The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มบ้านนายม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

บ้านนายม

เล่มบ้านนายม

100 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ “ตำบลนายม” พื้นที่ตำบลนายมในอดีตมีความกวางขวางเปนอยาง มากแตตอมาไดมีการขยายตัวของชุมชนกระจายออกไปมากขึ้นจึงมี การแยกการปกครองและตั้งตำบลขึ้นมาใหม ตำบลที่เคยเปนสวน หนึ่งของตำบลนายมมากอน ไดแก ตำบลวังชมภู ตำบลหวยสะแก และตำบลระวิง (สุภาพร แผลงมา, สัมภาษณ) ความเปนชุมทางการคาของบานนายมก็ไมไดมีความเปลี่ยน แปลงไปมากนัก จากขอมูลสัมภาษณยังพบวาในชวงครึ่งหลังของ พุทธศตวรรษที่ ๒๕ ลงมา บริเวณบานนายมยังมีการคาขาวทางเรือ อยูโดยจะมีทั้งเรือของพอคาในชุมชนและพอคาตางถิ่นนำเรือเขามาซื้อ ตนมะขามขนาดใหญ ที่ปากคลองวังชมภู ซึ่งจุด สังเกตเวลาเดินเรือมาถึง ปากคลองที่จะเลี้ยวเขาไป ยังชุมชนบานนายม


101 บานนายม พัฒนาการทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณแหงลุมน้ำ�ปาสัก เมืองเพชรบูรณ การเดินเรือหรือทำการคาขาวนั้นจะทำไดเพียงปละครั้ง คือ ชวงฤดูน้ำหลากเทานั้นดังที่ไดกลาวมาแลวกอนหนา เนื่องจากในแมน้ำ ปาสักมีตนไมและขอนไมลมทอดขามแมน้ำอยูเปนระยะ ทำใหชวงฤดู แลงยากตอการเดินเรือ เรือบรรทุกสินคาจึงสามารถขึ้นลองไดเพียง ปละครั้งเทานั้น (สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ, ๒๕๔๓: ๑๓๘) และการคาทางเรือยังเปนแรงจูงใจใหมีชาวจีนอพยพเขามาทำ การคาและตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณบานนายม ชาวจีนตระกูล “แซสัว” ซึ่งภายหลังเปลี่ยนเปนนามสกุลภาษาไทยวา “นพมาก” ถือเปนกลุม ชาวจีนตระกูลใหญและมีบทบาททางการคาในบานนายมในอดีต (พินิจ นพมาก, สัมภาษณ) ภายหลังเมื่อมีการตัดถนนก็ทำใหวิถีชีวิตผูคนมีความสัมพันธ กับถนนมากขึ้น ประกอบกับน้ำในคลองวังชมภูก็ลดลง การคาทาง เรือก็คอยๆ หายไปในที่สุด ปจจุบันยังมีไมพายโบราณขนาดใหญเก็บ รักษาที่วัดพระนอน ซึ่งสะทอนใหเห็นวากอนหนานี้ชุมชนบานนายม มีการคาทางน้ำที่รุงเรืองมาก ขาวโดยจะจอดเรือใหญหรือเรือเอี้ยมจุนไวที่แมน้ำปาสักและนำเรือ หางยาวหรือเรือแจวเขามาตามคลองวังชมภูเพื่อลำเลียงขาวและสินคา ตางๆ จากชุมชนไปลงเรือใหญลงไปขายที่ปากเพรียวเขตเมืองสระบุรี (อบเชย ยินดี, สัมภาษณ) โดยที่บริเวณปากคลองวังชมภูไหลมา บรรจบกับแมน้ำปาสักนั้นจะมีตนมะขามขนาดใหญเปนจุดสังเกตเวลา เดินเรือ ปจจุบันตนมะขามตนนี้ยังคงยืนตนอยูที่ปากคลองทางทิศใต


