อ ชีชาร แบค็ คาเรีย (Casare Geecaria
: ๑๙๖๔) ความเรียงชอื่ An Essay on Crimes and Punishments (ความเรยี งเกยี่ วกบั อาชญากรรม
และการลงโทษ) แบ็คคาเรีย กลา ววา อาชญากรรมเกิดจากความสมัครใจหรือความตงั้ ใจ (Free Will)
การกระทาํ ความผดิ เกดิ ขนึ้ เพราะตอ งการความสําราญ (Pleasure) และหลกี เลย่ี งความเจบ็ ปวด (Pain)



ËÅÑ¡สาํ ¤ÞÑ æ ·èÕáºç¤¤ÒàÃÕ 䴌àʹÍäÇŒÁ´Õ ѧμ‹Í仹Õé
(ก) รากฐานของการปฏิบัติกิจการสังคมทั้งปวงจะตองมีแนวความคิดไปในเรื่องของ
ประโยชน คอื ใหผ คู นจํานวนมากทสี่ ดุ มคี วามสขุ มากทส่ี ดุ (The Greatest Happiness of the Greatest
Numger)
(ข) ใหพิจารณาวา อาชญากรรมเปน ส่ิงท่กี ออันตรายตอสังคม
(ค) เรอ่ื งของอาชญากรรมนน้ั ตอ งถอื วา การปอ งกนั มคี วามสาํ คญั ยง่ิ กวา การลงโทษ และ
การลงโทษตองเปนไปอยางแนน อน
(ง) ควรยกเลกิ มาตรการกลา วหาอยา งลบั ๆ และการทรมาน ทง้ั นี้ เพอื่ เหน็ แกม นษุ ยธรรม
และการพิจารณาคดีทีเ่ ปนไปอยางรวดเร็ว
(จ) วัตถุประสงคของการลงโทษก็เพ่ือยับยั้งบุคคลจากการประกอบอาชญากรรม ไมใช
การแกแคน ใหแ กสงั คม
(ฉ) การจาํ คุกควรใชอยางกวางขวาง และปรับปรุงใหดีข้ึนทฤษฎียุคเร่ิมแรกมีปญหา
หลายประการ อาทิ

- ขาดการพจิ ารณาถึงความแตกตา งระหวา งบุคคล
- การปฏบิ ัตทิ ีเ่ หมอื น ๆ กันระหวา งผทู ท่ี าํ ผดิ คร้งั แรกกบั ผทู ่ีกระทาํ ผดิ ซํา้
- การปฏิบัติท่ีเหมือน ๆ กันกับพวกที่กระทําผิดโดยประมาท พวกปญญาต่าํ
พวกวิกลจริต พวกไรความสามารถจึงทาํ ใหเกิดแนวความคิดใหม เรียกวา Neoclassical School
(ความคิดแบบด้ังเดิมทีไ่ ดร บั การแกไ ขใหม) ซง่ึ มลี ักษณะดงั นี้

(ก) แกไ ขความคดิ ทว่ี า บคุ คลกระทาํ ความผดิ เพราะความตงั้ ใจเปน วา บคุ คลกระทํา
ความผดิ เพราะปจ จยั หลายอยา ง เชน ความเจบ็ ปว ย การขาดความสามารถ ความวกิ ลจรติ หรอื สาเหตุ
อืน่ ๆ ความ ตลอดท้งั การไตรต รองไวกอนการกระทาํ ความผิด

(ข) ยอมรบั ความถูกตอ งของสภาพแวดลอมอันควรบรรเทา
(ค) พิจารณาวาผูกระทําความผิดควรรับความรับผิดชอบเพียงบางสวนไมตอง
รับผิดชอบท้ังหมด เชน ในกรณีความวิกลจริต อายุ และเงื่อนไขอ่ืน ๆ ท่ีมีผลตอความรูความเขาใจ
และความตง้ั ใจในเวลาประกอบอาชญากรรม
(ง) ยอมรับใหม ผี ชู ํานาญการพิเศษเขามาเปน พยานในการพิจารณาคดขี องศาล
กลาวโดยสรุปอาชญาวิทยาเร่ิมแรกไดปฏิเสธแนวความคิดเก่ียวกับอาํ นาจท่ี
อยูเหนือธรรมชาติและปฏิเสธพระราชประสงคของพระผูเปนเจาท่ีถือวาเปนพลังผลักดันเบ้ืองตน
ตอพฤติกรรมของอาชญากรรม โดยใหหันมาพิจารณาวาบุคคลกระทาํ ความผิด เพราะความสมัครใจ
และในการลงโทษผูกระทาํ ความผิดก็ควรลงโทษใหเหมาะสมกับอาชญากรรม (Punishments to fit
the crime) การยบั ยง้ั การกระทําความผดิ จงึ ถอื เปน แกนความคดิ สําคัญของอาชญาวทิ ยายคุ เร่มิ แรก
(ò) Ãкº¤ÇÒÁ¤´Ô Â¤Ø Ç·Ô ÂÒÈÒÊμÏ (The Positive School) การทเี่ รยี กวา ระบบความคดิ
ยุควิทยาศาสตรก็เพราะวาส่ิงท่ีคนพบจะตองไดรับการพิสูจนและมีหลักฐานยืนยัน ความคิดแนว
วิทยาศาสตรไมยอมรับในเรื่องความสมัครใจและความต้ังใจ ชีชาร ลอมโปรโซ (Cesare Lombroso)



ชาวอติ าเลยี นผรู เิ รม่ิ ความคดิ แนววทิ ยาศาสตร ไดพ มิ พห นงั สอื ชอ่ื ผเู ปน อาชญากร (The Criminal Man)
ในป ค.ศ. ๑๙๗๖ ในชว งแรกของการศกึ ษาพบวา อาชญากรรมมลี กั ษณะเฉพาะตนในทางกายภาพ เชน
หนาผากลาด ต่ิงหูยาวหรือไมมีเลย ขากรรไกรใหญ คิ้วดก ขนมีมากหรืออาจจะไมมีเลย มีความไว
ตอความรูสึกเจ็บปวดสูงมาก หรืออาจจะไมมีเลย ในระยะหลังลอมโปรโซ ไดปรับปรุงทฤษฎีและ
วธิ กี ารคน ควา และสรปุ วา ปจ จยั ทางสงั คม เศรษฐกจิ และสงิ่ แวดลอ ม ตอ งนาํ มาพจิ ารณาดว ย เขาถอื วา
อาชญากรรมเกดิ จากปจ จัยกาํ หนด (Deterministic or Causal Factors)

(ó) Ãкº¤ÇÒÁ¤Ô´áººÍàÁÃԡѹ (The American School) ระบบความคดิ แนวนี้
เนน การอธบิ ายสาเหตขุ องอาชญากรรมตามทฤษฎที างสงั คมวทิ ยาการศกึ ษาในแนวนเ้ี นน สภาวะสงั คม
เปน หลักในการวิเคราะห เฮนรี เมยฮิว (Henry Mayhew) (๑๘๑๒-๘๗) นักสังคมวิทยาชาวองั กฤษ
ไดศ กึ ษาความยากจนในกรงุ ลอนดอน และผกู ระทําความผดิ ทเี่ ปน คนยากจน ไดช ใี้ หเ หน็ วา มคี วามแตกตา ง
จากอาชญากรอาชีพ ซ่ึงหาเล้ียงชีพโดยการประกอบอาชญากรรม สวนบุคคลอ่ืนที่ยากจนกระทาํ
ความผดิ เพราะภาวะแวดลอมท่ีเกดิ ขน้ึ โดยมิไดค าดคดิ มากอน

จอหน แอล กลิ ลนิ (John L.Gillin) ไดก ลา วไวว า ระบบความคดิ แบบอเมรกิ นั เรม่ิ ขน้ึ ราวป
ค.ศ. ๑๙๑๔ ซ่ึงเปนศักราชที่มีการศึกษาคนควาทางดานอาชญาวิทยาโดยอาศัยหลักสังคมวิทยา
อยา งเดน ชดั และอาชญาวทิ ยากเ็ ปน วชิ าทแี่ ยกออกไปจากสงั คมวทิ ยานน่ั เอง โดยถอื วา ปจ จยั ทางสงั คม
(Social Factors) คอื เหตสุ าํ คัญของการเกิดอาชญากรรม

(ô) Ãкº¤ÇÒÁ¤´Ô Ẻ»Í‡ §¡¹Ñ 椄 ¤Á (The Social Defense School) ระบบความคดิ
แบบปองกันสังคมน้ี นักคิดอยาง มารค แอนเซ็ล (Marc Ancel) (ค.ศ. ๑๙๕๔) ไดใหทัศนะวาเปน
ความคดิ ทน่ี อกเหนือไปจากความคดิ ยุคเรมิ่ แรกและยุควทิ ยาศาสตร

หลักการพื้นฐานของระบบความคิดแบบปองกันสังคมอาจจะยอลงได ๕ ประการ
ดังตอไปนี้

(ก) การปฏบิ ตั ติ อ อาชญากรรมควรจะใชว ธิ ปี อ งกนั สงั คมมากกวา ลงโทษผกู ระทําความผดิ
(ข) ตอ งแยกตวั ผูกระทําความผดิ ออกไปหรือโดยการเยยี วยาและใหก ารศึกษา
(ค) การลงโทษผูกระทาํ ความผิดใหพิจารณาพฤติกรรมของแตละบุคคลมากกวาท่ีจะ
พิจารณาพฤตกิ รรมของกลุม โดยมีจุดมุงหมายทีจ่ ะใหผกู ระทําความผิดไดป รบั ปรุงตวั ในสังคมเสยี ใหม
(ง) ความมีนุษยธรรมตามกฎหมายที่มุงฟนฟูความม่ันใจและความรับผิดชอบของตัว
ผูก ระทําความผิดเอง ตลอดทงั้ การพัฒนาคานยิ มอันดีงามใหบ งั เกิดขึ้น
(จ) มนษุ ยธรรมในระบบงานยตุ ธิ รรมตอ งอาศยั หลกั วทิ ยาศาสตรเ พอ่ื เขา ใจปรากฏการณ
อาชญากรรมและบคุ ลิกภาพของผูกระทาํ ความผดิ
ววิ ฒั นาการของอาชญาวิทยาอาจจะสรปุ ไดเพียง ๓ ยุค คือ
(๑) ยคุ แรกเร่ิม ใชความคดิ ในแนวปรชั ญา (Philosophical Thinking)
(๒) ยุควทิ ยาศาสตร (Scientific Thinking)
(๓) ยคุ ความคดิ ทางปรชั ญาและวทิ ยาศาสตร (Philosophical and Scientific Thinking)
จะเหน็ ไดว า ในปจ จบุ นั นกี้ ารคน ควา ทางอาชญาวทิ ยาไดอ าศยั ความรทู งั้ ทางวทิ ยาศาสตร
และปรัชญา โดยเฉพาะปรชั ญาของศาสนาตาง ๆ ก็ไดน าํ มาอธบิ ายปญหาอาชญากรรมกันมาก คือ



อธิบายทง้ั สาเหตแุ ละอธบิ ายทงั้ แนวทางแกไ ข เชน พทุ ธศาสนาอธิบายวา อาชญากรรมเกดิ จากปจ จัย
ทงั้ ทางจิต ทางสงั คม และทางกายภาพ ดังน้นั แนวทางแกไขปญหาอาชญากรรมจึงตอ งแกไ ขท้ังทางจิต
ทางสงั คม และทางดา นกายภาพจงึ จะสามารถทําใหอ าชญากรรมลดลงได

ÊÒàËμØ¡ÒÃà¡´Ô ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

อาชญากรรมถอื วา เปนปญหาที่อยใู นทกุ ประเทศ ทุกมมุ ของโลก ซ่ึงปจจัยตางๆ ท่ีกอให
เกิดอาชญากรรมนั้นมีหลายปจจัย โดยสามารถแบงสาเหตุการเกิดอาชญากรรมไดเปน ๑๐ สาเหตุ
ดงั นี้

ñ. ¡ÒÃàÁÍ× §
การเมอื งถอื วา เปน พน้ื ฐานทท่ี าํ ใหเ กดิ อาชญากรรมตา งๆ ขนึ้ มา เพราะวา การทํางาน

ของฝายการเมืองก็ดี นโยบายก็ดี และการบังคับใชกฎหมายก็ดี แมแตความคิดเห็นทางการเมืองเอง
ก็เปนสาเหตุทท่ี ําใหเกิดอาชญากรรมขึน้ มาได โดยการกาํ หนดวาการกระทําใดเปน ความผิด

ò. ¤ÇÒÁäÁà‹ »¹š ¸ÃÃÁ
อาชญากรรมจะอยทู ค่ี วามไมเ ปน ธรรมทไี่ ดร บั ทําใหผ คู นตา งกร็ สู กึ วา พวกเขาจะตอ ง

ทําอะไรสักอยางเพ่ือทวงคืนความยุติธรรมสําหรับพวกเขา จะเห็นไดจากการท่ีมีการฆาตกรรมเกิดขึ้น
อยูบ อ ยครั้ง ท่ีบางครง้ั กจ็ ะมสี าเหตุเรื่องนีเ้ ขามาเกย่ี วขอ งดวย

ó. ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ
สภาพแวดลอมถือเปนตัวกระตุนที่ทําใหเกิดเหตุอาชญากรรมตางๆ ขึ้นมา ไมวา

จะเปนเรื่องความเปนอยูรอบๆ ตัวเรา ท่ีมีแรงจูงใจท่ีทําใหผูคนกอเหตุอาชญากรรมตางๆ เชน
สภาพแวดลอมทีเ่ ปน ชุมชนแออัด เส่อื มโทรมมาก เปนตน

ô. ¤Ãͺ¤ÃÇÑ
ปญ หาทางครอบครวั ถือเปนแรงจงู ใจทส่ี ําคญั ในการกอ อาชญากรรมได ตัวอยางเชน

ครอบครัวมีปญหาความแตกแยกกันหรือมีการทาํ รายทุบตี จนทาํ ใหครอบครัวสะสมปญหามากขึ้น
ทําใหเกิดแรงจงู ใจในการกอ อาชญากรรมขนึ้ มา

õ. Å·Ñ ¸¤Ô ÇÒÁàªè×Í
เรอ่ื งนถ้ี อื วา เปน เรอื่ งทล่ี ะเอยี ดออ นพอสมควร แตก ป็ ฏเิ สธไมไ ดเ ลยวา ลทั ธคิ วามเชอ่ื

ก็เปนสวนหน่ึงท่ีทําใหเกิดอาชญากรรมเหมือนกัน เชน การท่ีเราคิดวาเลือดก็ตองลางดวยเลือด
แบบน้ี ถือเปน ความเช่อื แบบหนงึ่ ทนี่ าํ ไปสปู ญ หาอาชญากรรมขึ้นมา ท้ังยังมีลทั ธบิ างสวนทช่ี ักจงู ผคู น
กอ อาชญากรรมตา งๆ อกี ดว ย

ö. à·¤â¹âÅÂÕÊÍ×è ÊÒÃ
เทคโนโลยีสมัยนี้ทาํ ใหมีอาชญากรรมตางๆ เกิดขึ้นมากมายหลายประเภท

ทัง้ การชกั จูงโนมนา วใจไปในทางใดทางหนึง่ การใชอปุ กรณตางๆ ไปกออาชญากรรม ซ่งึ ถือเปนเรอ่ื งท่ี
ซบั ซอ นและเขา ใจยากมากทีส่ ุดอยางหนง่ึ จนยากทจ่ี ะรับมอื เรื่องนไ้ี ด



÷. ÂÒàʾμÔ´
ยาเสพติดเปนสาเหตุท่ีสําคัญอยางหนึ่งที่กอใหเกิดอาชญากรรมตางๆ ข้ึนมา

เพราะยาเสพตดิ จะมสี ารตา งๆ หลายอยา งทเ่ี ขา ไปควบคมุ การทาํ งานระบบรา งกายของเราใหเ ราเปลย่ี น
กลายเปน คนละคนไดท นั ที ซง่ึ ตามแหลง ขอ มลู ขา วสารกม็ กั จะเหน็ ยาเสพตดิ เขา มาเกย่ี วขอ งดว ยเสมอ

ø. ¤ÇÒÁÂÒ¡¨¹
ปญ หาความยากจนเปน แรงจงู ใจอยา งหนงึ่ ทกี่ อ ใหเ กดิ อาชญากรรมขน้ึ มาได จะเหน็ ได

จากการทรี่ ัฐบาลจะมีการปราบปรามขจดั ความยากจนข้ึนมา ซึง่ ทกุ ๆ รฐั บาลทว่ั โลกจะใหค วามสําคัญ
กบั เร่อื งน้เี ปนอันดับหนง่ึ เพราะเห็นวาความยากจนเปน สาเหตหุ ลกั ๆ ของการกอ อาชญากรรมขึน้ มา

ù. ¤ÇÒÁ¡´´Ñ¹μ‹Ò§æ ·èÕà¢ÒŒ ÁÒ㹪ÇÕ Ôμ
ปญหาของอาชญากรรมโดยสวนใหญน้ัน ผูคนมักจะมีสาเหตุจากความกดดัน

ท่ีรุมลอมเขามาหาพวกเขา ไมวาจะเปนเรื่องภาวะหน้ีสิน ความเปนอยูในชีวิตประจําวัน พบกับ
ความลมเหลวในชีวิต ซึ่งเร่ืองนี้เปนเร่ืองที่ผูคนสวนใหญจะประสบพบเจอบาง แตวาจะมีแรงจูงใจ
ในการกอ เหตอุ าชญากรรมหรือเปลา นนั้ กอ็ ยูท จี่ ิตสาํ นึกของพวกเขา

ñð. »ÃЪҡÃÁÕจํา¹Ç¹ÁÒ¡
อันดับหน่ึงถือเปนส่ิงที่โลกใหความวิตกกังวลมากท่ีสุดก็คือ ปญหาประชากร

มจี าํ นวนมากเกนิ กวา ทโ่ี ลกตอ งการ ซง่ึ แนน อนการทมี่ ปี ระชากรจาํ นวนมาก กจ็ ะตอ งเจอกบั ปญ หาตา งๆ
มากมาย และหลกั ๆ แนนอนก็คอื อาชญากรรม ซึง่ ยากมากทจ่ี ะแกไขไดใหห มดไป

ËÅÑ¡ã¹·Ò§ÍÒªÞÒÇ·Ô ÂÒ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÁÕͧ¤» ÃСͺ ´§Ñ ¹é.Õ -

สรา งความหวาดกลวั ใหก ับคนราย ทฤษฎีสามเหลยี่ มอาชญากรรม สรางความอบอนุ ใจใหก ับคนดี
(Crime Triangle Theory
เฝาระวงั บุคคลพนโทษทอ่ี ยใู นพืน้ ที่ การปรบั สภาพแวดลอมเพอื่ ปอ งกันอาชญากรรม

ควบคมุ แหลง มัว่ สุม/อบายมขุ คน ราย โอกาส = เวลา + สถานท่ี ทฤษฎหี นาตา งแตก (Broken Windows Theory)
ไประงับเหตดุ วยความรวดเรว็ ตํารวจผรู ับใชชุมชน (Community Policing)
ระดมกวาดลางอยา งสมํา่ เสมอ อาชญากรรม
สมาชิกแจง ขาวอาชญากรรม พนื้ ทปี่ ลอดภัย (Safety Zone)
จับกุมผตู อ งหาตามหมายจับ เหยื่อ/เปา หมาย เพื่อนบานเตอื นภยั (Neighborhood Watch)
ยึดรถตองสงสยั

ตีวงสรุ า รณรงคใหประชาชนรจู กั การปอ งกันตนเอง ตํารวจเตือนภยั มาตรการในการปอ งกนั อาชญากรรม
❍ โดยตาํ รวจ
❍ โดยเจาของพนื้ ท่ี
ตํารวจเยีย่ มเยียนประชาชน (Knock Door) การใหความคมุ ครองเหย่อื /เปา หมาย ❍ โดยผูใชพ ื้นท่ี

จัดทําโดย พล.ต.ต.วสิ ตู ร ฉตั รชยั เดช รอง ผบก.ภ.จว. ❍ โดยหนวยงานอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ ง
❍ โดยใชเทคโนโลยี



ñ. ÍÒªÞÒ¡Ã/¤¹ÃŒÒ (Offender) คือ ผูท่ีกระทาํ ผิดทางอาญา ซึ่งมีความตองการ
และมจี ุดประสงคห รือความอยาก ความคาดหวงั หรือปฏกิ ิริยา ซึ่งตองการตอบสนองในความรูส ึกนนั้
อยากไดสรอยคอทองคาํ เพื่อนําไปเปล่ียนเปนเงินเพ่ือท่ีจะนาํ เงินไปแตงงาน ตองการเงินไปเท่ียว
ดิสโกเธค จึงงัดแงะรถยนตเพื่อนาํ เอาวิทยุไปขาย ความตองการน้ีมีระดับในตัวมนุษยไมเทาเทียมกัน
ขึ้นอยูกับภาวะแหงความตองการ เมื่อเกิดภาวะขึ้นแลว การแสวงหาเพื่อตอบสนองอารมณดังกลาว
จะเกิดข้ึน พฤติกรรมในข้ันตอนน้ีคือการแสวงหาลูทาง เพื่อใหความตองการน้ันสาํ เร็จวัตถุประสงค
จะเปน วธิ ีการประทษุ รายขึน้ ในใจ หากชอ งทางกระทําในขั้นตอนนีเ้ กิดขึ้นภายใน ตาํ รวจจะยังไมทราบ
ความคิดในใจของผูท่ีกําลังคิดจะกระทําผิด แตหากผูคิดเกิดอาการต่ืนตระหนกประหมา เน้ือตัวสั่น
เม่ือพบตํารวจ ซ่ึงเรียกวาอาการพิรุธ ก็อาจถูกตํารวจจับกุมนําตัวไปสูการสอบสวนและปรากฏพบ
ความคิดท่ีจะกระทาํ ความผิด ผูตระเตรียมแมจะยังไมไดกระทําก็จะมีความผิด ท้ังน้ียอมขึ้นอยูกับ
ไหวพรบิ และประสบการณของฝายตํารวจเอง

ò. âÍ¡ÒÊ (Opportunity) ผทู ี่คดิ จะกระทาํ ความผดิ หากไมม โี อกาสทจี่ ะกระทาํ ได
เพราะสภาพแวดลอมก็ดี หรือมีปจจัยท่ีเขามาขัดขวางโอกาสแลว ผูกระทําก็จะยังไมกระทําดวย
เปนเพราะมีคนพลุกพลา น มตี าํ รวจอยูใ กลเ คียง ฯลฯ แตเ มือ่ ใดปจ จยั ดังกลา วหมดไป โอกาสในการ
กระทําความผิดก็ยอ มจะเกดิ ขน้ึ

ดังนั้น หลักในทางอาชญาวิทยา ไดกําหนดองคประกอบ ๒ ประการ ในการเกิด
อาชญากรรมข้ึน เม่ือปจจัยดังกลาวอยูในลักษณะที่สมดุลหรือเกิดขึ้นพรอมกันทั้ง ๒ ประการ
อาชญากรรมก็เกิดขึ้นแนนอน ในแนวทางของตํารวจจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองตัดปจจัยท่ีกระทําให
บังเกิดความผิดไดมีชองทางกระทํา ซึ่งตํารวจสามารถจะกระทําได โดยการจัดระบบปองกันพื้นฐาน
นน่ั คอื การจัดสายตรวจลาดตระเวน เพอ่ื ตดั โอกาสนั่นเอง

ó. ໇ÒËÁÒÂ/àËÂ×èÍ (Victim) คือ ผูถูกกระทําเพื่อผลประโยชนของอาชญากร
ไมว า ในเรื่องของทรพั ยสนิ ชวี ิต รางกาย เพศ เหยื่อจะตอ งปอ งกนั ตนใหป ลอดภยั จากการกระทําของ
อาชญากรดว ย

