The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Boonsri Boonma, 2022-08-30 02:15:29

วิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพ

วิจัยเรื่อง แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพ

40

5.2.3 การเก็บรวบรวมข้อมลู
ผวู้ ิจยั ไดท้ ำหนงั สือขออนญุ าตใช้แบบสอบถามเพอื่ จัดเก็บขอ้ มูล จากนกั เรยี น นกั ศกึ ษา ครู และ
ผบู้ รหิ ารต่อผู้อำนวยการวิทยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก ซ่ึงใชแ้ บบสอบถามรูปแบบออนไลน์ โดยจัดทำใน
Google form ส่งใหก้ ลุ่มตัวอยา่ งทงั้ หมด 311 คน
5.2.4 การวเิ คราะหข์ ้อมลู
นำข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาทำการวิเคราะห์ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าร้อยละ
ค่าเฉลยี่ ( ̅ ) และคา่ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

5.3 สรุปผลการวจิ ยั
จากการวิจัยแนวทางการพัฒนาการจดั กิจกรรมพัฒนานกั เรยี น นกั ศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New

Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก ได้ข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามใน Google
form ทัง้ หมด 311 คน ดังน้ี

5.3.1 ข้อมูลท่วั ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม
ข้อมูลท่ัวไปพบว่า ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญข่ องนกั เรียน นักศกึ ษาเป็นเพศชาย จำนวน

182 คน คิดเป็นร้อยละ 65.47 ครูและผู้บริหารที่ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็นครูชาย ผู้บริหาร
ชาย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 69.70 ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็นนักเรียน นักศึกษา จำนวน 278
คน คิดเป็นร้อยละ 89.39 ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ เป็นระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
จำนวน 206 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 66.24

5.3.2 การมีส่วนรว่ มในแนวทางการพัฒนาการจดั กจิ กรรมพัฒนานักเรยี น นักศกึ ษา รปู แบบ
ใหม่ (New Normal) ของวทิ ยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก

การมีส่วนร่วมในแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษา ครู และ
ผบู้ รหิ าร สว่ นใหญพ่ บวา่ การประชาสัมพันธ์ รบั บรจู้ ากการประชาสัมพันธ์ในครอื ข่ายสังคมออนไลน์
(Facebook, Line) ของวทิ ยาลัยฯ จำนวน 188 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60.45 การลงทะเบียน ลงทะเบยี น
ใน Google From ทุกครั้ง จำนวน 262 คน คิดเป็นร้อยละ 84.24 การจัดกิจกรรม เข้าร่วมกิจกรรม
ผ่านโปรแกรมออนไลน์ (Google meet/ Facebook Live/ Line/ Zoom) จำนวน 271 คน คิดเป็น
ร้อยละ 87.14 การประเมินผล ทำแบบประเมินผลกจิ กรรมทุกครัง้ ที่เข้าร่วม จำนวน 235 คน คิดเป็น
ร้อยละ 75.56 การมอบเกียรตบิ ัตร ไดร้ บั เกียรติบตั รทกุ กจิ กรรมท่ีเข้ารว่ ม จำนวน 214 คดิ เป็นร้อยละ
68.81

5.3.3 พฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก

1) ด้านแรงจูงใจของการเข้าร่วมกิจกรรม ของนักเรยี น นักศึกษา ครู และผู้บรหิ าร ผบู้ ริหาร
ภาพรวมมคี ่าเฉลีย่ อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.32, S.D.= .66) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อโดยเรียงตามลำดับ
จากมากไปหานอ้ ยพบว่า ได้รว่ มกจิ กรรมรปู แบบใหม่ มคี ่าเฉลี่ยอยู่ในระดบั มากที่สุด ( ̅=4.80, S.D.=
.67) รองลงมาเป็นได้รบั สาระความรู้ทีน่ ำไปปรบั ใชใ้ นการเรยี น มีคา่ เฉลี่ยอย่ใู นระดับมากท่สี ุด ( ̅=4.54,
S.D.= .76) และได้แลกเปลี่ยนความคิด เปิดโลกทัศน์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.13, S.D.=
.58) สว่ นข้อทีม่ คี ่าเฉล่ยี ต่ำสุดคอื ไดร้ ับเนอื้ หามปี ระโยชน์ตอ่ การใชช้ วี ติ ประจำวนั คา่ เฉล่ียอยูใ่ นระดับ
มาก ( ̅=3.81, S.D.= .62)

41

2) ด้านความสัมพันธ์กับบุคลอื่น ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.51, S.D.= .71) เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ โดยเรียงตามลำดับจาก
มากไปหานอ้ ยพบวา่ ได้พบปะกับเพือ่ น และปรับตัวให้เขา้ กับบคุ คลอน่ื มคี า่ เฉลีย่ อยูใ่ นระดบั มากที่สุด
( ̅=4.84, S.D.= .66) รองลงมาเป็นได้รับรู้ แบ่งปัน ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดบั มากที่สุด ( ̅=4.75, S.D.= .71) และได้รับประสบการณแ์ ละมุมมองใหม่ ๆ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มาก ( ̅ =4.47, S.D.= .64) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ได้เรียนรู้การทำงานร่วมกับบุคคลอื่น
ค่าเฉลี่ยอยใู่ นระดบั มาก ( ̅=3.96, S.D.= .82)