102 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


103 บานนายม พัฒนาการทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณแหงลุมน้ำ�ปาสัก เมืองเพชรบูรณ บานนายมถือเปนชุมชนโบราณเก าแก และมีความสำ คัญ แหงหนึ่งในพัฒนาการทางประวัติศาสตรทองถิ่นเมืองเพชรบูรณตั้ง แตพุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓ เปนตนมา ดังปรากฏหลักฐานทาง ประวัติศาสตรโบราณคดีและศิลปกรรมที่พบอยูภายในบริเวณชุมชน บานนายมในปจจุบัน ซึ่งลวนแลวแตมีความนาสนใจทั้งสิ้น องคความรูหรือขอมูลที่เกิดขึ้นจากการศึกษาพัฒนาการ ทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณบานนายม ไมวาจะเปนจากเนื้อหา วิธีการที่ผูเขียนศึกษา จากนักวิชาการและนักประวัติศาสตรทองถิ่น ลวนแลวแตเปนสิ่งที่ชุมชนบานนายมควรนำไปตอยอดการศึกษาและ บูรณาการเพื่อการพัฒนาทองถิ่น แตไมใชวาจะยึดเอาความคิดเห็น ของผูเขียนหรือของผูใดผูหนึ่งมาใชเสมอไป หากแตทองถิ่นเองควรนำ ขอเสนอเหลานี้ไปประยุกตใชกับความคิดเห็นอื่นใหสอดคลองกับความ ตองการของทองถิ่นอยางที่ควรจะเปน คำวา “บูรณาการ” ในปจจุบันนี้เปนที่ไดยินกันบอยมากทั้งจาก สื่อตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งตามหนวยงานราชการ การบูรณาการ คือการประยุกตองคความรูที่มีอยูแตเดิมใหเพิ่มคุณคาและเชื่อมโยง ตอนที่ ๑๐ บทสงทาย


104 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ สิ่งอื่นๆ ใหเกิดประโยชนสูงสุด องคความรูเกี่ยวกับโบราณสถาน ศิลปกรรมและประวัติศาสตรชุมชนบานนายมที่ผูเขียนไดรวบรวม และนำเสนอในสวนตางๆ ที่ผานมานั้น ก็สามารถนำองคความรูมา บูรณาการได โดยเฉพาะการนำมาเปนทุนทางสังคมที่สามารถใชใน การจัดการเปนแหล งเรียนรูหรือแหล งท องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร และศิลปกรรมในทองถิ่นจังหวัดเพชรบูรณได ปจจุบันการศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่นมีความสำคัญควบคู กับงานพิพิธภัณฑทองถิ่น เพราะประวัติศาสตรทองถิ่นเปนรากฐานและ สามารถทำใหพิพิธภัณฑมีคุณคา มีความหมายตอชุมชนทองถิ่นและ เปนแหลงเรียนรูที่สำคัญดวย (สุภาภรณ จินดามณีโรจน, ๒๕๕๓: ๒๘) ดังนั้น ภายในชุมชนบานนายมเองควรจะมีการจัดทำพิพิธภัณฑ ทองถิ่นเพื่อเปนที่รวบรวมสิ่งของและองคความรูเกี่ยวกับทองถิ่นเพื่อ ใหเยาวชน นักเรียนและประชาชนทั่วไปไดศึกษาเรียนรู อันจะนำมา ซึ่งความภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน ตลอดจนการจัดทำหลักสูตร ประวัติศาสตรทองถิ่นหรือหลักสูตรทองถิ่นที่เปนการนำองคความรู ในทองถิ่นมาบูรณาการประยุกตใชเพื่อคนในทองถิ่นอย างแทจริง เยาวชนในทองถิ่นจะไดรับขอมูลและมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยว  กับทองถิ่น เปนการปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูสึกรักบานเกิดมีความ ภาคภูมิใจในทองถิ่นของตน และมีจิตสำนึกในเชิงสาธารณะ รวมไป ถึงเปนการยกองคความรูทองถิ่นใหเปนที่ยอมรับและมีมาตรฐานใน การศึกษามากยิ่งขึ้นดวย


