The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

15_CP21401_อาชญาวิทยางาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by peaw.2749, 2022-07-21 07:15:18

15_CP21401_อาชญาวิทยางาน

15_CP21401_อาชญาวิทยางาน

๔๗

à·¤¹Ô¤¡ÒÃá¡Œ»Þ˜ ËÒ (Problem Solving)

เปน หลกั การสาํ คญั ทส่ี ดุ อนั หนงึ่ ในการตาํ รวจชมุ ชนเพราะวา เมอื่ ตาํ รวจไดม คี วามสมั พนั ธ
หรอื ไดร บั ความรว มมอื ในการปอ งกนั อาชญากรรมหรอื ความไมเ ปน ระเบยี บของชมุ ชนแลว การทจ่ี ะให
บรรลุผลในการปองกันอาชญากรรมหรือลดความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมของประชาชนในชุมชน
ไดแลว ตํารวจจะตองนําประชาชนในชุมชนรวมแกปญหาความเดือดรอนจากภัยอาชญากรรมตามที่
ประชาชนในชุมชนรอ งขอ

การท่ีตํารวจไปตัดผมใหเด็กนักเรียน การไปแสดงดนตรี การไปรวมทําบุญกับชาวบาน
เปนตน ดังน้ีเปนเรื่องการทํากิจกรรมเพ่ือสรางความสัมพันธที่ดีระหวางตํารวจกับประชาชน หรือ
เปนการแสวงหาความรวมมือจากประชาชนซ่ึงเปนกิจกรรมหนึ่งเทานั้น แตถาจะใหบรรลุภารกิจ
ของตํารวจชุมชนเพ่ือแกปญหาความเดือดรอนจากภัยอาชญากรรมแลว ตํารวจจะตองทํากิจกรรม
ในข้ันตอนตอไป คือ การรวมคิดรวมทํากับชุมชน ในการใชเทคนิคการแกปญหา ซึ่งมีวิธีดําเนินการ
๔ ข้ันตอน ดงั นี้ (SARA Model)

ñ. ¡ÒÃสาํ ÃǨ»˜ÞËÒ (Scanning) ไดแก การดาํ เนินการดงั ตอ ไปนี้
๑.๑ สํารวจปญหาอาชญากรรมท่ีเกิดขึ้นบอย หรือทําความเดือดรอนมากที่สุด

ตามลาํ ดับใหแ กช ุมชน เชน เครอื่ งสบู น้าํ หาย หรอื เดก็ วัยรนุ แขงรถชอบววิ าททาํ รา ยกนั เปน ตน
๑.๒ สํารวจปญหาท่ีเปนผลตามมาจากการเกิดอาชญากรรมดังกลาว ที่เปน

ปญหาทัง้ ของตาํ รวจและชมุ ชน เชน ปญ หามีคนมาขายยาเสพตดิ ทบี่ า นรา ง ปญ หาท่จี ะเกิดตอไป คอื
เรื่องการลักทรพั ย การเกิดเสยี งดังในเวลากลางคืน เปน ตน

๑.๓ กําหนดความจําเปนเรงดวนหรือความเดอื ดรอ นมากนอ ย
๑.๔ ระดมความคิดรว มกันวาปญ หาทจ่ี ัดลาํ ดับ ยังมีอยหู รือไม
๑.๕ ระดมความคิดเห็นกับประชาชนและตํารวจวาปญหาแตละปญหานั้นเกิดข้ึน
บอ ยเทาใด กนิ ระยะเวลาเทาใด
๑.๖ เลอื กปญหาท่ีจะตองตรวจสอบแกไขตามลําดับ
ò. ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐˏ»˜ÞËÒ (Analysis) เหมือนกับการวิเคราะหคดีในระดับปฏิบัติการ
(Tactical Crime Analysis) คือ ตํารวจตองระดมความคิดกับประชาชนในชุมชนและหนวยงาน
ทีเ่ ก่ยี วของ เพือ่ คนหาตนเหตแุ หงการเกิดปญหาทีไ่ ดเลอื กไวในขน้ั ตอนการสาํ รวจปญหา ดังน้ี
๒.๑ พิสูจนทราบและทําความเขาใจกับเหตุการณและอาชญากรรมหรือความไม
สงบเรยี บรอยที่ไดเลือกไวใ นการสํารวจปญ หา โดยใชห ลกั ปจจยั การเกิดอาชญากรรม คอื สามเหล่ยี ม
อาชญากรรม คือ อาชญากรรมหรือความไมสงบในสังคม จะเกิดไดต องประกอบดว ย ๓ ปจจยั หลกั
ทไี่ มเ หมาะสมคอื เปา หมายหรอื เหยอ่ื โอกาส และคนรา ย เชน เหตกุ ารณร ถจกั รยานยนตห ายสว นมาก
มลี ักษณะของสถานท่เี กิดเหตุ ลักษณะรถท่ีหาย และลกั ษณะคนรา ยควรเปนอยา งไร

๔๘

๒.๒ รวบรวมขอ มลู สถติ แิ ละรายละเอยี ดคดี เหตกุ ารณท เี่ ลอื กวเิ คราะหท เี่ กดิ ภายใน
ชุมชน หรอื มผี ลกระทบ

๒.๓ ทาํ การวเิ คราะหว จิ ยั จากขอ มลู ทมี่ ี เชน จากการตรวจสอบคดรี ถจกั รยานยนตห าย
ทั้งหมดที่เกิดในเขตตรวจในรอบปท่ีผานมา พบวารอยละ ๗๐ เปนรถที่ซ้ือใหม ทางรานขาย
และทางหนวยงานขนสงทางบก ยงั ไมไ ดอ อกทะเบยี นให จึงไมม ีปา ยทะเบยี นตดิ เปนตน

๒.๔ กาํ หนดขอบเขตของสาเหตุหรอื ตน เหตขุ องปญ หาใหแ คบลง เฉพาะทีม่ คี วาม
สัมพันธ หรือมีผลตอการทําใหเกิดอาชญากรรมนั้น เชน จากการวิเคราะหขอมูลของ สภ. ท่ีมีพื้นที่
ติดชายแดนแลว อาจพบวาไมมีการนํารถจักรยานยนตท่ีหายไปขายประเทศเพ่ือนบานแตอยางใด
แตส ว นใหญน าํ ไปแยกชิ้นสว นขายในรา นขายอะไหลเกา

๒.๕ สํารวจดแู หลง ขอ มลู อนื่ ๆ ทอี่ าจชวยเหลอื ใหม คี วามเขา ใจปญหามากข้นึ เชน
จากการศึกษา จากตัวแทนจําหนายในพ้ืนท่ีชุมชนของบริษัทที่ขายรถจักรยานยนตท่ีหายมากที่สุด
ในพื้นท่ีพบวาบริษัทผูผลิตไดสลักรหัสเลขลับเฉพาะไวตามอะไหลรถท่ีสําคัญตางๆ ไวเปนการเฉพาะ
รายคนั ซึ่งทาํ ใหส ามารถพสิ จู นทราบวา อะไหลท่แี ยกชน้ิ สว นดังกลาวน้ี มาจากรถคันใดที่หายไป

๒.๖ ตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับสาเหตุหรือตนเหตุท่ีทําใหเกิดปญหานั้นๆ อยูเสมอ
เชน อาจสมมตุ ฐิ านวา ตน เหตทุ ที่ าํ ใหร ถจกั รยานยนตห ายในพน้ื ทช่ี มุ ชนมากเกดิ จาก ๓ ตน เหตใุ หญ คอื

๑) รถจกั รยานยนตย หี่ อ ทห่ี ายมาก มรี ะบบกญุ แจลอ็ กคอทตี่ าํ่ กวา มาตรฐาน
กวาย่หี อ อ่นื

๒) สถานทห่ี ายมากทีส่ ดุ คือตลาดนัด ท่ไี มไ ดมกี ารกาํ หนดเงอื่ นไขในการเปด
ตลาดนัดทตี่ องจดั ใหม รี ะบบยามเฝา หรอื รับฝากดแู ลรถจกั รยานยนต

๓) รถท่ีหายเกินครึ่งเปนรถท่ีซื้อใหมยังไมไดรับและปดปายทะเบียน ทําให
ยากตอการตรวจสอบตดิ ตามหรือสกดั จับเมอื่ แจงหาย

ó. ¨Ñ´¡ÒÃᡌ䢻ޘ ËÒ (Response) เปนขนั้ ตอนทสี่ ําคัญทส่ี ุด เพราะการคิด การพดู
วจิ ารณ เปน เรอ่ื งทงี่ า ยกวา การทาํ ใหบ รรลผุ ล เพราะในขอ เทจ็ จรงิ ปญ หาอาชญากรรมและความเดอื ดรอ น
ของชมุ ชน จะมคี นพดู คนวจิ ารณม าก แตเ มอื่ จะตอ งหาวธิ ที าํ เพอ่ื แกป ญ หา และจะตอ งหาผทู จ่ี ะมาแก
ปญ หาแลว เปน เรอ่ื งทย่ี ากและมปี จ จยั อน่ื ๆ มาแทรกซอ น ทาํ ใหผ ลไมเ ปน ไปตามทค่ี าดหวงั ไว ตาํ รวจ
จะตองระดมความรวมมือกับชุมชนในการใชทรัพยากรของชุมชนในการแกปญหาของชุมชนกอน
เปน ลาํ ดบั แรกสดุ ดังแนวทาง

๓.๑ ตาํ รวจตอ งระดมความคดิ เหน็ ถงึ วธิ จี ดั การแกป ญ หา ถา เปน เรอื่ งทปี่ ระชาชน
หรอื ชมุ ชน มีความเห็นรวมคิดกบั ตํารวจแลว ยอมเปนปจจัยสําคัญที่จะทาํ ใหชมุ ชนหรอื ประชาชนให
ความรวมมอื ในวธิ ีการแกป ญ หาตามแนวทางนน้ั ๆ เพราะเปนวธิ ที ่เี ขาคิดเอง

๓.๒ คนหาวา ชมุ ชนอ่ืน ทอ่ี น่ื ท่วั โลกมีวธิ ีแกไขปญหาทค่ี ลา ยกนั น้ีอยางไร

๔๙

๓.๓ กําหนดแผนการแกปญหาและผูรับผิดชอบดําเนินงาน ซ่ึงควรจะคํานึงถึง
การใชพ ลงั มวลชน อาสาสมคั รรปู แบบทเ่ี หมาะสม และทรพั ยากรหรอื หนว ยงานทม่ี อี าํ นาจหนา ทแี่ กไ ข
ตน เหตขุ องปญ หาเขา ไปจดั การกบั สาเหตขุ องปญ หากอ น และเปา หมายตอ ไปคอื การดาํ เนนิ การปอ งกนั
ปญหาในระยะยาวตอ ไป

๓.๔ กาํ หนดวัตถุประสงคห รอื ผลสัมฤทธิ์ของการแกไขหรอื ปอ งกนั
๓.๕ ดาํ เนนิ การแกไ ขปญ หาตามแผน
ô. ¡ÒûÃÐàÁ¹Ô ¼Å (Assessment) เมอ่ื ไดด าํ เนนิ การแกไ ขปญ หาหรอื ปอ งกนั ปญ หาแลว
ขน้ั ตอนตอ ไปคือการประเมนิ ผล โดยตํารวจตอ งดาํ เนินการรวมกับชุมชน ดงั นี้
๔.๑ ตัดสินใจวาแผนการแกไขปองกันปญหาภัยอาชญากรรมและความไมสงบ
ดาํ เนินการไดต ามแผนหรอื ไม
๔.๒ รวบรวมขอมูลตางๆ เชน สถิติคดีเปรียบเทียบกอนและหลังดําเนินงาน
ตามแผน
๔.๓ วิเคราะหวาผลการดําเนินการตามแผนในข้ันตอนที่ผานมาท้ังหมด
บรรลผุ ลหรอื ไม เพราะอะไร มแี นวทางในการปรบั แผนหรอื ไมอ ยา งไร ใหก ารแกไ ขหรอื ปอ งกนั ปญ หา
บรรลุผล
๔.๔ รายงานผลใหช มุ ชนและผเู กยี่ วขอ งทราบ เพอ่ื ดาํ เนนิ การตอ ไป หรอื ปรบั แผน
รูปการแกไขปองกนั ปญหาอาชญากรรมและความไมสงบเรยี บรอ ยของชมุ ชน

๕๐

¢ŒÍà»ÃÕºà·Õº¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒÀÑÂÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¨Ò¡áººà´ÔÁ·èÕ˹‹Ç§ҹÂØμÔ¸ÃÃÁ
ทาํ Ẻⴴà´èÂÕ Ç¡ºÑ ¡ÒÃ໹š ˌعÊÇ‹ ¹¡ÑºªÁØ ª¹á¡»Œ Þ˜ ËÒ

แบบประชาชนมสี ว นรวม Ẻ´éѧà´ÔÁ

ชาวบาน/ชมุ ชนรอ งทกุ ขเ กี่ยวกับ คาํ รอ งทกุ ขร ับไปดาํ เนนิ การ
อาชญากรรมและความไมส งบเรียบรอ ย โดยตาํ รวจ

ตํารวจทาํ งานแกป ญ หาอาชญากรรม ระบบดาํ เนินคดตี ามกฎหมาย
/ความไมส งบกบั ชมุ ชน แบบเดมิ

ตาํ รวจรวมมือชมุ ชนแกต นเหตุ แรงกดดันรอบดานตอ ตํารวจ
ของปญหาไมใ ชเ พยี งแคจ ับคนรา ยใหไ ด จับกมุ คนรา ยให

ตาํ รวจและกระบวนการยตุ ธิ รรมอน่ื ชุ ม ช น แ ล ะ ห น  ว ย ง า น ที่ ตาํ รวจจับกุมคนรายไดสง
ดําเนินการตามกฎหมายเปน เกี่ยวของรวมแกปญหาท่ี อยั การฟอ งศาล
สวนหนึ่งของการแกปญหาใน ตนเหตุอาชญากรรม เชน
ภาพรวม ไมค ดิ วา อาชญากรรม โรงเรียน, โรงงาน อปท. ชาวบานและชุมชนไมรูวาตํารวจ
น้ี เ ป  น ก า ร ผิ ด ก ฎ ห ม า ย อัยการ ศาล ราชทณั ฑ ทําอะไรกบั
อยา งเดียวเทา น้ัน คนราย/ตน เหตุปญ หาไมไดแ กไข

ยอนกลับใหช ุมชน ชุมชนมคี วามตระหนักวา ระบบตํารวจแบบดั้งเดิม ท่ีชุมชน
แกไขปญหา เกิดเหตใุ ดข้ึน และชวยกัน สังคม คอยแตรองขอบริการจาก
ตํารวจโดยไมไดมีสวนปองกันแกไข
แกไ ขไปอยา งไร ปญหาอาชญากรรมจากในสวนที่
ตนเองรบั ผิดชอบ
ระบบตาํ รวจชมุ ชน ตาํ รวจรวมมอื กับชมุ ชน
และหนว ยงานเกี่ยวขอ งแกไ ขปญหาท่ี

ตนเหตอุ าชญากรรม/ความไมส งบเรยี บรอย

ªØÁª¹à¢ŒÁᢧç
ªØÁª¹ÍÍ‹ ¹áÍ

๕๑

ÊÃØ»â´ÂÂ‹Í :
“¡ÒÃตาํ ÃǨªÁØ ª¹” เปน การทาํ งานของตาํ รวจในสายงานปกตทิ ปี่ ฏบิ ตั อิ ยแู ลว โดยมหี นา ที่

ติดตอและสรางความคุนเคยกับประชาชนอยางสมํ่าเสมอ เพื่อไดรับขอมูลขาวสารจากประชาชน
แลวนํามากําหนดเปนนโยบายใหเจาหนาที่ตํารวจทุกนายปฏิบัติ ขณะเดียวกันตํารวจก็สนับสนุน
ประชาชนใหชวยกันแกปญหาของตนเองพรอมกันไปดวย การวัดผลความสําเร็จสามารถตัดสินได
จากประชาชนมีความหวาดกลัวภัยอาชญากรรมนอยลง (ความไมหวาดกลัวภัยอาชญากรรม เชน
การกลาแตงตัวดวยเคร่ืองประดับราคาแพง กลาพกเงินจํานวนมากๆ ออกจากบาน จอดรถท้ิงไว
โดยไมกลัวขโมยหรือกลาเดินบนถนนโดยไมตองหวาดระแวงวาจะมีใครมาทํารายหรือถาเกิดเหตุ
กไ็ มก ลวั วา จะจบั คนรา ยไมไดท าํ นองน)ี้

ö. ·ÄÉ®Õ˹Ҍ μÒ‹ §áμ¡ (Broken Windows Theory)
ทฤษฎีหนาตางแตก (Broken Windows Theory) เกิดข้ึนใน ค.ศ.๑๙๘๒
(พ.ศ.๒๕๒๕) โดยวลิ สันและเคลล่ิง (James G. Willson และ George L. Kelling) นักอาชญาวิทยา
ชาวอเมรกิ ัน เคลลงิ่ (Kelling)
กลาวถึงทฤษฎีหนาตางแตก “เปนความคิดท่ีเจาะลึกไปถึงส่ิงท่ีตํารวจสามารถปฏิบัติได
เพอ่ื ลดความหวาดระแวงของประชาชน ลดอาชญากรรมธรรมดา และรวมทงั้ ลดอาชญากรรมทร่ี นุ แรงดว ย
ซึ่งอาจดูไมมีเหตุผลในเชิงอาชญาวิทยาท่ีมุงศึกษาโดยการนํามาเทียบเคียงกัน แตมีความหมายมาก
ตอผูปฏิบัติงานตํารวจ ซ่ึงแตเดิมขาพเจาเคยเช่ือ และคณะตํารวจที่ทํางานดานการวางแผน
(Planing Staff) เพยี งไมก คี่ นเทา นนั้ ทเ่ี หน็ ดว ยกบั ขา พเจา ในเรอ่ื งทวี่ า เอน็ ไอเจ (NIJ) ตอ งการทดลอง
ความคิดในเร่ือง “หนาตางแตก” ใหมากกวานี้และปฏิบัติใหมากข้ึน ขาพเจาขอเรียกวาเก่ียวกับ
มนษุ ยวทิ ยา (Anthropological) บนทอ งถนน ระหวา งเจา หนา ทตี่ าํ รวจกบั ผฝู า ฝน กตกิ าของกฎหมาย
(Offenders) เพ่ือพยายามคน หาวาวธิ ีไหนจะไดผล”
หลักการของทฤษฎี อาจอธิบายไดจ ากสถานการณต ัวอยางตอ ไปน้ี กลาวคือ เมื่อตาํ รวจ
ผปู ฏบิ ตั พิ บเหน็ อาคารทกี่ ระจกหนา ตา ง ประตู ฝาบา น รวั้ ตอ งแตกหรอื เสยี หายจากการขวา ง/ปา ทบุ ตี
พน สสี เปรยใ ส อยา งใดอยา งหนง่ึ หากอาคารนนั้ มผี อู าศยั อยู ตาํ รวจควรสอบถามถงึ สาเหตคุ วามเปน มา
ถารูตัวผูกระทําผิด ก็ตองจัดการตามข้ันตอนของกฎหมาย หากไมรูตัวผูกระทําผิด ก็ควรแนะนําให
ทําการซอมแซมใหอ ยใู นสภาพปกติ แตถ ากรณีอาคารทีเ่ สยี หายเปน อาคารไรผอู ยูอาศยั กค็ วรตดิ ตอ
เจา ของหรอื ผเู ก่ยี วของใหม าจัดการแกไ ข ทงั้ นดี้ ว ยเจตนาทไ่ี มต อ งการปลอ ยใหสงิ่ เสียหายเบือ้ งตน นั้น
เปนเหตุเชิญชวนใหมีการทําซํ้า (เชน บุกรุกเขาไปกออาชญากรรมในอาคาร) การปฏิบัติลักษณะนี้
อยบู นพน้ื ฐานความเปน จรงิ ทว่ี า ถา ปลอ ยใหม กี ารละเมดิ กฎหมายโดยไมจ ดั การ กต็ อ งละเมดิ เพมิ่ ครงั้ ขน้ึ
เร่ือยๆ (เพราะเห็นวาไมเปนไร) แมคนท่ีไมเคยคิดจะละเมิดมากอน ก็เกิดความรูสึกคลอยตาม
พลอยทาํ การละเมดิ บา ง โดยมกั คดิ ใหเ หตผุ ลผดิ ๆ แกต นเองวา การกระทาํ ผดิ อยา งนนั้ เปน ความทา ทาย

