The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Boonsri Boonma, 2022-08-30 02:15:29

วิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพ

วิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพ

แนวทางการพัฒนาการจดั กจิ กรรมพัฒนานกั เรียน นกั ศึกษา
รูปแบบปกติใหม่ (New Normal)
ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก

ว่าท่ีร้อยตรีชชั วาลย์ ป้อมสุวรรณ

วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศกึ ษาธิการ

แนวทางการพัฒนาการจดั กจิ กรรมพัฒนานกั เรียน นกั ศึกษา
รูปแบบปกติใหม่ (New Normal)
ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก

ว่าท่ีร้อยตรีชชั วาลย์ ป้อมสุวรรณ

วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็
สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

กระทรวงศกึ ษาธิการ



เรือ่ ง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่
(New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก
ผู้วจิ ยั วา่ ทีร่ ้อยตรชี ชั วาลย์ ปอ้ มสุวรรณ
สถานศึกษา วทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก จงั หวดั สระบุรี
ปกี ารศึกษา 2564

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจการมีส่วนร่วมของนักเรียน นักศึกษา ครูและ

ผู้บริหารวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา
รปู แบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ 2) เพื่อศกึ ษาพฤตกิ รรมและความพึงพอใจ

ของนักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บหริหารวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา
นักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ประชากรในการ
วิจัยครั้งน้ี คือ นักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหารวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก จำนวน 1,087 คน กลุ่ม

ตวั อยา่ งทีใ่ ชใ้ นการวิจัย คือ นกั เรยี น นักศกึ ษา โดยวธิ กี ารสุม่ แบบบงั เอิญ (Accidental Sampling) จาก
การหาขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซีและมอร์แกน จำนวน 278 คน ครู และผูบ้ รหิ าร ใช้วิธีการสุ่มแบบ

เจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 33 คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา มี 5 ขั้นตอน คือ 1) การ
ประชาสมั พันธ์ 2) การลงทะเบียน 3) การจัดกจิ กรรม 4) การประเมิน 5) การมอบเกยี รตบิ ัตร (รูปแบบ

ออนไลน)์
ผลการวิจยั เกยี่ วกับการมีสว่ นรว่ มต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมของนกั เรยี น นักศึกษา

ครู และผู้บริหารพบว่า ได้รับรู้การประชาสัมพันธ์ในครือข่ายสังคมออนไลน์ (Facebook, Line) ของ
วิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 60.45 ลงทะเบียนใน Google From ทุกครั้ง คิดเป็นร้อยละ 84.24 การเข้า
ร่วมกิจกรรมผ่านโปรแกรมออนไลน์ (Google meet/ Facebook Live/ Line/Zoom) คิดเป็นร้อยละ

87.14 ทำแบบประเมนิ ผลกิจกรรมทุกครงั้ ทเี่ ขา้ รว่ ม คดิ เป็นร้อยละ 75.56 ได้รับเกยี รติบัตรทุกกิจกรรม
ที่เขา้ รว่ ม คดิ เปน็ ร้อยละ 68.81

พฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านแรงจูงใจของการเข้าร่วมกิจกรรม ในระดับมากสุด
( ̅=4.80) ได้ร่วมกิจกรรมรูปแบบใหม่ ด้านความสัมพันธ์กับบุคลอื่น ในระดับมากสุด ( ̅=4.84) ได้
พบปะกับเพื่อนและปรับตัวให้เข้ากับบุคคลอื่น ด้านการให้ความสำคัญกับกิจกรรม ในระดับมากสุด

( ̅=4.73) ได้พัฒนาตนเองให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข ด้านการให้ความร่วมมือในการเข้าร่วม
กิจกรรม ในระดบั มากสดุ ( ̅=4.57) มีสว่ นร่วมกิจกรรมที่เปน็ ประโยชนแ์ ก่สถานศกึ ษา สงั คม ชุมชน

ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา ด้านโปรแกรมหรือระบบ
ออนไลน์ ในระดับมากสุด ( ̅=4.60) ความเหมาะสมของโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ในการจัด
กิจกรรม ด้านความสะดวก ในระดับมากสุด ( ̅=4.61) สามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่บ้านหรือทีอ่ ื่น ๆ ได้

ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ในระดับมากสุด ( ̅=4.82) ความเหมาะสมของระยะเวลาการจัด
กิจกรรม ด้านการจัดกิจกรรม ในระดับมากสุด ( ̅=4.67) การถ่ายทอดความรู้และความพร้อมของ

วทิ ยากร
คำสำคญั : การพัฒนาการจัดกจิ กรรม รูปแบบออนไลน์ กิจกรรมนักเรียนนักศกึ ษา แนวทางการพัฒนา



Research Title Guidelines for developing student development new normal
activities of Muaklek Technical College

Researcher Acting Second Chatchawan Pomsuwan
Muak Lek Technical College
Organization 2021
Year
Abstract

The objectives of this research were; 1) to survey the participation of students,

teachers, and directors of guidelines for developing new normal student development
activities of Muaklek Technical College. 2) To study behaviors and satisfaction of

students, teachers, and directors for participating new normal student development
activities of Muaklek Technical College. The population in the research were 1,087
students, teachers, and directors of Muaklek Technical College who were determined by

using Accidental Sampling method. The sample groups used in the research were 278
students, teachers, and directors who were determined the sample by Krejcie and

Morgan method. There were 33 students, teachers, and directors who used a purposive
sampling method. The analysis of the data was based on averaging, standard, and
deviation. There are five steps in the project implementation process; 1) Public relations

2) Registration 3) Participation in the event 4) Evaluation 5) Certificate Ceremony; (Online
Event).

The results of participating new normal student development activities of
students, teachers, and directors of Muaklek Technical College. It showed that Online
public relations represented 60.43%. Registration via Google Form represented 84.24%.
Online participation via Google meet, Facebook Live, Line, and Zoom represented
87.14%; Evaluating activities accounted for 75.56%. Students received certification of
attending all activities represented 68.81%.

Behaviors of activity participation showed that the highest scores of motivations

were ( ̅=4.80). The highest scores of Relationships with people or friends were ( ̅=4.84).

The highest scores of giving important on attending school activities was ( ̅=4.73). The

highest scores of taking part of school activities by seeing the benefits of school and

sociality was ( ̅=4.57).

The satisfaction of attending student development activities represented that;
the highest score of the satisfaction of online efficiency was ( ̅=4.60). The highest score



of satisfaction of convenient program for attending activities was ( ̅=4.61). The highest
score of satisfaction of participation activities at home or elsewhere was ( ̅=4.82). The
highest score of the appropriate period of arranging activities was ( ̅=4.67).
Keywords: Development of arranging activities, Online activities, Student activities,
Guidelines for developing activities.



กิตตกิ รรมประกาศ

การวิจัยเพื่อทำการศึกษา เรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนนักศึกษา
รูปแบบปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ฉบับนี้สำเร็จสมบูรณ์ได้ด้วยดีเพราะ
ได้รับความกรุณาช่วยเหลืออย่างดียิ่งจาก นายประเสริฐ เพ็ชร์สิงห์ ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิค
มวกเหล็ก ที่คอยให้คำแนะนำในการตรวจสอบแก้ไขข้อบกพร่องของรายงานวิจัยนี้ด้วยความเอาใจใส่
มาโดยตลอด ผ้วู จิ ัยขอกราบขอบพระคุณเปน็ อย่างสูงมาไว้ ณ ท่นี ด้ี ้วย

ขอขอบพระคณุ ดร.นรศิ แกว้ ศรนี วล ผู้อำนวยการวิทยาลยั สารพัดช่างชุมพร นางสาวอมรรัตน์
ไผ่อรณุ รตั น์ ผอู้ ำนวยการวิทยาลัยสารพัดชา่ งสระบุรี นายสรุ ชัย ใหมค่ ามิ ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิค
ลพบุรี แห่งที่ 2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรกนก วรหาญ หัวหน้าสาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมการ
เชื่อมมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เฉลิมพล
บุญทศ อาจารย์ประจำสาขาวิชาครุศาสตร์อตุ สาหกรรมอุตสาหการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
อีสาน วิทยาเขตขอนแก่น ท่ีกรุณาเปน็ ผูเ้ ช่ยี วชาญตรวจสอบ แกไ้ ข ใหข้ อ้ เสนอแนะในการสรา้ งเครื่องมือ
ทำรายงานวิจัยคร้ังนี้

ขอขอบพระคุณผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา คณะกรรมการ
ดำเนินงานองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทยและคณะกรรมการชมรมวิชาชีพทุกชมรม
ของวทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ทุกท่าน ทใ่ี ห้ความอนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถามและช่วยเหลือเก็บ
ขอ้ มูลทค่ี รบถ้วนจนทำใหก้ ารวิจัยครัง้ น้ีเสรจ็ สมบูรณ์

ขอขอบคุณ นางปณดา ป้อมสวุ รรณ นาวสาวชญาดา ป้อมสวุ รรณ เดก็ หญิงชลิดา ปอ้ มสุวรรณ
และญาติพี่น้องทุกคน ที่ให้การสนับสนุนและเป็นพลังผลักดันให้คำปรึกษา ให้ขวัญและกำลังใจ
มาโดยตลอด จนงานวจิ ัยน้ีเสรจ็ สมบรู ณ์

คณุ ประโยชน์ และคณุ ค่าของการศึกษาค้นคว้าฉบับน้ี ผ้วู ิจยั ขอมอบเป็นเครอ่ื งบูชาพระคุณบิดา
และมารดา ตลอดจนบูรพาจารย์ ผู้ประสิทธิประสาทวิชา และผู้มีพระคุณทุกท่าน ด้วยความสำนึก
ในบญุ คณุ เป็นอย่างสงู

วา่ ทรี่ ้อยตรชี ชั วาลย์ ปอ้ มสุวรรณ



สารบัญ หน้า

บทคัดยอ่ ภาษาไทย ค
บทคดั ยอ่ ภาษาอังกฤษ จ
กติ ตกิ รรมประกาศ ฌ

สารบัญตาราง 1
สารบญั รูป 1
บทที่ 1 บทนำ 5
5
1.1 ความสำคัญและความเปน็ มาของปัญหา 6
1.2 วัตถุประสงค์ของการวจิ ัย 6
1.3 ขอบเขตการวิจัย 7
1.4 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ 8
1.5 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั 8
1.6 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย 9
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง 10
2.1 แผนพฒั นาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธกิ ารฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
2.2 พระราชบัญญัตกิ ารอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551 12
2.3 ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหาร
14
สถานศึกษา พ.ศ. 2552 15
2.4 ระเบียบสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา วา่ ดว้ ยองค์การนกั วชิ าชพี ใน 16

อนาคตแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2557 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) 17
2.5 หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พ.ศ. 2562 17
2.6 หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพชั้นสงู พ.ศ. 2563 17
2.7 ความหมายของความปกติใหม่ (New Normal) 18
2.8 แนวคิดเกีย่ วกบั การบรหิ ารจัดการศึกษาท่ีสอดคลอ้ งกบั ความปกตใิ หม่ 20
21
(New Normal)
2.9 แนวคดิ และหลกั การเกยี่ วกบั การพัฒนา
2.10 การพัฒนารูปแบบ
2.11 กิจการนกั เรียน นกั ศึกษา
2.12 การสรา้ งแรงจูงใจในการเรยี นรู้
2.13 งานวิจยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง

สารบญั (ตอ่ ) ช

บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย หนา้
3.1 การกำหนดประชากรและกลุม่ ตวั อยา่ ง 24
3.2 เครอ่ื งมือทใี่ ช้ในการวจิ ยั 24
3.3 การสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมอื 25
3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 27
3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 28
3.6 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 28
29
บทท่ี 4 ผลการวจิ ัย 31
4.1 ข้อมูลทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม 31
4.2 การมสี ว่ นรว่ มต่อแนวทางการพฒั นา การจดั กจิ กรรมนกั เรียนนกั ศกึ ษา 32
รปู แบบปกติใหม่ (New Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็
4.3 พฤตกิ รรมต่อการเข้ารว่ มกจิ กรรมนกั เรยี น นกั ศึกษา 33
รปู แบบปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหลก็
4.4 ความพงึ พอใจต่อการเข้ารว่ มกิจกรรมนักเรยี น นักศึกษา 35
รปู แบบปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก
39
บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 39
5.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย 39
5.2 วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย 40
5.3 สรปุ ผลการวิจยั 42
5.4 อภปิ รายผลการวจิ ยั 46
5.5 ข้อเสนอแนะ 47
50
บรรณานุกรม
ภาคผนวก ก ขออนญุ าตดำเนนิ การวจิ ยั 54
ภาคผนวก ข แนวทางการพฒั นากิจกรรมนักเรยี น นกั ศึกษา ในรูปแบบปกตใิ หม่ 67
74
(New Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหล็ก 86
ภาคผนวก ค แบบสอบถามการวิจัย 89
ภาคผนวก ง ขออนุญาตเชญิ ผ้เู ช่ียวชาญตรวจเคร่อื งมือวจิ ัย
ภาคผนวก จ ผลการวิเคราะหค์ ุณภาพเครื่องมือท่ใี ชใ้ นการวจิ ัย
ภาคผนวก ฉ การทดลองใชเ้ คร่อื งมือในการวิจัย (Try-Out)

สารบัญ (ต่อ) ซ

ภาคผนวก ช เก็บข้อมลู การวจิ ยั หน้า
ภาคผนวก ซ เผยแพร่งานวิจัย 93
ประวตั ิผูท้ ำวจิ ัย 95
123



สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า

3.1 แสดงจำนวนประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ นการวิจยั 24

4.1 แสดงจำนวนและร้อยละของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ครูและผ้บู ริหารทตี่ อบแบบสอบถาม 31

4.2 แสดงจำนวนและร้อยละของการมีสว่ นร่วมตอ่ แนวทางการพัฒนาการจัดกจิ กรรมของ 32

นักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บรหิ าร

4.3 แสดงคา่ เฉลี่ยและสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน เกย่ี วกับพฤติกรรมตอ่ การเข้าร่วมกิจกรรม 33

ด้านแรงจงู ใจของการเขา้ ร่วมกจิ กรรม

4.4 แสดงคา่ เฉลี่ยและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน เกีย่ วกับพฤตกิ รรมตอ่ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม 33

ดา้ นความสัมพันธ์กับบคุ คลอ่ืน

4.5 แสดงคา่ เฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เกย่ี วกับพฤติกรรมตอ่ การเข้าร่วมกิจกรรม 34

ด้านการใหค้ วามสำคัญกับกิจกรรม

4.6 แสดงค่าเฉล่ยี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน เก่ียวกับพฤตกิ รรมตอ่ การเขา้ รว่ มกจิ กรรม 35

ด้านการให้ความร่วมมอื ในการเข้ารว่ มกิจกรรม

4.7 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน เกย่ี วกับความพงึ พอใจตอ่ การเขา้ รว่ ม 36

กจิ กรรม ด้านโปรแกรมหรอื ระบบออนไลน์

4.8 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วม 36

กจิ กรรม ดา้ นความสะดวก

4.9 แสดงคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน เกย่ี วกับความพึงพอใจตอ่ การเข้าร่วม 37

กจิ กรรม ด้านระยะเวลาในการจัดกจิ กรรม

4.10 แสดงคา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เกีย่ วกับความพงึ พอใจตอ่ การเข้ารว่ ม 37

กิจกรรม ดา้ นการจดั กิจกรรม

1จ ผลการวเิ คราะห์คา่ ดัชนคี วามสอดคล้องของแบบสอบถาม 85



สารบัญรปู หน้า
รูปที่ 7
25
1.1 กรอบแนวคิดการวิจยั
3.1 แสดงแนวทางการพัฒนาการจดั กิจกรรมการพฒั นานกั เรยี น นกั ศกึ ษา ในรูปแบบ

ปกติใหม่ (New Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ความเปน็ มาและความสำคัญของปญั หา
สถานการณ์ของสังคมโลกปัจจุบันท่ีมีความผันผวนทั้งด้านเศรษฐกิจ ด้านการเมอื งการปกครอง

ด้านสังคมและวฒั นธรรม ความผันผวนที่เกิดขึน้ ดังกล่าวส่งผลต่อการพัฒนาในด้านต่าง ๆ และสร้าง
ความถดถอยให้กับสังคม ด้วยเหตุนี้การศึกษาของประเทศจำเป็นจะต้องตระหนักถึงการสร้างระบบ
การศกึ ษาที่ชัดเจนและสอดคล้องกับความผนั ผวนท่ีเกิดข้นึ จงึ จะทำให้ประเทศมคี วามสามารถที่จะยืน
หยัดอยไู่ ดอ้ ย่างมั่นคงและนำพาประเทศไปสู่ความเจรญิ งอกงามไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564 ได้น้อมนำหลัก “ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรชั ญานำทางในการพัฒนาประเทศอย่างต่อเนื่อง เพอื่ เสริมสร้างภูมคิ มุ้ กนั
และช่วยให้สังคมไทยสามารถยืดหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคงเกิดภูมิคุ้มกัน และมีการบริหารจัดการความ
เสี่ยงอย่างเหมาะสม ส่งผลให้การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืนซึ่งเป็นแผนแม่บทหลักของ
การพัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs)
รวมทั้งการปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ
นอกจากนนั้ ได้ให้ความสำคัญกับการมีสว่ นร่วมของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วนทง้ั ในระดับกลุ่มอาชีพ
ระดับภาค และระดบั ประเทศในทกุ ขน้ั ตอนของแผนฯ อยา่ งกวา้ งขวางและตอ่ เนือ่ งเพือ่ รว่ มกนั กำหนด
วสิ ัยทศั นแ์ ละทิศทางการพัฒนาประเทศ รวมท้ังร่วมจัดทำรายละเอยี ดยุทธศาสตร์ของแผนฯ เพื่อมุ่งสู่
“ความมั่นคง มัง่ ค่งั และยง่ั ยืน” และมีหลกั การท่ีสำคัญคือ “ยึดคนเปน็ ศนู ยก์ ลางของการพัฒนา” มุ่ง
สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีสำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มี
ทักษะมีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่ง
กระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักในภาคการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพคนของ
ประเทศ ได้นำหลักการดังกล่าวมากำหนดวสิ ัยทัศน์ความวา่ “มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรูค้ ูค่ ุณธรรม
มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม” (แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12
พ.ศ. 2560 – 2564)

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาเป็นหน่วยงานหลักทางการศึกษาที่รับผิดชอบการ
ฝึกอบรมวิชาชีพที่สอดคล้องกบั แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ
เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมท้ัง
ยกระดับการศึกษา วิชาชีพให้สูงขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน โดยนำ
ความรใู้ นทางทฤษฎอี ันเป็นสากล และภูมปิ ัญญาไทยมาพฒั นาผูร้ ับการศึกษาให้มีความร้คู วามสามารถ
ในทางปฏิบตั ิและมีสมรรถนะจนสามารถนำไปประกอบอาชพี ในลักษณะผู้ปฏิบัติหรือประกอบอาชีพ
โดยอิสระได้ (พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551) ดังนั้นสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศกึ ษาจึงได้มอบนโยบาย ระเบยี บแบบแผนใหส้ ถานศึกษาในสงั กดั นำไปสกู่ ารปฏิบตั ิ

สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาทุกสถานศึกษา ดำเนินงานตาม
นโยบายและระเบียบแบบแผนที่ต้นสังกัดกำหนด โดยกำหนดหน้าท่ีและการบริหารงานของ
สถานศึกษา ให้จัดการศึกษา ฝึกอบรมและส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชนให้เป็นไปตาม
กฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายวา่ ด้วยการอาชีวศกึ ษาและกฎหมายอื่นท่ีเกี่ยวข้อง ตาม
นโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เพื่อบรรลุวัตถปุ ระสงค์ดังกล่าวให้

