The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน SAR รร.บ้านวังหิน ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Surachai Kaewmud, 2022-05-11 03:49:06

รายงาน SAR รร.บ้านวังหิน ปีการศึกษา 2564

รายงาน SAR รร.บ้านวังหิน ปีการศึกษา 2564

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา
ปกี ารศึกษา 2564

สามารถแทรกรปู ได้ตามความเหมาะสม

เอกสารสำคัญลำดับท่ี .….. / 2564

โรงเรียนบ้านวังหิน
กลมุ่ โรงเรียน ท้ายดงวังหิน
ตำบล วังหิน อำเภอ วงั โป่ง จงั หวดั เพชรบรู ณ์

สำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 ฉบับน้ี โรงเรียนบ้านวังหินได้จัดทำขึ้น
ตามกฎกระทรวง ว่าด้วย การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2561 ข้อ 3 ท่ีระบุให้สถานศกึ ษาแต่ละแห่ง
จดั ใหม้ รี ะบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โดยการกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศึกษาให้เป็ นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา ท่ี
รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศกาหนด พรอ้ มทงั้ จดั ทาแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา
ของสถานศกึ ษาทม่ี ุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาและดาเนินการตามแผนทก่ี าหนดไว้ จดั ใหม้ ี
การประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการดาเนินการเพ่อื
พฒั นาสถานศกึ ษาใหม้ คี ุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา และจดั สง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง
ใหแ้ ก่หน่วยงานตน้ สงั กดั หรอื หน่วยงานทก่ี ากบั ดแู ลสถานศกึ ษาเป็นประจาทกุ ปี

เอกสารรายงานประจำปีของสถานศึกษาฉบับน้ี ประกอบส่วนสำคัญ คือ บทสรุปของ
ผู้บริหารสถานศึกษา ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน ส่วนท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ส่วนท่ี 3
สรปุ ผลการประเมนิ และแนวทางการพัฒนา และสว่ นที่ 4 ภาคผนวก

โรงเรียนบ้านวังหิน ขอขอบคุณคณะกรรมการดำเนินงานและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายท้ังภายใน
และภายนอกโรงเรียนท่ีมีส่วนร่วมในการจัดทำเอกสารรายงานฉบับน้ี และหวังว่าเอกสารรายงานฉบับน้ี
จะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาในปีถัดไป และเป็นฐานข้อมูลในการ
กำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาและของเขตพ้ืนที่การศึกษา
ตลอดจนเพื่อประโยชน์ในการรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา(องคก์ ารมหาชน) ตอ่ ไป

โรงเรียนบ้านวงั หิน
เมษายน 2565

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 หน้า ก

สารบัญ

เรอ่ื ง หน้า
คำนำ ........................................................................................................................................... ก
สารบญั ........................................................................................................................................ ข
บทสรุปของผู้บริหารสถานศึกษา ............................................................................................ 1
สว่ นท่ี 1 ข้อมูลพ้นื ฐาน.........................................................................................................8

1.1. ขอ้ มูลท่วั ไป..................................................................................................................... 8
1.2. ขอ้ มลู ครูและบุคลากร.................................................................................................... 13
1.3. ขอ้ มูลนักเรียน................................................................................................................ 14
1.4. ผลการประเมินพัฒนาการตามหลกั สตู รการศึกษาปฐมวัย .............................................. 16
1.5. ผลการประเมินตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน.......................................................... 17
1.6. ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผูเ้ รยี น (RT) .......................................... 23
1.7. ผลการการทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รียนระดับชาติ (NT).............................. 26
1.8. ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ....................................... 29
1.9. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาปฐมวยั ............................... 32
1.10. ผลการประเมนิ คุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน........................ 33
สว่ นท่ี 2 ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา ....................................................................34
ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศกึ ษาปฐมวัย....................................... 34
ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ................................. 44
สว่ นท่ี 3 สรุปผลการประเมินและแนวทางการพฒั นา............................................................55
ส่วนที่ 4 ภาคผนวก ..............................................................................................................60

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หน้า ข

บทสรุปของผ้บู ริหารสถานศึกษา

โรงเรียนบ้านวงั หนิ ตัง้ อยูห่ มู่ท่ี 13 ตำบลวังหนิ อำเภอวงั โป่ง จังหวดั เพชรบูรณ์ สังกัดสำนกั งาน
เขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต ๑ สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร เปดิ สอนต้งั แตช่ น้ั อนบุ าล 2 ถึงช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ มบี ุคลากรสายบริหาร 1 คน
ครสู ายปฏบิ ัตกิ ารสอน จำนวน 17 คน ไดร้ บั การประเมินรอบ 4 เม่ือวันท่ี 15 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2565 มี
การจดั การศกึ ษา 2 ระดบั คือ

1) ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน : ระดบั ปฐมวยั (4-5 ปี )
มีครูจำนวน 2 คน เด็กจำนวน 45 คน

2) ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน : ระดับประถมและมัธยมศึกษา จำแนกเปน็
- ประถมศึกษา มบี ุคลากรครจู ำนวน 9 คน ผู้เรียนจำนวน 182 คน
- มธั ยมศึกษา มีบุคลากรครูจำนวน 5 คน ผเู้ รยี นจำนวน 89 คน
รวมท้ังสถานศึกษา มบี ุคลากรจำนวน 17 คน ผู้เรยี น 316 คน

ผลการประเมนิ ภายนอกของสถานศึกษา แสดงในตารางสรปุ ผลไดด้ งั นี้
การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน : ระดับปฐมวัย
๑. ผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศกึ ษาปฐมวัย ดังนี้

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเด็ก ยอดเยยี่ ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ ี่เนน้ เดก็ เปน็ สำคญั ยอดเยี่ยม
ยอดเยี่ยม
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา

2. ผลการดำเนนิ งาน
2.1. ดา้ นคุณภาพผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

1. การประเมนิ พฒั นาการด้านร่างกาย พบวา่ เด็ก จำนวน 45 คน มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายระดบั ดี
คิดเปน็ รอ้ ยละ 96.18 (สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายร้อยละ 80)

2. การประเมนิ พัฒนาการด้านอารมณจ์ ิตใจ พบวา่ เดก็ จำนวน 45 คน มพี ฒั นาการดา้ นรา่ งกาย
ระดบั ดี คดิ เปน็ ร้อยละ 99.14 (สูงกว่าค่าเป้าหมายรอ้ ยละ 80)

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 1

3. การประเมินพฒั นาการด้านสังคม พบวา่ เด็ก จำนวน 45 คน มีพัฒนาการดา้ นร่างกายระดับดี คดิ
เป็นรอ้ ยละ 99.63 (สงู กวา่ ค่าเปา้ หมายรอ้ ยละ 80)

4. การประเมนิ พัฒนาการด้านสติปญั ญา พบว่า เด็ก จำนวน 45 คน มพี ัฒนาการด้านร่างกายระดับดี
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.70 (สูงกวา่ ค่าเป้าหมายร้อยละ 80)

จากผลการประเมนิ พัฒนาการของเด็กทั้ง 4 ด้าน พบวา่ เด็กมีพัฒนาการทผ่ี า่ นเกณฑท์ ส่ี ถานศกึ ษา
กำหนดทัง้ 4 ด้าน

2.2. ดา้ นกระบวนการบริหารและการจัดการ

โรงเรยี นบ้านวงั หิน ไดด้ ำเนินงานตามแผนปฏิบัติงานของโรงเรียน เพ่ือจัดกิจกรรมให้กบั ผู้เรียนได้มาก
ท่ีสุด โดยได้ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา โดยใช้กระบวนการวิชาชีพชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC (Professional
Learning Community) ในการร่วมกันหาวิธีการในการแก้ปัญหา และการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์สูงสุด
กับผู้เรียน เมื่อสิ้นปีการศึกษาจะมีการสรุปร่วมกัน และได้จัดกิจกรรมเปิดบ้านวิชาการ (OPEN HOUSE) เพ่ือ
เป็นเวทีให้นักเรียนได้แสดงออกในทางท่ีถูกต้อง การแสดงความคิดของตนเองกับผู้คนอ่ืน และเป็นการเปิด
โอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดศ้ ึกษาดงู าน/กิจกรรมของช้ันอน้ื เพ่ือให้เกดิ การคดิ ตอ่ ยอดและนำมาจดั กจิ กรรมในคร้งั ต่อไป

2.3. ด้านการจัดประสบการณ์ที่เนน้ เด็กเปน็ สำคัญ
ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์ การ

เรียนรู้เพื่อพัฒนาพัฒนาการของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามศักยภาพของผู้เรียน ทางโรงเรียนมีการสนับสนุน
งบประมาณอยา่ งพอเพียง และสง่ เสริมให้ครูไดพ้ ัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง มกี ารนเิ ทศติดตาม การจัดการเรียน
การสอนอยู่เป็นประจำ ทำให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน เหมาะสมตามวัย ผ่านเกณฑ์การประเมิ น
พัฒนาการตามเป้าหมายทก่ี ำหนดไวห้ ลกั สตู รการจดั การศึกษาปฐมวัยของทางโรงเรยี นกำหนด
3. ระบจุ ดุ เดน่ จุดทคี่ วรพัฒนา แผนพัฒนาคุณภาพเพอื่ ยกระดับให้สูงขึน้
จดุ เด่น
จดุ เดน่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน

การจัดกิจกรรมม่งุ เน้นใหเ้ กดิ ผลกบั ผู้เรียนท่ีได้ลงมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมด้วยตนเอง และการจัดกจิ กรรม
สถานศึกษาจดั ในชว่ งการเรียน Online , On site ในการออกแบบกิจกรรมผูเ้ รียนได้เข้าร่วม และมีความความ
กระตือรือรน้ ในการร่วมกิจกรรม

จดุ เด่นมาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

1.โรงเรียนบ้านวงั หิน ไดค้ ำนงึ ถึงบรบิ ท สภาพชมุ ชนในการออกแบบการเรียนรู้

2.ครแู ละผู้ปกครองมีการมกี ารส่ือสาร และมีสว่ นร่วมในการจดั การศกึ ษา

3.คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา

รายงานประจำปขี องสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 2

4.การจดั การศึกษาทเี่ นน้ การบูรณาการ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสามารถนำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้

จดุ เด่นมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั
มีการจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม คือ กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์

กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเล่นตามมุม/เสรี กิจกรรมกลางแจ้งและกิจกรรมเกมการศึกษา และมีบรรยากาศ
ในหอ้ งเรียนใหเ้ หมาะแกก่ ารจัดการเรียนการสอนให้กับเด็กปฐมวัย และไดม้ กี ารประเมินพัฒนาการเด็ก โดยใช้
แบบ อบ.02 อบ.03 และรายงานผลการประเมนิ ให้ผู้ปกครอง

จุดควรพฒั นา
จุดควรพัฒนา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น

1. ส่งเสริมการเข้าร่วมกิจกรรมกบั ชุมชนและสังคมภายนอกสถานศึกษา เพื่อมุ่งหวังใหเ้ ด็กมีความ
เชอ่ื ม่ันในตนเองและกลา้ แสดงออกในส่ิงที่ดีงาม อนั เปน็ อัตลักษณข์ องสถานศึกษา

2. ดำเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นร้โู ดยยึดศกั ยภาพของเด็กแต่ละคน มกี ารจัดการเรยี นการสอน
แบบบูรณาการ โดยครผู ู้สอนจัดกิจกรรมการสอน 6 กิจกรรมหลัก ซึ่งเปน็ การเรียนการสอนทีส่ ง่ เสริมให้เด็กมี
พัฒนาการทงั้ 4 ดา้ นเต็มตามศักยภาพ ของเด็กแต่ละคน และภาคเรยี นท่ี 2 เรมิ่ มีการนำนวัตกรรม 3
นวัตกรรมมาใช้ โดยนวตั กรรมท่นี ำมาใช้ คอื จิตศึกษา PBL และ PLC เปน็ การฝึกให้เด็กกล้าคดิ กลา้ แสดงออก
การแสดงผลงานออก และกิจกรรมจติ ศึกษาที่มุ่งใหเ้ ด็กได้อยกู่ ับตวั เองมากขนึ้ มีสติ สมาธิ และการคิด
เชือ่ มโยงเขา้ กบั ตนเองและผู้อ่ืน

จดุ ควรพฒั นา มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
พัฒนาแหลง่ เรียนรู้ใหเ้ พียงพอตอ่ ความต้องการของเด็ก รวมถึงเพื่อสง่ เสริมพฒั นาการให้ตรงความ

ต้องการของครูผู้สอนและของเดก็ ปฐมวยั
จุดควรพัฒนา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั

- ควรจดั อปุ กรณ์ส่ือการเรียนการสอนทีห่ ลากหลาย สอดคล้องกับพฒั นาการของผูเ้ รียน
- ปรบั ปรุงหอ้ งเรียนให้มีบรรยากาศแจ่มใส สะอาด กว้างขวางพอเหมาะ
- ควรมีมมุ สง่ เสรมิ ประสบการณ์การเรยี นรู้ทส่ี อดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ มกี ารตกแตง่ ห้องเรียนให้มี
สีสนั ท่สี ดใส

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 3

การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน : ระดบั ประถมและมัธยมศึกษา
1. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ระดบั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ดังน้ี

มาตรฐาน ระดบั คณุ ภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ยอดเยย่ี ม
1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผเู้ รยี น
1.2 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผ้เู รียน ยอดเย่ียม
ดีเลศิ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผูเ้ รียนเปน็ สำคญั ยอดเย่ียม