105 บานนายม พัฒนาการทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณแหงลุมน้ำ�ปาสัก เมืองเพชรบูรณ นอกจากนี้ ทางชุมชนบานนายมก็ควรรวมมือกับหนวยงาน ตางๆ ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนในการประชาสัมพันธแหลงเรียนรู และแหล งท องเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและศิลปกรรมของทองถิ่นให เปนที่รูจักมากขึ้น มีการจัดโปรแกรมทองเที่ยวภายในชุมชน ตลอด จนการอบรมมัคคุเทศกทองถิ่นเพื่อรองรับนักทองเที่ยวผูเขียนเชื่อวา ขอเสนอแนะเหลานี้คงไมยากเกินไปสำหรับชุมชนบานนายมที่จะรวมมือ  กันบูรณาการทองถิ่นเพื่อสอดรับกับนโยบายทางการศึกษาและการ ทองเที่ยวชุมชนอยางยั่งยืน อันจะเปนการนำมาซึ่งความภาคภูมิใจของ คนในทองถิ่น มีความมั่นคงทางดานเอกลักษณวัฒนธรรมและนำ รายไดเขามาสูทองถิ่นไดอยางเปนรูปธรรม


106 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ บรรณานุกรม ก. เอกสารชั้นตนที่ตีพิมพแลว กรมศิลปากร. ประชุมจารึก ภาคที่ ๘ จารึกสุโขทัย. กรุงเทพฯ: กรม ศิลปากร, ๒๕๔๘. จารุบุตร เรืองสุวรรณ (สอบคน). พื้นเวียง. กรุงเทพฯ: สมาคม ประวัติศาสตรในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๒๕. ประชุมจดหมายเหตุเรื ่องปราบกบฏเวียงจันท. จัดพิมพในงาน พระราชทานเพลิงศพ เจาจอมมารดา หมอมราชวงศแสง รัชกาลที่ ๔ ณ เมรุวัดเบญจมบพิตร, ๒๔๗๓. ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เลม ๒. กรุงเทพฯ: กอง วรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล ม ๓. กรุงเทพฯ: กอง วรรณกรรมและประวัติศาสตร กรมศิลปากร, ๒๕๔๒. พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา (ภาคจบ). พระนคร: คลัง วิทยา, ๒๕๐๕. “พระไอยการตำแหนงนาทหารหัวเมือง”. ใน ประมวลกฎหมาย รัชกาล ที่ ๑ จุลศักราช ๑๑๖๖ พิมพตามฉบับหลวง ตรา ๓ ดวง เลม ๑. กรุงเทพฯ: เรือนแกวการพิมพ, ๒๕๒๙. จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลม ๓. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนสามัญนิติ บุคคลสหประชาพาณิชย, ๒๕๓๐.