2

สถานศึกษาดำเนินการจดั การศกึ ษาให้มคี วามทนั สมัย ยดื หยุ่น จัดการศกึ ษาโดยประสานความร่วมมือ
กับสถานศึกษาและหน่วยงานอื่น จัดการศึกษาโดยการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ จากทุกส่วน จัด
การศกึ ษาใหผ้ ู้เรียนเป็นผู้มีสมรรถนะทางวชิ าชพี ทำนบุ ำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ส่งเสริม
การกีฬา พลานามัยและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และในส่วนของการบริหารสถานศึกษา ให้สถานศึกษา
แบ่งการบรหิ ารงานออกเปน็ 4 ฝา่ ย ไดแ้ ก่ ฝา่ ยบริหารทรัพยากร ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ ฝ่าย
พัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา และฝ่ายวิชาการ (ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
วา่ ดว้ ยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552)

ฝ่ายพัฒนากจิ การนักเรียน นักศึกษา มีหน้าที่ในการจดั กิจกรรมพัฒนา นักเรียน นักศึกษา ตาม
ระเบยี บสำนกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา วา่ ด้วยองค์การนกั วชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2557 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) และแนวปฏิบัติประกอบระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา ว่าด้วยองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแหง่ ประเทศไทย พ.ศ. 2557 (ปรับปรุง พ.ศ. 2558)
และแก้ไขเพ่ิมเติม พ.ศ. 2560 โดยใหส้ ถานศึกษาจดั กิจกรรมหลักและกิจกรรมขององค์การนักวิชาชีพ
ในอนาคตแห่งประเทศไทย เป็นกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาความเปน็ เลิศดา้ นอาชวี ศกึ ษา
เพ่อื พฒั นาคุณภาพของสมาชกิ องคก์ ารนักวชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย ใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่งและ
มีความสุข คิดเปน็ ทำเป็น แกป้ ญั หาเปน็ ปรบั ตัวเข้ากับชมุ ชนหรือสงั คมท่ีเปล่ยี นแปลง มที ักษะความ
ชำนาญตามมาตรฐานวิชาชพี และมีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์สามารถดำรงชีวติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ ง
มีความสุข การจัดกิจกรรมขององค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย แบ่งกิจกรรมหลัก
ออกเปน็ 2 เป้าหมาย ดงั น้ี เปา้ หมายที่ 1 การพัฒนาสมาชกิ ให้เปน็ คนดีและมคี วามสขุ ประกอบด้วย
แผนพัฒนา 5 แผน เป้าหมายที่ 2 การพัฒนาสมาชิกให้เป็น คนเก่งและมีความสุข ประกอบด้วย
แผนพฒั นา 5 แผน

ในปี ค.ศ. 2019 (พ.ศ. 2562) ส่ือทง้ั ในและนอกประเทศได้เสนอขา่ วพบผู้ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนาสาย
พันธ์ใหม่ 2019 ขึ้นครั้งแรกในโลกที่ประเทศจีน ณ เมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.
2562 จากน้ันการแพร่ระบาดกระจายไปในหลายพนื้ ท่ี ไวรสั โคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 หรือไวรัสโค
โรนา 2019 (COVID-19) ทำใหผ้ ู้ทตี่ ิดเช้ือมีอาการปอดอักเสบรุนแรงเป็นสาเหตุของการเสียชีวิต โดย
ที่เชื้อไวรัสตวั นี้สามารถแพร่กระจายคนสู่คนผ่านการ ไอ จาม หรือสัมผัสกับสารคดั หล่ังของผู้ติดเช้ือ
ในประเทศไทยกระทรวงสาธารณสุขประกาศพบผู้ตดิ เชื้อภายในประเทศ เดือนมกราคม พ.ศ. 2563
และเกิดการแพรร่ ะบาดในประเทศเพ่มิ ข้นึ อยา่ งต่อเนือ่ งจนนำไปสู่การประกาศสถานการณฉ์ กุ เฉินของ
รัฐบาล และจัดตั้งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.)
เพื่อกำหนดมาตรการควบคุม ป้องกันการแพร่ระบาดของโรคในประเทศ ทำให้หน่วยงานต่าง ๆ ท้ัง
ภาครัฐและภาคเอกชนปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน มีการปรับลดวันเวลาทำงานและปรับลดคนที่จะ
ปฏบิ ตั งิ านในทีท่ ำงานเท่าที่จำเป็น และให้บางสว่ นทำงานที่บา้ น (Work from Home) แตส่ ถานการณ์
การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ในประเทศยังระบาดเปน็ ระลอก และมคี วามรุนแรง
อยู่ในหลายพื้นที่ ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการมีความหว่ งใยความปลอดภัยทางสุขภาพและระวังป้องกนั
นักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดและในกำกบั
ของกระทรวงศึกษาธิการไม่ต้องเสี่ยงกับการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ประกอบกับศูนย์บริหาร
สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) เห็นชอบการเลื่อนเวลาเปิดภาค
เรียนที่ 1 ประจำปีการศึกษา 2564 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศกำหนดแนว
ปฏบิ ตั ิการเปิดภาคเรยี นที่ 1 ประจำปกี ารศึกษา 2564 ดงั น้ี

3

ขอ้ 1 ให้โรงเรยี นและสถานศกึ ษาในสังกัดและในกำกบั ของกระทรวงศึกษาธิการเลื่อนภาคเรียนท่ี
1 ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 เปน็ วันที่ 14 มิถนุ ายน 2564

ข้อ 2 โรงเรยี นหรอื สถานศึกษาแหง่ ใดมีความพร้อม และประสงค์จะเปดิ ภาคเรียนที่ 1 ประจำปี
การศึกษา 2561 กอ่ นวันทีก่ ำหนดตามข้อ 1 ไหโ้ รงเรียนหรอื สถานศึกษาแห่งน้นั ดำเนนิ การ ดงั น้ี

(1) โรงเรยี นหรอื สถานศึกษาท่ตี ้ังอยูใ่ นพ้ืนทค่ี วบคมุ สงู สดุ และเข้มงวด (สีแดงเข้ม) ใหจ้ ดั การ
เรียนการสอนเฉพาะรูปแบบการจัดการศึกษาทางไกล (On Air, Online, On Demand, On Hand
ผ่านทางไปรษณยี ์) เท่านน้ั

(2) โรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาที่ตัง้ อยใู่ นพน้ื ท่ีควบคุมสงู สุด (สแี ดง) หรอื พ้ืนที่ควบคุม (สีส้ม)
สามารถจดั การเรียนการสอนไดท้ ั้ง 5 รูปแบบ (On Site, On Air, Online, On Hand, On Demand)
โดยรูปแบบ On Site นั้น โรงเรยี นหรอื สถานศึกษาตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ความพร้อมของระบบ
Thai Stop Covid + (TSC +) และไดร้ บั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัดก่อนท้ังน้ี
โรงเรียนและสถานศึกษาในสังกัดและในกำกบั ของกระทรวงศึกษาธิการต้องปฏบิ ัติตามมาตรการของ
กระทรวงสาธารณสุขโดยเคร่งครัด (ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่องการเลื่อนเวลาเปิดภาคเรียนท่ี
1 ประจำปีการศึกษา 2564 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประกาศ ณ วันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2564)
จึงเป็นเหตุให้โรงเรียนและสถานศึกษาที่อยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด จัดการเรียนการสอน
เฉพาะรูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลจนกว่าจะได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อ
จงั หวัดอนญุ าตใหโ้ รงเรยี นและสถานศึกษากลบั มาจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบ On Site ได้

จากประกาศของกระทรวงศึกษาดังกล่าวทำให้การดำเนินชีวิตของนักเรียน นักศึกษา และ
บุคลากรทางการศึกษาต้องจัดการเรียน การสอนที่บ้าน (Work from Home) เป็นเวลาหลายเดือน
จนลายเป็นชีวิตวิถีใหม่ (New Normal) ที่หลาย ๆ คนจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นรูปแบบการดำเนินชีวิตอย่าใหม่ที่แตกต่าง
จากอดีต ส่งผลให้แบบแผนและแนวทางปฏิบัตทิ ี่คนในสังคมคุน้ เคยอยา่ งเปน็ ปกติและเคยคาดหมาย
ล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ภายใต้หลักมาตรฐานใหม่ที่ไม่คุ้นเคย วิถีชีวิตของทุกคน
เปลี่ยนไป ต้องปรับเปล่ียนรูปแบบการใช้ชีวิตไปพรอ้ มกันทัว่ โลก ด้านการทำงานและการศึกษา ต้อง
ทำทกุ อย่างทีบ่ ้าน หากมคี วามจำเป็นตอ้ งออกจากบา้ นทุกคนต้องใส่หน้ากากเพื่อป้องกันโรค ต้องเว้น
ระยะห่างสำหรับบุคคล รวมถึงการปรบั เปล่ียนทางด้านธุรกิจและบรกิ ารต่าง ๆ ใหท้ ันต่อสถานการณ์
ปัจจุบัน มีการปรับเปลี่ยนไปสู่การเปิดระบบลงทะเบียนออนไลน์ การใช้ระบบซื้อ ขาย และบริการ
ทางออนไลน์ สิ่งนีเ้ กิดเป็นวถิ ีใหม่ในการดำรงชีวิต ซึ่งเม่ือทุกคนจำต้องปฏบิ ัติกันเป็นปกติต่อเนื่องใน
ระยะเวลาหนง่ึ จนเกิดเปน็ พฤติกรรม ในท่สี ดุ ทั้งหมดนี้กลายเปน็ New Normal ในระบบการศึกษาก็
เชน่ เดียวกัน ได้มีการประยกุ ตห์ ลกั การของ New Normal มาใช้ โดยมกี ารปรบั รปู แบบการเรียนการ
สอนในชั้นเรียน (On Site) เป็นการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์ (Online Learning) การ
ดำเนินงานในดา้ นการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา ก็เช่นกันต้องปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัด
กิจกรรมให้เป็นไปตามสถานการณ์ เพื่อให้เกิดความเหมาะสมต่อสถานการณ์แต่ยังคงเป็นไปตาม
วตั ถปุ ระสงค์ท่ีตัง้ ไว้

วิทยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ เป็นสถานศึกษาในสงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา
กระทรวงศกึ ษาธิการ ซ่งึ อยู่ในพืน้ ที่ควบคุมสูงสดุ และเข้มงวด (สแี ดงเขม้ ) มีการจดั การเรียนการสอน
2 หลักสูตร คือ หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) และหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้นั สูง
(ปวส.) เปิดสอน 3 ประเภทวชิ า ได้แก่ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม ประเภทวชิ าพาณิชยกรรม และ

4

ประเภทวิชาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ซึ่งมีนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) จำนวน 775
คน นกั ศึกษาระดับประกาศนียบตั รวิชาชีพชน้ั สงู (ปวส.) จำนวน 269 คน ครู 40 คน และผู้บรหิ าร 4
คน รวม 1,088 คน (รายงานข้อมูลจำนวนนักเรียน นักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 ข้อมูล ณ
วนั ท่ี 21 มิถุนายน 2564) ด้วยสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ที่ยังคง
ระบาดอย่างต่อเนื่องวิทยาลัยมีความจำเป็นในการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online
Learning) ตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการขณะเดียวกันในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
(ปวช.) พ.ศ. 2562 และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) พ.ศ. 2563 กำหนดให้
สถานศึกษาต้องจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ทุกภาคเรียน เพ่ือ
ส่งเสริมสมรรถนะแกนกลางและหรือสมรรถนะวิชาชพี ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบ
วินัยการต่อต้านความรุนแรง สารเสพติดและการทุจริต เสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลก
ในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมุข ทำนุบํารุงศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม ภูมิปญั ญาไทย ปลูกฝังจิตสำนึก
และจิตอาสาในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทำประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถิ่น ทั้งน้ี โดยใช้
กระบวนการกลุ่ม ในการวางแผน ลงมือปฏิบัติประเมินผลและปรับปรุงการทำงาน สำหรับการ
ประเมินผลกิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้เป็นไปตามระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
วา่ ด้วยการจดั การศกึ ษาและการประเมนิ ผลการเรียนตามหลักสตู ร กำหนดใหน้ ักเรียน นกั ศึกษา ต้อง
มีผลการประเมินเข้ารว่ มกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู ร เปน็ ผ (ผา่ น) ทุกภาคเรยี นจงึ จะสำเรจ็ การศกึ ษา

ผู้วิจัยซึ่งทำหน้าที่รองผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียน นักศึกษา ที่รับผิดชอบงาน
กิจกรรมนักเรียน นักศึกษาโดยตรง ได้เล็งเห็นถึงปัญหาในการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา
ในรูปแบบรวมกลุ่มในสถานศึกษาแบบเดิมท่ีไม่สามารถดำเนินการได้ เนื่องจากประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธกิ ารให้จัดการเรยี นการสอนเฉพาะรปู แบบการจดั การศึกษาทางไกลเท่าน้นั แต่การจัด
กจิ กรรมพฒั นานักเรียน นกั ศกึ ษา ตามหลกั สูตรยงั คงต้องดำเนินการต่อไปภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งในช่วงแรกที่ดำเนินการ Work from
Home พบว่าการจัดกจิ กรรมพัฒนานกั เรียน นกั ศกึ ษา ยังไมม่ แี นวทางหรือรปู แบบในการจัดกิจกรรม
ที่ชดั เจน ทำใหน้ กั เรียน นกั ศกึ ษา และครู ผ้บู รหิ าร เกิดความสบั สน ส่งผลให้จำนวนผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม
นอ้ ยลง และในบางกจิ กรรมไมส่ ามารถดำเนินการได้

จากสาเหตุขา้ งต้น ผู้วจิ ัยจงึ มีความสนใจรูปแบบการจัดกิจกรรมพฒั นา นักเรียน นักศึกษา ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่อเป็นแนวทางการพัฒนาการจัด
กจิ กรรมพัฒนานักเรียน นกั ศกึ ษา ในรูปแบบปกตใิ หม่ (New Normal) ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก
อันจะทำใหก้ ารจัดกิจกรรมพฒั นานกั เรยี น นักศกึ ษา ในโครงการต่าง ๆ ที่วางแผนไว้ได้ดำเนินการไป
อย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ต่อวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็กและสถานศึกษาในสังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาท่ีสนใจนำไปเปน็ ข้อมลู จัดกิจกรรมพฒั นานักเรียน นักศึกษา
ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 ใหด้ ีย่งิ ขนึ้ ผ้วู ิจัยจงึ มีแนวคิดประยุกต์
รูปแบบการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online Learning) มาพัฒนาเป็นแนวทางการจัด
กจิ กรรมพฒั นานกั เรียน นักศกึ ษา ในรปู แบบออนไลน์ ทนี่ ักเรยี น นักศกึ ษา ครแู ละผูบ้ ริหาร สามารถ
เข้าร่วมกจิ กรรม ผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรอื โทรศัพทม์ อื (สมารท์ โฟน) ไดท้ ี่บา้ นหรือทอี่ นื่ ๆ โดย
มีแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของ
วทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็ ไวด้ ังน้ี การประชาสัมพันธอ์ อนไลนผ์ า่ นส่ือโซเซยี ล การลงทะเบียนในระบบ

5

ออนไลน์ การจัดกิจกรรมรูปแบบออนไลน์ การประเมินผลรูปแบบออนไลน์ และการมอบเกียรติบัตร
ให้กับผู้เขา้ ร่วมโครงการในระบบออนไลน์

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจยั
1.2.1 เพ่อื สำรวจการมีส่วนร่วมของนักเรียน นักศึกษา ครแู ละผบู้ รหิ ารวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก

ต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal)
ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหลก็

1.2.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บหริหาร
วิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็กต่อการเข้าร่วมกจิ กรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็
1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั

การวจิ ัยครงั้ นเ้ี ป็นการศกึ ษาแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นกั ศกึ ษา รปู แบบ
ปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไดก้ ำหนดขอบเขตการวิจัย ดงั น้ี

1.3.1 ขอบเขตด้านเนอื้ หา
การวิจัยครัง้ น้ีศึกษาการจดั กิจกรรมในรปู แบบออนไลน์ ประกอบด้วย 5 ขน้ั ตอน
1) การประชาสัมพันธ์
2) การลงทะเบยี นเข้ารว่ มกจิ กรรม
3) การจดั กจิ กรรมพฒั นานกั เรยี น
4) การประเมินผล
5) การมอบเกยี รตบิ ตั ร

ภายใต้การจัดกิจกรรมระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยองค์การนัก
วิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย พ.ศ.2557 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ข้อ 26 การจัดกิจกรรมของ
องคก์ ารนกั วชิ าชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย แบง่ กิจกรรมหลักออกเปน็ 2 เปา้ หมาย ดังนี้

เป้าหมายท่ี 1 การพฒั นาสมาชิกให้เป็น คนดแี ละมคี วามสขุ ประกอบด้วย แผนพัฒนา 5 แผน
เป้าหมายท่ี 2 การพฒั นาสมาชกิ ให้เป็น คนเกง่ และมีความสุข ประกอบด้วยแผนพฒั นา 5 แผน
1.3.2 ขอบเขตดา้ นประชากร
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บริหาร วิทยาลัยเทคนิค
มวกเหล็ก ประกอบด้วย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 775 คน นักศึกษา
ระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) จำนวน 269 คน รวม 1,044 คน ครู 40 คน และผ้บู ริหาร
3 คน รวม จำนวน 43 คน รวมทั้งสิน้ 1,087 คน (ผู้บรหิ ารไม่รวมผู้วจิ ยั )
1.3.3 ตัวแปรท่ศี ึกษา

1) ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ประกอบด้วยข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบ
แบบสอบถาม และแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหล็ก

2) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ประกอบด้วยพฤติกรรมการเข้าร่วมกิจกรรม
พฒั นานักเรยี น นกั ศึกษา รูปแบบปกตใิ หม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ และความ

6

พึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษารูปแบบปกติใหม่ (New Normal) ของ
วิทยาลยั เทคนิคมวกเหลก็

1.3.4 ขอบเขตดา้ นพ้นื ที่ศึกษาและระยะเวลาในการศกึ ษา
พื้นที่ในการวิจัย วิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก 66 หมู่ 9 ตำบลมิตรภาพ อำเภอมวกเหล็ก

จงั หวดั สระบรุ ี ระยะเวลาทศี่ ึกษาปีการศกึ ษา 2564

1.4 นยิ ามศพั ท์เฉพาะ
1.4.1 แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรม หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงการจัดกิจกรรม

พัฒนานักเรียน นักศึกษา ในรูปแบบการจัดกิจกรรมรวมกลุ่มในวิทยาลัย เป็นการจัดกิจกรรมใน
รปู แบบออนไลน์

1.4.2 การจัดกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ หมายถึง การจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา
ผ่านโปรแกรมการประชุมออนไลน์ โดยใช้โปรแกรม Zoom, Google Meeting, Facebook live,
Line ท่ีผู้เข้าร่วมสามารถมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างการจัดกิจกรรมได้ รวมทั้งสามารถบันทึกไฟล์การจัด
กจิ กรรมออนไลน์เพ่ือใหด้ ยู อ้ นหลังได้

1.4.3 กิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา หมายถึง กิจกรรมเสริมหลักสูตร ท่ีดำเนินงานตาม
ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา วา่ ด้วยองค์การนกั วชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย
พ.ศ. 2557 (ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ในกิจกรรมหลกั 2 เป้าหมาย เป้าหมายที่ 1 การพัฒนาสมาชิกให้
เป็น คนดีและมีความสุข ประกอบด้วย แผนพัฒนา 5 แผน เป้าหมายที่ 2 การพัฒนาสมาชิกให้เปน็
คนเกง่ และมคี วามสุข ประกอบด้วยแผนพัฒนา 5 แผน

1.4.4 รูปแบบปกติใหม่ (New Normal) หมายถึง การจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา
รูปแบบออนไลน์ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
จนกลายเป็นความปกตใิ หม่

1.4.5 พฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) หมายถึง การกระทำหรือความรู้สึกของผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วยด้านแรงจูงใจของ
ด้านการเขา้ ร่วมกจิ กรรม ด้านความสมั พันธ์กบั บคุ คลอ่นื ด้านการใหค้ วามสำคัญกับกจิ กรรม และด้าน
การใหค้ วามรว่ มมอื ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม

1.4.6 ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษารูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) หมายถงึ ทศั นคติหรือความรสู้ ึกของผู้เขา้ รว่ มกิจกรรม ประกอบด้วยดา้ นโปรแกรมออนไลน์
หรือระบบออนไลน์ ด้านความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรม ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ด้าน
เน้อื หาของกจิ กรรม

1.4.7 นักเรียน หมายถงึ ผเู้ รียนในหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.)
1.4.8 นักศกึ ษา หมายถึง ผูเ้ รียนในหลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชพี ช้นั สงู (ปวส.)

