The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มสมบัติเมืองพชรบูรณ์เล่ม3

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม3

เล่มสมบัติเมืองพชรบูรณ์เล่ม3

50 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ชาวบานในชุมชน ชวยกันประกอบเรือแพ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 51 ชวงการเตรียมงาน เมื่อใกลวันงานประมาณ ๒ - ๓ วัน กลุมผูน�ำชุมชนจะ ประชาสัมพันธเสียงตามสายใหชาวบานเดินทางมารวมตัวกันที่วัด แลวจึงแบงหนาที่ความรับผิดชอบตามความถนัดของแตละคนออก เปนกลุม กลุมที่ ๑ ผูชายที่มีความแข็งแรงจะพากันเดินทางเขาไปใน ปาชุมชนเพื่อตัดไมไผที่มีขนาดล�ำใหญแข็งแรงทนทาน รวมถึงตนกลวย หรือแมแตวัสดุอื่นๆ ที่สามารถลอยน�้ำได น�ำมาตอรวมกันเปนแพตาม ขนาดที่ตองการ สวนไมไผที่เหลือก็ท�ำแพขนาดเล็กตามจ�ำนวนที่ตอง การไดอีกดวย กลุมที่ ๒ ชาวบานบางสวนจะอยูที่วัดเขาครัวประกอบ อาหาร เชน แกงบอน แกงขี้เหล็ก ขนมจีนน�้ำยา เปนตน ไวส�ำหรับ เลี้ยงดูคนที่มาชวยงานที่วัด กลุมที่ ๓ คนเฒาคนแก จะชวยกันฉลุกระดาษเปนรูปลวด ลายตางๆ ไวส�ำหรับติดตกแตงเรือแพใหเกิดสีสันสวยงาม การตกแตงเรือแพในวันงาน เชาตรูในวันขึ้น ๑๕ ค�่ำ เดือน ๑๑ ซึ่งเปนวันออกพรรษา ชาวบานปาแดง ต�ำบลปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ รวม กันท�ำบุญเลี้ยงพระตักบาตรขาวสารอาหารแหงหลังจากนั้นได รวมรับประทานอาหารมื้อเชารวมกัน


52 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หลังจากรับประทานอาหารเรียบรอยแลว กลุมชาวบานบาง สวนจะพากันออกเดินไปตามถนนเสนในหมูบานเพื่อเก็บดอกดาว เรืองหรือดอกไมประเภทอื่น ส�ำหรับน�ำมาตกแตงเรือแพใหเกิดความ สวยงาม นางมล สินสอน กลาววา“ดอกไมที่น�ำมาตกแตงเรือแพตอง เปนดอกดาวเรือง เพราะเปนดอกไมที่มีชื่อสิริมงคล มีความเชื่อกัน วาชีวิตจะไดรุงเรืองเหมือนกับชื่อของดอกไมนั่นเอง” นอกจากการน�ำดอกไมมาใชในการตกแตงเรือแพแลว ชาว บานยังมีการน�ำกระดาษสีตางๆ มาฉลุเปนลวดลายตางๆ ตามใจชอบ ติดตกแตงที่เรือแพใหเกิดความสวยงาม สิ่งส�ำคัญที่ชาวบานแตละหลังคาเรือนจะน�ำมาใสลงไปใน เรือแพ คือ กระทงที่ประกอบไปดวย ดอกไม ธูป เทียน หมากพลู ขาวด�ำ ขาวแดง เงิน และที่ขาดไมไดเลย คือ เสนผมกับเล็บของทุก คนในครอบครัว นางเผือก จันทรเสน กลาววา “พอแมปูยาตายายสั่งความ ตนเองไวกอนตายวา ใหท�ำกระทง ใส ดอกไม ธูป เทียน หมากพลู ขาวด�ำ ขาวแดง เงิน และที่ขาดไมไดเลย คือ เสนผมกับเล็บของ คนในครอบครัวทุกคนใสลงไปในกระทง แลวน�ำกระทงไปวางใน เรือแพของหมูบาน เพราะมีความเชื่อวาเพื่อเปนการน�ำสิ่งไมดีของ คนในครอบครัวใสลงไป และยังเปนการปลอยเคราะห ปลอยโศก ไปกับเรือแพ”


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 53 ชาวบานคุมวัดทุงแจง ชวยกันประกอบและตกแตงเรือแพ เรือแพ คุมวัดโพธิ์กลาง


54 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ขบวนแหเรือแพ หลังจากที่ชาวบานชวยกันตกแตงเรือแพเสร็จเปนที่เรียบรอย แลว ทางวัดจึงประกาศเชิญชวนใหชาวบานเดินทางมารวมตัวกันที่ วัดโดยพรอมเพียงกันเพื่อจะไดเริ่มแหเรือแพไปยังอางเก็บน�้ำหวย ปาแดง กอนที่ขบวนแหจะออกเดินนั้น คณะกลองยาวของหมูบาน เริ่มรวมตัวตั้งคายขึ้นไหวบอกกลาวคุณครูบาอาจารยที่ไดประสิทธิ์ ประสาทวิชามาให พรอมทั้งบรรเลงเปนปฐมฤกษเพื่อใหชาวบานที่ ยังมาไมถึงไดรีบเดินทางมายังวัด ระหวางที่รอเวลาการแหขบวนชาว บานจะรวมรองเพลงตอบโตระหวางหนุมสาวกันอยางสนุกสนาน เพื่อเปนการเฉลิมฉลองใหกับเรือแพนั่นเอง เมื่อไดเวลาที่นัดหมายขบวนแหจึงเริ่มออกเดินทางจากวัด ไปตามถนนเสนในหมูบาน ในระหวางที่แหไปนั้นถาขบวนผานหนา บานหลังไหนก็จะมีชาวบานยืนรอถือกระทงที่จะใสลงไปในเรือแพ เมื่อขบวนแหเดินทางมาถึงยังศาลเจาปูเจายาบริเวณทางขึ้น อางเก็บน�้ำหวยปาแดง ขบวนแหจะหยุด และจะมีคนเดินขึ้นไปยัง ศาลแลวจุดธูปบอกกลาวสิ่งศักดิ์สิทธิ์ประจ�ำหมูบาน แลวจึงออกเดิน กันตอ ชาวบานน�ำเรือไฟ รองล�ำน�้ำ อางเก็บน�้ำหวยปาแดง


พิธีกลาวค�ำถวายเรือไฟ สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 55 ขั้นตอนพิธีปลอยเรือแพ เมื่อขบวนแหเรือแพเดินทางมาถึงยังอางเก็บน�้ำหวยปาแดง ชาวบานจะวางเรือแพลงไวกับพื้น หลังจากนั้นจึงเริ่มประกอบพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนากอน ตั้งแตการกราบพระรับศีล ฟงพระธรรม เทศนา ๑ กัณฑ จากนั้นชาวบานจึงชวยกันจุดเทียนธูปที่เรือแพ แลวตามดวย การกลาวบูชารอยพระพุทธบาท หลังจากที่กลาวค�ำบูชาเสร็จ ชาวบาน จึงชวยกันหามเรือแพลงไปลอยน�้ำ