๕๒

ย่ิงไปกวาน้ันเมื่อทําการละเมิดเรื่องเล็กๆ แลวไมเปนไร ตอไปก็จะหันไปทําการละเมิดเร่ืองใหญๆ
ท่ีใหผลเปนความเสียหายมากกวา นอกจากน้ีความเสียหายและความเส่ือมโทรมที่เกิดจากฝมือของ
นกั ทาํ ลายทไี่ รเ หตผุ ล ยังมสี วนทาํ ใหความศกั ดิ์สทิ ธิข์ องกฎระเบียบ และกฎหมายในสงั คมเสื่อมถอย
ลงอกี ดว ย เหตผุ ลสาํ คญั อกี ประการหนง่ึ คอื เมอ่ื ปลอ ยใหค วามเสยี หายเพมิ่ มากขนึ้ กระทงั่ มสี ภาพเปน
แหลง เสอ่ื มโทรม สจุ รติ ชนคนดกี ม็ กั หลกี เลย่ี งทจี่ ะเขา ใกล/ เกย่ี วขอ งกบั พนื้ ทนี่ น้ั ๆ ในทสี่ ดุ พนื้ ทดี่ งั กลา ว
กถ็ กู ยดึ ครองโดยกลมุ มจิ ฉาชพี หรอื กลมุ คนผชู อบทําตวั ถว งสงั คม เหตนุ ี้ หลกั ปฏบิ ตั สิ ําคญั อกี ประการหนง่ึ
ของทฤษฎี จึงกําหนดการดาํ เนินการของตาํ รวจ ดวยการพยายามเปดโอกาสใหประชาชนคนดี
เขา ครอบครองพนื้ ทใี่ หไ ดม ากทสี่ ดุ ทง้ั น้ี เพอื่ ปอ งกนั การยดึ ครองของคนทจุ รติ ไปในตวั ดว ย (แนวทฤษฎนี ี้
คลา ยคําพงั เพยของไทยที่วา “ตัดไฟแตตน ลม”)

การดาํ เนนิ การตามแนวทางของทฤษฎหี นา ตา งแตก เปน การปฏบิ ตั ทิ ม่ี งุ ขจดั ความไรร ะเบยี บ
“ความไรร ะเบยี บ” ในทางสงั คมศาสตร หมายถงึ ความไมส ภุ าพ เกะกะ และแสดงอาการคกุ คาม/รบกวน
การดํารงชีวิต โดยเฉพาะชีวิตคนในสังคมเมือง ซึ่งมีลักษณะตองอยูตอหนาคนแปลกหนามากมาย
และอยใู นสถานการณท ปี่ ระชาชนตอ งการความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ยในระดบั ตาํ่ (Minimum Levels
Of Order) ไมว า การใชพ นื้ ทเ่ี พอ่ื การอยอู าศยั เพอ่ื เปด รา นคา เพอื่ ใหบ รกิ าร เพอ่ื การจดั งานชนื่ ชมยนิ ดี
ในโอกาสตางๆ ทางวัฒนธรรมหรือทําพื้นที่ไวใหลูกๆ หลานๆ ว่ิงเลนตามตองการของประชาชน
นกั นครวิทยา (Urbanologist) ช่อื เจน จาคอบส (Jane Jacobs) เรยี กวา เปน การเปลย่ี นแปลงเล็กๆ
นอยๆ ของชีวิตคนเมือง เปนสิ่งท่ีชวยทําใหคนแปลกหนาสามารถอาศัยอยูดวยกันไดอยางสงบสุข
ดวยความเจริญ มอี ารยธรรม สงาภูมฐิ าน แตก็เปน เงอื่ นไขทส่ี ําคัญ และมขี อ จาํ กัด

จากประสบการณของตํารวจผูปฏิบัติตางยอมรับท่ัวกันวา ปญหาอาชญากรรมสวนใหญ
ผูกระทําความผิดมักไมไดเริ่มตนสรางพฤติกรรมอาชญากรรมท่ีรายแรงหรือคดีอุกฉกรรจโดยทันที
แตมักเร่ิมตนจากไมยึดถือระเบียบแบบแผน ไมเคารพกติกาและไมรักษาวินัยกอนแลวจึงจะขยายไป
สูการประกอบอาชญากรรมท่ีรายแรงมากขึ้น นอกจากนี้มีขอสังเกตที่นาสนใจวาคนรายหรือคนที่
กระทําความผิดโดยสันดานเหลาน้ีจะไมจํากัดการกระทําความผิดเฉพาะเร่ืองอาชญากรรมรายแรง
เทานั้น โดยมากคนเหลานี้มักจะคิดในทางไมรับผิดชอบตอสังคมลักษณะที่วาเร่ืองใหญยังทําได
แลวเรื่องเล็กๆ นอยๆ แคนี้จะตองไปสนใจทําไมกัน ดังน้ันจึงอาจขับรถฝาฝนสัญญาณไฟจราจร
สง เสยี งเอะอะโวยวายตามตรอกซอกซอย เมาสรุ าและเดนิ เกะกะระรานชาวบา น เรอื่ งเหลา นต้ี าํ รวจหวั เกา
อาจเหน็ เปน เรอ่ื งเลก็ ๆ นอ ยๆ ไมน า มผี ลอะไร แตใ นความเปน จรงิ ประชาชนทม่ี ปี ระสบการณโ ดยตรง
เหน็ เปน เรอื่ งใหญน า กลวั และตอ งการใหต าํ รวจจดั การกบั การกระทาํ ดงั กลา วดว ยเหมอื นกนั ถา ตาํ รวจ
ไมจัดการ เมื่อเกิดความไรระเบียบ ไมเคารพกฎเกณฑกติกาของสังคมขึ้นมากๆ จะทําใหประชาชน
เกิดความหวาดระแวงกลัวภัยจะมาถึงตน นําไปสูการเปดชองโอกาสใหเกิดการกระทําความผิด
พน้ื ทใ่ี ดไรระเบยี บมากถึงขนาดประชาชนคนดีไมอ าจครอบครองพื้นทีน่ ัน้ ตาํ รวจกไ็ ดชื่อวา ไมส ามารถ
ครอบครองไดเชนกัน (พื้นที่ดังกลาวยอมอยูในครอบครองของคนราย) เพื่อมิใหเกิดเหตุการณเชนนี้

๕๓

ตํารวจจะตองขจัดความไรระเบียบและการไมเคารพกติกาของสังคมดวยวิธีคิดงายๆ วา ทําอยางไร
กไ็ ด เพอื่ ใหป ระชาชนคนดรี สู กึ ปลอดภยั ในการใชพ นื้ ท่ี (ขณะเดยี วกนั กจ็ ะทาํ ใหค นรา ยรสู กึ หวาดระแวง
ในพืน้ ทีด่ งั กลาวโดยอัตโนมัต)ิ ซงึ่ จะมผี ลดานการลดการเกิดอาชญากรรมท่ีนบั เปนคดีๆ หรือ Index
Crime เชน ลักทรพั ย ชงิ ทรัพย ฆา ผอู นื่ ทตี่ ํารวจสว นใหญในมมุ มองเดมิ มกั จะกังวล

การปฏิบัติตามหลักการของทฤษฎีหนาตางแตก ตํารวจตองปฏิบัติงานรวมกับประชาชน
ดงั นนั้ กอ นลงมอื ดาํ เนนิ การ จาํ เปน ตอ งศกึ ษาสาเหตขุ องปญ หาตา งๆ เชน ศกึ ษาปญ หาอาชญากรรม
ศกึ ษาระเบียบ กฎเกณฑ/ กตกิ าสงั คมและศกึ ษาขอกฎหมาย จากน้นั ก็ใหความรูแ ละสรางความเขา ใจ
กับประชาชน

แบรทตั้น (William Bratton) อดีตผูบัญชาการตํารวจนิวยอรค ซ่ึงวงการตํารวจทั่วไป
ยกยอ งวา เปน หนงึ่ ในสดุ ยอดผจู ดั การตาํ รวจในศตวรรษที่ ๒๐ เปน ผนู าํ หลกั การของทฤษฎหี นา ตา งแตก
มาใชอ ยา งจรงิ จงั ใน ค.ศ.๑๙๘๙ (พ.ศ.๒๕๓๒) ภายใตก ารสนบั สนนุ ของ ลเู ลยี น่ี (Rudoiph C.luliani)
นายกเทศมนตรีของนิวยอรค เร่ิมแรกท่ีนํามาใช แบรทตั้นประกาศวาจะลดอาชญากรรมในนิวยอรค
ลงใหไ ด ซง่ึ ไมม ใี ครเชอ่ื และเหน็ เปน เรอื่ งขบขนั ดว ยซา้ํ ไป (ตาํ รวจคนใดหรอื หนว ยงานใดกต็ ามทบ่ี อกวา
สามารถลดอาชญากรรมไดใ นชว งหนง่ึ จะถอื เปน เรอ่ื งนา ขบขนั เพราะเปน ทรี่ กู นั ทว่ั ไปวา ยงั ไมม ตี าํ รวจ
ในยโุ รปและอเมรกิ าหรอื ในเอเชยี เคยทาํ ไดม ากอ น) โดยเฉพาะตาํ รวจนวิ ยอรค เองกใ็ หค วามเหน็ วา ไมม ี
อํานาจจัดการเพียงพอกับงานลักษณะท่ีแบรทต้ันกําลังจะทํา นอกจากน้ียังเปนงานสังคม/เปนปญหา
สังคม ไมใชงานหลักของตํารวจและตาํ รวจไมม กี าํ ลงั เพียงพอ (ตํารวจนิวยอรคแจง วาขาดกําลังตาํ รวจ
อยูถึง ๖,๐๐๐ นาย) ตํารวจเองก็เคยระดมกําลังกวาดลางมากอน (เชน ปดทางเขาออกรถไฟใตดิน
แลวตรวจคนพวกตองสงสัย) แบรทตั้น กลาววา “ท่ีเคยระดมกวาดลางปดลอมตรวจคนกันมาแลว
ปญ หายงั คงมอี ยู ประชาชนยงั คงไดร บั ความเดอื ดรอ น ตาํ รวจกย็ งั ตอ งทาํ งานหนกั แกป ญ หาแบบเดมิ ๆ
ซาํ้ แลว ซา้ํ เลา แถมถกู ตาํ หนวิ จิ ารณอ ยเู ชน นี้ แลว จะยงั คงทาํ เชน เดมิ ตอ ไปหรอื อยา งไร ทาํ ไมไมเ ปลย่ี น
วธิ กี ารหาวธิ ใี หมๆ ดบู า ง” ในทส่ี ดุ ตาํ รวจนวิ ยอรค กเ็ สนอหลกั การงานตาํ รวจพฒั นาและแกป ญ หาทพี่ ลกิ ผนั
ตามแนวทางของชมุ ชน เมอ่ื เรม่ิ ดาํ เนนิ การ แบรทตน้ั ไดแ นะนาํ ใหเ อาหลกั การของทฤษฎหี นา ตา งแตก
เขามาผสมผสาน ตํารวจนิวยอรคจึงไดหันมาใชหลักการของทฤษฎีหนาตางแตกตามคําแนะนําของ
แบรทตั้น (แบรทตั้นไมไดสั่งหรือบังคับ) ตอมาคร้ันถึง ค.ศ.๑๙๙๒ (พ.ศ.๒๕๓๕) ไดมีการสํารวจ
สถิติอาชญากรรมในนิวยอรคอยางจริงจัง ปรากฏวาอาชญากรรมโดยเฉล่ียลดลงถึงรอยละ ๔๒
และแมว าแบรทต้ันจะลาออกจากตาํ รวจไปแลว แตผ บู ญั ชาการตาํ รวจนวิ ยอรคคนตอๆ มา ก็ยังคงใช
หลักการของทฤษฎีหนาตางแตกอยูและอาชญากรรมก็ไมสูงข้ึน ปจจุบันนิวยอรคไดรับการยอมรับวา
เปนเมอื งหน่งึ ที่มีความปลอดภยั สงู ตางจากอดีตแบบพลกิ ฝามอื

ทฤษฎีตางๆ ยอมมีท้ังจุดเดนและจุดดอย จุดเดนของทฤษฎีหนาตางแตกคือ จะไดผลดี
ในพื้นท่ีที่ควบคุมไดงาย เชน พื้นท่ีสถานีรถไฟใตดิน สถานีขนสงหรือพ้ืนท่ีชุมชนท่ีมีขอบเขตแนนอน
หมบู า นจดั สรร ทฤษฎนี เี้ ปน ทฤษฎที ส่ี อดรบั กบั ความคนุ เคยในการปฏบิ ตั งิ านของตาํ รวจ คอื เปน ทฤษฎี

๕๔

จากบนลงลา ง (Top Down) และการดาํ เนนิ การตามหลกั การของทฤษฎีน้จี ะมีผลใหเ หน็ เปน รูปธรรม
เพราะอาชญากรรมรายแรงจะลดลงมากโดยอตั โนมตั ิ ในสว นจุดดอ ยของการดําเนนิ การตามหลกั การ
ของทฤษฎนี กี้ ม็ อี ยหู ลายประการ เชน จะมปี ญ หากบั ความรสู กึ ของประชาชน เพราะตอ งเขม งวดมากขนึ้
จนอาจดูเหมือนวาไมใสใจกับคนยากไร คนดอยโอกาสทางสังคม เปนหลักการที่ลอแหลมตอสิทธิ
มนษุ ยชนและมมี มุ มองคอ นขา งแตกตา งจากนกั อาชญาวทิ ยาโดยทว่ั ไปทมี่ องวา อาชญากรรมเกดิ จาก
ความยากจน ความขัดแยงทางความคิด/วัฒนธรรมและความไมเทาเทียมกันทางสังคม ฉะนั้น
การจัดการและการดําเนินการจึงตองใชเทคนิคสูง โดยผูปฏิบัติตองเปนตํารวจมืออาชีพที่มีทักษะ
และประสบการณดี อยางไรก็ตาม เมื่อใชการวิเคราะหทางภูมิศาสตรงานตํารวจ (Geographic
Policing) เขาชวยก็ทําใหมีขอโตแยงกับทฤษฎีนี้อยูบางวา กรณีท่ีเคยนําหลักการตามทฤษฎีนี้
มาใชแ ลว ทาํ ใหอาชญากรรมลดลงอาจเปน เพราะเหตผุ ลอืน่ เชน คนวยั รุน ลดลง คนมีงานทาํ มากข้นึ
หรือคนในปจจุบนั สวนใหญไมน ิยมความรนุ แรงกเ็ ปน ได

Broken Windows Model เปนรปู แบบใหมของกระบวนทัศนตํารวจชุมชนยดึ ปรชั ญา
การทํางานเชิงรุก “เนนความสามารถในการแกปญหาควบคูไปกับการบังคับใชกฎหมาย” วิธีการน้ี
มองวา ประชาชนเปนหุนสวนในการควบคุมปญหาอาชญากรรม และในขณะเดียวกันก็เปนลูกคา
ของตํารวจดวย การแกปญหาอาชญากรรมดวยการทํางานรวมกับชุมชนและอาศัยพลังชุมชนเขามา
มสี ว นรว มในการกาํ หนดพนั ธกิจการปฏิบัติ ทาํ ใหตํารวจอยใู นแนวหนา ตลอดมา

¡ÅÂØ·¸สํา¤Ñޢͧ Broken Windows Model ์¹ãËŒ¼ÙŒ¡ÃÐทํา¼Ô´สํา¹Ö¡¼Ô´
áÅÐÃѺ¼Ô´ªÍºàÂÂÕ ÇÂÒ ª´ãª¤Œ ÇÒÁàÊÕÂËÒÂ

- เนนความปลอดภัยสาธารณะ
- ทํางานในชุมชน สาํ นักงานเปน ทีบ่ รหิ ารจัดการ
- สรา งหนุ สวนในชุมชน
- ใชทรพั ยากรอยางคมุ คา
- บังคบั เงอ่ื นไขอยา งจริงจงั
- เนนการวดั ผลดวยตัวชี้วดั
- เนนภาวะผนู ําทเี่ ขม แขง็
Broken Windows Model ä´ŒàʹÍá¹ÐËÅÑ¡¡ÒÃÊÌҧËØŒ¹Ê‹Ç¹ (partnership)
㹪ÁØ ª¹ ´Ñ§¹éÕ
- สรางการมสี วนรว มอยางมคี วามหมายจากเหย่อื อาชญากรรมและชมุ ชน
- หุนสวน เนน จากกลุม เพ่อื นบา น โรงเรยี น กลมุ ธุรกจิ กลมุ ความเช่ือ ใหน ําผูกระทาํ ผิด
เขารบั การสนับสนนุ และชวยเหลือจากกลมุ เหลานน้ั
- สรางกระบวนการทํางานแบบเคียงบาเคียงไหลกับหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม
ตามธรรมดาในลกั ษณะหุน สว น มงุ เปาที่ความปลอดภัยสาธารณะและความสงบสขุ

๕๕

- เปนหุนสวนกับองคกรเพ่ือบริการชุมชนและบริการสังคมทั้งหลาย หนวยงานบําบัด
รักษายาเสพตดิ และองคก รทไ่ี มแ สวงหากาํ ไรเพ่ือการฟน ฟูและดแู ลผูกระทาํ ผดิ

- พัฒนาระบบการส่ือสารกับชุมชนใหความรูและขอมูลขาวสาร เพื่อเพิ่มความรวมมือ
จากชุมชนเปน สําคญั
¡ÒûÃÐÂØ¡μãªŒá¹Ç¤Ô´·ÄÉ®·Õ èàÕ ¡èÕÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡Òû‡Í§¡Ñ¹»ÃÒº»ÃÒÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ

ในการปฏิบัติหนาท่ีของผูที่สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรนักเรียนนายสิบตํารวจแลว
จะไดร บั การบรรจแุ ตง ตง้ั เปน ขา ราชการตาํ รวจชน้ั ประทวนทาํ หนา ทเี่ ปน ตาํ รวจระดบั ปฏบิ ตั กิ ารประจาํ
หนว ยงานตา ง ๆ ทม่ี ภี ารกจิ ในการดาํ เนนิ การเกยี่ วกบั การปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรมของสาํ นกั งาน
ตาํ รวจแหง ชาตโิ ดยเฉพาะอยางยิ่งประจําสถานตี ํารวจ ซึง่ ไมว า จะไดม อบหมายใหป ฏิบัติหนา ท่ีงานใด
ของสถานตี าํ รวจกต็ อ งมหี นา ทใ่ี นการปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม และมคี วามจาํ เปน ทจี่ ะตอ งศกึ ษา
ทําความเขาใจถึงแนวคิดทฤษฎีที่เก่ียวของกับการปองกันปราบปรามอาชญากรรม และตองสามารถ
นาํ แนวคิดทฤษฎีเหลา นนั้ ไปปรบั ใชในการปฏบิ ตั ิหนาทเ่ี พอ่ื ใหง านมีประสทิ ธิภาพเพิ่มขนึ้ ตวั อยางเชน

๑. ผบู งั คับหมงู านปอ งกนั ปราบปราม
๑.๑ ในการทาํ หนาที่สายตรวจ
- ตํารวจสายตรวจทุกคนตองมีการปรากฏกายใหสังคมชุมชนไดเห็นชัดเจน

ในจังหวะเวลาและความถี่ท่ีเหมาะสม ตรวจตราดูแลเอาใจใส ยานพาหนะ สถานท่ีสาธารณะ
เคหสถานของประชาชน ไมใ หเ กดิ สภาวะลอ แหลมเสยี่ งตอ การเกดิ อาชญากรรมตามทฤษฎหี นา ตา งแตก
(Broken windows theory)

- ในขณะออกตรวจนนั้ ตอ งคอยสงั เกตและเกบ็ ขอ มลู สภาพแวดลอ มในลกั ษณะ
ตาง ๆ ท่ีอาจสงเสริมสนับสนุนใหมีการเกิดอาชญากรรมเกิดขึ้นแลวรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบ
เพอื่ จดั การบรหิ ารจดั การสภาพแวดลอ มนน้ั ๆ ตอ ไปตามทฤษฎคี วบคมุ อาชญากรรมจากสภาพแวดลอ ม
(Crime Control Through Environmental Design)

- ในการออกตรวจชมุ ชนหมูบา นตา ง ๆ ตาํ รวจสายตรวจมีความจาํ เปน ท่จี ะ
ตอ งพบปะพดู คยุ สรา งความสมั พนั ธท ดี่ กี บั ประชาชนในพนื้ ทใ่ี หม ากขน้ึ ตามทฤษฎตี าํ รวจชมุ ชนสมั พนั ธ
(Police Community Relation Theory) และตอ งสรางความไวเ นือ้ เชอ่ื ใจใหบ รกิ ารชวยเหลอื สังคม
จนเปนสวนหนึ่งของสงั คมชมุ ชนตามแนวทฤษฎตี าํ รวจชมุ ชน (Community Policing)

- ในขณะท่ีตํารวจสายตรวจออกตรวจตราทองท่ีน้ันมีโอกาสที่ตองเผชิญเหตุ
หรือไดรับแจงใหเขาระงับเหตุการณการกระทําผิดกฎหมาย ดวยเหตุนี้เองผูที่จะสําเร็จออกไปเปน
นายสบิ ตาํ รวจมคี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ ทจ่ี ะตอ งมอี งคค วามรทู างดา นกฎหมายทแี่ มน ยาํ โดยเฉพาะอยา งยง่ิ
ในเรื่องฐานะความผิดอาญา การจับ การคน การแจงสิทธิผูตองหาหรือผูถูกจับ และความรอบรู
ในเรอื่ งกฎหมายประกอบอน่ื ๆ เพอื่ จะไดป ฏบิ ตั ติ ามทฤษฎกี ารบงั คบั ใชก ฎหมาย (Law Enforcement
Theory) ไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

๕๖

๑.๒ ในการทําหนาที่อ่ืน ๆ เชน ทาํ หนาท่ีคุมผูตองหาบนสถานี ทําหนาที่
ประชาสมั พนั ธ ทาํ หนา ทพี่ มิ พล ายนว้ิ มอื ทําหนา ทเ่ี สมยี นประจาํ ธรุ การ ทําหนา ทพี่ นกั งานวทิ ยุ เปน ตน
การทาํ หนาที่เหลาน้ีก็มีความจาํ เปนที่จะตองมีความรูความเขาใจถึงแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ
การปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม เพอ่ื เกอ้ื หนนุ การดาํ เนนิ การดา นปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม
และในการปฏบิ ตั หิ นา ทส่ี มั ผสั ใหบ รกิ ารประชาชนกม็ คี วามจาํ เปน ทจ่ี ะตอ งนาํ แนวคดิ ทฤษฎตี าํ รวจชมุ ชน
สมั พนั ธ (Police Community Relation Theory) และทฤษฎีตาํ รวจชมุ ชน (Community Policing)
มาใชใ นการปฏิบัติหนา ที่

๒. ผบู งั คับหมงู านจราจร
๒.๑ ในการทาํ หนาท่ีประจําจุดบริการอํานวยความสะดวกดา นการจราจร
- การทําหนาที่ในสวนน้ีถือวาเปนการปรากฏกายเพ่ือปองกันปราบปราม

อาชญากรรมใหส งั คมชมุ ชนไดเ หน็ ชดั เจนเชน เดยี วกนั กบั ตาํ รวจสายตรวจดงั น้ี จงึ ตอ งมกี ารสงั เกต ดแู ล
เอาใจใส ยานพาหนะ สถานทต่ี า ง ๆ ไมใ หเ กดิ สภาวะลอ แหลมเสย่ี งตอ การเกดิ อาชญากรรมตามทฤษฎี
หนาตา งแตก (Broken windows theory)

- ในการอํานวยความสะดวกดา นการจราจรนี้ ก็มคี วามจาํ เปนทจ่ี ะตอ งสราง
ความสัมพันธที่ดีพรอม ๆ กับการเปนสวนหน่ึงของสังคมชุมชนตามแนวทฤษฎีตํารวจชุมชนสัมพันธ
(Police Community Relation Theory) และตองสรางความไวเน้ือเชือ่ ใจใหบ รกิ ารชวยเหลอื สังคม
จนเปนสวนหนง่ึ ของสังคมชมุ ชนตามแนวทฤษฎีตาํ รวจผูรับใชชมุ ชน (Community Policing)

๒.๒ ในการทาํ หนา ทจ่ี ดุ ตรวจกวดขันวินยั จราจร
- ในการทาํ หนา ทนี่ แ้ี มค วามผดิ ตามกฎหมายจราจรจะไมถ งึ ขนั้ เปน อาชญากรรม

ก็ตามแตในบางกรณีอาจเก่ียวเนื่องเชื่อมโยงกับความผิดท่ีเปนอาชญากรรมอื่น ๆ ได เชน
การโจรกรรมรถ ยาเสพติด การขนสงเคลื่อนยายส่ิงผิดกฎหมาย เปนตน ดังนี้ตํารวจจราจรตองมี
ความรอบรูในกฎหมายจราจร และกฎหมายอาญาอ่ืน ๆ อยางแมนยํา ซึ่งในสวนนี้เปนการปฏิบัติ
ตามทฤษฎีการบังคบั ใชกฎหมาย (Law Enforcement Theory)

๒.๓ การเผยแพรและใหความรูเก่ียวกับกฎหมายจราจรแกเยาวชนและประชาชน
ทัว่ ไป

- การทาํ หนา ทผ่ี ถู า ยทอดความรเู กยี่ วกบั กฎหมายจราจรถอื เปน งานสาํ คญั หลกั
อีกอันหนึ่งของตํารวจจราจรซ่ึงเปนการใหความรูพรอมชี้แจงทําความเขาใจ สรางความสัมพันธ
ทด่ี กี บั สงั คมชมุ ชนและการใหบ รกิ ารชมุ ชนตามแนวทฤษฎตี าํ รวจชมุ ชนสมั พนั ธ (Police Community
Relation Theory) และตอ งสรา งความไวเ นอื้ เชอื่ ใจใหบ รกิ ารชว ยเหลอื สงั คมจนเปน สว นหนงึ่ ของสงั คม
ชุมชนตามแนวทฤษฎตี ํารวจชมุ ชน (Community Policing)

๕๗

๓. ผูบงั คับหมงู านสืบสวน
๓.๑ ในการทําหนา ทส่ี ืบสวนจับกมุ
- แมก ารทาํ หนา ทข่ี องชดุ สบื สวนจะมใิ ชก ารปรากฏกายอยา งตาํ รวจสายตรวจ

และตํารวจจราจร แตก ารสืบสวนจบั กุมจะมปี ระสทิ ธภิ าพไดนั้นตอ งอาศัยความรวมมือจากประชาชน
ในการใหเ บาะแสขอ มลู ดงั นนั้ ตํารวจงานสบื สวนนอกจากจะตอ งใชท ฤษฎกี ารบงั คบั ใชก ฎหมาย (Law
Enforcement Theory) แลวยังตองใชแนวคิดทฤษฎีตาํ รวจชุมชนสัมพันธ (Police Community
Relation Theory) และทฤษฎีตํารวจชุมชน (Community Policing) ดว ย

๓.๒ ในการทําหนา ทแี่ สวงหาขา วและขอ มูล
- ตาํ รวจงานสบื สวนนอกจากจะแสวงหาขา วและขอ มลู เพอื่ การสบื สวนแสวงหา

ขอเท็จจริงของคดีแลว ยังตองมีหนาที่ในการหาขาวและขอมูลเกี่ยวกับทฤษฎีหนาตางแตก (Broken
windows theory) และทฤษฎคี วบคมุ อาชญากรรมจากสภาพแวดลอ ม (Crime Control Through
Environmental Design) นําเสนอหรือรายงานผูบังคับบัญชาเพ่ือสนับสนุนงานของฝายปองกัน
ปราบปรามดวย

๔. ผูบังคับหมูงานอื่น ๆ เชน งานอํานวยการ ผูชวยพนักงานสอบสวน เปนตน
ก็มีความจําเปนท่ีจะตองศึกษาทําความเขาใจแนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวของกับการปองกันปราบปราม
อาชญากรรม เพราะงานปองกันปราบปรามอาชญากรรมถือเปนงานของตํารวจทุกคนทุกสายงาน
เพราะฉะนั้นหากมีขอมูลเกี่ยวของเกี่ยวโยงกับการปองกันปราบปรามอาชญากรรมก็จะตองให
ผูบังคับบัญชาทราบ และในการปฏิบัติหนาท่ีสัมผัสกับประชาชนสังคมชุมชนน้ัน ตองรูจักใชหลักการ
แนวคิดทฤษฎีที่เกีย่ วของกับการปอ งกนั ปราบปรามอาชญากรรมเปนประยกุ ตใชใหเกิดประโยชน

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ÒŒ º·

๑. ทาํ แบบทดสอบประเมินผลการเรยี นรู
๒. คําถามใหผูเรียนอธิบายทฤษฎีการบังคับใชกฎหมาย ทฤษฎีการควบคุมทางสังคม
ทฤษฎีชุมชนสัมพันธ ทฤษฎีการควบคุมอาชญากรรมโดยสภาพแวดลอม ทฤษฎีตํารวจรับใชชุมชน
ทฤษฎีหนา ตางแตก

๕๙

º··èÕ ô

ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¾àÔ ÈÉ

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

๑. ผูเรียนเขาใจประเภทของอาชญากรรมพิเศษ อันไดแก อาชญากรรมเศรษฐกิจ
อาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมคอมพวิ เตอร และอาชญากรรมการคา มนุษย

๒. ผูเรียนสามารถอธิบายประเภทของอาชญากรรมพิเศษ อาชญากรรมเศรษฐกิจ
อาชญากรรมขามชาติ อาชญากรรมคอมพิวเตอร และอาชญากรรมการคามนษุ ย

º·นาํ

สถานการณอาชญากรรมในสังคมปจจุบันไดทวีความรุนแรงและมีความสลับซับซอนของ
การกระทาํ ผดิ ขน้ึ เปน ลาํ ดบั โดยเฉพาะอาชญากรรมพเิ ศษ มกี ารเปลยี่ นแปลงวธิ กี ารตา งๆ ไปอยา งมาก
มีผลกระทบตอความม่ันคงทางเศรษฐกิจและสังคมท้ังภายในและตางประเทศตามกระแสโลกาภิวัตน
ที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว โดยอาศัยเคร่ืองมือเทคโนโลยีท่ีทันสมัยประกอบกับผูกระทําความผิด
ทมี่ คี วามรคู วามสามารถในการอาศยั ชอ งวา งกฎหมายทอ่ี อกมาใชบ งั คบั เพอื่ ลงโทษผกู อ อาชญากรรม
พิเศษเหลานี้ไดทันทวงที ทําใหผูกระทําผิดหลุดพนจากการถูกลงโทษตามกฎหมายเปนจํานวนมาก
ดวยเหตุนี้ในแตละประเทศ จึงไดหารือรวมกันเพ่ือหามาตรการในการปองกันและปราบปราม
อาชญากรรมพิเศษท่ีเกิดข้ึน

๖๐

»ÃÐàÀ·¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¾àÔ ÈÉ

อาชญากรรมพเิ ศษสามารถแบงออกเปนประเภทๆ ดงั น้ี

ñ. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁàÈÃÉ°¡¨Ô
อาชญากรรมเศรษฐกจิ คอื อาชญากรรมทเ่ี กดิ ผลเสยี หายแกเ ศรษฐกจิ ของปจ เจกชน

และประเทศชาติสงั คมสว นรวม ทาํ ลายความเชอ่ื ถอื ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ

¢ŒÍáμ¡μ‹Ò§¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁàÈÃÉ°¡Ô¨áÅзÇÑè ä»

ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁàÈÃÉ°¡¨Ô ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·èÇÑ ä»

๑. ไมปรากฏเปน รูปธรรม ๑. ปรากฏเปนรูปธรรม
๒. ไมเพงเล็งเหยอ่ื โดยเฉพาะเจาะจง ๒. เพงเล็งเหยื่อโดยเฉพาะเจาะจง
๓. ผลกระทบ ไมชัดเจนทันที ๓. ผลกระทบชัดเจนทนั ที
๔. ความเสียหาย *มหาศาล ๔. ความเสยี หายนอยกวา
๕. ใชความคนุ เคย ความนมุ นวล ๕. ใชความโหดราย

ทาํ ÃŒÒÂàËÂèÍ× ทําÃŒÒÂàËÂèÍ×

»˜ÞËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁàÈÃÉ°¡¨Ô
๑. ความผดิ เกี่ยวกบั การปลอมแปลง เชน เงินตรา บัตรเครดติ เงินประกัน
๒. การปน หุน
๓. ความผดิ เกี่ยวกับภาษีอากร เชน โกงใบกํากับภาษี สินคา หนีภาษี
๔. ความผดิ เก่ยี วกับธุรกิจบานจดั สรร เชน การปลอยสินเชือ่
๕. ความผดิ เกย่ี วกับสถาบนั การเงิน เชน การปลอยสนิ เช่ือ
๖. ธุรกจิ Time Sharing เชน ขายตรงแบบลูกโซ M.L.M.
๗. ความผดิ เกยี่ วกบั ทรพั ยส นิ ทางปญ ญา เชน สนิ คา ปลอมแปลง เครอื่ งหมายการคา
๘. การฉอโกงในการซอื้ ขายผลติ ผลลว งหนา (Commodity trade)
๙. ความผดิ เกย่ี วกบั เงินนอกระบบ เชน แชร ทรัสตเถอ่ื น
๑๐. ความผดิ เกยี่ วกับการคาเงนิ เถ่อื น (ฟอลเล็ค) เชน เก็งกําไร เงนิ ตราตางประเทศ + ไทย
๑๑. อาชญากรรมทรพั ยากรและสง่ิ แวดลอม เชน ปาไม สิ่งแวดลอมเปน พษิ
๑๒. การผูกขาดสินคา , กกั ตนุ สนิ คา
๑๓. อาชญากรรมทด่ี าํ เนนิ การในรปู สถาบนั เชน รบั สนิ บน ฉอ โกง ยกั ยอก กระทรวง
สาธารณสขุ โกงคา ยากระทรวงเกษตรฯ

๖๑

๑๔. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร เชน โจรกรรมขอ มลู สรา งขอ มลู เทจ็ (วายรา ย ATM)
๑๕. ความผิดเก่ียวกบั การฟอกเงิน
ÍÒªÞҡ÷ҧàÈÃÉ°¡¨Ô
๑. มบี คุ ลิกภาพดี
๒. มีสติปญญา
๓. การศกึ ษาและฐานะทางเศรษฐกจิ ดี มอี ทิ ธิพล
Í»Ø ÊÃä㹡ÒÃดําà¹¹Ô ¤´Õ
๑. ผูก ระทําผดิ ไมใ ชบ คุ คลคนเดียว
๒. มคี วามสลบั ซับซอน
๓. พสิ จู นความผิด
๔. ความรว มมือของพยานนอ ย เนอ่ื งจากอทิ ธพิ ลของผูกระทําผิด
๕. อาชญากรไมมหี นาตา
ò. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¢ŒÒÁªÒμÔ
อาชญากรรมขามชาติ หมายถึง การกระทําความผิดโดยละเมิดกฎหมายอาญา
โดยผกู อกระทําขนึ้ ในประเทศหนงึ่ มีผลเสียหายเช่ือมโยงอกี ประเทศหนึง่
»Þ˜ ËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¢ÒŒ ÁªÒμÔ
๑. โสเภณี
๒. ยาเสพตดิ
๓. ลกั ทรพั ย
๔. อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร
๕. แรงงานขามชาติ
๖. การฉอโกง เชน ฉอ โกงประกันภัย
àËμؼŷäÕè ·ÂÁÕÍÒªÞҡâҌ ÁªÒμÔÁÒ¡ (สาธารณปู โภคพื้นฐานสาํ หรบั โจรครบครนั )
๑. ยาเสพตดิ หางา ย
๒. อาวุธหางา ย
๓. พาสปอรต วซี าปลอม
๔. กฎหมาย สง เสรมิ การทองเทยี่ ว
๕. ใชเ งนิ ซอ้ื ไดทกุ อยา ง
๖. ศนู ยกลางคมนาคม
๗. ท่พี กั คาครองชพี ไมแพง