1.5 ประโยชนท์ ีค่ าดว่าจะได้รบั
1.5.1 ได้แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New

Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็
1.5.2 นกั เรยี น นกั ศึกษา วิทยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ ไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร ตามเกณฑ์

การใชห้ ลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี พ.ศ. 2562 และประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู พ.ศ. 2563

7

1.5.3 ผู้ที่สนใจสามารถนำแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพฒั นานักเรียน นักศึกษา รูปแบบ
ปกตใิ หม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ท่ีได้จากการวิจยั ไปเป็นขอ้ มูลประยุกต์ใช้ให้
เหมาะกบั หน่วยงาน

1.6 กรอบแนวคดิ ในการวิจยั
ผวู้ จิ ยั ได้กำหนดกรอบแนวคิดในการวจิ ัย ประกอบดว้ ย ตัวแปรอสิ ระ คอื ขอ้ มลู ทั่วไปของผู้ตอบ

แบบสอบถามและแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New
Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ตัวแปรตาม พฤติกรรมและความพึงพอใจต่อนการเข้าร่วม
กจิ กรรมพัฒนานักเรียน นักศกึ ษา รปู แบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็

แปรอสิ ระ (Independent Variables) ตวั แปรตาม (Dependent Variables)

1) ขอ้ มูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม 1) พฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน
- เพศ น ั ก ศ ึ ก ษ า ร ู ป แ บ บ ใ ห ม ่ ( New Normal) ข อ ง
- ตำแหน่ง วทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก
- ระดบั การศึกษา
2) แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนา - แรงจงู ใจของการเขา้ ร่วมกิจกรรม
นักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ ( New - ความสมั พันธ์กับบคุ คลอื่น
Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ - การใหค้ วามสำคัญกับกิจกรรม
- การประชาสัมพันธ์ - การให้ความรว่ มมอื ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม
- การลงทะเบยี นรว่ มกิจกรรม 2) ความพึงพอใจต่อนการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนา
- การจดั กจิ กรรมออนไลน์ นักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของ
- การประมนิ ผล วิทยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก
- การมอบเกียรตบิ ัตร - โปรแกรม/ระบบออนไลน์
- ความสะดวกในการเขา้ รว่ มกจิ กรรมออนไลน์
- ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม
- เน้ือหาของกจิ กรรม

รูปท่ี 1.1 กรอบแนวคิดในการวิจยั

บทที่ 2
เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง

การวิจัยเรื่องการศึกษาแนวทางพัฒนาการจัดกิจกรรมนักเรียนนักศึกษา รูปแบบปกติใหม่
(New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ผู้วิจัยศึกษาแนวคิด ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัย
ทเี่ กย่ี วขอ้ งตามลำดับดังนี้

2.1 แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
2.2 พระราชบญั ญัตกิ ารอาชีวศกึ ษา พ.ศ. 2551
2.3 ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ว่าดว้ ยการบริหารสถานศกึ ษา พ.ศ. 2552
2.4 ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแหง่
ประเทศไทย พ.ศ. 2557 (ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560)
2.5 หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562
2.6 หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี ช้นั สงู พ.ศ. 2563
2.7 ความหมายของความปกติใหม่ (New Normal)
2.8 แนวคิดเกี่ยวกับการบรหิ ารจัดการศกึ ษาทีส่ อดคล้องกับความปกตใิ หม่ (New Normal)
2.9 แนวคิดและหลักการเกี่ยวกับการพัฒนา
2.10 การพฒั นารปู แบบ
2.11 กิจการนักเรียน นกั ศึกษา
2.12 การสรา้ งแรงจงู ใจในการเรยี นรู้
2.13 งานวิจัยทเี่ กย่ี วข้อง

2.1 แผนพัฒนาการศกึ ษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ถือเอา

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) เปน็ แมบ่ ทหลกั ในการพัฒนา
ประเทศท่ไี ด้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นกฎหมายบงั คับใช้ตง้ั แตว่ นั ท่ี 1 ตุลาคม 2559 ถึงวันที่
30 กันยายน 2564 น้ัน มหี ลกั การสำคญั คอื “ยึดคนเปน็ ศนู ย์กลางของการพฒั นา” มุ่งสร้างคุณภาพ
ชีวิตทด่ี ีสำหรับคนไทย พัฒนาคนใหม้ คี วามเปน็ คนที่สมบูรณ์ มีวินยั ใฝร่ ู้ มคี วามรู้ มีทักษะมีความคิด
สร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี รับผิดชอบต่อสังคม มีคุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ ใน
ฐานะหน่วยงานหลักในภาคการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพคนของประเทศ ได้ตระหนักถึง
ความสำคญั ดังกลา่ ว ดังนั้น ภายใตว้ สิ ยั ทัศน์ “มงุ่ พฒั นาผเู้ รยี นให้มีความรคู้ คู่ ุณธรรม มีคุณภาพชีวิตท่ี
ดี มีความสุขในสังคม” แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 –
2564) ฉบบั นจ้ี งึ ไดม้ ีการกำหนดยุทธศาสตร์และวางเป้าหมายที่สามารถตอบสนองการพัฒนาที่สำคัญ
ในดา้ นตา่ ง ๆ คือ

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ยุทธศาสตร์พฒั นาหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมนิ ผล
ที่มุ่งหวังให้คนไทยมีคุณธรรมจริยธรรม มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาประเทศใน
อนาคต ซงึ่ ตอบสนองการพฒั นาในดา้ นคุณภาพและด้านการตอบโจทย์บริบทท่ีเปลีย่ นแปลง

ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยทุ ธศาสตร์ผลิต พฒั นาครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา ที่มุ่งหวังให้มี
การผลิตครูไดส้ อดคล้องกับความต้องการในการจดั การศึกษาทกุ ระดับ ทุกประเภท และมีสมรรถนะ

9

ตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถใช้ศักยภาพในการสอนได้อย่างเตม็ ที่ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้าน
คณุ ภาพ

ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ผลิตและพัฒนากำลังคน รวมทั้งงานวิจัยที่สอดคล้องกับความ
ต้องการของการพฒั นาประเทศ ท่มี ่งุ หวังให้กำลังคนไดร้ บั การผลิตและพฒั นาเพ่ือเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพ
การแข่งขันของประเทศ และมีองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม สนับสนุนการพฒั นาประเทศอย่าง
ยง่ั ยืนซ่งึ ตอบสนองการพฒั นาในดา้ นคุณภาพ และดา้ นการตอบโจทย์บรบิ ททเ่ี ปลย่ี นแปลง

ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ขยายโอกาสการเข้าถึงบริการทางการศึกษาและการเรียนรู้อย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต ที่มุ่งหวังให้การบริการการศึกษาแก่ผู้เรยี นทุกกลุ่มทุกวัยในระดับที่เหมาะสมกบั
สภาพบริบทและสภาพพื้นที่ ซึ่งตอบสนองการพัฒนาในด้านการเข้าถึงการให้บริการและด้านความ
เท่าเทียม

ยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศกึ ษา ที่มุ่งหวังให้
คนไทยได้รับโอกาสในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งตอบสนอง
การพัฒนาในด้านการเขา้ ถึงการใหบ้ รกิ าร ดา้ นความเทา่ เทยี ม และด้านประสทิ ธิภาพ

ยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบบริหารจัดการ และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมใน
การจัดการศึกษา ท่ีมงุ่ หวังให้มีการใช้ทรัพยากรทั้งด้านงบประมาณและบุคลากรไดอ้ ย่างคุ้มค่า ไม่เกดิ
การสญู เปลา่ และมีความคลอ่ งตวั ซ่งึ ตอบสนองการพฒั นาในด้านประสทิ ธิภาพ

2.2 พระราชบัญญตั ิการอาชวี ศึกษา พ.ศ. 2551
มาตรา 6 การจัดการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวิชาชีพต้องเป็นการจัดการศึกษาในด้าน

วิชาชีพที่สอดคล้องกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตแิ ละแผนการศึกษาแห่งชาติ เพื่อผลิต
และพัฒนากำลังคนในด้านวิชาชีพระดับฝีมือ ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเป็นการ
ยกระดบั การศึกษาวิชาชีพให้สงู ขน้ึ เพื่อใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาดแรงงาน โดยนำความรู้
ในทางทฤษฎอี นั เป็นสากลและภูมิปญั ญาไทยมาพัฒนาผรู้ ับการศกึ ษาใหม้ ีความรู้ความสามารถในทาง
ปฏิบัติและมีสมรรถนะจนสามารถนำไปประกอบอาชีพในลักษณะผู้ปฏิบัติหรือประกอบอาชีพโดย
อิสระได้

มาตรา 7 การจดั การอาชีวศึกษาและการฝึกอบรมวชิ าชพี ให้จัดไดใ้ นสถานศกึ ษาอาชีวศึกษาและ
สถาบนั ตามทบ่ี ญั ญัตไิ ว้ในพระราชบญั ญัตนิ ้ี

มาตรา 8 การจัดการอาชวี ศึกษาและการฝึกอบรมวชิ าชพี ใหจ้ ดั ได้ โดยรปู แบบดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) การศึกษาในระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เน้นการศึกษาในสถานศึกษา

อาชีวศึกษาหรอื สถาบันเป็นหลัก โดยมกี ารกำหนดจุดมุ่งหมาย วิธกี ารศกึ ษา หลกั สูตร ระยะเวลาการ
วัดและการประเมินผลท่เี ป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศกึ ษาท่แี นน่ อน

(2) การศึกษานอกระบบ เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนด
จดุ มุ่งหมาย รปู แบบ วิธีการศกึ ษา ระยะเวลา การวัดและการประเมินผลท่ีเปน็ เงือ่ นไขของการสำเร็จ
การศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ
ตอ้ งการของบุคคลแต่ละกล่มุ

(3) การศึกษาระบบทวิภาคี เป็นการจัดการศึกษาวิชาชีพที่เกิดจากข้อตกลงระหว่าง
สถานศึกษาอาชีวศกึ ษาหรือสถาบันกับสถานประกอบการ รัฐวสิ าหกจิ หรือหน่วยงานของรัฐ ในเรื่อง
การจัดหลักสูตร การเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล โดยผู้เรียนใช้เวลาส่วนหนึ่งใน

10

สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบัน และเรียนภาคปฏิบัติในสถานประกอบการ รัฐวิสาหกิจหรือ
หนว่ ยงานของรัฐ

เพื่อประโยชน์ในการผลิตและพัฒนากำลังคน สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันสามารถจัด
การศึกษาตามวรรคหนง่ึ ในหลายรูปแบบรวมกนั ก็ได้ ทง้ั น้ี สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันน้ันตอ้ ง
มงุ่ เน้นการจัดการศกึ ษาระบบทวภิ าคีเป็นสำคญั

มาตรา 9 การจดั การอาชีวศกึ ษาและการฝกึ อบรมวิชาชพี ตามมาตรา 6 มาตรา 7 และมาตรา 8
ใหจ้ ัดตามหลักสตู รท่ีคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษากำหนด ดงั ต่อไปน้ี

(1) ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี
(2) ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพช้นั สูง
(3) ปรญิ ญาตรสี ายเทคโนโลยหี รอื สายปฏิบัตกิ าร
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาอาจกำหนดหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อความรู้ หรือทักษะในการ
ประกอบอาชีพหรอื การศึกษาตอ่ ซง่ึ จัดขึ้นเป็นโครงการหรือสำหรับกลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะได้

2.3 ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ว่าดว้ ยการบรหิ ารสถานศึกษา พ.ศ. 2552
หมวด 1 หนา้ ทแ่ี ละการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา
ข้อ 7 สถานศึกษามีหน้าที่จัดการศึกษา ฝึกอบรมและส่งเสริมการประกอบอาชีพของประชาชน

ให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ กฎหมาว่าด้วยการอาชีวศึกษาและกฎหมายอื่นท่ี
เก่ียวข้อง ตามนโยบายของรัฐบาล และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเพอื่ บรรลุวัตถุประสงค์
ดังกลา่ วให้สถานศกึ ษาดำเนนิ การดงั ตอ่ ไปน้ี

(1) จัดการศึกษาให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่น สอดคล้องกับความต้องการของตลาดเรงงาน
สถานประกอบการ และการประกอบอาชพี อสิ ระ เพื่อการดำรงชีวิตตามสภาพเศรษฐกจิ สงั คม ท้องถน่ิ
วัฒนธรรมเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นการปฏิบัติงานจริง ตามความพร้อมและศักยภาพของ
สถานศึกษา

(2) จัดการศึกษาโดยประสานความร่วมมือกับสถานศึกษาและหน่วยงานอืน่ ท้ังในด้านการ
จัดการวิชาการ การใช้บุคลากรและทรัพยากรรว่ มกนั

(3) จัดการศึกษาโดยการระดมทรัพยากรด้านการเงิน ทรัพย์สิน และบุคลากรทั้งจากรัฐ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน เอกชน องค์กรเอกชน องค์กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น รวมทั้งความร่วมมือในการจัดกิจกรรม
และการจัดหาทุนเพ่อื พัฒนาการอาชีวศกึ ษา

(4) จดั การศกึ ษาให้ผู้เรียนเปน็ ผู้มสี มรรถนะทางวชิ าชพี สามารถประกอบอาชพี เปน็ พลเมอื ง
ดขี องสังคม มคี วามสามารถในการคิด เรียนรู้ วางแผนและพัฒนาตนเอง

(5) เป็นศูนย์การเรียนรดู้ ้วยตนเอง และการให้บริการวิชาชีพแก่ชมุ ชนและท้องถน่ิ
(6) วิจัยเพอ่ื พัฒนาองคค์ วามรเู้ ทคโนโลยีและนวตั กรรม
(7) ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ส่งเสริมการกีฬา พลานามัยและอนุรักษ์
ส่ิงแวดลอ้ ม
(8) ส่งเสริมการจัดการศึกษาเชิงธุรกิจ การรับงานการค้า และการรับจัดทำรับบริการ
รับจ้าง ผลติ เพ่ือจำหน่ายทส่ี อดคลอ้ งกบั การเรยี นการสอน
ข้อ 8 ให้สถานศกึ ษาแบง่ การบรหิ ารงานออกเปน็ ฝา่ ยดงั งน้ี

11

(1) ฝ่ายบรหิ ารทรัพยากร

(2) ฝ่ายแผนงานและความรว่ มมือ
(3) ฝา่ ยพฒั นากิจการนักเรยี น นกั ศกึ ษา
(4) ฝา่ ยวิชาการ

ข้อ 9 ฝ่ายบริหารทรัพยากร แบ่งออกเปน็ งานต่าง ๆ ดังนี้
(1) งานบรหิ ารงานท่ัวไป

(2) งานบคุ ลากร
(3) งานการเงิน
(4) งานการบญั ชี

(5) งานพัสดุ
(6) งานอาคารสถานท่ี

(7) งานทะเบียน
(8) งานประชาสัมพันธ์
ข้อ 10 ฝา่ ยแผนงานและความร่วมมือ แบ่งออกเป็นงานต่าง ๆ ดังน้ี

(1) งานวางแผนและงบประมาณ
(2) งานศนู ย์ขอ้ มลู สารสนเทศ

(3) งานความรว่ มมอื
(4) งานวจิ ัย พฒั นา นวตั กรรมและสิ่งประดิษฐ์
(5) งานประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

(6) งานสง่ เสรมิ ผลติ ผล การคา้ และประกอบธุรกิจ
(7) งานฟารม์ และโรงงาน (เฉพาะสถานศึกษาท่เี ปดิ ทำการสอน)

ขอ้ 11 ฝ่ายพัฒนากิจการนกั เรียน นกั ศึกษา แบ่งออกเป็นงานต่าง ๆ ดังน้ี
(1) งานกจิ กรรมนกั เรียน นกั ศกึ ษา
(2) งานครูทปี่ รกึ ษา

(3) งานปกครอง
(4) งานแนะแนวอาชพี และการจดั หางาน

(5) งานสวัสดกิ ารนักเรยี น นกั ศกึ ษา
(6) งานโครงการพิเศษและการบริการชุมชน
ขอ้ 12 ฝา่ ยวชิ าการ แบง่ ออกเป็นแผนกและงานดังนี้

(1) แผนกวชิ า
(2) งานพฒั นาหลักสูตรการเรียนการสอน

(3) งานวัดผลและประเมนิ ผล
(4) งานวิทยบรกิ ารและห้องสมุด
(5) งานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี

(6) งานสอ่ื การเรยี นการสอน
ข้อ 29 งานกิจกรรมนกั เรียน นักศึกษา มหี นา้ ที่และความรับผิดชอบดงั ต่อไปนี้

(1) สง่ เสริมและสนบั สนนุ การจัดตัง้ กจิ กรรมชมรมต่าง ๆ ขน้ึ ภายในสถานศกึ ษา

12

(2) ดำเนินการจดั ต้งั และควบคมุ ดแู ลองคก์ ารวชิ าชีพตา่ ง ๆ ขึน้ ในสถานศึกษา เชน่ องค์การ
เกษตรกรในอนาคตแหง่ ประเทศไทยในพระราชปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี (อกท.) องคก์ ารช่างเทคนิคในอนาคตแหง่ ประเทศไทย (อ.ช.ท.) องคก์ ารนักคหกรรมศาสตร์ใน
อนาคตแห่งประเทศไทย (อคท.) องค์การนักธุรกิจในอนาคตแห่งประเทศไทย (อธท.) องค์การช่าง
ศลิ ปหัตถกรรมในอนาคตแห่งประเทศไทย (อศท.) หรือองคก์ ารที่เรียกชอ่ื อย่างอน่ื ในลักษณะเดียวกนั

(3) จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่สถานศึกษา สังคม ชุมชน และกิจกรรมต่าง ๆ ในวัน
สำคัญของชาติ ศาสนาและพระมหากษตั รยิ ์

(4) จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพของนักเรียน
นักศึกษา และผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้สอคคล้องและเป็นไปตามนโยบายคุณธรรมพื้นฐานของ
กระทรวงศึกษาธิการ และตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งโครงการพัฒนานักเรียน
นกั ศกึ ษาดา้ นบุคลิกภาพและมนุษยสัมพันธ์

(5) ควบคมุ ดแู ลกจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารีวิสามญั และนกั ศกึ ษาวชิ าทหาร
(6) ส่งเสริมการกฬี า นันทนาการและศิลปวัฒนธรรมในสถานศกึ ษา
(7) ควบคุมและดำเนนิ การให้มกี ารจดั กจิ กรรมหน้าเสาธง
(8) ประสานงานและให้ความรว่ มมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ทง้ั ภายในและภายนอก
(9) สรุปผลการประเมินและนำผลการประเมินเสนอฝ่ ายบริหารและสำนักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
(10) จดั ทำปฏทิ นิ การปฏิบัติงาน เสนอโครงการและรายงานการปฏิบตั งิ านตามลำดบั ข้นั
(11) ดแู ล บำรุงรกั ษา และรับผดิ ชอบทรพั ยส์ ินของสถานศึกษาที่ไดร้ บั มอบหมาย
(12) ปฏิบตั งิ านอน่ื ตามทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย

2.4 ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่ง
ประเทศไทย พ.ศ. 2557 (ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560)
หมวด 1 องคก์ ารนกั วชิ าชีพในอนาคตแหง่ ประเทศไทย

ข้อ 5 ใหม้ อี งค์การนักวิชาชพี ในอนาคตแหง่ ประเทศไทย 4 ระดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) องค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับสถานศึกษาและให้ใช้ชื่อว่า

“องคก์ ารนกั วชิ าชพี ในอนาคตแหง่ ประเทศไทย” ตามด้วยชอ่ื ของสถานศกึ ษา และมีตวั ยอ่ วา่ “อวท.”
ตามด้วยชื่อย่อ ของสถานศึกษาหรือมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ASSOCIATION OF FUTURE THAI
PROFESSIONAL” ตามด้วย ชื่อภาษาอังกฤษของสถานศึกษา และ มีตัวย่อว่า “AFT.” ตามด้วยชื่อ
ยอ่ ภาษาอังกฤษของสถานศกึ ษา

(2) องคก์ ารนกั วชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดบั จังหวดั และใหใ้ ช้ชื่อว่า “องค์การ
นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับจังหวัด” ตามด้วยชื่อจังหวัด และมีตัวย่อว่า “อวท.
จังหวัด” ตามด้วยชื่อย่อของจังหวัด หรือมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ASSOCIATION OF FUTURE THAI
PROFESSIONAL” ตามด้วยชื่อภาษาอังกฤษของจังหวัด และมีตัวย่อว่า “AFT.” ตามด้วยช่ือ
ภาษาองั กฤษของจังหวดั

(3) องค์การนักวชิ าชีพในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ระดับภาคและใหใ้ ช้ช่ือว่า “องค์การนัก
วชิ าชีพในอนาคตแห่งประเทศไทยระดบั ภาค” ตามด้วยช่อื ภาค และมตี วั ยอ่ ว่า “อวท. ภาค” ตามดว้ ย

13

ชื่อย่อของภาค หรือมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ASSOCIATION OF FUTURE THAI ROFESSIONAL”
ตามดว้ ยช่ือภาษาอังกฤษของภาค และมตี ัวย่อ “AFT.” ตามด้วยชอ่ื ภาษาองั กฤษของภาค

(4) องคก์ ารนักวิชาชีพในอนาคตแหง่ ประเทศไทย ระดับชาติ และใหใ้ ช้ชื่อว่า “องคก์ าร นัก
วิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา” และมีตัวย่อวา่ “อวท.
สอศ.” หรือมีชื่อภาษาอังกฤษว่า “ASSOCIATION OF FUTURE THAI PROFESSIONAL OFFICE
OF VOCATIONALEDUCATION COMMISSION.” และมีตวั ย่อ “AFT.OVEC.”