107 บานนายม พัฒนาการทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณแหงลุมน้ำ�ปาสัก เมืองเพชรบูรณ จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลม ๔. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนสามัญ นิติบุคคลสหประชาพาณิชย, ๒๕๓๐. วินัย พงศศรีเพียร. พรรณนาภูมิสถานพระนครศรีอยุธยา เอกสาร จากหอหลวง (ฉบับความสมบูรณ). กรุงเทพฯ: อุษาคเนย, ๒๕๔๗. ศุภวัฒย เกษมศรี, พลตรี หมอมราชวงศ. พระราชพงศาวดารกรุง ศรีอยุธยา ฉบับเยเรเมียส ฟานฟลีต และผลงานคัดสรร พลตรี หมอมราชวงศ ศุภวัฒย เกษมศรี. กรุงเทพฯ: สมาคม ประวัติศาสตรในพระราชูปถัมภสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, ๒๕๕๒. Santanee Phasuk and Philip Stott. ROYAL SIAMESE MAPS: War and Trade in Nineteenth Century Thailand. Bangkok: River Books, 2004. ข. หนังสือ กรมวิชชาธิการ กระทรวงธรรมการ. ปฏิทินสำหรับคนวันเดือนจันทร คติกับสุริยคติ แตปขาลจัตวาศก ร.ศ.๑ พ.ศ.๒๓๒๕ จ.ศ. ๑๑๔๔ ถึงปวอกจัตวาศก ร.ศ.๑๕๑ พ.ศ.๒๔๗๕ จ.ศ. ๑๒๙๔. พิมพครั้งที่ ๒. พระนคร: อักษรนิติ บางขุนพรหม, ๒๔๗๕. กำพล จำปาพันธ. ขาเจือง: กบฏไพร-ขบวนการผูมีบุญหลังสถาปนา พระราชอาณาเขตสยาม-ลานชาง. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๕๕.


108 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ คะนะพาสาวันนะคะดีและมะนุดสาด มะหาวิทะยาไลแหงชาด. ตามหา ฮอยเจาอะนุวง. พิมพครั้งที่ ๒. เวียงจันทน: ลัดวิสาหะกิดโฮง พิมสึกสา, ๒๐๐๒. ชาญวิทย เกษตรศิริ (บรรณาธิการ). อยุธยา. พิมพครั้งที่ ๖. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยตาประเทศไทย, ๒๕๕๐. ดวงไช หลวงพะสี. สมเด็ดพะเจาอานุวง. พิมพครั้งที่ ๔. เวียงจันทน: โฮงพิมแหงลัด, ๒๐๐๑. ดารารัตน เมตตาริกานนท. ประวัติศาสตรลาวหลายมิติ. พิมพครั้ง ที่ ๒. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๕๕. ต. อมาตยกุล. นิทานประวัติศาสตรและโบราณคดี. พระนคร: นิยม วิทยา, ๒๕๐๔. ถนอม อานามวัฒน และคณะ. ประวัติศาสตรไทยยุคกอนประวัติศาสตร ถึงสิ้นอยุธยา. กรุงเทพฯ: ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ๒๕๑๘. ธวัช ปุณโณทก. พื้นเวียง: การศึกษาประวัติศาสตรและวรรณกรรม อีสาน. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, ๒๕๒๖. ธวัชชัย ชั้นไพศาลศิลป. แหลงโบราณคดีสมัยกอนประวัติศาสตรจังหวัด เพชรบูรณ. เพชรบูรณ: สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหา วิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ, ๒๕๕๕. ธีระวัฒน แสนคำ. ประวัติศาสตรทองถิ่นเมืองเพชรบูรณในประวัติศาสตร กรุงศรีอยุธยา. เพชรบูรณ: ไทยมีเดียเพชรบูรณ, ๒๕๕๘.


109 บานนายม พัฒนาการทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณแหงลุมน้ำ�ปาสัก เมืองเพชรบูรณ ธีระวัฒน แสนคำ. เมืองเพชรบูรณและเมืองหลมสักกับศึกเจาอนุวงศ. เพชรบูรณ: ไทยมีเดียเพชรบูรณ, ๒๕๕๖. มยุรี เหงาสีวัทน และเผยพัน เหงาสีวัทน. เจาอะนุ ๑๗๖๗ - ๑๘๒๙ ปะชาชนลาวและอาซีอาคะเน (เลื่องเกา, ปนหาใหม). เวียง จันทน: โฮงพิมแหงลัด, ๑๙๘๘. มารติน สจวต-ฟอกซ. จิราภรณ วิญญรัตน (แปล). ประวัติศาสตร ลาว. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตรและ มนุษยศาสตร, ๒๕๕๓. โยซิยูกิ มาซูฮารา. ประวัติศาสตรเศรษฐกิจของราชอาณาจักรลาว ลานชาง สมัยคริสตศตวรรษที่ ๑๔ - ๑๗ จาก“รัฐการคา ภายในภาคพื้นทวีป” ไปสู “รัฐกึ่งเมืองทา”. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๖. รุงโรจน ธรรมรุงเรือง. พระพุทธปฏิมาสยาม. กรุงเทพฯ: มิวเซียม เพรส, ๒๕๕๓. วรางคณา นิพัทธสุขกิจ. หนังกวาง ไมฝาง ชาง ของปา: การคาอยุธยา สมัยพุทธศตวรรษที่ ๒๒ - ๒๓. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๕๐. ศรีศักร วัลลิโภดม. เมืองโบราณในอาณาจักรสุโขทัย. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: เมืองโบราณ, ๒๕๕๒. สายชล สัตยานุรักษ. พุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒). กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๖. สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. นิทานโบราณคดี. พิมพครั้งที่ ๑๕. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร, ๒๕๔๓.