56 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ พิธีปลอยเรือแพถือไดวาเปนพิธีกรรมอันศักดิ์สิทธิ์ของบาน ปาแดง ต�ำบลปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ ที่สะทอนถึงพลัง ศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนาของชุมชนบานปาแดงอยางเหนียว แนนที่สืบทอดจากบรรพบุรุษตอกันมาจากรุนสูรุน และถูกปลูกฝงมา จากความเชื่อวาเรือแพนั้นสามารถท�ำหนาที่น�ำความทุกขโศก โรคภัย ไขเจ็บ และสิ่งไมดีตางๆ ใหไหลไปตามน�้ำ และยังเปนการสงเคราะห รายใหพนไปจากชุมชน เพื่อความเปนสิริมงคลใหกับชุมชน อีกทั้งยัง เปนพิธีกรรมที่สงเสริมใหเกิดการรวมตัวของคนในชุมชนอยาง เหนียวแนนที่เปนพลังหลอมรวมความเปนน�้ำหนึ่งใจเดียวกันของ ชุมชนใหรวมกันอนุรักษสืบสานพิธีกรรมที่ทรงคุณคาใหอยูเคียงคู ลูกหลานชาวบานปาแดงตอไป นอกจากพิธีปลอยเรือแพของชาวบานปาแดงแลว กลุมชาว บานบางสวนที่มารวมพิธีนั้น จะมีเรือแพล�ำขนาดเล็กลงไปลอยน�้ำ และ ยังน�ำสัตวน�้ำชนิดตางๆ มาปลอยลงน�้ำดวย จากที่ไดสอบถามชาวบาน ที่มารวมพิธีนั้นไดความวา ชาวบานปาแดงมีความเชื่อวาเปนการปลอย เคราะหตางๆ ลงน�้ำ รวมถึงการท�ำบุญใหชีวิตแกสัตวทั้งหลาย ซึ่งจะ เปนการแกไขดวงชะตาไดใหพนเคราะหทั้งหลายทั้งปวง และบุญกุศล ที่ไดท�ำในครั้งนี้จะสงผลใหชีวิตตนเองและครอบครัวดีขึ้นนั่นเอง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 57 บรรณานุกรม บุคคลอางอิง ทอง เเสงโทน. (๒๕๖๒). อายุ ๘๐ ป บานเลขที่ ๖๕ หมู ๕ ต�ำบล ปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม. โป แสงโทน. (๒๕๖๒). อายุ ๗๘ ป บานเลขที่ ๓๖/๑ หมู ๕ ต�ำบล ปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม. เผือก จันทรเสน. (๒๕๖๒). อายุ ๗๗ ป บานเลขที่ ๓๕ หมู ๓ ต�ำบล ปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม. ฟน เกตุแฟง. (๒๕๖๒). อายุ ๘๐ ป บานเลขที่ ๑๖๐ หมูที่ ๑๕ ต�ำบลปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม. มล สินสอน. (๒๕๖๒). อายุ ๘๕ ป บานเลขที่ ๒ หมู ๕ ต�ำบล ปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม. สมัย ครุฑวงศ. (๒๕๖๒). อายุ ๗๔ ป บานเลขที่ ๘๓ หมู ๑๑ ต�ำบล ปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม. สมบูรณ อองยิ่ง. (๒๕๖๒). อายุ ๗๒ ป บานเลขที่ ๔๐/๒ หมู ๑๕ ต�ำบลปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม. เสย อุตกันภัย. (๒๕๖๒). อายุ ๘๑ ป บานเลขที่ ๖๕/๑ หมู ๕ ต�ำบล ปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ ตุลาคม.


ผูเขียน ผูชวยศาสตราจารยขุนแผน ตุมทองค�ำ รองผูอ�ำนวยการส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ 58 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เฮียนเสายองหิน เฮียนเสายองหิน ของดีเมืองเพชรบูรณ ชาวจังหวัดเพชรบูรณ รูจักกันดี ซึ่งก็คือ บานเสาบนหิน ค�ำวา เฮียนเสายองหิน ออกเสียง ตามภาษาทองถิ่นไทหลม อ�ำเภอหลมเก ้าเปนอ�ำเภอที่อยูสวนบนของ จังหวัดเพชรบูรณดานทิศเหนือติดกับจังหวัดเลย สถาปตยกรรมพื้นถิ่น เรือนที่อยูอาศัยของ “ชาวไทหลม” ที่มีลักษณะเปนเรือนยกพื้นตั้ง เสาบนกอนหิน หรือที่เรียกในภาษาถิ่นวา “เฮียนเสายองหิน” ปจจุบัน ยังมีที่บานแกงโตน อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ จ�ำนวน ๕ หลัง และบานภูผักไซ ที่ยังคงคุณลักษณะการเปนเรือนยกพื้นสูงและตั้งเสา อยูบนกอนหินตามเรือนดั้งเดิม ซึ่งเคยไดรับความนิยมในการกอสราง อยางแพรหลาย ทวาในปจจุบันไดถูกรื้อลงจนเกือบหมดสิ้น


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 59


60 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 61 ภูมิปญญาการกอสรางเปนเรือนไมทรงสูงมีใตถุนที่สรางดวย การตั้งเสาแตละตนอยูบนกอนหิน โดยไมมีอะไรยึดติดจะไมฝงเสาลง ดิน เปนภูมิปญญาชาวบานที่ชาญฉลาดอยางยิ่งเพื่อปองกันภัยธรรม ชาติตางๆ เชน ลมแรงหรือแผนดินไหวจะไมท�ำใหบานทรุดตัวหรือ พังทลายมีความทนทานเพราะมีความยืดหยุนในตัวไดดี กวาบานที่ฝง เสาลงดินรวมถึงตัวโครงสรางของบานที่มีเอกลักษณไมใชตะปูจะเปน การเขาไมแทนโดยตอกและตั้งเสาบนหินนั้นเปนภาพสะทอนความ สัมพันธอันแนนเหนียวในประวัติศาสตรของผูคนชาว “ไทหลม ” กับ “ไทลาว” โดยเฉพาะหลวงพระบาง นอกเหนือจากการบงชี้ความสัมพันธ ดวยการใชส�ำเนียงภาษาพูดซึ่งมีความมีพลวัตไปตามการปฏิสัมพันธ กับบริบทวัฒนธรรมที่โอบลอม ลักษณะเรือนที่เปนเอกลักษณ บาน เรือนของชุมชนภูผักไซนิยมสรางดวยไมยกใตถุนสูง ตัวบานตีปดดวย ฝาไม บางสวนเปนระแนงไมเพื่อระบายอากาศโครงสรางจะเขาไมแบบ ตอกเขาลิ่ม สลักไมสอดเขาลิ่ม จะไมใชตะปูหลังคาเปนโครงสรางไม ทรงจั่ว เอกลักษณที่ชัดเจนอยางหนึ่งก็คือ เสาบานที่เปนไมเนื้อแข็ง ตั้งอยูบนหินจะไมไดสัมผัสพื้นดินโดยตรงเรียกวา “บานเสายองหิน” ตามภาษาทองถิ่นค�ำวา “ยอง” แปลวา “บน” ค�ำวาบานเสายองหิน จึงหมายถึง บานที่มีเสายองหิน หินที่น�ำมาใชก็เปนหินจากล�ำน�้ำที่ ไหลผานหมูบานดวยภูมิปญญาในการกอสรางบานเรือนเสายองหิน นั้นยังปองกันแรงลมและแผนดินไหวเพร าะมีความยืดหยุนของตัวเสา กลับฐานหินรวมถึงโครงสรางของบานเรือนที่ใชลิ่มในการตอกอยู และยังปองกันความชื้นจากพื้นบานสูตัวเรือนบานและสามารถปอง