ขอ้ 6 วัตถปุ ระสงคข์ ององคก์ ารนกั วชิ าชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย
(1) เพื่อให้นกั เรียน นักศึกษาอาชีวศึกษามีองค์การนกั วิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทยท่ี

บรหิ ารจดั การภารกจิ และกจิ กรรม ท่เี กย่ี วข้องกับการศกึ ษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
(2) เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอนด้านวิชาชีพ ในทุกสาขาวิชาที่เปิดสอนใน

สถานศึกษาให้ได้ผลดีย่ิงข้ึน
(3) เพื่อการประชาสัมพันธ์ แนะแนว เผยแพร่วิชาชีพให้แพร่หลายและเพิ่มโอกาสในการ

ประกอบอาชีพตามสาขาวิชาชพี ที่ได้ศกึ ษามา
(4) เพื่อสร้างความสามัคคี ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน นักศึกษา ทั้งในสถานศึกษา

เดียวกนั และตา่ งสถานศกึ ษา
(5) เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและพัฒนาความเจริญงอกงามทางด้านร่างกาย จิตใจ

อารมณ์ สงั คมและสตปิ ญั ญาของนกั เรยี น นกั ศึกษา
(6) เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี น นักศกึ ษา มคี วามสนใจ มสี ว่ นร่วมในการพฒั นาสถานศึกษา โดย

ใชค้ วามรู้ ความสามารถของตนใหเ้ ป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม
(7) เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างสถานศึกษากับองค์การนักวิชาชีพในอนาคต

แห่งประเทศไทย รวมทั้งสร้างความสัมพันธ์กับองค์กรอื่น และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาท้ัง
ภายในประเทศและตา่ งประเทศ

หมวด 4 การจดั กจิ กรรมหลกั
ขอ้ 25 กจิ กรรมหลักและการจัดกิจกรรมขององค์การนกั วิชาชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย เป็น
กิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนาความเป็นเลิศด้านอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพของสมาชิก
องค์การ นักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ให้เป็นคนดี คนเก่งและมีความสุข คิดเป็น ทำเป็น
แก้ปัญหาเป็น ปรับตัวเข้ากับชุมชนหรือสังคมที่เปลี่ยนแปลง มีทักษะความชำนาญตามมาตรฐาน
วิชาชพี และมคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคส์ ามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุข
ข้อ 26 การจัดกิจกรรมขององค์การนักวชิ าชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย ให้แบ่งกิจกรรมหลกั
ออกเป็น 2 เป้าหมาย ดังน้ี
เป้าหมายที่ 1 การพัฒนาสมาชิกให้เป็น คนดีและมีความสุข ประกอบด้วย แผนพัฒนา 5 แผน
ดงั นี้

(1) แผนการจดั กจิ กรรมเสรมิ สร้างบุคลกิ ภาพและความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม
(2) แผนการจัดกจิ กรรมเสรมิ สร้างสขุ ภาพ กฬี าและนันทนาการ
(3) แผนการจัดกจิ กรรมเสริมสร้างพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม
(4) แผนการจัดกจิ กรรมส่งเสรมิ ศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรม
(5) แผนการจดั กิจกรรมสง่ เสริมการอนรุ ักษธ์ รรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม

14

เป้าหมายที่ 2 การพัฒนาสมาชกิ ให้เป็น คนเก่งและมีความสุข ประกอบดว้ ยแผนพัฒนา 5 แผน
ดังนี้

(1) แผนการจดั กิจกรรมพัฒนามาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวิชาชพี
(2) แผนการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ ความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์
(3) แผนการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรแู้ บบบรู ณาการ
(4) แผนการจดั กิจกรรมพัฒนาความรู้ และความสามารถทางวชิ าการ
(5) แผนการจดั กจิ กรรมพฒั นานักเรียน นักศึกษา ใหม้ มี าตรฐานสูส่ ากล
นอกจากแผนการจัดกิจกรรมดังกล่าวแลว้ องค์การนักวชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับ
สถานศึกษาระดับจังหวัด ระดับภาค และระดับชาติ อาจจัดให้มีแผนการจดั กิจกรรมอื่น ๆ ทั้งนี้ต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารองค์การนักวิชาชีพในอนาคตแห่งประเทศไทย
ระดับชาติ
ข้อ 27 ให้องค์การนักวชิ าชีพในอนาคตแหง่ ประเทศไทยของแต่ละสถานศกึ ษา จดั ตั้งชมรมตาม
สาขาวชิ าที่สถานศึกษาเปิดสอนโดยใช้ชื่อว่า ชมรมวิชาชพี (ช่ือสาขาวิชา) สงั กัดองค์การนักวิชาชีพใน
อนาคตแห่งประเทศไทย ของสถานศึกษานนั้
ข้อ 28 ให้คณะกรรมการบริหารและคณะกรรมการดำเนินงานขององค์การนักวิชาชีพในอนาคต
แห่งประเทศไทย จัดประชุมวชิ าการ ระดับสถานศกึ ษา ระดบั จงั หวัด ระดบั ภาค และระดบั ชาติ อย่าง
น้อยปกี ารศึกษาละ 1 ครั้ง โดยให้มีการประกวด แสดง แขง่ ขัน หรอื เสนอผลงานของสมาชิกเกี่ยวกับ
กจิ กรรมหลกั กิจกรรมอน่ื ๆ เพอ่ื เป็นการพัฒนาหรอื ส่งเสรมิ ความกา้ วหนา้ ของสมาชิก
ขอ้ 29 ให้จดั ทาแผนงานโครงการกจิ กรรมหลัก กจิ กรรมอืน่ ๆ ระดบั สถานศกึ ษา ตามขอ้ 26 ข้อ
30 การจัดตั้งชมรมวิชาชีพและการแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานชมรมวิชาชีพ ให้จัดทำเป็น
ประกาศขององค์การนักวชิ าชพี ในอนาคตแห่งประเทศไทย ระดับสถานศึกษา

2.5 หลักสูตรประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ พ.ศ. 2562
จดุ หมายของหลักสตู ร
1. เพื่อใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะและประสบการณ์ในงานอาชีพสอดคลอ้ งกับมาตรฐานวชิ าชพี สามารถ

นำไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ เลือกวิถีการดำรงชีวิต และการ
ประกอบอาชีพได้อยา่ งเหมาะสมกับตน สร้างสรรคค์ วามเจริญตอ่ ชุมชน ท้องถิ่นและประเทศชาติ

2. เพ่ือให้เป็นผู้มีปัญญา มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ
ประกอบอาชพี มีทักษะการส่ือสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ทักษะการ
คิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา ทักษะด้านสุขภาวะและความปลอดภัย ตลอดจนทักษะการจัดการ
สามารถสร้างอาชพี และพฒั นาอาชีพให้กา้ วหนา้ อยู่เสมอ

3. เพ่ือให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความม่ัน ใจและภาคภูมิใจในวิชาชีพท่ีเรียน รักงาน
รักหน่วยงาน สามารถทำงานเป็นหมู่คณะไดด้ ี โดยมีความเคารพในสทิ ธิและหน้าที่ของตนเองและผอู้ ่ืน

4. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมท่ีดีงาม ทั้งในการทำงาน การอยู่ร่วมกัน การต่อต้าน
ความรุนแรงและสารเสพติด มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว หน่วยงานท้องถิ่นและประเทศชาติ
ดำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เขา้ ใจและเหน็ คุณคา่ ของการอนรุ ักษ์ศิลปวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาท้องถิ่นมีจิตสาธารณะและจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสร้าง
สิง่ แวดล้อมท่ีดี

15

5. เพื่อให้มีบุคลิกภาพท่ีดี มีมนุษยสัมพันธ์ มีคุณธรรม จริยธรรม และวินัยในตนเอง มีสุขภาพ
อนามยั ท่ีสมบรู ณ์ทง้ั ร่างกายและจิตใจ เหมาะสมกบั งานอาชพี

6. เพื่อให้ตระหนกั และมีสว่ นรว่ มในการแก้ไขปัญหาเศรษฐกจิ สังคม การเมืองของประเทศและ
โลกมีความรักชาติ สำนกึ ในความเป็นไทย เสียสละเพ่ือสว่ นรวม ดำรงรกั ษาไว้ซ่ึงความม่ัน คงของชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ

หลกั เกณฑก์ ารใชห้ ลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562
กจิ กรรมเสรมิ หลักสูตร
1. สถานศึกษาอาชีวศึกษาหรือสถาบันต้องจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 2

ช่ัวโมงต่อสัปดาห์ทุกภาคเรียน เพ่ือส่งเสริมสมรรถนะแกนกลางและหรือสมรรถนะวิชาชีพ ปลูกฝัง
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ระเบียบวินัย การต่อต้านความรุนแรง สารเสพติดและการทุจริต
เสริมสร้างการเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ ทำนบุ ำรงุ ศาสนาศลิ ปะวฒั นธรรม
ภมู ปิ ญั ญาไทย ปลูกฝงั จติ สำนกึ และจิตอาสาในการอนุรกั ษ์สิ่งแวดลอ้ มและทำประโยชน์ต่อชุมชนและ
ทอ้ งถนิ่ ท้ังนี้โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการวางแผน ลงมือปฏบิ ัติ ประเมินผล และปรบั ปรงุ การทำงาน
สำหรับนกั เรียนอาชวี ศึกษาระบบทวิภาคี ใหเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมที่สถานประกอบการจดั ขึ้น

2. การประเมินผลกิจกรรมเสริมหลักสูตร ให้เป็นไปตามระเบียบสำนักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาว่าด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ

2.6 หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวิชาชีพช้ันสงู พ.ศ. 2563
จุดหมายของหลกั สูตร
1. เพื่อให้มีความรู้ทางทฤษฎีและเทคนิคเชิงลึกภายใต้ขอบเขตของงานอาชีพ มีทักษะด้าน

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อใช้ในการดำรงชีวิตและงานอาชีพ สามารถศึกษาค้นคว้า
เพม่ิ เตมิ หรือศกึ ษาต่อในระดับที่สงู ข้ึน

2. เพื่อให้มีทักษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถบูรณาการความรู้
ทักษะจากศาสตร์ตา่ ง ๆ ประยุกตใ์ ชใ้ นงานอาชพี สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี

3. เพื่อให้มีปัญญา มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ วางแผน บริหาร
จัดการ ตัดสินใจ แก้ปัญหา ประสานงานและประเมินผลการปฏิบัติงานอาชีพ มีทักษะการเรียนรู้
แสวงหาความรู้และแนวทางใหม่ ๆ มาพัฒนาตนเองและประยุกตใ์ ช้ในการสร้างงานให้สอดคล้องกับ
วิชาชีพและการพฒั นางานอาชีพอยา่ งตอ่ เน่ือง

4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักหน่วยงาน
สามารถทำงานเป็นหมคู่ ณะได้ดี มีความภาคภมู ิใจในตนเองต่อการเรยี นวชิ าชพี

5. เพื่อให้มีบุคลิกภาพที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย์ มีวินัย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงท้ัง
ร่างกายและจติ ใจ เหมาะสมกับการปฏิบตั ิงานในอาชพี นน้ั ๆ

6. เพื่อให้เป็นผู้มีพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ต่อต้านความรุนแรงและสารเสพติด ทั้งในการ
ทำงาน การอยรู่ ่วมกนั มคี วามรบั ผิดชอบต่อครอบครวั องคก์ ร ทอ้ งถนิ่ และประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อ

16

สังคม เข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักในปัญหาและ
ความสำคญั ของสงิ่ แวดลอ้ ม

7. เพื่อให้ตระหนักและมีส่วนร่วมในการพัฒนาและแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเป็น
กำลงั สำคัญในด้านการผลติ และใหบ้ รกิ าร

8. เพอ่ื ให้เหน็ คุณคา่ และดำรงไว้ซ่งึ สถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ปฏิบัติตนในฐานะ
พลเมอื งดี ตามระบอบประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ

หลกั เกณฑ์การใช้หลกั สูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชัน้ สูง พ.ศ. 2563
กิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร
1. สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาหรือสถาบันตอ้ งจดั ให้มีกจิ กรรมเสรมิ หลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 2 ช่วั โมงต่อ

สัปดาห์ทุกภาคเรียน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะแกนกลางและหรือสมรรถนะวิชาชีพ ปลูกฝังคุณธรรม
จริยธรรม คา่ นยิ ม ระเบยี บวนิ ยั การตอ่ ตา้ นความรนุ แรง สารเสพตดิ และการทจุ ริต เสริมสรา้ งการเปน็
พลเมืองไทยและพลโลก ในด้านการรักชาติ เทิดทูนพระมหากษัตริย์ ส่งเสริมการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ไทย ปลูกฝังจิตสานึกและจิตอาสาในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและทาประโยชน์ต่อชุมชนและท้องถิ่น
ท้ังน้ี โดยใช้กระบวนการกลุ่มในการวางแผน ลงมือปฏบิ ัติ ประเมนิ ผล และปรบั ปรงุ การทำงานสำหรับ
นกั เรียนอาชวี ศกึ ษาระบบทวิภาคี ใหเ้ ข้าร่วมกิจกรรมทส่ี ถานประกอบการจัดข้ึน

2. การประเมินผลกจิ กรรมเสริมหลักสูตร ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการ
จัดการศึกษาและการประเมนิ ผลการเรยี นตามหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสงู

2.7 ความหมายของความปกตใิ หม่ (New Normal)
คำว่า “New Normal” ราชบัณฑิตยสภา ได้บัญญัติศัพท์ "New Normal" เพิ่มเข้ามา โดย รศ.

มาลี บุญศิริพันธ์ คณะกรรมการบัญญัติศัพท์นิเทศศาสตร์ราชบัณฑิตยสภา ได้อธิบายคำนี้ผ่านทาง
เฟซบุ๊ก Malee Boonsiripunth เอาไว้ว่า New Normal แปลว่า ความปกติใหม่, ฐานวิถีชีวิตใหม่
หมายถงึ รปู แบบการดำเนินชวี ิตอย่างใหม่ท่แี ตกต่างจากอดีต อนั เน่อื งจากมบี างส่งิ มากระทบ จนแบบ
แผนและแนวทางปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคยคาดหมายล่วงหน้าได้ ต้อง
เปล่ียนแปลงไปสวู่ ิถีใหม่ภายใต้หลกั มาตรฐานใหมท่ ีไ่ ม่คุ้นเคย

“New Normal” ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของ “โควิด-19” การใช้ชีวิตประจำวันจึง
จำเป็นต้องปอ้ งกันตนเองเพื่อให้มีชีวิตรอดด้วยการปรับหาวถิ ีการดำรงชีวิตแบบใหม่เพื่อให้ปลอดภัย
จากการติดเชื้อ ควบคู่ไปกับความพยายามรักษาและฟื้นฟูศักยภาพทางเศรษฐกิจและธุรกจิ นำไปสู่
การสรรค์สร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ เทคโนโลยีใหม่ ๆ มีการปรับแนวคิด วิสัยทัศน์ วิธีการจัดการ
ตลอดจนพฤติกรรม ทั้งในด้านอาหาร การแต่งกาย การรักษาสุขอนามัย การศึกษาเล่าเรียน การ
สื่อสาร การทำธรุ กิจ ฯลฯ ซ่งึ สงิ่ ใหม่ ๆ เหล่านีไ้ ด้กลายเปน็ ความปกตใิ หม่ จนในท่ีสุดเมอ่ื เวลาผา่ นไปก็
จะทำให้เกดิ ความคนุ้ ชินจนกลายเปน็ สว่ นหน่งึ ของวถิ ีชวี ิตปกติของผคู้ นในสงั คม
(สภุ าภรณ์ พรหมบตุ ร, 2563)

17

2.8 แนวคดิ เก่ยี วกบั การบริหารจัดการศึกษาทส่ี อดคล้องกับความปกตใิ หม่ (New Normal)
สุวิมล มธุรส (2564) โรคระบาดทำให้เกิดคำถามเกี่ยวกับระบบการศึกษาหลากหลายด้าน เช่น

เราจะออกแบบการเรียนรู้ในยุคโควิด -19 ให้มีประสิทธิภาพได้อย่างไร ทักษะและหลักสูตรโลก
การศึกษารูปแบบใหมห่ ลังจากนี้ควรมีหน้าตาแบบไหน เทคโนโลยีจะเข้ามามีบทบาทด้านการเรยี นรู้
หรอื ทำให้ความเหล่ือมล้ำย่ำแยก่ ว่าเดิมจริงหรือไม่ท่ีเราสามารถเปลี่ยนวกิ ฤตคร้งั นี้ใหก้ ลายเป็นโอกาส
ดา้ นการศกึ ษา จากความผดิ ปกติแบบใหม่ ท่ีไม่เหมือนเดิม (New Abnormal) ท่สี ง่ ผลกระทบต่อการ
จัดการศึกษาทำให้สถานศกึ ษาต้องอยู่ให้รอดต้องปรับตัวเพราะวกิ ฤตโควิด - 19 เป็นบททดสอบของ
ความจำเปน็ คร้ังใหญใ่ นการบริหารจดั การศกึ ษาทีต่ อ้ งปรับเปลีย่ นวธิ ีคิดใหม่ให้สอดคลอ้ งกับความปกติ
ใหม่ท่เี กิดขนึ้