»˜¨¨ÂÑ ·ทèÕ าํ ãËàŒ ¡´Ô ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

หมายถึง การละเมิดกฎหมายหรือเหตุที่อาจกอใหเกิดการละเมิดตอกฎหมายไดงาย
แบง ออกไดเปน ๔ ประเภท คอื

๑. ตวั บคุ คล เชน คนจติ ทราม คนวกิ ลจรติ ผคู า ยาเสพตดิ ใหโ ทษ คนเรร อ นจรจดั เปน ตน
๒. วตั ถุหรอื ทรพั ยสิน เชน เงิน ทองคาํ รถยนตห รือยานพาหนะอยา งอืน่ เปน ตน
๓. สถานที่ เชน รานจาํ หนายสุรา ซองโสเภณี โรงแรม ท่ชี ุมชน ธนาคาร เปนตน
๔. สถานการณ เชน การแขง ขนั กฬี า การเดินขบวนหรอื จลาจล สาธารณภยั เปนตน

๑๐

»ÃÐàÀ·¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

การจําแนกประเภทของอาชญากรรมน้ัน เปนการจําแนกโดยพิจารณาบุคลิกภาพของ
อาชญากรอยางหนึ่ง อาศัยหลักฐานซ่ึงมักเปนการพิจารณาในเรื่องศีลธรรม บุคคลและทรัพยสิน
อยา งหนง่ึ และอาศยั หลกั สงั คม ซงึ่ พจิ ารณาปจ จยั ดา นกฎหมายทสี่ งั คมกาํ หนดขน้ึ ปจ จยั ดา นปฏกิ ริ ยิ า
ของสังคมตอตัวผูกระทําผิด ปจจัยดานเหยื่ออาชญากรรม ปจจัยดานเปาหมายของการกระทําผิด
โดยพิจารณาวาผูกระทําความผิดกระทําตามลําพังหรือกระทําเปนคณะ หรือมีการจัดต้ังเปนองคการ
และในประการสดุ ทายพิจารณาถึงปจจยั ทางเศรษฐกจิ เกดิ แกบ ุคคล ชุมชน หรือประเทศชาติ ซึ่งอาจ
จาํ แนกรูปแบบหรือประเภทของอาชญากรรมได ๑๐ ประเภท ดังนี้

ñ. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÍÒª¾Õ (Professional Crime)
ผูที่ดํารงชีพอยูไดดวยการประกอบอาชญากรรม โดยไมมีการประกอบอาชีพอ่ืน

ที่สุจริต เนื่องจากเห็นวาลําบากหรือมีรายไดนอยหรือบางคร้ังอาจมีการประกอบอาชีพอ่ืนที่สุจริต
แตเ ปน การบงั หนา เทา นนั้ รวมทง้ั อาจใชอ าชพี สจุ รติ ทบ่ี งั หนา เปน เครอ่ื งมอื ในการประกอบอาชญากรรม

Å¡Ñ É³Ðสํา¤ÞÑ ¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÍÒªÕ¾
๑. มีทกั ษะหรือความชาํ นาญในการประกอบอาชญากรรม
๒. เปน อาชญากรรมทอี่ าชญากรมกั คดิ วา ตนเองเปน อาชญากรชนั้ สงู กวา อาชญากร
ประเภทอ่นื ๆ เนอ่ื งจากตองใชทกั ษะความชาํ นาญพเิ ศษ
๓. มรี ายไดหลกั จากการประกอบอาชญากรรม
๔. ในบางครั้งอาจมีการดําเนินงานในรูปแบบของอาชญากรรมองคกรท่ีมีการ
แบงงาน ภาระหนาทใ่ี นองคก รอยางชดั เจน
ò. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁμ´Ô ¹ÊÔ ÂÑ (Habitual Crime)
อาชญากรไมสามารถปฏิบัติตนใหเขากับมาตรฐานของสังคม โดยทั่วไปจะไมพบ
ความผิดปกติทางรางกายและจิตใจต้ังแตแรกเกิด มักจะเกิดข้ึนจากภาวะบีบค้ันใหมีพฤติกรรม
ที่ผิดปกติข้ึนทีละนอยและเพ่ิมขึ้นเรื่อยๆ มักจะมีพ้ืนฐานทางครอบครัวดี มีการศึกษา แตมาคบกับ
กลุมมิจฉาชีพ หรอื ใชจ า ยฟุมเฟอยจนตองกระทาํ ผิด
ó. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ»¡àÊÍé× ¢ÒÇ (White Collar Crime)
พวกที่ทํางานมีตําแหนงหนาที่การงาน จัดเปนชนช้ันสูงในสังคม ลักษณะการ
กระทําผิดเปนการกระทําผิดกฎหมายโดยอาศัยอิทธิพลของตนที่มีอยูในกิจการตางๆ เชน การทุจริต
ฉอ ราษฎรบงั หลวง โกงภาษี
ô. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÁ×ͧ (Political Crime)
Mannheim ใหคําจํากัดความวา เปนการกระทําเพื่อนํามาซึ่งความสําเร็จ
ตามวัตถุประสงคทางการเมือง ซ่ึงตามกฎหมายถือเปนความผิด แตผูกระทําไมถือวาเปนความผิด
แตอ ยา งใด เชน การทจุ ริตการเลอื กตั้ง การกบฏ

๑๑

การกระทําผิดท่ีละเมิดตอกฎหมายอาญาซ่ึงกอใหเกิดผลเสียทางการเมือง
โดยเฉพาะความมั่นคงทางการเมืองหรือเสถียรภาพทางการเมืองโดยมีวัตถุประสงคทางการเมือง
เปน สาํ คญั

รูปแบบอาชญากรรมทางการเมือง
๑. การกอความไมส งบ
๒. การลอบสงั หารหรือทาํ รายนักการเมือง
๓. การปฏวิ ัติเพ่อื ชวงชงิ อาํ นาจในการปกครอง
๔. สงครามการเมอื งภายในประเทศ
๕. การทําสงครามจิตใจภายใน
๖. การทาํ ทุจรติ เกีย่ วกับการเลอื กตัง้
õ. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁËÇÁ¡Ñ¹¡ÃÐทํา (Organized Crime)
การรวมตวั กนั ของอาชญากรเพอ่ื ดาํ เนนิ การอยา งมแี บบแผน ผกู ระทาํ ผดิ ดาํ เนนิ การ
ทุกอยางเพ่ือใหไดเงินมา อิทธิพลท่ีสนับสนุนใหอาชญากรกลุมนี้ดําเนินการได คือ อิทธิพล
ทางการเงิน การกระทําผิดในกลุมน้ี เชน คายาเสพติด จัดหาหญิงโสเภณี คุมบอนการพนัน
ขูกรรโชกทรพั ย โดยอา งความคมุ ครอง (มาเฟย)
ö. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ໚¹¤ÃÑ§é ¤ÃÒÇ (Occasional Crime)
อาชญากรรมท่ีไมเจตนาจะฝาฝนกฎหมาย เชน การกระทําผิดโดยความประมาท
หรือปองกนั ตนเอง
÷. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÍØ¡©¡Ãè (Violent Crime)
ผูกระทําผิดไมเคยมีประวัติประกอบอาชญากรรมแตอาจตกอยูภายใตวัฒนธรรม
ยอ ยของกลุม ซึง่ เปนผลใหกระทําผดิ เชน ฆา คนตายโดยเจตนา ขม ขืน
ø. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¢ÒŒ ÁªÒμÔ
การกระทําความผิดโดยละเมิดกฎหมายอาญา โดยผูกอกระทําขึ้นในประเทศหนึ่ง
มผี ลเสียหายเช่ือมโยงอกี ประเทศหนง่ึ
ปญหาอาชญากรรมขามชาติ
๑. โสเภณี
๒. ยาเสพตดิ
๓. ลกั ทรพั ย
๔. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร
๕. แรงงานขามชาติ
๖. การฉอ โกง

๑๒

ù. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁàÈÃÉ°¡¨Ô
อาชญากรรมท่ีเกิดผลเสียหายแกเศรษฐกิจของปจเจกชน และประเทศชาติ

สังคมสวนรวม ทาํ ลายความเชื่อถือ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
»Þ˜ ËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ
๑. www.polsci.chula.ac.th/sumonthip/devian-cri5.htm
๒. ปญหาอาชญากรรม. ๑.ประเภทอาชญากรรม. อาชญากรรมแบงเปนกี่ประเภท

ข้นึ อยกู บั เกณฑทนี่ าํ มาใชใ นการแบง เชน ถา ใชเ กณฑเกีย่ วกับ. ก. เกณฑความช่ัวรา ยของการกระทาํ
ประเภทของอาชญากรรม

ประเภทของอาชญากรรม การจําแนกอาชญากร...-Criminology and Criminal...
https://www.facebook.com/criminologyandcriminal/posts/604731456326782
ประเภทของอาชญากรรม การจําแนกอาชญากร สามารถจําแนกไดหลายระบบ เชน
Reckless เสนอแบบของการดําเนนิ อาชพี อาชญากร ๓ ประเภท คอื ธรรมดา รว มกระทาํ และอาชพี ...

»Þ˜ ËÒÊѧ¤Á·นÕè ําä»ÊÙ‹ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

เราเคยเชื่อกันวา อาชญากรรมเกิดจากการดอยการศึกษาของประชาชน ปจจุบันน้ี
เราพบวา อาชญากรรมจํานวนไมน อยท่มี าจากครอบครวั ท่ดี ี มกี ารศกึ ษาและกาํ ลังทวจี าํ นวนขนึ้ ลําพงั
การศึกษาท่ีไดรับมานั้นไมสามารถจะหามใจใหงดเวนจากการกระทาํ ผิดได เพราะไดรับแรงผลักดัน
ใหกระทําผิดทางดา นอ่ืน

สาเหตทุ เี่ ปน เหตผุ ลกั ดนั ใหบ คุ คลกระทาํ ผดิ ในทางสง่ิ แวดลอ มและสงั คมเปน สาเหตสุ ําคญั
ทสี่ ดุ ทม่ี อี ทิ ธพิ ลผลกั ดนั ใหบ คุ คลกระทาํ ผดิ อทิ ธพิ ลของสงิ่ แวดลอ มมอี ํานาจเหนอื มนษุ ย โดยจะคอ ยๆ
ซึมซับเขาไปในตัวบุคคลทีละนอยๆ ใชเวลาที่นานพอสมควรเพ่ือเปล่ียนลักษณะจิตใจ อารมณและ
ทัศนคติ ซึ่งรวมเรียกวา “บุคลิกภาพ” ของผูนั้นใหมีแนวโนมไปสูการประกอบอาชญากรรมไดงาย
ซึ่งหากโอกาสและสถานการณอาํ นวยบุคคลน้ันก็จะประกอบอาชญากรรมทันที สาเหตุในทาง
สง่ิ แวดลอ มและสงั คมจงึ เปน สาเหตทุ สี่ าํ คญั ยง่ิ ในการเปลย่ี นบคุ ลกิ ภาพของบคุ คลใหก ลายเปน อาชญากร
ปญ หาสังคมดา นท่นี าํ ไปสูอาชญากรรมทจ่ี ะนํามากลา วดงั น้ีคอื

ñ. ¡ÒáÃÐทาํ ¼Ô´¢Í§à´¡ç เนอ่ื งจากสถานการณของประเทศตางๆ ท่วั โลกในปจจบุ นั นี้
ตางวิตกถึงเรื่องความเส่ือมโทรมทางศีลธรรมของประชาชนมากขึ้น จะเห็นไดวาการกระทาํ ความผิด
ของเด็กและเยาวชนมีสถิติสูงขึ้นอยางนากลัว การแกไขปญหาเก่ียวกับเด็กกระทําผิดนี้เปนหนาที่
ของรฐั ถา เดก็ และเยาวชนเหลา นี้มไิ ดรบั การแกไ ขในทางทถ่ี ูกทคี่ วรแลว ก็แนเ หลอื เกินวาตอไปเขาจะ
เปน อาชญากรผใู หญ ซึ่งเปน มารสงั คมตัวฉกาจในอนาคต

ò. ¡ÒäŒÒ»ÃÐàÇ³Õ แหลง ทท่ี ําการคาประเวณี หรอื ที่เรยี กวาซองโสเภณีนนั้ มกั จะพบวา
นอกจากจะเปนแหลงท่ีแพรเชื้อโรคแลว ยังเปนท่ีรวมของการกระทําผิดอื่นๆ ดวย เชน เปนซองโจร

๑๓

เปน ทห่ี ลบซอ นของอาชญากรและทรพั ยท ล่ี กั มาได เปน ทเ่ี ลน การพนนั เปน สถานทจี่ ําหนา ยยาเสพตดิ
และของหลบหนีภาษี รวมถึงแหลงท่ีสงเสริมการคอรรัปชันของขาราชการ นักการเมืองดวย การคา
ประเวณีโดยวิธีอ่ืนนอกจากซองโสเภณีก็คือ ทําเปนสาํ นักงานนางทางโทรศัพท นางบังเงาตามถนน
หรืออาศัยผูอื่นเปนสื่อกลางการติดตอ สถิติจากการสาํ รวจแสดงใหเห็นวา หญิงโสเภณีสวนมากมักมี
ภาวะทางจิตบกพรอ ง

ó. ¡ÒÃμÔ´ÊØÃÒ การติดสุราถือเปนอาการของโรคชนิดหน่ึง เนื่องจากมีแอลกอฮอล
ในรา งกายมากเกินไป ทาํ ใหส ุขภาพและสมองเสอื่ มโทรม หมดประสทิ ธิภาพในการทํางาน เปนปญ หา
สังคมอยางหน่ึงและผูเสพสุราอาจกอปญหาอาชญากรรมดวย สุราทําใหผูเสพขาดสติสัมปชัญญะ
ขาดความรูสึกนึกคิดท่ีถูกที่ควร สุราเปนเคร่ืองยอมใจใหผูเสพเกิดความกลาที่จะกระทําผิด จึงพบวา
ผูท่ีกระทําความผิดโดยฤทธ์ิของสุรานั้นมีอยูไมนอย โดยเฉพาะภัยบนทองถนน ซึ่งเกิดจากการขับรถ
ขณะมึนเมาและการกระทําผิดฐานประทุษรายตอรา งกาย

ô. ¡ÒÃμÔ´ÂÒàʾμ´Ô ãËŒâ·É ปญหาทเี่ ก่ียวขอ งกบั อาชญากรรมนอกเหนือจากการเสพ
ก็คือ การคายาเสพติดและการประทุษรายตอทรัพย ผูติดยาเสพติดนั้นอาจเกิดจากเทคนิคการขยาย
ตลาดของผูคายาเสพติด โดยยอมใหเสพโดยไมคิดเงินจนติด หรือใชวิธีบังคับใหเสพจนตกเปนทาส
ยาเสพตดิ หรอื ผทู ใี่ ชย าเสพตดิ เปน ทางออกเพอื่ หนคี วามทกุ ขย าก อกี อยา งหนงึ่ กค็ อื ไปเขา พวกเขา หมู
กับพวกติดยาเสพติดเลยถูกพวกมากลากไป พวกติดยาเสพติดน้ีจะตองหาเงินมาซื้อยาเสพติดใหได
แมเ ปนการหาเงนิ โดยทจุ ริตผดิ กฎหมายกต็ าม

õ. ¡ÒÃμ´Ô ¡Òþ¹¹Ñ การตดิ การพนนั เปน บอ เกิดแหงอาชญากรรมอื่นๆ อีกหลายชนิด
การพนันเปนตนเหตุแหงความแตกแยกและการทะเลาะวิวาทและการประทุษรายตอรางกาย ผูหญิง
บางคนอาจกลายเปนโสเภณีแบบสมัครเลนเพราะเสียการพนัน การพนันนําผลรายมาสูครอบครัว
ทง้ั ทางตรงและทางออ ม ทางตรงกค็ อื ในกรณเี สยี การพนนั กค็ ดิ แกต วั อยากไดเ งนิ คนื มา ครอบครวั ตอ ง
เดือดรอนในดานความเปนอยู ทางออมก็คือในกรณีบิดามารดาติดการพนัน บุตรยอมไมไดรับการ
เอาใจใสห รอื ความรกั ใครจ ากบดิ ามารดาเพยี งพอ ขาดการอบรมบม นสิ ยั ทดี่ แี กบ ตุ รธดิ า เปน เหตใุ หเ ดก็
หนั เหไปสูการประกอบอาชญากรรมได ขา ราชการบางคนติดการพนนั ขนาดถงึ กับเอาเงินหลวงไปเลน
หรือคอรรัปชันเพื่อนําเงินไปเลนการพนนั

ö. ¡Òèè´Ñ áÅТͷҹ การจรจดั หมายถงึ การไมม ที อ่ี ยอู าศยั หรอื มที อ่ี ยอู าศยั ไมเ ปน
หลกั แหลง ผถู กู จบั ฐานจรจดั นน้ั มบี คุ คลหลายจาํ พวก เชน โสเภณี นางบงั เงา ผทู ท่ี อ งเทย่ี วไปขออาหาร
ขอทาน วณพิ กเรร อน หมอยาเถื่อน คนตา งดาว ฯลฯ

การขอทานทผ่ี ดิ กฎหมายนน้ั หมายความเฉพาะการขอทานทสี่ งั คมรงั เกยี จเทา นน้ั ปญ หา
ทเ่ี กย่ี วขอ งกบั อาชญากรรมกค็ อื คนจรจดั และคนขอทานมกั จะกระทาํ ผดิ อยา งอน่ื อกี ดว ย เชน เมาสรุ า
เสพยาเสพตดิ เปนโสเภณี และประทุษรายตอทรพั ย เปน ตน

๑๔

¡Òè´Ñ ÃÐàºÂÕ ºÊ§Ñ ¤Á

¤ÇÒÁËÁÒ¡Òè´Ñ ÃÐàºÂÕ ºÊ§Ñ ¤Á
การจดั ระเบยี บทางสงั คม เปน การจดั หนว ยหรอื กลมุ ของสงั คมเปน สว นยอ ยอยา งมรี ะบบ
โดยคาํ นงึ ถงึ เรอ่ื ง เพศ อายุ เครอื ญาติ อาชพี ทรพั ยส นิ เอกสทิ ธ์ิ อาํ นาจ สถานภาพ ฯลฯ แตล ะสว นยอ ย
มีหนาท่ีเกี่ยวของสัมพันธกัน โดยมีแบบอยาง กฎหมาย ระเบียบ รวมทั้งประเพณีเปนแนวดําเนิน
หรอื ปฏิบตั ิ (พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน, ๒๕๔๒ : ๓๕๔)
การจัดระเบียบทางสังคม เปนการจัดใหสังคมมีระเบียบอยางมีระบบเปนรูปแบบ
ของพฤตกิ รรมและกระบวนความสมั พันธร ะหวา งกลุมคนและระหวางบคุ คล
กลาวเฉพาะสําหรับงานในหนาที่ของตํารวจ สรุปไดวา การจัดระเบียบสังคม หมายถึง
การท่ีเจาหนาที่ตํารวจ หรือเจาหนาท่ีของรัฐ ที่มีอํานาจหนาที่บังคับใชกฎหมาย นําเอากฎหมาย
ระเบียบและกฎเกณฑที่เกี่ยวของไปใชบังคับกับบุคคลหรือกลุมบุคคล หรือสถานที่สุมเสี่ยงตอการ
กระทําผิด ท้ังน้ีเพื่อมิใหบุคคลหรือกลุมบุคคลกลายเปนผูกระทําผิดหรือถูกกระทําผิดหรือเพ่ือมิให
สถานท่ีดังกลา วเปน แหลงเพาะเพิ่มอาชญากรรม เพือ่ ใหเกิดความเปน ระเบียบเรียบรอ ยในสงั คม
á¹Ç·Ò§¡ÒèѴÃÐàºÕºÊѧ¤ÁμÒÁá¹Ç¤Ô´¢Í§ ¾Å.μ.Í.Í´Øŏ áʧÊÔ§á¡ŒÇ Í´Õμ
¼ºŒÙ ÑÞªÒ¡ÒÃตาํ ÃǨá˧‹ ªÒμÔ
๑. การควบคุมแหลงอบายมุขหรือสถานบริการ แหลงอบายมุขการพนัน เชน บอน
การพนัน ตูมา การพนันทายผลฟตุ บอล หรอื สถานบริการที่ผดิ กฎหมาย เปดเกินเวลา ปลอยใหเดก็
และเยาวชนเขา ไปใชบ รกิ าร มกี ารลกั ลอบจาํ หนา ยยาเสพตดิ เหลา นม้ี กั จะเปน แหลง เพาะอาชญากรรม
คดอี าชญากรรมทเ่ี กดิ ขน้ึ จาํ นวนไมน อ ย มสี าเหตมุ าจากแหลง อบายมขุ หรอื สถานบรกิ าร ดงั นนั้ ตาํ รวจ
และหนว ยงานทเี่ กยี่ วขอ งจะตอ งกาํ หนดมาตรการในการควบคมุ กาํ กบั ดแู ล แหลง อบายมขุ และสถาน
บรกิ ารดงั กลาวอยา งเขมงวด
๒. มาตรการตีวงสุรา เปนยุทธวิธีหนึ่งของตํารวจท่ีใชในการปองกันไมใหมีเหตุรายเกิด
กลาวคือตํารวจจะตองเขาไปประชาสัมพันธตักเตือนประชาชนที่ดื่มสุราในท่ีสาธารณะใหเลิกด่ืม
และกลบั ทพี่ กั เมอ่ื ถงึ เวลาทเี่ หมาะสม หากปลอ ยใหด ม่ื สรุ าตอ ไปจนขาดสติ อาจจะไปกอ เหตทุ ะเลาะววิ าท
หรอื ไปกระทําความผดิ อืน่ ๆ เชน การประทษุ รายตอ ทรัพย ชีวิต รางกาย หรือทางเพศ เปน ตน
๓. การจัดระเบยี บพ้ืนทที่ มี่ ีแนวโนมจะเกิดอาชญากรรม (พื้นท่ีเสยี่ งตามหลกั การทฤษฎี
หนา ตางแตก) ตามหลกั การของทฤษฎหี นาตา งแตก (Broken Windows Theory) หากพ้ืนทใี่ ดเกดิ
ส่ิงที่ไมดี มีจุดดางหรือความไรระเบียบแมเพียงเล็กนอย หากไมมีคนเขามาดูแลแกไข ปลอยท้ิงไว
ก็จะเกิดหายนะที่ใหญโตมากขึ้นเร่ือย ๆ ตัวอยางเชน อาคารหลังหนึ่งมีหนาตางกระจกแตกอยูแค
บานสองบาน แตถา หากปลอยท้ิงไวไ มมีการซอ มแซม แนวโนมกค็ ือ จะมคี นทําใหก ระจกบานอืน่ แตก
เพม่ิ ขน้ึ แลว เมอ่ื กระจกบานอน่ื แตกเพมิ่ มากขนึ้ จนอาจจะหมดทกุ บานกจ็ ะมคี นเรร อ นจรจดั ขยี้ า บกุ รกุ
เขามาในอาคารเพ่ิมมากขึ้นจนกลายเปนท่ีซองสุมและกออาชญากรรม ดังนั้นตํารวจหรือผูมีหนาท่ี

๑๕

เก่ียวของจะตองรีบเขาไปดําเนินการแกไขปญหากอนที่จะเกิดอาชญากรรมข้ึน สําหรับพื้นที่ดังกลาว
เชน บานรา ง ปายรถโดยสารประจาํ ทาง ทเ่ี ปลี่ยว เปน ตน