62 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ กันปลวกเพราะเสาบานไมไดสัมผัสดินโดยตรงภูมิปญญาอันชาญฉลาด ของคนไทหล่มแสดงใหเห็นถึงวิถีชีวิตที่ตองอยูกับธรรมชาติไมวาจะ เปนภัยธรรมชาติ ในการกอสรางเริ่มจากการเอาหินมาวางไวบริเวณ ที่ก�ำหนด กอนหินหรือแผนหินที่น�ำมาใชเปนหินจากน�้ำพุงล�ำน�้ำที่ ไหนผานหมูบานและจากเขาภูผักไซ จากนั้นน�ำเสามาตั้งโดยมัดเสา ติดกับทอม (นั่งราน) ท�ำแบบเดียวกันทุกเสา รวม ๑๖ เสา วิธีการดัง กลาวจะชวยใหเสาเรือนคงทนถาวรไมผุกรอนงาย ไมตองกังวลกับ ปญหาปลวกรบกวน สะดวกในการเคลื่อนยายหรือรื้อถอนเนื่องจาก เสาเรือนไมไดถูกฝงลงในดิน จากนั้นจะใชวิธีการสอดคานตีลิ่ม (ท�ำ จากไม เสาไมแตละเสาจะตองใชขวานปลอกเปลือกและเจาะรูเพื่อใส คานและลิ่ม) แลวอัดใหแนนโดยไมใชตะปูกอนจะมุงหลังคาตีพื้นและ ฝา เมื่อสรางเสร็จสวนประกอบของบานจะยึดโยงกันท�ำใหบานมีความ แข็งแรง - ขนาดของบานเรือนเปนบานไมยกสูงมีใตถุนโลงลักษณะ การใชงานจะใชเก็บของ เลี้ยงสัตว ทอผาและพักผอนในเวลากลาง วัน รวมถึงการรับแขกท�ำใหระยะความสูงของสวนใตถุนไมสูงมาก นักเหมาะกับการใชงานในวิถีชีวิตประจ�ำวัน - ลักษณะโครงสรางเสาเปนบานไมเนื้อแข็งที่ถูกแตงทรงดวย ขวานท�ำเสายองหินตามภูมิปญญาดั้งเดิมมีลักษณะแปดเหลี่ยมขึ้น อยูตามขนาดของตนไมที่น�ำมาใชท�ำเปนเสาบานและความช�ำนาญ ของชาง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 63 เสายองหินตามภูมิปญญาดั้งเดิม ลักษณะบานไมยกสูงมีใตถุนโลง


64 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ฝาบานและพื้นใชไมเนื้อแข็งปกซอนเกร็ดตามแนวนอนวางบนคาน ตรงเขาลิ่มกับตัวเสาไมเนื้อแข็งที่ใชมีทั้งไมประดูและไมแดงปนกัน ไปจะมีบางหลังใชไมไผบาง หลังคาเรือนหลักเป็นหลังคาทรงจั่วและจะเกาะด้วยหลังคาเพิงแหงน โดยใช้สังกะสีในการมุง


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 65 ประตูหนาตางลักษณะเปนบานเปดไมเนื้อแข็ง มีระแนงระบายอากาศ ทั้งดานบนผนังประตูหนาตางก็ใชประตูลักษณะเดียวกัน การวางตัวเรือนดูจากผังตัวเรือนวางตัวในทิศทางเหนือใตการ เขาเรือนจะเขาทางทิศตะวันออกซึ่งถือวาเปนทิศมงคลตามความ เชื่อ รูปแบบรูปทรงหลังคาเรือนหลักมีหลังคาเปนทรงจั่วและวางตัว ในทิศตะวันออกตะวันตกพื้นที่ตอขยายออกมาจากเรือนหลักจะมุงดวย หลังคาเพิงหมาแหงน (สงศักดิ์ ออนสุวรรณ. ๒๕๖๒: ๕๑๔ - ๕๑๕)


66 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ชาติพันธุที่มีความเปนเอกลักษณอยางโดดเดนของวัฒนธรรม ไทหลม ซึ่งปรากฏหลักฐานทางประวัติศาสตรอยางชัดเจนการตั้ง ถิ่นฐานของชุมชนที่เจริญขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาถึงรัตนโกสินทร ตอนตนกลุมเมืองหลมสะทอนใหเห็นจากโบราณสถานที่สรางขึ้นใน ศิลปะลาวซึ่งพบจ�ำนวนมากในพื้นที่อ�ำเภอหลมเกาและหลมสัก (กรมศิลปากร ๒๕๔๓: ๒๕) ถือไดวาจังหวัดเพชรบูรณมีความหลากหลาย ทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ ที่อยูอาศัย อาหาร ภาษาถิ่น และเครื่อง แตงกาย จังหวัดเพชรบูรณ จึงมีคลังสมบัติทางวัฒนธรรมที่ล�้ำคาตก ทอดมายังลูกหลานของชาวจังหวัดเพชรบูรณใหไดศึกษาเรียนรู วิถี ชีวิตบรรพบุรุษของปู ยา ตา ยาย ซึ่งแฝงไวดวยภูมิปญญาที่ชาญฉลาด เฮียนเสายองหินที่อยูอาศัยถือวาเปนปจจัยสี่ในการด�ำรงชีวิตชาวไทหลม ไดสรางบานใหมีความมั่นคง แข็งแรง ทนทานตอสภาพดินฟาอากาศ รวมถึงแมลงตางๆ สิ่งเหลานี้สะทอนใหเห็นวิถีชีวิตคนสมัยกอนที่อยู รวมกันเปนชุมชนโดยสรางบานมีใตถุนสูงเพื่อพบปะพูดคุยกับเพื่อน บานอยูอยางพึ่งพาอาศัยกันตลอดจนเห็นถึงทักษะฝีมือทางชางที่มี ความประณีตใสใจทุกรายละเอียดของการสรางที่อยูอาศัย ดวยพลวัตทางสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาท�ำให เฮียนเสายองหิน ที่มีอยูในชุมชนไดถูกรื้อถอนและสรางบานใหมตาม สมัยนิยมใหเหมาะสมกับวิถีชีวิตที่มีการเปลี่ยนแปลงไป ปจจุบันเฮียน เสายองหินมีหลงเหลือเพียงไมกี่หลัง มรดกทางวัฒนธรรมที่ส�ำคัญ ก�ำลังจะถูกเลือนหายไปซึ่งในอนาคตอาจจะไมเหลือแมแตหลังเดียว การสืบสานอนุรักษบานเสายองหินเปนมรดกทางวัฒนธรรมไทหลม ที่มีความโดดเดนและเปนเอกลักษณจึงมีความส�ำคัญเปนอยางมาก เพื่อใหลูกหลานไดศึกษาเรียนรูภูมิปญญาของ ปู ยา ตา ยาย