สรุปผลการประเมินในภาพรวมของสถานศึกษา

2. ผลการดำเนินงาน
1. ดา้ นคณุ ภาพผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน

1. ผเู้ รียนมคี วามสามารถในด้านการอา่ น การเขียน การสือ่ สาร และคิดคำนวณตามเกณฑ์
ของแต่ระดับช้ันทุกคน สามารถใชภ้ าษาอังกฤษในการสอ่ื สาร เชน่ การทักทาย การแนะนำตวั เอง
สนทนาแบบงา่ ยๆได้

2. ผเู้ รียนมีความใฝร่ ู้ และเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่อื ง ค้นควา้ หาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรู้ทง้ั ภายใน
และภายนอกโรงเรยี น สามารถใช้เทคโนโลยใี นการแสวงหาความรแู้ ละสืบคน้ ไดด้ ้วยตนเอง

3. ผเู้ รียนถอดบทเรยี นจากเหตกุ ารณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ และสะท้อนสกู่ ารนำมาใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้
4. ผู้เรียนมีผลงาน ชน้ิ งานจากการเรียนการสอบแบบบรู ณาการ PBL สามารถอธิบาย เหตุผล
หลกั การ แนวคิด วิธีดำเนินการ และเชือ่ มโยงกบั ศาสตร์พระราชาได้
5. ผู้เรยี นกลา้ คิดกลา้ แสดงออกมที ักษะการคดิ สรา้ งสรรค์ และจินตนาการ สามารถพฒั นางาน และ
คิดริเร่มิ ส่งิ ใหม่ และ ภาคภูมิใจในตนเอง
6. ผูเ้ รียนมีความรู้ทักษะพนื้ ฐานและเจตคติทด่ี ีต่องานอาชพี สามารถค้นควา้ หาความรู้มาจัดทำ
โครงงานอาชีพ และเผยแพรผ่ ลงานตอ่ สาธารณะได้
7. ผู้เรยี นทกุ คนมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ท่ดี ี มนี ำ้ หนัก สว่ นสูง และสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
ไม่เกี่ยวข้องกบั สารเสพตดิ
8. ผู้เรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและค่านิยมที่พงึ ประสงค์ รา่ เรงิ แจม่ ใส มีมนุษย์สมั พนั ธท์ ี่ดีต่อผู้อ่ืน
แสดงออกอย่างสร้างสรรค์บนพื้นฐานความเปน็ ไทย เคารพกฎกตกิ ามารยาทของสงั คม

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 4

9. ผเู้ รยี นเห็นคณุ คา่ ของความเปน็ ไทย มสี ว่ นรว่ มในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและประเพณีไทยทท่ี าง
โรงเรยี นและชุมชนจัดขนึ้ เชน่ การแตง่ กายชุดไทยในวนั ภาษาไทย ประเพณีลอยกระทง การเวียนเทยี นใน
วนั สำคัญ

10. ผ้อู ยูร่ ว่ มกนั บนความแตกต่างระหวา่ งบุคคลใน ดา้ นเพศ วยั ศาสนา ฐานะ ชุมชน ได้อย่างมี
ความสขุ

2. กระบวนการบริหารและการจัดการ

สถานศึกษาบริหารจัดการโดยมีการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐ มีการบริหารเก่ียวกับงานวิชาการโดยจัดให้มี
กิจกรรมเสริมหลักสูตรที่เน้นคุณภาพผู้เรียน จัดทำรายวิชาเพิ่มเติม พัฒนาห้องสมุด แหล่งศึกษาพอเพียง
กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี แนะแนว กิจกรรมจิตศึกษา การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–
based Learning :PBL) ฯลฯ สนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามโครงการสนับสนุนการ
พัฒนาครูและโรงเรียนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รุ่นที่ 2 และทั้งในระดับเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา และหน่วยงานอื่น ๆ เพื่อให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้มีชุมซน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(PLC) มาใช้ในการพัฒนางานและการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่งเสริมให้ครูเป็นวิทยากรภายนอก ให้ความรู้ด้าน
วิชาชีพ และเทคโนโลยีประกอบการจัดการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอและต่อเน่ือง และดำเดินการพัฒนา
อาคารสถานท่ีและ สิ่งแวดล้อม มีการจัดสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีเอื้อต่อ การจัดการ
เรียนรู้ มีสภาพแวดล้อมท่ีร่มรื่น ปลอดภัย จัดให้มีอาคารเรียน อาคารประกอบอย่างเพียงพอ จัดให้มีห้องสมุด
การเรียนรูท้ ่ีทันสมัย ห้องปฏิบัติการเพียงพอ จัดหาวัสดุอปุ กรณท์ ี่เอื้อต่อการเรียนรู้ และแหล่งสืบค้นข้อมลู ทาง
อินเทอร์เนต็ ท่ีนักเรียนสามารถเข้าถงึ และใชป้ ระโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ ไดง้ ่าย จัดให้มีระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อใช้ในการบรหิ าร จดั การและการจัดการเรียนรูท้ ่ีเหมาะสม โดยมีข้อมลู สารสนเทศมีความถูกตอ้ ง
ครบถ้วน ทันสมัย นำไปประยุกต์ใช้ได้ มีการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ มีการจัด ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและจัดการเรียนรู้ เซ่น มีคอมพิวเตอร์สำหรับห้องปฏิบัติการ และติดต้ัง TV
และคอมพวิ เตอร์ โน๊ตบ๊คุ ในแต่ละห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ติดตั้งระบบสัญญาณอินเทอร์เน็ต เพอื่ กระจาย
สัญญาณ WIFI ให้ครอบคลมุ ท่วั ถึงทัง้ บริเวณสถานศึกษา เพ่อื ให้ครู นกั เรยี น ผปู้ กครอง และประซาซนสามารถ
เข้าถึงระบบสารสนเทศของสถานศึกษา ไต้ง่ายขึ้น สะดวกต่อการติดต่อประสานงานและอำนวยความสะดวก
ในด้านต่าง ๆ ได้มากขึ้น และนำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดและประเมินผลโดยการ จัดทำการ
ทดสอบด้วยระบบออนไลน์ในทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้

3. ด้านการจัดประสบการณ์ทเ่ี น้นเด็กเปน็ สำคัญ

ครูมคี วามรู้ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์
การเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาพัฒนาการของผู้เรยี นให้มีคุณภาพตามศกั ยภาพของผเู้ รียน ทางโรงเรียนมกี ารสนบั สนนุ
งบประมาณอย่างพอเพยี ง และสง่ เสรมิ ให้ครูได้พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง มีการนเิ ทศติดตาม การจดั การเรียน

รายงานประจำปขี องสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หน้า 5

การสอนอยูเ่ ปน็ ประจำ ทำให้ผเู้ รียนมพี ัฒนาการทงั้ 4 ด้าน เหมาะสมตามวัย ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
พัฒนาการตามเปา้ หมายท่ีกำหนดไว้หลกั สูตรการจัดการศึกษาปฐมวัยของทางโรงเรยี นกำหนด

3. ระบจุ ดุ เดน่ จุดทคี่ วรพัฒนา แผนพัฒนาคณุ ภาพเพื่อยกระดบั ให้สูงขนึ้
จุดเด่น
จดุ เด่นมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น

1. ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่พงึ ประสงค์ มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
2. ผ้เู รียนเรยี นมคี วามม่ันใจกลา้ แสดงออก รา่ เรงิ แจ่มใส สนใจเข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ กีฬา และ
ประเพณที ้องถน่ิ และมที ักษะการทำงาน สามารถทำงานร่วมกบั ผู้อ่นื ได้
3. ผเู้ รยี นกลา้ คดิ สรา้ งสรรคพ์ ฒั นางาน สรา้ งผลงาน ช้ินงานได้ สามารถอธบิ าย เหตุผล
หลกั การ แนวคิด วิธดี ำเนินการ เผยแพรผ่ ลงานตอ่ สาธารณะได้
4. ผู้เรียนมคี วามรู้ทักษะพ้นื ฐานงานอาชพี สามารถคน้ ควา้ หาความรมู้ าจดั ทำโครงงานอาชพี และมีเจต
คตทิ ด่ี ตี ่ออาชีพสุจรติ
5. ผเู้ รยี นเรียนมีทักษะ ความสามารถด้านสรา้ งนวัตกรรมจากการเรยี นรู้แบบ PBL
ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ มีพฒั นาการเซิงบวก 8.53 คะแนน เทียบกับปี
การศึกษา 2563 ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ พบวา่ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีคะแนนผล
การทดสอบเฉลี่ย (29.71 คะแนน) ซ่งึ สงู กวา่ ระดบั เขตพ้ืนที่ และกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ศาสตร์
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยศาสตร์และเทคโนโลยี มีพัฒนาการเซงิ บวก 1.14 และ 2.25 เทียบกับปีการศกึ ษา
2563

จดุ เดน่ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
โรงเรียนวางมาตรฐานการศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมายที่ชัดเจน จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพ

การศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี และมีการรายงานผลการดำเนนิ งานอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื ง โดยได้รับ
ความร่วมมือเป็นอย่าง ดีจากคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงาน ชุมชนใกล้เคียง ท่ีได้ดำเนินกิจกรรมต่างๆ
เพ่ือพัฒนาโรงเรียน และส่งเสริม สนับสนุนให้ครูทุกคนได้รับการพัฒนาศักยภาพ ตามโครงการโครงการ
สนับสนุนการพัฒนาครูและโรงเรียนเพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รุ่นท่ี 2 โดยร่วมกับภาคี
เครือข่ายร่วมพัฒนา เช่น คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เพชรบรู ณ์ และโค้ชพ้ืนท่โี ครงการ TSQP ให้ความรว่ มมอื ในการพัฒนาคุณภาพ การศกึ ษาของโรงเรียนอยา่ งดี

จุดเด่นมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
ครูทุกคนเข้าร่วมกระบวนการ PLC เพื่อแลกเปลี่ยน สะท้อนผลสำเร็จและหาแนวทางแก้ไขปัญหา

เพอ่ื พัฒนาผเู้ รยี นทัง้ ในดา้ นการเรยี นรู้ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้วยกระบวนการ จิตศึกษา Body scan
กับทุกห้องเรียน มีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนโดยเน้นกระบวนการ Active Learning โดยจัดเป็นหน่วยการ

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 6

เรียนรู้ท่ีบูรณาการกับสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสาระสังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการงานอาชีพ กลุ่มสาระศิลปะ
กลุ่มสาระสขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา

จดุ ควรพัฒนา
จดุ ควรพัฒนา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น

การพัฒนาผู้เรียนให้มิความสามารถการคิด มีทักษะ เสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
อย่างต่อเน่ือง ผ่านรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ในบทเรียนของแต่ละวิชาที่ และให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่าน
กระบวนการ Active Learning ในการจัดการเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และมีการประเมินความสามารถ
ในการคิดของผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ เพื่อยกระดับคณุ ภาพของผ้เู รยี นและผลทดสอบของผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ
ต้งั แต่ระดับชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ถงึ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3

จดุ ควรพฒั นา มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ
พฒั นาวธิ ีการยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผู้เรียนท่เี หมาะสม กบั บริบทของสถานศกึ ษา

ผา่ นกระบวนการเรยี นรแู้ บบใชป้ ัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning :PBL) เพิ่มการมสี ว่ นร่วมของ
ทกุ ภาคสว่ นในการประเมนิ คุณภาพภายใน แลว้ นำมาส่กู ารระดมความคิดเพื่อพฒั นาสถานศกึ ษาอยา่ งเป็น
ระบบ และจดั ระบบอินเทอรเ์ นต็ เพอ่ื การบริหารจดั การในสถานศกึ ษา เซ่น การวางระบบการดูแลนกั เรยี น การ
ให้ข้อมูลย้อนกลบั แก่ผู้ปกครองเพ่อื การสรา้ ง การร่วมมือในการดูแลนกั เรียนในการจัดอตั รากำลงั เพื่อพฒั นา
คณุ ภาพผ้เู รียน ใหเ้ พียงพอและเหมาะสมกบั ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
จุดควรพัฒนา มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ

1. ครูควรทำการวิจัยในขั้นเรียน เพื่อน่าผลของงานวิจัยน้ันไป พัฒนาการเรียนการสอนให้มี
ประสทิ ธิภาพย่ิงขน้ึ

2. ควรจัดให้มีครูผู้สอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ๆ ผู้ปกครองนักเรียน หรือ กรรมการ
สถานศึกษาให้เข้ามามีส่วนร่วมในกลุ่มขุมซนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของครูผู้สอนแต่ละกลุ่มสาระการ
เรยี นรู้ เพือ่ ใหไ้ ดแ้ นวคดิ ทห่ี ลากหลาย ในการแก้ปญั หาการจัดการเรยี นการสอน

3. ครูควรจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ และเกิดสมรรถนะ
กับผูเ้ รียน

รายงานประจำปขี องสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 ( นางวรรณคำ เนตรแสงสี )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นบ้านวงั หนิ

หนา้ 7

สว่ นที่ 1

ข้อมลู พืน้ ฐาน

1.1 ขอ้ มูลทวั่ ไป

ชื่อโรงเรยี น บา้ นวังหิน
ท่ีอยู่ 123 หมู่ 13 ตำบลวังหนิ อำเภอวังโปง่ จังหวัดเพชรบรู ณ์
สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบรู ณ์ เขต 1
โทรศพั ท์ 056-922660 E-mail : [email protected]
โทรสาร 056-922660
เปดิ สอนระดับชนั้ อนุบาลปที ี่ 2 – มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 ถึงระดับชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3
แผนทโี่ รงเรียน