๖๒

ó. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏ
อาชญากรรมคอมพิวเตอร คือ การกระทําใดๆ เกย่ี วกับคอมพิวเตอร ทําใหผ อู น่ื เสียหาย
¡Ãкǹ¡ÒÃทาํ ¼´Ô
๑. ทาํ ใหค อมพิวเตอรทํางานผิดพลาด
๒. การใชคอมพวิ เตอรในการกระทําผดิ
๓. การใชคอมพวิ เตอรหาผลประโยชน
ÍÒªÞҡ÷ҧ¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ
๑. พวกมือใหม
๒. นกั เจาะขอ มลู (Hacker)
๓. อาชญากรในรูปแบบเดิม ใชเ ทคโนโลยเี ปน เครื่องมือ
๔. อาชญากรมืออาชพี
๕. พวกหัวรนุ แรงคล่งั ลัทธิ
»˜ÞËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·Ò§¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ
๑. การเปลย่ี นแปลง ตัดตอ ทาํ ลายขอ มลู เชน เวลาทาํ งาน, บัญชี
๒. การเจาะระบบ (Hacking) เชน ระเบดิ โทมาฮอค ๑๔๑ Hackers สาธารณปู โภค,

War Game สงครามปรมาณู
๓. ไวรสั คอมพวิ เตอร เชน Yahoo “Logic Bomb/Warm” Ex. Worm : Stone,

Undicd, Michealangallo, ลาวดวงเดือน
๔. การโจรกรรมขอ มลู เชน ทางทหาร, การคา , ความลับ
๕. การหลอกเครือ่ งคอมฯ เชน วายราย ATM
๖. การคา ขายหลอกลวงโฆษณาเกินจรงิ
๗. การละเมดิ สทิ ธสิ ว นบคุ คล สอ่ื ลามก, อนาจาร เชน ภาพถา ยผหู ญงิ เขา หอ งนํ้า,

ละเมดิ เดก็ , เช่ือมเว็บไซต
๘. การคาประเวณี เชน นดั หมายทาง E – mail
๙. การเลนการพนัน
๑๐. การฟอกเงินผานอนิ เทอรเนต็
๑๑. การบงการประกอบอาชญากรรม
๑๒. การปลกุ ระดมผา นอนิ เทอรเ น็ต เชน การลมลา งรัฐบาล
๑๓. การหมนิ่ ประมาท
๑๔. การสัง่ ฆา คนผานอินเทอรเ นต็
๑๕. ปญ หา Y2K เชน ธนาคาร, สถาบันการเงนิ , โรงพยาบาล เครื่องชวยหายใจ,

ฉดี ยาอตั โนมตั ,ิ ภาษ,ี บตั รประชาชน, โทรศพั ท, หอบงั คบั การบนิ , การปอ งกนั ประเทศ แตป ญ หาสาํ คญั
ท่เี กดิ จาก Y2K คือ ปญหาโปรแกรมม่วั

๖๓

๑๖. การรบกวนการทํางานคอมพวิ เตอรทง้ั ระบบ เชน สง E-mail ๘,๐๐๐ ฉบบั ,
โรงพยาบาลกรุง Stockholm

»Þ˜ ËÒÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·Ò§¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ
๑. การปอ งกนั เสียคาใชจ า ยสูง เชน รว มมอื แจง E-mail
๒. พิสูจนก ระทาํ ผิด (Internet) เชน ทําผิดทอ่ี เมริกาแตผลเกดิ ทไ่ี ทย ปญหาคอื
การพิสจู นก ารกระทําผดิ
๓. รับฟงพยานหลักฐาน
๔. การบังคบั ใชก ฎหมาย : ขา มชาติ
๕. การขาดกฎหมายทเี่ หมาะสม เชน อะไรคอื ทรพั ย, ใครคอื ผปู กปอ ง, ดาํ เนนิ การกบั ใคร
๖. ความไมรเู กย่ี วกับเทคโนโลยใี หมๆ ของเจา หนา ท่ี
๗. การเปลย่ี นแปลงทางเทคโนโลยีสมยั ใหม

๔. อาชญากรรมการคา มนษุ ย
การคา มนษุ ย ถอื วา เปน การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนหรอื การไมเ คารพในศกั ดศ์ิ รคี วามเปน

มนุษยอยางรายแรง ย่ิงนับวันปญหาการคามนุษยย่ิงทวีความรุนแรงและมีความสลับซับซอน
มากขึ้น สง ผลกระทบตอ การพฒั นาดานเศรษฐกจิ สังคม การทองเทย่ี วและการลงทนุ จากตา งประเทศ
รวมถงึ ความสมั พนั ธร ะหวา งประเทศอยา งกวา งขวาง ทาํ ใหห ลายประเทศตระหนกั และใหค วามสาํ คญั
กับการแกไขปญหาการคามนุษยมากข้ึนเชนกัน โดยจัดประชุมหาแนวทางแกไขปญหาทั้งในระดับ
ประเทศ ระดับทวิภาคี และระดับภูมิภาค สําหรับประเทศไทยไดจัดประชุมหลายครั้งระหวาง
พ.ศ. ๒๕๔๐ จนถึงปจ จุบัน และไดมีการนาํ ผลมาปรับปรุงงานดานการตอ ตานการคามนษุ ยต ามลําดับ
ซ่ึงเมื่อวนั ที่ ๑๒ กนั ยายน ๒๕๕๗ พลเอก ประยทุ ธ จนั ทรโ อชา นายกรัฐมนตรี ไดแถลงนโยบายของ
คณะรัฐมนตรีตอสภานิติบัญญัติแหงชาติ โดยกําหนดนโยบายใหการคามนุษยเปนปญหาเฉพาะหนา
ที่ตองไดรับการปองกันปราบปรามและแกไขอยางจริงจัง จากนั้นเมื่อวันที่ ๓ เมษายน ๒๕๕๘
ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี เปนประธาน
มอบนโยบาย“การปอ งกนั ปราบปรามการคา มนษุ ย” เปน วาระแหง ชาติ โดยมรี ฐั มนตรแี ละผบู รหิ ารระดบั สงู
จากทุกหนวยงานที่เก่ียวของเขารวมรับฟง สรุปสาระสําคัญไดวา ตองเรงรัดบูรณาการการทํางาน
ของทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของ เพ่ือชวยกันสรางความเขาใจใหเกิดขึ้นทั้งในประเทศและตางประเทศ
เรง สรา งมมุ มองสงั คมไทยใหต ระหนกั วา การคา มนษุ ยเ ปน ภยั ใกลต วั และเปน การกระทาํ ทผี่ ดิ กฎหมาย
ตองเคารพในสิทธิมนุษยชนของเพ่ือนมนุษยด ว ยกนั เรง ปรับปรงุ แกไขกฎหมายตา ง ๆ ทเ่ี ปนอุปสรรค
เพ่ือใหทุกหนวยงานท่ีเก่ียวของทํางานรวมกันอยางเปนระบบไดอยางแทจริงและกวดขันการบังคับใช
กฎหมายอยางจรงิ จงั ไมวาจะเปนสถานทีท่ อ งเท่ียว สถานประกอบการ โรงงาน การประมง พรอมทงั้
ดําเนินการกบั ผูก ระทาํ ความผิดทั้งขาราชการและพลเรือนอยา งเดด็ ขาด

๖๔

ความหมายของการคา มนษุ ย พธิ สี ารเพอื่ ปอ งกนั ปราบปราม และลงโทษการคา มนษุ ย
โดยเฉพาะสตรีและเด็ก (Protocol to Prevent, Suppress and Punish Trafficking in Persons,
Especially Women and Children) แนบทาย อนสุ ญั ญาสหประชาชาตเิ พอ่ื ตอ ตา นอาชญากรรม
ขา มชาตทิ จี่ ดั ตง้ั ในลกั ษณะองคก ร (United Nations Convention against Transnational Organized
Crime) ไดนิยามความหมายของการคามนุษยวา “การคามนุษย” หมายถึง การจัดหา การขนสง
การสงตอ การจดั ใหอยอู าศัยหรือการรบั ไวซึง่ บคุ คล ดว ยวิธกี ารขเู ขญ็ หรือดว ยการใชก าํ ลัง หรอื ดว ย
การบบี บงั คบั ในรปู แบบอน่ื ใด ดว ยการลกั พาตวั ดวยการฉอ โกง ดวยการหลอกลวง ดวยการใชอาํ นาจ
โดยมิชอบหรือดวยการใชสถานะความเส่ียงภัยจากการคามนุษยโดยมิชอบ หรือมีการให หรือรับเงิน
หรือผลประโยชนเพื่อใหไดมาซ่ึงความยินยอมของบุคคล ผูมีอํานาจ ควบคุมบุคคลอ่ืนเพ่ือความ
มุงประสงคใ นการแสวงประโยชน การแสวงประโยชนอยางนอ ยท่ีสดุ ใหร วมถงึ การแสวงหาประโยชน
จากการคาประเวณีของบุคคลอ่ืนหรือการแสวงประโยชนทางเพศในรูปแบบอื่น การบังคับใชแรงงาน
หรือบริการ การเอาคนลงเปนทาสหรือการกระทําอ่ืนเสมือนการเอาคนลงเปนทาส การทําใหตกอยู
ใตบังคับ หรือการตัดอวัยวะออกจากรางกาย (ศูนยตอตานการคามนุษยระหวางประเทศ, ๒๕๕๘)
พระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการคามนุษย พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดบัญญัติถึงการกระทําท่ีเปน
ความผิดฐานคามนุษยไ วใ นมาตรา ๖ วา “มาตรา ๖ ผูใดเพอ่ื แสวงหาประโยชนโ ดยมิชอบ กระทาํ การ
อยา งหนง่ึ อยา งใด ดงั ตอ ไปนี้ (๑) เปน ธรุ ะจดั หา ซอ้ื ขาย จาํ หนา ย พามาจากหรอื สง ไปยงั ทใ่ี ด หนว งเหนยี่ ว
กักขัง จัดใหอยูอาศัย หรือรับไวซ่ึงบุคคลใด โดยขมขู ใชกําลังบังคับ ลักพาตัว ฉอฉล หลอกลวง
ใชอํานาจโดยมิชอบ หรือโดยใหเงิน หรือผลประโยชนอยางอ่ืนแกผูปกครองหรือผูดูแลบุคคลน้ัน
เพ่ือใหผูปกครองหรือผูดูแลใหความยินยอมแกผูกระทําความผิดในการแสวงหาประโยชนจากบุคคล
ท่ีตนดแู ล หรอื (๒) เปน ธุระจัดหา ซื้อ ขาย จําหนาย พามาจาก หรอื สงไปยงั ทใี่ ด หนว งเหน่ยี วกกั ขัง
จดั ใหอ ยอู าศยั หรอื รบั ไวซ งึ่ เดก็ * ผนู น้ั กระทาํ ความผดิ ฐานคา มนษุ ย” จากลกั ษณะของการกระทาํ ทเี่ ปน
ความผดิ ฐานคา มนษุ ยต ามพระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการคา มนษุ ย พ.ศ.๒๕๕๑ เหน็ ไดว า
มีความสอดคลองในลักษณะเดียวกันกับนิยามความหมายตามพิธีสารฯ อันเปนพันธกรณี
ระหวางประเทศในดานสิทธิมนุษยชนและหลักมนุษยธรรมที่ประชาคมระหวางประเทศยึดถือ ซึ่งการ
กระทาํ ทจี่ ะเปน ความผดิ ฐานคา มนษุ ยต ามบทบญั ญตั ใิ นมาตรา ๖ นนั้ จะตอ งเปน การกระทาํ ทมี่ เี จตนา
เพอ่ื แสวงหาประโยชนโ ดยมชิ อบอยา งหนงึ่ อยา งใดดงั ตอ ไปน้ี ๑.การแสวงหาประโยชนจ ากการคา ประเวณี
๒.การผลิตหรือเผยแพรวัตถุหรือสื่อลามก ๓.การแสวงหาประโยชนทางเพศในรูปแบบอื่น
๔.การเอาคนลงเปน ทาส ๕.การเอาคนมาขอทาน

* “เด็ก” หมายความวา บคุ คลผมู ีอายตุ า่ํ กวา สบิ แปดป

๖๕

¡¨Ô ¡ÃÃÁ·ŒÒº· :

๑. ทําแบบทดสอบประเมนิ ผลการเรียนรู
๒. คําถามใหผูเรียนอธิบายประเภทของอาชญากรรมพิเศษ อาชญากรรมเศรษฐกิจ
อาชญากรรมขา มชาติ อาชญากรรมคอมพิวเตอร อาชญากรรมการคามนษุ ย

๖๗

º··èÕ õ

ÊÀÒ¾¡ÒóÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÂ¤Ø ãËÁ‹

ÇÑμ¶»Ø ÃÐʧ¤

๑. ผูเรียนเขาใจความแตกตางของอาชญากรรมในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมของ
อาชญากรรมในอนาคต อาชญากรรมยุคใหมทางคอมพิวเตอร คุณสมบัติตํารวจในสถานการณ
อาชญากรรมยคุ ใหม

๒. ผูเรียนสามารถอธิบายใจความแตกตางของอาชญากรรมในอดีต ปจจุบัน
และแนวโนมของอาชญากรรมในอนาคต อาชญากรรมยุคใหมทางคอมพิวเตอร คุณสมบัติตํารวจ
ในสถานการณอาชญากรรมยคุ ใหม

º·นํา

อาชญากรรมในปจจุบันมีแนวโนมของความรุนแรงและซับซอนมากขึ้นตามความเจริญ
ของเทคโนโลยี และความทนั สมยั ของการสอ่ื สารแขนงตา ง ๆ สง่ิ ทจี่ ะยนื ยนั ไดก ค็ อื สถติ คิ ดอี าชญากรรม
ท่ีเพิ่มข้ึนในแตละป ขาวอาชญากรรมจากส่ือตาง ๆ หนวยงานทางดานกระบวนการยุติธรรม
ที่ต้ังขึ้นมาใหมหรือมีการปรับปรุงระบบการทํางานแบบใหม เพื่อรองรับปญหาอาชญากรรมและ
จาํ นวนนกั โทษทเี่ พม่ิ ขนึ้ ในแตล ะป ขอบเขตและปรมิ าณความรา ยแรงของอาชญากรรม เปน เรอื่ งทอ่ี ยใู น
ความสนใจของบุคคลโดยท่ัวไป เพราะขอบเขตของอาชญากรรมเปนตัวบงช้ีถึงความรายแรง
ของอาชญากรรมที่สามารถนําไปเปรียบเทียบกับจํานวนอาชญากรรมในอดีตหรือคาดคะเนปญหา
อาชญากรรมในอนาคต

ÊÇ‹ ¹ÍŒÒ§Í§Ô
ปญหาอาชญากรรม – gamgoldfish/ปญหาอาชญากรรม/
...เพราะขอบเขตของอาชญากรรมเปน ตวั บง ชถ้ี งึ ความรา ยแรงของอาชญากรรมทส่ี ามารถนาํ ไปเปรยี บเทยี บกบั จาํ นวน

อาชญากรรมในอดตี หรอื คาดคะเนปญ หาอาชญากรรมในอนาคต https://gamgoldfish.wordpress.com ๔ กันยายน ๒๕๖๐

๖๘

¤ÇÒÁáμ¡μÒ‹ §¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁã¹Í´μÕ »¨˜ ¨ºØ ¹Ñ áÅÐá¹Çâ¹ÁŒ ¢Í§ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ
ã¹Í¹Ò¤μ

อาชญากรรมในอดีตโดยสวนใหญจะปรากฏใหเห็นในรูปแบบของอาชญากรรมพ้ืนฐาน
(Street Crime) เปน อาชญากรรมทพ่ี บเหน็ โดยทว่ั ไป ไมม คี วามสลบั ซบั ซอ นของรปู แบบอาชญากรรม
ผปู ระกอบอาชญากรรมมกั มจี าํ นวนเพยี งคนเดยี ว หรอื แมจ ะมกี ารรวมกลมุ ในการประกอบอาชญากรรม
กม็ ีจํานวนไมมากนกั เปนผมู ีการศกึ ษาไมสูงหรือเปน ผูดอยโอกาสในสงั คมเปนสาํ คญั และไมม ีการใช
เทคโนโลยีข้ันสูงในการประกอบอาชญากรรม

ตัวอยางของอาชญากรรมในอดีต ไดแก การกระทําเกี่ยวกับทรัพยหรือเกี่ยวกับชีวิต
รางกายมีลักษณะไมซับซอน เชน ลักทรัพย ชิงทรัพย วิ่งราวทรัพย ปลนทรัพย ตามเคหสถาน
หรือสาธารณสถานทั่วๆ ไป หรอื การทํารา ยรา งกาย การฆา การขม ขืน เปน ตน

อาชญากรรมในปจจุบันไดเปล่ียนแปลงไป คือ มีความสลับซับซอนของการประกอบ
อาชญากรรมมากขน้ึ มลี กั ษณะของอาชญากรรมขน้ั สงู มกี ารรวมกลมุ ในลกั ษณะขององคก รอาชญากรรม
หรือเครือขายอาชญากรรมท่ีมีการขามชาติไปกออาชญากรรมมากข้ึน ตลอดจนความรุนแรงและผล
กระทบของอาชญากรรมจะมีมากกวาในอดีต นอกจากนี้อาชญากรรมในปจจุบันมีการใชเทคโนโลยี
สมัยใหมโดยเฉพาะคอมพิวเตอรในการกระทําผิดมากข้ึน และผูประกอบอาชญากรรมอาจไมใช
ผูที่ไมมีการศึกษาสูงหรือผูดอยโอกาสทางสังคมอีกตอไป ในบางครั้งอาจเปนผูที่มีการศึกษา
หรือมีโอกาสทางสังคมท่ดี ี

แนวโนมของอาชญากรรมในอนาคต อาชญากรรมจะมีลักษณะไรพรมแดนมากข้ึน
จะมกี ารประกอบอาชญากรรมในลกั ษณะขา มชาติ จะมกี ารรวมกลมุ เปน เครอื ขา ยอาชญากรรมมากขน้ึ
รปู แบบของอาชญากรรมจะมคี วามสลบั ซบั ซอ น มกี ารใชเ ทคโนโลยขี นั้ สงู ในการประกอบอาชญากรรม
โดยกอใหเกิดผลกระทบท่ีมีความเช่ือมโยงไปยังประเทศตาง ๆ ทั่วโลก ซึ่งมีความจําเปนตองใช
ความรว มมอื กันระหวา งประเทศในการปอ งกันและแกไ ขปญ หาอาชญากรรม

ʋǹÍÒŒ §ÍÔ§
ความแตกตางของอาชญากรรมในอดีต ปจ จุบนั และแนวโนม ของอาชญากรรมใน...
ความแตกตางของอาชญากรรมในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมของอาชญากรรมในอนาคต อาชญากรรมในอดีต

โดยสว นใหญจะปรากฏใหเ ห็นในรูปแบบของอาชญากรรมพนื้ ฐาน (Street…
www.polsci.chula.ac.th/sumonthip/crime-different.htm ๕ กนั ยายน ๒๕๖๐

๖๙

ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁÂ¤Ø ãËÁ·‹ Ò§¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏ

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร (Cyber-Crime) เปนการกระทําท่ีผิดกฎหมายโดยใช
วธิ กี ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ สเ พอ่ื โจมตรี ะบบคอมพวิ เตอรแ ละขอ มลู ทอี่ ยบู นระบบดงั กลา ว สว นในมมุ มอง
ท่ีกวางข้ึน “อาชญากรรมท่ีเก่ียวเน่ืองกับคอมพิวเตอร” หมายถึง การกระทําที่ผิดกฎหมายใด ๆ
ซง่ึ อาศยั หรือมีความเกีย่ วเนอ่ื งกับระบบคอมพิวเตอรหรอื เครือขาย

โครงการอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรและการโจรกรรมทรัพยสินทางปญญา
(Cyber-Crime and Intellectual Property Theft) พยายามที่จะเก็บรวบรวมและเผยแพรขอมูล
และคน ควา เกย่ี วกบั อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรท เ่ี กดิ ขน้ึ บอ ยและสง ผลกระทบโดยตรงตอ ประชาชน
และผูบรโิ ภค ๖ ประเภท ไดแก

๑. การเงิน - อาชญากรรมที่ขัดขวางความสามารถขององคกรธุรกิจในการทําธุรกรรม
e - commerce หรอื พาณิชยอิเลก็ ทรอนกิ ส

๒. การละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ - การคดั ลอกผลงานทมี่ ลี ขิ สทิ ธิ์ ในปจ จบุ นั คอมพวิ เตอรส ว นบคุ คล
และอนิ เทอรเ นต็ ถกู ใชเ ปน สอ่ื ในการกอ อาชญากรรมแบบเกา โดยการโจรกรรมทางออนไลนห มายรวมถงึ
การละเมดิ ลิขสิทธ์ใิ ด ๆ ทเี่ กยี่ วขอ งกบั การใชอินเทอรเนต็ เพ่ือจาํ หนา ยหรือเผยแพรผลงานสรางสรรค
ทไ่ี ดรบั การคุมครองลิขสิทธิ์

๓. การเจาะระบบ - การใหไดมาซ่ึงสิทธิในการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรหรือเครือขาย
โดยไมไดรับอนุญาต และในบางกรณีอาจหมายถึงการใชสิทธิการเขาถึงนี้โดยไมไดรับอนุญาต
นอกจากนกี้ ารเจาะระบบยงั อาจรองรบั อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรใ นรปู แบบอนื่ ๆ (เชน การปลอมแปลง
การกอ การรา ย ฯลฯ)

๔. การกอการรา ยทางคอมพวิ เตอร - ผลสืบเนอ่ื งจากการเจาะระบบ โดยมจี ุดมงุ หมาย
เพอ่ื สรา งความหวาดกลวั เชน เดยี วกบั การกอ การรา ยทวั่ ไป โดยการกระทาํ ทเี่ ขา ขา ยการกอ การรา ยทาง
อิเลก็ ทรอนกิ ส (e-terrorism) จะเกยี่ วของกับการเจาะระบบคอมพิวเตอรเ พอ่ื กอเหตรุ ุนแรงตอบุคคล
หรอื ทรัพยส นิ หรอื อยา งนอ ยกม็ จี ุดมุงหมายเพ่ือสรา งความหวาดกลัว

๕. ภาพอนาจารทางออนไลน - ตามขอกําหนด 18 USC 2252 และ 18 USC 2252A
การประมวลผลหรอื การเผยแพรภ าพอนาจารเดก็ ถอื เปน การกระทาํ ทผ่ี ดิ กฎหมาย และตามขอ กาํ หนด
47 USC 223 การเผยแพรภาพลามกอนาจารในรปู แบบใด ๆ แกเยาวชนถอื เปน การกระทาํ ทีข่ ัดตอ
กฎหมาย อนิ เทอรเ นต็ เปน เพยี งชอ งทางใหมส าํ หรบั อาชญากรรมแบบเกา อยา งไรกด็ ี ประเดน็ เรอ่ื งวธิ ี
ทเ่ี หมาะสมทสี่ ดุ ในการควบคมุ ชอ งทางการสอื่ สารทคี่ รอบคลมุ ทว่ั โลกและเขา ถงึ ทกุ กลมุ อายนุ ไี้ ดก อ ให
เกิดการถกเถยี งและการโตแยงอยา งกวา งขวาง

๗๐

๖. ภายในโรงเรียน - ถึงแมวาอินเทอรเน็ตจะเปนแหลงทรัพยากรสําหรับการศึกษา
และสันทนาการ แตเยาวชนจําเปนตองไดรับทราบเก่ียวกับวิธีการใชงานเครื่องมืออันทรงพลังน้ี
อยา งปลอดภยั และมคี วามรบั ผดิ ชอบ โดยเปา หมายหลกั ของโครงการนคี้ อื เพอ่ื กระตนุ ใหเ ดก็ ไดเ รยี นรู
เกีย่ วกบั ขอกาํ หนดทางกฎหมาย สทิ ธขิ องตนเอง และวิธที ีเ่ หมาะสมในการปอ งกันการใชอ นิ เทอรเนต็
ในทางทผี่ ดิ

ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·Ò§¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÃᏠÅÐÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·àèÕ ¡ÂèÕ Ç¡ºÑ â·ÃÈ¾Ñ ·à ¤ÅÍè× ¹·èÕ (Computer
Crimes & Mobile Phone Related Crimes)

ภารกิจหนาท่ีที่สําคัญอยางหน่ึง คือ การสืบสวน สอบสวน รวบรวมพยานหลักฐาน
นาํ เสนอขนึ้ สศู าล เพอื่ ใหศ าลพพิ ากษาลงโทษผกู ระทาํ ความผดิ โดยหากแบง ลกั ษณะของพยานหลกั ฐาน
ทส่ี าํ คญั ทจ่ี ะใชใ นการสบื สวนสอบสวนนนั้ สามารถสรปุ ใหเ ขา ใจไดง า ยเปน ๔ ลกั ษณะ คอื พยานหลกั ฐาน
ท่ใี ชย ืนยนั เหตกุ ารณท ี่เกดิ ขนึ้ พยานหลกั ฐานท่ีใชยนื ยนั การกระทาํ ความผดิ พยานหลักฐานยนื ยันตวั
ผกู ระทาํ ความผดิ และพยานหลกั ฐานทใ่ี ชย นื ยนั ทอี่ ยขู องเปา หมาย (ในทนี่ ห้ี มายถงึ ทงั้ คน สตั ว สงิ่ ของ
หรือขอมลู ตา ง ๆ ที่เปน ประโยชน) ซึ่งหากตาํ รวจสามารถรวบรวมพยานหลักฐานตา ง ๆ ที่กลาวมาได
ครบถวนและกระทําอยางนาเช่ือถือ ก็จะทําใหการบังคับใชกฎหมาย และการเอาผูกระทําความผิด
มาลงโทษเกดิ ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยางสูงสุด

เม่อื กลาวถงึ โทรศพั ทเ คลือ่ นที่ (Mobile Phone) หรือที่คนุ เคยกันในช่ือของ “โทรศพั ท
มือถือ” ในปจจุบันมีการใชกันอยางแพรหลาย ท่ีทุกคนจะตองใหอยูใกลตัวแทบจะตลอดเวลา อีกท้ัง
ไดม กี ารพัฒนาขึ้นอยา งมาก โดยโทรศพั ทเ คลื่อนทีห่ ลาย ๆ รนุ ที่เปนสมารท โฟน (Smart Phone)
มีประสิทธิภาพมากกวาคอมพิวเตอรต้ังโตะหรือคอมพิวเตอรโนตบุก จึงถือไดวาโทรศัพทเคล่ือนที่
ในปจจุบันเปนคอมพิวเตอรชนิดหน่ึงไดดวย ดังน้ันเพื่อใหเขาใจบริบทดานอาชญากรรมที่เก่ียวของ
กับโทรศัพทเคลื่อนท่ีท้ังหมด นอกจากท่ีจะตองเขาใจในรายละเอียดที่เก่ียวกับโทรศัพทเคลื่อนท่ีแลว
มีความจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองเขาใจเรื่องอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรและเรื่องพยานหลักฐาน
ทางดิจิทัลเปนพื้นฐานดวย อันเปนพยานหลักฐานสําคัญสวนหน่ึงตามลักษณะพยานหลักฐาน
ที่กลา วไวแลว ขางตนท่มี อี ยเู กอื บทกุ คดี

ดังนั้น หากตอ งการทาํ ความเขาใจคดีอาญาทเี่ ก่ยี วขอ งกบั โทรศพั ทเคลื่อนท่ี และการนาํ
พยานหลกั ฐานทเี่ กยี่ วขอ งไปใชใ หเ กดิ ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลอยา งสงู สดุ ในคดตี า ง ๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ และ
เปน ไปตามกรอบของกฎหมายทถี่ กู ตอ ง ทง้ั ยงั ทาํ ใหพ ยานหลกั ฐานตา ง ๆ ทใ่ี ชใ นคดเี กดิ ความนา เชอื่ ถอื

ÊÇ‹ ¹ÍŒÒ§ÍÔ§
กลุม พนั ธมติ รธุรกิจซอฟตแ วร อาชญากรรมทางคอมพิวเตอรป ระเภทตา ง ๆ – Microsoft
โครงการอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรและการโจรกรรมทรพั ยส ินทางปญญา (Cyber-Crime and…
อนิ เทอรเ นต็ เปน เพยี งชอ งทางใหมส าํ หรบั อาชญากรรม แบบเกา อยา งไรกด็ .ี ..https://www.Microsoft.com/thailand/
piracy/cybercrime.aspx ๖ กันยายน ๒๕๖๐

๗๑

เราควรจะตองทําความเขาใจในเร่ืองตาง ๆ โดยจะไมใชขอมูลในเชิงวิชาการและคําศัพททางเทคนิค
มากนัก เพ่อื ใหเกดิ ความงา ยในการทําความเขา ใจ ดังน้ี

๑. ลักษณะของพยานหลักฐานทีส่ ําคญั ในการสบื สวนสอบสวนคดอี าญา
๒. อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอรและกฎหมายท่เี กี่ยวของ
๓. การทาํ งานของโทรศัพทเคลื่อนที่
๔. พยานหลักฐานทางดิจิทัลทส่ี ามารถพบไดใ นโทรศพั ทเคล่ือนท่ี
๕. วิธกี ารเกบ็ รวบรวมพยานหลกั ฐานท่ีเปนโทรศัพทเคลอื่ นท่ี
ñ. Å¡Ñ É³Ð¢Í§¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹·Õèสํา¤ÞÑ ã¹¡ÒÃÊ׺ÊǹÊͺÊǹ¤´ÕÍÒÞÒ

เมื่อกลาวถึงการจัดประเภทของพยานหลักฐานที่สําคัญในการสืบสวนสอบสวน
คดอี าญานน้ั จะมวี ธิ กี ารแบง ไดใ นหลากหลายลกั ษณะ เพอื่ จะใหส ามารถตอบคาํ ถามไดว า ใคร ทาํ อะไร
ทไ่ี หน เมอ่ื ไหร ทาํ ไม อยา งไร (5W1H : Who What Where When Why How) แตเพื่อใหงา ย
ในการทําความเขาใจและเปนหลักคิดสําคัญในการรวบรวมพยานหลักฐาน ในกรณีนี้ที่จะตอง
รวบรวมพยานหลักฐานเราจะคํานึงถึงพยานหลักฐานในลักษณะใดบาง ซึ่งในที่นี้ขอแบงลักษณะของ
พยานหลักฐานออกเปน ๔ ลักษณะดวยกัน คือ

ñ.ñ ¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹·èÕ㪌Â×¹ÂѹàËμØ¡Òó·èÕà¡Ô´¢éÖ¹ ในสวนน้ีหมายถึงกรณีท่ีมี
การกระทาํ ความผดิ เกดิ ขนึ้ นนั้ จาํ เปน จะตอ งมเี หตกุ ารณต า ง ๆ เขา มาประกอบมากมาย ซง่ึ เหตกุ ารณ
เหลาน้ันอาจจะไมใชเหตุการณที่ระบุวา มีการกระทําความผิดเกิดขึ้นแลว หากแตเปนเหตุการณ
แวดลอมตาง ๆ ที่แสดงใหเห็นถึงที่มาที่ไป หรือเปนเหตุการณท่ีจะเชื่อมโยงไปยังเหตุการณที่เกิด
การกระทาํ ความผดิ ขน้ึ ไดอ ยา งไร ซงึ่ มคี วามจาํ เปน อยา งยง่ิ ในการอธบิ ายการกระทาํ ความผดิ ทเี่ กดิ ขนึ้
สง ผลใหพ ยานหลกั ฐานทจ่ี ะใชอ ธบิ ายการเกดิ ขนึ้ ของเหตกุ ารณ เปน พยานหลกั ฐานทส่ี าํ คญั อยา งหนง่ึ
และเปนประโยชนอ ยางย่งิ ในทางการสบื สวนสอบสวน

ñ.ò ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·ãÕè ªÂŒ ¹× Â¹Ñ ¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ในสว นนห้ี มายถงึ พยานหลกั ฐาน
ท่ีสําคัญที่สามารถแสดงไดวามีการกระทําความผิดเกิดข้ึนจริงและเกิดขึ้นอยางไร โดยสามารถแสดง
ใหเหตุรายละเอียดของการกระทําความผิดที่เกิดขึ้นตามองคประกอบท่ีกฎหมายกําหนด ซ่ึงจะตอง
รวบรวมใหครบถวนตามองคประกอบความผิดของกฎหมายท่ีเก่ียวของ หรืออาจจะกลาวในอีก
นยั หนง่ึ คอื เอาองคป ระกอบความผดิ ของกฎหมายเปน ตวั ตง้ั และจะตอ งรวบรวมพยานหลกั ฐานทยี่ นื ยนั
หรอื สนบั สนนุ ตามองคประกอบความผิดของกฎหมายนั้น ๆ

ñ.ó ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·ãÕè ªÂŒ ¹× Â¹Ñ μÇÑ ¼¡ŒÙ ÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ในสว นนห้ี มายถงึ พยานหลกั ฐาน
ท่ีสําคัญที่จะใชยืนยันไดวา ใครเปนผูกระทําความผิดหรือกลุมบุคคลใดบางท่ีเกี่ยวของกับการกระทํา
ความผิดทีเ่ กดิ ข้ึน และมีการกระทาํ ความผิดรวมกนั อยางไร

๗๒

ñ.ô ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·ãèÕ ªÂŒ ¹× Â¹Ñ ·ÍÕè ¢‹Ù ͧà»Ò‡ ËÁÒ ในสว นนกี้ ลา วถงึ พยานหลกั ฐาน
ทีจ่ ะบง ช้ีไดว า เปา หมายทีเ่ ราใหค วามสนใจ มที ่ีอยอู ยูทีใ่ ด ซีึ่งเปาหมายในท่ีนีไ้ มไ ดหมายความเฉพาะ
ทีเ่ ปน ตัวบุคคลเทา น้ัน แตย งั หมายรวมถงึ คน สตั ว สง่ิ ของ หรือขอ มลู ตาง ๆ ทม่ี ีความสําคัญคดดี วย

ò. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·Ò§¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏáÅС®ËÁÒ·Õèà¡ÕÂè Ǣ͌ §
เมื่อกลาวถึงอาชญากรรมทางคอมพิวเตอรจะพบวามีการใหความหมายและจัดแบง

ประเภทในหลากหลายลักษณะ แตในที่นี้ขอใหความหมายและจัดประเภทตามที่มาที่ไปของ
พ.ร.บ.วา ดว ยการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ.๒๕๕๐ ซง่ึ เปน กฎหมายหลกั สาํ คญั ในการ
บงั คบั ใชก บั อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร รวมถงึ การแกไ ขเพมิ่ เตมิ ตาม พ.ร.บ.วา ดว ยการกระทาํ ความผดิ
เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ.๒๕๖๐

พ.ร.บ.วา ดว ยการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ.๒๕๕๐ มที ม่ี าสาํ คญั จาก
อนุสัญญาดานอาชญากรรมทางไซเบอรที่สหภาพยุโรปและประเทศเครือขายไดจัดประชุมและจัดทํา
เปนอนุสญั ญาข้นึ เม่อื วนั ท่ี ๒๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๔ ท่เี มอื งบูดาเปส ประเทศฮงั การี หรอื ทเ่ี รารูจัก
กันในนาม “Budapest Convention on Cybercrime” โดยเน้ือหาสําคัญท่ีจะกลาวถึงคือลักษณะ
ความผิดท่ีจัดเปนอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร ที่เปนแนวคิดในการจัดทํากฎหมายฉบับดังกลาว
รวมท้ังเปนแนวคิดสําคัญในการจัดตั้งหนวยงานที่มีความรับผิดชอบหลักในดานนี้ คือ กองบังคับการ
ปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี (ปอท.)