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 67 บรรณานุกรม เอกสารอางอิง กรมศิลปากร. (๒๕๔๓). วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร เอกลักษณและภูมิปญญาจังหวัดเพชรบูรณ. หนังสือเฉลิม พระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว. สมพิศ สายบุญชื่น และสุดดี ค�ำมี. (๒๕๖๐). การศึกษาค�ำศัพท ไทหลม กรณีศึกษ าอ�ำเภอหลมสัก อ�ำเภอหล มเก า จังหวัดเพชรบูรณ. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัย ราชภัฎเพชรบูรณ, (หนา ๗๕๙ - ๗๖๕). ๑๐ มีนาคม. ส่งศักดิ์ ออนสุวรรณ. (๒๕๖๒). เรือนพื้นถิ่นชุมชนภูผักไซ ต�ำบล หินฮาว อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. งานประชุม วิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจ�ำป ๒๕๖๒.


68 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ผูเขียน นางสาวกุลิสรา ปองเพียร ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ แหกัณฑหลอน “แหกัณฑหลอน” คืออีกหนึ่งความเชื่อในวิถีวัฒนธรรมของ ชาวบานนาทราย ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ สะทอนผานงานบุญเดือนหก (บุญบั้งไฟ) ที่ชาวบานนาทรายเรียกวา บุญใหญ ตามหลัก ฮีตสิบสอง หรือประเพณีของกลุมชาติพันธุลาว “แหกัณฑหลอน” จึงเปนหนึ่งพิธีกรรม ความเชื่อที่สะทอนใหเห็นถึง อัตลักษณทางวัฒนธรรมเฉพาะถิ่นที่เชื่อมโยงกลายเปนวิถีชีวิตภูมิ ปญญาของชาวชนบทไดอยางชัดเจน (ปฐม หงสสุวรรณ, ๒๕๕๕) หากยอนกลับมาพิจารณาหมูบานนาทรายในมิติประวัติศาสตร สังคม และวัฒนธรรม ตามหลักฐานชี้ใหเห็นวาราษฎรบานนาทราย สวนใหญสืบเชื้อสายมาจากชาวลาวเวียงจันทนและหลวงพระบาง ที่ ถูกกวาดตอนและอพยพจากภัยสงครามมาอยูที่เมืองหลม (หลมเกา) ถึงสามครั้ง (จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓, ๒๕๓๐) ซึ่งตรงกับหลักฐาน ทางโบราณสถานและศิลปกรรมที่ทรงคุณคา โดยเฉพาะ สิม (โบสถ) ในอ�ำเภอหลมเกาที่ไดรับการขึ้นทะเบียนจากกรมศิลปากร จ�ำนวน ๓ แหง คือ วัดโพธิ์ พระธาตุตาเถร และวัดนาทราย (นฤมล กางเกตุ, ๒๕๕๖) กอนลงหลักปกฐานกอตัวเปนชุมชนบานนาทรายในปจจุบัน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 69


บรรยากาศแหกัณฑหลอน ชุมชนบานนาทราย 70 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ สัญลักษณของการเริ่มตนงานประเพณีบุญบั้งไฟบานนาทราย คือ การ “แหกัณฑหลอน” หรือ การออกเรี่ยไรเพื่อใหชาวบานไดชวย กันถวายบุญ แตที่แตกตางออกไปจากชุมชนอื่นที่เห็นโดยทั่วไปคือ กลุมคนที่ออกเรี่ยไรจะเปนกลุมบริวารของเจาพออูค�ำ (ตามความเชื่อ ของชุมชนบานนาทราย เจาพออูค�ำ คือ ต�ำแหนงของกษัตริยผูครอง เมืองเวียงจันทนหรือผีบรรพบุรุษที่คอยปกครองชุมชนไมใหสิ่งชั่วราย เขามาท�ำอันตราย) ไดแก รางทรง เจาพอ เจาแม องคบริวาร กวนจ�้ำ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 71 แมแตง เปนตน ขบวนแหกัณฑหลอนจะเริ่มตนจาก “หีบใหญ” หรือ สถานที่ศักดิ์สิทธิ์เปรียบเสมือนศูนยบัญชาการของเจาพออูค�ำ เพราะ จะตองท�ำพิธีขออนุญาตจากเจาพออูค�ำกอนเริ่มขบวนเขาไปใน หมูบานเพื่อความเปนสิริมงคล ชาวบานนาทรายเชื่อวาการที่ตนเอง และครอบครัวไดบริจาคเงินหรือสิ่งของในงานบุญใหญของชุมชน จะชวยเบิกทางน�ำสิ่งที่ดีเขามาในชีวิต เงินหรือสิ่งของที่ไดจากการ เรี่ยไรแหกัณฑหลอนกวนจ�้ำและชาวบานจะน�ำไปสมทบทุนชวย เหลือในการด�ำเนินงานบุญบั้งไฟ และในยุคปจจุบันจะนิยมบริจาค เปนเงินตามก�ำลังศรัทธา คนละ ๑๐ บาท ๒๐ บาท ๑๐๐ บาท ๔๐๐ บาท จนถึง ๕๐๐ บาท หรือตามแตจะศรัทธา บางคนก็บริจาคเปน เหลา ๔๐ สวนคนที่บริจาคเปนขาวสาร พริก เกลือ กระเทียม น�้ำตาล มะพราว หรือขาวของเครื่องใชอื่นๆ จะน�ำไปไว ณ วัดนาทราย ตลอด ทั้งวันจนถึงวันงาน ขบวนแหกัณฑหลอน จะมีกวนจ�้ำ (หรือผูชายมีหนาที่คอยให ค�ำปรึกษารางทรงเจาพอและเป”นหัวเรี่ยวหัวแรงในการประกอบพิธี กรรมตางๆ ในหมูบาน) เปนผูน�ำบริวารเจาพอเจาแม และชาวบานใน การออกแหเรี่ยไรไปตามบานแตละหลัง โดยมีนักดนตรีพื้นบาน ประกอบดวย หมอฆอง หมอกลอง หมอฉาบ และหมอแคน ไดบรรเลง สรางความสนุกสนานเฮฮาใหกับขบวนกัณฑหลอน ในระหวางที่ขบวน แหไปตามบานจะมีการรองเพลงในท�ำนองกาพยเซิ้งอีสาน “โอฮะโอ ฮะโอ ฮะโอฮะโอ....(เซิ้งกาพย)”