110 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ สุรศักดิ์ ศรีสำอาง. ลำดับกษัตริยลาว. พิมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ กรมศิลปากร, ๒๕๔๕. สุเนตร ชุตินธรานนท. สงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๑๐ ศึกษาจากพงศาวดารพมาฉบับราชวงศคองบอง. พิมพครั้งที่ ๘. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๕๒. สุรีพันธุ มณีวัต, คุณหญิง. ฐานสโมบูชา ฉบับสมบูรณ. พิมพครั้งที่ ๑๑. กรุงเทพฯ: ศิลปสยามบรรจุภัณฑและการพิมพ, ๒๕๕๙.  สุวิทย ธีรศาศวัต. ประวัติศาสตรลาว ๑๗๗๙ - ๑๙๗๕. กรุงเทพฯ: สรางสรรค, ๒๕๔๓. ค. วารสารและบทความ วิชัย ตันกิตติกร. “พัชรบูรณ”. ใน โครงการศูนยสุโขทัยศึกษา สาขา วิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สารานุกรมสุโขทัยศึกษา (เลม ๒ ผ - ฮ). นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช, ๒๕๓๙. สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. “เรื่องเที่ยวมณฑลเพ็ชรบูรณ” ใน กรมศิลปากร. เรื่องเที่ยวที่ตางๆ ภาค ๑ - ๕. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๕๐. สุภาภรณ จินดามณีโรจน. “เทศกาลพิพิธภัณฑทองถิ่นครั้งที่ ๒ กับ การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ่น”. ใน กาวไปดวยกัน. ปที่ ๖ ฉบับที่ ๓ มิถุนายน-กันยายน ๒๕๕๓.


111 บานนายม พัฒนาการทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณแหงลุมน้ำ�ปาสัก เมืองเพชรบูรณ ง. วิทยานิพนธ ขวัญเรือน จันทโรจนี. ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจของหัวเมือง ฝายเหนือในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๙๔). วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๓๔. ธีระวัฒน แสนคำ. เมืองพิษณุโลก: ประวัติศาสตรทองถิ่นของหัวเมือง ใหญภายใตโครงสรางอำนาจรัฐแบบจารีต. วิทยานิพนธ ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม, ๒๕๕๔. จ. การสัมภาษณ ๑. พระอธิการรอง ปุฺญนาโค. อายุ ๕๖ ป. เจาอาวาส วัดพระนอน บานนายม ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัด เพชรบูรณ. สัมภาษณวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐. ๒. พระอธิการวิรัช อกฺกวณฺโณ. อายุ ๕๓ ป. เจาอาวาส วัดเกาะแกว บานนายม ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัด เพชรบูรณ. สัมภาษณวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐. ๓. พระเมธี ปฺญาวุฑฺโฒ. อายุ ๕๔ ป. พระวัดโบสถ โพธิ์ทอง บานนายม ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัด เพชรบูรณ. สัมภาษณวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๖.