เนอ้ื หาตาม Budapest Convention on Cybercrime มกี ารจดั แบง ประเภทอาชญากรรม
ทางคอมพวิ เตอรแ ละเกยี่ วพนั กบั พ.ร.บ.วา ดว ยการกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร พ.ศ.๒๕๕๐
และท่แี กไ ขเพมิ่ เตมิ พ.ศ.๒๕๖๐ ดังนี้

Title 1 - Offences against the confidentiality, integrity and availability
of computer data and systems เปน ลักษณะความผดิ ตอ การกระทําโดยตรงตอ ระบบคอมพวิ เตอร
กลา วคอื ในการจดั ทาํ ระบบคอมพวิ เตอรน น้ั จะตอ งคาํ นงึ ถงึ องคป ระกอบหลกั ๓ องคป ระกอบดว ยกนั
คือ การรักษาความลบั ของระบบและขอมลู (Confidentiality), การรกั ษาความถกู ตอง ครบถวนของ
ขอมูล (Integrity) และการรกั ษาความสามารถในการทาํ งานของระบบ (Availability) ซ่งึ หากการ
กระทาํ ใดทล่ี ะเมดิ ตอ ๓ องคป ระกอบนี้ เราถอื วา เปน อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร หรอื เรยี กวา “ระบบ
คอมพิวเตอรต กเปนเปา หมายในการกระทําความผิด (Computer as Target) โดยตาม พ.ร.บ.วาดว ย
การกระทาํ ความผดิ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอรฯ ไดบญั ญตั ิไวในรายละเอียดโดยสรปุ ดังน้ี

ñ. ¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´ã¹ÅѡɳТͧ¡ÒÃà¨ÒÐÃкºËÃ×Í¢ŒÍÁÙŤÍÁ¾ÔÇàμÍÏ
(Hacking, Cracking)

- มาตรา ๕ เขาถึงระบบคอมพิวเตอรโดยมิชอบ โดยมีเง่ือนไขคือ ระบบ
คอมพิวเตอรนั้นจะตองมีมาตรการในการปองกันการเขาถึงดวย เชน อาจจะปองกันไวดวยการใช
ช่อื ผูใช (Login) และรหัสผาน (Password)

๗๓

- มาตรา ๖ ลวงรูมาตรการการปองกนั ตามมาตรา ๕ แลวนําไปเปด เผย
- มาตรา ๗ เขาถึงขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ โดยมีเง่ือนไขคือ ระบบ
คอมพวิ เตอรน ้ันจะตองมมี าตรการในการปองกนั การเขาถึงดว ย
ò. ¡ÒáÃÐทํา¤ÇÒÁ¼Ô´ã¹ÅѡɳТͧ¡Òô¡Ñ ÃºÑ ¢ÍŒ ÁÙŤÍÁ¾ÔÇàμÍÏ (Sniffing)
- มาตรา ๘ การดักรับขอมูลคอมพิวเตอรโดยมิชอบ โดยมีเงื่อนไขคือ
ตอ งกระทาํ ดว ยวธิ กี ารทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส และขอ มลู คอมพวิ เตอรน นั้ อยรู ะหวา งการสง ในระบบคอมพวิ เตอร
โดยขอ มูลคอมพิวเตอรน ัน้ มไิ ดม ไี วเพอ่ื ประโยชนสาธารณะหรือเพือ่ ใหบ ุคคลทว่ั ไปใชป ระโยชนไ ด
ó. ¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ã¹Å¡Ñ ɳРá¡äŒ ¢ à»ÅÂÕè ¹á»Å§ ทาํ ãËàŒ ÊÂÕ ËÒ ËÃÍ× ทาํ ÅÒÂ
«§Öè ¢ÍŒ ÁÅÙ ¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ (Data didling, Logic bomb, Cyber war)
- มาตรา ๙ การทําใหเสียหาย ทําลาย แกไข เปลี่ยนแปลง หรือเพมิ่ เติม ไมว า
ทงั้ หมดหรอื บางสว นซ่งึ ขอมูลคอมพวิ เตอรโ ดยมิชอบ โดยมีเหตเุ พม่ิ โทษ คือ กอ ใหเ กดิ ความเสียหาย
แกป ระชาชน, เสยี หายตอ ขอ มลู คอมพิวเตอร หรือระบบคอมพิวเตอรทเ่ี กี่ยวกบั การรกั ษาความม่นั คง
ปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความมั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือ
การบริการสาธารณะ หรือเปนการกระทําตอขอมูลคอมพิวเตอรหรือระบบคอมพิวเตอรที่มีไว
เพื่อประโยชนสาธารณะ และทาํ ใหผูอ่นื ถงึ แกค วามตาย (มาตรา ๑๒)
ô. ¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô ã¹Å¡Ñ ɳТ´Ñ ¢ÇÒ§ËÃÍ× Ãº¡Ç¹¡ÒÃทาํ §Ò¹¢Í§Ãкº¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÏ
(DoS, DDoS, Spamming)
- มาตรา ๑๐ การระงับ ชะลอ ขัดขวาง หรือรบกวนการทํางานของระบบ
คอมพวิ เตอรโดยมิชอบจนทาํ ใหระบบคอมพวิ เตอรน ั้นไมส ามารถทํางานเปนปกตไิ ด
- มาตรา ๑๑ การสงขอ มลู คอมพวิ เตอรหรือจดหมายอเิ ล็กทรอนกิ สโ ดยปกปด
หรอื ปลอมแปลงแหลง ทม่ี าของการสง ขอ มลู อนั เปน การรบกวนการใชร ะบบคอมพวิ เตอรข องบคุ คลอน่ื
โดยปกติสขุ
õ. ¡ÒÃà¼Âá¾Ã‹ËÃÍ× จํา˹ҋ Âà¤ÃÍè× §ÁÍ× ·èÕ㪌´íÒà¹¹Ô μÒÁ¢ÍŒ ñ - ô
- มาตรา ๑๓ จาํ หนา ยหรือเผยแพรช ุดคําสงั่ ทจี่ ดั ทาํ ขึน้ โดยเฉพาะเพือ่ นําไปใช
เปน เครื่องมือในการกระทาํ ความผิดตามมาตรา ๕ - ๑๑
Title 2 - Computer-related offences เปน ลกั ษณะของใชร ะบบคอมพวิ เตอรเ ปน
เครอ่ื งมอื ในการกระทาํ ความผดิ หรอื เรยี กวา “Computer as Tools” และ Title 3 - Content-related
offences เปน ลกั ษณะของการใชร ะบบคอมพวิ เตอรใ นการสรา งเนอื้ หาทไ่ี มเ หมาะสมในลกั ษณะตา ง ๆ
หรือเรียกวา “Bad Contents” โดยท้ัง ๒ สวนนีไ้ ดถูกบัญญัติไววา
- มาตรา ๑๔ (๑) - (๓) เปนกรณที นี่ าํ เขา ขอมลู อันเปน เท็จทจี่ ะสรางความเสยี หายให
กบั ผูอน่ื ประชาชนท่วั ไป หรือความมน่ั คงของชาติ โดยตามเจตนารมณข องกฎหมายไมไ ดห มายความ
รวมถึงการหมิ่นประมาทกันทางส่ือออนไลนตาง ๆ ซึ่งไดทําใหมีความชัดเจนขึ้นในการแกไขเพ่ิมเติม
ในป พ.ศ.๒๕๖๐ ที่ระบอุ ยางชัดเจนวาการหมิน่ ประมาทไมเปนความผิดตาม

๗๔

- มาตรา ๑๔ (๔) เปนกรณีความผิดในลักษณะเผยแพรส่ือลามกอนาจารท่ีทําให
ประชาชนอาจเขาถึงได โดยตอมาไดมีการแกไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๒๘๗
เพ่ิมเติมมาตรา ๒๘๗/๑ ท่ีระบุใหการครอบครองสื่อลามกอนาจารเด็กเปนความผิดดวย และหากมี
การสง ตอ สอื่ ลามกอนาจารเดก็ กม็ โี ทษเพม่ิ ขน้ึ สว นในมาตรา ๒๘๗/๒ จะเปน กรณเี พอื่ การคา หรอื ทาํ ใหเ กดิ
การแพรห ลายซึ่งสื่อลามกอนาจารเดก็ กจ็ ะมีโทษเพิ่มขึ้นอกี เปน ลาํ ดบั

- มาตรา ๑๔ (๕) เปนการกระทําความผิดในลักษณะการนําขอมูลท่ีรูอยูแลววา
เปนความผดิ ตามมาตรา ๑๔ (๑) - (๕) ไปเผยแพรตอ

- มาตรา ๑๖ เปนการกระทําความผิดในลักษณะเผยแพรภาพตัดตอท่ีจะเกิด
ความเสียหายใหกบั บคุ คลตา ง ๆ

จากเนื้อหาท่ีกลาวไวขางตนโดยสรุปจะเห็นไดวา ลักษณะของอาชญากรรมทาง
คอมพวิ เตอรจ ะมอี ยู ๒ ประเภทดว ยกนั คอื ระบบคอมพวิ เตอรต กเปน เปา หมายในการกระทาํ ความผดิ
และการใชร ะบบคอมพวิ เตอรเ ปน เครอื่ งมอื ในการกระทาํ ความผดิ แตด ว ยความกา วหนา ทางเทคโนโลยี
โดยเฉพาะเทคโนโลยีโทรศัพทเคลื่อนท่ีสงผลใหมีการใชกันอยางแพรหลายและกวางขวาง ซ่ึงแทบ
จะถอื ไดว า เปน ปจ จยั ที่ ๕ ในการดาํ รงชวี ติ ของคนในปจ จบุ นั จงึ สามารถทจ่ี ะสรปุ ประเภทของอาชญากรรม
ทเี่ ก่ยี วขอ งกบั ระบบคอมพิวเตอรแ ละโทรศพั ทเคล่ือนทไ่ี ด ดงั น้ี

ñ. Ãкº¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏËÃ×Íâ·ÃÈѾ·à¤Å×è͹·èÕμ¡à»š¹à»‡ÒËÁÒ¢ͧÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ
เชน Hacking, Email Scam, ขโมย, แกไข, เปลี่ยนแปลงขอ มูล, โจมตี และทําลายระบบ

ò. ãªÃŒ кº¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÃˏ ÃÍ× â·ÃÈ¾Ñ ·à ¤ÅÍè× ¹·àÕè »¹š à¤ÃÍ×è §ÁÍ× ã¹¡ÒáÃÐทาํ ¤ÇÒÁ¼´Ô
เชน Romance Scam, หลอกขายของ, ขายของผิดกฎหมาย, การเผยแพรสื่อลามกอนาจาร
และการพนนั ออกไลน

ó. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·àèÕ ¡ÂèÕ Çà¹Íè× §¡ºÑ Ãкº¤ÍÁ¾ÇÔ àμÍÃᏠÅÐâ·ÃÈ¾Ñ ·à ¤ÅÍè× ¹·Õè กลา วคอื
อาชญากรรมท่ัวไปที่มีอุปกรณหรือระบบคอมพิวเตอรหรือโทรศัพทเคลื่อนที่เขาไปเกี่ยวของดวย เชน
ใชคอมพิวเตอรในการติดตอสื่อสารระหวางกัน หรือมีขอมูลที่อยูในอุปกรณ หรือระบบคอมพิวเตอร
หรือโทรศพั ทเ คลอ่ื นทที่ เี่ ปน ประโยชนในทางคดี ซึ่งจะมีเนือ้ หาในสว นถดั ไป

ó. ¡ÒÃทํา§Ò¹¢Í§â·ÃÈѾ·à¤Å×è͹·Õè
โทรศพั ทเ คลอื่ นทใ่ี นปจ จบุ นั จะสามารถพบเหน็ ไดใ น ๒ รปู แบบดว ยกนั คอื โทรศพั ท

เคลอื่ นทที่ ี่เนน โทรเขาโทรออกเปน หลกั เพยี งอยา งเดยี ว (Feature Phone) และโทรศัพทเ คลอ่ื นทท่ี ่มี ี
ความสามารถเหนอื คอมพวิ เตอร ซึง่ สามารถตดิ ตง้ั โปรแกรมเสรมิ การทาํ งานในรูปแบบตาง ๆ ไดด วย
(Smart Phone) ซึง่ โดยสรปุ แลวระบบท่ีใชในโทรศพั ทเ คล่ือนท่มี ี ๒ ระบบดว ยกัน คือ

ñ. ÃкºÍ¹ÒÅçÍ¡ (Analog) เปนระบบการโทรเขา - โทรออกทั่วไปผานทาง
เครอื ขายโทรศัพทเ คล่ือนที่ ซง่ึ จะมลี กั ษณะการทาํ งานโดยการรบั สงขอมลู ผา นทางคลื่นวทิ ยคุ ลา ย ๆ

๗๕

กับวิทยุส่ือสารที่ตํารวจใชงานกัน และจําเปนจะตองมีเสาวิทยุเปนสวนที่ทวนหรือขยายสัญญาณ
ใหสามารถส่ือสารไดไกลมากย่ิงขึ้น เพียงแตจะแตกตางกันในเรื่องของความถี่ของคล่ืนวิทยุที่ใชกับ
รูปแบบการบริหารจัดการ

ò. Ãкº´¨Ô ·Ô ÅÑ (Digital) เปน ระบบทที่ าํ งานเหมอื นคอมพวิ เตอรท ม่ี รี ะบบปฏบิ ตั กิ าร
ของเคร่ืองที่สามารถติดต้ังโปรแกรมเสริมการทํางาน (Apps) และสามารถติดตอผานทางระบบ
อนิ เทอรเ นต็ ได โดยจะใชก บั รบั สง สญั ญาณดว ยคลน่ื วทิ ยเุ หมอื นระบบอนาลอ็ กทกุ ประการ ตา งกนั เพยี ง
ในการรับสงขอมูลไดจะมีอุปกรณชวยในการแบงไปมาระหวางระบบอนาล็อก (สัญญาณวิทยุท่ัวไป)
ใหเปน ขอมูลดจิ ิทลั (รปู แบบขอ มูลของคอมพิวเตอรทว่ั ไป)

รปู แบบการติดตอสอ่ื สารของระบบโทรศัพทเคลือ่ นที่

¢ÍŒ ÁÙÅËÃ×Íคาํ È¾Ñ ··Ò§à·¤¹Ô¤·Õè¤ÇÃÃÙŒà¡ÕèÂǡѺâ·ÃÈ¾Ñ ·à ¤ÅèÍ× ¹·Õè
ñ. ËÁÒÂàÅ¢ IMEI (International Mobile Equipment Identity)
เปรยี บเสมอื นเปน หมายเลขบตั รประชาชนของโทรศพั ทร นุ นน้ั ๆ ทแี่ สดงหรอื บง บอกตวั ตนของตวั เครอื่ ง
เปนการเฉพาะไมซ ํา้ กัน (กด *#06# เพื่อตรวจสอบหมายเลข IMEI) และเมอื่ ไดหมายเลข IMEI ของ
เคร่ืองโทรศัพทเคลื่อนที่มาสามารถตรวจสอบยี่หอและรุนไดท่ี http://www.imei.info โดยจะมีเลข
ตวั เลข ๑๕ หลกั แบง เปน ๔ กลุม ดังน้ี

- เลข ๖ ตวั แรก จะอยใู นกลมุ TAC (Type Approval Code) โดยจะบง บอกถงึ
รหัสของประเทศน้ัน ๆ ซ่ึงจะดไู ดจากเลข ๒ ตวั แรกจากใน ๖ ตวั แรก

- เลขลําดับที่ ๗ และ ๘ จะอยูในกลุม FAC (Final Assembly Code)
จะบงบอกถึงแหลง ผลิตหรอื โรงงานทีผ่ ลิตขนึ้ มา

- เลขลาํ ดับท่ี ๙ ถงึ ๑๔ จะอยูในกลมุ SNR (Serial Number) จะเปนรหัส
ซเี รยี ล หรือหมายเลขประจาํ ของตัวเคร่อื งนน้ั

- เลขลาํ ดบั ที่ ๑๕ จะอยใู นกลมุ SP (Spare) จะเปนเลขสํารองหลกั สุดทาย
ò. ËÁÒÂàÅ¢ IMSI (International Mobile Subscriber Identity) ทจ่ี ะไมซ า้ํ
กนั เลยทวั่ ทงั้ โลก และผใู หบ รกิ ารเครอื ขา ยโทรศพั ทจ ะนาํ หมายเลข IMSI นไี้ ปผกู กบั หมายเลขโทรศพั ท
โดยขอมูลจะถกู เก็บที่ HLR (Home Location Register) ของผูใ ชบริการเองโดยทั่วไปซมิ การด จะมี

๗๖

ระบบปองกันการถูกสําเนา เนื่องจากซิมการดนอกจากจะใชในการติดตอและใชในการระบุตัวตน
กบั ผใู หบ รกิ ารเครือขายแลวนนั้ ยงั มกี ารเก็บขอมูลตาง ๆ ท่ีสําคญั ๆ เชน ขอมูลสว นตวั ของผใู ชงาน
ยา นความถใ่ี ชงาน รหสั PIN (Personal Identification Number) และ PUK (PIN Unlock Key)
โดยรหสั ท่ีใชในการปองกนั สําเนาดงั กลา ว เรียกวา คา Ki ซึ่งปกติแลว ไมส ามารถเขาถงึ คาน้ีได

ó. MCC (Mobile Country Code) เปนตวั เลข ๓ หลกั ทใี่ ชบงบอกรหัสของ
ประเทศ ซึ่งประเทศไทยคือ ๕๒๐ และ MNC (Mobile Network Code) เปนตัวเลข ๒ หลัก
ใชบอกผูใหบริการเครือขายโทรศัพทเคลื่อนที่เปนเจาของซิมการด (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่
https://en.wikipedia.org/wiki/Mobile_country_code)

Thailand - TH [edit]

MCC MNC Brand Operator Status Bands (MHz) References and notes

520 00 TrueMove H & my by CAT Telecom Operational UMTS 850 Former Hutch Thailand; inbound roaming for
CAT TrueMove H[135]

520 01 AIS Advanced Info Service Not operational GSM 900 / UMTS 900 UMTS 900 shut down in 2013;[135][273] GSM
900 shut down in February 2016[274]

520 02 CAT CDMA CAT Telecom Not operational CDMA 800 Network shut down in April 2013;[275][276]
frequency re-farmed for UMTS 850 network
520-00

520 03 AIS Advanced Wireless Network Company Ltd. Operational UMTS 2100 / LTE 900 / LTE 1800 / LTE 2100 [275][4]

520 04 TrueMove H Real Future Company Ltd. Operational UMTS 2100 / LTE 900 / LTE 1800 / LTE 2100 UMTS roaming with network 520-00[275]

[277][278]

520 05 dtac TriNet DTAC Network Company Ltd. Operational UMTS 850 / UMTS 2100 / LTE 1800 / LTE 2100 GSM roaming with network 520-18[275][279]
520 15 TOT 3G
520 18 dtac TOT Public Company Limited Operational UMTS 2100 Former Thaimobile 1900, ACT Mobile[135][275]

520 20 ACeS Total Access Communications Public Operational GSM 1800 GSM 1800 to shut down in 2018[275][274]
Company Ltd.
Satellite [275]
ACeS Unknown

520 23 AIS GSM 1800 Digital Phone Company Ltd. Not operational GSM 1800 Owned by AIS; network shut down in January
2016[275][274]
520 25 WE PCT True Corporation Not operational PHS 1900 In Bangkok area
520 47
Telephone Organization of Thailand (TOT) Unknown Unknown [275]

520 99 TrueMove True Corporation Not operational GSM 1800 Network shut down in January 2016[275][274]

ô. LAC (Location Area Code) รหัสตําแหนงพื้นท่ีที่อยูที่ใชคนหาวา
เครือ่ งโทรศพั ทเ คร่อื งน้ันอยูใ นเขตพนื้ ทบ่ี ริเวณใด CID (Cell ID) รหสั ของ cell หรือชว งครอบคลุม
ของสถานสี ง (เสาสญั ญาณ) ทส่ี ามารถรบั สญั ญาณจากโทรศพั ทเ ครอื่ งนน้ั ๆ ได โดยคา ตวั เลขทง้ั ๒ สว น
สามารถใชในการอางอิงท่ีอยูของโทรศัพทเคล่ือนที่ได ซึ่งอาจทําความเขาใชการทํางานในการอางอิง
ทอี่ ยจู ากภาพดา นลา งทแ่ี สดงใหเ หน็ ถงึ การตดิ ตอ กนั ระหวา งเครอื่ งโทรศพั ท ๒ เครอ่ื ง (อา งองิ https://
www.slideshare.net/riswan78/introducing-to-location-area-code-cell-id)

๗๗

นอกจากขอมูลขางตนแลว สิ่งที่จําเปนตองทราบเกี่ยวกับโทรศัพทเคลื่อนที่อีก คือ
ทอี่ ยขู องขอ มลู ของโทรศพั ทเ คลอ่ื นทที่ เี่ ราสามารถนาํ มาใชป ระโยชนใ นเชงิ สบื สวนสอบสวนได โดยในทนี่ ี้
ไดแบงท่ีอยขู องขอ มลู โทรศพั ทเ คลอ่ื นท่ไี ดเปน ๒ สวน คอื

ñ. ¢ÍŒ ÁÙÅ·èÍÕ ÂÙ·‹ Õ¼è Œã٠˺Œ ÃÔ¡ÒÃâ·ÃÈѾ· ซึ่งจะแบง เปน ๒ ลกั ษณะ ไดแ ก
๑.๑ ขอมูลการโทรเขาโทรออกในระบบอนาล็อก จะประกอบไปดวยขอมูล

ทสี่ าํ คญั คอื วนั ท,่ี เวลา, เบอรต น ทาง, เบอรป ลายทาง, ระยะเวลาการโทร, หมายเลข IMEI, หมายเลข
IMSI, LAC, Cell ID และทต่ี ง้ั ของเสาสัญญาณโทรศพั ท