บรรยากาศการเรี่ยไรในขบวนแหกัณฑหลอน ชุมชนบานนาทราย 72 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ โอโฮโอ โฮโอ โฮโอ..... (โอโฮโอ โฮโอ โฮโอ ) โอโฮโอ โฮโอ โฮโอ..... (โอโฮโอ โฮโอ โฮโอ ) เฮือนผูใดหลังใหญอาดหลาด อยาไดขาดในเรื่องกินทาน สุมแมบานเฮือนอื่นกะมี อยาสิหลี่หนีตาพอกวอก ......... เปนตน ใครไดยินเพลงจะฟอนจะร�ำก็เชิญกันเขารวมขบวนอยาง เปนกันเอง ขบวนแหกัณฑหลอนจะมีจ�ำนวนคนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ใน ขบวน บรรยากาศเปนไปดวยความสนุกสนานในแบบฉบับพื้นบาน นาทราย ซึ่งแตกตางกับยุคสมัยปจจุบันที่นิยมเปลี่ยนมาใชเครื่องเสียง แหแทนดนตรีพื้นบานเพราะความสะดวกสบาย


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 73 การแหกัณฑหลอนของชุมชนนาทรายเดิมจะออกแหใน เวลากลางวัน แตดวยยุคเศรษฐกิจปจจุบันท�ำใหสังคมชนบทมีวิถีการ ด�ำรงชีพเปลี่ยนแปลงไป ชาวบานในชุมชนนาทรายสวนใหญใชเวลา กลางวันประกอบอาชีพเพื่อเรงผลผลิตทางการเกษตร การแหกัณฑ- หลอนในปจจุบันจึงเปลี่ยนเปนเวลากลางคืนเนื่องจากชาวบานกลับ จากการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เมื่อขบวนแหกัณฑหลอนมาถึงบานนายเฉวียน ยอดค�ำ (ครอบครัวผูที่มีจิตศรัทธาเจาพอเจาแมเปนอยางสูง) นายเฉวียน ยอดค�ำ คือ ลูกหลานรุนที่ ๓ ที่ยังคงสืบทอดและปฏิบัติตามค�ำสั่ง สอนของบรรพบุรุษในเรื่องการเตรียมขาวปลาอาหารเลี้ยงผูคนที่รวม ขบวนแหกัณฑหลอนในงานบุญใหญของหมูบานใหอิ่มหน�่ำส�ำราญ ดวยความเชื่อที่วาหากปฏิบัติตามจะสงผลใหครอบครัวอุดมสมบูรณ ความเจ็บไมมาใกลความไขจะไมมี มีแตโชคลาภแกครอบครัว เมื่อ มาถึงหนาบานเจาของบานก็ลงมาเชิญขบวนแหขึ้นไปรับประทาน ขาวปลาอาหารบนบาน อาหารประกอบดวย ไกทอด ตมแฟง หมก อีฮวก ขาวมูลสังขยา น�้ำพริกแจว ผักตม เปนประจ�ำทุกป เมื่อรับประทานอาหารเสร็จเปนที่เรียบรอยแลว นักดนตรีจึง เริ่มบรรเลงเพลงเพื่อเปนการฉลองพาขาวและขอบคุณเจาของบาน โดยมีการฟอนร�ำกันอยางสนุกสนาน (เชื่อวาพิธีกรรมฉลองพาขาว จะท�ำใหเจาของบานเกิดความสุขสมบูรณทั้งครอบครัว) หลังจากที่ ฉลองพาขาวใหเจาของบานเสร็จเรียบรอย กลุมชาวบานไดมีการจัด ขบวนแหไปตามเสนทางในหมูบานจนครบทุกหลังคาเรือนถือวาเปน อันเสร็จการแหกัณฑหลอน (ใชเวลาแหกัณฑหลอนประมาณ ๑ - ๒ อาทิตย)


บรรยากาศขบวนแห่กัณฑ์หลอนพักรับประทานอาหาร บ้านนายเฉวียน ยอดค�ำ บรรยากาศการฟอนร�ำฉลองพาขาวใหกับครอบครัว นายเฉวียน ยอดค�ำ 74 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 75 เมื่อเสร็จสิ้นการแหกัณฑหลอนครบทุกหลังคาเรือนแลว “กวนจ�้ำ” จะเปนผูน�ำเงินและขาวของที่ไดรับจากการเรี่ยไรไปบอก กลาวเจาพออูค�ำ ณ หีบใหญ (เจาพออูค�ำคือเจาพอที่มีอ�ำนาจสูงสุด ของบานนาทราย) ใหไดรับรูและขออนุญาตเจาพอน�ำเงินที่ไดจาก การบริจาคสงตอใหชาวบานนาทรายเพื่อน�ำไปใชจายในการเตรียม งานบุญบั้งไฟ เชน การจัดเตรียมสถานที่การท�ำบั้งไฟ การตกแตง บั้งไฟ อาหารสวัสดิการระหวางด�ำเนินงาน และอื่นๆ พอกวนจ�้ำน�ำเงินเรี่ยไรไปบอกกลาวเจาพออูค�ำ ณ หีบใหญ


76 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ จึงเห็นไดวาชุมชนบานนาทราย ถือเปนพื้นที่ศึกษาหนึ่งที่ เต็มไปดวยอารยทางวัฒนธรรมที่มีความซับซอนโดยเฉพาะในแงของ ประเพณี วัฒนธรรม สะทอนใหเห็นผานกิจกรรมชุมชน “แหกัณฑ หลอน” ที่ถูกเชื่อมโยงกับฐานความเชื่อและถือปฏิบัติตามฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ จนเกิดเปนอัตลักษณเฉพาะถิ่นของกลุมชาติพันธุลาว ลานชาง ทั้งยังสามารถด�ำรงอยูและสวนกระแสโลกสมัยใหม ปจจัย อะไรที่ท�ำใหประเพณี พิธีกรรม ความเชื่อของหมูบานนาทรายยังคง ถูกสืบทอดจนถึงปจจุบัน ผูเขียนเชื่อวาใครหลายๆ คนที่ไดอานบทความนี้ตองเกิดความ รูสึกไมแตกตางกับผูเขียนสักเทาไหร เพราะดวยกระแสของโลกสมัย ใหมครอบคลุมและเขาถึงทุกชุมชนรวมถึงชุมชนบานนาทราย แต ชุมชนแหงนี้ยังมีภาพประเพณีซึ่งแฝงไปดวยความเชื่อที่อัดแนนไป ดวยความหมาย รายละเอียดของพิธีกรรม ผานประเพณี บุญเดือน หก “แหกัณฑหลอน” ในแบบฉบับพื้นบานที่แทบไมมีใหเห็นไดงายๆ ในโลกปจจุบัน บรรณานุกรม เอกสารอ้างอิง จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓. ๑ เลม. (๒๕๓๐). กรุงเทพฯ: สหประชาพาณิชย. นฤมล กางเกตุ. (๒๕๕๖). สิม: อิทธิพลศิลปะลานชางผสมพื้นถิ่น อ�ำเภอ หลมเก า จังหวัดเพชรบูรณ. เพชรบูรณ: ไทยมีเดียเพชรบูรณ ์ .์ ปฐม หงษสุวรรณ. (๒๕๕๕). “ประเพณีแหดาวของชาวคริสตทาแร: เวทีการตอรองเพื่อนิยามตัวตน.” ศิลปวัฒนธรรมสถาบันวิจัย ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน ๑, ๑ (กรกฎาคม – ธันวาคม): ๓ – ๔.