๔. โครงการพ้ืนที่ปลอดภัย (Safety Zone) เปนโครงการท่ีมีประโยชนอยางมาก
ในเรื่องของการปองกันและแกไขปญหาอาชญากรรมและยาเสพติด ท้ังนี้ขึ้นอยูกับความพรอมและ
ความตองการของชุมชน ตํารวจควรเขาไปเปนท่ีปรึกษาใหกับชุมชนที่มีความพรอมจะดําเนินการ
ตามโครงการดังกลาว โดยเฉพาะเร่ืองของกําลังคน งบประมาณ อุปกรณเคร่ืองมือเคร่ืองใช
และการบริหารจดั การ

ÊÒàËμ·Ø ÕèμÍŒ §¨´Ñ ÃÐàºÕº·Ò§Êѧ¤Á
๑. เพื่อใหก ารตดิ ตอ สมั พนั ธก นั ทางสงั คมเปน ไปอยางเรียบรอย
๒. เพอ่ื ปอ งกนั ความขดั แยงระหวา งสมาชิกในสังคม
๓. ชวยใหสงั คมดาํ รงอยูอยา งสงบสุขและม่นั คงในสงั คม
ͧ¤»ÃСͺ¢Í§¡Òè´Ñ ÃÐàºÂÕ º·Ò§Êѧ¤Á
๑. บรรทัดฐานของสังคม
๒. สถานภาพ
๓. บทบาท
๔. การควบคมุ ทางสงั คม
¡Ãкǹ¡Òè´Ñ ÃÐàºÕº·Ò§Ê§Ñ ¤Á »ÃСͺ´ŒÇ ô »ÃÐàÀ· ¤×Í
ñ. ºÃ÷Ѵ°Ò¹·Ò§Ê§Ñ ¤Á

บรรทดั ฐานทางสังคม คอื แบบแผน กฎเกณฑข อ บังคบั หรอื มาตรฐานในการปฏิบัติ
ของคนในสงั คมซึ่งสงั คมยอมรับวาสมควรจะปฏบิ ัติ เชน บดิ ามารดาตองเลีย้ งดูบุตร บุตรตองมีความ
กตัญูตอบิดามารดา ขาราชการตองบริการประชาชน พระสงฆตองรักษาศีลและเปนท่ีพึ่งทางใจ
ของประชาชน ฯลฯ

ºÃ÷´Ñ °Ò¹·Ò§Ê§Ñ ¤Á ẋ§à»¹š ó »ÃÐàÀ· ¤Í×
๑. วถิ ปี ระชา เปน แบบแผนในการปฏบิ ตั หิ นา ทท่ี ท่ี กุ คนในสงั คมปฏบิ ตั กิ นั โดยทว่ั ไป
จนเกดิ เปน ความเคยชนิ ไมต อ งมศี ลี ธรรมและกฎหมายบงั คบั ผไู มป ฏบิ ตั ติ ามกไ็ มไ ดร บั โทษ เพยี งแคถ กู
นินทา เชน ในการรับประทานอาหารควรใชชอนกลางตักอาหาร หากไมใชชอนกลางก็ไมมีความผิด
เปนแคถูกตาํ หนิวาไมมีมารยาทในการรับประทาน วิถีประชาแตละสังคมมีความแตกตางกันไป
แตล ะสังคม จงึ ทําใหม ีวฒั นธรรมแตกตางกันไป

๑๖

๒. จารตี มคี วามหมายเหมอื นคาํ วา “ศลี ธรรม” จารตี เปน บรรทดั ฐานทที่ กุ คนในสงั คม
จะตองกระทําเปนกระบวนการ พฤตกิ รรมทจี่ าํ เปน ตอ ความเปน ระเบยี บเรยี บรอย และสวสั ดภิ าพของ
สังคม จารีต มคี วามสําคัญกวาวิถีประชา เปนเร่อื งของความรูสึกวา ส่ิงใดผดิ สงิ่ ใดถูก ผใู ดฝาฝนจะถกู
สังคมลงโทษ หรือไดรับการตําหนิอยางรุนแรง ในสังคมไทยมีจารีตบางอยางท่ีสําคัญมาก แมมิได
นําไปบัญญัติเปนกฎหมาย เชน ความกตัญู ระบบอาวุโส ความซื่อสัตยระหวางสามี ภรรยา
การแสดงความเคารพผูใหญ ฯลฯ

๓. กฎหมาย หมายถึง บรรทัดฐานท่ีกําหนดไวในระเบียบแบบแผน ซึ่งผูมีอํานาจ
ทางการปกครองบา นเมอื งไดก าํ หนดขนึ้ เพอ่ื บงั คบั ใหบ คุ คลปฏบิ ตั ติ ามหรอื หา มมใิ หก ระทาํ หากฝา ฝน
จะถกู ลงโทษตามบทบัญญัติ

ò. ʶҹÀÒ¾
สถานภาพ คอื ตาํ แหนง ทไ่ี ดร บั จากการเปน สมาชกิ ของสงั คม เปน ปจ จยั ทชี่ ว ยในการ

จัดระเบียบของสังคมเพราะทุกคนมีสถานภาพติดตัวมาตั้งแตเกิด เชน เปนลูกชาวบาน เปนหญิง
เปน ชาย ฯลฯ หลงั จากเกดิ มสี ถานภาพเพม่ิ เตมิ อกี มากมาย เชน หลานชายกาํ นนั รบั ราชการเปน ตาํ รวจ
สถานภาพเปน สงิ่ ทช่ี ว ยใหม นษุ ยต ดิ ตอ สมั พนั ธก นั โดยอาศยั สถานภาพของบคุ คลเปน หลกั ในการตดิ ตอ
สถานภาพเปนเคร่ืองกําหนดวา ใครเปนใคร มีหนาที่รับผิดชอบอยางไร ทําใหรูจักสิทธิหนาท่ีของ
กันและกัน สถานภาพเสริมใหบุคคลกระตือรือรนที่จะยกฐานะของตนเองใหทัดเทียมกับบุคคลอื่นๆ
หรอื สงู กวา คนอนื่ ๆ ทาํ ใหเ ปน ผใู ฝใ นการศกึ ษาหาความรู ขยนั ขนั แขง็ ในการประกอบอาชพี ทาํ ใหต นเอง
เจริญกาวหนา และชวยทาํ ใหส ังคมเจริญข้ึน

ÅѡɳТͧʶҹÀÒ¾
๑. เปน สงิ่ เฉพาะบคุ คลท่ีทาํ ใหแ ตกตา งไปจากผอู ื่น เชน อารียเปนนกั เรียน สมชาติ
เปน ตํารวจ เปนตน
๒. บุคคลหน่ึงอาจมีหลายสถานภาพ เชน สมชาติเปนตํารวจ เปนพอ และเปน
ขาราชการ
๓. เปน สทิ ธแิ ละหนา ทที่ งั้ หมดทบี่ คุ คลมอี ยใู นการตดิ ตอ กบั ผอู นื่ และสงั คมสว นรวม
๔. เปน ตัวกําหนดวา บคุ คลนัน้ มีหนา ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบอยางไรในสังคม
ʶҹÀÒ¾ ầ‹ Í͡໚¹ ò »ÃÐàÀ· ¤Í×
๑. สถานภาพทต่ี ิดตัวมาโดยสงั คมเปน ผกู าํ หนด เชน เพศ อายุ เชือ้ ชาติ เครือญาติ
๒. สถานภาพท่ีไดมาโดยความสามารถ ไดแก การประกอบอาชีพ การศึกษา
การสมรส เชน บดิ า มารดา ปู ยา ตา ยาย
ó. º·ºÒ·
บทบาท หมายถึง การปฏิบัติตามหนาที่และสิทธิของตนตามสถานภาพของตน
สถานภาพคือตําแหนง สวนบทบาทคือการกระทําตามสิทธิและหนาท่ีของสถานภาพ สถานภาพ

๑๗

และบทบาท มกั จะเปน ของคกู ัน ซงึ่ เม่อื มีสถานภาพจะตอ งมบี ทบาทดวย เชน นายดํากับนางสาวขาว
แตง งานกนั นายดําเปนสามี นางสาวขาวเปน ภรรยา ความเปนสามีของนายดําและความเปน ภรรยา
ของนางขาว ถอื วาเปนสถานภาพ คอื ตําแหนง ทางสงั คม นายดําจะตอ งปฏิบตั หิ นาท่ีสามี เปนตนวา
ประกอบอาชีพการงานหาเงินมาเล้ยี งดูครอบครวั จะตอ งรกั ซื่อสัตยต อ นางขาวผเู ปนภรรยา จะตอ ง
ใหความคุมครองดูแลนางขาวผูเปนภรรยา ใหมีความสุขกาย สบายใจ นางขาวผูเปนภรรยาก็จะตอง
ปฏิบัติหนาที่ความเปนภรรยาดวยการซื่อสัตยตอนายดําผูสามี ดูแลทุกขสุขของนายดําผูสามีใหมี
ความสขุ กายสบายใจ ฯลฯ การปฏบิ ตั ิตามสทิ ธิหนาท่ตี า งๆ ดงั น้ี เรียกวา บทบาท

การที่บุคคลมีบทบาทตอสังคมและปฏิบัติตามหนาที่ที่สังคมยอมรับมีความสําคัญ
เปน อนั มาก เพราะทาํ ใหก ารจดั ระเบยี บสงั คมดขี น้ึ เปน การควบคมุ สงั คมใหเ ปน ระเบยี บ ถา คนไมป ฏบิ ตั ิ
ตามหนา ที่ ตามบทบาทของตนในสังคมใหส มกับสถานภาพท่ไี ดรับ กจ็ ะทาํ ใหสงั คมเสยี ระเบียบ ทําให
เกิดปญหาและความยงุ ยากใหแกส ังคม

¡ÒäǺ¤ØÁ·Ò§Êѧ¤Á ẋ§à»¹š
๑. การจงู ใจใหส มาชกิ ปฏบิ ตั ติ ามบรรทดั ฐานของสงั คม เชน การยกยอ ง การชมเชย
หรือการใหรางวลั
๒. ลงโทษสมาชิกที่ละเมิดหรือฝาฝนบรรทัดฐานทางสังคม เชน ผิดวิถีชาวบาน
การลงโทษคือตําหนิ ซุบซิบนินทา หัวเราะเยาะ ผิดกฎศีลธรรม ไมคบหาสมาคม ผิดกฎหมาย
ซงึ่ การลงโทษจะมากหรอื นอ ยแลวแตก ารกระทาํ ผิด
¡Ãкǹ¡Òâ´Ñ à¡ÅÒ·Ò§Êѧ¤Á
การขัดเกลาทางสงั คม หมายถงึ กระบวนการอบรมส่ังสอนสมาชกิ ใหเ รยี นรรู ะเบียบ
ของสงั คมเพอ่ื ใหเ หน็ คณุ คา และนาํ เอากฎเกณฑ ระเบยี บปฏบิ ตั เิ หลา นนั้ ไปเปน แนวทางในการประพฤติ
ปฏิบัติ การขัดเกลาสังคมเปนสิ่งท่ีมนุษยตองไดรับตลอดชีวิต เพ่ือที่จะทําใหมนุษยสามารถปรับตัว
เขา กับสังคมที่ตนเปน สมาชิกอยไู ดเ ปนอยา งดี
¡Òâ´Ñ à¡ÅÒ·Ò§Êѧ¤ÁÍÒ¨จําṡ䴌 ò »ÃÐàÀ·
๑. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางตรง เชน การอบรมส่ังสอน ขัดเกลาที่พอแม
ใหกับลูก ไมวาจะเปนการสอนพูด สอนมารยาทในการรับประทานอาหาร หรือสอนใหเรียกพี่ นอง
ปู ยา เปนตน ในกรณีนผี้ สู อนและผูรบั จะรสู กึ ตัวในกระบวนการอบรมสั่งสอนโดยตรง
๒. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางออม เชน การอานหนังสือพิมพ การฟงวิทยุ
หรอื ดโู ทรทศั น ตลอดจนการดภู าพยนตร ผรู บั จะเรยี นรโู ดยไมร ตู วั โดยสง่ิ ทเี่ รยี นรจู ะคอ ยๆ ซมึ ซบั เขา ไป
จติ ใตส าํ นกึ วา สง่ิ นน้ั สง่ิ นที้ สี่ งั คมยอมรบั และหากเปน สงิ่ ทสี่ งั คมไมย อมรบั กระทาํ ในสงิ่ ทแี่ ปลกแยกออกไป
การขดั เกลาทางสงั คมโดยทางออ มจะครอบคลมุ ไปถงึ การเขา รว มกบั กลมุ เพอ่ื นดว ยและเพอื่ นรว มงาน
ซึ่งจะชว ยใหเกดิ การปรบั ตวั และการพัฒนาบุคลิก

๑๘

¤ÇÒÁÁ‹Ø§ËÁÒ¢ͧ¡Ãкǹ¡ÒâѴà¡ÅÒ·Ò§Ê§Ñ ¤Á
๑. เพ่อื ปลูกฝงระเบยี บวินัยแกสมาชิกในสงั คม
๒. เพอื่ ปลูกฝง ความมุงหวังท่ีสังคมยกยอง
๓. เพอื่ ใหส มาชกิ ในสงั คมไดร จู กั บทบาทและหนา ทขี่ องตนตามกาลเทศะและความ
เหมาะสม
๔. เพอื่ ใหส มาชกิ ในสงั คมเกดิ ความชํานาญและเพม่ิ ทกั ษะในการทํากจิ กรรมรว มกบั
ผอู น่ื ในสังคม
à¤Ã×èͧÁÍ× ·Õãè ªŒã¹¡Òâ´Ñ à¡ÅÒ·Ò§Êѧ¤Á
บรรทัดฐาน คือ แบบแผน กฎเกณฑ ที่สังคมกาํ หนดแนวทางสาํ หรับบุคคลยึดถือ
และปฏิบตั ิ
คา นยิ ม คอื แนวความคดิ ความเชอื่ ทบี่ คุ คลในสงั คมเหน็ วา มคี ณุ คา ควรแกก ารปฏบิ ตั ิ
ความเชอ่ื คอื แบบของความคดิ เกย่ี วกบั ตวั เราทเี่ กดิ ขนึ้ มคี วามสมั พนั ธก บั สงิ่ แวดลอ ม
อาจเปนเร่ืองท่ีมีเหตุผลหรือไมมีเหตุผล ความเช่ือที่ถูกตองเหมาะสม ไมเบี่ยงเบนไปในทางเสียหาย
ทําใหการแสดงพฤตกิ รรมเปน ไปในทางทีด่ ี จงึ สําคญั ตอการจัดระเบยี บทางสงั คม
¡ÒâѴà¡ÅÒ·Ò§Êѧ¤Á໚¹¡Ãкǹ¡Òö‹Ò·ʹÇѲ¹¸ÃÃÁ ¤‹Ò¹ÔÂÁÊѧ¤Á «èÖ§ÁÕ
μÇÑ á·¹·Õèทํา˹ŒÒ·èãÕ ¹¡Òâ´Ñ à¡ÅÒ·Ò§Ê§Ñ ¤Á ´Ñ§¹éÕ
๑. ครอบครวั เปนตัวแทนสําคัญทส่ี ดุ ในการทําหนา ท่ีขัดเกลาทางสงั คม เพราะเปน
สถาบันแรกที่เด็กจะไดระบบการอบรมสั่งสอนและจะมีความผูกพันทางสายโลหิตอยางลึกซ้ึง ซึ่งจะมี
ผลทางอารมณ ความประพฤติ เจตคติ ตลอดจนบุคลิกภาพของบุคคลมากที่สุด เชน พอแมสั่งสอน
ใหลกู เปนคนกตัญู เปน ตน
๒. กลุมเพื่อน เปนตัวแทนที่ทําหนาที่ขัดเกลาทางสังคมอีกหนวยหน่ึง เนื่องจาก
กลุมแตละกลุมยอมมีระเบียบ ความเช่ือและคานิยมเฉพาะกลุมตนเอง ซึ่งอาจแตกตางกันออกไป
ตามลักษณะกลุม เชน การแตงกาย กลมุ เดยี วกนั ก็จะแตงกายคลายๆ กัน
๓. โรงเรียน เปนตัวแทนสังคมที่ทําหนาที่โดยตรงในการขัดเกลาสมาชิกต้ังแต
ในวัยเดก็ จนถึงผูใ หญ โดยอบรมดานคุณธรรม จรยิ ธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีตา งๆ ของสงั คม
ตลอดจนคานิยมและทกั ษะอันจาํ เปนใหแกส มาชกิ ในสังคม
๔. ศาสนา เปนตัวแทนในการขัดเกลาจิตใจของคนในสังคมยึดม่ันในสิ่งท่ีดีงาม
มีศีลธรรม จริยธรรม และความประพฤติในทางท่ีถูกท่ีควร โดยศาสนาจะมีอิทธิพลทางจิตวิทยา
ตอบุคคล ในการสรา งบุคลิกภาพเปน อยางมาก
๕. กลุมอาชีพ อาชีพแตละประเภทจะมีการจัดระเบียบปฏิบัติเฉพาะกลุม เชน
กลุมที่มีอาชีพคาขายจะตองมีความซื่อสัตยไมเอาเปรียบลูกคา ผูที่เปนสมาชิกใหมของกลุมตางๆ
ก็ตอ งเรียนรูประเพณีของกลุม อาชพี ท่ตี นเปน สมาชกิ อยู

๑๙

๖. ส่ือมวลชน มีอิทธิพลตอการเรียนรูขอมูลขาวสารของสมาชิกในสังคม มีสวน
ในการขดั เกลาทางสงั คมแกม นษุ ยใ นดา นตา งๆ ทง้ั ดา นความคดิ ความเชอื่ แบบแผนการประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ

¤ÇÒÁสํา¤ÞÑ ¢Í§¡Ãкǹ¡ÒâѴà¡ÅÒ·Ò§Êѧ¤Á
๑. เปน หลักในการปฏิบัติที่ทุกคนตอ งเรียนรูคณุ คา ของกฎเกณฑ
๒. เปน วธิ ีการถา ยทอดลักษณะวัฒนธรรม
๓. เปน กระบวนการทมี่ อี ยูต ลอดชวี ติ ของความเปน มา
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
กฎหมายกับสังคม - IAD
www.iadopa.org/KM2557/laws/กฎหมายกบั ระเบียบสงั คม.doc
สงั คมมนษุ ยไ มว า จะเปลยี่ นแปลงไปตลอดเวลาเพยี งใด แตต ราบใดทสี่ งั คมยงั คงดาํ รงอย.ู ..
จึงจาํ เปนตองมีระเบียบกฎเกณฑและวิธีการบังคับที่เปนทางการคือ กฎหมาย ... กฎหมายกับสังคม
จึงมคี วามเก่ยี วของกันจนไมส ามารถแบงแยกออกจากกันได ... สังคม จดั เปน กฎหมายมหาชน ซึ่งเปน
เร่อื งทร่ี ฐั ในฐานะผปู กครองบัญญตั กิ ฎหมายขึ้นเพ่อื กาํ หนดหลักเกณฑความประพฤติ

àËÂè×ÍÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

àËÂÍè× ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ
การศึกษาเร่ือง เหยื่ออาชญากรรม (Crime Victims) ทาํ ไดโดยการทาํ ความเขาใจวิชา
วา ดวยเหยือ่ อาชญากรรม (Victim logy)
วิชาวาดวยเหย่ืออาชญากรรมศึกษาบทบาทของเหยื่อในเหตุการณการเกิดอาชญากรรม
และยังศึกษาความสัมพันธระหวางเหย่ืออาชญากรรมกับระบบงานยุติธรรมทางอาญา (Criminal
Justice System) (Barkan and Bryjak, ๒๐๐๔ : ๑๓๓)
·ÄÉ®¡Õ ÒÃà¡´Ô àËÂè×ÍÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Theories of Victimization)
ทฤษฎีท่อี ธิบายการตกเปน เหยื่ออาชญากรรมทสี่ าํ คัญ ๆ มีดังตอไปน้ี
(ñ) ·ÄÉ®·Õ èÕà¡ÕÂè ǡѺ¡ÒèѴ»ÃÐàÀ·¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ มีทน่ี าสนใจคอื

(ñ.ñ) ¡Òè´Ñ »ÃÐàÀ·¢Í§àËÂ×èÍâ´ÂªÒ¿à¿ÍÏ (Schafer) เนน ความรับผิดชอบ
ในการเกดิ อาชญากรรมของเหยื่อเปนหลกั แบง ได ๗ ชนิด ดงั น้ี (Schafer, ๑๙๗๗ : ๔๕-๔๗)

(ก) àËÂÍ×è ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·äÕè Áà‹ ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ §¡ºÑ ÍÒªÞÒ¡Ã (Unrelated Victims)
หมายถึง บคุ คลทว่ั ไปท่ไี มม คี วามสมั พนั ธก ับอาชญากร

(ข) àËÂÍ×è ··Õè ŒÒ·ÒÂãËàŒ ¡Ô´ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Provocative Victims) เหยือ่
ทําบางส่ิงใหอาชญากรขดั ใจ เชน ดหู ม่ินดแู คลน ผดิ สญั ญา เปนตน

๒๐

(ค) àËÂ×èÍ·èըشª¹Ç¹ãËŒà¡Ô´ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Precipitative Victims)
มีพฤติกรรมจงู ใจใหเกิดการกระทาํ ความผิดโดยมไิ ดตง้ั ใจ

(ง) àËÂ×èÍ·Õè͋͹áÍ·Ò§ªÕÇÀÒ¾ (Biologically Weak Victims) คือ
ออ นแอทง้ั ทางรา งกายและจติ ใจ ทําใหง า ยตอ การถกู ทาํ รา ย เชน เดก็ คนแก ผหู ญงิ ผขู าดความสามารถ
ผูเจ็บปว ยทางจิต เหยือ่ ชนิดนคี้ วรไดร บั การปกปองจากสงั คม

(จ) àËÂÍè× ·ÁèÕ ¤Õ ÇÒÁ͋͹áÍ·Ò§Ê§Ñ ¤Á (Socially Weak Victims) คอื
มีความออนแอทางดานสังคม เชน พวกนับถือศาสนาบางนิกาย พวกชนกลุมนอย พวกอพยพ
เขามาใหมเปนการงา ยแกการถกู เอารัดเอาเปรียบ

(ฉ) àËÂÍ×è μ¹àͧ (Self-Victimizing Victims) คือ เปน ทง้ั อาชญากร
และเปน เหย่ือพรอมกัน ไดแ ก ผูกระทาํ ผดิ คดยี าเสพติด โสเภณี รักรวมเพศ นกั การพนนั เปนตน

(ช) àËÂ×Íè ¡ÒÃàÁÍ× § (Political Victims) คอื ผูท ีเ่ ปนปฏิปก ษกนั ในทาง
การเมือง การเกิดเปน เหยอ่ื ก็เพราะฝายตรงกนั ขา มตอการทําลายลา ง

(ñ.ò) ¡ÒÃẋ§àËÂÍè× ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁμÒÁá¹Ç¤´Ô ¢Í§àÃÍÊÔ (Reiss)
การแบงเหยื่ออาชญากรรมตามแนวนี้เนนชุมชนเปนหลักไมเนนตัวบุคคล

เหมอื นกบั ของซาฟเฟอร เรอสิ ไดแบงไวด ังนี้ (Albert J. Reiss in Schneider, ๑๙๙๐ : ๒๕๕)
(ก) เหยือ่ อาชญากรรมท่เี ปน บุคคล (Individual Victims)
(ข) เหย่ืออาชญากรรมท่เี ปนกลุม (Collective Victims)
(ค) เหย่อื อาชญากรรมท่ีเปนองคการ (Organizations)
(ง) เหย่ืออาชญากรรมทเี่ ปน รฐั (The State)
(จ) เหยอื่ อาชญากรรมทเี่ ปน ชมุ ชนตามกฎหมาย (The Legal Community)
(ฉ) เหย่อื อาชญากรรมท่ีเปนชุมชนนานาชาติ (International Order)