โรงเรยี นบ้านวังหนิ ท่ีตงั้ หมู่ 13 ตำบลวงั หนิ อำเภอวงั โป่ง จงั หวดั เพชรบรู ณ์ สงั กัดสำนักงานเขต
พ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 โทร 056-922660 โทรสาร056-922660
Email: [email protected]
website:http:/data.boppobec.info/web/?School_ID=1067380552 ตั้งอยู่พกิ ดั
ละติจดู 16.386725526868755 ลองตจิ ดู 100.78237869999998 เขตพืน้ ทบ่ี ริการ 7 หมู่บา้ นได้แก่หมู่ท่ี 1
บา้ นวังหิน หมู่ท่ี 2 บา้ นวงั สมบตั ิ หมทู่ ่ี 8 บา้ นวงั สะพงุ หมทู่ ี่ 11 บ้านวังหินเหนอื หมู่ที่ 13 บ้านวังไทรงาม
หม่ทู ี่ 14 บ้านเนนิ ศลิ าเพชร และหม่ทู ี่ 16 บา้ นวงั สะพงุ ใตต้ ้ังอยใู่ นเขตการปกครององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลวังหนิ จากโรงเรียนถึงสำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1
ระยะทาง 79.3 กิโลเมตร จากโรงเรียนไปโรงเรยี นขยายโอกาสท่ีใกล้ทส่ี ดุ คือ โรงเรยี นน้ำออ้ มประชาสรรค์
ระยะทาง 9 กิโลเมตร

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 8

แผนท่ีแสดงบริเวณโรงเรียน (อาคาร สถานที่ ส่ิงกอ่ สรา้ ง สนาม)

รายงานประจำปขี องสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หนา้ 9

แผนทีแ่ สดงเขตบริการของโรงเรียน

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 10

ตราสญั ลกั ษณ์ของโรงเรยี น

แท่งเทยี นและเปลวรัศมี หมายถึง แสงสวา่ งแห่งปัญญา
ท่เี กิดจากการเรยี นรู้ โดยมีครเู อาใจใสด่ ูแล อบรม บ่มเพาะ
กอ่ ให้ให้เกดิ ปญั ญา และเป็นผู้มีความรู้คู่ความดี นำมาซึ่ง
ความเจรญิ กา้ วหนา้ ในชวี ิต
ใบต้นหางนกยงู และดอก หมายถงึ ต้นไมป้ ระจำโรงเรยี น

สมบูรณ์ เพ่มิ พูนสิง่ แวดล้อม คำขวัญของโรงเรียน ประพฤตดิ ี มีวิชา พลานามัย
เจริญ)
ปรัชญาของโรงเรยี น สวุ ชิ าโน ภวํ โหติ ( ผูร้ ู้ดี คอื ผู้
พลานามยั สมบรู ณ์
สีประจำโรงเรยี น เขยี ว – ขาว
ต้นไม้ประจำโรงเรียน ตน้ หางนกยงู
อตั ลกั ษณข์ องโรงเรียน ผ้เู รยี นมีความรู้ คู่ความดี มี

ขอ้ มูลงบประมาณ
สภาพชุมชนโดยรวม

โรงเรยี นบ้านวังหิน ต้ังอยเู่ ลขที่ 123 หมู่ที่ 13 ตำบลวังหิน อำเภอวงั โป่ง จังหวดั เพชรบรู ณ์ สงั กดั
สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาเพชรบูรณ์ เขต 1 มีเนอื้ ท่ี 16 ไร่ 3 งาน 19 ตารางวา มีเขต
บรกิ าร 7 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่
หมทู่ ่ี 1 บา้ นวังหนิ
หมทู่ ่ี 2 บา้ นวงั สมบตั ิ
หมูท่ ี่ 8 บ้านวงั สะพงุ
หมูท่ ่ี 11 บา้ นวงั หินเหนือ
หมทู่ ี่ 13 บ้านวงั ไทรงาม
หมทู่ ่ี 14 บ้านเนินศลิ าเพชร
หมู่ท่ี 16 บา้ นวงั สะพุงใต้

สภาพชมุ ชนเปน็ หมู่บ้านใหญ่ ซงึ่ อพยพยา้ ยถิ่นฐานมาจากหลายท้องท่ี เข้ามาประกอบอาชีพเนอื่ งจาก
ความอุดมสมบูรณ์ของพ้ืนที่ จึงได้ต้ังถิ่นฐานบ้านเรือนอย่างถาวรสืบมา จากความหลากหลายของกลุ่มคนที่
อพยพเคล่ือนย้ายเข้ามาทำกินในบริเวณน้ี จึงมีหลากวัฒนธรรม หลากอาชีพ ซ่ึงสภาพภูมิศาสตร์ เป็นตัวแปร

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หนา้ 11

สำคัญต่อการทำมาหาเล้ียงชีพการดำรงชีวิตน่ันเอง ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำ
สวนผลไม้ ทำไร่ (ปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์) ทำนา เล้ียงสัตว์ ปลูกผัก ค้าขาย (มีลานรับซื้อผลิตผลทาง
การเกษตร) รับจ้างท่ัวไป บางส่วนไปทำงานต่างถิ่น สถานที่สำคัญบริเวณใกล้เคียงโดยรอบโรงเรียน ได้แก่วัด
ไทรงามสามัคคี ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ ประเพณี ศิลปะวัฒนธรรมท้องถิ่นท่ี มี
หลากหลายเนื่องจากพื้นฐานอพยพเคล่ือนย้ายมาจากหลายท้องที่ แต่ประเพณีท่ีรู้จักโดยทั่วไป คือ ทำบุญ
กลางบ้าน ทำบุญข้าวเปลือก แห่ต้นดอกไม้ ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ฐานะทาง
เศรษฐกจิ /รายไดโ้ ดยเฉลีย่ ต่อครอบครวั ตอ่ ปี 3,000 บาท จำนวนคนเฉล่ียตอ่ ครอบครัว 2 คน
โอกาสและข้อจำกดั ของโรงเรยี น

ด้านโอกาส โรงเรียนมีเขตบริการ 7 หมู่บ้าน มีแหล่งเรียนรู้ หน่วยงาน องค์กรที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ท่ี
หลากหลาย เช่น วัดในเขตบริการ ๕ วัด มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังหิน
องค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน ศูนย์เรียนรู้งานอาชีพของหมู่ 13 บ้านวังไทรงาม แหล่งเกษตรอินทรีย์ กลุ่ม
วิสาหกิจชุมชน สวนผลไม้ ฯลฯ ซึ่งจากการท่ีโรงเรียนต้ังอยู่ในแหล่งชุมชนที่หลากหลายและมีส่วนราชการอ่ืน
ๆ อยู่ในเขตเดียวกนั ทำให้โรงเรยี นมีแหล่งเรียนรู้ ได้รับการความร่วมมอื ในการพฒั นาการศึกษาและจัดกิจกรรม
เสริมหลกั สูตรของโรงเรยี นจากบุคคลหลากหลายอาชพี ท้ังภาครัฐและเอกชน นอกจากน้ันโรงเรยี นต้ังอยู่ในเขต
ชุมชนติดถนนสายหลักของหมู่บ้าน จึงมีการคมนาคมสะดวก เทคโนโลยีเข้าถึงทำให้การติดต่อส่ือสารรวดเร็ว
และมอี นิ เตอร์เน็ตกระจายทั่วถงึ เตม็ พน้ื ที่

ขอ้ จำกดั ของโรงเรียน โรงเรียนตัง้ อย่ใู นเขตชมุ ชน 7 หมบู่ ้าน นกั เรยี นในเขตบริการ บดิ า มารดา เขา้
ไปทำงานในเมืองใหญ่ ต้องอาศยั อยู่กับญาติ ผูป้ กครองส่วนมากมักจะเปน็ คนชรา ทำให้การดแู ลบตุ รหลานได้
ไมท่ วั่ ถงึ ครอบคลุมทุกด้าน

ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบ 3 และ รอบ 4 (ในกรณที ี่มผี ลการประเมินจาก สมศ.แล้ว)

ผลการแระเมนิ ภายนอก สมศ. รอบท่ี 3 และ 4 หน้า 12
โรงเรยี นบา้ นวงั หิน

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564

1.2 ข้อมูลบุคลากรของสถานศึกษา

1) จำนวนบุคลากร
1.1)ระดับปฐมวัย

บุคลากร ผ้บู รหิ าร ครูผู้สอน พนักงาน ครูอตั รา เจ้าหนา้ ที่ รวมทงั้ หมด
2 ราชการ จา้ ง อื่นๆ

ปีการศกึ ษา 2564 1 - 12 3

1.2)ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน

บุคลากร ผูบ้ รหิ าร ครูผู้สอน พนักงาน ครอู ัตรา เจา้ หนา้ ท่ี รวมทั้งหมด
ราชการ จา้ ง อืน่ ๆ

ปีการศึกษา 2564 1 13 - 1 2 17

2) วุฒิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

แผนภูมแิ สดงร้อยละวฒุ ิการศึกษาสูงสุดของบุคลากร

ม.ปลาย, ๕.๒๖%, ปริญญาโท, ๒๑.๐๖%

ปริญญาตรี, ๗๓.๖๘%

ปริญญาโท ปริญญาตรี ม.ปลาย

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หน้า 13

3) สาขาวิชาทีจ่ บการศึกษาและภาระงานสอน

สาขาวชิ า จำนวน (คน) ภาระงานสอนเฉลี่ยของครู 1 คน ในแต่ละ
สาขาวิชา (ชม./สปั ดาห์)
1. บริหารการศกึ ษา
2. คณติ ศาสตร์ 15
3. วิทยาศาสตร์ 2 20
4. ภาษาไทย 2 18
5. ภาษาอังกฤษ 3 20
6. สงั คมศกึ ษา 2 18
7. การงานอาชพี 1 18
8. สุขศึกษาและพลศึกษา 1 10
8. ศิลปะ 1 10
9. ปฐมวยั 1 10
2 20
รวม 16

1.3 ขอ้ มูลนกั เรียน (ขอ้ มลู ณ 25 มิถนุ ายน2564)

จำนวนนักเรียนปีการศกึ ษา 2564 รวมท้ังสนิ้ 316 คน

ระดบั ชน้ั เรยี น จำนวน ชาย จำนวนนักเรยี น รวม เฉลี่ยต่อหอ้ ง
ห้องเรยี น 14 หญงิ 26
อ.2 15 12 19 26
อ.3 1 29 4 45 19
รวม 1 14 16 21 28
ป.1 2 13 7 28
ป.2 1 14 15 31 21
ป.3 1 9 17 21 28
ป.4 1 12 31
1 21

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 14

ป.5 1 16 14 30 30
ป.6 2 25 26 51 26
รวม 7 90 99 182 26
ม.1 1 21 12 33 33
ม.2 1 14 8 22 22
ม.3 1 18 16 34 34
รวม 3 53 36 89 30
รวมท้ังหมด 12 173 143 316 26

เปรียบเทียบจานวนข้อมูลนักเรียนปีการศึกษา 2562 - 2564

200 ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา
180 2562 2563 2564
160
140
120
100

80
60
40
20

0

ปฐมวยั

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 15

1.4 ผลการประเมินพฒั นาการ ตามหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย

นักเรยี นช้นั อนบุ าลปที ี่ 3 ที่เข้ารบั การประเมิน จำนวน 32 คน

พฒั นาการ ผลการประเมนิ ของเด็กตามระดับคุณภาพ
ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
ดา้ นร่างกาย จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน รอ้ ยละ
ดา้ นอารมณ์และจติ ใจ 30 93.75 2 6.25 0 0.00
ด้านสตปิ ญั ญา 32 100.00 0 0.00 0 0.00
ดา้ นสังคม 27 84.38 4 12.50 1 3.13
30 93.75 2 6.25 0 0.00

ร้อยละของผลการประเมินพัฒนาการเด็ก
ชน้ั อนบุ าล 3 ปกี ารศึกษา 2564

100.00 ด้านร่างกาย ดา้ นอารมณแ์ ละ ดา้ นสติปญั ญา ดา้ นสงั คม
90.00 จติ ใจ
80.00 100.00 84.38 93.75
70.00 12.50 6.25
60.00 0.00 3.13 0.00
50.00
40.00 0.00
30.00
20.00
10.00
0.00

ดี 93.75
พอใช้ 6.25
ปรับปรงุ 0.00

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 หน้า 16

1.5 ผลการประเมินระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน (ขอ้ มลู ณ 31 มนี าคม 2565)

1) ข้อมลู ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นระดบั สถานศึกษา (ขอ้ มูล ณ 31 มีนาคม 2565)

ร้อย ละข อง นักเ รีย นที่ มี ผลสัม ฤท ธ์ิ ท า ง กา รเ รีย นแต่ละราย วิชา ในระดับ 3 ข้ึนไป
จา แ นกต า ม ระดับ ชั้น ปีกา รศึกษา 2 5 6 4

120.00
100.00

ร้อยละ 80.00
60.00
40.00 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
20.00 75.00 96.43 45.45 47.83 50.00 31.37
0.00 83.33 89.29 51.52 47.83 20.00 47.06
58.33 96.43 75.76 60.87 40.00 37.25
ภาษาไทย 79.17 96.43 69.70 82.61 46.67 68.63
คณิตศาสตร์ 75.00 96.43 78.79 86.96 93.33 74.51
วิทยาศาสตร์ 70.83 100.00 78.79 82.61 100.00 82.35
สงั คมศกึ ษาฯ 70.83 100.00 84.85 73.91 90.00 76.47
ประวตั ศิ าสตร์ 62.50 96.43 84.85 65.22 86.67 72.55
สขุ ศกึ ษาฯ 87.50 71.43 66.67 34.78 46.67 43.14
ศิลปะ ดนตรี
การงานฯ
ภาษาองั กฤษ