112 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๔. พระมาก เหล็กเพชร. อายุ ๗๙ ป. พระวัดเกาะแกว บานนายม ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐. ๕. นางอบเชย ยินดี. อายุ ๗๗ ป. บานเลขที่ ๒๕ หมูที่ ๒ ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐. ๖. นางปูน มามี. อายุ ๗๘ ป. บานเลขที่ ๔๘/๒ หมูที่ ๑ ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐. ๗. นางรัชนี มณีพันธ. อายุ ๖๒ ป. บานเลขที่ ๑๒๓ หมูที่ ๔ ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐. ๘. นางสุภาพร แผลงมา. อายุ ๖๑ ป. บานเลขที่ ๒/๑ หมูที่ ๒ ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณวันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐. ๙. นายสวาง จานสี. อายุ ๗๔ ป. บานเลขที่ ๕๕/๑ หมูที่ ๓ ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ วันที่ ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๕๖. ๑๐. นายพินิจ นพมาก. อายุ ๕๓ ป. บานเลขที่ ๓ หมูที่ ๔ ตำบลนายม อำเภอเมืองเพชรบูรณ จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ วันที่ ๒๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐.


113 บานนายม พัฒนาการทางประวัติศาสตรของชุมชนโบราณแหงลุมน้ำ�ปาสัก เมืองเพชรบูรณ เกี่ยวกับผู้เขียน นายธีระวัฒน แสนคำ ประธานกรรมการผูรับผิดชอบ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย การศึกษา: ศศ.บ. (ประวัติศาสตร) มหาวิทยาลัยนเรศวร บธ.บ. (การทองเที่ยว) มหาวิทยาลัยนเรศวร ศศ.ม. (ประวัติศาสตร) มหาวิทยาลัยเชียงใหม พธ.ด. (รัฐประศาสนศาสตร) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตัวอยางผลงานวิชาการที่ผานมา วิทยานิพนธ เมืองพิษณุโลก: ประวัติศาสตรทองถิ่นของหัวเมืองใหญ ภายใตโครงสรางอำนาจรัฐแบบจารีต (๒๕๕๔) หนังสือ เมืองบางขลัง: พัฒนาการทางประวัติศาสตรพุทธศตวรรษ ที่ ๑๘ - พ.ศ. ๒๓๑๘ (๒๕๕๔)


114 สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หนังสือ เมืองเพชรบูรณและเมืองหลมสักกับศึกเจาอนุวงศ (๒๕๕๖) หนังสือ พระบรมธาตุนครชุม พระบรมธาตุเจดียแหงลุมน้ำปงตอนลาง (๒๕๕๗) หนังสือ ประวัติศาสตรทองถิ่นเมืองเพชรบูรณในประวัติศาสตร กรุงศรีอยุธยา (๒๕๕๘) หนังสือ วัดมหาชัย: ประวัติศาสตรและศิลปกรรม (๒๕๖๐) หนังสือ พระพุทธรูปโบราณในลุมแมน้ำหมันจังหวัดเลย (๒๕๖๐) หนังสือ พระมหาธรรมราชาลิไทย ปฐมมหาธรรมราชาแหงอาณาจักร สุโขทัย (๒๕๖๑) หนังสือ พระพุทธรูปสำคัญในจังหวัดเลย (๒๕๖๑) หนังสือ ประวัติศาสตรโบราณคดีรอบพื้นที่เชิงเขาภูกระดึง (๒๕๖๒) หนังสือ พัฒนาการทางประวัติศาสตรเมืองหนองบัวลำภู (๒๕๖๒) หนังสือ พัฒนาการทางประวัติศาสตรชุมชนโบราณในลุมแมน้ำเลย (๒๕๖๒) หนังสือ วิเชียรบุรี: ประวัติศาสตร สังคมและวัฒนธรรม (๒๕๖๓) ์


Click to View FlipBook Version