การแบงแบบของเรอิสนี้มีประโยชนทัง้ ในการศึกษา การตกเปน เหยื่อสวนบคุ คล ชุมชน และนานาชาติ
(ñ.ó) ¡ÒÃจาํ ṡ»ÃÐàÀ·¢Í§àËÂ×èÍμÒÁËÅÑ¡ÇÔªÒ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò อาศัยหลัก

เฉพาะตวั ของเหยื่อ สามารถแบงไดด ังน้ี
(ก) เหย่ือทีย่ ั่วยใุ หเ กดิ อาชญากรรม
(ข) เหยอ่ื ทีต่ ้งั ตนอยูในความประมาท
(ค) เหย่ือทโ่ี งเ ขลา

(พระไตรปฎ กภาษาไทย, ๒๕๐๐, เลม ๒๓ : ๑๖๘๙, เลม ๔๒ : ๑๑๐, ๓๔๗)
(ñ) ·ÄÉ®áÕ ººá¼¹ã¹¡ÒÃดาํ à¹Ô¹ªÕÇÔμ (The Lifestyle Theory)
ผตู ง้ั ทฤษฎนี ค้ี อื ฮนิ เตอรแ ลงก กอตเฟรดชนั และการโ รฟาโล (Hindelang, Gottfedson,

and Garofale) มีใจความวา บุคคลจะตกเปนเหยื่ออาชญากรรมยอมข้ึนอยูกับแนวความคิดใน
การดําเนินชวี ิต เชน ชอบเส่ียงภัย ชอบดม่ื สุรากับใคร ๆ ชอบเลนการพนนั เปนตน

๒๑

(ò) ·ÄÉ®¡Õ ¨Ô ¡ÃÃÁ»ÃÐจาํ Çѹ (Routine Activity Theory)
ผตู ง้ั ทฤษฎนี ค้ี อื โคเฮนและเฟลชอน (Cohen and Felon) มใี จความวา การตกเปน เหยอ่ื

เกิดจากปจ จัยสามอยางมาประจวบเหมาะ ไดแก
(ก) ผูกระทาํ ความผิดทม่ี แี รงจงู ใจ (Motivated Offenders)
(ข) เปาหมายที่เหมาะสม (Suitable Targets)
(ค) การขาดผดู ูแลทส่ี ามารถ (Absence of Capable Guardians) (Bohm, ๒๐๐๑

: ๗๒-๗๓)
(ó) ·ÄÉ®ÕâÍ¡ÒÊ (Opportunity Theory)
ผตู ง้ั ทฤษฎนี คี้ อื โคเฮน คลเู กล และแลนด (Cohen Kluegel and Land) มใี จความวา

การตกเปน เหยอื่ นา จะเกดิ จากแบบแผนในการใชช วี ติ และการประกอบกจิ กรรมประจาํ วนั คอื นําทฤษฎี
ขอ (๒) และขอ (๓) มารวมกนั (Fattah, ๒๐๐ : ๖๔)

(ô) ·ÄɮժÒÇ´Ñ·ª (The Dutch Theory)
ผูต้ังทฤษฎีน้ีคือ แวนดิจคและสเตนเมทซ (Van Diik and Steinmetz) ซ่ึงเปน

ชาวดัทชหรือเนเธอรแลนดม ีใจความวา ปจ จยั หลกั ที่ทําใหเ กดิ การตกเปนเหยอ่ื มี ๓ ประการ คอื
(ก) ความใกลชดิ (Proximity)
(ข) ความดงึ ดูดใจ (Attractiveness)
(ค) การเปด เผยตัว (Exposure) (Fattah, ๒๐๐ : ๖๔)

(õ) ·ÄÉ®Õʶҹ·Õ·è ÁèÕ Õ¤ÇÒÁàºÂÕè §àº¹·Ò§¾ÄμÔ¡ÃÃÁ (Deviant Place Theory)
ทฤษฎีนี้มีผูทาํ การวิจัยสนับสนุนหลายทาน อาทิ กาโรฟาโล ริชารดส และผูอื่น

(Garofale, Richards, and Others) (Cited in Siegel, ๒๐๐๗ : ๗๗-๗๖)
มใี จความวา การตกเปนเหยอ่ื เกดิ จากการอาศัยอยูใ นแหลง ที่ไรข อื่ แปของบา นเมอื ง

หรอื ในแหลง ทมี่ อี าชญากรรมสงู จงึ งา ยตอ การตกเปน เหยอ่ื ไมไ ดเ กยี่ วกบั แบบแผนของการดาํ เนนิ ชวี ติ
ของเหยอ่ื แตอยา งใด

àËÂèÍ× ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁẺ¾àÔ ÈÉμÒ‹ § æ (Special Types of Victims)
(ñ) ¡ÒæÒμ¡ÃÃÁ (Homicide)

มีศพั ทท คี่ วรทําความเขา ใจเกยี่ วกับการฆาตกรรมอยหู ลายคํา ดังนี้
- การฆาตกรรมดว ยความตง้ั ใจเรยี กวา Murder
- การฆาตกรรมทีม่ ไิ ดไ ตรต รองไวกอ นเรยี กวา Manslaughter
- การฆาตกรรมจากความประมาท เชน อบุ ัติเหตเุ รียกวา Excusable Homicide
- การฆาตกรรมเพราะอาศยั เหตผุ ลในการปฏบิ ตั หิ นา ที่ เรยี กวา Justifiable Homicide

๒๒

เจสซี (Jesse) (Cited in Bloch and Geis, ๑๙๗๐ : ๒๓๕-๒๓๖) ไดแ บง การฆาตกรรม
ไว ๖ ประเภท คอื

(๑) ฆาตกรรมเพือ่ หาประโยชน (Murder for Gain)
(๒) ฆาตกรรมเพ่อื แกแคน (Murder for Revenge)
(๓) การฆาตกรรมเพอื่ กําจดั (Murder for Elimination)
(๔) ฆาตกรรมเพราะรษิ ยา (Murder for Jealousy)
(๕) ฆาตกรรมเพราะกระหาย (Murder for Lust of Killing)
(๖) ฆาตกรรมจากความเช่อื (Murder for Conviction)
โวลฟก าง (Wolfgang) ไดร ะบปุ จ จยั ไวห ลายอยา งทเี่ กย่ี วเนอ่ื งกบั การมสี ว นของเหยอื่
ตอ การฆาตกรรม กลาวคือ (Cited in Wallace, ๒๐๐๗ : ๑๑๘)
(๑) เหยื่อกับฆาตกรรมเคยสัมพันธกันมากอน เชน เปนคูครอง เปนสมาชิกใน
ครอบครัว เปนผูคนุ เคยกนั
(๒) ความไมเ หน็ ดว ยระหวา งกนั ในเรอ่ื งเลก็ นอ ย ระเบดิ เปน ความโกรธทําใหฆ า กนั
(๓) การด่มื สรุ าของเหยื่อกอนการถกู ฆาตกรรม
(ò) ¡ÒâÁ‹ ¢¹× ¡ÃÐทาํ ชาํ àÃÒ (Forcible Rape)
การขม ขนื กระทําชาํ เรา ถอื วา เปน อาชญากรรมทางเพศอยา งหนง่ึ การขม ขนื อาจจะ
กระทาํ โดยคนแปลกหนา หรอื คนคนุ เคยกนั กไ็ ด การขม ขนื โดยคนแปลกหนา เปน การแสดงความกา วรา ว
ความตอ งการทางเพศเปน แรงจงู ใจอนั ดบั รอง เหยอ่ื ของการขม ขนื จะอายเุ ทา ไรไมส ําคญั อาจจะมอี ายุ
ต้ังแต ๘ ปถึง ๘๐ ปก ไ็ ด สวยหรือนาเกลียดหรอื เชือ้ ชาติใดกไ็ ด (Fox, ๑๙๘๕ : ๒๘๘)
กรอทและผูอ่นื (Groth and Others) ไดแบงการขม ขืนไว ๓ ชนิด คือ
(๑) การใชกําลัง (Power Rapes) มีการทุบตีและแสดงความมีอาํ นาจเหนือเหยื่อ
แสดงออกถึงความเปน ผูชาย (Masculinty)
(๒) ทําดว ยความโกรธ (Anger Rapes) เพราะผหู ญงิ เคยทาํ ใหเ ขาเดอื ดรอ นมากอ น
(๓) การขมขืนเพราะนิสัยทารุณ (Sadism Rape) เพราะชอบทรมานและทารุณ
ผูหญิง ทําใหผูหญงิ อยใู นฐานะตํ่าตอย รูสกึ ต่นื เตนทไี่ ดกระทาํ เชน น้นั
(Cited in Wallace, ๒๐๐๗ : ๑๓๔-๑๓๕)
การศึกษาเมื่อไมนานมานี้พบวาผูหญิงมีความเสี่ยงตอการถูกขมขืนจากผูที่รูจักกัน
มากกวาคนแปลกหนา
การแกไ ขปญ หาเรอ่ื งนต้ี อ งอาศยั ความจรงิ จงั ในการบงั คบั ใชก ฎหมายและผหู ญงิ เอง
ก็ตองขอความชวยเหลือโดยทันที ทางท่ีดีควรเนนในเร่ืองการปองกันตนเองไวกอนก็จะชวยใหไมตอง
ตกเปนเหย่อื
มขี อ เสนอวา ขณะทเี่ รามกี ารทาํ สงครามกบั ยาเสพตดิ (War on Drugs) เราควรจะเพม่ิ
การทาํ สงครามกบั การขมขืนดว ย (War on Rape) (Wallace, ๒๐๐๗ : ๑๕๓)

๒๓

(ó) àËÂÍè× ¨Ò¡¤¤‹Ù Ãͧ (Spouses as Victims)
มีปจ จัยหลายอยางทที่ าํ ใหเกดิ ความรุนแรงจากคคู รอง อาทิ
(ก) ระยะเวลาท่อี ยูดว ยกัน (นานเกินความตอ งการ)
(ข) การขดั แยงเรือ่ งผลประโยชน
(ค) ความเครยี ดจากการมปี ฏิกิรยิ าตอ กนั
(ง) ความแตกตา งในเรื่องอายุ
(จ) ปญ หาทางดา นการเงนิ
(ฉ) ขาดความเปน สวนตวั

(Gilles, ๑๙๙๓ : ๓๑-๔๗ in Meadows, ๒๐๐๔ : ๔๗-๔๘)
ตอไปนีเ้ ปน จาํ แนกประเภทของการกระทําความผิดจากคูครอง (Spousal Abuses)
(¡) ¤ÇÒÁ¼Ô´·Ò§¨μÔ Ç·Ô ÂÒ (Psychological Abuse) ผูก ระทาํ ผดิ พยายามขม ขู

คกุ คามวา จะทํารา ย บางทกี ็ฆาสตั วเล้ียง ทําลายทรพั ยส นิ
(¢) ¤ÇÒÁ¼Ô´·Ò§ÍÒÃÁ³ (Emotional Abuse) ผูกระทําความผิดติเตียน

ไมย อมพูดดว ย ไมท าํ ตามสัญญาทําใหร สู ึกต่ําตอย
(¤) ¤ÇÒÁ¼´Ô ·Ò§àÈÃÉ°¡¨Ô (Economic Abuse) ทําใหต อ งพง่ึ พาทางดา นการเงนิ

ควบคุมการใชจายเพียงลาํ พัง ไมใหเหย่ือทํากิจกรรมนอกบาน เหย่ือตองคอยใหเหตุผลในการใชเงิน
ทกุ ครง้ั

(§) ¤ÇÒÁ¼´Ô ·Ò§à¾È (Sexual Abuse) บบี บงั คบั ในเรอ่ื งทางเพศ ทํารา ยรา งกาย
ใชภาพลามก ไมซ ื่อสัตยตอคูค รอง บังคับใหค คู รองไปเปนโสเภณี ไมรว มมือปองกันการตง้ั ครรภ

(¨) ¤ÇÒÁ¼´Ô ·Ò§ÃÒ‹ §¡Ò (Physical Abuse) ไมใ หเ งนิ ตามทต่ี กลงตามกฎหมาย
หลบเลยี่ งการดาํ เนนิ คดไี มท าํ ตามคําสงั่ ของศาล (Brown and Others in Meadows, ๒๐๐๔ : ๔๗-๔๘)

มที ฤษฎมี ากมายทอ่ี ธบิ ายการเกดิ ความรนุ แรงกบั คคู รอง แตไ มม ที ฤษฎใี ดไดร บั การ
ยอมรบั จากนกั คดิ หรอื นกั วชิ าการ

ทางออกในการปอ งกนั การกระทาํ ดงั กลา วกค็ อื ความชว ยเหลอื จากองคก รสตรี และ
การบงั คบั ใชกฎหมายอยา งจริงจัง

(ô) ¡Òû¯ÔºμÑ Ôã¹·Ò§·Õ¼è ´Ô μ‹Íà´¡ç (Child Abuse)
การปฏิบตั ิในทางทีผ่ ดิ ตอ เดก็ มีอยู ๓ ประการ คือ (Wallace, ๒๐๐๗ : ๑๘๒-๑๘๓)
(¡) ¡ÒáÃÐทาํ ¼´Ô ·Ò§ÃÒ‹ §¡Ò (Physical Child Abuse) หมายถึง การกระทํา

ใด ๆ ที่กอใหเกิดอันตรายทางรางกายแกเด็ก ท้ังน้ีมิไดเกิดขึ้นโดยอุบัติเหตุ ผูกระทาํ ก็คือผูดูแลหรือ
ควบคุมเดก็

(¢) ¡ÒÃÅзÔé§à´ç¡ (Child Neglect) การละท้ิงเด็กหรือการทอดทิ้งเด็ก คือ
การปฏิบัติในทางที่ผิดตอเด็ก โดยบิดามารดาหรือผูดูแลเด็กในสถานการณท่ีเปนอันตรายตอสุขภาพ
และสวัสดกิ ารของเดก็

๒๔

(¤) ¤ÇÒÁ¼´Ô ·Ò§à¾ÈμÍ‹ à´¡ç (Sexual Child Abuse) เปน การประกอบกจิ กรรม
ทางเพศกับเดก็ ในบางสถานการณ ซ่งึ จะเปน อันตรายตอ สขุ ภาพและสวสั ดภิ าพของเดก็

การปอ งกนั การกระทําความผดิ ตอ เดก็ เปน หนา ทข่ี องทกุ ๆ คน จาํ เปน ตอ งมสี ว นรว ม
และการรว มมืออยางจรงิ จังจากฝา ยรัฐบาล องคการเอกชน (NGOS) ภาคเอกชน ภาคธรุ กจิ ตลอดทง้ั
ชุมชนและครอบครัว สิ่งท่ีตองทําก็คือสรางสิ่งแวดลอม สงเสริมสุขภาพ สงเสริมสติปญญา สงเสริม
ความสามารถในการผลติ ใหแ กเ ดก็ ซงึ่ จะกลายเปน ประชากรของโลกในอนาคต (Yangco, ๒๐๐๖ : ๑๑๑)

(õ) ¡ÒáÃÐทาํ ¼Ô´μÍ‹ ¤¹á¡‹ (Elder Abuse)
การกระทาํ ผดิ ตอคนแกอาจจะแบง ออกไดดงั น้ี
(ก) ทาํ ผดิ ทางรางกาย (Physical Abuse) คอื การทาํ ใหเ จบ็ ปวดหรอื เปนอันตราย

ตอรา งกาย การบังคับทางรา งกาย การรบกวนทางเพศ หรอื การควบคมุ ทางรา งกาย
(ข) ความผิดทางจติ (Psychological Abuse) คอื การทาํ รายจิตใจ
(ค) ความผิดทางดานวัตถุ (Material Abuse) คือ การหาประโยชนในทางที่ผิด

กฎหมาย รวมทัง้ การใชเงินหรอื ใชท รพั ยากร
(ง) การต้ังใจละเลย (Active Neglect) ปฏเิ สธทจ่ี ะปฏบิ ตั ิตามเง่ือนไขของการดูแล

(Caretaking obligation)
(จ) การละเลยโดยไมต งั้ ใจ (Passive Neglect) ลมเหลวในการปฏบิ ตั ิตามเง่ือนไข

ของการดูแล (Wolf and others, as cited in Wallace, ๒๐๐๗ : ๒๑๒)
การกระทาํ ความผิดตอคนแกมีคําอธิบายอยูหลายทฤษฎี เชน ทฤษฎีท่ีเกิดจาก

ความเครยี ดในครอบครวั (Family Stress Theory) ความเครยี ดอาจจะเกดิ จากการขาดแคลนเงนิ ทอง
หรือมีปญหาในทางเศรษฐกิจ การไมไดหลับนอน การขาดความเปนสวนตัวในการประกอบกิจกรรม
เปนตน (Wallace, ๒๐๐๗ : ๒๑๔) นอกจากน้ยี งั มีทฤษฎี Neutralization Theory (ทฤษฎีการแกต วั )
คือ การปฏเิ สธความรับผิดชอบ ปฏิเสธการทําอันตราย ปฏเิ สธผูตกเปนเหย่อื การปรักปรําผทู ่ปี รักปรํา
ตนเอง และการอา งความจงรกั ภกั ดใี นระดบั สงู ปกตทิ ฤษฎมี กั จะเอาไปอธบิ ายการกระทําผดิ ของเยาวชน
แตน ักอาชญาวทิ ยาบางทา นก็นาํ มาอธิบายการกระทําความผดิ ตอคนแกด วย

(ö) àËÂ×Íè ¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·àèÕ ¡Ô´¨Ò¡¤ÇÒÁà¡ÅÂÕ ´ (Victims of Hate Crime)
อาชญากรรมท่เี กดิ จากความเกลยี ด หรืออาชญากรรมท่มี ีอคติ (Bias Crime) คือ

การกระทาํ ความผิดที่กระทําตอบุคคล ทรัพยสิน หรือสังคม โดยมีแรงจูงใจบางสวนหรือทั้งหมด
จากเชอ้ื ชาติ ศาสนา การขาดความสามารถ ปญ หาทางเพศ หรอื ปญ หาชนกลมุ นอ ย (Conklin, ๒๐๐๔
: ๕๔)

การกระทําความผดิ อนั เกดิ จากความเกลยี ดน้ี มกี ารกระทาํ โดยการทบุ ตี การทําลาย
สง่ิ ของ การขม ขใู หเ หยอ่ื เกดิ ความหวาดกลวั เหยอ่ื มกั จะไดร บั อนั ตรายอยา งรา ยแรง และไมก ลา แจง ให
ตํารวจทราบ เพราะกลวั อันตรายหรือกลัวการคกุ คามมากกวาเดมิ

๒๕

กลมุ อาชญากรรมทที่ ําดว ยความเกลยี ดมเี พม่ิ มากขน้ึ ในปจ จบุ นั น้ี สว นหนงึ่ เนอ่ื งมาจาก
ขาวสารท่ีเผยแพรไปตามสื่อตาง ๆ ซึ่งเปนไปอยางรวดเร็วและกวางขวาง มีการศึกษาท่ีนครบอสตัน
(Boston) พบวา ผกู ระทาํ ความผดิ มกั จะเปน คนหนมุ ผวิ ขาวอยใู นวยั รนุ ทาํ งานกนั เปน กลมุ เลก็ ๆ ออกไป
กระทาํ ผดิ ในคนื วันเสาร โดยการทบุ ตีทํารายบุคคลทเ่ี ขาไมชอบ

การแกป ญ หาความผดิ ในเรอ่ื งนต้ี อ งมคี วามจรงิ จงั ในการบงั คบั ใชก ฎหมาย ปญ หาที่
ยงั คงมีอยูก ค็ อื ยงั ไมแ นชดั วา อะไรเปนแรงจงู ใจใหเกิดการกระทําความผดิ (Conkiln, ๒๐๐๔ : ๕๕)

(÷) ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·äÕè Á‹ÁàÕ ËÂèÍ× (Victimless Crimes)
อาชญากรรมที่ไมมีเหยื่อคือ การกระทําความผิดที่เกิดจากความยินยอมและไมมี

การรองทุกขไปยังผูรับผิดชอบในการแกไขปญหา อาจจะเปนอาชญากรรมแบบนี้ไดอีกอยางหนึ่งวา
อาชญากรรมทไ่ี มม ผี รู องทุกข (Crimes without Complainants)

อาชญากรรมพวกนี้มที ส่ี ําคัญ คือ
- การกระทําความผิดเกีย่ วกบั การใชย าเสพติด (Drug Crime)
- การพนัน (Gambling)
- โสเภณี (Prostitution) (Conklin, ๒๐๐๔ : ๖๙-๗๑)
ส่ิงสําคัญก็คือ การกระทําผิดในลักษณะดังกลาวละเมิดกฎหมายดวยความเต็มใจ
ท่ีจะละเมดิ เมอ่ื ไมมผี ูรอ งทุกขก็ยากแกการจบั กุมและฟอ งรองคดตี อ ศาล
การใชยาในทางท่ีผิดจะทาํ ลายผูใชเอง บางคนตองถึงแกความตายเพราะการใชยา
เม่ือไมมีเงินซ้ือยาเสพติดก็ประพฤติตนเปนอาชญากรรมเท่ียวขโมยเงินของผูอื่น เพ่ือนําเงินมาซ้ือ
ยาเสพตดิ
การพนันในบางรัฐหรือบางประเทศก็เปนสิ่งท่ีถูกตองตามกฎหมาย เชน ในเขมร
ในสงิ คโปร ในบางมลรฐั ในสหรัฐอเมรกิ า จึงเกดิ คําถามข้ึนวา การพนันมเี หยือ่ จรงิ หรอื เปลา
สวนโสเภณีอาจจะตกเปนเหย่ือของแมงดา หรือเปนเหย่ือของลูกคา เพราะลูกคา
บางคนทํารายโสเภณีถงึ ตาย เพราะความผิดปกติทางจิต หรือตอ งการทรัพยส ินเงินทอง อยางไรกต็ าม
การประกอบกิจทํานองน้ีถือเปนการกระทาํ ความผิด เพราะกฎหมายหามไว และเร่ืองน้ีเปนปญหา
ในระดับนานาชาตดิ ว ย

๒๖

ÊûØ

อาชญากรรมน้ันมีทั้งท่ีเกิดขึ้นโดยมีเหยื่อและที่ไมมีเหย่ือ อาชญากรรมท่ีมีเหยื่อ อาทิ
การฆาตกรรม การขม ขนื กระทําชําเรา การทํารา ยรา งกาย การปลน สว นอาชญากรรมทไี่ มม เี หยอื่ อาทิ
การเปน โสเภณี การพนนั การมยี าเสพตดิ ไวใ นครอบครอง เปน ตน อาชญากรรมทมี่ เี หยอ่ื นน้ั ในบางกรณี
เหยื่อมีสวนสงเสริมใหเกิดอาชญากรรม เชน การย่ัวยุ การต้ังตนอยูในความประมาท ความโงเขลา
ความออ นแอทางกายภาพและทางจติ ใจ ความออ นแอทางสงั คม ดงั นนั้ การศกึ ษาปญ หาอาชญากรรม
จําเปน จะตอ งทาํ ความเขา ใจเรอ่ื งของเหยอ่ื ดว ย เมอ่ื มกี ารกระทําความผดิ เกดิ ขน้ึ จะโทษเฉพาะอาชญากร
เพียงขางเดียว นาจะไมถูกตอง เพราะบางทีเหย่ือก็มีสวนตอการเกิดอาชญากรรมดวยเหมือนกัน
การศึกษาเร่ืองเหยื่ออาชญากรรมจะสามารถชวยใหเขาใจความซับซอนของปญหาอาชญากรรม
ไดมากดวยเหมือนกัน นอกจากจะเขาใจประเด็นของปญหาแลวยังจะชวยสงเสริมความเปนธรรม
ในทางอาญาไดดวย การศึกษาเรื่องเหยื่ออาชญากรรมไดรับความนิยมมากข้ึนเร่ือย ๆ นับต้ังแต
หลังคริสตศ ตวรรษที่ ๒๐ เปนตนมา การศึกษาปญ หาดงั กลาวน้ีเปน ทางหนง่ึ ท่ีจะชว ยกนั แกไ ขปญ หา
อาชญากรรมใหบ รรเทาเบาบางลงได