การจัดการศึกษาแบบ Home School จะต้องมีมากขึ้น ดังนั้น บทบาทหน้าที่ของผู้ปกครองจงึ
มีความสำคัญมากขึ้น โดยพ่อแม่ผูป้ กครองจะต้องเป็นเสมอื นผู้ชว่ ยครู ที่ต้องทำงานร่วมกับครูในการ
ดูแลการศึกษาของเด็ก ขณะที่หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องต้องช่วยสนับสนุนการจัดการศึกษาที่เอื้อต่อการ
เรยี นรู้ การสร้างความเข้าใจทงั้ กับเด็กและผู้ปกครอง ซงึ่ ทุกฝ่ายตอ้ งชว่ ยกนั และกนั ประเทศไทยมีการ
จัดการศึกษาในรปู แบบทางไกล โดยมีท้ังแบบสดกับแบบแห้งที่สามารถเรียนย้อนหลังได้ อยา่ งตอนนี้มี
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรม
ราชูปถัมภ์ จัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศมาช่วยการเรียนการสอนส่วนระดับอุดมศึกษามี
การเรยี นผา่ นระบบอินเตอร์เนต็ ส่อื ออนไลน์ โซเซียลมีเดีย โปรแกรมต่าง ๆ มากมายทำให้สะดวกและ
เชื่อมโยงการศึกษาถึงตัวเด็กได้ง่ายมากขึ้น และเป็นการสื่อสารทั้งทางเดียวและสองทาง ฉะนั้นการ
เรียนผ่านออนไลน์ที่กำลังขับเคลื่อนอยู่ในขณะนี้ นอกจากเรียนตามหลักสูตรการเรียนการสอนแล้ว
ตอ้ งมกี ารจัดกจิ กรรมกระตนุ้ ให้เดก็ คิดตาม

2.9 แนวคิดและหลกั การเกย่ี วกับการพัฒนา
แนวความคิดเกี่ยวกับ “การพัฒนา” เริ่มมีมาตั้งแต่อดีตกาล ด้วยการที่มนุษย์เป็นสัตว์สังคม

ดำรงชวี ิตดว้ ยการอยูร่ วมกนั เป็นกล่มุ เปน็ สงั คมแล้วมีการคัดเลือกผนู้ ำเพอื่ ดำเนินการพัฒนากลุ่มของ
ตนเองเพือ่ การอยรู่ อดของเผ่าพันธุ์ อันเปน็ การปฏิบัติสืบต่อกนั มากระทั้งถึงปัจจุบันก็ยังคงต้องมีการ
พัฒนากันอยู่ตลอดไป การกำหนดแนวความคิดเกี่ยวกับการพัฒนาก็ได้รับอิทธิพลทางความคิดจาก
สำนักคิดต่าง ๆ เปน็ จำนวนมากดว้ ยเหตุดังกลา่ ว คำว่าการพฒั นาจงึ ไดก้ ลายเป็นคำทน่ี ิยมใช้กันอย่าง
แพรห่ ลายทั่วโลก เพราะจากการท่ปี ระเทศตา่ ง ๆ ใชค้ ำว่าการพัฒนาไปใช้ในหลายรูปแบบ กวา้ งขวาง
และแพร่หลาย เชน่ การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การเมอื งและการพัฒนาดา้ นอืน่ ๆ เป็นต้น
ดังนั้นการนำคำว่าการพัฒนาไปใชก้ จ็ ะมคี วามหมายแตกต่างกันออกไปตามวัตถุประสงคท์ ีน่ ำไปใช้

ชัยวฒั น์ สุรวิชยั (2559) ให้ความหมายของการพัฒนาตน การพัฒนาตน ตรงกบั ภาษาองั กฤษว่า
self-development หมายถึงการเปลี่ยนแปลงตัวเองให้เหมาะสมเพื่อสนองความต้องการและ
เปา้ หมายของตนเองหรอื เพ่ือให้สอดคลอ้ งกับ สิง่ ท่สี ังคมคาดหวงั การพฒั นาศักยภาพตนเอง

2.10 การพฒั นารูปแบบ
ประจวบ หนูเลี่ยง และคณะ (2558) การพัฒนารูปแบบ หมายถึงการทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งการ

กระทำหรือการดำเนินการ อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ดีข้นึ มีคณุ ภาพมากขน้ึ โดยผ่านกระบวนการวิธีการและ
เทคนิคทเี่ ป็นระบบและ ตอ่ เนอื่ งอันมีผลทำใหก้ ารกระทำหรือการเนนิ งานมปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธิผล
ทำให้ผลหรือผลผลิตมีคณุ ภาพเปน็ ท่ีนา่ พึงพอใจมากข้ึน

18

สำหรบั การพัฒนารูปแบบนนั้ อาจจะมีขั้นตอนในการดำเนินงานแตกต่างกันออกไป แต่โดยท่ัวไป
แล้วการพัฒนารูปแบบแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือการสร้างรูปแบบ และการหาความเที่ยงตรงของ
รูปแบบ ส่วนรายละเอียดในแต่ละขั้นตอนว่ามีการดำเนินการอยา่ งไรนั้นขึ้นอยู่กบั ลักษณะและกรอบ
แนวความคิด ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนานั้น ๆ โดยมีหลักการอย่างกว้าง ๆ เพื่อกำกับการสร้าง
รูปแบบไว้คือ รูปแบบควรประกอบขึ้นด้วยความสัมพันธ์อย่างมีโครงสร้างเชิงเส้นตรงแบบธรรมดา
อย่างไรกต็ ามความเชื่อมโดยแบบเส้นตรงธรรมดาทว่ั ไปนนั้ กม็ ีประโยชนโ์ ดยเฉพาะอย่างย่ิง ในการวิจัย
ในช่วงต้นของการพัฒนาซึ่งควรใช้เป็นแนวทางในการพยากรณ์ผลที่จะเกิดขึ้นจากการใช้รูปแบบได้
สามารถตรวจสอบได้โดยการสังเกตและหาข้อมูลสนับสนุนด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ ควรจะต้องระบุ
หรือชี้ให้เห็นถึงกลไกเชิงเหตุผลของเรื่องที่ศึกษา ดังนั้นนอกจากรูปแบบจะเป็นเครื่องมือในการ
พยากรณ์ไดค้ วรใชใ้ นการอธิบายปรากฏการณ์ได้ด้วย รูปแบบควรเป็นเครื่องมือในการสร้างมโนทศั น์
ใหม่และสร้างความสัมพนั ธ์ของตัวแปรในลักษณะใหม่ซง่ึ เป็นการขยายองค์ความรู้ในเรือ่ งทีก่ ำลังศึกษา
ดว้ ย

การพัฒนารูปแบบแล้วยังพบว่า การพัฒนารูปแบบที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลจนได้รับ
ความเช่อื ถือน้ัน จำเป็นจะตอ้ งมีขนั้ ตอนในการดำเนินงานสอดคลอ้ งกับ กระบวนการวิจัยและพัฒนา
ได้แก่ การกำหนดปัญหาของรูปแบบ การตั้งสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล
และการสรุปผลรวมท้ังได้รับการยนื ยันจากผู้เช่ยี วชาญตามกรอบแนวคดิ ซึ่งเป็นพ้ืนฐานในการพัฒนา
รูปแบบนั้นๆ และการทดลองใช้รปู แบบเพื่อวเิ คราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ในการนำรูปแบบไป
ใช้ สรุปได้ว่า การพัฒนารูปแบบแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน คือ การสร้างรูปแบบ และการหาความ
เทย่ี งตรงของรปู แบบเพอ่ื ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ สามารถยดึ เปน็ แนวทางในการบริหารจัด
การศึกษาได้

2.11 กิจกรรมนักเรยี น นกั ศึกษา
งานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา หมายถึง การส่งเสริมสนับสนุนจัดตั้งกิจกรรมชมรมต่าง ๆ ข้ึน

ภายในสถานศึกษา ดำเนนิ การจดั ต้ังและควบคมุ ดูแลองค์กรวิชาชีพ เช่น องค์การนักวชิ าชพี ในอนาคต
แห่งประเทศไทย (อวท.) หรือองคก์ ารทเ่ี รยี กช่อื อย่างอน่ื ในลักษณะเดียวกนั กิจกรรมท่ีเป็นประโยชน์
แก่สถานศึกษา สังคม ชุมชน และกิจกรรมตา่ ง ๆ ในวันสำคัญของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพของนักเรียน นักศึกษา และผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมให้สอดคล้องและเป็นไปตามนโยบายคุณธรรมพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการและตาม
ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงรวมทัง้ โครงการพฒั นานักเรียน นกั ศึกษา ดา้ นบุคลกิ ภาพและมนษุ ยส์ มั พันธ์
ควบคมุ ดูแลกิจกรรมลูกเสอื เนตรนารีวิสามัญและนักศกึ ษาวิชาทหาร ส่งเสริมการกฬี าและนนั ทนาการ
ดนตรี ศิลปะวัฒนธรรมในสถานศึกษา ควบคุมและดำเนินการให้มีการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง
ประสานงานและให้ความรว่ มมือกับหนว่ ยงานต่าง ๆ ท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา สรุปผลการ
ประเมินและนำผลการประเมินเสนอฝ่ายบริหารและสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดทำ
ปฏิทินการปฏบิ ัติงาน เสนอโครงการและรายงานการปฏิบัติงานตามลำดับขั้น ดูแล บำรุงรกั ษา และ
รบั ผดิ ชอบทรัพยส์ นิ ของสถานศึกษาที่ไดร้ ับมอบหมาย ปฏิบัติงานอน่ื ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมายกระตุ้นให้
บุคคลแสดงพฤติกรรมอยา่ งใดอย่างหน่ึงตามความต้องการหรือตามจุดม่งุ หมายท่กี ำหนดไว้

กจิ กรรมนักเรยี น นกั ศกึ ษา เป็นส่วนสำคญั ในการพัฒนานักเรยี น นกั ศกึ ษา ให้เป็นคนที่สมบูรณ์
พร้อมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เป็นส่วนสำคัญที่ต้องทำควบคู่ไปกับการเรียนการสอน โดยเฉพาะ

19

อย่างยิง่ ในระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) และรบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ช้ันสงู (ปวส.) ซึ่งเป็น
ช่วงรอยต่อที่สำคัญของชีวติ ท่ีนักเรียน นักศึกษา จะได้เตรียมความพร้อมสู่การทำงานและใช้ชวี ิตใน
สังคมต่อไป

สรุปวา่ กจิ กรรมนกั เรียน นกั ศึกษา เปน็ การกระทำทก่ี ่อใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลิน เกิดสัมพนั ธ์ภาพ
เกิดการโต้ตอบภายในกลุ่ม ทำให้สมาชิกได้รับประสบการณโ์ ดยกิจกรรมนักศึกษาอาจส่งเสริมความ
ถนัด ความสนใจ ความรู้ความบันเทิง ซึ่งนักเรียน นักศึกษาจะเข้าร่วมกิจกรรมโดยความสนใจและ
สมัครใจ เพ่ือเปน็ การพัฒนาด้านกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ซึ่งกจิ กรรม นักเรียน นักศกึ ษาอาจ
แบ่งเป็นกว้าง ๆ ได้ 2 ด้าน คือ กิจกรรมเพื่อพัฒนาตัวนักเรียน นักศึกษา เช่น กิจกรรมด้านกีฬา
กิจกรรมด้านวิชาการ และกิจกรรมเพื่อสังคม เช่น กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ ซึ่งแนวคิดกิจกรรมนี้
นำมาใชป้ ระกอบความเขา้ ใจในเรอื่ งการทำกิจกรรมนกั เรยี น นกั ศึกษา ซ่งึ มีหลายด้านโดยหมายความ
รวมถึงกิจกรรมท่ีนักเรียน นักศึกษาจัดทำขึ้นเองภายใต้การให้คำแนะนำของครูที่ปรึกษาในส่วนที่
วิทยาลัย จดั ทำข้ึนเพ่ือให้นักเรียน นกั ศกึ ษาเขา้ รว่ มซ่ึงอาจเปน็ กิจกรรมทัง้ ในและนอกเวลาเรียน เพ่ือ
เปน็ การพฒั นาตัวนกั เรียน นกั ศึกษาด้านกาย ใจ สงั คม และสติปัญญา

2.11.1 บทบาทของกจิ กรรมนกั เรียน นกั ศกึ ษา
1. กิจกรรมนักศึกษาเสริมความรู้และความเข้าใจในปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม กิจกรรม

นักศึกษามบี ทบาทต่อนักศึกษา มหาวิทยาลยั และภายนอก ครอบคลมุ ด้านวิชาการ บำเพ็ญประโยชน์
กีฬา วัฒนธรรม การเมอื ง ช่วยใหน้ ักศึกษารจู้ กั คิด ใช้เหตุผลทีเ่ ปน็ ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
เป็นการฝึกฝนความคิดซึ่งค่อนข้างเป็นหลักการที่จะเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และสามารถนำไป
ประกอบกับความรูท้ ่ไี ดจ้ ากทฤษฎใี นห้องเรยี นช่วยให้ความรู้ท่ไี ด้ในหอ้ งเรียนดยี ิ่งขน้ึ

2. เข้าใจหลักวิธีการปฏิบัติโดยอาศัยเหตุผล เข้าใจโลกและสังคม ตัดสินปัญหาด้วย
สตปิ ญั ญาโดยไมใ่ ช้อารมณ์ มหี ลกั การและทฤษฎีประกอบการตดั สินใจ

3. ผลตอ่ ชวี ติ นักศกึ ษา ช่วยนกั ศกึ ษาในการพัฒนาด้านสมอง มีความคิด เหตุผล และความ
รับผิดชอบ กอรปกับจริยธรรม คุณธรรม ปราศจากผลประโยชน์ต่าง ๆ ที่จะมาผูกพันที่จะก่อให้เกดิ
ความเอนเอยี งจากความเป็นธรรม

การจากพัฒนาจากอดีตสู่ปัจจุบันกิจกรรมนักศึกษาค่อนข้างซบเซาและมีการปรับเปลี่ยน
รูปแบบกิจกรรมนักศึกษา เป็นงานทุกประเภทที่นักศึกษาจัดขึ้นนอกเวลาเรียน ทั้งภายในและ
ภายนอกสถาบนั โดยทวั่ ไปจะไม่เกย่ี วขอ้ งกบั การเรียนในหลกั สตู รโดยตรง ไมม่ กี ารใหค้ ะแนน ไม่มีการ
บังคับให้เข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษา จะเข้ามาร่วมเพียงแต่สังเกตการณ์ได้ กิจกรรมจัดขึ้นเพื่อความ
สนกุ สนานเพือ่ ความรู้ และสนองความตอ้ งการและความสนใจของนกั ศึกษา เปดิ โอกาสใหน้ กั ศึกษาได้
นำความรู้ ความสามารถของตนมาใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์

2.11.2 ความหมายของกิจการนักเรียน นักศึกษา
นักการศึกษาและนักบริหารการศึกษา ได้ให้ความหมายของคำว่า กิจการนักเรียนไว้

หลากหลาย พอสรุปไดด้ ังน้ี
สุพิชญ์ ประจญยุทธ (2552 : 24) กล่าวว่า กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หมายถึง กิจกรรมที่จัด

อย่างเป็นกระบวนการด้วย วิธีการที่หลากหลาย เพิ่มเติมจากกิจกรรมตามกลุ่มการเรียนรู้ 8 กลุ่ม
มุ่งเนน้ ใหผ้ ู้เรียนได้พฒั นา ความสามารถตนเองตามศกั ยภาพ ตามความถนดั และตามความสนใจอย่าง
แทจ้ รงิ

20

ณัฐชยา ฐานสิ รและคณะ (2553 : 22) กลา่ ววา่ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน หมายถงึ กจิ กรรมที่
เป็นระบบประกอบด้วยรูปแบบวิธีการที่หลากหลาย ได้แก่ กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมในเคร่ืองแบบ
และกิจกรรมตามความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้รับ
ประสบการณ์จากการปฏิบตั จิ ริง มีความหมายและมีคณุ คา่ ในการพัฒนาผู้เรยี นทง้ั ดา้ นร่างกกาย จติ ใจ
สตปิ ัญญา อารมณ์และสังคม

จากความหมายการบริหารกิจการนักเรียน นักศึกษา ที่กล่าวมาสรุปได้ว่า งานกิจกรรม
นกั เรียน เปน็ งานท่เี กยี่ วขอ้ งกบั นกั เรยี น นักศึกษาโดยตรง นอกเหนอื จากการเรยี นการสอนตามปกติท่ี
มุ่งส่งเสริมการเรียนการสอนของนักเรยี น นักศึกษาทุกคน ให้เป็นผู้ที่มีความรูค้ วามสามารถ มีความ
ประพฤติที่ดีงาม มรี ะเบียบวนิ ยั ในตนเอง อันจะสง่ ผลใหน้ กั เรียนก้าวหน้าและประสบผลสำเร็จในการ
เรียนและการทำงานเมื่อสำเรจ็ การศึกษาออกไป

2.12 การสร้างแรงจงู ใจในการเรยี นรู้
2.12.1 ความหมายของแรงจงู ใจ
จากการศึกษาความหมายของแรงจูงใจจากงานวิจัยและบทความวิจัย พบว่า มีผู้ให้

ความหมายของแรงจูงใจไปในทิศทางเดียวกันว่า แรงจูงใจ หมายถึง ภาวะที่อยู่ภายในจิตใจหรือ
แรงผลักดันให้คนมีพฤติกรรม และกำหนดเป้าหมายหรือทิศทางของพฤติกรรมนั้น มีความ
กระตอื รอื ร้น และความเพียรพยามยามท่จี ะทำ และยังคงพฤติกรรมน้นั ตอ่ ไป ถา้ คนทีม่ ีแรงจูงใจสูงจะ
ใช้ความพยายามในการไปสู่เป้าหมายด้วยความมั่งมั่น และตั้งใจ แต่คนที่มีแรงจูงใจต่ำจะไม่แสดง
พฤติกรรม หรือยอมแพ้ก่อนบรรลเุ ป้าหมาย (สุกิจ ทวีศกั ด์ิ, 2555)

จงึ กลา่ วไดว้ ่าแรงจูงใจเป็นภาวะภายในจติ ใจของบุคคลหรือแรงผลกั ดนั ให้คนมีพฤติกรรมที่ได้รับ
การกระตุ้นจากสิ่งเร้า มีความเพียรพยายาม หรือความกระตือรือร้นที่จะทำบางอย่าง และยังคง
พฤติกรรมนั้นต่อไป ทำให้เกิดการแสดงออกถึงพฤติกรรมบางอย่าง และพฤติกรรมนั้นจะคงอยู่อย่าง
ถาวร หากคนที่มีแรงจูงใจสูงจะมีความพยายามในการบรรลเุ ป้าหมายสูง แต่คนที่มีแรงจูงใจต่ำจะไม่
แสดงออกถงึ พฤตกิ รรมและไมม่ คี วามพยายามท่ีจะทำให้บรรลเุ ปา้ หมาย

2.12.2 การสรา้ งแรงจูงใจในการเรียนรู้
การสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้ หากมีแรงจูงใจในการเรียนนรู้ก็จะสามารถนำสื่อออนไลน์

มาประยุกต์ใชใ้ นการเรียน เพมิ่ พูนความรคู้ วามสามารถและพฒั นาทกั ษะด้านตา่ ง ๆ ได้ ส่ิงที่สามารถ
สร้างแรงจูงใจได้ คือ ความพรอ้ ม และเป้าหมายของการเรียนรู้ ดงั นน้ั จึงทำให้เกิดความสมั ฤทธิ์ผลโดย
การสร้างแรงจูงใจในการเรียนมีผลกระทบต่อผู้เรียน เช่น บรรยากาศในห้องเรียน วิธีการสอน
กจิ กรรมในการเรยี นเนื้อหาทเี่ รยี นตลอดจนถงึ ความสนใจเปา้ หมายและแรงกดดันตา่ ง ๆ ของผูเ้ รียน

2.12.3 ประเภทของแรงจูงใจ
นกั การศกึ ษาและนกั จติ วทิ ยาไดแ้ บง่ แรงจงู ใจออกเป็น 2 ประเภท คือ
แรงจงู ใจภายนอก (Extrinsic motives) แรงจูงใจภายนอกเปน็ สิ่งทีผ่ ลักดนั ภายนอกของตัว