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 77 บุคคลอางอิง ซุง ดวงอุปะ. (๒๕๖๐). อายุ ๗๗ ป บานเลขที่ ๑๔๖ บานนาทราย หมู ๓ ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๘ มีนาคม. ตวน บุญแนบ. (๒๕๖๐). อายุ ๘๐ ป บานเลขที่ ๘๐ บานนาทราย หมู ๓ ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๓๐ เมษายน. บุญ บุญสิน. (๒๕๖๐). อายุ ๖๙ ป บานเลขที่ ๘๐ บานนาทราย หมู ๓ ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ,์ ๒๙ เมษายน. บรรลัง ใจเมธา. (๒๕๖๐). อายุ ๗๐ ป บานเลขที่ ๗๑ บานนาทราย หมู ๒ ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๖ มิถุนายน. เปลื้อง นันทะกูล. (๒๕๖๐). อายุ ๘๑ ป บานเลขที่ ๑๒๒ บานนาทราย หมู ๓ ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ์. สัมภาษณ์, ๓๐ เมษายน. พัก ใจเมธา. (๒๕๖๐). อายุ ๘๗ ป บานเลขที่ ๖๒ บานนาทราย หมู ๓ ต�ำบลวังบาล อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ,์ ๒๘ เมษายน.


หลามปลาโบราณพื้นบานเพชรบูรณ มนุษยเกิดมาตองด�ำรงชีวิตดวยพลังงานและอาหาร วิถีชีวิต จึงมีความเกี่ยวของกับการประกอบอาชีพเพื่อการท�ำมาหากิน จาก อดีตถึงปจจุบันซึ่งมีการคิดคน เรียนรู ทดลอง และสั่งสม กอใหเกิด อารยธรรม “อาหาร” ประจ�ำพื้นถิ่น ความรูในการผลิตและปรุงแตง อาหารของแตละชุมชนจะแตกตางกันขึ้นอยูกับสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติที่บรรพบุรุษไดคิดสรรสิ่งที่อยูรอบตัวมาปรับปรุงแตง ถาย ทอดไวเปนภูมิปญญาใหลูกหลานปฏิบัติสืบตอกันมา (อารีย ทองแกว, ๒๕๔๙: ๒๑๖) เฉกเชน การหลามปลา ซึ่งถือเปนกรรมวิธีการประกอบอาหาร แบบพื้นบาน ที่ใชกระบอกไมไผเปนภาชนะในการบรรจุอาหารที่ผาน กระบวนการปรุงแตงรสชาติดวยสมุนไพร เครื่องเทศ พรอมท�ำการ เผาไฟ ซึ่งรสชาติของอาหารในกระบอกไมไผของแตละพื้นที่จะมี ความเปนเอกลักษณแตกตางกันออกไปตามความนิยมของพื้นที่นั้น ไดอยางลงตัว ผูเขียน นางสาวณัฐวดี แกวบาง นักวิชาการวัฒนธรรม ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ 78 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 79


80 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ หลามปลาพร้อมทาน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 81 กระบอกไมไผที่ใชส�ำหรับการหลาม กาบมะพราวแหง/แกนขาวโพด “คุณตาขิด หุนทอง บานปาแดง ต�ำบลปาเลา อ�ำเภอ เมือง จังหวัดเพชรบูรณ กลาววา การหลามปลา สูตรของตารับวิธี การปรุงแตงรสชาติมาจากพอแมที่จะนิยมปรุงรสชาติแบบเผ็ดๆ เค็มๆ ใสเครื่องสมุนไพรเยอะๆ ปลาที่นิยมน�ำมาประกอบการหลาม นั้นจะเปนปลาชอน ที่หาไดตามแหลงน�้ำ ล�ำหวย หรือตามทองนา ในชวงที่เริ่มเอาน�้ำเขานาเพื่อท�ำการไถหวานขาว หรือแมกระทั่ง นาขาวที่ก�ำลังเจริญเติบโตที่มีน�้ำขัง ซึ่งในสมัยกอนนาขาวจะไมมี สารเคมีเจือปนเหมือนกับปจจุบัน ท�ำใหในนามีกุง หอย ปู ปลา ที่ อุดมสมบูรณสามารถน�ำมาประกอบอาหารไดเลย วัตถุดิบที่นิยมมา หลามนั้นนอกจากเนื้อปลาแลว ยังมีจ�ำพวก เนื้อสัตว ไมวาจะเปน เนื้อไก เนื้อหมู ที่หามาไดเองตามธรรมชาติอีกดวย” อุปกรณและสวนประกอบหลักของการหลามปลา ๑. อุปกรณที่ใชในการหลามปลา


82 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ๒. สวนประกอบในการหลามปลา ๑. ปลาชอน/ปลาเล็กปลานอย หรืออาจจะเปนเนื้อสัตว ๒. พริกแกง ๓. ใบแมงลัก (ใบอีตู) ๔. เกลือเม็ด ๕. น�้ำปลา ๖. ปลารา ๒. ๕. ๖. ๓. ๔. ๑.


๑. ๒. สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 83 ขั้นตอนและกรรมวิธีการท�ำหลามปลา ขั้นตอนที่ ๑ คัดเลือกไมไผที่มีขนาดปานกลางยาวพอเหมาะ ไมออนหรือไมแกจนเกินไป ตัดล�ำไมไผเตรียมไวส�ำหรับท�ำการหลาม ปลา ขั้นตอนที่ ๒ น�ำปลามาท�ำความสะอาด - กรณีปลาเล็กปลานอยบางบานจะตัดหัวปลา ผากลางพุง แลวเอาขี้ปลาออก แตบางบานจะแคลางปลาใหสะอาดไมมีการเอา หัวหรือขี้ปลาออกเพื่อเพิ่มความขมใหกับรสชาติของอาหาร - กรณีปลาตัวใหญ เชน ปลาชอน ปลาดุก จะตองขอด เกล็ดปลา ผากลางพุงเอาขี้ปลาออกแลวลางดวยน�้ำสมสายชูเพื่อดับ กลิ่นคาวปลา หั่นปลาเปนชิ้นเล็กๆ หลังจากนั้นลางออกดวยน�้ำเปลา น�ำมาใสกะละมังเพื่อเตรียมการคลุกเคลาปลากับเครื่องปรุงอื่นๆ ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒


84 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ขั้นตอนที่ ๓ เตรียมพริกแกงที่ต�ำขึ้นเองโดยเครื่องเทศ สมุนไพรที่สามารถหาไดงาย มีวิธีท�ำดังนี้ - น�ำพริกชี้ฟาแหงมาตากแดดอีกรอบ เพื่อความหอมและ เพิ่มความกรอบของเมล็ดพริก - เตรียมเครื่องปรุง หอมแดง ตะไคร กระเทียม หั่นเปนชิ่น ในอัตราสวนที่พอประมาณกับพริกแหงที่เตรียมไว - โขลกพริกแหงกับเครื่องปรุงรวมกันใหละเอียด ใสเกลือปน เพิ่มรสชาติเล็กนอยจะไดพริกแกงที่มีความกลมกลอม ๓. ๔. ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๔ น�ำเนื้อปลาคลุกเคลากับพริกแกงใหเขากัน ปรุงรสเพิ่มดวยน�้ำปลาหรือปลารา ใหไดรสชาติตามตองการ จากนั้น น�ำใบแมงลัก (ใบอีตู) ใสลงไป