คํา¶ÒÁ·ÒŒ º·àÃÂÕ ¹

๑. เราสามารถแบง ลักษณะของเหยอื่ อาชญากรรมออกเปน ๒ ลักษณะคือ
๒. เราสามารถแบงประเภทเหย่ืออาชญากรรมโดยยึดปจจัยทางจิตสังคม และลักษณะ
ทางรา งกายเปน หลัก แบง ออกเปน กีป่ ระเภท อะไรบา ง จงอธบิ าย
๓. อะไรคอื สาเหตขุ องการตกเปน เหยื่ออาชญากรรม

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒº· : Activities

๑. ทาํ แบบทดสอบประเมนิ ผลการเรยี นรู
๒. คําถามใหผูเรียนอธิบายความหมายของอาชญากรรม สาเหตุและปจจัยการเกิด
อาชญากรรม ประเภทของอาชญากรรม ประเภทของอาชญากร ปญหาสังคมที่นาํ ไปสูอาชญากรรม
การจดั ระเบียบสังคมและเหยอ่ื ของอาชญากรรม

๒๗

º··Õè ò

Ãкº§Ò¹ÂμØ Ô¸ÃÃÁ¡Ñº¡ÒäǺ¤ØÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

¤ÇÒÁËÁÒ¢ͧ¡ÒäǺ¤ØÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

การควบคุมอาชญากรรม (Crime Control) หมายถึง การกระทาํ กิจตาง ๆ ท่ีเกี่ยวกับ
การเสาะหาขอ เทจ็ จรงิ ของการเกดิ อาชญากรรม การจบั กมุ ผกู ระทาํ ความผดิ การฟอ งคดี การพจิ ารณาคดี
การพิพากษาคดี หรือการตัดสินลงโทษ ตลอดทั้งการปฏิบัติตอผูกระทาํ ความผิดหรืออาชญากรรม
หลังจากการพิพากษาของศาล เปนการกระทาํ ของสังคมเมื่ออาชญากรรมไดเกิดขึ้นแลว (Allen and
Others, ๑๙๘๑ : ๒๗๒)

จากความหมายของการควบคุมอาชญากรรมน้ีมีสิ่งท่ีควรพิจารณาในประเดน็ ดังตอ ไปนี้
(๑) การควบคมุ เกดิ ขึน้ เมื่ออาชญากรรมไดเ กิดขึ้นแลว
(๒) การควบคุมอาศัยการกระทาํ หลายอยาง นับต้ังแตการศึกษาขอเท็จจริงแหง
อาชญากรรม การจับกมุ อาชญากร การฟองคดตี อ ศาล การพจิ ารณาคดี และการพพิ ากษาคดีของศาล
ตลอดท้งั การปฏิบตั ติ อ ผกู ระทําความผดิ
(๓) องคก รในการควบคุมอาชญากรรม ไดแก ตํารวจ อยั การ ศาล และราชทัณฑ
(๔) ในการปฏิบัติกิจจริง ๆ องคกรทุกองคกรตองอาศัยการมีสวนรวมและความรวมมือ
จากประชาชน
(๕) การควบคุมอาชญากรรมจะตองมีการลงโทษผูกระทาํ ความผิด หากขาดการลงโทษ
กฎหมายกจ็ ะมีคา เทากับศนู ย

Ãкº§Ò¹ÂØμ¸Ô ÃÃÁ¡ºÑ ¡ÒäǺ¤ØÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

ระบบงานยตุ ธิ รรม (Criminal Justice System) คอื องคกรของรฐั บาลประกอบไปดวย
ตํารวจ อยั การ ศาล และราชทณั ฑ มคี วามรบั ผดิ ชอบในการสบื สวนสอบสวน จบั กมุ พจิ ารณาพพิ ากษาคดี
ลงโทษและแกไ ขฟนฟูผกู ระทําความผดิ กฎหมายอาญา (Siegel, ๒๐๐๗ : ๕๐๒)

ตามความหมายนี้แสดงใหเห็นวาองคกรสาํ คัญประกอบกันข้ึนทาํ หนาที่ควบคุม
อาชญากรรม แตละองคกรทาํ หนาที่ตามท่ีไดรับมอบหมายไมมีการกาวกายกัน แตตองทาํ งานอยาง
ประสานสัมพันธกันอยางใกลชิด ตองไมขัดแยงกัน และตองกระทาํ ดวยความซ่ือสัตยสุจริต ยึดความ
เปนธรรมตามกฎหมาย คือ มีการลงโทษผูกระทาํ ความผิดตามสัดสวนของความผิด มีการปฏิบัติท่ี
เทาเทียมกันตามกฎหมาย ไมมีอคติแกผูกระทาํ ความผิดคนใด และมีความกรุณาตามบุคลิกภาพของ
ผกู ระทาํ ความผิดและเหตแุ หง การกระทําความผิด (Levine and Others, ๑๙๘๐ : ๒๔-๒๘)

๒๘

Ãкº§Ò¹ÂμØ ¸Ô ÃÃÁμÑ駢ֹé â´ÂÁÕ¨´Ø Á§‹Ø ËÁÒ´ѧ¹Õé ¤Í×

(๑) ลงโทษผกู ระทาํ ความผิด กฎหมายอาญาไดกําหนดไวชดั เจนวา ความผดิ ชนดิ ใดควร
จะไดรับโทษอยา งไร และศาลคอื ผพู ิจารณาตดั สนิ ลงโทษผูกระทาํ ความผิด

(๒) นาํ ผกู ระทาํ ความผดิ ทเ่ี ปน อนั ตรายออกไปจากชมุ ชน ทง้ั นเี้ พอื่ ปอ งกนั มใิ หป ระชาชน
เกิดความกลัว รูสึกไมปลอดภัย เปนอุปสรรคตอการทาํ มาหากิน การพัฒนาตนเอง และการพัฒนา
ชมุ ชน

(๓) ปองกันการประกอบอาชญากรรม คือ ปองกันการเอาเย่ียงอยางและปองกัน
การกระทําผิดซ้าํ การปอ งกนั จะประสบผลสาํ เรจ็ ขึน้ อยูก ับการลงโทษอยางเดด็ ขาด แนน อนไมช ักชา

(๔) แกไ ขฟน ฟูผกู ระทาํ ความผดิ ใหเปน คนดี ภารกจิ หนกั ในเรือ่ งนีอ้ ยูท อ่ี งคก ารราชทัณฑ
แตในการทําหนาท่ีขององคกรน้ีก็ตองอาศัยการมีสวนรวมจากองคกรอื่น ๆ และจากประชาชน
โดยทั่วไปดวย (The President’ s Commission on Law Enforcement and Administration
of Justice, ๑๙๗๖ : ๗)

วัตถปุ ระสงคห รอื จุดมุง หมายทงั้ ๔ ประการของระบบงานยุตธิ รรมนี้ หากกลา วอยางสรุป
ก็ประกอบไปดว ย

- การลงโทษผูกระทําความผดิ
- นําผกู ระทําความผิดออกจากชุมชนของการกระทาํ ความผดิ
- ปองกนั การกระทําความผดิ
- แกไ ขจิตใจของผทู ไี่ ดกระทาํ ความผิด
วัตถปุ ระสงคกค็ ือ ทศิ ทางของการทํางาน จึงอาจจะกลาวไดวาระบบงานยตุ ิธรรมทาํ งาน
สี่ทิศทางดวยกัน และเม่ือทําครบทั้งส่ีทิศทาง ก็จะสามารถแกปญหาอาชญากรรมใหลดลงได ท้ังสี่
ทิศทางท่ีกลาวถึงนั้น ถาจะสรุปใหเหลือเพียงทิศทางเดียวก็คือ การลงโทษผูกระทําความผิดนั้นเอง
เพราะฉะนน้ั จงึ อาจจะกลา วไดว า ระบบงานยตุ ธิ รรมตง้ั ขนึ้ มากเ็ พอื่ ลงโทษผกู ระทําความผดิ การกระทาํ
ทุกอยางจะเนนไปท่ีการลงโทษ และการลงโทษเปนสิ่งจําเปนตอการปกปองคุมครองประชาชน
ใหม คี วามมน่ั คงปลอดภยั และการลงโทษจะมคี วามยตุ ธิ รรมกต็ อ งมคี วามปลอดภยั ไดเ กดิ แกป ระชาชน
ความปลอดภยั ถอื เปน สง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิ์ เปน สง่ิ ทม่ี อิ าจจะหลกี เลยี่ งได ทง้ั นเี้ พอ่ื สง เสรมิ ความมอี สิ รภาพยงิ่ ๆ
ขึน้ ไป (Becearia in Melaughlim, Munciec and Hughes, ๒๐๐๓ : ๑๖-๑๗)
สิง่ ที่ควรจะทําความเขาใจตอไปก็คอื เปา หมายหรอื เหตผุ ลของการลงโทษวามีอยอู ยา งไร

๒๙

à»Ò‡ ËÁÒ¢ͧ¡ÒÃŧâ·É

เปาหมายของการลงโทษ (Goals of Punishment) น้ีบางทีก็เรียกกันวาปรัชญาในการ
ลงโทษ บางทกี เ็ รยี กกนั วา ทฤษฎใี นการลงโทษ จะเรยี กอยา งไรกย็ อ มได แตเ ปน เรอ่ื งของความพยายาม
ของระบบงานยุติธรรมที่จะทาํ ใหเกิดผลสําเร็จ เรื่องของการลงโทษจึงเปนเร่ืองของการกระทาํ ใหเกิด
ความสาํ เรจ็ ซงึ่ ถือเปน เรื่องสาํ คญั มากกวาอยางอน่ื

เปาหมายของการลงโทษมีอยทู ง้ั ส้ิน ๖ ประการ คอื
(ñ) ¡ÒÃŧâ·Éà¾×èÍ¡ÒÃᡌᤌ¹ (Retribution) การลงโทษในขอน้ีก็เพ่ือตอบสนอง
การกระทําที่ทําความเดือดรอนใหแกสังคม อาชญากรรมเปนสิ่งท่ีทาํ ความไมปลอดภัยใหเกิดขึ้น
จึงตองมกี ารลงโทษอยา งสาสมตอผูกระทาํ ความผิด
(ò) ¡ÒÃŧâ·Éà¾Íè× ÂºÑ Â§éÑ ¡ÒûÃСͺÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Deterrence) เปา หมายของการ
ลงโทษขอนี้กเ็ พ่อื ยบั ยงั้ มใิ หมีการกระทําความผดิ และการยบั ยั้งมอี ยู ๒ ลักษณะ คือ ยับยั้งแบบทวั่ ไป
(General Deterrence) คอื ยบั ยงั้ มใิ หป ระชาชนทว่ั ไปกระทําความผดิ และยบั ยง้ั แบบเฉพาะ (Specific
Deterrence) เปน การยับยัง้ ผทู ่เี คยกระทําความผิดไดก็คือ การลงโทษท่แี นน อนและรวดเรว็
(ó) ¡ÒÃŧâ·Éà¾×èÍᡌ䢿œ„¹¿Ù¼ÙŒ¡ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´ (Rehabilitation) เปาหมายของ
การลงโทษขอนี้ก็คือ การเปล่ียนพฤติกรรมของผูกระทาํ ความผิดเปนการลงโทษอยางมีมนุษยธรรม
และสงเสริมความเขาใจตนเองมากกวาการลงโทษแบบการแกแคน อยางไรก็ตาม การลงโทษ
ตามเปาหมายนี้ตองอาศัยโครงการท่ีเหมาะสมในการปฏิบัติตอผูกระทาํ ความผิด เพราะโครงการ
ท่เี หมาะสมจะสงเสริมความคิดในทางบวกของผูกระทําความผดิ มที ัศนคติที่ดตี อ ตนเองและตอ ผอู นื่
(ô) ¡ÒÃŧâ·Éà¾è×Í¢¨Ñ´¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼Ô´ (Incapacitation)
เปาหมายของการลงโทษประการน้ีก็เพ่ือจํากัดการกระทาํ ความผิดของอาชญากร เมื่ออาชญากรอยู
ในทค่ี มุ ขงั ยอ มไมส ามารถทจี่ ะกระทําความผดิ ตอ ไปได แตก ารขจดั ความสามารถในการกระทําความผดิ
ท่ีไดผลมากท่ีสุดก็คือการประหารชีวิต ถือเปนการลงโทษท่ีรายแรงท่ีสุด สวนการจําคุกก็มี
ความรายแรงรองจากการลงโทษประหารชีวิต การจาํ คุกสามารถลดปญหาอาชญากรรมลงไปได
เปนอันมาก เพราะใคร ๆ ก็กลัวการถกู ลงโทษจาํ คกุ
(õ) ¡ÒÃŧâ·Éà¾Íè× ¤ÇÒÁÂØμÔ¸ÃÃÁμÒÁ¤ÇÒÁ¼Ô´ (Just Deserts) เปาหมายขอ นถ้ี ือวา
ผกู ระทาํ ความผดิ ไดก ระทําความเสยี หายใหแ กส งั คม จงึ สมควรจะไดร บั โทษตามสดั สว นแหง ความเสยี หาย
ทเ่ี กดิ ขนึ้ คอื ถา ทาํ ความเสยี หายมากกส็ มควรจะไดร บั โทษหนกั ถา ทาํ ความเสยี หายนอ ยกค็ วรจะไดร บั โทษ
สถานเบา โทษกับความเสียหายจะตองไปดวยกัน ความยุติธรรมของการลงโทษอยูท่ีการพิจารณา
อยางรอบคอบตอความเสียหายทเ่ี กิดข้นึ หากพจิ ารณาเปน อยา งอ่ืน ความยตุ ิธรรมกจ็ ะไมเ กดิ
(ö) ¡ÒÃŧâ·Éà¾×èͤÇÒÁÂØμÔ¸ÃÃÁàª§Ô ÊÁÒ¹©¹Ñ · (Restorative Justice) เปาหมาย
ของการลงโทษขอ น้ี มแี นวความคดิ มาจากเรอ่ื ง การชดใชค วามเสยี หายทเ่ี กดิ ขนึ้ หากผกู ระทําความผดิ
สามารถชดใชคาเสียหายไดก็จะสามารถทาํ ใหบรรยากาศในชุมชนกลับดีดังเดิม การลงโทษตาม

๓๐

เปาหมายนีเ้ นนเรอ่ื งการแกไ ขฟนฟูผูเกีย่ วขอ งสามฝาย คอื อาชญากร เหยือ่ อาชญากรรม และชุมชน
ทเ่ี กดิ อาชญากรรม ใหก ลบั คนื สสู ภาพเดมิ คอื สภาพกอ นเกดิ อาชญากรรม ความสมานฉนั ท จะเกดิ ขน้ึ ได
กต็ อ เมอ่ื ฝา ยทเ่ี กยี่ วขอ งหนั หนา เขา หากนั และตกลงรว มกนั วา จะใหอ าชญากรชดใชค า เสยี หายอยา งไร
ทัง้ นีต้ อ งมีคนกลางคอยไกลเ กลี่ยจึงจะประสบผลสําเรจ็ ตามเปาหมาย (Bartollas, ๒๐๐๒ : ๗๑-๗๒)

เมอื่ ไดเ รยี นรวู า ระบบงานยตุ ธิ รรมคอื อะไร มวี ตั ถปุ ระสงคอ ยา งไรแลว เปา หมายในการลงโทษ
คืออะไรแลว ยังมีอีกสิ่งหน่ึงที่ควรแกการทาํ ความเขาใจ นั่นก็คือตัวแบบในการควบคุมอาชญากรรม
การทําความเขา ใจเรอ่ื งตวั แบบในการควบคมุ อาชญากรรมนนั้ กเ็ พอื่ จะไดร วู า ในการทาํ งานของระบบงาน
ยุตธิ รรมนั้น ยดึ ระบบอะไรเปนหลกั ในการบรหิ ารจดั การเพราะตัวแบบกค็ ือ ระบบยอ ยของการทํางาน
นั่นเอง ในเรือ่ งของการควบคุมอาชญากรรมมตี ัวแบบอยางไรจะไดเสนอใหพ จิ ารณากันตอ ไป

μÑÇẺ㹡ÒäǺ¤ØÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ (Crime Control Models)

เรอ่ื งตวั แบบในการควบคมุ อาชญากรรมนน้ั ทา นผรู ไู ดแ บง ไว ๒ ตวั แบบดว ยกนั คอื ตวั แบบ
ในการปราบปราม และตวั แบบในการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายในเรอ่ื งนี้ พาคเคอร (Packer) ไดแ สดงทศั นะ
ของตัวแบบทั้งสองไวด งั ตอ ไปนี้ คอื (Packer in Conrad, ๑๙๗๔ : ๕๕-๕๖)

ตวั แบบในการปราบปรามหรอื การควบคมุ อาชญากรรม (Crime Control Model) ใหค วาม
สาํ คญั ในเรือ่ งความสามารถในการจบั กมุ การพจิ ารณาคดี การตดั สินหรือการพิพากษาคดี และจะตอ ง
พยายามกาํ จดั อาชญากรรมท่มี อี ัตราการเกิดสงู ภารกิจทส่ี าํ คัญสงู สุดในการแกไ ขปญหาอาชญากรรม
คือ ภารกจิ ของตํารวจ ตํารวจจะตองเลอื กปฏิบัตงิ านอยางรวดเรว็ และเดด็ ขาด ตวั แบบในการควบคมุ
เนนเร่ืองการลดปญหาอาชญากรรม ซ่ึงถือวาเปนจุดหมายสําคัญ บทบัญญัติของฝายบริหารเปน
ขอ ผกู มดั ในการใชอ ํานาจ ดงั นน้ั ความเปน ธรรมตามกฎหมายจะไมเ กดิ ขน้ึ แกป ระชาชน ตวั แบบชนดิ น้ี
นยิ มใชใ นสงั คมปด หรอื สงั คมทปี่ กครองแบบเผดจ็ การ สมยั ทฝ่ี า ยเผดจ็ การครองอํานาจในสงั คม ไมว า
ในประเทศใด กจ็ ะนาํ ตวั แบบในการปราบปรามมาใช ตวั แบบนยี้ ดึ ถอื วา ผกู ระทําความผดิ คอื ผไู มบ รสิ ทุ ธ์ิ
เปนขอสนั นิษฐานกอ นศาลตัดสินลงโทษ

สว นตัวแบบในการปฏิบัตติ ามกฎหมาย (Due Process Model) นน้ั ยึดหลกั วาบคุ คลมี
ความผดิ และไดร บั โทษกต็ อ งผา นการตดั สนิ ของศาลเสยี กอ น หากศาลยงั ไมต ดั สนิ กถ็ อื วา ยงั บรสิ ทุ ธอิ์ ยู
การตัดสนิ ของศาลจะตองดําเนินไปตามพยานหลกั ฐานทปี่ รากฏอยู และหลักฐานตา ง ๆ จะตอ งไดม า
โดยถูกตองตามกฎหมาย ความเปนธรรมตามกฎหมายจะตองเกิดข้ึนทุกข้ันตอนของการดําเนินคดี
ถา ความเปน ธรรมไมเ กดิ ขน้ึ ในกระบวนการยตุ ธิ รรม การแกไ ขปญ หาอาชญากรรมกจ็ ะไมบ รรลจุ ดุ หมาย
ตามตวั แบบของการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายนป้ี ระชาชนสามารถรบั รขู อ ผดิ พลาดตา ง ๆ ไดจ ากศาล ตวั แบบ
ในการปฏิบตั ิตามกฎหมายนิยมใชในประเทศทป่ี กครองแบบประชาธิปไตย หรอื ในสังคมเปด

๓๑

ÊûØ

การควบคุมอาชญากรรมเปนการกระทําเมื่ออาชญากรรมไดเกิดขึ้นแลว แตกระทําให
อาชญากรรมอยูในระดับที่พอจะรับได คือทําใหรูสึกวาอาชญากรรมท่ีมีอยูในสังคมบางนั้นไมเปน
อนั ตรายตอ สงั คม การควบคมุ อาชญากรรมจงึ ใหค วามสาํ คญั ในเรอื่ งการดําเนนิ คดกี บั ผกู ระทําความผดิ
นับตั้งแตการสืบสวนสอบสวน การจับกุม การฟองคดี การพิจารณาขอเท็จจริงแหงคดี การพิจารณา
วา ผกู ระทาํ ไดป ระกอบอาชญากรรมจรงิ หรอื ไม ถาทําผิดจริงกจ็ ะพจิ ารณาตดั สินโทษตามหนกั เบาของ
ความผิด คือ ถาทาํ ผิดดวยความตั้งใจก็จะลงโทษหนัก ถาทาํ ผิดดวยความประมาทก็จะลงโทษเบา
ดงั นนั้ การควบคมุ อาชญากรรมจงึ เนน ในเรอื่ งของการลงโทษเปน หลกั และทา มกลางการลงโทษในลกั ษณะ
ตา ง ๆ ก็มกี ารฟน ฟจู ติ ใจไปดว ย เพอื่ ใหผ ูกระทาํ ความผดิ กลายเปน คนดีของสังคมตอ ไป สามารถดาํ รง
ชีวิตตามปกตใิ นชมุ ชนรว มกับผอู นื่ โดยไมก อความเดือดรอ นเหมือนทแี่ ลว มา

๓๓

º··èÕ ó

·ÄÉ®ÍÕ ÒªÞÒÇ·Ô ÂÒáÅСÒû͇ §¡¹Ñ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

ÇÑμ¶Ø»ÃÐʧ¤

๑. ผูเรียนเขาใจแนวคิดทฤษฎีการปองกันปราบปรามอาชญากรรม ซึ่งไดแก ทฤษฎี
การบงั คบั ใชก ฎหมาย ทฤษฎกี ารควบคมุ ทางสงั คม ทฤษฎชี มุ ชนสมั พนั ธ ทฤษฎกี ารควบคมุ อาชญากรรม
โดยสภาพแวดลอม ทฤษฎีตาํ รวจรบั ใชช มุ ชน ทฤษฎีหนาตางแตก

๒. ผูเรียนสามารถอธิบายแนวคิดทฤษฎีการปองกันปราบปรามอาชญากรรม ซ่ึงไดแก
ทฤษฎีการบังคับใชกฎหมาย ทฤษฎีการควบคุมทางสังคม ทฤษฎีชุมชนสัมพันธ ทฤษฎีการควบคุม
อาชญากรรมโดยสภาพแวดลอ ม ทฤษฎตี าํ รวจรบั ใชช มุ ชน ทฤษฎหี นาตา งแตก