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หน้า 17

ร้อย ละข อง นักเ รีย นที่ มี ผลสัม ฤท ธิ์ ท า ง กา รเ รีย นแต่ละราย วิชา ในระดับ 3 ขึ้นไป
จา แ นกต า ม ระดับ ช้ัน เ ท อม 1 ปีกา รศึกษา 2 5 6 4

ร้อยละ 90.00
7800..0000
6543200000.....0000000000 ม.1 ม.2 ม.3
100..0000 66.67 45.45 44.12
15.15 27.27 50.00
ภาษาไทย 24.24 13.64 41.18
คณิตศาสตร์ 39.39 45.45 58.82
วิทยาศาสตร์ 39.39 45.45 61.76
สงั คมศกึ ษาฯ 39.39 68.18 79.41
ประวตั ิศาสตร์ 39.39 45.45 52.94
สขุ ศึกษาฯ 39.39 50.00 79.41
ศิลปะ ดนตรี 33.33 40.91 44.12
การงานฯ
ภาษาองั กฤษ

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 หน้า 18

ร้อย ละข อง นักเ รีย นที่ มี ผลสัม ฤท ธ์ิ ท า ง กา รเ รีย นแต่ละราย วิชา ในระดับ 3 ขึ้นไป
จา แ นกต า ม ระดับ ชั้น เ ท อม 2 ปีกา รศึกษา 2 5 6 4

120.00

100.00

80.00

ร้อยละ 60.00

40.00

20.00

0.00 ม.1 ม.2 ม.3

ภาษาไทย 30.30 13.64 50.00

คณิตศาสตร์ 30.30 13.64 38.24

วทิ ยาศาสตร์ 18.18 13.64 35.29

สงั คมศกึ ษาฯ 57.58 63.64 64.71

ประวัติศาสตร์ 39.39 50.00 67.65

สุขศึกษาฯ 51.52 63.64 41.18

ศิลปะ ดนตรี 27.27 50.00 50.00

การงานฯ 63.64 95.45 47.06

ภาษาองั กฤษ 27.27 22.73 32.35

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 19

2) ผลประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

ร้อยละของนักเรียนทมี่ ผี ลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
จาแนกตามระดับคุณภาพ ปีการศึกษา 2564

รวม…
ม.3
ม.2
ม.1
ป.6
ป.5
ป.4
ป.3
ป.2
ป.1

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวมทั้งสิน้
ดีเยี่ยม 87.50 100.00 21.21 82.61 70.00 66.67 100.00 100.00 47.06 72.30
ดี 12.50 0.00 78.79 17.39 30.00 33.33 0.00 0.00 52.94 27.70
ผา่ น 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00
ไม่ผ่าน 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 20

3) ผลการประเมินการอ่าน คดิ วเิ คราะห์และเขยี น

ร้อยละของนักเรียนทีม่ ผี ลการประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะหแ์ ละเขยี น
จาแนกตามระดบั คุณภาพ ปกี ารศึกษา 2564

รวม…
ม.3
ม.2
ม.1
ป.6
ป.5
ป.4
ป.3
ป.2
ป.1

0% 10% 20% 30% 40% 50% 60% 70% 80% 90% 100%

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 รวมทง้ั ส้ิน
ดีเยย่ี ม 33.33 82.14 33.33 30.43 36.67 43.14 100.00 100.00 17.65 51.44
ดี 66.67 17.86 54.55 47.83 33.33 49.02 0.00 0.00 41.18 35.61
ผ่าน 0.00 0.00 12.12 21.74 10.00 7.84 0.00 0.00 41.18 0.00
ไมผ่ า่ น 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00 0.00

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 21

4) ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผู้เรยี น 5 ดา้ น ปกี ารศกึ ษา 2564
ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 5 ด้าน ปีการศึกษา 2564

300

250

ํจานวน/คน 200

150

100

50

0 การส่อื สาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชท้ ักษะ การใช้
ชวี ิต เทคโนโลยี
ผา่ น 278
ไม่ผา่ น 0 278 278 278 278

0000

5) ผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น ปีการศกึ ษา 2564
ร้อยละของผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ปีการศึกษา 2564

ํจานวน/คน 300

250

200

150

100

50

0

ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
ผา่ น 278 278 278 278 278 278 278 278 278
ไมผ่ ่าน 0 0 0 0 0 0 0 0 0

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 22

1.6 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผ้เู รยี น (Reading Test : RT)

1) ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอา่ นของผเู้ รยี น (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 1
ปกี ารศึกษา 2564

คะแนนเฉล่ียร้อยละผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT)
ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา 2564

100ร้อยละ
90
80 การอา่ นออกเสียง การอ่านรู้เรอื่ ง รวม 2 สมรรถนะ
70 94.58 85.16 89.87
60 77.22 77.82 77.52
50 69.95 72.79 71.38
40
30
20
10
0

ระดับโรงเรยี น
ระดับเขตพนื้ ท่ี
ระดบั ประเทศ

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 23

คะแนนเฉลีย่ ร้อยละของจานวนนักเรยี นท่ีมีผลการประเมนิ ความสามารถ
ดา้ นการอ่านของผูเ้ รยี น (RT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1
ปกี ารศกึ ษา 2564 จาแนกตามระดับคุณภาพ

120

100
80 100 100

60 79.16

40

20
0 20.83 0 0 0 0 0 0 0

0
ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง

การอา่ นออกเสยี ง การอ่านรู้เรือ่ ง รวม 2 สมรรถนะ

2) ผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ นของผู้เรยี น (RT) ปกี ารศกึ ษา 2563 - 2564
2.1) เปรยี บเทียบผลการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอ่านของผู้เรยี น (RT) ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1

และรอ้ ยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 2563 – 2564

สมรรถนะ ปีการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา รอ้ ยละของผลตา่ ง
2563 2564 ระว่างปกี ารศกึ ษา
การอ่านออกเสียง
การอ่านรู้เรอ่ื ง 86.85 94.58 7.73
รวม 2 สมรรถนะ 88.57 85.16 -3.41
87.71 89.87
2.16

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 24

2.2) เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผเู้ รียน (RT) ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 1
และรอ้ ยละของผลต่างระหว่างปีการศึกษา 2563 - 2564 จำแนกตามร้อยละของระดับคุณภาพ

ผลประเมนิ การอา่ นออกเสยี ง

ปรับปรุง
พอใช้
ดี
ดมี าก
0 20 40 60 80 100 120
รอ้ ยละของจํานวนนักเรยี น ปี 2564 ร้อยละของจํานวนนักเรียน ปี 2563

ผลประเมนิ การอ่านรู้เรอ่ื ง

ปรบั ปรุง
พอใช้
ดี
ดมี าก
0 20 40 60 80 100 120
ร้อยละของจํานวนนักเรียน ปี 2564 ร้อยละของจํานวนนกั เรยี น ปี 2563

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 25

ผลประเมินรวม 2 สมรรถนะ

ปรบั ปรุง
พอใช้
ดี
ดมี าก
0 20 40 60 80 100 120
ร้อยละของจาํ นวนนักเรียน ปี 2564 ร้อยละของจาํ นวนนกั เรียน ปี 2563

1.7 ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (National Test : NT)

1) ผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพนื้ ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ(NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 3
ปกี ารศึกษา 2564

คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รียน
ระดับชาติ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศกึ ษา 2564

6
5
4
3
2
1
0

ด้านภาษา ด้านคํานวณ รวมท้งั 3 ดา้ น เฉลยี่ ท้ัง 3 ดา้ น

ระดับโรงเรียน 4.3 2.5 3.5 4.5

ระดับเขตพ้ืนท่ี 2.4 4.4 1.8 2.8

ระดบั ประเทศ 2 2 3 5

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หน้า 26

คะแนนเฉลยี่ ร้อยละของจาํ นวนนกั เรียนทม่ี ีผลการประเมินการทดสอบความสามารถพืน้ ฐานของผเู้ รยี น
ระดับชาติ (NT) ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2564
จาํ แนกตามระดับคุณภาพ

6

4

2

0
ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรงุ

ดา้ นภาษา ด้านคาํ นวณ ดา้ นเหตผุ ล รวมทั้ง 3 ดา้ น

2) ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผเู้ รียนระดับชาติ ปกี ารศึกษา 2563 - 2564

2.1) เปรยี บเทยี บผลการประเมนิ การทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผูเ้ รยี นระดบั ชาติ (NT)

ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 และร้อยละของผลต่างระหว่างปีการศกึ ษา 2563 – 2564

ความสามารถ ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา รอ้ ยละของผลตา่ ง
2563 2564 ระว่างปกี ารศกึ ษา

ดา้ นคณติ ศาสตร์ 50.54 54.45 3.91

ดา้ นภาษาไทย 54.77 54.51 -0.26

รวมความสามารถเฉลีย่ ท้ัง 2 ดา้ น 52.65 54.48 1.83

2.2) เปรยี บเทยี บผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรยี นระดบั ชาติ (NT)
และรอ้ ยละของผลต่างระหวา่ งปีการศึกษา 2563 - 2564 จำแนกตามร้อยละของระดับคุณภาพ

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 27

ความสามารถด้านภาษาไทย
ร้อยละของจํานวนนักเรยี น ปี 2563 ร้อยละของจํานวนนักเรียน ปี 2564

ปรบั ปรุง 9.09 50
พอใช้ 9.09 48.48
ดี
ดีมาก 18.18
24.24

22.72
18.18

ความสามารถด้านคณิตศาสตร์

ปรบั ปรงุ 0 13.63 48.48
พอใช้
ดี 27.27 31.81
ดมี าก 31.81

222.742.24

0 10 20 30 40 50 60
ร้อยละของจํานวนนกั เรียน ปี 2563 รอ้ ยละของจํานวนนกั เรยี น ปี 2564

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หนา้ 28

ความสามารถทัง้ 2 ดา้ น

ปรบั ปรงุ 0 4.54 27.27 45.45
พอใช้ 22.72 51.51
21.21 27.27
ดี

ดีมาก

0 10 20 30 40 50 60

ร้อยละของจํานวนนกั เรยี น ปี 2563 ร้อยละของจํานวนนักเรียน ปี 2564

1.8 ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน (O-NET)

1) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-NET) ปกี ารศกึ ษา 2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน(O-NET) ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6

คะแนนเฉล่ีย 60.00
50.00
40.00 ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนรวม
30.00 เฉล่ยี
20.00 39.22 36.83 34.31 40.17
10.00 35.46 35.85 33.68
0.00 34.51 34.18 33.68 38.63
27.69 31.92 30.35
ภาษาไทย 37.78

ระดับประเทศ 50.30 34.04
ระดบั สังกัด สพฐ. 49.54
ระดับเขตพ้นื ท่ี 48.76
ระดบั โรงเรียน 46.20

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 29

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน(O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3

60.00

50.00

40.00

คะแนนเฉล่ีย 30.00

20.00

10.00

0.00 ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนนรวม
ภาษาไทย เฉลี่ย
31.11 24.47 31.45 34.56
ระดับประเทศ 51.19 30.79 24.75 31.67
ระดับสงั กัด สพฐ. 52.13 26.68 20.66 29.52 34.84
ระดับเขตพนื้ ท่ี 46.84 24.80 20.27 29.71
ระดบั โรงเรยี น 44.60 30.93

29.85

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 30

2)เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้นื ฐาน(O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 – 2564

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพน้ื ฐาน(O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6

คะแนนเฉล่ีย 70.00
60.00
50.00 ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉล่ยี
40.00 59.38 34.64 23.39 38.98 39.10
30.00 46.20 27.69 31.92 30.35 34.04
20.00 -13.18 -6.95 8.53 -8.63 -5.06
10.00
0.00
-10.00
-20.00

2563

2564

ผลการพฒั นา

ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพื้นฐาน(O-NET) ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3

50.00

40.00

คะแนนเฉล่ีย 30.00

20.00

10.00

0.00

-10.00 ภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ คะแนนรวมเฉลย่ี
44.62 30.00 19.13 27.46 30.30
2563 44.60 24.80 20.27 29.71 29.85
2564 -0.02 -5.20 1.14 2.25 -0.46
ผลการพฒั นา

รายงานประจำปขี องสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 31

1.9. ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษา ระดบั ปฐมวยั ปีการศกึ ษา 2564