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 85 ๕. ๖. ขั้นตอนที่ ๕ ขั้นตอนที่ ๕ หลังจากที่คลุกเคลาเนื้อปลากับพริกแกง และ ปรุงรสเสร็จแลว ใสลงในกระบอกไมไผที่เตรียมไว เติมน�้ำลงไปเล็ก นอย แลวปดปากกระบอกไมไผดวยใบตองหรือใบเตย เพื่อเพิ่มความ หอมและกันเนื้อปลาลนปากกระบอก ขั้นตอนที่ ๖ จากนั้นน�ำเอาหลามปลาไปเผาไฟ โดยตั้ง กระบอกไมไผ โอบดานลางกระบอกดวยกาบมะพราวแหง จุดไฟหลัง จากนั้นเอาแกนขาวโพดท�ำเปนกองรอบๆ กระบอกไมไผใชเวลาประมาณ ๓๐ นาที เนื้อปลาจึงจะสุกไดที่พอดีพรอมรับประทาน ขั้นตอนที่ ๖


86 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ น�ำหลามปลาที่ไดจัดเรียงใสภาชนะ พรอมเตรียมเครื่องเคียง จะเห็นไดวาการท�ำหลามปลา หากตองการรับประทานให อรอย ตองรับประทานคูกับขาวเหนียวรอนๆ ผักสดๆ ไมวาจะเปน แตงกวา ผักชี กะหล�่ำป ผักกาดขาว หรือผักพื้นบานอะไรก็ได จะ ชวยอรรถรสในการรับประทานเปนอยางดี นอกจากความอรอยที่ลง ตัวแลว หลามปลายังใหคุณคาทางอาหาร จ�ำพวกโปรตีน ที่ไดจาก เนื้อสัตว ธาตุเหล็ก จากผักเครื่องเคียง สมุนไพรเครื่องเทศตางๆ ที่ ส�ำคัญยังสงผลดีตอระบบขับถายของรางกายอีกดวย


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 87 ปจจุบันถึงแมโลกจะมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปเพียงใด ก็ตาม แตมรดกทางวัฒนธรรมการด�ำรงชีวิตของคนแตละพื้นที่ ก็ยัง คงหลงเหลือภูมิปญญาพื้นบานจากบรรพบุรุษที่ไดสั่งสมองคความ รูในการด�ำรงชีวิตไมวาจะเปนเรื่องของใช อาหารการกิน สะทอน ใหเห็นความเปนเอกลักษณของชุมชนใหพบเห็นอยูบาง และสมควร ที่จะไดชวยกันอนุรักษสืบสานใหคงอยูคูทองถิ่นตอไป บรรณานุกรม เอกสารอางอิง อารีย ทองแกว. (๒๕๔๙). วัฒนธรรมทองถิ่นสุรินทร. อุบลราชธานี: โรงพิมพศิริธรรมออฟเซ็ท. บุคคลอางอิง ขิด หุนทอง. (๒๕๖๐). อายุ ๘๙ ป บานเลขที่ ๑๒ บานโนนดู หมู่ ๑๒ ต�ำบลปาเลา อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ มกราคม. ตุ้มทอง เมืองเกิด. (๒๕๖๐). อายุ ๖๖ ป บานเลขที่ ๑๒ หมู ๘ ต�ำบล สะเดียง อ�ำเภอเมือง จังหวัดเพชรบูรณ. สัมภาษณ, ๑๓ มกราคม.


88 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมื่อหนารอนวนมาอีกครั้ง ทั่วทุกพื้นที่ของประเทศไทยชุมฉ�่ำ ไปดวยการเลนน�้ำสงกรานตตามวาระประเพณีปใหมไทยที่สืบทอด กันมาแตโบราณ แตรูปแบบการละเลนอาจเปลี่ยนแปลงไปตามยุค สมัย จากที่เคยรดน�้ำเบาๆ โดยน�ำยอดไม ดอกไม จุมลงในขันน�้ำ แลวพรมใสมือ นานวันเขาก็กลายเปนสาดน�้ำใสกันอยางสนุกสนาน ตองยอมรับวาวิถีคนนั้นยอมเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีโลก แตหาก อยากรักษาความเปนโบราณดั้งเดิมไว คงจะตองสรางความตระหนัก และเนนย�้ำใหคนเห็นคุณคา ใหคนรุนใหมไดเห็นความส�ำคัญ ยินดีที่ จะปฏิบัติตามอยางเต็มใจ เพื่อใหประเพณีอันดีงามจากปูยาตายาย นี้คงอยูเปนวัฒนธรรมที่งดงามสะทอนความสามัคคีของคนในหมูบาน ดังเชนที่ความศรัทธาสามัคคีของชาวบานวังเวิน ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอ หลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ สะทอนผานประเพณี สรงน�้ำพระธาตุวัด วังเวิน สรงน�้ำพระธาตุวัดวังเวิน : ศรัทธา สามัคคี ประเพณีสงกรานตพื้นถิ่น ผูเขียน นางสาวมนชยา คลายโศก นักวิชาการวัฒนธรรม ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 89


90 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 91 ยอนไปเมื่อ ป พ.ศ. ๒๕๓๓ ในสมัยที่หลวงปูจันทร กิตติ ญาโณ (พระครูพัชรกิตติญาณ) เปนเจาอาวาสวัดวังเวิน และยังเปน เกจิอาจารยชื่อดังของอ�ำเภอหลมเกา ไดรวมกันกับชาวบานบูรณะ ปฏิสังขรวัดวังเวิน รวมถึงพระธาตุซึ่งมีอายุกวารอยป ท�ำใหพระธาตุ องคเดิมถูกพระอุโบสถสรางครอบไว จึงไดมีการใหสรางพระธาตุองค ใหมขึ้นบริเวณทิศตะวันตกของพระอุโบสถแทน และไดบรรจุเครื่อง รางของขลัง ของมงคลโบราณที่หลวงปูจันทรปลุกเสกดวยตัวทานเอง ไวในพระธาตุองคใหมดวย เดิมทีกอนที่จะมีการบูรณปฏิสังขรณพระ ธาตุ และสรางพระธาตุองคใหมนี้ เมื่อถึงวันสงกรานต ชาวบานจะ มีการสรงน�้ำพระและกอพระเจดียทรายบริเวณขางๆ พระธาตุองคเกา ปจจุบันจึงไดมีการสรงน�้ำพระธาตุองคใหมแทนและก�ำหนดใหมี ประเพณีสรงน�้ำพระธาตุวังเวิน ในวันขึ้น ๖ ค�่ำ เดือน ๖ ของทุกป มาจนถึงปจจุบัน รูปหลอหลวงปู ่ จันทร ่ ์พระธาตุวังเวินองคใหม ์ ่