ÇÔÇѲ¹Ò¡Òâͧ·ÄÉ®ÕÍÒªÞÒÇÔ·ÂÒ

การศึกษาดานอาชญาวิทยาเร่ิมตนจากความไมเปนธรรมของการลงโทษผูท่ีกระทําผิด
ของคนในสังคม ซง่ึ ตามแนวคดิ เดมิ มคี วามเชื่อวา อาชญากรรมเกดิ จากอาํ นาจช่ัวราย หรือภตู ผปี ศาจ
ดังน้ันแนวความคิดเดิมจะเนนไปท่ีความเช่ือทางไสยศาสตรเหนือธรรมชาติเปนหลัก ทําใหลักษณะ
ของการดําเนินการลงโทษเปนแบบรุนแรง น่ันคือการทรมานและการทําลายชีวิตตามอําเภอใจของ
ผปู กครอง เพือ่ เปน การทําลายส่ิงช่วั รา ยใหหมดไปจากสังคม จากปญ หาความโหดรา ยและไมเ ปน ธรรม
ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในสงั คม ทาํ ใหเ กดิ ความคดิ ทจ่ี ะปฏริ ปู ระบบกฎหมายซง่ึ อยบู นพนื้ ฐานของความเชอ่ื ทวี่ า บคุ คล
กระทําความผิดดวยความสมัครใจและการลงโทษนั้น ควรจะลงโทษใหเหมาะสมกับความรายแรง
ของอาชญากรรม ท้ังนี้เพื่อเปนการยับยั้งการกระทําความผิด โดยแนวคิดนี้คือ แนวคิดของ
สาํ นกั อาชญาวทิ ยาดง้ั เดมิ (Classical school of criminology) ซงึ่ เปน แนวคดิ อาชญาวทิ ยายคุ แรกเรมิ่

ในยคุ ตอ มามกี ารปรบั ปรงุ แกไ ขทฤษฎยี คุ แรกเรม่ิ โดยใหม กี ารพจิ ารณาถงึ สภาวะของบคุ คล
และความสามารถของบุคคลในการคิดไตรตรอง ซ่ึงสงผลทําใหเกิดกระบวนพิเศษสําหรับผูที่ขาด
ความสามารถในการคดิ ไตรต รอง เชน เดก็ และเยาวชน บคุ คลวกิ ลจรติ เปน ตน แนวคดิ ใหมน คี้ อื แนวคดิ
อาชญาวิทยาดัง้ เดิมแบบใหม (Neo-classical school of criminology)

หลังจากนั้นระบบความคิดดานอาชญาวิทยาก็ไดมีการเปล่ียนแปลงมาสูแนวคิดท่ีมีความเปน
วิทยาศาสตรมากยิ่งข้ึน โดยอาชญากรรมน้ันถูกมองวาไมไดเกิดข้ึนจากความสมัครใจของตัวบุคคล
แตเกิดจากปจจัยอื่นๆ ท่ีอยูนอกเหนือการควบคุมของบุคคล ซ่ึงแนวคิดน้ีเปนของสํานักปฏิฐานนิยม
(Positive School of criminology) โดยแนวคิดน้ีเริ่มตนจากการศกึ ษาปจจัยทางดานชวี วทิ ยาทเี่ ปน
สาเหตุใหคนมพี ฤติกรรมอาชญากรรม นนั่ คือ คนบางคนเกดิ มาก็มลี ักษณะทเ่ี ปนอาชญากรแลว เชน
การมีรปู รา งหนา ตาท่ผี ิดปกติ ซ่งึ ลักษณะทางกายภาพนค้ี นเหลานไี้ มสามารถทีจ่ ะเลอื กได จากนนั้ จงึ มี
การศึกษาสาเหตุของอาชญากรรมที่มาจากปจจัยทางดานความผิดปกติทางดานจิตใจ บุคลิกภาพ

๓๔

และสภาวะอารมณ ซ่ึงเกิดจากการพัฒนาการที่ผิดปกติทางดานจิตใจและอารมณ นอกจากนี้ตอมา
ยงั มกี ารศกึ ษาปจ จยั อนั เปน สาเหตขุ องอาชญากรรมอกี กลมุ หนง่ึ ซงึ่ มกี ารยอมรบั อยา งแพรห ลายจนถงึ
ปจ จบุ นั วา ปจ จยั ทางดา นสงั คมวทิ ยามผี ลตอ การเกดิ อาชญากรรม โดยปจ จยั ทางดา นสงั คมวทิ ยาเหลา นี้
ไดแ ก การอบรมเลย้ี งดู ลกั ษณะของครอบครวั เพอื่ น สถานะทางสงั คมและเศรษฐกจิ การศกึ ษา ลกั ษณะ
ทอี่ ยูอ าศัย เปนตน

ตอมาไดมีแนวคิดแนวใหมเกิดข้ึน โดยมุงเนนการอธิบายอาชญากรรมภายใตกรอบของ
ระบบเศรษฐกิจและการเมือง ซ่ึงประกอบไปดวย อํานาจ ผลประโยชน และความขัดแยงของกลุม
ตางๆ ในสังคม ซ่ึงแนวคิดเหลาน้ีเปนของสํานักอาชญาวิทยาสมัยใหม (Postmodern school of
criminology) นอกจากน้ียังมีแนวคิดในเชิงวิจารณแนวคิดของสํานักอาชญาวิทยาด้ังเดิม ซึ่งนําไปสู
แนวคดิ ทตี่ อ ตา นระบบการลงโทษหรอื การใชค วามรนุ แรงในการแกไ ขปญ หาอาชญากรรม ซงึ่ ถอื วา เปน
แนวคดิ สมยั ใหมแ ละมกั ถกู เรยี กวา Critical criminology โดยแนวคดิ เหลา นสี้ ง ผลตอ การเปลยี่ นแปลง
ในกระบวนการยุตธิ รรมทางอาญาในปจ จบุ นั

สาํ หรบั ในยคุ ปจ จบุ นั การศกึ ษาอาชญากรรมเปน การศกึ ษาดว ยวธิ กี ารผสมผสานการรวมเอา
ทฤษฎีตางๆ มารวมเขาดวยกันเพื่ออธิบายอาชญากรรม (Integrated theories) ซึ่งทําใหเกิด
ความเขา ใจในปรากฏการณอาชญากรรมรอบดา นและลึกซง้ึ มากย่ิงขน้ึ

¡ÒÃẋ§·ÄÉ®ÕÍÒªÞÒÇ·Ô ÂÒ

หากจะแบงทฤษฎีอาชญาวิทยาเปนกลุมใหญๆ โดยใชหลักอางอิงถึงสาเหตุของการเกิด
อาชญากรรมสามารถแบง ออกเปน ๓ กลุม ดังนี้

๑. กลุมทฤษฎีอาชญาวิทยาท่ีเชื่อวาบุคคลเลือกท่ีจะกออาชญากรรม กลุมทฤษฎีนี้
มองวา มนษุ ยม คี วามคดิ มเี หตผุ ลในการทจี่ ะตดั สนิ ใจทจี่ ะลงมอื กระทาํ ผดิ โดยปราศจากสงิ่ บงั คบั ทง้ั จาก
ภายนอกและภายใน โดยคํานึงถึงผลที่จะตามมาภายหลัง ดังนั้นมนุษยจึงมีความอิสระในการเลือก
หรือกาํ หนดพฤตกิ รรมของตนเอง ทฤษฎีกลุมนี้ ไดแ ก สํานกั อาชญาวทิ ยาด้งั เดิม (Classical school
of criminology) ซงึ่ มที ฤษฎที ถี่ กู พฒั นาขน้ึ มาจากแนวคดิ น้ี คอื ทฤษฎกี ารยบั ยงั้ ปอ งกนั (Deterrence
theory) ทฤษฎกี ารเลือกอยา งมีเหตผุ ล (Rational choice theory) และทฤษฎีปกติวิสยั (Routine
activity theory)

๒. กลมุ ทฤษฎอี าชญาวทิ ยาทเ่ี ชอ่ื วา อาชญากรถกู บงั คบั ใหก ระทาํ ผดิ กลมุ ทฤษฎนี เี้ ชอื่ วา
มนุษยมีพฤติกรรมซึ่งถูกกําหนดโดยปจจัยท่ีอยูนอกเหนือการควบคุมของมนุษย แนวคิดน้ีคือ
สํานกั อาชญาวิทยาปฏิฐานนิยม (Positive school of criminology) ซง่ึ สามารถจําแนกตามปจ จยั
เปนกลุมยอยได ๓ กลุม คือ กลุมทฤษฎีที่กลาวถึงปจจัยอาชญากรรมทางดานกายภาพและชีวภาพ
(Biological theories of crime) กลุมทฤษฎีท่ีกลาวถึงปจจัยอาชญากรรมทางดานจิตวิทยา
(Psychological theories of crime) และกลมุ ทฤษฎที กี่ ลา วถงึ ปจ จยั อาชญากรรมดา นสภาพแวดลอ ม

๓๕

ทางสังคม (Sociological theories of crime) ดังนั้นปจจัยตางๆ เหลาน้ีซ่ึงอยูเหนือการควบคุม
ของมนุษยเปนตัวกาํ หนดพฤติกรรมมนุษย

๓. กลมุ ทฤษฎอี าชญาวทิ ยาทเี่ ชอื่ วา กฎหมายกาํ หนดใหพ ฤตกิ รรมอาชญากรรมเปน ความผดิ
กลุมทฤษฎีน้ีเช่ือวาพฤติกรรมของมนุษยไมไดเปนพฤติกรรมอาชญากรรม หากกฎหมายไมไดกําหนด
ใหพฤติกรรมนั้นเปนอาชญากรรม ดังน้ันพฤติกรรมที่ฝาฝนกฎหมายจึงเปนอาชญากรรม
สวนพฤติกรรมใดที่ไมขัดตอกฎหมายก็ไมถือวาเปนอาชญากรรม โดยกฎหมายจะกําหนดใหเฉพาะ
พฤติกรรมท่ีมีภัยตอผลประโยชนของกลุมคนท่ีมีอํานาจในการออกกฎหมาย ซ่ึงทฤษฎีกลุมนี้
เปน แนวคดิ อาชญาวทิ ยาแนวใหม (Post-modern/radical/critical/criminology) โดยทฤษฎใี นกลมุ นี้
ประกอบดวย ทฤษฎีขัดแยง (Conflict theory) ทฤษฎีมารคซิสท (Marxist theory) ทฤษฎี
นโี อมารค ซสิ ท (Neo-marxist theory) ทฤษฎภี าพลกั ษณข องสตรี (Feminist theory) ทฤษฎฝี า ยซา ย
(Left realism theory) และทฤษฎีการสรา งสนั ติภาพ (Peace-making theory)

ตํารวจเปนผูมีหนาท่ีโดยตรงในการปองกันอาชญากรรม องคกรตํารวจของทุกประเทศ
มักจะใหความสําคัญในการปองกันอาชญากรรมเปนอันดับแรก โดยยึดหลักที่วา “การปองกันมิให
อาชญากรรมเกิดข้นึ ดีกวาการปราบปรามเมอ่ื เกดิ อาชญากรรมข้นึ แลว” ยอ มกอใหเกดิ ความเสยี หาย
ตอ ชีวติ หรือทรัพยส นิ ถงึ แมจ ะปราบปรามดว ยการจับกมุ ผกู ระทําผดิ ตามความเสยี หายดงั กลาวกม็ ิได
รบั การทดแทนหรอื ชดใชใ หก ลบั คนื มาดงั เดมิ เซอร โรเบริ ต พลี (Sir Robert Peel) บดิ าของการตาํ รวจ
ยคุ ใหม ผูกอ ต้งั กรมนครบาลแหง ลอนดอนขนึ้ เม่อื ค.ศ.๑๘๒๙ ไดกลา ววา “การปองกันอาชญากรรม
งานหลักของตํารวจ ซงึ่ มีความสําคัญกวา การสืบสวนสอบสวน จบั กมุ หรอื ลงโทษผกู ระทําผิด”

สาํ นกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ไดว างหลกั เกณฑใ นเรอื่ งการปอ งกนั และปราบปรามอาชญากรรม
ไวตามประมวลระเบียบการตาํ รวจไมเกี่ยวกบั คดีลกั ษณะ ๒๔ บทท่ี ๑ ขอ ๑ วา

การปองกันมิใหอาชญากรรมเกิดขึ้นไดนั้น ยอมดีกวาการที่จะปลอยใหมีเกิดข้ึนเสียกอน
แลวจึงคอยระงับปราบปราม เพราะเมือ่ เกิดขน้ึ แลวยอ มทําความเสียหายแกป ระชาชนและแกร ัฐ

การปราบปรามเปนเพียงการบรรเทาผลรายหรือลดความเสียหายลงบางเพียงบางสวน
เทานนั้ แมจะไดผลดบี างรายแตความเสียหายก็ไดเกิดขึ้นเสยี กอ นแลว

ในการปองกันอาชญากรรม ไดมีนักคิด นักทฤษฎี นักวิชาการ ตลอดจนผูรูหลายทาน
หลายสํานัก พยายามสรางหรือใหความคิดเห็นในเรื่องวิธีการ มาตรการ หรือแนวทางในการปองกัน
อาชญากรรมมิใหเกิดข้ึนหรือลดปริมาณการเกิดอาชญากรรมในสังคมใหนอยลง เพื่อความสงบสุข
ของประชาชน โดยไดน าํ เอาทฤษฎีการปอ งกันอาชญากรรมตางๆ มาเปนแนวทางในการใหเจาหนาที่
ผูรักษาความสงบเรียบรอยซึ่งก็คือ ตํารวจนําไปใชในการปองกันอาชญากรรมบังเกิดผลเปนรูปธรรม
ข้นึ มา อนั จะนํามากลาวตอไป ดงั น้ี

๓๖

·ÄɮաÒû͇ §¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

การปองกันอาชญากรรมเปนภารกิจของตํารวจ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเปนการควบคุม
อาชญากรรมและรกั ษาความสงบเรยี บรอ ย การปอ งกนั เปน ยทุ ธวธิ ใี นเชงิ รกุ ของตาํ รวจตามหลกั ทฤษฎี
การปองกันอาชญากรรม ไดม กี ารศกึ ษาคนควาไวหลายทฤษฎี ซงึ่ พอจะสรปุ ได ๖ ทฤษฎี คือ

ñ. ·ÄÉ®¡Õ Òúѧ¤ºÑ 㪌¡®ËÁÒ (Enforcement Approach) สาระสาํ คัญของทฤษฎีน้ี
พอสรุปไดวาการปรากฏตัวของตํารวจยอมมีผลในการยับย้ังผูที่มีแนวโนมจะประกอบอาชญากรรม
เพราะความเกรงกลวั การถกู จบั กมุ ฉะนน้ั ตาํ รวจสายตรวจจงึ ตอ งแตง เครอื่ งแบบและรถวทิ ยสุ ายตรวจ
จึงควรมีลักษณะเดนชัดเห็นไดงาย เพ่ือเปนการขมขวัญยับยั้งอาชญากรที่คิดจะกออาชญากรรม
นอกจากนี้การตรวจทองท่ีโดยสม่ําเสมอตอเน่ือง จะทําใหสมาชิกในชุมชนเกิดความรูสึกวามีตํารวจ
อยูทั่วไปทุกหนทุกแหง ดวยเหตุผลน้ีตามแนวทฤษฎีบังคับใชกฎหมาย การปรากฏตัวของตํารวจและ
การกระจายกําลังตํารวจใหครอบคลุมท่ัวทั้งชุมชน จะชวยปองกันอาชญากรรม โดยลดชองโอกาส
สําหรับผูที่ตั้งใจจะละเมิดกฎหมาย อน่ึง งานตรวจทองที่ของตํารวจมีลักษณะเปนไดท้ังงานประจํา
และงานเฉพาะกิจในลักษณะงานประจํา ตํารวจสายตรวจมักไดรับการกําหนดพื้นที่รับผิดชอบในการ
ปอ งกันอาชญากรรมและระงับเหตรุ ายภายในระยะเวลาแตละผลดั ทป่ี ฏิบัติหนา ท่ี สว นในลกั ษณะงาน
เฉพาะกิจนั้น ตํารวจสายตรวจในทุกพ้ืนที่คือกําลังหลักที่พรอมจะรวมตัวในทันทีที่ไดรับคําสั่งจาก
ศูนยบญั ชาการ เพอ่ื ปฏบิ ตั ิงานเฉพาะกิจเรงดว น

ò. ·ÄɮաÒäǺ¤ØÁ·Ò§Êѧ¤Á (Social Bond Theory) ทฤษฎีน้ีเปนการกลาวถึง
การควบคุมมิใหเกิดอาชญากรรม โดยไดรับอิทธิพลจากสังคมโดยธรรมชาติคนทุกคนยอมตองการ
การยอมรับจากสังคมท่ีเราคบหาสมาคมดวยและก็เปนความตองการของมนุษยอีกอยางหน่ึงดวย
อกี ประการหน่ึง ทุกสงั คมยอมตอ งมีบรรทัดฐานของสังคมนน้ั ๆ

บรรทัดฐาน คือ กฎปฏบิ ตั ทิ ่ใี ชก นั ในสงั คม ซึง่ กาํ หนดวา สง่ิ ใดควรทาํ และส่ิงใดไมค วรทํา
บรรทดั ฐานเปนตัวกําหนดวิธกี ารและแบบการดาํ เนินชีวิตใหคนปฏบิ ตั ติ าม

บรรทัดฐาน คา นยิ ม จารตี ประเพณี ลว นเปนส่ิงท่ีสังคมสรางขน้ึ จงึ เปรยี บเสมอื นกรอบ
ที่จะควบคุมพฤติกรรมของบุคคลไมใหมีพฤติกรรมเบี่ยงเบน ดังน้ันคนท่ีมีความผูกพันเกี่ยวของยึดติด
กฎเกณฑของสงั คมกจ็ ะสามารถควบคุมการกระทําของตัวเองไดด กี วาคนท่ไี มส นใจหรือหา งเหนิ สังคม

แนวความคดิ นเ้ี กดิ จากความคดิ ของนกั สงั คมวทิ ยาชอื่ ทราวสิ เฮอรส ชิ (Travis Hirschi)
เขาศกึ ษาวจิ ยั ไดแ นวคดิ ในประเดน็ ทวี่ า “ทาํ ไมคนเราถงึ กระทาํ ความผดิ ” และการตอบคาํ ถามวา “ทาํ ไม
พวกเขาจงึ ไมท าํ ความผดิ ” นคี่ อื สาระสาํ คัญของทฤษฎีน้ี

ทฤษฎกี ารควบคมุ ทางสงั คมไดเ รม่ิ เปน ทแ่ี พรห ลายระหวา งป ค.ศ.๑๙๖๐ – ๑๙๗๐ เฮอรส ชิ
ไดเ สนอวา “พฤตกิ รรมอาชญากรรมเปน ผลมาจากพนั ธะของบคุ คลทมี่ ตี อ สถาบนั ทางสงั คมแบบออ นแอ
เขาไดแ บงพนั ธะทางสังคมหรอื ส่งิ ยดึ เหนีย่ วทางสงั คม (Social Bond) ออกเปน ๔ อยา ง

๓๗

ÊÔè§ÂÖ´à˹ÕèÂÇ·Ò§Êѧ¤ÁÁÕÅѡɳФŌÒÂà¡ÅÕÂÇàª×Í¡·ÕèÂÖ´à˹ÕèÂÇÂѺÂÑé§äÇŒ ÊèÔ§ÂÖ´à˹ÕèÂÇ
·ÇèÕ Ò‹ ¹éÕ ¤×Í

๑. ความรสู กึ ผกู พนั (Attachment) หมายถงึ การทบ่ี คุ คลมคี วามผกู พนั รกั ใครก บั บคุ คลอน่ื
ความรูสึกผูกพันเปนระดับทางจิตใจของแตละคน แหลงของความรูสึกผูกพันที่มีอิทธิพลในการ
ยับยั้งควบคุมใจมาจากบุคคล ๓ ฝาย คือ บิดามารดา ครูอาจารย และเพื่อนที่คบหาสมาคมดวย
บุคคลเหลาน้ีลวนเปนผูใกลชิดจึงผูกพันกัน ผลจากการถายทอดทัศนคติ ความรูสึกผิดชอบชั่วดี
โดยคาํ นงึ ถงึ ศลี ธรรมจะชว ยฉุดดึงคนเราไมใ หก ระทาํ ความผดิ

๒. ขอผูกมัด (Commitment) หมายถึง การที่บุคคลมีความเกี่ยวพันท่ีจะตองปฏิบัติ
ตามกฎระเบยี บ ขอ บังคบั วนิ ยั จรรยาบรรณและกตกิ า แบบแผนของสังคมหรือขององคก ร ตลอดจน
สถาบนั การทบ่ี คุ คลถกู ผกู มดั กบั การดาํ เนนิ ชวี ติ ในการศกึ ษาและการประกอบอาชพี เพอื่ จะไดป ระสบ
ความสาํ เรจ็ ในชวี ติ อยรู ว มกบั บคุ คลอน่ื ในสงั คม พจิ ารณาไดว า ถา เขาปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกฎเกณฑข อง
สังคมแลวเขาจะไดอ ะไร อธิบายไดว า ถาเขาทําเขาจะไดรบั ประโยชน ประโยชนน้ีเทา กบั เปนแรงเสรมิ
กระตนุ ใหเ ขามีพฤตกิ รรมเชนนี้ อกี ประโยชนทีไ่ ดรับตอ งเห็นอยางชัดเจนดว ยตัวของเขาเอง แตถ าเขา
ไมไดรับประโยชนเขาก็จะงดเวนไมปฏิบัติสิ่งนั้น แสดงใหเห็นวาความยึดม่ันผูกพันน้ันข้ึนอยูกับความ
พอใจของคนแตละคน

๓. ความเกยี่ วขอ ง (Involvement) หมายถงึ การมสี ว นเขา รว มกจิ กรรมตา งๆ ของสงั คม
การมกี จิ กรรมเปน การใชเ วลาวา ง ทมุ เท หมกมนุ และรว มคดิ ตอ สงิ่ หนง่ึ สงิ่ ใด ถา คนเรามกี จิ กรรมรว มกบั
คนอ่ืนเปน กลุมเปน คณะ เชน ชมรมกีฬาเทนนิส ปง ปอง หรือนันทนาการอยางใดอยางหนึ่ง กิจกรรม
เหลานี้ลวนเปนการสรางสรรค การมีกิจกรรมรวมกันยอมตองมีการพบปะสังสรรคระหวางหมูสมาชิก
รว มคดิ รว มกระทาํ เกดิ ประโยชนเ ปน ไปตามบรรทดั ฐานของสงั คม พวกเขากจ็ ะไมม เี วลาทจ่ี ะไปกระทาํ
ความผิดและคิดทจี่ ะไปกระทําความผดิ

๔. ความเช่ือ (Belief) หมายถึง ภาวะจิตใจระดับของความเชอื่ ถือทีบ่ คุ คลมตี อ คา นยิ ม
และบรรทดั ฐานของสงั คม กลา วคอื คนแตล ะคนจะมคี วามเชอื่ โดยใหค วามสาํ คญั และระดบั แตกตา งกนั
“ความเชอ่ื ” จะเปน สงิ่ ควบคมุ จติ ใจยดึ เหนย่ี วไวไ มใ หก ระทาํ ความผดิ เฮอรส ชิ เสนอขอ คดิ วา การกระทาํ
ความผิดมิไดเปนผลมาจากการมีความเช่ือ แตการกระทําความผิดมีแนวโนมท่ีจะเกิดขึ้นได ถาขาด
ความเชือ่ ทหี่ ามกระทาํ ความผดิ

ó. ·ÄɮժØÁª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸ (Community Relation Approach) แมแนวทางทฤษฎี
การบังคับใชก ฎหมายจะไดร บั การพฒั นาอยา งมากในชวงตน และกลางศตวรรษท่ี ๒๐ ก็ตาม แตต อ มา
ความนยิ มในมาตรการและทฤษฎกี ารบงั คบั ใชก ฎหมายคอ ยๆ เสอื่ มคลายลง การปอ งกนั อาชญากรรม
ในอีกลักษณะหนึ่งกลับไดรับความสนใจสูงข้ึนและมีทีทาวาอาจเขามาแทนท่ีแนวทฤษฎีการบังคับใช
กฎหมาย แนวทฤษฎนี คี้ อื แนวทฤษฎชี มุ ชนสมั พนั ธ (Community Relation Approach) ซงึ่ มรี ากฐาน
มาจากแนวความคิดและผลการวิจัยของนักอาชญาวิทยากลุมชิคาโกหรือบางคร้ังเปนที่รูจักกันในนาม