มาตรฐาน ระดบั แปลผล
คุณภาพ
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเดก็ ยอดเยี่ยม
5
1.1 มีพฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง มสี ขุ นิสัยท่ีดีและดูแลความปลอดภยั ยอดเยี่ยม
ของตนเองได้ 5 ยอดเย่ียม
ยอดเยย่ี ม
1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมร์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 5 ยอดเยย่ี ม
1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกท่ีดีของสังคม 5 ยอดเยี่ยม
1.4 มีพฒั นาการดา้ นสติปัญญา ส่อื สารได้ มีทักษะการคิดพ้นื ฐานและ 5
แสวงหาความรู้ได้ 5 ดเี ลศิ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเยี่ยม
2.1 มีหลักสตู รครอบคลมุ พัฒนาการท้งั 4 ด้าน สอดคลอ้ งกับบริบทของ 4 ยอดเยี่ยม
ทอ้ งถิน่ 5 ยอดเยย่ี ม
2.2 จดั ครูให้เพียงพอกบั ชั้นเรยี น 5
2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 5 ดีเลศิ
2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและส่อื เพ่ือการเรยี นรู้ อย่างปลอดภัยและพียงพอ ยอดเยี่ยม
2.5 ใหบ้ รกิ ารส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และสอื่ การเรยี นร้เู พ่อื สนบั สนนุ การ 4 ยอดเยี่ยม
จัดประสบการณ์ 5 ยอดเยย่ี ม
2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนร่วม 5
มาตรฐานท่ี 3 การจัดประสบการณท์ เี่ น้นเดก็ เป็นสำคญั 5 ยอดเยย่ี ม
3.1 จดั ประสบการณ์ทีส่ ่งเสรมิ ให้เด็กมีพฒั นาการทุกด้านอย่างสมดลุ เต็ม ยอดเยี่ยม
ศักยภาพ 5 ยอดเยี่ยม
3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมี 5
ความสขุ ยอดเย่ียม
3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรยี นรใู้ ชส้ อื่ และเทคโนโลยที ี่เหมาะสมกบั วัย 5
3.4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ พฒั นาการ
เด็กไปปรบั ปรุงการจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก 5

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หนา้ 32

1.10. ผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2564

มาตรฐาน ระดบั แปลผล
คณุ ภาพ
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรยี น ยอดเยี่ยม
1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผูเ้ รยี น 5 ยอดเยี่ยม
1.2 คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ของผ้เู รียน 5 ยอดเยี่ยม
5 ยอดเย่ียม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 5 ยอดเยย่ี ม
2.1 มีเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากำหนดชัดเจน 5
2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา 4 ดเี ลิศ
2.3 ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพของผเู้ รยี นรอบด้าน ตาม 5 ยอดเยีย่ ม

หลกั สตู รสถานศึกษาและทุกกลุ่มเปา้ หมาย 5 ยอดเยย่ี ม
2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวิชาชีพ 5 ยอดเยี่ยม
2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมท่เี อ้อื ต่อการจดั การเรยี นรู้
4 ดีเลิศ
อย่างมีคุณภาพ
2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนบั สนุนการบริหารจัดการและ 4 ดเี ลิศ
5 ยอดเย่ยี ม
การจัดการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ 4 ดเี ลิศ
4 ดเี ลศิ
3.1 จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั ิจรงิ และสามารถ 4 ดเี ลศิ
นำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้
4 ดีเลศิ
3.2 ใช้สอื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ที่เอ้ือตอ่ การเรยี นรู้
3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชงิ บวก 5 ยอดเย่ียม
3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพัฒนา
ผเู้ รียน
3.5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้

สรุปผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 หนา้ 33

ส่วนที่ 2

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษา

ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศึกษาระดบั การศึกษาปฐมวัย

มาตรฐาน ระดบั คุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของเด็ก ยอดเยีย่ ม
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี น้นเดก็ เป็นสำคญั ยอดเยยี่ ม
ยอดเยีย่ ม
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ยอดเย่ียม

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็

ระดับคณุ ภาพ : ยอดเยย่ี ม

1.1 กระบวนการพัฒนา (ควรระบุกิจกรรม/โครงการที่ส่งเสริมในการพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการด้าน
ร่างกาย ดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ดา้ นสังคม และดา้ นสตปิ ญั ญา อยา่ งครอบคลุมและเป็นรปู ธรรม )

สถานศึกษาได้จัดประสบการณ์การที่ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง ๔ ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย
อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีสุขนิสัยที่ดี ดูแลความปลอดภัย ของตนเองได้ โดยมีครูประจำชั้น
ห้องเรียนละ 1 คน ดูแลอย่างใกล้ชิด จัดบริการอาหารเสริม(นม) และอาหารให้เด็กอย่างเพียงพอและถูกหลัก
โภชนาการ มีการประเมินภาวะโภชนาการเป็นประจำทุกภาคเรยี น และได้รับการตรวจสุขภาพประจำปีทุกคน
มกี ารชัง่ น้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กทุกภาคเรียน รวมท้ังนักเรียนได้รับการปลูกจติ สำนึกในเรอ่ื งการดูแลสุขภาพ
การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รู้จักป้องกันตนเองจากโรคภัย อุบัติเหตุ และสิ่งเสพติดท่ีให้โทษ ได้รับการ
สง่ เสริมทักษะดา้ นการเคลื่อนไหวเตม็ ตามศักยภาพ มีการทดสอบสมรรถภาพทางกายเป็นประจำทุกภาคเรยี น

สถานศึกษาจัดกจิ กรรมทีห่ ลากหลาย เชน่ กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา กจิ กรรมวนั เดก็ กิจกรรม
วันคริสมาสต์ กิจกรรมวันภาษาไทย กิจกรรม Open House โครงการTSQP ฯลฯ เป็นการจัดกิจกรรมแบบ
ออนไลน์ (On line) เพ่ือส่งเสริมและกระตุ้นให้เด็กมีความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ กล้าพูด
กล้าแสดงออกตามความสามารถ มีความรับผิดขอบ มีความคิดสร้างสรรค์ การใช้สื่อเทคโนโลยีในการเข้าร่วม
กจิ กรรม ทั้งน้ีการจดั กจิ กรรมไดค้ ำนึงถึงความแตกต่างศักยภาพของแต่ละบุคคล

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 34

1.2 ผลการดำเนนิ งาน (ควรระบผุ ลจากการดำเนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกับกิจกรรม/โครงการทส่ี ่งเสรมิ พฒั นาการ
ท้งั 4 ดา้ นของเดก็ รวมไปถงึ รางวลั ทไี่ ดร้ บั จากการดำเนินการหรอื เข้าร่วมแขง่ ขนั ในระดบั ตา่ งๆ)
สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมตามโครงการ/กิจกรรมต่างๆ ให้กับผู้เรียน โดยคำนึงถึงความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ความพร้อม วุฒิภาวะของผู้เรียน สำหรับเด็กปฐมวัยสามารถเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่
สถานศึกษาได้จัดข้ึน เช่นกิจกรรมวันภาษาไทย วันคริสมาสต์ กจิ กรรมการออม OPEN HOUSE ฯลฯ และเด็ก
ปฐมวัยไดร้ บั การส่งเสรมิ พัฒนาการทงั้ 4 ด้านจากกิจกรรม ได้แก่

พัฒนาการด้านร่างกาย คือเด็กปฐมวัยได้รบั การพัฒนาจากการเข้าร่วมกิจกรรม ในด้านการสง่ ผลงาน
เข้าร่วม เช่นกิจกรรมวันคริสมาสต์ วันภาษาไทย เด็กๆได้ร่วมวาดภาพ/ระบายสี การเล่นและทำกิจกรรม
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปลอดภัย โรงเรียนดำเนินกิจกรรมในโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ พัฒนาเด็กให้มี
พัฒนาการด้านร่างกายเจริญตามวยั จัดให้มกี ารชัง่ นำ้ หนัก วัดส่วนสงู ประจำเดอื นอยา่ งต่อเน่ือง เปรียบเทียม
กับเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย เพื่อเป็นข้อมูลด้านสุขภาพ โครงการอาหารกลางวันที่มีคุณภาพเหมาะสมกับ
เด็ก อีกท้ังได้จัดให้ความรู้เก่ียวกับการป้องกันตนเองให้เด็กห่างไกลจากโรคไวรัสโควิด-2019 (COVID-19)

พฒั นาการด้านอารมณ์-จิตใจ เด็กปฐมวยั มีความสนุกสนาน สุขใจทุกคร้ังท่ไี ดเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมกับเพ่อื น
และพ่ีๆ ได้ช่ืนชมผลงานตนเองและผู้อื่น การแสดงความคิดเห็น/ตอบ/ถามคำถาม มีความรับผิดชอบในงานท่ี
ได้รับมอบหมายจนสำเร็จ โรงเรียนดำเนินกิจกรรมในโครงการพัฒนาผู้เรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมศิลปะ ดนตรี
กีฬา โดยการฝึกวาดภาพระบายสี การป้ันดินน้ำมัน การฉีกตัดปะ การพิมพ์ภาพ การนำเสนอผลงาน การ
เล่นต่อภาพ มีการวาดภาพระบายสีในโอกาสวันสำคัญต่าง ๆ ที่โรงเรียนจัดข้ึน โครงการส่งเสริมการแข่งขัน
ทกั ษะทางวิชาการของนกั เรียน ส่งเสริมสนับสนุนใหผ้ ู้เรียนได้รว่ มแข่งขนั ตามโอกาสต่างๆ และได้จดั กจิ กรรมท่ี
สอดแทรกประเพณีและวัฒนธรรมตามแนวทางพระพุทธศาสนา การจัดค่ายคุณธรรมสำหรับเด็กเพื่อปลูกฝัง
ในนักเรียนมีจติ ใจทด่ี งี าม

พฒั นาการด้านสงั คม เด็กปฐมวัยสามารถกล่าวคำขอโทษ/ขอบคณุ ได้ สามารถทำงานร่วมกับคนอ่ืนได้
เป็นผู้นำผู้ตามในการร่วมกิจกรรม และมีส่วนร่วมในการสร้างข้อตกลงรว่ มกับผู้อื่นในการเข้าร่วมกิจกรรม การ
ดำเนินโครงการโรงเรียนคุณธรรม ได้จัดกิจกรรมท่ีสอดแทรกประเพณีและวัฒนธรรมตามแนวทาง
พระพุทธศาสนา พัฒนาเด็กด้วยการจัดกิจวัตรประจำวัน การทำงานเป็นกลุ่ม โครงการพัฒนาระบบดูแล
ชว่ ยเหลือเด็กติดตามเฝา้ ระวงั ให้หลีกเล่ียงตอ่ สภาวะที่เสี่ยงตอ่ โรค ตรวจสุขภาพรา่ งกายเดก็ ทม่ี ีปญั หาเร่ืองการ
เจ็บป่วย อุบัติเหตุ ภัย และส่ิงเสพติด จัดให้เด็กร่วมกิจกรรมรณรงค์ป้องกันและกำจัดลูกน้ำยุ่งลาย เข้าใจ
ปญั หาท่ีเกิดจากยุงลาย โครงการวันสำคัญ เด็กได้รว่ มกิจกรรมในวันสำคัญตามประเพณีทม่ี ีตามโอกาสตา่ ง ๆ
เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เด็กได้เรียนรู้ด้วยการเข้าร่วมงานประเพณี ได้ร่วมกระบวนการกลุ่ม ได้เรียนรู้ประเพณี
และวฒั นธรรมไทยในวันสำคญั น้นั ๆ

พัฒนาการทางด้านสติปัญญา เด็กปฐมวัยสามารถเล่าเร่ืองราวตา่ งๆให้ผอู้ ื่นเข้าใจได้ เป็นผู้พดู และผู้ฟัง
ที่ดี สามารถบอกความเหมือนความต่างของสิ่งต่างๆได้จากการเข้าร่วมกิจกรรม สามารถสร้างผลงานศิลปะ
ออกมาดว้ ยจินตนาการจองตนเองได้ เช่น กจิ กรรมวันครสิ มาสต์ครูใหเ้ ดก็ ร่วมกิจกรรมโดยการวาดภาพเก่ยี วกับ
วันครสิ มาสต์ และการแต่งกายในวนั ครสิ มาสต์ เด็กๆสามารถทำตามกฎ/กติกาไดด้ ี

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 35

1.3แหลง่ ข้อมลู หลักฐาน
ครูผสู้ อนระดับปฐมวัย โรงเรยี นบา้ นวังหนิ ได้จัดทำขอ้ มลู รายงานผลข้อมลู การพฒั นาเด็กปฐมวยั ทกุ คน

ในสิน้ ปีการศกึ ษา 2564 จำนวน 45 คน โดยประเมนิ ตามเกณฑ์ของสถานศกึ ษากำหนด พบวา่
๑. การประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย พบว่า เด็ก จำนวน 45 คน มีพัฒนาการด้าน

ร่างกายระดบั ดี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96.18 (สูงกว่าคา่ เปา้ หมายร้อยละ 80)
๒. การประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์จิตใจ พบว่า เด็ก จำนวน 45 คน มีพัฒนาการด้าน

รา่ งกายระดับดี คดิ เป็นร้อยละ 99.14 (สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายร้อยละ 80)
๓. การประเมินพัฒนาการด้านสังคม พบว่า เด็ก จำนวน 45 คน มีพัฒนาการด้านร่างกาย

ระดบั ดี คิดเปน็ รอ้ ยละ 99.63 (สูงกว่าค่าเป้าหมายรอ้ ยละ 80)
๔. การประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา พบว่า เด็ก จำนวน 45 คน มีพัฒนาการด้าน

ร่างกายระดบั ดี คิดเป็นร้อยละ 96.70 (สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายรอ้ ยละ 80)
จากผลการประเมนิ พฒั นาการของเด็กทัง้ 4 ดา้ น พบวา่ เด็กมีพัฒนาการทผี่ ่านเกณฑท์ ่ี

สถานศึกษากำหนดท้ัง 4 ดา้ น
กจิ กรรมทเ่ี ดก็ ปฐมวัยเข้ารว่ ม ไดแ้ ก่

1.การเขา้ ร่วมกจิ กรรมวนั ครสิ มาสต์

2.กจิ กรรม OPEN HOUSE

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หนา้ 36

3.กิจกรรมวันภาษาไทยและวันสนุ ทรภู่

1.4 จดุ เด่น
1.การจัดกจิ กรรมมุ่งเน้นใหเ้ กิดผลกบั ผูเ้ รียน
2.เด็กๆไดล้ งมือปฏบิ ตั ิกิจกรรมด้วยตนเอง
3.การจดั กจิ กรรมสถานศกึ ษาจัดในช่วงการเรยี น Online , On site
4.ทุกกิจกรรมผู้เรยี นไดเ้ ข้ารว่ ม และมีความความกระตือรือร้นในการร่วมกจิ กรรม