๑.๒ ขอมลู การใชง านระบบอนิ เทอรเ นต็ ในระบบดิจทิ ัล หรือทีเ่ รียกวา “ขอมูล
จราจรทางคอมพิวเตอร” หมายความวา ขอมูลเก่ียวกับการติดตอส่ือสารของระบบคอมพิวเตอร
ซงึ่ แสดงถึงแหลง กําเนดิ ตน ทาง ปลายทาง เสนทาง เวลา วนั ที่ ปรมิ าณ ระยะเวลา ชนิดของบรกิ าร
หรืออื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารของระบบคอมพิวเตอร (ในท่ีน้ีตนทางและปลายทาง
มกั จะหมายถึงหมายเลขไอพี (IP Address)

ò. ¢ŒÍÁÙÅ·èÕÍÂÙ‹ã¹à¤Ãè×ͧâ·ÃÈѾ·à¤Åè×͹·èÕ ซ่ึงมีท้ังขอมูลการใชงานระบบตาง ๆ
ขอ มลู การติดตอส่อื สาร และขอ มลู ทเี่ ปน รูปภาพ เสียง วิดีโอ หรอื เอกสารตา ง ๆ ทส่ี ามารถนําไปใช
ประโยชนใ นทางคดีได

๗๘

ในสวนของโทรศัพทเคลื่อนที่แบบสมารทโฟนนั้น สวนหลักท่ีทําใหเครื่องโทรศัพท
สามารถใชง านไดอ ยา งสะดวกสบายและสามารถทาํ งานไดห ลากหลาย จะตอ งมโี ปรแกรมประเภทหนง่ึ
เขา มาชวยเปนพื้นฐานสําคัญ ซ่ึงเราจะรจู กั กันในชอ่ื ของ “โปรแกรมปฏิบตั ิการ (Operating Systems
: OS) ซงึ่ มอี ยูหลากหลายมาก แตส าํ คญั ๆ และตอ งใหความสนใจเปนพิเศษ คอื โปรแกรม iOS ของ
บรษิ ทั Apple, โปรแกรม Android ของบรษิ ทั Google และโปรแกรม Windows ของบรษิ ทั Microsoft
ซงึ่ ความแตกตา งกนั ของแตล ะโปรแกรมอยทู ห่ี นา ตาโปรแกรม รปู แบบการใชง าน ระบบการจดั การไฟล
ภายในเครื่อง และวธิ กี ารจดั การดา นความปลอดภัย

ô. ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹·Ò§´¨Ô ·Ô ÑÅ·ÕèÊÒÁÒö¾ºä´ãŒ ¹â·ÃÈѾ·à¤ÅÍè× ¹·èÕ
เน่ืองจากในปจจุบันคนสวนใหญใชโทรศัพทเคล่ือนที่ในการอํานวยความสะดวก

และการติดตอส่ือสารกันอยางแพรหลาย และแทบจะไมหางจากโทรศัพทเคล่ือนท่ีเลย ดังนั้นขอมูล
ตาง ๆ ที่อยูในโทรศัพทเคลื่อนท่ีจึงเปรียบเสมือน “¢ŒÍÁÙÅ·ÕèáÊ´§¾ÄμÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃ㪌ªÕÇÔμ»ÃÐจําÇѹ
áÅоÄμ¡Ô ÃÃÁ¡ÒÃãªâŒ ·ÃÈѾ·à¤ÅÍè× ¹·èÕ” ของเจา ของเลยก็วา ได ซงึ่ หากสามารถทําความเขาใจขอ มลู
แตละประเภทได กส็ ามารถทีจ่ ะนาํ ขอ มลู เหลานน้ั ไปใชใ นทางคดีไดอยางมีประสิทธภิ าพ โดยในสว นนี้
จะยกตัวอยา งขอมลู สําคญั ๆ ทจี่ ะสามารถพบได ดงั นี้

ñ. ¢ÍŒ ÁÙÅ·àèÕ ¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ºÑ â·ÃÈ¾Ñ ·à ¤ÅÍ×è ¹·Õè (Information about device) ไมว า
จะเปน ขอ มลู ยหี่ อ รนุ หมายเลข IMEI หมายเลข IMSI ระบบปฏบิ ตั กิ ารทใ่ี ช สเปกของเครอ่ื งโทรศพั ท
เคล่อื นที่ ขอ มูลสํารองของการพิมพ (Keyboard Cache) ฯลฯ

ò. ¢ŒÍÁÙÅ¡ÒÃ㪌§Ò¹â·ÃÈѾ·à¤Åè×͹·èÕ (Event Log) ซ่ึงจะบอกวาโทรศัพท
เคร่ืองน้ันไดใชงานเครื่องคอมพิวเตอรเมื่อไหร อยางไรบาง โดยเฉพาะอยางยิ่งเขาการเขาถึงเคร่ือง
และการเปด โปรแกรมตา ง ๆ ขนึ้ มาใชงาน

ó. ¢ŒÍÁÙÅ¡ÒÃ㪌§Ò¹´ŒÒ¹à¤Ã×Í¢‹Ò (Network Information) ซึ่งจะบอกวา
โทรศพั ทเคล่ือนทีเ่ ครือ่ งน้ใี ชเขาไปใชง านเครอื ขา ยอะไรบาง เชน เคยใชเครอื ขา ยอะไรบา ง หรือเคยใช
Wifi ทีไ่ หนบาง เปน ตน

ô. ¢ÍŒ ÁÅÙ ¡ÒÃμ´Ô μ§Ñé â»Ãá¡ÃÁ (Installed Apps) โดยขอ มลู สว นนเี้ ปน ขอ มลู สาํ คญั
ทแ่ี สดงใหเราเหน็ วาเจาของเครื่องไดใชง านเคร่ืองอยา งไรบาง เพราะแอปพลเิ คชันแตละแอปพลิเคชนั
จะมลี กั ษณะการทาํ งานเฉพาะตวั การทเ่ี ราทราบวา มแี อปพลเิ คชนั ใดตดิ ตง้ั อยบู า งจะทาํ ใหเ ราทราบวา
มขี อ มลู อะไรทเี่ ราจะตอ งใหค วามสนใจ ซง่ึ อาจถอื เปน จดุ เรมิ่ ตน สาํ คญั ในการดขู อ มลู ในเครอื่ งโทรศพั ท
เคลอ่ื นท่ี

õ. ¢ŒÍÁÙÅ·Ò§ºÑÞªÕÍ͹äŹÊ‹Ç¹μÑÇμ‹Ò§ æ (Account Information) ในที่นี้
หมายถึง บัญชีออนไลนที่ใชผานแอปพลิเคชันตาง ๆ ภายในเครื่อง เชน บัญชีอีเมล บัญชีเฟซบุก
หรอื บญั ชแี อปเปลไอดี เปนตน

๗๙

ö. ¢ÍŒ ÁÅÙ μ´Ô μÍ‹ (Contact) เปน ขอ มลู ทร่ี ะบชุ อื่ หมายเลขโทรศพั ท หรอื ขอ มลู อนื่ ๆ
ทส่ี ําคญั ของบุคคลท่เี จาของเครอื่ งโทรศพั ทตดิ ตอดว ย

÷. ¢ÍŒ ÁÅÙ ¡ÒÃâ·ÃÈ¾Ñ ·μ ´Ô μÍ‹ (Calls) เปน ขอ มลู ทแี่ สดงใหเ หน็ การโทรเขา โทรออก
หรือเบอรท ี่ไมไดร บั สายของผใู ชงานเคร่อื งโทรศัพท

ø. ¢ÍŒ ÁÅÙ ¢ŒÍ¤ÇÒÁÊéѹ (SMS) áÅТ͌ ÁÅÙ ¢ÍŒ ¤ÇÒÁÊ×Íè ¼ÊÁ (MMS)
ù. ¢ŒÍÁÙÅ¡Òþٴ¤Ø (Chat) เปนขอมูลการพูดคุยติดตอส่ือสารของผูใชเคร่ือง
โทรศพั ทในแอปพลิเคชันตาง ๆ เชน Line, WeChat, iMassenger ฯลฯ
ñð. ¢ŒÍÁÙÅà¡ÕèÂǡѺʶҹ·ÕèÍÂÙ‹ (Location) ที่เปนขอมูลท้ังในแบบของพิกัดทาง
ภมู ิศาสตร, ขอมูลการคน หาขอมลู แผนที่ หรือบางครงั้ อาจพบขอ มูล LAC Cell ID ดว ย
ññ. ¢ÍŒ ÁÅÙ ¡ÒÃ㪧Œ Ò¹Í¹Ô à·ÍÃà ¹μç (Internet Log) เปน ขอ มลู การเขา ดเู วบ็ ไซตต า ง ๆ,
การคนหาขอมูลในอินเทอรเน็ต หรือแมกระทั่งขอมูลท่ีกรอกลงในแบบฟอรมออนไลนตาง ๆ
ที่ระบบบนั ทึกไว
ñò.¢ÍŒ ÁÙÅ·èàÕ »š¹ä¿Åμ‹Ò§ æ ที่จะประกอบไปดวย ไฟลรูปภาพ เสียง วดิ โี อ เอกสาร
ฐานขอมลู หรือไฟลอืน่ ๆ ท่มี อี ยูในเครือ่ งโทรศัพทเ คล่อื นท่ี
การที่จะไดมาซ่ึงขอมูลท่ีกลาวมาแลวขางตนนั้น จําเปนจะตองใชโปรแกรมพิเศษ
ในการดึงขอมูลเหลานั้นออกมา โดยโปรแกรมที่นิยมใชในเชิงการตรวจพิสูจนหลักฐานมีอยู
หลายโปรแกรม เชน XRY, Cellebrite, Oxigen, Mobile Edit ฯลฯ ซงึ่ หากทาํ ความเขา ใจการทาํ งาน
ของระบบปฏิบัติการและแอปพลิเคชันของโทรศัพทเคลื่อนที่จะพบวาทุกโปรแกรมทุกแอปพลิเคชัน
จะทาํ งานและเกบ็ ขอ มลู ดว ยไฟลค อมพวิ เตอรท ม่ี อี ยหู ลากหลายประเภท แตพ อทจ่ี ะแบง ไดส งั เขป ดงั นี้
ñ. ä¿Å⏠»Ãá¡ÃÁËÃÍ× ä¿ÅÏ кº ทจ่ี ะทาํ หนา ทสี่ รา งความสามารถใหโ ปรแกรมนน้ั
วาจะทําอะไรไดบาง เมนูตา ง ๆ ของโปรแกรมอยูต รงไหน สั่งงานโปรแกรมอยา งไร
ò. ä¿Å° Ò¹¢ÍŒ ÁÅÙ เมอื่ โปรแกรมหรอื แอพทาํ งานดว ยไฟลโ ปรแกรมแลว เพอ่ื ใหง า ย
ในการบรหิ ารจดั การโปรแกรม โครงสรา งของโปรแกรมตา ง ๆ จงึ ใชไ ฟลฐ านขอ มลู ในการเกบ็ ขอ มลู ตา ง ๆ
เชน ขอมูลการใชง านระบบ ขอมูลโทรเขาโทรออก ขอมลู ผตู ดิ ตอ หรือขอมลู การพดู คุยติดตอ ส่อื สาร
ผานแอพตาง ๆ เปน ตน
ó. ä¿Å¢ŒÍÁÙÅ ซึ่งในที่นี้หมายถึง ไฟลขอมูลที่เปนไฟลเอกสาร ไฟลมีเดียตาง ๆ
(รปู ภาพ เสยี ง วิดโี อ) หรือไฟลบ ีบอดั ตาง ๆ เปน ตน
จากการใชง านโปรแกรมดา นตรวจพสิ จู นท ก่ี ลา วมาขา งตน นนั้ ความสามารถหลกั ของ
โปรแกรม คอื การดงึ ไฟลต า ง ๆ ออกมาจากเครอ่ื งโทรศพั ท แลว นาํ ขอ มลู ทมี่ อี ยใู นไฟลต า ง ๆ ออกมา
แสดงผลใหผูใชโปรแกรมเขาใจไดงาย ซ่ึงจะขึ้นอยูกับความสามารถของโปรแกรมในดานการตรวจ
พิสูจนวาจะดึงขอมูลออกมาจากไฟลประเภทตาง ๆ ออกมาแสดงผลไดมากนอยแคไหน แตส่ิงหนึ่ง
ทเ่ี ปน แนวคิดสาํ คญั ในการเขา ถึงขอ มลู และขอมูลที่อยูในโทรศพั ทเคลื่อนทม่ี าใชประโยชน คือ เมื่อเรา
ทราบดอี ยูแลววา ขอมลู ทุกอยา งถูกเก็บไวใ นไฟลท อ่ี ยูในเครื่องโทรศัพทเคล่อื นที่ แมบางคร้งั โปรแกรม
ตรวจพสิ จู นไ มส ามารถดงึ ขอ มลู จากไฟลต า ง ๆ ออกมาแสดงใหเ ราเหน็ แบบงา ย ๆ ได กไ็ มไ ดห มายความ

๘๐

วาไมม ขี อมูลเหลา นัน้ อยู โดยเรายังสามารถเขาถึงไฟลน้นั โดยตรง แลวนําโปรแกรมทส่ี ามารถเปดไฟล
นั้นไดมาเปดดขู อ มูลของไฟลน ัน้ ๆ ยกตวั อยา งเชน เราเห็นวามกี ารตดิ ตั้งโปรแกรม BeeTalk แตใ น
สว นของขอ มลู การพดู คยุ (Chat) ไมพ บวา มกี ารพดู คยุ จากโปรแกรม BeeTalk เรากส็ ามารถไปหาไฟล
ฐานขอ มลู ของโปรแกรม BeeTalk มาเปด ดว ยโปรแกรมฐานขอ มลู เพอ่ื ดขู อ มลู การพดู คยุ ดว ยโปรแกรม
BeeTalk ไดเ ชน กนั

“¡ÒÃäÁ‹àË繢͌ ÁÅÙ ã¹â»Ãá¡ÃÁμÃǨ¾ÊÔ ¨Ù ¹ä Áä‹ ´ŒËÁÒ¤ÇÒÁÇÒ‹ ¢ŒÍÁÅÙ ¹¹Ñé äÁ‹ÁÍÕ Â‹Ù
¶ÒŒ ËÒä¿Åà¡çº¢ŒÍÁÙÅàËÅÒ‹ ¹éѹãËŒà¨Í áÅÐà»´ ¢éÖ¹ÁÒãËäŒ ´Œ àÃÒ¡ç¨Ðä´¢Œ ÍŒ ÁÙÅ·ÕèàÃÒμÍŒ §¡ÒÔ

õ. ÇÔ¸¡Õ ÒÃࡺç ÃǺÃÇÁ¾ÂÒ¹ËÅÑ¡°Ò¹·àèÕ »¹š â·ÃÈѾ·à¤ÅÍ×è ¹·Õè
เน่ืองจากโทรศัพทเคลื่อนที่ในปจจุบันถือไดวาเปนอุปกรณคอมพิวเตอรอยางหน่ึง

ซ่งึ ขอ มลู ตาง ๆ ทอี่ ยใู นโทรศพั ทเ คลือ่ นท่ตี าง ๆ สามารถทาํ ใหเ กิดการเปล่ียนแปลงไดโ ดยงา ย ดงั น้นั
เพื่อใหไดขอมูลที่ครบถวนและเกิดความนาเช่ือถือในการใชขอมูลจากเครื่องโทรศัพทเคล่ือนที่
จงึ มคี วามจําเปน อยา งยงิ่ ทจ่ี ะตอ งเขา ใจหลกั ของการจดั การกบั พยานหลกั ฐานทางดจิ ทิ ลั และเพอ่ื ใหง า ย
ในการทาํ งาน ความเขา ใจ สามารถนาํ ไปศกึ ษาขยายผลหรอื นาํ แนวคดิ เหลานีไ้ ปปรับใชก ับการทาํ งาน
ใหเกิดความเหมาะสม จึงขอสรุปหลักการสําคญั ท่เี ก่ยี วของกบั พยานหลกั ฐานทางดิจทิ ัลไวดงั นี้

ñ. ËÅÑ¡¤ÇÒÁ¹Ò‹ àªÍè× ¶×ͧ͢¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹
ñ.ñ ¹‹Òàªè×Ͷ×Í·Ò§´ŒÒ¹à·¤¹¤Ô
- ยนื ยนั วา เปน พยานหลกั ฐานทแี่ ทจ รงิ (Authentication Of Evidence)
- รกั ษาหว งโซข องพยานหลักฐาน (Chain of Custody)
- ยืนยนั ในความถูกตอ งของพยานหลักฐาน
- ตอ งไมท าํ ใหพยานหลกั ฐานเกิดการเปลีย่ นแปลงหรือปนเปอ น
- หากพยานหลักฐานเกิดการเปล่ียนแปลงหรือปนเปอนตองสามารถ

อธิบายได (ตอ งใหป นเปอนนอยทสี่ ุด)
- ใชเ ครือ่ งมอื อืน่ ที่มมี าตรฐานเดยี วกันจะตองไดผ ลเหมอื นกนั

ñ.ò ¹‹ÒàªÍ×è ¶×Í·Ò§´ÒŒ ¹¡®ËÁÒÂ
- มีอาํ นาจในการตรวจยดึ และเก็บพยานหลกั ฐาน
- มอี าํ นาจในการเขา ถงึ ขอมลู

ò. ËÅÑ¡¤ÇÒÁÊÁºÙó¢ ͧ¾ÂÒ¹ËÅ¡Ñ °Ò¹
- การเกบ็ รวบรวมพยานหลกั ฐานสามารถทาํ ใหม คี วามสมบูรณไ ดอ ยางไร
- มีปจจัยอะไรบางที่จะทําลายความสมบูรณของพยานหลักฐาน หรือทําให

พยานหลักฐานเกดิ ความเสยี หาย

๘๑

จากหลักการน้ีจะเห็นไดวา นอกจากที่เราจะตองใหความสําคัญกับวิธีการทางเทคนิค
ท่ีไมทําใหพยานหลักฐานเกิดการปนเปอนแลว ส่ิงที่ขาดไมไดคือความนาเช่ือถือทางดานกฎหมาย
ซง่ึ หมายความวา เราใชอ ํานาจอะไรในการยึดหรือเก็บพยานหลกั ฐาน และใชอ ํานาจอะไรในการเขา ถงึ
ขอ มลู ทอี่ ยใู นเครอื่ งโทรศพั ทด ว ย ซงึ่ ในทน่ี จ้ี ะสามารถใชอ าํ นาจได ๓ สว นดว ยกนั คอื อาํ นาจตามประมวล
กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา อาํ นาจตาม พ.ร.บ.วา ดว ยการกระทาํ ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอรฯ
(มาตรา ๑๘ ประกอบ ๑๙) และอาํ นาจตามอํานาจหนาทขี่ องผทู าํ หนาทีต่ รวจพสิ ูจนพ ยานหลักฐาน
ทางอิเล็กทรอนิกส และในการปฏิบัติหากตองการเก็บพยานหลักฐานที่เปนเคร่ืองโทรศัพทเคลื่อนที่
เพ่ือสงตรวจพิสูจนโดยใหคํานึงถึงหลักการสําคัญที่เกี่ยวของกับพยานหลักฐานทางดิจิทัลท่ีกลาว
มาแลวขางตน และคิดถึงหลักการที่จะนําขอมูลท่ีไดจากโทรศัพทเคล่ือนที่ไปใชเปนพยานหลักฐานใน
๔ ลักษณะ กลาวคือ ยืนยันเหตุการณที่เกิดขึ้น ยืนยันการกระทําความผิด ยืนยันผูกระทําความผิด
และยนื ยนั ทอี่ ยูของเปาหมายนัน้ สามารถปฏบิ ตั ไิ ดด งั น้ี