92 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เชาของวันขึ้น ๖ ค�่ำ เดือน ๖ (๒๐ เมษายน ๒๕๖๑) ดวยวัน นี้เปนวันดีมีประเพณีประจ�ำพื้นถิ่น ชาวบานตางพรอมใจพากันมาที่ วัดวังเวิน เพื่อรวมพิธีส�ำคัญ ภายในวัดคอนขางคึกคัก ทั้งผูเฒาผูแก พอแมพี่นอง บางจูงลูกหลาน บางถือปนโตกับขาว นุงหมเครื่อง แตงกายสวยงาม ทั้งตามยุคสมัย และแตงกายอนุรักษไทหลมนุงหม ซิ่นหัวแดงตีนกานก็ไมนอย เด็กเล็กใสเสื้อคอกระเชาก็นารักนาเอ็นดู ซึ่งทุกคนมารวมกันเพื่อรวมสรงน�้ำพระธาตุวังเวินที่ท�ำกันมาทุกๆ ป ชาวบ้านมาร่วมงาน ทั้งผู้เฒ่าผู้แก่ เด็กเล็ก


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 93 เวลาประมาณ ๙.๐๐ น. ประเพณีมงคลไดเริ่มตนขึ้น ดวย พิธีบวงสรวงพระธาตุ โดยผูท�ำพิธีไดจัดโตะตั้งเครื่องเซนไหวพรอมดวย บายศรีสวยงามไวที่บริเวณดานหนาพระธาตุ ซึ่งนอกจากชาวบานแลว ยังมีผูน�ำชุมชน รวมไปถึงหนวยงานตางๆ ที่เริ่มเขามามีบทบาทใน ประเพณี มารวมบวงสรวงพระธาตุกับชาวบานดวย เมื่อเสร็จสิ้นพิธี บวงสรวงแลว ก็จะแยกยายกันพักผอน เพื่อรอเวลาที่จะรวมขบวน แหพระธาตุ ระหวางนี้บนศาลาการเปรียญจะมีพิธีเชิญเจาพอเจาแม ประทับรางทรง ดวยความที่ชาวหลมเกาพื้นเพคือชาวลาวที่อพยพมา ตั้งถิ่นฐานที่หลม และหนึ่งในความเชื่อที่ติดตัวมาดวยคือ ความเชื่อ เรื่องการเคารพนับถือเจาพอเจาแม เราจึงเห็นรางเจาพอเจาแมรวม ในพิธี หรือวันส�ำคัญตางๆ ของชาวบานเสมอ ในประเพณีสรงน�้ำ พระธาตุวังเวินนี้ก็เชนกัน พิธีบวงสรวง


94 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เจ้าพ่อเจ้าแม่ร่วมงานพิธี


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 95 โดยเริ่มมาตั้งแตสมัยหลวงปูจันทรที่ทานเห็นพองกันกับชาว บานวาควรเชิญเจาพอเจาแมของทุกหมูบานในอ�ำเภอหลมเกา มารวม พิธีสรงน�้ำพระธาตุเพื่อเสริมความเปนสิริมงคล ทั้งหมดก็เพื่อใหชาว อ�ำเภอหลมเกาอยูเย็นเปนสุข ปราศจากทุกขโศก ปองกันภัยอันตร าย ใหแคลวคลาดปลอดภัยกันทั่วทุกครัวเรือน ประการส�ำคัญ เจาพอหนึ่งองคจะมีหมอแคนประจ�ำตัวหนึ่ง คน ฉะนั้นเจาพอนับรอยองคก็จะมีจ�ำนวนหมอแคนมากกวาเจาพอ แต เปนที่นาเสียดายในปจจุบัน จ�ำนวนเจาพอเพิ่มขึ้น แตจ�ำนวนหมอแคน คอยๆ ลดลง จนตองมีการหยิบยืมหมอแคนใหท�ำหนาที่ดูแลเจาพอ มากกวาหนึ่งองค เมื่อเจาพอเจาแมประทับรางทรงแลว จะลุกขึ้นรายร�ำกันอยาง สนุกสนาน จากนั้นเมื่อถึงเวลา ก็จะเขารวมรายร�ำในขบวนแหดวย ซึ่งชาวบานจะพากันตั้งขบวนจากบริเวณหนาที่วาการอ�ำเภอหลมเกา และเดินแหมายังวัดวังเวิน ขบวนแหถูกจัดใหมีสัญลักษณส�ำคัญตางๆ ทั้งขบวนธงชาติ ขบวนตุง ธงตะขาบ ตนผึ้ง ขันเงิน พานพุมเงินพุม ทอง ขบวนบั้งไฟ ลวนแตเปนสิ่งสื่อความหมายทางวัฒนธรรมของ ชาวหลมเกา มีการน�ำพระธาตุวังเวินจ�ำลองมาแหในขบวน ที่ส�ำคัญ มีการน�ำรูปหลอหลวงพอจันทรมาแหในขบวนดวย เพื่อใหชาวบาน ตามหางรานในตลาด หรือใครก็ตามที่ไมสามารถมารวมงานที่วัดได มีโอกาสสรงน�้ำและปดทองรูปหลอหลวงพอจันทรเมื่อขบวนผาน หนาบานตน พรอมทั้งไดรวมท�ำบุญผาปาถวายวัดดวย นอกจากนี้


96 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ ก็ยังมีนางร�ำทั้งรุนเล็กรุนใหญ แตงกายในชุดเอกลักษณไทหลมหัวแดง ตีนกาน รายร�ำสรางสีสันสวยงามตลอดทั้งขบวน ระหวางทางผานตลาด หางราน ชุมชน ผูคนตางออกมารอตอนรับและชื่นชมขบวนกันอยาง คึกคักตลอดทางจนถึงวัดวังเวิน ขบวนแห่ในชุมชน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 97 ขบวนแห่ในชุมชน


98 ส�ำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ เมื่อขบวนเคลื่อนเขาสูบริเวณวัดวังเวินแลว รางทรงเจาพอ เจาแมจะร�ำถวายพระธาตุพรอมกันอีกครั้งบริเวณหนาพระธาตุ เสมือน การรวมกันเฉลิมฉลอง แลวจึงจะรวมกับชาวบานเดินสรงน�้ำรอบพระ ธาตุดวยกัน ๓ รอบ จึงถือเปนอันครบถวนตามประเพณีที่ปฏิบัติสืบ ตอกันมา แตกอนจะแยกยายกันกลับบาน ก็ยังมีโรงทานของทางวัด วังเวินและชาวบานที่มีจิตศรัทธามารวมออกโรงทานขาวปลาอาหาร ไวใหทุกคนที่มารวมประเพณีไดอิ่มทอง หลังจากที่อิ่มบุญกันแลว หากใครอยากมาสัมผัสวัฒนธรรมแบบนี้ดวยตัวเอง ก็สามารถ มาตามนัดไดเปนประจ�ำทุกป ที่วัดวังเวิน ต�ำบลหลมเกา อ�ำเภอหลมเกา จังหวัดเพชรบูรณ มีชาวบานที่นารักรอตอนรับอยางเปนกันเอง ถือ เปนประเพณีพื้นถิ่นที่สวยงาม และเปนวัฒนธรรมที่ควรคาแกการมา สัมผัสสักครั้งหนึ่งคะ พิธีสรงน�้ำพระธาตุวังเวิน


สมบัติเมืองเพชรบูรณ์ เล่ม ๓ 99 พิธีสรงน�้ำพระธาตุวังเวิน


Click to View FlipBook Version