1.5 จดุ ควรพัฒนา
1.ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม
2.การจดั กจิ กรรมทหี่ ลากหลายในการเรยี นรู้

1.6 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคณุ ภาพให้ดีขึน้ กวา่ เดิม (อย่างนอ้ ย 1 ระดับ)
แผนงานทมี่ แี นวทางการพัฒนาใหด้ ีขึน้ คือการจดั กจิ กรรม/โครงการท่ีมุง่ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนได้ลงมือปฏิบัติ

ด้วนตนเอง และบูรณาการเข้ากับชีวติ ประจำวันของผูเ้ รียน เพื่อให้ผ้เู รียนนำไปใช้หรือแก้ปัญหาใน
ชวี ิตประจำวนั

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หนา้ 37

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ

ระดบั คุณภาพ :ยอดเย่ียม

2.1 กระบวนการพัฒนา (ควรระบุกิจกรรม/โครงการทสี่ นบั สนนุ ส่งเสรมิ การพัฒนาสถานศกึ ษาในด้านการ
บริหารจัดการและการมสี ว่ นรว่ มของทกุ ฝา่ ย)

โรงเรียนบา้ นวงั หิน ได้ดำเนินการวิเคราะหส์ ภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผา่ นมา โดยการศกึ ษา
ข้อมูล สารสนเทศจากผลการนเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ การจัดการศึกษาตามนโยบายการ ปฏริ ปู การศึกษา
จัดทำแผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาระยะ ๔ ปี จัดประชมุ ระดมความคิดเหน็ จากบุคลากรในสถานศกึ ษาและ
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พ้นื ฐานโรงเรียนบ้านวงั หิน เพ่ือพัฒนาคุณภาพเด็ก มีการปรบั แผนพฒั นา
คณุ ภาพการจัดการศกึ ษา แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการพฒั นา และ
นโยบายการปฏิรูปการศึกษาและความต้องการของชมุ ชน โดยพฒั นาวิชาการเนน้ การจดั ประสบการณ์เด็กให้
สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรการศึกษาปฐมวัย พัฒนาครูให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชพี สนบั สนุนการอบรม เพ่อื
ความรแู้ ละความสามารถในการจัดประสบการณเ์ ด็ก และมีการดำเนินการนิเทศกำกับติดตามประเมินผลการ
ดำเนินงานอยา่ งตอ่ เนื่อง

โรงเรยี นบ้านวงั หิน ได้จดั ส่งิ อำนวยความสะดวกที่จำเป็น เพ่ือเอ้ือประโยชน์และอำนวยความ
สะดวกและปลอดภัยต่อการพัฒนาเด็ก ได้แก่ การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและ
ผลิตส่ือท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย เช่น การผลิตส่ือต่างๆ ที่ใช้ในการจัดกิจกรรม และการจัด
สภาพแวดล้อมใหม้ ีความเหมาะสม สะอาด ปลอดภัย จดั ให้มีมมุ ต่างๆที่จำเป็นต่อการพัฒนาของเดก็ จัดให้มีที่
แปรงฟัน ล้างมือ ทำความสะอาดร่างกาย ห้องน้ำ ห้องส้วม อุปกรณ์เพื่อป้องกันโรคภัยต่าง ๆ มีหลักสูตร
ปฐมวัยที่ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา เน้นการเรียนรู้ผ่านการเล่นและการลงมือปฏิบัติด้วย
ตนเองสอดคล้องกับวิถีชีวิตของครอบครัว โดยผู้บริหารสถานศึกษามีการตรวจสอบและนิเทศติดตามการ
ปฏิบัติงาน ด้วยวิธีการหลากหลาย เช่น การนิเทศชั้นเรียน การนิเทศการจัดการเรียนสอน และการใช้
กระบวนการ PLC ในการปฏิบัติงานและการนิเทศติดตาม รวมถึงมีการประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมของ
โรงเรียนผ่าน Facebook โรงเรยี นบา้ นวังหนิ
( https://www.facebook.com/profile.php?id=100009836255161g) และรายงานผ่านเอกสาร
ประชาสมั พันธใ์ ห้หน่วยงานตน้ สังกัดทราบ (สพป.เพชรบรู ณ์ เขต 1)

2.2 ผลการดำเนนิ งาน
โรงเรียนบา้ นวังหิน ไดด้ ำเนินงานตามแผนปฏบิ ัติงานของโรงเรียน เพ่ือจดั กิจกรรมใหก้ บั ผู้เรียนไดม้ าก

ท่สี ดุ โดยไดร้ ว่ มกันวเิ คราะห์ปญั หา โดยใช้กระบวนการวิชาชีพชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ PLC (Professional
Learning Community) ในการรว่ มกนั หาวธิ กี ารในการแกป้ ัญหา และการจัดกจิ กรรมทเ่ี ป็นประโยชนส์ ูงสุด
กับผูเ้ รียน เม่อื ส้นิ ปีการศึกษาจะมีการสรปุ ร่วมกัน และไดจ้ ัดกจิ กรรมเปดิ บ้านวิชาการ (OPEN HOUSE) เพ่อื
เป็นเวทใี หน้ กั เรยี นไดแ้ สดงออกในทางทีถ่ ูกต้อง การแสดงความคดิ ของตนเองกับผู้คนอืน่ และเปน็ การเปิด
โอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้ศกึ ษาดูงาน/กิจกรรมของช้นั อ้นื เพื่อใหเ้ กิดการคิดต่อยอดและนำมาจัดกจิ กรรมในคร้งั ต่อไป

2.3 แหลง่ ขอ้ มลู หลักฐาน
1. โรงเรยี นมีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา แผนปฏบิ ัติการประจำปี ให้สอดคลอ้ งกับ

สภาพปญั หาความต้องการพฒั นาและนโยบายการปฏริ ปู การศึกษา

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 38

2. โรงเรียนมีการส่งเสริมให้คณะครูพัฒนาตนเองผ่านหลายหลายรูปแบบ เช่น การอบรมจากต้น
สงั กัด อบรมผ่าน Online การศึกษาดูงาน และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้วยกระบวนการ PLC และส่งเสรมิ ให้มี
ความรว่ มมอื ระหวา่ งครูและผ้ปู กครอง ตลอดจนชุมชนให้เขา้ มามีสว่ นรว่ มในการพัฒนาการจัดการศึกษา

3. โรงเรียนการจัดสภาพแวดล้อมและส่ิงอำนวยความสะดวก ด้านกายภาพ ให้เพียงพอต่อความ
ต้องการในการใช้จัดการเรียนการสอนและส่งเสริมพัฒนาของเด็ก โดยการให้บริการด้านสื่อเทคโนโลยี
สารสนเทศอุปกรณ์เพ่ือสนับสนุนการจัดประสบการณ์ มุมประสบการณ์ต่าง ๆ สนามเด็กเล่น ห้องสมุด ห้อง
ประชุม ห้องพยาบาล ห้องน้ำและห้องส้วม เป็นต้น

4. โรงเรียนบ้านวังหิน จัดครูให้เพียงพอต่อชั้นเรียน ซ่ึงครูผู้สอนเป็นผู้ท่ีมีวุฒิการศึกษาด้านปฐมวัย
โดยตรง อีกทั้งมีประสบการณ์สอนเป็นเวลานาน เน้นการบริหารชั้นเรียนด้วยกิจกรรมเชิงบวก มีคำชมเชยให้
กำลังใจนักเรียน และเสนอแนะอย่างสร้างสรรค์ อีกทั้งครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็กและผู้ปกครอง ส่งผลให้
โรงเรียนเป็นท่ยี อมรับในชมุ ชน

5. โรงเรียนสร้างเครือข่ายความร่วมมือของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้มี
ความเข้มแข็ง ได้แก่ โรงเรียนภายในกลุ่มโรงเรียนท้ายดง-วังหิน ศึกษานิเทศก์ประจำกลุ่ม และเครือข่ายครู
ปฐมวัยทงั้ ในและนอกสงั กัด ส่งผลให้มกี ารแลกเปลีย่ นเรียนรู้ในการพัฒนาวิชาชีพอย่างตอ่ เนือ่ ง

โครงการเก่ยี วกับปฐมวยั

2.4 จุดเดน่
1.โรงเรยี นบา้ นวังหนิ ไดค้ ำนงึ ถึงบรบิ ท สภาพชมุ ชนในการออกแบบการเรยี นรู้
2.ครแู ละผปู้ กครองมีการมีการสื่อสาร และมีสว่ นร่วมในการจัดการศึกษา
3.คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา
4.การจดั การศกึ ษาท่ีเนน้ การบูรณาการ เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนสามารถนำไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้

2.5 จดุ ควรพฒั นา
พัฒนาแหล่งเรียนรูใ้ หเ้ พยี งพอตอ่ ความต้องการของเด็ก รวมถึงเพ่ือสง่ เสรมิ พัฒนาการใหต้ รงความ

ตอ้ งการของครูผู้สอนและของเดก็ ปฐมวัย

2.6 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคณุ ภาพให้ดขี ้ึนกว่าเดิม (อย่างนอ้ ย 1 ระดับ)
ส่งเสรมิ ให้ครูทกุ คนมีวฒั นธรรมการปฏบิ ตั ิงาน ด้วยการสร้างชมุ ชนการเรยี นรทู้ าง

วิชาชีพ (PLC) ในเพื่อนครูระดับปฐมวัย สถานศึกษาเดียวกัน และต่างสถานศึกษา เพ่ือให้มีรูปแบบการ
ปฏิบัติงานท่ีมีปสิทธิภาพมากขึ้น รวมถึงพัฒนานวัตกรรมการจัดประสบการณ์ในเด็กอย่างต่อเน่ือง โดยใช้การ
จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน หรือ Problem-based Learning : PBL เพ่ือพัฒนาเด็กให้เต็มศักยภาพ
และสรา้ งความพงึ พอใจให้ผูป้ กครองและชุมชน

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศกึ ษา 2564 หน้า 39

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเป็นสำคัญ

ระดบั คุณภาพ : ยอดเย่ียม

3.1กระบวนการพัฒนา
ครูผ้สู อนระดบั ปฐมวัยโรงเรียนบ้านวังหิน มีการวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ครบทุกหน่วยการ

จัดประสบการณ์ท้ังระดับ อนุบาล 2-3 โดยจัดให้เปน็ ไปตามหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัยและบูรณาการโดยใช้
การเล่นเป็นฐาน (Play-Based Learning : PBL) โครครูมุ่งเน้นความสำคัญของพัฒนาการในทุก ๆ ด้าน ท้ังทาง
ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา มีความรู้คุณธรรม และจริยธรรมในการดำรงชีวิต จัดประสบการณ์ใน
รปู แบบบรู ณาการการเรียนรู้แบบเรียนผ่านเล่นเพือ่ ให้เดก็ ไดร้ ับประสบการณ์ตรง เกดิ การเรียนรแู้ ละมพี ัฒนาการท้ัง 4
ดา้ น มีการใช้สอ่ื เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย จัดประสบการการเรยี นรทู้ ี่ครอบคลุมพัฒนาการทง้ั ด้านรา่ งกาย อารมณ์-
จิตใจ สังคมและสติปัญญา เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยการดำเนินการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางสถานศึกษา
ขน้ั พื้นฐาน และหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย จัดทำ โครงสร้างการจัดประสบการณ์ แผนการจัดการเรียนรู้และ
อน่ื ๆ ที่เก่ียวข้อง และดำเนินกิจกรรมอย่างหลากหลาย สรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง จัดประสบการณ์สำหรับเด็กท่ี
เน้นทักษะการคิด สร้างบรรยากาศทั้งภายในและภายนอกห้องเรียน ครูใช้สื่อการเรียนการสอน นวัตกรรมและ
เทคโนโลยมี าใช้ในการจดั ประสบการณ์ มกี ารตรวจสอบและประเมนิ ความรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบโดยผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
และเพื่อนครู ประกอบกับครูมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ด้วยกระบวนการ PLC
ระหว่างเพื่อนครูในโรงเรียนและภายในกลุ่มโรงเรียน ร่วมถึงมีการสื่อสารและเผยแพร่วิธีปฏิบัติท่ีดีให้เพื่อนครู
ได้มีแนวทางในการพัฒนาวิชาชีพ เมื่อส้ินปีการศึกษาครูมีการเผยแพร่ให้ผลงานนักเรียน ผ่านแฟ้มสะสม
ผลงานให้ผ้ปู กครองและชมุ ชนรับทราบ

3.2 ผลการดำเนนิ งาน
ครมู คี วามรู้ความสามารถในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดประสบการณ์

การเรยี นรเู้ พื่อพฒั นาพฒั นาการของผู้เรยี นให้มคี ุณภาพตามศกั ยภาพของผเู้ รียน ทางโรงเรยี นมีการสนบั สนนุ
งบประมาณอย่างพอเพยี ง และสง่ เสริมให้ครูได้พฒั นาตนเองอยา่ งต่อเนื่อง มีการนิเทศติดตาม การจดั การเรียน
การสอนอยู่เปน็ ประจำ ทำให้ผูเ้ รยี นมีพัฒนาการทง้ั 4 ดา้ น เหมาะสมตามวยั ผา่ นเกณฑ์การประเมิน
พัฒนาการตามเปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้หลกั สูตรการจัดการศึกษาปฐมวัยของทางโรงเรยี นกำหนด