๑. ใชถ งุ มือในการเก็บพยานหลกั ฐานทเ่ี ปน โทรศพั ทเ คลอ่ื นท่ี เพ่ือปอ งกนั การปนเปอ น
พยานหลกั ฐานสาํ คัญทจ่ี ะใชย นื ยันตวั ผใู ชงานเคร่อื งโทรศัพทเคลอ่ื นท่ี

๒. หากมือถอื เปดอยอู ยาปด มอื ถอื นั้น ตรวจสอบวา มกี ารล็อกเครือ่ งหรอื ไม ปลดล็อก
ไดหรือไม

๓. ถาเครื่อง “ไมล็อก” ใหปดสัญญาณมือถือ หรือสมารทโฟนใหเปดโหมดเคร่ืองบิน
เพื่อตัดการติดตอส่ือสาร ซึ่งอาจจะทําใหพยานหลักฐานเกิดการปนเปอน หรือการถูกทําลายขอมูล
จากการระยะไกล

๔. ถาเคร่ือง “ล็อก” ใหสอบถามเจาของหรือผูที่นาจะรูวิธีการปลดล็อก แลวบันทึกไว
(เปนไปไดใหติดวิธีการปลดล็อกไวกับเครื่องโทรศัพทเคล่ือนที่) เปนไปไดควรจะรีบสอบถามในทันที
และเมอ่ื ปลดลอ็ กไดใ หด าํ เนนิ การเหมอื นกบั ขอ ๓. และหากเปน ไปไดอ าจทาํ การยกเลกิ การลอ็ กเครอ่ื งดว ย

๕. ถา ทาํ ไดใ หต รวจสอบหมายเลข IMEI และหมายเลข Serial ของเครอื่ ง และบนั ทกึ ไว
๖. นําโทรศัพทเคล่ือนที่บรรจุหีบหอใหรัดกุมและเกิดความนาเชื่อถือตามกระบวนการ
จดั เกบ็ พยานหลกั ฐานทวั่ ไป เชน การปด ผนกึ หบี หอ ใหเ จา ของเซน็ กาํ กบั เปน ตน เพอื่ นาํ สง ตรวจพสิ จู น
๗. ในการสง ตอ เปลย่ี นมอื พยานหลกั ฐานทเ่ี ปน เครอ่ื งโทรศพั ทเ คลอื่ นทใี่ หค าํ นงึ ถงึ หลกั
Chain of Custody โดยใหม ีการบนั ทึกการเปลยี่ นมอื ดว ยทกุ ครั้ง เพือ่ รักษาความนา เชอื่ ถอื
๘. บนั ทกึ เปนภาพน่ิง และวิดีโอในทกุ ข้นั ตอนการจดั เกบ็
โดยสรปุ ในเรอื่ งของโทรศพั ทเ คลอื่ นทเ่ี ราจาํ เปน จะตอ งทาํ ความเขา ใจเกยี่ วกบั อาชญากรรม
ทางคอมพวิ เตอรป ระกอบดว ย เพอื่ ใหท ราบถงึ ลกั ษณะการกระทาํ ความผดิ ทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ และมโี ทรศพั ท
เคลอ่ื นทเี่ ขา ไปเกย่ี วขอ ง โดยจะมผี ลอยา งยง่ิ ในเรอ่ื งของอาํ นาจทางกฎหมายตา ง ๆ ในการดาํ เนนิ การ
กับพยานหลักฐานของโทรศัพทเคลื่อนที่น้ัน และเพื่อใหเขาใจการทํางานของโทรศัพทเคล่ือนท่ี
รวมท้ังขอมูลตาง ๆ ท่ีจะเปนประโยชนในการใชเปนพยานหลักฐานใน ๔ ลักษณะที่กลาวไวขางตน

๘๒

ซึ่งสุดทายในการจัดเก็บพยานหลักฐานเคร่ืองโทรศัพทเคลื่อนที่เพ่ือสงตรวจพิสูจนจําเปนจะตองยึด
หลักการจัดเก็บพยานหลักฐานทางดิจิทัลเขามาประกอบเพื่อใหเกิดความนาเช่ือถือ ซ่ึงท้ังหมด
ที่กลาวมาน้ีก็เพื่อใหสามารถนําพยานหลักฐานที่ไดจากเครื่องโทรศัพทเคล่ือนท่ีไปใชในทางคดีใหเกิด
ประสิทธภิ าพและประสทิ ธผิ ลอยา งสงู สดุ

ÊÇ‹ ¹ÍÒŒ §ÍÔ§¢ÍŒ ÁÅ٠㹺·¤ÇÒÁ
- พ.ร.บ.วา ดว ยการกระทาํ ความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร พ.ศ.๒๕๕๐
- พ.ร.บ.วาดว ยการกระทําความผิดเก่ียวกับคอมพวิ เตอร (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ.๒๕๖๐
- Convention on Cybercrime (Budapest, 23.XI.2001)
- คาํ บรรยายของ พล.ต.ต.ศิรพิ งษ ตมิ ุลา และ พ.ต.ท.นันทวุฒิ รอดมณี
- คาํ บรรยายของ นายณัฐพงษ ลม้ิ แดงสกุล และ นายจรญั คาํ เวโล

๘๓

¤Ø³ÊÁºμÑ Ôตาํ ÃǨã¹Ê¶Ò¹¡Òó͏ ÒªÞÒ¡ÃÃÁÂؤãËÁ‹

สภาพการณท อี่ าจสง ผลตอ การเกดิ อาชญากรรมในปจ จบุ นั มกี ารเปลยี่ นแปลงอยตู ลอดเวลา
ไมวาจะเปนการเปล่ียนแปลงในเร่ืองสภาพสังคม เศรษฐกิจ สภาพแวดลอม และความกาวหนา
อยา งกา วกระโดดของการพฒั นาเทคโนโลยี ดงั นเี้ พอ่ื ใหเ ทา ทนั กบั สถานการณข องอาชญากรรมยคุ ใหม
ตํารวจควรตอ งมคี ณุ สมบัติดังตอไปน้ี

๑. สามารถปรบั ตวั ใหเ หมาะสมกบั สภาพการณท เ่ี ปลยี่ นแปลง ตาํ รวจนอกจากจะทาํ งานเกง
แลว ยงั ตอ งเปน ผทู พี่ รอ มจะรบั มอื กบั ความเปลยี่ นแปลงไดด ี ซงึ่ ในการดาํ เนนิ งานเกยี่ วกบั อาชญากรรม
ตองสามารถยืดหยุน ประยุกตแ ละหรือบูรณาการกลวธิ กี ารปฏบิ ัตไิ ดอยา งเหมาะสมมปี ระสทิ ธภิ าพ

๒. สามารถทํางานไดในหลาย ๆ ดานในการรับมือกับอาชญากรรมยุคใหมที่มี
ความหลากหลายซับซอน ตํารวจจะตองสามารถทํางานไดในหลาย ๆ ดาน แบบ Multi-Tasks
การที่ตํารวจมีความสามารถที่หลากหลาย หากมีสถานการณคับขับหรือมีความจําเปนที่ตองมีการ
ปรับเปล่ียนตําแหนงงานหนาที่ ภารกจิ งานตาง ๆ กย็ งั คงดําเนนิ การตอ ไปได

๓. ตาํ รวจยคุ ใหมต อ งเปน ผรู อบรทู เี่ ทา ทนั สมยั ตอ งรบั รขู า วสารรอบดา นไมว า ขา วสารนน้ั
จะเกี่ยวของโดยตรงกับงานที่กระทําและขอมูลขาวสารทั่วไป การทํางานเกี่ยวกับการปองกัน
ปราบปรามอาชญากรรมหากตาํ รวจมกี ารตดิ ตามขอ มลู ขา วสารอยา งสมาํ่ เสมอรบั มอื กบั การเปลยี่ นแปลง
ไดทันเวลา เชน การไดทราบถึงสถานการณการขาดแคลนแรงงานในระดับลางของประเทศท่ีจําเปน
ตองอาศยั การนาํ เขา แรงงานจากประเทศเพอื่ นบานมากข้ึน การเคลอื่ นยา ยแรงงานดงั กลาวอาจสงผล
ตอ อาชญากรรมประเภทใดไดบ า ง พน้ื ทใี่ ดบา ง การไดร บั ทราบขอ มลู เหลา นี้ กจ็ ะทาํ ใหส ามารถดาํ เนนิ การ
ปองกันอาชญากรรมไดมปี ระสิทธิภาพเพ่ิมข้นึ เปนตน

๔. ตํารวจตองนําเทคโนโลยีมาปรับใชในการทํางานใหไดมากท่ีสุด ในสังคมปจจุบัน
มกี ารนาํ เทคโนโลยมี าใชใ นการทาํ งานในทกุ ๆ ภาคสว น รวมถงึ การกอ อาชญากรรมสมยั ใหมก ม็ กี ารใช
เทคโนโลยที ท่ี นั สมยั มวี ธิ กี ารทหี่ ลากหลายและสลบั ซบั ซอ นมากยงิ่ ขน้ึ ดงั นนั้ การทจ่ี ะเทา ทนั อาชญากรรม
ยุคใหมตํารวจจึงจําเปนอยางย่ิงที่จะตองพัฒนาท้ังองคความรูและอุปกรณเพื่อใหการดําเนินงาน
เก่ยี วกบั อาชญากรรมมปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้น

ʋǹÍÒŒ §ÍÔ§
HR ยคุ ใหมทีอ่ งคก รตองการเปนแบบไหน /จอบสดีบี ประเทศไทย – JobsDB
https://th.jobsdb.com บทความงาน บทความตามสายงาน งานบุคคล
๑๙ มิ.ย. ๒๕๕๘ – HR ยุคใหมท ่อี งคการตองการเปน แบบไหน มาดกู ันวา HR…ตองปรับตัวใหเขากับแนวคดิ ใหม

เพ่อื นํามาสรางความสาํ เร็จใหเกิดกบั องคกร...เร่ืองอน่ื ๆ ทน่ี าสนใจ

๘๔

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒº·

๑. ทําแบบทดสอบประเมินผลการเรยี นรู
๒. คาํ ถามใหผ เู รยี นอธบิ ายใจความแตกตา งของอาชญากรรมในอดตี ปจ จบุ นั และแนวโนม
ของอาชญากรรมในอนาคต อาชญากรรมยุคใหมทางคอมพิวเตอร คุณสมบัติตํารวจในสถานการณ
อาชญากรรมยคุ ใหม

๘๕

ºÃóҹءÃÁ

พุทธทาสภิกข.ุ ¨ÔμÇàÔ ¤ÃÒÐˏẺ¾Ø·¸.¡Ã§Ø à·¾Ï:บริษัทเคล็ดไทย จาํ กดั , ๒๕๒๗.
Adler, Freda, Gerhard Mueller. And William Laufer. Criminology.

New York : McGraw Hill, Inc. ๑๙๙๕.
Fattah, Ezzat A. Criminology. London : Macmillan Press, Ltd., ๑๙๙๗.

Prentice-Hall, Inc., ๑๙๘๕.
Quinney, Richard. The Social Reality of Crime. Boston : Little, Brown

And Company, ๑๙๗๐.
Sutherland, Edwin H. and Donald R. Cressey. Principles of Criminology.

New York : J. B. Lippincott Cormpany, ๑๙๖๖.
พระไตรปฎ กภาษาไทย เลม ที่ ๒๓, ๔๒ กรุงเทพฯ : โรงพิมพการศาสนา, ๒๕๐๐.
Barkan, Steven E. and George J. Bryjak. Fundamentals of Criminal Justice.

New York : Pearson, ๒๐๐๔.
Blocn, Herbert A. and Gilbert Geis. Man, Crime and Society,

New York : Random House, ๑๙๗๐.
Bohm, Robert M. A Primier on Crime and Delinquency Theory,

Belmout : Wadsworth, ๒๐๐๑.
Conklin, John E. Criminology. New York : Pearson, ๒๐๐๔.
Fattah, Ezzat A. “Victimo logy Today : Recent Development” Resource Material Series.

No.๕๖ Fuchu : UNAFEI, ๒๐๐๐.

๘๖

Fox, Vernon. Introduction to Criminology. Englewood. Cliffs, N.J. Prentice-Hall, Inc.,
๑๙๘๕.

Meadows, Robert J. Violence and Victimization. Upper Saddle, River,
N.J. : Pearson, ๒๐๐๔.

Schneider, Hans J. “Victimology : Basic Theoretical Concepts and Practical Implications,”
Resource Material Series, No, ๓๗ Fuchu : UNAFEI, ๑๙๙๐.

Schafer, Stephen. Victimology :The Victim and His Criminal.
Reston Virginea : Reston Publishing Go., ๑๙๗๗.

Siegel, Larry J. Criminology. Singapore : Thomson Wadsworth, ๒๐๐๗.
Yangeo, Celia C. “A Comprehensive Approach to Prevention of Child Maltreatment

in the Philippines,” Resources Material Series, ๒๐๐๖.
Allen, Harry E. and Other, Crime and Punishment. New York : the Free Press, ๑๙๘๑.
Bartollas, Clemens. Invitation to Corrections, Boston. Allyn and Bacon, ๒๐๐๒.
Beccaria, Cesare. “On Crime and Punishments.” In Mclaughlin, Eugene, Muncie,

John and Hughes. Gordon. Criminological Pesspectives. London : Sage, ๒๐๐๓.
Levine, James P., Michael. C. Musheno and Dennis J. Palumbo. Criminal Justice.

New York : Harcoust Brace Jovanovich, Inc., ๑๙๘๐.
Packer, Herbert. “The Limits of the Criminal Sanction,” in Corad, John P. “Criminal

Justice in the Open Society.” Resource Material Series, No. ๘ Fuchu :
UNAFEI, ๑๙๗๔.

๘๗

The President’s Commission on Law Enforcement and Administration of Justice,
The Challenge of Crime in a Free Society, Washington, D.C. : US Government
Printing office, ๑๙๖๗.

Siegel, Larry. J. Criminology. Belmont : Thomson Wadsworth, ๒๐๐๗.
กองบญั ชาการศกึ ษา.สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ¤ÁÙ‹ Í× ตาํ ÃǨ àÅÁ‹ ö (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๕๖). กรงุ เทพฯ:

โรงพมิ พต ํารวจ,๒๕๕๖
ชยั สทิ ธิ กาญจนกจิ .พล.ต.ต.¤Á‹Ù Í× ตาํ ÃǨàÅÁ‹ ö (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๕๖).กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พต ํารวจ:,

๒๕๕๖
ธนกฤต ชูสังข, พ.ต.อ.และคณะ,ËÅ¡Ñ ¡Òû‡Í§¡¹Ñ »ÃÒº»ÃÒÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ.¹¤Ã»°Á:

โรงเรยี นนายรอยตํารวจ,๒๕๕๔
นันทวุฒิ รอดมณี, พ.ต.ท. ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·Ò§¤ÍÁ¾ÔÇàμÍÏ áÅÐÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ·Õèà¡ÕèÂǡѺâ·ÃÈѾ·

à¤ÅÍ×è ¹·è.Õ คาํ บรรยาย ๒๕๖๐.
ปรุ ะชยั เปย มสมบูรณ. ¡ÒäǺ¤ØÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ¨Ò¡ÊÀÒ¾áÇ´ÅÍŒ Á : ËÅ¡Ñ ·ÄÉ®áÕ ÅÐÁÒμáÒÃ.

กรงุ เทพฯ:สํานักพิมพโอเดียนสโตร, ๒๕๒๖
พงษน คร นครสนั ตภิ าพ,พ.ต.ท.ดร.,º·¤ÇÒÁàÃÍ×è § º·ºÒ·¢Í§ตําÃǨμÃǨ¤¹à¢ÒŒ àÁÍ× §´ÒŒ ¹¡ÒÃá¡äŒ ¢

»˜ÞËÒ¡ÒäҌ Á¹ÉØ Â,๒๕๕๕
พงศพ ฒั น ฉายาพันธ,ุ พ.ต.ท.,¤ÇÒÁÃŒàÙ º×éÍ§μŒ¹à¡ÂÕè ǡѺตําÃǨªÁØ ª¹ÊÑÁ¾Ñ¹¸áÅÐตําÃǨ¼ŒÃ٠Ѻ㪪Œ ØÁª¹

หนา ๑๒๕ – ๑๕๐.กรงุ เทพฯ: สาํ นกั พิมพว ันใหม, ๒๕๔๒
สุพัฒน หอมจันทร, พ.ต.ท., ¡Òû͇ §¡¹Ñ ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁàª§Ô ÃØ¡â´Â㪷Œ ÄÉ®ÊÕ ÒÁàËÅèÕÂÁÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ.

นครปฐม:บรษิ ัทเพชรเกษมพริน้ ต้งิ กรุป จาํ กดั ,๒๕๕๓
เสกสัณ เครอื คํา. พ.ต.ต., ÍÒªÞÒ¡ÃÃÁ ÍÒªÞÒÇ·Ô ÂÒ áÅЧҹÂØμ¸Ô ÃÃÁ·Ò§ÍÒÞÒ. หนา ๕๕ - ๕๘.

นครปฐม : เพชรเกษมการพมิ พ, ๒๕๕๘

๘๘

https://adunparvitchai.wordpress.com
http://www.stock2morrow.com/forums/forum
http://metropolicediv6.com
http://ffcandy.blogspot.com/p/iii-lll-1.html
http://digi.library.tu.ac.th/thesis/sw/2813/03chapter๒.pdf
http://www.polsci.chula.ac.th/sumonthip/cri-com.htm
http://library๒.parliament.go.th/ejournal/content_af/2558/jun2558-3.pdf
สํานักงานเลขาธกิ ารสภาผแู ทนราษฎร, วาระแหง ชาติ เอกสารวชิ าการอิเลก็ ทรอนิกส,

http://www.parliament.go.th/library

จัดพมิ พโ ดย
โรงพมิ พต าํ รวจ ถ.เศรษฐศริ ิ ดุสติ กรงุ เทพฯ ๑๐๓๐๐ โทรศัพท ๐-๒๖๖๘-๒๘๑๑-๓ โทรสาร ๐-๒๒๔๑-๔๖๕๘

“เปนองคกรบังคับใชกฎหมายที่นําสมัย
ในระดับมาตรฐานสากล เพ�อใหประชาชนเช�อมั่นศรัทธา”

พลตํารวจเอก สุวัฒน แจงยอดสุข
ผูบัญชาการตํารวจแหงชาติ


Click to View FlipBook Version