บคุ คล ท่มี ากระตนุ้ ให้เกิดพฤติกรรมอาจจะเป็นการได้รับรางวัล เกยี รติยศช่ือเสยี ง คำชม หรือการยก
ย่อง แรงจูงใจนี้ไม่คงทนถาวร บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองสิ่งจูงใจดังกล่าวเฉพาะกรณีท่ี
ต้องการสง่ิ ตอบแทนเทา่ น้ัน

แรงจูงใจภายใน (Intrinsic motives) แรงจูงใจภายในเป็นสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคล
ซงึ่ อาจจะเป็นเจตคติ ความคดิ ความสนใจ ความตั้งใจ การมองเหน็ คณุ ค่า ความพอใจ ความต้องการ

21

สิ่งตา่ ง ๆ ดงั กลา่ วน้มี ีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤติกรรมค่อนข้างถาวร เชน่ คนงานทเี่ ห็นองค์การคอื สถานท่ีให้ชีวิต
แกเ่ ขาและครอบครวั เขาก็จะรักภักดีต่อองค์การและองค์การบางแห่งขาดทุนในการดำเนินการก็ไม่ได้
จ่ายค่าตอบแทนที่ดีแต่ด้วยความผูกพันกับพนักงานก็ร่วมกันลดค่าใช้จ่ายและช่ว ยกันทำงานอย่าง
เต็มท่ี

ผลที่ได้จากการค้นคว้าจะเห็นได้ว่า การสร้างแรงจูงใจนั้นเป็นสิ่งสำคัญต่อผู้เรียนอย่างมาก ซึ่ง
หากผู้เรียนมีแรงจงู ใจในการเรยี นรู้ ทัง้ แรงจงู ใจภายนอกและแรงจงู ใจภายในจะส่งผลให้ผู้เรยี นมีความ
สนใจและสามารถตง้ั เป้าหมายให้กบั ตนเองในการเรียนรู้ได้อย่างดี ซ่งึ แรงจูงใจถือเป็นสง่ิ สำคัญในการ
ดึงดดู ใหผ้ คู้ นหนั มาสนใจหรอื ใช้ส่ือออนไลน์

จอมพงศ์ มงคลวนิช (2556 : 216) ให้ความหมายของ แรงจูงใจ คือ ความกระตือรือร้นในการ
ปฏิบัตงิ านของบุคลากรให้เปน็ ผลสำเร็จออกมา ซ่งึ จะได้ผลดีหรือไม่มากนอ้ ยเพยี งใดย่อมข้ึนอยู่กับว่า
ผู้บริหารจะสามารถจูงใจให้บุคลากรปฏิบัติงานด้วยความทุ่มเทได้ผลงานที่ดีอย่างไรหรือมากน้อย
เพียงใด

สัมมา รธนิธย์ (2556 : 133) กล่าวว่า แรงจูงใจ (Motivation) หมายถึง ความปรารถนาที่จะ
กระทำกิจกรรมใด ๆ ท่ีคิดว่ามีคุณค่าด้วยความเต็มใจของบุคคลในการที่จะอุทิศกายและใจในการ
ปฏิบัติ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายโดยได้รับรางวัลเป็นผลตอบแทนการกระทำนั้น ๆ เป็นสิ่งจูงใจ
(Incentives) ที่เป็นสิ่งเร้าที่มากระตนุ้ หากบคุ คลมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่องานและเพอ่ื นรว่ มงาน

สรุปได้ว่า แรงจูงใจ หมายถึง กระบวนการที่ทำให้พลังจากภายในจิตใจของบุคคล มีความ
ต้องการจะกระทำหรอื ปฏิบัติสงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ ใหป้ ระสบความสำเร็จและบรรลวุ ัตถุประสงค์หรือเป้าหมาย
ทว่ี างไว้

2.13 งานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง
ธนพรรณ ทรพั ย์ธนาดล (2553) การศกึ ษาเรอื่ ง ปัจจัยทมี่ ีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอน

บทเรยี นออนไลนข์ องมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า มีวัตถุประสงคใ์ นการศึกษาคอื เพื่อศกึ ษาปัจจัย
ที่มีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลน์ตามการรับรู้ของผู้บริหาร อาจารย์และ
นักศึกษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมากลุ่มเป้าหมายคือ ผู้บริหารจำนวน 21 คนอาจารย์จำนวน
192 คนและนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรภาคปกติในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2552
จำนวน 500 คน ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วิธกี ารวิจัยเป็นการวจิ ัยเชงิ สํารวจการวิเคราะห์
ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยด้านผู้บริหาร ปัจจัยด้านอาจารย์ปัจจัยด้าน
นักศึกษาและปัจจัยด้านสถานศึกษา ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรยี นการสอนบทเรียนออนไลนข์ อง
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

กรวรรณ สืบสมและนพรตั น์ หมพี ลัด (2560) ไดว้ ิจัยเรอื่ ง การพฒั นาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
แบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped classroom) ด้วยการบูรณาการการเรียนการสอนรายวิชา
เทคโนโลยีมัลติมีเดียผ่าน Google Classroom การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน (Flipped classroom) ผ่านห้องเรียนออนไลน์ Google
classroom 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน 3)
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนที่เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ห้องเรยี นกลบั ด้านผา่ น Google classroom และ 4) เพือ่ ประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ รยี นทม่ี ีต่อการ
จัดกิจกรรมห้องเรียนกลับด้าน โดยกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้คือ นักศึกษา สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

22

ชน้ั ปที ี่ 4 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครศรีธรรมราช จำนวน 36 คน โดยใช้การสุ่มอย่างง่าย
แบบวธิ ีการจบั สลาก จากนกั ศึกษา จำนวน 72 คน และเครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการวิจัยครงั้ น้คี อื ชดุ กจิ กรรม
การเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย แบบทดสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน และ แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ
ห้องเรียนกลับด้าน และห้องเรียนออนไลน์ Google classroom และผลการวิจัยในครั้งนี้พบว่า ผล
การหาประสิทธิภาพของสื่อที่พฒั นาจากแผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรูแ้ บบห้องเรยี นกลับด้านมีค่า
ความเชื่อม่ันเท่ากับ .90 ซึ่งอยูใ่ นเกณฑ์ท่ีมีความเชื่อม่ันสูง และจากการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผเู้ รียนระหวา่ งเรยี นและหลงั เรียนแตกต่างกันอยา่ งมนี ัยสำคัญทางสถติ ิท่รี ะดบั 0.05

สุรศักดิ์ คุณดิลกสิโรดม (2563) ได้วิจัยเร่ือง ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ด้วย
Application LINE โดยการใช้สื่อวิดิทัศน์ (VDO) ในรายวิชาการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพและ
สังคม (ลีลาศ) ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของ
การจัดกิจกรรมการเรยี นรูอ้ อนไลน์ด้วย Application LINE โดยการใชส้ ื่อ วิดิทัศน(์ VDO) ในรายวชิ า
การพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพและสังคม (ลีลาศ) ของนักศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ
ชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ 2. เพื่อศึกษาความ
พึงพอใจของนักศกึ ษาระดับชั้นนกั ศึกษาระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูงหลังเรยี นด้วยการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ด้วย Application LINE กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ
นักศกึ ษาระดบั ชัน้ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้ันสงู สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธุรกิจจำนวน 40 คน ได้มาจาก
การสุ่มแบบเจาะจงผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์ด้วย Application LINE โดยการใช้สื่อ
วดิ ทิ ัศน์ (VDO) ในรายวชิ าการพฒั นาทักษะชีวิตเพ่อื สขุ ภาพและสังคม (ลีลาศ) ของนักศกึ ษาระดับชั้น
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกจิ วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณชิ ยการ
มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา
หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ออนไลน์
ดว้ ย Application LINE โดยภาพรวมคา่ เฉล่ยี อยู่ในระดับมากท่ีสุด

ภิญโญ วงษ์ทอง (2564) ได้วิจัยเรื่อง การจัดการเรียนรู้ออนไลน์บนฐานวิถีชีวิตใหม่ สำหรับ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้
ออนไลน์บนฐานวิถีชีวิตใหม่สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย 2) ประสิทธิผลของรูปแบบ
การจัดการเรยี นรอู้ อนไลน์และ 3) แนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ออนไลนใ์ หเ้ หมาะสมกับบรบิ ท
ของโรงเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน วิธีออกแบบการวิจัยด้วย
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์และส่งให้กลุม่ ตัวอยา่ งคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4-6 โรงเรยี น
สาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์ จำนวน 208 คน และมีนักเรียน 148 คน ที่สมัครใจ
ให้ข้อมูล และตอบกลับแบบสอบถามออนไลน์ เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์และ
แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และ
การวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงคุณภาพ ผลการวจิ ยั พบว่า 1) ด้านรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 4
ขน้ั ตอน คอื ขั้นสำรวจและวิเคราะห์ ข้นั เตรียมการและวางแผน ขัน้ ดำเนนิ การและกำกับติดตาม ขั้น
ประเมินและสะท้อนผล 2) ด้านประสิทธิผลของการจัดการเรียนรู้ พบว่านักเรียนมีความพร้อมของ
เครื่องมือที่ใช้สำหรับการเรียนออนไลน์อยู่ในระดับมาก มีพฤติกรรมการเรียนรู้ออนไลน์อยู่ในระดับ
มาก และมีความพึงพอใจต่อการจดั การเรยี นรู้ออนไลน์อยู่ในระดบั มาก และ 3) ด้านแนวทางในการ

23

พัฒนารูปแบบการจดั การเรียนรู้ออนไลนใ์ ห้มีประสทิ ธิภาพโรงเรียนควรพัฒนาด้านการบริหารจัดการ
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ การใช้สื่อเทคโนโลยตี ลอดจนด้านครู นกั เรียน และผปู้ กครอง

สุขนิษฐ์ สงั ขสูตร และ จอมเดช ตรเี มฆ (2564) ได้วิจัยเรือ่ ง การศกึ ษาความพึงพอใจต่อรูปแบบ
การเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณก์ ารระบาด ของโรคตดิ เชื้อโควิด-19 ของมหาวิทยาลัยรังสิต
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์
ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ และศึกษาปัญหา อุปสรรค ต่อการจัดการ
เรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคตดิ เชอื้ โควิด-19 ของมหาวทิ ยาลัยรงั สิต โดย
ใช้แนวทางการวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ กลุ่มตัวอย่างคือนักศึกษา
มหาวิทยาลัยรังสิต จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา
การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า นักศึกษามี
ความคิดเห็นต่อความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยรังสิต ใน
ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก โดยด้านทมี่ ีความเหมาะสมมากที่สุดคือ ดา้ นปจั จัย ส่วนด้านผู้เรียน มีความ
เหมาะสมน้อยที่สุด กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์ของ
มหาวิทยาลยั รงั สิตในภาพรวมในระดบั มาก เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายด้านพบว่า มคี วามพงึ พอใจมากท่ีสุด
ด้านหลักสูตร/เนื้อหา ส่วนการวัดและการประเมินผลมีความพึงพอใจน้อยที่สุด กลุ่มตัวอย่างแสดง
ความคิดเห็นอย่างอิสระเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคของการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ พบว่ามี
ปญั หาเกยี่ วกบั ไม่มีสมาธใิ นการเรียน, มีการรบกวนของสภาพแวดล้อมรอบข้างขณะเรยี น, ร้สู ึกเบ่ือ, มี
ใบงาน/การบ้านเยอะเกินไป ดังนั้น ผู้สอนควรสอบถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพร้อมทั้งวาง
แผนการเรยี นการสอนร่วมกบั นักศกึ ษาเพอ่ื จดั การปญั หาเหล่านี้

มนธิชา ทองหตั ถา (2564) ไดว้ จิ ยั เร่อื ง สภาพการจัดการเรยี นรู้แบบออนไลน์ในสถานการณ์การ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของครูกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแอพ
พลิเคชันที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ของครูและ 2) ศึกษาปัญหาที่ครูพบในการจัดการ
เรยี นรู้แบบออนไลน์ กลมุ่ ตวั อยา่ งไดแ้ ก่ ครู กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ โรงเรยี นปากพนัง
จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 17 คน เคร่อื งมือท่ีใช้ในการวิจยั ได้แก่แบบสอบถามวธิ ีการวจิ ัยนี้เป็น
การวิจยั เชงิ สำรวจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใชส้ ถติ ิเชิงพรรณนา

ผลการศกึ ษาพบวา่ 1) แอพลิเคชนั ทคี่ รนู ยิ มใชใ้ นการจดั การเรยี นร้แู บบออนไลนม์ ากท่ีสดุ คือ
แอพลิเคชันไลน์ (Line) คิดเป็นร้อยละ 88.23 และ Google Meet น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 23.53
และ 2) ปัญหาที่ครูพบในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์คือ ปัญหาด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
สญั ญาณอินเทอร์เนต็ และโปรแกรมทใ่ี ช้สำหรับการเรยี นแบบออนไลนถ์ กู พบมากที่สุด ปญั หาทางด้าน
การเงิน ปญั หาด้านพฤตกิ รรมของนักเรียน เช่น การบรหิ ารจัดการเวลาและความรับผิดชอบตอ่ ตนเอง
ของนักเรียน นอกจากนั้นปญั หาดา้ นครอบครัวยงั ทำใหน้ กั เรียนบางสว่ นต้องทำงานเพอื่ แบ่งเบาภาระ
ครอบครัวขณะอยู่บา้ น

บทท่ี 3
วิธดี ำเนนิ การวิจัย

การวิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่

(New Normal) ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก คร้ังนี้ เปน็ การวิจยั เชงิ พรรณนา โดยมงุ่ เน้นศกึ ษาการจัด
กิจกรรมพฒั นานักเรียน นกั ศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโควิด-19 ซ่ึงหมายถึง

รูปแบบท่ีนักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บริหาร ใช้ในการจัดกิจกรรมผ่านทาง โปรแกรมออนไลน์ (Google
meet/ Facebook Live/ Line/Zoom) และศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา
ครูและผบู้ รหิ าร ทม่ี ตี อ่ การจัดกจิ กรรมรูปแบบออนไลน์ โดยมีข้ันตอนการดำเนนิ การวิจัย ดงั นี้

3.1 การกำหนดประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
3.2 เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั
3.3 การสรา้ งและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
3.4 การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
3.5 การวเิ คราะห์ข้อมลู

3.6 สถติ ทิ ใี่ ชใ้ นการวิเคราะหข์ อ้ มูล

3.1 การกำหนดประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บริหาร วิทยาลัยเทคนิค
มวกเหล็ก ประกอบด้วย นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน 775 คน นักศึกษา

ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำวนวน 269 คน รวม 1,044 คน ครู 40 คน และ
ผู้บรหิ าร 3 รวม จำนวน 43 คน รวมท้ังส้นิ 1,087 คน (ผูบ้ รหิ ารไม่รวมผ้วู ิจัย)

กลมุ่ ตวั อย่างทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรียนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) จำนวน

200 คน และนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำนวน 78 คน รวมทั้งหมด 278
คน โดยวธิ ีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) จากการหาขนาดกลมุ่ ตวั อย่างของเครจซีและ

มอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970 อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) กลุ่มตัวอย่างที่เป็นครู
จำนวน 30 คน ผู้บรหิ ารจำนวน 3 คน รวม 33 คน โดยวิธกี ารสมุ่ แบบเจาะจง (Purposive sampling)
รวมกล่มุ ตัวอย่างที่ใชใ้ นการศกึ ษาท้ังสิน้ 311 คน รายละเอยี ดดงั ตารางที่ 3.1

ตารางท่ี 3.1 แสดงจำนวนประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งที่ใช้ในการวจิ ยั

ตำแหน่ง จำนวนประชากร จำนวนกล่มุ
(คน) ตัวอย่าง (คน)

นกั เรยี นระดับประกาศนยี บตั รวิชาชพี (ปวช.) 775 200
78
นักศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสงู (ปวส.) 269 33

ครูและผบู้ รหิ าร 43 311

รวม 1,087

ทีม่ า : รายงานข้อมูลจำนวนนักเรยี น นกั ศึกษา ประจำปกี ารศกึ ษา 2564 ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 21 มิถุนายน
2564 (ภาคผนวก ก)

25

3.2 เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการวิจัย
จากที่ผู้วิจัยได้ประยุกต์รูปแบบการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ (Online Learning) มา

พฒั นาเป็นแนวทางการจดั กจิ กรรมพฒั นานักเรยี น นักศกึ ษา ในรูปแบบออนไลน์ ทน่ี กั เรยี น นกั ศึกษา
ครแู ละผบู้ รหิ าร สามารถเข้าร่วมกิจกรรม ผา่ นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรอื โทรศพั ทม์ อื (สมาร์ทโฟน)
ได้ที่บ้านหรือที่อื่น ๆ โดยมีงานกิจกรรมนักเรียน นักศึกษา เป็นหน่วยงานหลักที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
ดำเนินงานจัดกิจกรรมในโครงการต่าง ๆ ที่วางแผนไว้ ได้ดำเนินการไปอย่างต่อเน่ืองมปี ระสิทธิภาพ
ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 โดยกำหนดแนวทางการ
พัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิค
มวกเหลก็ ไว้ดังนี้

1) การประชาสัมพันธ์ เป็นขั้นตอนการประชาสัมพันธ์โครงการ กำหนดการ หรือรายละเอียด
เบื้องต้นของการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา ที่ผ่านการอนุมัติในแผนปฏิบัติการประจำปี
งบประมาณ เพื่อนำมาประชาสัมพันธ์ในสื่อออนไลน์ (Facebook, Line, Website, อื่นๆ) ก่อนจัด
กิจกรรม

2) การลงทะเบียนเข้าร่วมกจิ กรรม เป็นขัน้ ตอนนกั เรยี น นกั ศึกษา ครู และผู้บรหิ าร ลงทะเบียน
เขา้ ร่วมกจิ กรรมพฒั นานักเรยี น นกั ศกึ ษา ใน Google From ผา่ นโปรแกรมหรอื ระบบออนไลน์ ที่งาน
กจิ กรรมกำหนด

3) การจัดกิจกรรม เป็นขั้นตอนการมีส่วนร่วมในกิจกรรมพัฒนนานักเรียน นักศึกษา ของ
นกั เรียน นักศึกษา ครแู ละผู้บริหาร ทีจ่ ัดข้นึ ในรูปแบบออนไลน์

4) การประเมินผล เป็นขั้นตอนของนักเรียน นักศึกษา ที่เข้าร่วมกิจกรมมพัฒนานักเรียน
นักศึกษา ทำแบบทดสอบ และแบบประเมนิ ความพงึ พอใจออนไลน์ หลังจากไดเ้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม

5) การมอบเกยี รตบิ ัตร งานกจิ กรรมนักเรยี น นักศึกษา จดั ทำเกยี รตบิ ตั รสง่ ให้นกั เรียน นักศกึ ษา
ท่ีผ่านการเขา้ ร่วมกิจกรรมโดยสง่ ไปท่อี ีเมล หรอื ระบบออนไลนอ์ ่นื (ภาคผนวก ข)

รูปท่ี 3.1 แสดงแนวทางการพฒั นาการจัดกจิ กรรมพัฒนานกั เรยี น นักศกึ ษา ในรูปแบบใหม่
(New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็

26

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรม

พัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ซึ่งผู้วิจัย

ไดส้ รา้ งขน้ึ จากการรวบรวมเอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กี่ยวข้อง โดยแบบสอบถามมรี ายละเอียด ดังน้ี

คำชแี้ จงในการตอบแบบสอบถาม

1. ผ้ตู อบแบบสอบถาม ได้แก่ นกั เรยี น นักศึกษา ครู และผูบ้ รหิ าร

2. แบบสอบถามชุดน้ี มี 4 ตอน ประกอบดว้ ย

ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมลู ทว่ั ไปของนกั เรยี น นักศกึ ษา ครู และผบู้ ริหาร

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนา

นกั เรียน นักศกึ ษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็

ตอนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา

รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหลก็

ตอนที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อนการเข้ารว่ มกิจกรรมพฒั นานักเรยี น นักศกึ ษา

รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก

3. กรุณาตอบแบบสอบถามทุกข้อตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการจัด

กิจกรรมพัฒนานกั เรียน นกั ศึกษา รูปแบบปกตใิ หม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก

4. ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยนี้จะถูกเก็บเป็นความลับ ตาม

มาตรฐานจรยิ ธรรมการวจิ ัยในคนระดับสากลและพระราชบญั ญตั ิค้มุ ครองข้อมูลสว่ นบคุ ล พ.ศ. 2562

โดยจะไมเ่ สียผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบใด ๆ การตอบแบบสอบถามเป็นไปด้วยความสมัครใจ

ไม่มีการบังคับ หากผู้ตอบแบบสอบถามเกิดความรู้สึกไม่สะดวกใจที่จะให้ข้อมูล สามารถยุติการทำ

แบบสอบถามไดต้ ลอดเวลา มีเพยี งผูว้ จิ ยั เท่านน้ั ทจ่ี ะเข้าถงึ ขอ้ มูลได้ภายหลังเสร็จส้นิ การวิจัยข้อมูลจะ

ถกู ลบเหลอื เพียงตวั เลขท่ีใชว้ ิเคราะห์ทางสถิตเิ ท่านัน้ การรายงานผลการวิจัย กระทำในภาพรวมและ

จะดำเนินการด้วยความระมดั ระวัง รดั กมุ ไมม่ กี ารอ้างอิงถึงช่อื ผู้ใหข้ ้อมูล หรือขอ้ มลู สว่ นตัวใด ๆ ลง

ในเอกสารตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวกับการวิจัยครั้งน้ี และขอขอบคุณท่านทต่ี อบแบบสอบถาม มา ณ โอกาสน้ี

รายละเอียดเก่ยี วกบั คำถามดังน้ี

1. ด้านแรงจงู ใจของการเขา้ รว่ มกจิ กรรม จำนวน 4 ขอ้

2. ดา้ นความสมั พันธก์ บั บคุ คลอนื่ จำนวน 4 ขอ้

4. ดา้ นการใหค้ วามสำคัญกับกจิ กรรม จำนวน 5 ข้อ

5. ดา้ นการใหค้ วามร่วมมอื ในการเข้ารว่ มกิจกรรม จำนวน 5 ข้อ

โดยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินคา่ (Rating Scale) ทีส่ รา้ งข้นึ ตามทฤษฎกี ารสรา้ ง

เครื่องมอื ของลิเคิร์ท (Likert) และกำหนดเกณฑใ์ นการตอบด้วยวิธกี ารกำหนดนำ้ หนกั คะแนนเป็น 5

ระดับ (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545) ดงั นี้

5 หมายถึง พฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกจิ กรรมอยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ

4 หมายถงึ พฤตกิ รรมต่อการเข้ารว่ มกจิ กรรมอยใู่ นระดบั มาก

3 หมายถึง พฤตกิ รรมตอ่ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมอยู่ในระดับปานกลาง

2 หมายถึง พฤติกรรมต่อการเข้ารว่ มกิจกรรมอยใู่ นระดบั นอ้ ย

1 หมายถงึ พฤติกรรมต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยใู่ นระดบั นอ้ ยทีส่ ุด

27

ตอนที่ 4 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อนการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน

นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ประกอบด้วยข้อคำถาม

จำนวน 18 ขอ้ จำแนกตามความพงึ พอใจในการเข้ารว่ มกจิ กรรม รายละเอยี ดดงั นี้

1. ดา้ นโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ จำนวน 4 ข้อ

2. ดา้ นความสะดวกในการเข้ารว่ มกิจกรรม จำนวน 4 ขอ้

4. ดา้ นระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม จำนวน 2 ข้อ

5. ดา้ นเนอ้ื หาของกิจกรรม จำนวน 8 ข้อ

รายละเอียดแบบสอบถามแสดงในภาคผนวก ค

โดยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) ทสี่ รา้ งข้นึ ตามทฤษฎีการ

สร้างเครื่องมือของลิเคิร์ท (Likert) และกำหนดเกณฑ์ในการตอบด้วยวิธกี ารกำหนดน้ำหนักคะแนน

เปน็ 5 ระดับ (บญุ ชม ศรีสะอาด, 2545) ดังนี้

5 หมายถึง มีความพงึ พอใจต่อการเข้ารว่ มกจิ กรรมอยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด

4 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจตอ่ การเข้าร่วมกจิ กรรมอยใู่ นระดับมาก

3 หมายถึง มีความพึงพอใจต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยู่ในระดบั ปานกลาง

2 หมายถึง มีความพึงพอใจตอ่ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมอยูใ่ นระดับน้อย

1 หมายถงึ มีความพงึ พอใจตอ่ การเข้าร่วมกิจกรรมอยใู่ นระดับนอ้ ยที่สุด

3.3 การสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรม

พัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ซึ่งผู้วิจัย

ได้สรา้ งขน้ึ เพ่ือใช้ในการศกึ ษาวิจัยคร้ังน้ี มีขน้ั ตอนการสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมอื ดังน้ี
1. ศกึ ษาหลักการ ทฤษฎี แนวคดิ จากเอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องกบั แนวทางการพัฒนาการ

จัดกจิ กรรมพัฒนานกั เรยี น นักศึกษา
2. ศึกษาการจัดกิจการรมพัฒนานักเรียน นักศึกษาในรูปแบบปกติใหม่ (New Normal) ของ

วทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก เพือ่ กำหนดกรอบแนวคดิ ในการสรา้ งเคร่อื งมอื ใหส้ อดคล้องกบั วัตถุประสงค์

ของงานวจิ ยั
3. สร้างแบบสอบถามตามขอบเขตการวิจยั ท่กี ำหนดในวัตถุประสงคข์ องการวจิ ยั

4. นำแบบสอบถามที่สร้างขึ้นเสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน (รายละเอียดในภาคผนวก ค)
เพื่อตรวจสอบหาความเท่ยี งตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) โดยเน้นเนื้อหาทีถ่ กู ต้องและตรงตาม
วัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยการหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective

Congruence : IOC) ซง่ึ ข้อคำถามท่ีดีควรมีค่า IOC ใกลเ้ คียงกับ 1 ส่วนข้อคำถามท่ีมคี ่า IOC ต่ำกว่า
0.60 จะตอ้ งทำการปรบั ปรงุ แก้ไข (สุวิมล ติรกานันท์, 2555, หน้า 148) ซ่ึงแบบสอบถามทผ่ี ู้วจิ ยั สร้าง

ขน้ึ มีค่า IOC ตง้ั แต่ 0.80 - 1.00 (รายละเอยี ดในภาคผนวก จ) แต่มีบางขอ้ ต้องเปล่ยี นการใช้ภาษาให้
ส่ือความหมายไดอ้ ย่างชดั เจนตามขอ้ เสนอแนะของผเู้ ชยี่ วชาญ

5. นำแบบสอบถามที่ผ่านการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะจากผู้เชี่ยวชาญ ไปจัดพิมพ์เพ่ือ

นำไปทดลองใช้ (Ty out) กับนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ของวิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่
จำนวน 30 คน แลว้ นำผลทไี่ ด้มาทดสอบเพื่อหาคุณภาพของแบบสอบถามท้งั ฉบับ โดยการวิเคราะห์

หาความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม ซึ่งคำนวณโดยใช้วิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า

28

ของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.84 (รายละเอียดใน
ภาคผนวก ฉ)

6. จัดพิมพ์แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ในโปรแกรม Google from เพื่อใช้ในการเก็บรวบรวม
ข้อมูลจากกลมุ่ ตวั อย่าง

7. การพิทักษ์สิทธิกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่าง โดยอธิบายคำชี้แจงในการ
ตอบแบบสอบถาม ขอ้ มลู ของผ้ตู อบแบบสอบถามที่เกย่ี วข้องกบั การวจิ ัยนีจ้ ะถกู เกบ็ เป็นความลับ ตาม
มาตรฐานจริยธรรมการวิจัยในคนระดบั สากลและพระราชบญั ญัติคุ้มครองข้อมูลสว่ นบุคล พ.ศ. 2562
โดยจะไมเ่ สียผลประโยชน์หรือได้รับผลกระทบใด ๆ การเข้าร่วมโครงการวิจัยเป็นไปด้วยความสมัคร
ใจ ไมม่ ีการบังคับ หากผู้ตอบแบบสอบถามเกิดความรู้สึกไม่สะดวกใจทีจ่ ะใหข้ อ้ มลู สามารถยุติการทำ
แบบสอบถามไดต้ ลอดเวลา มีเพยี งผวู้ จิ ัยเทา่ นั้นทจ่ี ะเข้าถงึ ข้อมูลได้ภายหลงั เสร็จสิ้นการวิจัยข้อมูลจะ
ถูกลบเหลือเพียงตัวเลขที่ใช้วเิ คราะห์ทางสถิติเท่านัน้ การรายงานผลการวิจัย จะกระทำในภาพรวม
และจะดำเนนิ การด้วยความระมดั ระวัง รัดกมุ ไมม่ กี ารอา้ งอิงถึงชอ่ื ผู้ให้ข้อมูล หรือขอ้ มลู สว่ นตัวใด ๆ
ลงในเอกสารต่าง ๆ ทเ่ี ก่ยี วกบั การวิจัยคร้งั น้ี

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
ผู้วิจัยได้ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการแจกแบบสอบถาม ตามจำนวนประชากรด้วย

ตนเองเป็นขน้ั ตอน ดังนี้
1. ทำหนงั สือขออนญุ าตจัดเก็บข้อมลู ในสถานศกึ ษาตอ่ ผ้อู ำนวยการวทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก
2. นำแบบสอบถามที่เป็นฉบับสมบูรณ์ไปจัดทำแบบสอบถามในโปรแกรม Google from โดย

การเก็บตัวอย่างด้วยโปรแกรม Google Form จำนวน 311 คน จากการแชร์แบบสอบถามในกลุ่ม
Facebook และ LINE ของวทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็

3. รวบรวมขอ้ มลู แล้วทำการวเิ คราะห์ขอ้ มูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ไดแ้ ก่ ความถี่ และคา่ ร้อยละ
คา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

3.5 การวิเคราะห์ข้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูลและประมวลผลทางสถติ ิ ผวู้ ิจยั วิเคราะห์ข้อมลู โดยใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์

สำเร็จรูป เพอื่ หาค่าสถติ ิ ดังนี้
1. แบบสอบถามตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของนักเรียน นักศึกษา และครู ผู้บริหาร

วิเคราะห์โดยแจกแจงความถ่ี (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) โดยมีคำถามในลักษณะ
เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) จำนวน 3 ข้อ จากนั้นนำเสนอข้อมูลในรูปตาราง
ประกอบการบรรยาย

2. แบบสอบถามตอนที่ 2 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรม
พัฒนานักเรยี น นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก วิเคราะห์โดย
แจกแจงความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) โดยมีคำถามในลักษณะเป็นแบบ
ตรวจสอบรายการ (Check List) จำนวน 5 ข้อ จากนั้นนำเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบการ
บรรยาย

3. แบบสอบถามตอนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน
นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉล่ีย

29

(Mean : ̅) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D. ) สำหรับการแปลผลจาก

ค่าเฉล่ยี ผู้วิจยั ใช้เกณฑ์ดังน้ี (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)

คา่ เฉล่ีย ความคดิ เหน็ พฤติกรรมต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรม

4.50 – 5.00 มพี ฤติกรรมอย่ใู นระดับมากที่สดุ

3.50 – 4.49 มพี ฤติกรรมท่ีอยูใ่ นระดบั มาก

2.50 – 3.49 มพี ฤตกิ รรมอยูใ่ นระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 มพี ฤติกรรมอยใู่ นระดบั นอ้ ย

1.00 – 1.49 มพี ฤติกรรมอยใู่ นระดบั นอ้ ยทส่ี ุด

4. แบบสอบถามตอนที่ 4 แบบสอบถามความพงึ พอใจต่อนการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานกั เรียน

นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย

(Mean : ̅) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation: S.D.) สำหรับการแปลผลจาก

คา่ เฉล่ีย ผู้วิจัยใชเ้ กณฑ์ดงั น้ี (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545)

คา่ เฉล่ยี ความพงึ พอใจตอ่ นการเข้ารว่ มกจิ กรรม

4.50 – 5.00 มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากท่สี ดุ

3.50 – 4.49 มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก

2.50 – 3.49 มีความพงึ พอใจอยู่ในระดับปานกลาง

1.50 – 2.49 มคี วามพงึ พอใจอย่ใู นระดับนอ้ ย

1.00 – 1.49 มคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั น้อยท่ีสุด

3.6 สถิตทิ ใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

1. ค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC : Index of Item Objective Congruence) จาก
สตู ร (สวุ รยี ์ ศริ โิ ภคาภิรมย,์ 2546)

IOC = ∑ R
N

เมอ่ื IOC แทน ดัชนคี วามสอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ สอบกบั จุดประสงค์
∑ R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผ้เู ชี่ยวชาญ
N แทน จำนวนผเู้ ช่ียวชาญ

2. ค่าความเช่อื ม่ัน (reliability) ของแบบสอบถามโดยใช้สตู ร สัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอนบาค
(Cronbach’s Alpha Coefficient) จากสตู ร (Cronbach, 1970)

= [1 − ∑ 2 2 ]
−1

เมื่อ แทน คา่ ความเชอื่ มั่นของแบบสอบถามทงั้ ฉบับ

แทน จำนวนข้อในแบบสอบถาม

∑ 2 แทน ผลรวมของคา่ คะแนนความแปรปรวนเปน็ รายข้อ
2 แทน คะแนนความแปรปรวนของแบบสอบถามท้ังฉบับ

30

3. คา่ ร้อยละ จากสตู ร (สวุ รีย์ ศิริโภคาภิรมย์, 2546)

รอ้ ยละ = × 100


เมอ่ื แทน ความถ่ี
แทน จำนวนผตู้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด

4. การหาคา่ เฉล่ีย (Mean) ความเห็นของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมแนวทางการพัฒนากิจกรรมนักเรียน
นกั ศึกษา โดยใชส้ ูตร ดงั นี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2556)

̅ = ∑

N

เมื่อ ̅ แทน คา่ เฉล่ยี
∑ แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดในกลมุ่
N แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่

5. การหาคา่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D. ) โดยคำนวณจากสตู ร ดงั นี้
(บญุ ชม ศรสี ะอาด, 2556)

S.D. = √ ∑ 2−(∑ )2
( −1)

เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
แทน คะแนนแต่ละตวั
แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่
∑ แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมดในกลุม่

บทท่ี 4
ผลการวจิ ัย

การวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ 1) เพอ่ื สำรวจการมีสว่ นร่วมของนักเรียน

นักศึกษา ครูและผู้บริหารวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนา
นักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก 2) เพื่อศึกษา
พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บหริหารวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็กตอ่

การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานกั เรียน นกั ศกึ ษา รูปแบบปกตใิ หม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิค
มวกเหลก็ ผวู้ ิจัยไดน้ ำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล ตามลำดบั ดงั น้ี

4.1 ข้อมลู ทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ผวู้ ิจยั สรปุ ข้อมูลท่วั ไปของนกั เรยี น นักศกึ ษา ครู และผู้บริหาร วิทยาลยั เทคนิคมวกเหลก็ จำแนก

ขอ้ มูลผ้ตู อบแบบสอบถาม ได้แก่ เพศ ตำแหนง่ และระดับการศกึ ษา ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดงั น้ี

ตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนและร้อยละข้อมูลทั่วไปของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ที่ตอบ

แบบสอบถาม

ข้อ ขอ้ มูลทัว่ ไป จำนวน ร้อยละ
1 เพศ (นักเรียน นกั ศึกษา) จำนวน (n=278)
ชาย 182 65.47
หญงิ 96 34.53
เพศ (ครู ผบู้ ริหาร) จำนวน (n=33)
ครูชาย ผบู้ ริหารชาย 23 69.70
ครหู ญงิ 10 30.30
2 ตำแหนง่ จำนวน (n=311 )
นักเรยี น นักศึกษา 278 89.39
ครู ผบู้ รหิ าร 33 10.61
3 ระดบั การศึกษา จำนวน (n=311)
ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) 206 66.24
ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ช้ันสูง (ปวส.) 72 23.15
ปริญญาตรี 27 8.68
สงู กวา่ ระดับปริญญาตรขี ้ึนไป 6 1.93

จากตารางที่ 4.1 แสดงจำนวนและร้อยละของนกั เรียน นกั ศกึ ษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสว่ น

ใหญ่ของนักเรียน นักศึกษาเป็นเพศชาย จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 65.47 ครูและผู้บริหารท่ี

ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นครูชาย ผู้บริหารชาย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 69.70

ตำแหนง่ ส่วนใหญ่เปน็ นักเรียน นกั ศกึ ษา จำนวน 278 คน คิดเป็นร้อยละ 89.39 ระดับการศกึ ษาส่วน

ใหญ่เปน็ ระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชพี (ปวช.) จำนวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ 66.24

32

4.2 การมีส่วนร่วมต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่
(New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็

ผู้วิจัยสรุปข้อมูลการมีส่วนร่วมต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน

นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก จำแนกข้อมูลผู้ตอบ
แบบสอบถาม ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ การลงทะเบียน การจัดกิจกรรม การประเมินผล และการ

มอบเกยี รตบิ ัตร ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลดงั น้ี

ตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมของ

นกั เรยี น นักศึกษา ครู และผบู้ รหิ าร

ขอ้ การมสี ่วนร่วมตอ่ แนวทางการพฒั นาการจัดกิจกรรม จำนวน (n=311) ร้อยละ

1 การประชาสัมพันธ์

รับรู้จากการประชาสัมพันธ์ในครือข่ายสังคมออนไลน์ 188 60.45

(Facebook, Line) ของวทิ ยาลยั ฯ

รบั รูจ้ ากการประชาสัมพันธใ์ นเวบ็ ไซตข์ องวิทยาลัยฯ 26 8.36

รบั รกู้ ารประชาสมั พันธ์จากครูทีป่ รึกษา 86 27.65

รบั รู้จากปา้ ยประกาศภายในวิทยาลัยฯ 11 3.54

2 การลงทะเบียน

ลงทะเบียนใน Google From ทุกครงั้ 262 84.24

ระบบมีปัญหาไมส่ ามารถลงทะเบยี นได้ 18 5.79

ลงทะเบียนไม่ทันตามเวลาที่กำหนด 31 9.97

3 การจดั กจิ กรรม

เ ข ้ า ร ่ ว ม ก ิ จ ก รรม ผ ่ า น โ ป รแ ก รม ออ น ไ ล น ์ ( Google 271 87.14

meet/ Facebook Live/ Line/Zoom)

เขา้ รว่ มกิจกรรมไดเ้ ปน็ บางคร้ัง 26 8.36

ไมส่ ามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้ 14 4.50

4 การประเมนิ ผล

ทำแบบประเมนิ ผลกจิ กรรมทุกครง้ั ทีเ่ ขา้ รว่ ม 235 75.56

ทำแบบประเมนิ ผลกิจกรรมเป็นบางคร้งั ที่เข้ารว่ ม 51 16.40

ไมท่ ำแบบประเมินผลกิจกรรมทุกครงั้ ทเี่ ข้าร่วม 25 8.04

5 การมอบเกยี รติบัตร

ได้รบั เกยี รติบัตรทุกกิจกรรมท่เี ขา้ ร่วม 214 68.81

ได้รบั เกียรตบิ ตั รเป็นบางกิจกรรมที่เขา้ รว่ ม 43 13.83

ไม่เคยไดร้ บั เกียรติบัตรเลยสกั คร้งั 54 17.36

จากตารางที่ 4.2 แสดงจำนวนและร้อยละของการมีส่วนร่วมต่อแนวทางการพัฒนาการจัด

กิจกรรมของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ส่วนใหญ่พบว่า การประชาสัมพันธ์ รับบรู้จากการ