๓๘

ของสํานักนเิ วศวิทยา สํานกั นี้อยภู ายใตก ารนาํ ของ โรเบริ ต อี พารค (Robert E.Park) โดย Park
ไดพยายามจูงใจใหนักอาชญาวิทยาทั้งหลายเห็นความสําคัญของปจจัยตางๆ ในสภาพแวดลอมของ
เมืองที่มีผลกระทบตอพฤติกรรมอาชญากร

ผลการคน ควา วจิ ยั ของนกั อาชญาวทิ ยากลมุ ชคิ าโกสรปุ ไดว า อาชญากรรมเปน ปรากฏการณ
ถาวรตามลักษณะทองท่ี บริเวณใดเกิดอาชญากรรมข้ึนบอยคร้ังก็คงจะเกิดขึ้นซํ้าแลวซํ้าอีกอยูเชนน้ัน
อนึ่ง แหลงเส่ือมโทรมบางแหง แมผูอยูอาศัยจะสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปตามกาลเวลา โดยบุคคล
ตางเช้ือชาติ ตางศาสนากันก็ตาม สถิติอาชญากรรมในพื้นท่ีดังกลาวก็ยังคงสูงเชนเดิม อยางไรก็ดี
นักอาชญาวทิ ยากลมุ ชิคาโกไมไดกลา ววา บรเิ วณพืน้ ทค่ี ือสาเหตขุ องอาชญากรรม แตปจ จยั ท่ีสง เสริม
อาชญากรรมนาจะแอบแฝงอยูสภาพแวดลอมดังกลาว เพราะพื้นที่ท่ีมีอาชญากรรมสูงนั้น มีความ
แตกตางไปจากพนื้ ทที่ ่ีมอี าชญากรรมต่ํา ท้ังในสภาวะทางกายภาพทางเศรษฐกจิ และสงั คม

กลมุ ชคิ าโกจงึ สรปุ วา การขาดระเบยี บของสงั คม (Social Disorganization) อนั สบื เนอื่ ง
มาจากการเปลยี่ นแปลงสภาพของชมุ ชน ในยคุ กอ นความเจรญิ ทางอตุ สาหกรรมเขา สยู คุ อตุ สาหกรรม
นํามาซ่ึงปญหาอาชญากรรมและปญหาสังคมอ่ืนๆ กลาวอีกนัยหนึ่ง การขาดระเบียบของสังคม
ซงึ่ ตามแนวทฤษฎขี องกลมุ ชคิ าโก จดั เปน สาเหตเุ บอื้ งตน ของอาชญากรรม หมายถงึ สภาวะแตกสลาย
ของกลไกทางสังคมทีม่ หี นา ทีค่ ้ําจนุ ความสมั พนั ธระหวางบุคคล ความรว มแรงรวมใจและขวัญกาํ ลงั ใจ
ของสมาชิกในสงั คม

ดงั นน้ั หลกั ของแนวทฤษฎชี มุ ชนสมั พนั ธเ พอื่ ปอ งกนั อาชญากรรมกค็ อื การจดั สภาพทวั่ ไป
ไมว า ในระดบั เมอื ง ชมุ ชน หรอื ละแวกบา น ในลกั ษณะเสรมิ สรา งความสมั พนั ธร ะหวา งบคุ คล งา ยตอ การ
ควบคมุ ตรวจตราโดยไมละเมดิ สทิ ธิเสรีภาพสว นบุคคล รวมทง้ั มงุ สนับสนนุ สง เสริมใหสมาชกิ ในชมุ ชน
มีสวนรวมในการปองกันชีวิตและทรัพยสินท้ังของตนเองและบุคคลอ่ืนใหปลอดภัยจากอาชญากรรม
อยางไรก็ดีแนวทฤษฎีนี้ไมไดมองขามบทบาทของตํารวจในสวนท่ีเก่ียวของกับปญหาอาชญากรรม
แตไ ดเ สนอแนะใหม กี ารปรบั บทบาทใหมข องตาํ รวจทอ งทที่ ง้ั หมดตามแนวทฤษฎชี มุ ชนสมั พนั ธ ตาํ รวจ
จะมบี ทบาทเปน ฝา ยวางแผน สนบั สนนุ และใหค าํ ปรกึ ษาแกช มุ ชนในการปอ งกนั อาชญากรรม ตาํ รวจ
ไมม สี ภาพเปนผรู ับผดิ ชอบหลกั ในการปองกนั อาชญากรรมอกี ตอ ไป

ทฤษฎนี ้ีไดกาํ หนดแนวทางตํารวจชุมชนสัมพันธข้ึน ซง่ึ เปนกระบวนการใหตํารวจทงั้ หมด
หันเหพฤติกรรมไปสูการมีปฏิสัมพันธกับสภาพแวดลอม เพ่ือจะไดรับการสนับสนุนจากประชาชน
และสภาพแวดลอมภายนอกองคกร ในลักษณะที่จะเอื้ออํานวยตอการบรรลุถึงวัตถุประสงค
และเปา ประสงคหลักขององคกรตํารวจ

¹âºÒÂáÅСÒÃÇҧἹ¾Ñ²¹Òà¨ÒŒ ˹ŒÒ·Õèตาํ ÃǨªÁØ ª¹ÊÁÑ ¾¹Ñ ¸
¹âºÒ (Policy) หมายถงึ แนวทางหรอื กรอบทก่ี าํ หนดไวล ว งหนา เปน ทศิ ทางสาํ หรบั
การตัดสนิ ใจในการดาํ เนินงานใหบ รรลวุ ตั ถุประสงคท่กี าํ หนดไว

๓๙

¡ÒÃÇҧἹ (Planning) หมายถงึ กระบวนการพจิ ารณาลว งหนา ในอนาคต จะทาํ อะไร
อยางไร ใหใครทํา ทําไมจึงทํา ทําที่ไหน เม่ือใด ใหสามารถบรรลุเปาหมาย วัตถุประสงคที่วางไว
อาศัยการดาํ เนินงานอยางเปน ระบบ มีประสทิ ธิภาพ ผลผลิตไดจ ากการวางแผน

นโยบายและการวางแผนการพฒั นาเจา หนา ทต่ี าํ รวจชมุ ชนสมั พนั ธ หมายถงึ กระบวนการ
ดําเนินกิจกรรมตางๆ อยางมีกลยุทธ โดยใชศาสตรและศิลปในการนําทรัพยากรทางการบริหาร
รวมถึงปจจัยแวดลอมตา งๆ มาประกอบกันตามกระบวนการบริหาร ไดแก การวางแผน (Planning)
การจดั การ (Management) การจดั คนเขา ทาํ งาน (Staffing) การสง่ั การ (Directing) และการควบคมุ
(Controlling) เพื่อแกปญหาและดําเนินการใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล ทั้งน้ตี องอาศยั หลักความรวมมือและการทาํ งานเปนทมี

ʋǹ»ÃСͺ¢Í§§Ò¹ªÁØ ª¹ÊÑÁ¾¹Ñ ¸
๑. การประชาสมั พนั ธ
๒. การใหบริการชมุ ชน
๓. การเขาไปมีสว นรวมในกิจกรรมตา งๆ ในชุมชน
¢¹Ñé μ͹¡ÒÃดาํ à¹¹Ô §Ò¹ªÁØ ª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸
๑. การพบปะเยีย่ มเยยี นและรวมกิจกรรม
๒. การศกึ ษาและวิเคราะหส ภาพปญหาชุมชน
๓. การประชุมวางแผนรวมกับผูนาํ ชมุ ชนและประชาชน
๔. การเตรยี มการจัดระบบงานและประเมนิ ความพรอม
๕. การแนะนาํ ใหค วามรเู ก่ียวกับการปองกันตนเองและชุมชน
๖. การจัดระบบประสานความรว มมือระหวางตาํ รวจกบั ประชาชน
๗. การตดิ ตามประเมินผลและปรบั ปรุงแกไข
ทฤษฎีนี้มีการใชวิธีการติดตอสื่อสารระหวางตํารวจกับประชาชน มีลักษณะสองทาง
(Two Way) ซง่ึ แตกตา งจากการประชาสมั พนั ธ ภายใตท ฤษฎกี ารบงั คบั ใชก ฎหมาย ซงึ่ เปน การสอ่ื สาร
จากตํารวจสูประชาชน แตในการติดตอส่ือสารในลักษณะสองทางน้ัน อยูท่ีวาตํารวจไมควรเปนผูพูด
ฝายเดียวหรือใหขอมูลฝายเดียว แตควรเปนผูรับฟงขาวสารและขอมูลดวย จุดมุงหมายของตํารวจ
ชุมชนสัมพนั ธ ไดแ ก
- เพอ่ื สง เสรมิ ความรว มแรงรว มใจ ระหวา งตาํ รวจและประชาชนในการปอ งกนั อาชญากรรม
- เพื่ออุปถัมภและปรับปรุงการติดตอส่ือสารและความเขาใจรวมกัน ระหวางตํารวจ
และชุมชนทั้งหมด
- เพอื่ พฒั นาการศกึ ษาในลกั ษณะวชิ าชพี รว มกนั ในการกาํ หนดแนวทางแกไ ขปญ หาชมุ ชน
- เนนหลกั การทีว่ า การบริหารงานยตุ ิธรรม คือ ความรับผดิ ชอบของชุมชนทงั้ ชมุ ชน
- เพือ่ ขยายความรว มมือระหวา งตาํ รวจกับอยั การ ศาลและราชทณั ฑ

๔๐

- เพอื่ ชว ยเหลอื ตาํ รวจและผนู าํ ชมุ ชนในการทาํ ความเขา ใจเกย่ี วกบั ธรรมชาตแิ ละสาเหตุ
ของปญหาสลับซับซอนในความสัมพันธระหวางสมาชิกในสังคม

- เพื่อเพ่ิมการดําเนินงานดานใหความคุมครองแกประชาชนโดยเทาเทียมกันภายใต
กฎหมาย

ô. ·ÄɮաÒäǺ¤ÁØ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁâ´ÂÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ (Theory of Crime Control
Through Environmental Design : CED) เมอ่ื ประมาณ ๑๘๐๐ ปก อ นครสิ ตกาล ไดป รากฏหลกั ฐาน
ตามประมวลกฎหมายฮัมมรู าบี (Hammurabi’s Code) ไดบ ัญญตั วิ า “ผูใดกอ สรางเคหสถานสําหรบั
บคุ คลอยอู าศยั มลี กั ษณะไมม นั่ คงแขง็ แรงและเคหสถานทส่ี รา งเกดิ พงั ทลายลงเปน สาเหตใุ หเ จา ของบา น
ถงึ แกค วามตาย ผูกอสรางน้ันตองระวางโทษประหารชวี ิต” ประมวลกฎหมายนีถ้ อื ไดว า เปนตน กาํ เนิด
ของการปอ งกันอาชญากรรมจากสภาพแวดลอม”

นักวิชาการสวนใหญในปจจุบัน ซึ่งมุงความสนใจศึกษาการปองกันอาชญากรรมตางมี
ความเชื่อวา แนวทฤษฎีชุมชนสัมพันธ จะสามารถแทนท่ีแนวทฤษฎีการบังคับใชกฎหมายไดทั้งหมด
หรือเกือบท้ังหมด ดังเชน Bayley ไดกลาววา “การใชสายตรวจ การเรงถึงสถานท่ีเกิดเหตุโดยเร็ว
และการสอบถามผูตองสงสัยตามถนน ไมอาจใชเปนมาตรการสําหรับปองกันอาชญากรรมไดอยาง
เหมาะสม..ในลักษณะที่เปนขั้นตอนการปฏิบัติสําหรับบุคลากรตํารวจ มาตรการเหลานี้ใหผล
ไมคุมคาตอการลงทุน” คํากลาวของ Bayley ยอมเปนดัชนีบงบอกถึงความพยายามที่จะหักลาง
แนวทฤษฎบี งั คบั ใชก ฎหมาย แตย งั เปน ความคดิ ทคี่ ลาดเคลอื่ นไปจากผลทปี่ รากฏจากการวจิ ยั ในปจ จบุ นั
เพราะในความเปนจริงมาตรการหลายประเภทภายใตแนวทฤษฎีบังคับใชกฎหมายยังคงมีประโยชน
ถา ปรบั ใชใ หเ หมาะสมกบั สถานการณ แทนทจ่ี ะยกเลกิ และนาํ มาตรการภายใตแ นวทฤษฎชี มุ ชนสมั พนั ธ
มาประยกุ ตใ ชใ หมท งั้ หมด ดงั นน้ั แนวทฤษฎที ส่ี ามจงึ เกดิ ขน้ึ โดยใชช อื่ วา “ทฤษฎกี ารควบคมุ อาชญากรรม
โดยสภาพแวดลอม (Theory of Crime Control Through Environmental Design : CED)” หรอื
ใชอักษรยอวา “ทฤษฎี ค.อ.ส.”

ทฤษฎี ค.อ.ส. มีลักษณะเปนแนวความคิดรวมระหวางทฤษฎีบังคับใชกฎหมาย ซึ่งเปน
แนวความคดิ รเิ รม่ิ กบั ทฤษฎชี มุ ชนสมั พนั ธ ซงึ่ เปน แนวความคดิ แยง ทฤษฎี ค.อ.ส. เสนอวา แนวทฤษฎี
ทั้งสองตางมีคุณประโยชนทั้งทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ แตในสถานการณและสภาพพื้นที่ที่ตางกัน
จึงสมควรที่จะนํากรอบทฤษฎีและมาตรการภายใตแนวทฤษฎีทั้งสองน้ีมาประยุกตใชใหเกิดประโยชน
เกื้อกลู กัน แทนที่จะหกั ลางหรือโจมตซี ง่ึ กนั และกัน นอกจากทฤษฎี ค.อ.ส. จะมงุ ประสานแนวทฤษฎี
ทงั้ สองแลว กย็ ังมุงพฒั นาบททฤษฎสี ําหรับอธิบายปรากฏการณเก่ยี วกบั พฤตกิ รรมอาชญากร ซึง่ เปน
ความพยายามทีจ่ ะเช่ือมโยงอาชญาวิทยาเขา กบั สาขาพฤติกรรมศาสตรท ว่ั ไป

หัวใจสําคัญของ ค.อ.ส. คือ ปรับสภาพแวดลอมและใชประโยชนจากสภาพแวดลอม
ในการลดโอกาสการกออาชญากรรมและชวยทําใหสภาพแวดลอมดูปลอดภัยไมนากลัว หลักการ
หรอื กลยทุ ธข อง ค.อ.ส. มี ๔ หลักการ คือ

๔๑

ก. เฝา ระวังโดยธรรมชาติ (Natural surveillance)
ข. ควบคมุ การเขาออกโดยธรรมชาติ (Natural access control)
ค. การแบงพ้ืนท่ใี หชัดเจน (Territorial reinforcement)
ง. บริหารจัดการ (Maintenance & Management)
กลยุทธน้ีเนนการใชสภาพแวดลอมที่มีอยูใหเกิดประโยชนในทางท่ีทําใหคนรายรูสึกวา
เปน เขตหวงหามและถกู เฝา ระวังอยู จึงไมกลา เส่ยี งกระทาํ ผิด
สรุปคือ ค.อ.ส. เพิม่ การพง่ึ พาความปลอดภัยโดยธรรมชาติ (Natural Security) และ
ลดการพง่ึ พาความปลอดภยั โดยอุปกรณอ ิเลก็ ทรอนิกส (Electronic Security)
¡ÒèѴÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁà¾×è͢Ѵ¢ÇÒ§¡ÒÃÅÐàÁÔ´¡®ËÁÒ ÊÒÁÒö᡾ԨÒóÒ䴌໚¹
ò ÁμÔ Ô ¤Í× ÊÀÒ¾áÇ´ÅÍŒ Áû٠¸ÃÃÁáÅÐÊÀÒ¾áÇ´ÅÍŒ Á¹ÒÁ¸ÃÃÁ
ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁÃÙ»¸ÃÃÁ หมายถึง สภาพแวดลอมรอบบุคคลท่ีมีรูปรางตัวตนสัมผัสได
และสามารถนํามาใชประโยชนในการลดชองโอกาสของการประกอบอาชญากรรมได
สภาพแวดลอมดังกลาวสามารถแบงตามลักษณะการเขาครอบครองของบุคคลหรือกลุมบุคคลได
๓ ประการ คอื พน้ื ทป่ี ฐมภมู ิ (Primary Space) พน้ื ทท่ี ตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Space) และพนื้ ทส่ี าธารณะ
(Public Space)
¾é×¹·èÕ»°ÁÀÙÁÔ (Primary Space) หมายความถึง อาณาบริเวณซึ่งครอบครองและใช
ประโยชนโดยบุคคลหรือกลุมบุคคลจํานวนจํากัด รวมทั้งสามารถควบคุมพื้นที่ดังกลาวไดในลักษณะ
ถาวร ตัวอยางเชน บานพักอาศัย เปนตน พื้นท่ีดังกลาว เอกลักษณความเปนเจาของปรากฏ
โดยเดนชัด การผานเขาออกโดยสาธารณชนไมอาจกระทําได เวนแตจะไดรับอนุญาต
จากผเู ปนเจาของกอ น
¾¹×é ·Õè·μØ ÔÂÀÁÙ Ô (Secondary Space) หมายความถึง อาณาบริเวณซงึ่ บุคคลหรอื กลมุ บุคคล
สามารถแสดงสิทธิการครอบครองพ้ืนที่ รวมทั้งควบคุมการใชประโยชนพ้ืนที่ของบุคคลแปลกหนาได
ในระดับใดระดับหน่ึง แมจะไมเทาเทียมกับพ้ืนที่ปฐมภูมิก็ตาม กลาวอีกนัยหน่ึง พื้นท่ีทุติยภูมิ
จัดเปน เขตพนื้ ทเ่ี ชอ่ื มตอ ระหวางพื้นท่ีปฐมภมู กิ บั พน้ื ที่สาธารณะ ตัวอยา งเชน ถนนในหมูบานจดั สรร
ตรอกซอยยานท่ีอยูอาศัย ทางเดินหนาหองพักตามแฟลต เปนตน พื้นท่ีดังกลาวนี้มีความสําคัญย่ิง
ในการปอ งกนั อาชญากรรมจากการจดั สภาพแวดลอ มรปู ธรรม โดยการจาํ กดั การสญั จรไปมาอยา งเสรี
การใชพ ้ืนที่ทุติยภมู ิของบุคคลแปลกหนา อยา งนอยตองอยูในสายตาของผอู ยอู าศยั ซึ่งเปรียบเสมือน
เจา ของพ้นื ท่รี วมกนั
¾é×¹·ÕèÊÒ¸ÒóР(Public Space) หมายความถึง อาณาบริเวณซ่ึงบุคคลโดยท่ัวไป
สามารถทจ่ี ะเขา ไปไดโ ดยชอบธรรมหรอื สามารถใชใ นการสญั จรไปมาไดโ ดยอสิ ระ ภายใตข อบเขตของ
กฎระเบยี บทก่ี าํ หนดไว ตัวอยา งเชน สวนสาธารณะ สถานีรถไฟ โรงพยาบาล เปน ตน พืน้ ทส่ี าธารณะ
จงึ ไมอยูใ นความควบคุมของบคุ คลใดหรือกลมุ ใดโดยเฉพาะ

๔๒

การจัดสภาพแวดลอมรูปธรรมเพ่ือปองกันอาชญากรรมมีหลายมาตรการ เชน การวาง
ผงั เมืองและชุมชน การใหแ สงสวางตามทองถนน การออกแบบอาคาร เปนตน

ÊÀÒ¾áÇ´ÅÍŒ Á¹ÒÁ¸ÃÃÁ เปน อกี มติ หิ นง่ึ ของการควบคมุ อาชญากรรมจากสภาพแวดลอ ม
เนื่องจากการมุงความสนใจไปยังสภาพแวดลอมรูปธรรมเพียงอยางเดียว อาจทําใหการปองกัน
อาชญากรรมในชมุ ชนไมส มั ฤทธผ์ิ ลเทา ทคี่ วรและมกั มปี ระสทิ ธภิ าพตา่ํ ในแงท ว่ี า ชมุ ชนหรอื บคุ คลอาจตอ ง
ส้ินเปลืองคาใชจายในดานวัสดุอุปกรณในการรักษาความปลอดภัยเปนมูลคามากมาย แตกลับใหผล
ในการลดสถติ อิ าชญากรรมไดน อ ยกวา ทคี่ วรจะเปน การมงุ เสรมิ อาคารดว ยวสั ดอุ ปุ กรณเ พอ่ื การรกั ษา
ความปลอดภยั มากจนเกนิ ไป กไ็ มไ ดห มายความวา บคุ คลทพ่ี กั อาศยั ในอาคารสถานทดี่ งั กลา วจะปลอดภยั
จากภยั อาชญากรรม ในทางตรงขา มการแยกตวั จากชมุ ชนมากจนเกนิ ไปอาจกอ ใหเ กดิ ผลสะทอ นกลบั
กลา วคอื แทนทบ่ี คุ คลจะรสู กึ มนั่ คงปลอดภยั กลบั เกดิ ความรสู กึ วา เหวห วาดระแวงภยั และขาดการตดิ ตอ
สัมพนั ธกบั สมาชกิ ทวั่ ไปในชุมชนมากยิ่งขึ้น เมอื่ สมาชกิ ในชมุ ชนตา งปลอ ยปละละเลยและตา งหาทาง
ตัดชองนอยแตพ อตวั โดยไมหนั หนา เขารวมมอื ซงึ่ กนั และกนั ในการปอ งกนั อาชญากรรม ในท่สี ุดผลที่
ตามมาจงึ เปน ไปตามปรากฏการณท พี่ บอยทู ว่ั ไปในสงั คมเมอื งยคุ ปจ จบุ นั กลา วคอื ปญ หาอาชญากรรม
ไดกลายเปน ความรบั ผดิ ชอบของตาํ รวจเพยี งฝายเดียวไปโดยปริยาย เมอื่ ใดกต็ ามทสี่ ภาพการณเ ชนนี้
เกดิ ขน้ึ ยอ มหมายความวา สมาชกิ ทกุ คนในชมุ ชนนนั้ ๆ ตา งรอคอยเวลาทจี่ ะตกเปน เหยอื่ อาชญากรรม
โดยตางแตเ พยี งวาชา หรอื เรว็ เทา น้นั

เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปวา ปญหาอาชญากรรม คือ ปญหาสังคมประเภทหนึ่ง
ถา พจิ ารณาคาํ วา “ปญ หาสงั คม” โดยใชถ อ ยคาํ ภาษาทเ่ี ขา ใจงา ยยอ มหมายถงึ ปญ หาพนื้ ฐานทสี่ มาชกิ
ทกุ คนในสงั คมมีสวนรว มกนั รบั ผดิ ชอบ รวมทง้ั แสวงหามรรควธิ หี รอื มาตรการในการแกไขและควบคมุ
ใหอ ยภู ายในขอบเขตอนั เหมาะสม ในปจ จบุ นั แมก ลา วไดว า งานดา นปอ งกนั และปราบปรามอาชญากรรม
คือ ภาระหนาที่หลักของตํารวจ แตยอมไมไดหมายความวาหนวยงานอ่ืนทั้งภาครัฐบาลและเอกชน
ตลอดจนประชาชนจะสามารถวางเฉยได โดยปลอยใหตํารวจตอสูผจญปญหาดังกลาวตามลําพัง
คาํ วา “หนว ยงานหลกั ในการควบคมุ อาชญากรรม” ยอ มมคี วามหมายแตกตา งไปจาก “หนว ยงานเดยี ว
ในการควบคมุ อาชญากรรม” ตาํ รวจไมส ามารถควบคมุ อาชญากรรมไดโ ดยลาํ พงั จาํ เปน ทจ่ี ะตอ งไดร บั
ความชว ยเหลอื จากชมุ ชนทง้ั หมดเทา ทจ่ี ะสามารถชว ยได ประชาชนมคี วามสาํ คญั และจาํ เปน ทจี่ ะตอ ง
เขามามีสวนรวมในการปองกันอาชญากรรม โดยเฉพาะอยางยิ่งในคดีประเภทประทุษรายตอทรัพย
ในเคหสถาน ความรบั ผดิ ชอบรว มกนั ของประชาชนทกุ คนในการชว ยสอดสอ งดแู ลความปลอดภยั ภายใน
ชุมชนที่อยูอาศัยหรือยานทํามาหากินของตน ตลอดจนแจงเหตุดวนเหตุรายแกเจาหนาท่ีตํารวจ คือ
หวั ใจของการปองกันอาชญากรรม