3.3แหล่งขอ้ มูล หลกั ฐาน

ประเดน็ การพจิ ารณา ผลการดำเนนิ งาน

1. การจดั ประสบการณ์ที่ส่งเสรมิ 1.1 ครูจัดทำแผนประสบการณ์ตามหลักสูตรการศึกษา
ให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ของโรงเรียนบ้านวังหิน อย่าง
เตม็ ศักยภาพ เหมาะสมกับพฒั นาการของเดก็ และท้องถิ่น
1.2 ครูจัดกิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ตามตารางการจัด
ประสบการณ์ครบตามหลกั สตู ร
1.3 ครูจัดกิจกรรม Active Learning เพื่อพัฒนาเด็กให้

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 หนา้ 40

ประเด็นการพิจารณา ผลการดำเนนิ งาน

2. สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ บั เต็มศกั ยภาพและเหมาะสมตามช่วงวยั
ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบตั ิอยา่ ง 1.4 ครูจัดกิจกรรม BBL เพื่อเป็นการกระตุ้นสมองเพ่ือให้
มคี วามสขุ พร้อมต่อการเรยี นรู้

2.1 เด็กได้ร่วมกิจกรรมหน้าเสาธงของโรงเรียน ซึ่งเป็นการ
ส่งเสรมิ การรกั ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์
2.2 จัดกิจกรรมศิลปะ
2.3 จัดให้นกั เรียนได้ศกึ ษาตามแหลง่ เรียนรตู้ า่ งๆ
2.4 จัดกิจกรรมเรียนรู้ตามวนั สำคญั ทางศาสนาตา่ ง ๆ
2.5 จัดกิจกรรมวันภาษาไทย วันสุนทรภู่ วันแม่แห่งชาติ
เปน็ ตน้

3. การจดั บรรยากาศที่เออ้ื ต่อ ครูใช้สอ่ื การเรียนการสอนและแหลง่ เรยี นรู้
การเรยี นรู้ ใชส้ อ่ื และเทคโนโลยี ทงั้ ภายในและภายนอก เพ่ือพัฒนาเดก็ ให้มพี ฒั นาการ
ทเี่ หมาะสมกับวยั ทีส่ มวยั และเต็มศกั ยภาพ

4. ประเมินพฒั นาการเดก็ ตาม -ครูประเมินผลงานนักเรียนตามใบงานจากแผนการจัด

ส ภ า พ จ ริ งแ ล ะ น ำผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ประสบการณ์เรยี นรู้ และประเมนิ พัฒนาการของเดก็ โดยใช้

พัฒนาการเดก็ ไปปรับปรุงการ แบบ อบ.02 และ อบ.03 พร้อมรายงานผลการประเมินให้

จดั ประสบการณ์และพฒั นาเด็ก ผู้ปกครองนักเรียนทราบ ภาคเรียนละ 1 คร้ัง อีกท้ังมีการ

ประเมินพัฒนาการเด็กจากผู้ปกครอง และรายงานผลการ

ประเมินให้ต้นสังกัดทราบ เพ่ือเป็นข้อมูลในการพัฒนาปี

ตอ่ ไป

-จดั ประชุมผู้ปกครองภาคเรยี นละ 1 คร้งั พรอ้ มจัดกิจกรรม

Open House ปีละ 1 คร้งั ในสน้ิ ปกี ารศึกษา

3.4 จุดเด่น
คณะครแู ละผูบ้ ริหารโรงเรยี นมคี วามสามัคคี สามารถท่ีจะให้คำแนะนำแนวทางในการจัดกิจกรรมการ

เรยี นการสอนให้กับผู้เรียนในกิจกรรมที่มียังไมส่ ามารถท่ีจะพฒั นาผเู้ รยี นให้ได้ตามเปา้ หมายท่ีกำหนดใน
หลักสูตรสถานศกึ ษา ครผู ู้สอนเปดิ ใจทจี่ ะรับฟังและนำมาปรับปรงุ แก้ไปและปฏิบตั ิเพื่อให้ผู้เรยี นมพี ฒั นาการ
ท่ดี เี หมาะสมตามวัย มกี ารประสานกบั ผปู้ กครอง เพ่ือแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ ร่วมกันทางไลนก์ ลมุ่ การประชมุ
ผู้ปกครอง หรือการโทรศพั ทส์ อบถามโดยตรงกับครูประจำช้ันทส่ี อน ทำให้ผูป้ กครองได้มีส่วนร่วม ช่นื ชม และ
ยอมรับการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของครูในระดับปฐมวยั มีการจดั กจิ กรรมการแลกเปลย่ี นเรียนรู้อยู่
เปน็ ประจำ ทำให้สามารถท่ีแกไ้ ข ปรบั เปล่ียนพฤติกรรมท่ีไมเ่ หมาะสมของผู้เรยี นให้มีพัฒนาการทีด่ ตี าม
สามารถและศกั ยภาพของผูเ้ รียน

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หน้า 41

3.5 จุดควรพฒั นา
- ควรจดั อุปกรณส์ ่อื การเรยี นการสอนทห่ี ลากหลาย สอดคล้องกบั พฒั นาการของผู้เรยี น
- ปรับปรงุ ห้องเรยี นให้มีบรรยากาศแจ่มใส สะอาด กว้างขวางพอเหมาะ
- ควรมมี ุมส่งเสริมประสบการณ์การเรยี นรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกบั หน่วยการเรียนรู้ มกี ารตกแตง่ ห้องเรยี น

ให้มสี ีสันทสี่ ดใส
3.6 แผนงาน/แนวทางพฒั นาคณุ ภาพใหด้ ีขึ้นกว่าเดิม (อย่างนอ้ ย 1 ระดับ)
1.โครงการสง่ เสริมการจดั ประสบการณ์ปฐมวยั
2.การจัดประสบการณ์ที่ใชก้ ารเล่นเปน็ ฐาน (Play-Based Learning : PBL)

สรุปผลการประเมินในภาพรวมระดับการศึกษาปฐมวยั

ผลการประเมินตนเองของสถานศกึ ษาอยใู่ นระดบั ยอดเยีย่ ม

โรงเรียนบา้ นวงั หนิ มีการจัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนทเ่ี ป็นไปตามปัญหาและความตอ้ งการพัฒนาตาม
สภาพของผู้เรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของสถานศึกษาและสภาพของขุมชนท้องถ่ิน จนมีผลการพัฒนาคุณภาพของ
ผู้เรียนอยู่ในระดับ ดีเลิศ เด็กมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ช่างคิดช่างสงสัย และมีความประพฤติด้าน
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกำหนด ในด้านกระบวนการบริหารจัดการของ
ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษามผี ลประเมินในรายมาตรฐานอย่ใู นระดับดเี ลิศ สถานศึกษามีการวางแผน ออกแบบกิจกรรมและ
ดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานท่ีเกิดจากการมีส่วนร่วมจากทุกฝา่ ย ใช้ผลการประเมินและการดำเนินงานท่ีผ่าน
มาเป็นฐานในการพัฒนา และสอดคล้องกับเป้าหมายการพฒั นา ตรวจสอบผลการดำเนนิ งาน และการปรบั ปรุง แก้ไข
งานให้ดีข้ึน ครูจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ มีผลประเมินอยู่ในระดับดีเลิศ วิเคราะห์ ออกแบบและจัด
ประสบการณ์ที่เป็นไปตามความต้องการ ของหลักสูตร และบรบิ ทของสถานศึกษา พัฒนากิจกรรมการเรยี นรู้ ใช้สื่อ
การเรียนรู้ ติดตาม ตรวจสอบและช่วยเหลือเด็กเพ่ือพัฒนาและแก้ปัญหารายบุคคล และการประเมินผลจาก สภาพ
จริงในทกุ ขัน้ ตอน

ทง้ั นโี้ รงเรยี นบา้ นบ้านวังหิน ไดด้ ำเนนิ งานตามระบบการประกันคณุ ภาพภายในอย่างเปน็ ข้นั ตอน มีคณุ ภาพ
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่งผลให้ผลการประเมินอยู่ในระดับดี โดยโรงเรียนได้ให้ความสำคัญกับผู้ท่ีเก่ียวข้อง
ทุกฝา่ ยเพ่ือเกิดความร่วมมอื ในการวางระบบ และดำเนินงานประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาเป็นอย่างดี และผู้
มีส่วนเกี่ยวข้อง มีความม่ันใจต่อระบบการบริหารและการจัดการของสถานศึกษาได้รับการรับรองให้เป็นไปตาม
มาตรฐานของสถานศึกษา และมกี ารพฒั นาด้านคณุ ภาพของเดก็ มกี ารพัฒนาการเด็กทง้ั 4 ด้านท้ังด้านร่างกาย
อารมณ์ - จิตใจ ด้านสังคม และสติปัญญา เป็นไปตามวัย ในด้านกระบวนการบริหารและจัดการ จัดให้ครูมี
เพียงพอกับชั้นเรียน จัดสภาพแวดล้อมและส่ือการเรียนรู้และจัดให้มีส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้สนับสนุน
การจัดประสบการณ์ และการจัดประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นสำคัญ จัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมี
พัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล สร้างโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง เล่นอย่างมีความสุข มีการจัด
บรรยากาศทีเ่ อือ้ ต่อการเรียนรู้

รายงานประจำปขี องสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หนา้ 42

การกำหนดคา่ เปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนบ้านวังหนิ

เพื่อการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา

มาตรฐาน/ตวั บ่งชี้ ค่าเป้าหมายทีค่ าดหวัง

มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของเดก็ ระดับดีเลิศ

1.1 มีพัฒนาการดา้ นรา่ งกายแข็งแรง มีสุขนิสยั ท่ีดี และดูแลความ ร้อยละ 80

ปลอดภัยของตนเอง

1.2 มีพฒั นาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุมและแสดงออกทาง รอ้ ยละ 85
อารมณ์ได้
รอ้ ยละ 80
1.3 มพี ฒั นาการดา้ นสงั คม ชว่ ยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทด่ี ีของ
สังคม ร้อยละ 80

1.4 มีพัฒนาการด้านสติปญั ญา ส่ือสารไดม้ ีทกั ษะการคดิ พนื้ ฐาน ระดับดีเลิศ
และแสวงหาความรู้ได้ ร้อยละ 80

มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและจดั การ ร้อยละ 80
2.1 มีหลักสูตรครอบคลมุ พฒั นาการท้งั 4 ด้านสอดคล้องกบั บริบท รอ้ ยละ 80
รอ้ ยละ 80
ของท้องถ่ิน
ร้อยละ 80
2.2 จัดครูใหเ้ พยี งพอกบั ชน้ั เรียน
รอ้ ยละ 80
2.3 สง่ เสริมให้ครมู คี วาม เชย่ี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
ระดบั ดี
2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสอื่ เพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและ รอ้ ยละ 80
เพียงพอ
รอ้ ยละ 80
2.5 ใหบ้ ริการสอ่ื เทคโนโลยแี ละสือ่ การเรยี นรู้เพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณส์ ำหรบั ครู รอ้ ยละ 80

2.6 มีระบบบรหิ ารคุณภาพทเี่ ปดิ โอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทกุ ฝ่ายมสี ว่ น รอ้ ยละ 80
ร่วม

มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เดก็ เปน็ สำคญั

3.1 จดั ประสบการณท์ ่สี ง่ เสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดลุ
เตม็ ศักยภาพ

3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิอยา่ งมี
ความสขุ

3.3 จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ ใชส้ ่ือ และเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมกับวัย

3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมนิ
พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเด็ก

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2564 หน้า 43

ผลการประเมินคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

มาตรฐาน ระดับคุณภาพ

มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ยอดเย่ยี ม
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ
ดีเลศิ
สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศกึ ษา ยอดเยย่ี ม

มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผ้เู รียน

ระดับคุณภาพ : ยอดเย่ียม

1.1 กระบวนการพัฒนา (ควรระบุกิจกรรม/โครงการทสี่ ่งเสรมิ ในการพฒั นาผเู้ รยี นในด้านตา่ งๆ อย่าง
ครอบคลุมและเป็นรูปธรรม )

สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกำหนดโครงการ/ กิจกรรม ในการ
สนับสนุนส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างหลากหลาย เช่น การจัดการเรียนการสอบแบบบูรณาการ
PBL กิจกรรมจิตศึกษา โครงการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ
นักเรียน โครงการพัฒนาศักยภาพโรงเรียนคุณภาพประจาตำบล โครงการห้องสมุดมีชีวิต โครงการการ
จัดหาผลิตสื่อ นวัตกรรมและการทำวิจัย โครงการEnglish for Communication โครงการส่งเสริม
ภาษา วัฒนธรรมไทยเอกลักษณ์และอัตลักษณ์ โครงการการจัดการเรียนรู้ด้วยคอมพิวเตอร์ โครงการ
พัฒนาคณุ ธรรม ความเป็นพลเมืองที่ดีตามวิถีประชาธิปไตย โครงการกีฬาพัฒนาผู้เรียน โครงการกิจกรรม
ลูกเสือ – เนตรนารี โครงการปลอดโรค ปลอดภัย ใสใ่ จสขุ ภาพ โครงการวันสำคัญ การใชส้ ื่อเทคโนโลยี
ในการจดั การเรยี นการสอน มแี หลง่ เรียนรภู้ ายในและภายนอกห้องเรยี น ไดแ้ ก่ ห้องสมดุ หอ้ งคอมพิวเตอร์
โรงเรียนธนาคาร สวนผักสวนครัว สวนสมุนไพร บ่อเลี้ยงปลา วัด ศูนย์การเรียนรู้ชุมชน สวนป่าชุมชน
และแหล่งสืบค้นข้อมูล ได้แก่ ห้องสมุด ห้องคอมพิวเตอร์ และห้องปฏิบัติการต่างๆ ได้ มีการวัด
ประเมินผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และนำผลการประเมินมาปรับปรุง ตามรูปแบบและวิธีการเป็น
ระบบอย่างต่อเน่ือง
1.2 ผลการดำเนนิ งาน (ควรระบุผลจากการดำเนินงานทส่ี อดคล้องกับกจิ กรรม/โครงการทีส่ ง่ เสรมิ พฒั นา
ผ้เู รียนทงั้ ทางด้านผลสัมฤทธทิ์ างวชิ าการ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ รวมไปถึงรางวลั ทไี่ ด้รบั จากการดำเนนิ การ
หรือเขา้ ร่วมแข่งขันในระดับต่างๆ)