ประชาสัมพนั ธ์ในครือข่ายสงั คมออนไลน์ (Facebook, Line) ของวทิ ยาลัยฯ จำนวน 188 คน คดิ เป็น

ร้อยละ 60.45 การลงทะเบยี น ลงทะเบยี นใน Google From ทุกคร้งั จำนวน 262 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ

84.24 การจัดกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรมผ่านโปรแกรมออนไลน์ (Google meet/ Facebook Live/

33

Line/Zoom) จำนวน 271 คน คิดเปน็ ร้อยละ 87.14 การประเมินผล ทำแบบประเมนิ ผลกิจกรรมทุก

ครั้งที่เข้าร่วม จำนวน 235 คน คิดเป็นร้อยละ 75.56 การมอบเกียรติบัตร ได้รับเกียรติบัตรทุก
กจิ กรรมท่ีเขา้ รว่ ม จำนวน 214 คิดเป็นรอ้ ยละ 68.81

4.3 พฤตกิ รรมตอ่ การเขา้ ร่วมกจิ กรรมพฒั นานกั เรยี น นักศึกษา รปู แบบปกตใิ หม่ (New Normal)
ของวทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็

การวิเคราะหข์ ้อมูลเกีย่ วกบั พฤติกรรมตอ่ การเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียนนักศึกษา รูปแบบ

ปกตใิ หม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ ผู้วจิ ยั ได้ จำแนกขอ้ มลู พฤตกิ ารรมของผ้ตู อบ
แบบสอบถาม ไดแ้ ก่ ด้านแรงจงู ใจของการเขา้ รว่ มกิจกรรม ด้านความสมั พนั ธ์กบั บุคลอื่น ด้านการให้

ความสำคญั กบั กิจกรรม ด้านการให้ความร่วมมอื ในการเข้ารว่ มกจิ กรรม ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังน้ี

ตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม

ดา้ นแรงจูงใจของการเขา้ ร่วมกจิ กรรม

ท่ี พฤตกิ รรมตอ่ การเข้ารว่ มกจิ กรรม ความคิดเห็น

̅ S.D. แปลผล

1 ได้รบั เนอื้ หามีประโยชนต์ ่อการใช้ชวี ิตประจำวนั 3.81 .62 มาก

2 ได้รับสาระความรูท้ ี่นำไปปรบั ใช้ในการเรียน 4.54 .76 มากท่สี ดุ

3 ได้แลกเปลย่ี นความคดิ เปดิ โลกทัศน์ 4.13 .58 มาก

4 ไดร้ ว่ มกิจกรรมรูปแบบใหม่ 4.80 .67 มากทส่ี ดุ

ภาพรวมเฉลยี่ 4.32 .66 มาก

จากตารางที่ 4.3 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรมต่อการเข้าร่วม

กิจกรรม ด้านแรงจูงใจของการเข้าร่วมกจิ กรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมี

คา่ เฉล่ียอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.32, S.D.=.66) เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อโดยเรยี งตามลำดับจากมากไป

หาน้อยพบว่า ได้ร่วมกิจกรรมรูปแบบใหม่ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.80, S.D.= .67)
รองลงมาเป็นได้รับสาระความรู้ที่นำไปปรับใช้ในการเรียน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.54,

S.D.=.76) และได้แลกเปลีย่ นความคิด เปดิ โลกทศั น์ มคี า่ เฉล่ยี อยู่ในระดบั มาก ( ̅ =4.13, S.D.= .58)

สว่ นขอ้ ท่มี ีค่าเฉล่ียต่ำสดุ คอื ไดร้ ับเนอ้ื หามปี ระโยชนต์ ่อการใช้ชีวิตประจำวัน ค่าเฉลย่ี อยู่ในระดับมาก

( ̅=3.81, S.D.=.62)

ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรมตอ่ การเข้าร่วมกจิ กรรม

ด้านความสัมพันธ์กับบคุ ลอื่น

ท่ี พฤติกรรมต่อการเขา้ รว่ มกิจกรรม ความคิดเหน็

̅ S.D. แปลผล

1 ได้เรยี นรู้การทำงานร่วมกบั บุคคลอนื่ 3.96 .82 มาก

2 ไดพ้ บปะกับเพ่อื น และปรับตัวใหเ้ ข้ากบั บุคคลอื่น 4.84 .66 มากที่สุด

3 ได้รับรู้ แบ่งปัน ข้อมูลข่าวสารทเี่ ปน็ ประโยชน์ 4.75 .71 มากท่สี ดุ

4 ได้รบั ประสบการณแ์ ละมุมมองใหม่ ๆ 4.47 .64 มาก

รวมเฉลี่ย 4.51 .71 มากทสี่ ดุ

34

จากตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรมต่อการเข้าร่วม

กิจกรรม ดา้ นความสัมพนั ธ์กับบุคลอนื่ ของนกั เรียน นักศกึ ษา ครู และผบู้ ริหาร ภาพรวมมีค่าเฉล่ียอยู่
ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.51, S.D.= .71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงตามลำดับจากมากไปหา
น้อยพบว่า ได้พบปะกับเพื่อน และปรับตัวให้เข้ากับบุคคลอื่น มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด

( ̅=4.84, S.D.= .66) รองลงมาเป็นได้รับรู้ แบ่งปัน ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดบั มากที่สุด ( ̅=4.75, S.D.= .71) และได้รบั ประสบการณ์และมมุ มองใหม่ ๆ มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ

มาก ( ̅ =4.47, S.D.= .64) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกับบุคคลอ่ืน
ค่าเฉลยี่ อย่ใู นระดบั มาก ( ̅=3.96, S.D.=.82)

ตารางที่ 4.5 แสดงคา่ เฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เกย่ี วกบั พฤติกรรมต่อการเขา้ รว่ มกิจกรรม

ด้านการใหค้ วามสำคญั กบั กิจกรรม

ท่ี พฤติกรรมตอ่ การเข้ารว่ มกจิ กรรม ความคดิ เห็น

̅ S.D. แปลผล

1 ได้พฒั นาทักษะและการประยุกตใ์ ช้ 4.66 .81 มากท่ีสดุ

2 ได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะท่ีพึง 4.42 .60 มาก

ประสงค์

3 ได้พฒั นาตนเองให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสขุ 4.73 .62 มากทสี่ ุด

4 ได้พฒั นาบคุ ลกิ ภาพและความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง 3.84 .72 มาก

5 ได้พัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาการและ 3.37 .67 ปานกลาง

วิชาชพี

รวมเฉลี่ย 4.20 .68 มาก

จากตารางที่ 4.5 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรมต่อการเข้า

ร่วมกิจกรรม ด้านการใหค้ วามสำคญั กับกิจกรรม ของนักเรยี น นักศึกษา ครู และผบู้ ริหาร ภาพรวมมี

ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.20, S.D.= .68) เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อโดยเรียงลำดับ 3 อันดับแรก

จากมากไปหาน้อยพบว่า ได้พัฒนาตนเองให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ

มากท่ีสดุ ( ̅=4.73, S.D.= .62) รองลงมาได้พัฒนาทกั ษะและการประยกุ ต์ใช้ มคี ่าเฉลีย่ อยู่ในระดับมาก

ทสี่ ุด ( ̅=4.66, S.D.= .81) และได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะที่พงึ ประสงค์ มีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก ( ̅ =4.42, S.D.= .60) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยตำ่ สุดคอื ได้พัฒนาความรูค้ วามสามารถทาง

วิชาการและวชิ าชีพ คา่ เฉลย่ี อย่ใู นระดับปานกลาง ( ̅=3.37, S.D.=.67)

35

ตารางที่ 4.6 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรม

ด้านการให้ความรว่ มมอื ในการเขา้ รว่ มกิจกรรม

ท่ี พฤติกรรมต่อการเข้ารว่ มกิจกรรม ความคิดเหน็

̅ S.D. แปลผล

1 มีความตัง้ ใจเขา้ ร่วมกิจกรรม 4.26 .52 มาก

2 มสี ว่ นรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เป็นประชาธปิ ไตย 4.05 .60 มาก

3 มสี ่วนร่วมแสดงความความรูท้ างวชิ าการและ 3.38 .46 ปานกลาง

วชิ าชีพของตนเอง มาก
4 มสี ่วนร่วมสง่ เสรมิ จรรยาบรรณวิชาชีพของตนเอง 3.61 .74

5 มสี ่วนรว่ มกิจกรรมที่เป็นประโยชนแ์ กส่ ถานศึกษา 4.57 .63 มากทสี่ ุด
สงั คม ชุมชน

รวมเฉล่ีย 3.97 .59 มาก

จากตารางที่ 4.6 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับพฤติกรรมต่อการเข้า

รว่ มกจิ กรรม ด้านการใหค้ วามรว่ มมอื ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม ของนักเรียน นกั ศึกษา ครู และผูบ้ ริหาร

ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=3.97, S.D.= .59) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงลำดับ 3

อนั ดบั แรกจากมากไปหาน้อยพบว่า มีส่วนรว่ มกจิ กรรมท่ีเปน็ ประโยชนแ์ ก่สถานศกึ ษา สังคม ชมุ ชน มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.57, S.D.= .63) รองลงมาเป็นมีความตั้งใจเข้าร่วมกิจกรรม มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.26, S.D.= .52) และมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น เป็นประชาธิปไตย มี

ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.05, S.D.= .60) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ มีส่วนร่วมแสดงความ
ความรูท้ างวิชาการและวิชาชพี ของตนเอง ค่าเฉลีย่ อยใู่ นระดบั ปานกลาง ( ̅=3.38, S.D.=.46)

4.4 ความพงึ พอใจตอ่ การเขา้ รว่ มกจิ กรรมพฒั นานักเรียน นกั ศกึ ษา รปู แบบใหม่ (New Normal)
ของวิทยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็

การวิเคราะห์ขอ้ มลู เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา
รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็ ผู้วจิ ยั ได้ จำแนกขอ้ มลู ความพงึ พอใจของ
ผู้ตอบแบบสอบถาม ไดแ้ ก่ ดา้ นโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ดา้ นความสะดวกในการเข้าร่วมกจิ กรรม

ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม และดา้ นการจัดกจิ กรรม ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ดังนี้

36

ตารางที่ 4.7 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วม

กจิ กรรม ดา้ นโปรแกรมหรือระบบออนไลน์

ท่ี ความพงึ พอใจต่อการเข้าร่วมกจิ กรรม ความคดิ เห็น

̅ S.D. แปลผล

1 ความเหมาะสมของโปรแกรมหรอื ระบบออนไลน์ 4.60 .78 มากที่สุด

ในการจัดกิจกรรม

2 การเตรียมพร้อมของโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ 3.41 .62 ปานกลาง

กอ่ นการจัดกิจกรรม

3 มีความทันสมยั ง่ายต่อการเข้าใชง้ าน 3.92 .86 มาก

4 สามารถใชไ้ ด้กบั คอมพิวเตอรห์ รือโทรศัพทม์ อื ถือ 4.24 .51 มาก

(สมาร์ทโฟน) ได้ทกุ นิด

รวมเฉลย่ี 4.04 .69 มาก

จากตารางที่ 4.7 แสดงค่าเฉลี่ยและสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน เกีย่ วกับความพงึ พอใจต่อการเข้า

ร่วมกิจกรรม ด้านโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมี

ค่าเฉล่ยี อยู่ในระดบั มาก ( ̅=4.04, S.D.= .69) เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อโดยเรยี งตามลำดับจากมากไป

หาน้อยพบว่า ความเหมาะสมของโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ในการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน

ระดบั มากทส่ี ดุ ( ̅=4.60, S.D.= .78) รองลงมาเป็นสามารถใชไ้ ด้กับคอมพวิ เตอร์หรอื โทรศัพท์มือถือ
(สมาร์ทโฟน) ได้ทุกนิด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.24, S.D.= .51) และมีความทันสมัย ง่ายต่อ

การเข้าใช้งาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅ =3.92, S.D.= .86) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ การ

เตรียมพร้อมของโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ก่อนการจัดกิจกรรม ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง

( ̅=3.41, S.D.=.62)

ตารางที่ 4.8 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วม
กจิ กรรม ดา้ นความสะดวก

ท่ี ความพงึ พอใจต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรม ความคิดเห็น

̅ S.D. แปลผล

1 ข้นั ตอนการจดั กจิ กรรมงา่ ยตอ่ การเข้าร่วม 4.15 .67 มาก

2 รบั รู้การประชาสัมพนั ธก์ ิจกรรมจากหลายชอ่ งทาง 4.38 .85 มาก
เขา้ ถงึ ง่าย 4.61 .60 มากทส่ี ดุ

3 สามารถเขา้ ร่วมกจิ กรรมทบ่ี า้ น หรอื ท่ีอื่น ๆ ได้

4 สามารถ ถาม ตอบ ได้ในระหวา่ งรว่ มกิจกรรม 3.73 .57 มาก

รวมเฉลย่ี 4.22 .67 มาก

จากตารางที่ 4.8 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการเข้า

ร่วมกิจกรรม ด้านความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร
ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.22, S.D.= .67) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายข้อโดยเรียงตามลำดับ
จากมากไปหาน้อยพบว่า สามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่บ้าน หรือที่อื่น ๆ ได้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ทีส่ ุด ( ̅=4.61, S.D.= .60) รองลงมาเป็นรบั ร้กู ารประชาสัมพันธ์กิจกรรมจากหลายช่องทางเขา้ ถึงง่าย
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.38, S.D.= .85) และขั้นตอนการจัดกิจกรรมง่ายต่อการเข้าร่วม มี

37

ค่าเฉล่ยี อยูใ่ นระดับมาก ( ̅ =4.15, S.D.= .67) ) ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่ำสุดคือ สามารถ ถาม ตอบ ได้
ในระหวา่ งรว่ มกิจกรรม คา่ เฉล่ยี อยใู่ นระดบั มาก ( ̅=3.73, S.D.=.57)

ตารางที่ 4.9 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วม
กิจกรรม ด้านระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม

ท่ี ความพึงพอใจตอ่ การเข้าร่วมกิจกรรม ความคิดเห็น

̅ S.D. แปลผล

1 ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดั กจิ กรรม 4.82 .74 มากทีส่ ดุ

2 สามารถควบคุมเวลาได้ตลอดการจัดกิจกรรม 4.36 .58 มาก

รวมเฉลยี่ 4.59 .71 มากทสี่ ดุ

จากตารางที่ 4.10 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพงึ พอใจตอ่ การเขา้
ร่วมกิจกรรม ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมี

ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.59, S.D.= .71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงตามลำดับจาก
มากไปหาน้อยพบว่า ความเหมาะสมของระยะเวลาการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
( ̅=4.82, S.D.= .74) รองลงมาเป็นสามารถควบคมุ เวลาได้ตลอดการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลีย่ อยู่ในระดับ
มาก ( ̅=4.36, S.D.= .58) ตามลำดับ

ตารางที่ 4.10 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการเข้าร่วม
กจิ กรรม ด้านการจดั กิจกรรม

ท่ี ความพึงพอใจตอ่ การเขา้ ร่วมกจิ กรรม ความคดิ เห็น

̅ S.D. แปลผล

1 การเตรยี มสือ่ และความพร้อมของผู้ดำเนินการจดั กจิ กรรม 4.52 0.62 มากทสี่ ดุ

2 การถา่ ยทอดความรู้และความพรอ้ มของวิทยากร 4.67 0.75 มากทส่ี ุด

3 การอธิบายเนอ้ื หาไดช้ ัดเจนและตรงประเด็น 3.38 0.65 ปานกลาง

4 การใชภ้ าษาท่เี หมาะสมและเขา้ ใจงา่ ย 4.18 0.51 มาก

5 การสร้างแรงจูงใจตอ่ ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรม 3.94 0.54 มาก

6 การตอบขอ้ ซกั ถามได้เป็นอยา่ งดี 3.76 0.48 มาก

7 การนำความรู้ ทกั ษะ ไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน 4.21 0.83 มาก

8 การใชส้ ่อื และเอกสารประกอบการจดั กิจกรรม 3.35 0.47 ปานกลาง

รวมเฉล่ีย 4.00 .61 มาก

จากตารางที่ 4.11 แสดงค่าเฉลี่ยและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับความพึงพอใจตอ่ การเข้า

ร่วมกิจกรรม ด้านการจัดกิจกรรม ของนักเรยี น นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน

ระดับมาก ( ̅=4.00, S.D.= .61) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงลำดับ 3 อันดับแรกจากมากไปหา
น้อยพบว่า การถา่ ยทอดความรูแ้ ละความพรอ้ มของวทิ ยากร มคี ่าเฉลย่ี อยใู่ นระดับมากที่สดุ ( ̅=4.67,
S.D.= .75) รองลงมาเป็นการเตรียมสื่อและความพร้อมของผู้ดำเนินการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน

ระดับมากที่สุด ( ̅=4.52, S.D.= .62) และการนำความรู้ ทกั ษะ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน

38

ระดบั มาก ( ̅ =4.21, S.D.= .83) ส่วนขอ้ ทม่ี ีค่าเฉลี่ยต่ำสดุ คือ การใช้ส่อื และเอกสารประกอบการจัด
กจิ กรรม ค่าเฉลยี่ อยู่ในระดบั ปานกลาง ( ̅=3.35, S.D.=.47)

บทท่ี 5
สรุปผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ

การวิจัยเรื่อง แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนนักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ผ้วู ิจยั ไดด้ ำเนินการวิจัย สรุปผลการวิจัย รวมท้ังได้อภิปราย
ผล และข้อเสนอแนะ ดงั ตอ่ ไปน้ี

5.1 วตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ัย
5.1.1 เพอื่ สำรวจการมีสว่ นร่วมของนกั เรยี น นักศึกษา ครูและผบู้ รหิ ารวทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก

ต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของ
วทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหล็ก

5.1.2 เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บหริหาร
วิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็กต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนิคมวกเหลก็

5.2 วิธดี ำเนินการวจิ ยั
5.2.1 การกำหนดประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บริหาร วิทยาลัยเทคนิค

มวกเหล็ก คน ทงั้ หมด 1,087 คน ใชก้ ลมุ่ ตัวอย่างจาก นกั เรียนระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.)
จำนวน 200 คน นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) จำนวน 78 คน รวมทั้งหมด
278 คน โดยวิธกี ารสมุ่ แบบบงั เอญิ (Accidental Sampling) จากการหาขนาดกลมุ่ ตวั อย่างของเครจ
ซีและมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970 อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) กลุ่มตัวอย่างที่เป็น
ครูจำนวน 30 คน ผู้บริหารจำนวน 3 คน รวม 33 คน โดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive
sampling) รวมกลุม่ ตัวอย่างทใี่ ชใ้ นการศึกษาทัง้ หมด 311 คน

5.2.2 เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวจิ ยั
เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวจิ ัยในการรวบรวมข้อมูลเปน็ แบบสอบถาม ซึง่ การวเิ คราะหห์ าความเช่ือม่ัน
(Reliability) ของแบบสอบถามไดเ้ ทา่ กับ 0.84 โดยแบบสอบถามแบง่ ออกเปน็ 4 ตอน ดงั นี้
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกีย่ วกับข้อมลู ทั่วไปของนักเรียน นักศึกษา และครู ผู้บริหาร โดยมี
คำถามในลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) จำนวน 3 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับการมีส่วนรว่ มในแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพฒั นา
นักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก โดยมีคำถามใน
ลกั ษณะเปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Check List) จำนวน 5 ขอ้
ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเกีย่ วกับพฤติกรรมต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา
รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก เป็นแบบมาตรตราส่วนประเมินค่า
(Rating Scale) กำหนดน้ำหนกั คะแนนเปน็ 5 ระดับ ประกอบด้วยขอ้ คำถาม จำนวน 18 ข้อ
ตอนที่ 4 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อนการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน
นักศึกษา รปู แบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็ เป็นแบบมาตรตราส่วนประเมิน
คา่ (Rating Scale) กำหนดนำ้ หนักคะแนนเป็น 5 ระดับ ประกอบดว้ ยข้อคำถาม จำนวน 18 ขอ้


Click to View FlipBook Version