ความสัมพันธในชุมชนหรือสภาพแวดลอมนามธรรม จัดเปนมิติหน่ึงของการควบคุม
อาชญากรรมจากสภาพแวดลอมและจําเปนตองใหความสําคัญในการพัฒนาควบคูสอดประสาน
ไปกบั สภาพแวดลอ มรปู ธรรม ในลกั ษณะทวี่ า มติ ทิ งั้ สองตา งมแี นวโนม มงุ ไปสเู ปา ประสงคข องการสรา ง

๔๓

ชมุ ชนทมี่ รี ะเบยี บ อบอนุ และปลอดภยั จากอาชญากรรม สาํ หรบั มาตรการในการปอ งกนั อาชญากรรม
ภายใตมิติของสภาพแวดลอมนามธรรมท่ีประสบผลมาแลวในระดับสูง รวมทั้งสามารถประยุกตใชได
ในสงั คมไทย ไดแ ก มาตรการเพอ่ื นบา นเตอื นภยั มาตรการสายตรวจประชาชน และมาตรการตรวจตรา
บา นเรือน

õ. ·ÄɮաÒÃตําÃǨªØÁª¹ (Community Policing) การตํารวจชุมชนพัฒนาขึ้นมา
จากพ้ืนฐานความเชื่อเดิมของทฤษฎีตํารวจชุมชนสัมพันธ ในสวนท่ีมุงเนนใหเกิดสัมพันธภาพและ
ความเขา ใจอนั ดรี ะหวา งตาํ รวจกบั ประชาชน โดยเชอื่ มน่ั วา ความรว มมอื รว มใจของตาํ รวจกบั สจุ รติ ชนคนดี
ในชมุ ชนคอื คณุ สมบตั สิ าํ คญั ทสี่ ามารถเอาชนะปญ หาอาชญากรรมสว นใหญไ ด อยา งไรกต็ ามพฒั นาการ
ท่ีแตกตางอยางโดดเดนของแนวทางทฤษฎีตํารวจแบบใหมก็คือ “การเขาไปฝงตัวทํางานในชุมชน
เปน ระยะเวลาคอ นขา งยาวนาน” แทน “การไปถงึ ทเ่ี กดิ เหตอุ ยา งรวดเรว็ เมอื่ ไดร บั แจง ” เชน งานตาํ รวจ
ชุมชนสัมพันธแบบเดมิ

การตํารวจชุมชน (Community Policing) หมายถึง “หลักการการทํางานของตํารวจ
ซ่งึ สงเสรมิ สนับสนนุ แกต น เหตุ เพอื่ ลดปญ หาอาชญากรรม ปญ หาความไมเปนระเบียบของชุมชน
โดยเทคนคิ การแกต น เหตปุ ญ หาดว ยความรว มมอื ระหวา งตาํ รวจและชมุ ชน” ซงึ่ เปน แนวคดิ เรมิ่ ตน มาจาก
เซอร โรเบิรต พีล ผูก อตั้งตํารวจมหานครลอนดอนหรอื สกอตแลนดยารด ท่ีวา “ตํารวจคอื ประชาชน
ประชาชนคือตาํ รวจ” (The police are the public and the public are the police.) สรุปแนวคิด
การตํารวจชุมชนไดงายๆ คือ ตํารวจชุมชน เปนหลักการทํางานใหมของตํารวจท่ีเพิ่มเติมจากการ
ทาํ งานของตาํ รวจแบบเดมิ ทมี่ งุ เพยี งมสี ายตรวจปอ งกนั แกไ ขเหตรุ า ยและสบื สวนจบั กมุ คนรา ยเทา นน้ั

การจะรวู า หนว ยตาํ รวจใดเปน “ตาํ รวจชมุ ชน” เทา ใด หรอื จะวดั ระดบั ของการนาํ หลกั การ
ตํารวจชุมชนไปใชหรือวัด “¤ÇÒÁ໚¹ตําÃǨªØÁª¹” มีเกณฑในการวัดจากการทํางานของตํารวจ
๕ ระดบั จากนอ ยไปหามาก คอื

๑. ตํารวจสนใจชุมชนเฉพาะเวลาประชาชนแจง ความเทานน้ั
๒. ตาํ รวจแนะนาํ การปองกันอาชญากรรมแกชุมชน
๓. ประชาชนแจงขา วสารแกต ํารวจเสมอ
๔. ตาํ รวจนําชาวบานรวมคดิ รวมทาํ แกป ญหาชุมชน
๕. ชุมชนปองกันอาชญากรรมดวยชุมชนเอง โดยตํารวจเปน แกน/สนับสนนุ
หนวยงานอ่ืนก็เร่ิมท่ีจะเห็นความสําคัญของชุมชนและมุงสงเสริมใหชุมชนเขมแข็ง เชน
กระทรวงยตุ ธิ รรม ไดเ รม่ิ นาํ หลกั การยตุ ธิ รรมสมานฉนั ท (Restorative Justice) และการยตุ ธิ รรมชมุ ชน
(Community Justice) มาใชในชุมชน ซึ่งลวนแลวแตสอดรับหรือเปนแนวทางเดียวกับการตํารวจ
ชุมชนทั้งส้ินและหลักการตํารวจชุมชนนี้ยังสอดรับกับแนวคิดชุมชนเขมแข็งหรือพลังแผนดินตอตาน
ยาเสพตดิ หรอื แมก ระทัง่ แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ซง่ึ ทกุ แนวคิดมีวัตถปุ ระสงคใหครอบครวั ชุมชน
มีความสามารถในการพ่ึงพาตนเองได ดังน้ันตํารวจก็สามารถท่ีจะใชเครือขายเหลาน้ีเปนฐานในการ
ทํางานตํารวจชุมชนไดดว ย

๔๔

¡ÒÃตาํ ÃǨªØÁª¹ ประกอบดวยหลักการสําคัญใหญๆ ๒ ขอ คือ
¢ÍŒ áá ตาํ รวจเปน หนุ สวนกบั ประชาชนเกาะตดิ พ้ืนทีอ่ ยางท่วั ถึง
¢ÍŒ ·ÊÕè ͧ คอื การตาํ รวจชมุ ชนและหนว ยงานอนื่ แกต น เหตอุ าชญากรรมหรอื ความไมเ ปน
ระเบียบในชุมชน
ËÅ¡Ñ ¡ÒÃสาํ ¤ÞÑ ¢Í§ตาํ ÃǨªÁØ ª¹ ò ¢ÍŒ ´§Ñ ¡ÅÒ‹ Ç á¡ÂÍ‹ Âä´Œ ñð ËÅ¡Ñ ¡Òô§Ñ ¹éÕ (ºÞÑ ÞμÑ Ô
ñð »ÃСÒâͧตาํ ÃǨªØÁª¹)
ñ. ¡ÒÃนําËÅÑ¡¡ÒÃตําÃǨªØÁª¹ ໚¹á¹Ç¤Ô´ËÃ×Í¡ÅÂØ·¸ËÅѡ㹡ÒÃทํา§Ò¹ (Core
Strategy) ท่ีตํารวจทุกคนในองคกรหรือหนวยตํารวจจะตองนําไปใชเปนหลักในการทํางาน ต้ังแต
หัวหนาหนวยหรือผูบังคับบัญชาทุกระดับช้ันจนถึงตํารวจทุกฝายทุกแผนก (ไมใชมีความคิดวาเฉพาะ
ตํารวจชุมชนมวลชนสัมพันธเทานั้น ท่ีจะตองมีความสัมพันธที่ดีกับชุมชน แตพนักงานสอบสวนที่
เปนรอยเวรสอบสวนหรือตํารวจสายตรวจไมสนใจรับฟงแกไขปญหาความเดือดรอนของประชาชน
โดยเฉพาะอยา งยง่ิ เมอ่ื มาแจง ความ) การจะแสดงออกวา หนว ยตาํ รวจหนว ยใดมแี นวคดิ หลกั ในการนาํ
ตาํ รวจชมุ ชนไปเปน แนวคดิ หลกั ในการทาํ งานหรอื ไม ใหด จู ากการกาํ หนดวสิ ยั ทศั น คา นยิ มของหนว ย
วามีการกําหนดแนวคิดหลักในการทํางานรวมมือกับประชาชน หรือใหประชาชนศรัทธา หรือใชพลัง
มวลชนมารว มแกป ญ หาอาชญากรรมหรอื ไม หรอื มนี โยบายยทุ ธศาสตรใ นการนาํ หลกั การตาํ รวจชมุ ชน
ทั้ง ๑๐ ขอนีไ้ ปกาํ หนดหรอื นําไปใชเ ปนหลกั การทาํ งานหรือไม การตาํ รวจชมุ ชนไมใ ชโ ครงการช่วั คราว
ทหี่ มดเวลา หรอื เงนิ งบประมาณแลว เลกิ ทาํ แตเ ปน หลกั การทาํ งานสาํ คญั ทต่ี อ งทาํ ตลอดไป จงึ จะเปน
“การตํารวจชุมชน”
ò. ¡ÒáÃШÒÂอํา¹Ò¨ãËŒตําÃǨ¼»ŒÙ ¯ºÔ ÑμÔ§Ò¹ (Decentralized) ตาํ รวจสายตรวจหรือ
ตํารวจท่ีทํางานสัมผัสกับประชาชน เชน สายตรวจตําบลหรือตํารวจที่รับผิดชอบพื้นที่ จะตองไดรับ
การกระจายอาํ นาจ หรอื มอี าํ นาจในการนาํ เสนอในการตดั สนิ ใจในการแกไ ขปญ หาตา งๆ รว มกบั ชมุ ชน
ใหไ ดม ากทส่ี ดุ แทนวธิ กี ารทาํ งานแบบเดมิ ทอี่ าํ นาจการตดั สนิ ใจแกไ ขปญ หาตา งๆ อยทู ส่ี ว นกลาง เชน
ปจจุบันหนวยงานตํารวจไทยมอบอํานาจใหหัวหนาสถานีตํารวจมีอํานาจมากขึ้นกวาเดิมมาก เชน
การส่งั คดี การปลอ ยช่วั คราว การอนุมตั ใิ หข าราชการตํารวจเดินทางไปราชการ เปน ตน
ó. ¡ÒÃà¡ÒÐμÔ´¾×é¹·èÕáÅСÃШÒ¤ÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍºãËŒตําÃǨáμ‹Åоé×¹·Õè (Fixed
Geography & Accountability) ในระบบตาํ รวจชมุ ชน ตาํ รวจทกุ คนไมว า สายตรวจรถยนต สายตรวจ
รถจกั รยานยนต สายตรวจตําบล หรือตํารวจประจาํ ตูยาม ฝา ยอํานวยการ หรือผบู งั คับบัญชาระดับ
ตา งๆ จะไดรบั มอบการกระจายอํานาจแบงใหรบั ผดิ ชอบพื้นที่เปนระยะเวลานานๆ เชน จะไมเ ปล่ยี น
สายตรวจแตละผลัดหรือแตละเขตบอย จนทําใหตํารวจสายตรวจไมมีความคุนเคย หรือชาวบาน
“ไมเ ชอ่ื ใจ” หรอื เหน็ ตาํ รวจเปน คนแปลกหนา โดยควรจดั ตาํ รวจแบบ “เกาะตดิ พน้ื ท”ี่ การแบง มอบพนื้ ท่ี
หรอื เขตตรวจยดึ ถือชมุ ชนเปนหลกั มากกวา สถิติคดี

๔๕

ô. 㪌¾Åѧ¤ÇÒÁËÇÁÁ×ͧ͢»ÃЪҪ¹áÅÐÍÒÊÒÊÁѤà (Volunteers) ในระบบตํารวจ
ชุมชน มุงเนนใหมีการใชความรวมมือจากประชาชนในรูปแบบของการเปนอาสาสมัครรูปแบบตางๆ
ตามทชี่ มุ ชน หรอื ในพน้ื ทท่ี มี่ ตี น ทนุ ทางสงั คม หรอื มกี ารจดั ตงั้ หรอื มคี วามเหมาะสม ตาํ รวจมหี นา ทใ่ี ห
ความรแู ละสรา งความรว มมอื กาํ หนดวธิ กี าร จดั ตงั้ เพอ่ื ประชาชนไดม าชว ยเหลอื งานปอ งกนั อาชญากรรม
และแกไขความไมเปนระเบียบของชุมชนตามความเหมาะสม ซ่ึงจะทําใหตํารวจมีเวลาท่ีจะไปทํางาน
ปองกันปราบปรามอาชญากรรมอื่นไดม ากขน้ึ

รูปแบบของอาสาสมัครจะตางไปในแตละพ้ืนท่ีชุมชน ซึ่งบางแหงอาจจะเปนการใช
อาสาสมัครที่มีหนวยงานอ่ืนจัดต้ังไวแลวหรือตํารวจจัดตั้งข้ึนเอง แลวแตความเหมาะสมของพ้ืนที่
และชุมชนและความพรอมของสภาพชุมชน เชน อาสาสมัครตํารวจชุมชน (ตชต.) สมาชิกแจงขาว
อาชญากรรม เหยย่ี วเวหา อาสาจราจร ตาํ รวจบาน สายตรวจประชาชน สมาชกิ กภู ยั สมาชิกชมรม
เพื่อนบา นเตอื นภัย อาสาสมัครปอ งกันภยั ฝา ยพลเรือน (อปพร.) ลกู เสือชาวบา น เปนตน

õ. 㪌¼ÙŒÊ¹ÑºÊ¹Ø¹ (Enhancer) ในระบบตํารวจชุมชน ตํารวจจะตองหาความรวมมือ
ในการสนับสนุนงานตํารวจจากชุมชนและองคกรปกครองในพื้นที่ ไมเฉพาะงานหลักคือการปองกัน
อาชญากรรมหรือการเปนอาสาสมัครในการปองกันอาชญากรรมเทาน้ัน แตในระบบตํารวจชุมชน
หนว ยตาํ รวจตอ งแสวงหาทรพั ยากรจากชมุ ชนมาชว ยเหลอื งานตาํ รวจอน่ื ๆ เชน การจดั อาสาสมคั รชว ย
แจงขาวเว็บไซตลามก การใหประชาชนเปนอาสาสมัครประชาสัมพันธชวยเหลือบริการผูมาแจงความ
ท่ีสถานีตํารวจ การจัดอาสาสมัครชวยรับโทรศัพทที่ศูนยวิทยุ การจัดอาสาสมัครลงขอมูลสถิติคดี
การจัดคณะกรรมการหาทุนชวยเหลือเหย่ืออาชญากรรม หรือการรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
ชุมชนหรอื ทอ งถิ่นเพ่อื ชวยเหลือในงานตาํ รวจ

ö. ¡Òúѧ¤Ñºãª¡Œ ®ËÁÒÂ໹š à¤ÃÍè× §ÁÍ× สํา¤ÞÑ á¡Œ»˜ÞËÒªÁØ ª¹ (Law Enforcement)
การตาํ รวจชมุ ชนยงั ถอื วา การสบื สวน จบั กมุ คนรา ยเปน เครอ่ื งมอื สาํ คญั ในการแกไ ขปญ หาอาชญากรรม
และปญ หาความไมเ ปน ระเบยี บในชมุ ชน โดยเนน การจบั กมุ เพอ่ื แกป ญ หาทถี่ อื เปน ความเดอื ดรอ นของ
ชุมชนเปนอันดับแรกสุดและตํารวจมีหนาที่ในการรักษาความสมดุลระหวางการบังคับใชกฎหมาย
หรอื การจบั กมุ กบั ความรว มมอื ของชมุ ชนในการแกไ ขตน เหตขุ องปญ หาอาชญากรรม หรอื ความไมเ ปน
ระเบยี บของชมุ ชน

÷. ์¹»‡Í§¡Ñ¹ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÁÒ¡¡Ç‹ÒÃÍãËŒàËμØà¡Ô´ (Proactive Crime Prevention)
การตํารวจชุมชนมุงเนนการทํางานเพ่ือปองกันไมใหอาชญากรรมเกิดมากกวาการรอใหอาชญากรรม
เกิดแลวจึงคิดติดตามจับกุมคนรายเพ่ือฟองศาล กิจกรรมสวนใหญของตํารวจที่ทํารวมกับชุมชนคือ
สนับสนุนใหชุมชนมีความเขมแข็งในการปองกันอาชญากรรมดวยชุมชนเอง โดยใชเทคนิคแกตนเหตุ
ปญ หา การควบคมุ อาชญากรรมจากสภาพแวดลอ ม การจดั ระบบเพอื่ นบา นเตอื นภยั หรอื จดั สายตรวจ
ประชาชน เปนตน เพื่อมงุ เปาประสงคในการลดอาชญากรรมและความหวาดกลัวภยั อาชญากรรม

๔๖

ø. ãªàŒ ·¤¹¤Ô á¡»Œ Þ˜ ËÒ (Problem Solving) ตาํ รวจ สมาชกิ ชมุ ชน และหนว ยงานอนื่ ๆ
ทํางานรวมกันเพื่อกําหนดตนเหตุของปญหาอาชญากรรมที่เกิดข้ึนในชุมชนหรือปญหาความไมเปน
ระเบียบในชมุ ชน (Scanning) แลว วิเคราะหสาเหตุของปญหา (Analysis) แสวงหาแนวทางในการ
แกไขปญ หา (Response) ดําเนนิ การแกไขปญหา แลวประเมินผล (Assessment) ซ่ึงเทคนิคในการ
แกปญหาน้ี เปนการระดมความรวมมือระหวางตํารวจกับชุมชนและเปนการคิดแกปญหานอกกรอบ
ความคิดการทํางานแบบเดิมของตํารวจท่ีถือวา การสืบสวนจับกุมคนรายไดก็ถือวาบรรลุภารกิจแลว
แตถ า ตาํ รวจมแี นวคดิ และทาํ งานแบบเดมิ ดงั กลา ว ปญ หาอาชญากรรมหรอื ความเดอื ดรอ นของชมุ ชน
ก็จะกลบั มาอกี ถาการจบั กุมคนรา ยนน้ั ไมไดแ กต น เหตทุ แ่ี ทจรงิ ของปญ หา

การใชเทคนิคการแกปญหานี้เปนหลักการสําคัญ เพราะวาท่ีผานมาในประเทศไทย
ใชช ดุ ชมุ ชนมวลชนสมั พนั ธเ ขา ไปสรา งความสมั พนั ธท ด่ี รี ะหวา งตาํ รวจกบั ประชาชนไดแ ลว แตม กั ไมไ ด
นาํ ชมุ ชนมาระดมความรว มมอื กบั ตาํ รวจในการแกไ ขปญ หาอาชญากรรมหรอื ความเดอื ดรอ นของชมุ ชน

ù. ¡ÒÃ໚¹ËØŒ¹Ê‹Ç¹áÅÐÊÌҧ¤ÇÒÁËÇÁÁ×ÍÃÐËÇ‹Ò§ตําÃǨ¡ÑºªØÁª¹ (Partnerships)
ในระบบตํารวจชุมชน ประชาชนในชุมชนคือหุนสวนของตํารวจในการรวมรับผิดชอบการปองกัน
อาชญากรรม หรอื ปญ หาความไมเ ปน ระเบยี บของชมุ ชน (ไมใ ชเ ปน ปญ หาของตาํ รวจฝา ยเดยี ว) ตาํ รวจ
และประชาชนในชมุ ชนตอ งรว มกนั สาํ รวจปญ หาและความตอ งการของชมุ ชนเกยี่ วกบั ความเดอื ดรอ น
หรอื ความหวาดกลวั ภยั อาชญากรรมและใหช มุ ชนรว มใชเ ทคนคิ แกป ญ หา เพอ่ื รว มแกต น เหตขุ องปญ หา
ความเดอื ดรอ นจากอาชญากรรมดงั กลา วและตาํ รวจตอ งสรา งความรว มมอื หรอื เปน แกนนาํ ในการระดม
ทรพั ยากรความรว มมอื หรอื ใหป ระชาชนรว มเปน อาสาสมคั ร เพอื่ ดาํ เนนิ กจิ กรรมปอ งกนั อาชญากรรม
ไดดว ยตัวชุมชนเองอยางเหมาะสม

ñð. ตาํ ÃǨμÍŒ §ºÃÙ ³Ò¡ÒáºÑ ˹Nj §ҹ·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¢ÍŒ § (Integration) ในการบงั คบั ใชก ฎหมาย
หรอื แกไ ขปญ หาทเี่ กยี่ วขอ งกบั การปอ งกนั หลายอยา ง โดยเฉพาะการแกท ตี่ น เหตขุ องปญ หา (ไมใ ชเ พยี ง
แคก ารจบั คนรา ย) ตาํ รวจไมม อี าํ นาจโดยตรงจะเขา ไปจดั การได เชน หอพกั ทเี่ ปน แหลง มว่ั สมุ ของวยั รนุ
ตดิ ยาเสพตดิ เจาหนา ทพ่ี ัฒนาสังคมและทรัพยากรมนษุ ยหรอื ประชาสงเคราะหม หี นา ที่ตามกฎหมาย
โดยตรงในการจัดระเบียบ หรือการติดต้ังไฟฟาสองสวางบริเวณท่ีเกิดเหตุชิงทรัพยหรือขมขืนบอย
เปนอํานาจหนาท่ีขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน การถอนใบอนุญาตใหบุคคลที่มีพฤติการณลักเล็ก
ขโมยนอ ย มแี ละใชอ าวธุ ปน เปน อาํ นาจของนายทะเบยี นอาวธุ ปน คอื นายอาํ เภอทอ งท่ี (ตา งจงั หวดั )
การอนุญาตใหรถเรขายสุราตามงานเทศกาลหรืองานรื่นเริงตางๆ ที่เปนตนเหตุใหวัยรุนซื้อสุราได
ทกุ เวลาอนั นาํ ไปสเู หตทุ าํ รา ยรา งกาย เปน อาํ นาจของสรรพสามติ รถทห่ี ายสว นมากเปน รถจกั รยานยนตใ หม
ท่ียังไมไดรับปายทะเบียนจากหนวยงานขนสงทางบกและสถานท่ีที่หายมากที่สุดคือตลาดนัดที่ฝาย
พาณชิ ยจงั หวัดมีอาํ นาจกาํ หนดเง่ือนไขอนุญาตใหเ ปดตลาดนดั ไดด งั นี้ เปน ตน ในระบบตํารวจชุมชน
ตาํ รวจตอ งบรู ณาการกบั หนว ยงานทจี่ ะแกไ ขปญ หาทเ่ี ปน ตน เหตใุ นการทาํ ใหเ กดิ ปญ หาสงั คมอนั นาํ ไป
สูอ าชญากรรม หรือปญ หาความไมเ ปน ระเบยี บของชุมชน โดยการจดั ระเบียบสงั คมใหดีขึน้


Click to View FlipBook Version