1. ผู้เรยี นมีความสามารถในด้านการอ่าน การเขียน การสือ่ สาร และคิดคำนวณตามเกณฑ์

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หนา้ 44

ของแต่ระดับชั้นทุกคน สามารถใชภ้ าษาอังกฤษในการสอ่ื สาร เช่น การทักทาย การแนะนำตัวเอง
สนทนาแบบงา่ ยๆได้

2. ผ้เู รยี นมีความใฝร่ ู้ และเรียนรูอ้ ยา่ งต่อเน่ือง คน้ ควา้ หาความร้จู ากแหล่งเรียนรู้ท้งั ภายใน
และภายนอกโรงเรียน สามารถใชเ้ ทคโนโลยีในการแสวงหาความรแู้ ละสืบค้นได้ด้วยตนเอง

3. ผูเ้ รยี นถอดบทเรยี นจากเหตกุ ารณ์ทเี่ กิดขนึ้ และสะท้อนสกู่ ารนำมาใช้ในชวี ติ ประจำวันได้
4. ผูเ้ รยี นมผี ลงาน ช้ินงานจากการเรยี นการสอบแบบบรู ณาการ PBL สามารถอธบิ าย เหตุผล
หลักการ แนวคิด วธิ ีดำเนนิ การ และเชอ่ื มโยงกบั ศาสตร์พระราชาได้
5. ผู้เรยี นกลา้ คดิ กล้าแสดงออกมีทักษะการคิดสร้างสรรค์ และจนิ ตนาการ สามารถพัฒนางาน
และคดิ ริเริม่ สง่ิ ใหม่ และ ภาคภูมิใจในตนเอง
6. ผ้เู รยี นมีความรทู้ กั ษะพน้ื ฐานและเจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ สามารถคน้ ควา้ หาความรูม้ าจัดทำ
โครงงานอาชีพ และเผยแพร่ผลงานต่อสาธารณะได้
7. ผเู้ รยี นทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี มีนำ้ หนกั สว่ นสงู และสมรรถภาพทางกายตาม
เกณฑ์ ไมเ่ ก่ียวข้องกบั สารเสพตดิ
8. ผเู้ รียนมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มที่พึงประสงค์ ร่าเริงแจม่ ใส มีมนษุ ย์สัมพันธ์ท่ีดตี อ่
ผอู้ ื่น
แสดงออกอยา่ งสรา้ งสรรคบ์ นพ้ืนฐานความเปน็ ไทย เคารพกฎกตกิ ามารยาทของสงั คม
9. ผู้เรยี นเห็นคณุ คา่ ของความเป็นไทย มสี ่วนร่วมในการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมและประเพณีไทยที่
ทางโรงเรยี นและชุมชนจดั ขน้ึ เชน่ การแตง่ กายชดุ ไทยในวันภาษาไทย ประเพณีลอยกระทง การเวียนเทยี น
ใน วันสำคญั
10. ผู้อยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลใน ด้านเพศ วัย ศาสนา ฐานะ ชุมชน ได้อยา่ งมี
ความสุข

1.3 แหล่งขอ้ มูล หลกั ฐาน
๑. ด้านคุณภาพผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน
๑.๑ สถานศึกษาได้ต้ังคณะกรรมการประเมินภายในของสถานศึกษาขึน้ เพ่ือรวบรวมข้อมูลผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี นของผู้เรียนด้านต่าง ๆ ตามแผน โดยเกบ็ รวบรวมข้อมลู จากนกั เรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 1 –
มัธยมศึกษาปที ่ี 3 ทุกคน (จำนวน 278 คน) ของสถานศกึ ษา แล้วนำมาประเมินตามเกณฑ์ของสถานศึกษา
พบว่า

๑. การประเมินดา้ นการอ่าน การเขียนสอ่ื สาร พบว่า ผเู้ รียนจำนวน 250 คน มผี ลการทดสอบการ
อา่ นการเขยี นส่ือสาร ในระดับดขี ึ้นไป คิดเป็นรอ้ ยละ 98.93 (สงู กวา่ ค่าเปา้ หมายร้อยละ 80.00)

๒. การประเมนิ ดา้ นความสามารถในการส่ือสารภาษาองั กฤษ พบวา่ ผ้เู รยี นจำนวน 27๔ คน มผี ลการ
ทดสอบการเขยี นในระดับดีข้ึนไป คิดเปน็ ร้อยละ 98.56 (สงู กว่า ค่าเปา้ หมายรอ้ ยละ 75.00)

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564 หนา้ 45

๓. การประเมนิ ด้านการคดิ คำนวณ พบว่า ผู้เรียนมีผลการประเมิน การส่ือสารในระดับดขี ึ้นไป
จำนวน ๒๕๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 90.65 (สูงกว่า ค่าเปา้ หมายร้อยละ 75.00)

๔. การประเมนิ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ พบวา่ ผเู้ รยี นมีผลการ
ประเมนิ ในระดับดีข้นึ ไป จำนวน 261 คน คดิ เป็น รอ้ ยละ 96.04 ซ่ึงสงู กวา่ ค่าเปา้ หมาย

5. ผลการประเมินด้านความสามารถในการสร้างนวตั กรรม พบวา่ ผเู้ รียนมผี ลการประเมินระดบั ดขี ึ้น
ไป จำนวน 278 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ซึ่งสูงกวา่ คา่ เปา้ หมาย

6. การประเมนิ ผลการประเมินดา้ นความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร
พบว่า ผ้เู รียนมผี ลการประเมินในระดับดีข้นึ ไป จำนวน 272 คน คิดเปน็ ร้อยละ 97.74 ซึ่งสงู กวา่ คา่ เป้าหมาย

๗. การประเมนิ ผลการประเมนิ ด้านมีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติที่ดตี ่องานอาชีพพบวา่ ผู้เรยี น
มีผล การประเมินในระดบั ดีข้ึนไป จำนวน 273 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 98.20 ซ่ึงสงู กวา่ คา่ เป้าหมาย

8. สว่ นผลการประเมินระดับชาติขึน้ พ้นื ฐาน (O-NET)
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีคะแนนผลการ
ทดสอบเฉล่ีย (29.71 คะแนน) ซึ่งสูงกว่าระดับเขตพื้นที่ ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการ
เรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ มีคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบท่ีต่ำกว่าทุกระดับ และ
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยศาสตร์และเทคโนโลยี มีพัฒนาการเซิงบวก
1.14 และ 2.25 เทียบกับปีการศึกษา 2563 ส่วนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณติ ศาสตรน์ ั้นมพี ฒั นาการต่ำกว่าจากปีทผ่ี ่านมา
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ พบว่า กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย (มีคะแนนผลการทดสอบ 46.20
คะแนน) กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์(มีคะแนนผลการทดสอบ 31.92 คะแนน) กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ (มีคะแนนผลการทดสอบ 27.69 คะแนน) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(มี
คะแนนผลการทดสอบ 30.35 คะแนน) มผี ลการประเมินทต่ี ำ่ กว่าเกณฑก์ ารผ่าน และกับกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ มพี ัฒนาการเซิงบวก 8.53 คะแนน เทียบกับปีการศึกษา 2563

2 ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์
1. การประเมินผลการประเมินดา้ นมีคณุ ลักษณะ และค่านิยมท่ดี ตี ามท่สี ถานศกึ ษากำหนด พบวา่
ผู้เรยี นมีผลการประเมินในระดับดีขึน้ ไป จำนวน ๒๗๘ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 ซึ่งสงู กว่าค่าเป้าหมาย
2. การประเมนิ ผลการประเมินดา้ นความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย พบว่า ผ้เู รียนมีผลการ
ประเมนิ ในระดับดีข้นึ ไป จำนวน ๒๗๘ คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ซึ่งสูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย
3. การประเมินผลการประเมินด้านการยอมรบั ทจ่ี ะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
พบว่า ผูเ้ รยี นมีผลการประเมินในระดบั ดีขน้ึ ไป จำนวน ๒๗๘ คน คดิ เป็นร้อยละ 100 ซึ่งสงู กวา่ ค่าเป้าหมาย
4. การประเมินผลการประเมินดา้ นสุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สงั คมพบว่า ผเู้ รียนมผี ลการประเมนิ ใน
ระดบั ดขี นึ้ ไป จำนวน ๒๗๘ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 ซึ่งสูงกวา่ ค่าเปา้ หมาย

รายงานประจำปีของสถานศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2564 หนา้ 46

1.4 จุดเด่น
1. ผ้เู รียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ มทพี่ งึ ประสงค์ มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
2. ผเู้ รยี นเรียนมีความม่ันใจกลา้ แสดงออก รา่ เริง แจ่มใส สนใจเข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ เชน่ กีฬา และ
ประเพณีท้องถนิ่ และมที ักษะการทำงาน สามารถทำงานรว่ มกับผู้อน่ื ได้
3. ผเู้ รยี นกล้าคิด สร้างสรรค์พัฒนางาน สรา้ งผลงาน ช้นิ งานได้ สามารถอธิบาย เหตผุ ล

หลกั การ แนวคดิ วธิ ดี ำเนนิ การ เผยแพรผ่ ลงานตอ่ สาธารณะได้

4. ผเู้ รยี นมคี วามรู้ทกั ษะพืน้ ฐานงานอาชีพ สามารถคน้ ควา้ หาความรู้มาจดั ทำโครงงานอาชพี และมเี จต
คตทิ ่ดี ีต่ออาชีพสจุ รติ

5. ผเู้ รียนเรียนมีทกั ษะ ความสามารถด้านสร้างนวตั กรรมจากการเรียนรูแ้ บบ PBL
ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ มพี ัฒนาการเซิงบวก 8.53 คะแนน เทียบกับ
ปีการศกึ ษา 2563 ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 พบวา่ กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มี
คะแนนผลการทดสอบเฉลีย่ (29.71 คะแนน) ซึ่งสงู กวา่ ระดับเขตพ้ืนที่ และกลุ่มสาระการเรยี นรู้
คณติ ศาสตร์ศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มีพฒั นาการเซิงบวก 1.14 และ
2.25 เทียบกับปีการศึกษา 2563

1.5 จดุ ควรพฒั นา

ผูเ้ รียนมผี ลการประเมินระดับชาติขั้นพ้นื ฐาน มีคะแนนผลการทดสอบเฉล่ียในภาพรวมมพี ัฒนาการต่ำ
กว่าจากปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ จึงควรพัฒนา
และส่งเสรมิ ผเู้ รยี นทางด้านวชิ าการ การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ การจัดสอนซ่อมเสริม การจัดกิจกรรมเพ่ือ
ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงขึ้น และการปลูกฝังจิตสำนึกของผู้เรียนได้เห็นถึงความสำคัญของการ
ทดสอบระดับชาติข้ึนพื้นฐาน ที่สามารถนำผลการประเมินไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ ตลอดจนครูผู้สอน
จะต้องปฏบิ ัตอิ ยา่ งจริงจงั ในเร่อื งการวิจัยในชัน้ เรียนเกี่ยวกบั การแกป้ ัญหาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการ
เรียนรทู้ ีม่ มี ีผลการประเมนิ ทตี่ ่ำกว่าเกณฑ์

1.6 แผนงาน/แนวทางพัฒนาคุณภาพให้ดีขึ้นกวา่ เดมิ (อยา่ งนอ้ ย 1 ระดับ)
1. พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรมอย่างเป็นระบบ มีการใชก้ ระบวนการวิจยั ใน

การดำเนนิ งาน และมีการสร้างเวทใี หผ้ ้เู รียนเผยแพร่ ในซ่องทางต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
2. ส่งเสริมนักเรยี นในการเรยี นร้ผู า่ นกิจกรรม โดยมีการดำเนินงานลงสบู่ ทเรียนของแตล่ ะวชิ าทเ่ี ป็น

ระบบในชุมชนและสถานศึกษา
3. ใหผ้ เู้ รียนเรยี นร้ผู ่านกระบวนการคิดตา่ ง ๆ มากข้นึ โดยมีการวางแผน การจดั การเรยี นร้ใู นทุกกลุ่ม

สาระการเรียนรแู้ ละมกิ ารประเมนิ ความสามารถ ในการคิดของผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ
4. ดำเนนิ งานยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ ตงั้ แตร่ ะดับชน้ั ประถมศกึ ษา

ปที ี่ ๑ ถงึ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

รายงานประจำปีของสถานศึกษา ปีการศึกษา 2564 หน้า 47


Click to View FlipBook Version