3) ด้านการให้ความสำคัญกับกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.20, S.D.= .68) เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อโดยเรียงลำดับ 3 อันดับแรก
จากมากไปหาน้อยพบว่า ได้พัฒนาตนเองให้เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุข มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มากทสี่ ดุ ( ̅=4.73, S.D.= .62) รองลงมาไดพ้ ฒั นาทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้ มคี า่ เฉลย่ี อยูใ่ นระดับมาก
ท่ีสุด ( ̅=4.66, S.D.= .81) และได้พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมและลักษณะที่พึงประสงค์ มีค่าเฉลี่ยอยู่
ในระดับมาก ( ̅ =4.42, S.D.= .60) ส่วนข้อที่มีคา่ เฉลีย่ ตำ่ สุดคอื ได้พัฒนาความรูค้ วามสามารถทาง
วชิ าการและวิชาชพี คา่ เฉลยี่ อยใู่ นระดับปานกลาง ( ̅=3.37, S.D.= .67)

4) ด้านการให้ความร่วมมอื ในการเข้าร่วมกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร
ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=3.97, S.D.= .59) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงลำดับ 3
อนั ดบั แรกจากมากไปหาน้อยพบวา่ มสี ว่ นร่วมกจิ กรรมทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ก่สถานศึกษา สงั คม ชุมชน มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.57, S.D.= .63) รองลงมาเป็นมีความตั้งใจเข้าร่วมกิจกรรม มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.26, S.D.= .52) และมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น เป็นประชาธิปไตย มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅ =4.05, S.D.= .60) ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ มีส่วนร่วมแสดงความ
ความรูท้ างวชิ าการและวชิ าชพี ของตนเอง ค่าเฉลยี่ อยูใ่ นระดบั ปานกลาง ( ̅=3.38, S.D.=.46)

5.3.4 ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New
Normal) ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก

1) กิจกรรม ด้านโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร
ภาพรวมมีคา่ เฉล่ยี อยู่ในระดับมาก ( ̅=4.04, S.D.= .69) เมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายข้อโดยเรียงตามลำดับ
จากมากไปหาน้อยพบว่า ความเหมาะสมของโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ในการจัดกิจกรรม มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.60, S.D.= .78) รองลงมาเป็นสามารถใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หรือ
โทรศัพท์มือถือ(สมาร์ทโฟน) ได้ทุกนิด มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.24, S.D.= .51) และมีความ
ทันสมัย ง่ายต่อการเข้าใช้งาน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅ =3.92, S.D.= .86) ส่วนข้อที่มีค่าเฉล่ีย
ต่ำสดุ คอื การเตรยี มพรอ้ มของโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ก่อนการจดั กจิ กรรม ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( ̅=3.41, S.D.=.62)

2) ด้านความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร
ภาพรวมมีค่าเฉลยี่ อยูใ่ นระดับมาก ( ̅=4.22, S.D.= .67) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อโดยเรียงตามลำดับ
จากมากไปหาน้อยพบว่า สามารถเข้าร่วมกิจกรรมที่บ้าน หรือที่อื่น ๆ ได้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ทีส่ ดุ ( ̅=4.61, S.D.= .60) รองลงมาเปน็ รบั รกู้ ารประชาสมั พันธก์ ิจกรรมจากหลายช่องทางเขา้ ถึงง่าย
มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( ̅=4.38, S.D.= .85) และขั้นตอนการจัดกิจกรรมง่ายต่อการเข้าร่วม มี
คา่ เฉลย่ี อย่ใู นระดับมาก ( ̅ =4.15, S.D.= .67) ) สว่ นขอ้ ทีม่ คี ่าเฉลี่ยต่ำสดุ คือ สามารถ ถาม ตอบ ได้
ในระหวา่ งรว่ มกิจกรรม ค่าเฉลยี่ อยใู่ นระดับมาก ( ̅=3.73, S.D.= .57)

42

3) ด้านระยะเวลาในการจัดกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅=4.59, S.D.= .71) เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ โดยเรียงตามลำดับจาก
มากไปหาน้อยพบว่า ความเหมาะสมของระยะเวลาการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
( ̅=4.82, S.D.= .74) รองลงมาเป็นสามารถควบคมุ เวลาได้ตลอดการจัดกิจกรรม มีคา่ เฉลยี่ อยู่ในระดับ
มาก ( ̅=4.36, S.D.= .58) ตามลำดับ

4) ด้านการจัดกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมคี ่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก ( ̅=4.00, S.D.= .61) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อโดยเรียงลำดับ 3 อันดับแรกจากมากไปหา
นอ้ ยพบว่า การถา่ ยทอดความร้แู ละความพรอ้ มของวทิ ยากร มคี า่ เฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( ̅=4.67,
S.D.= .75) รองลงมาเป็นการเตรียมสื่อและความพร้อมของผู้ดำเนินการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดบั มากท่ีสุด ( ̅=4.52, S.D.= .62) และการนำความรู้ ทักษะ ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันมีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมาก ( ̅ =4.21, S.D.= .52) ส่วนขอ้ ทม่ี คี ่าเฉลี่ยต่ำสุดคอื การใชส้ ือ่ และเอกสารประกอบการจัด
กิจกรรม ค่าเฉล่ยี อยูใ่ นระดบั ปานกลาง ( ̅=3.35, S.D.= .47)

5.4 อภิปรายผลการวิจยั
จากผลการวิจัย ทำให้ทราบถึงแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติ

ใหม่ (New Normal) ของวิทยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ ซง่ึ มีประเดน็ ทีน่ า่ สนใจนำมาอภิปรายผล ดงั นี้
5.4.1 การมีส่วนร่วมในแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษา ครู และ

ผู้บริหาร พบว่าข้อมูลเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมการจัดกิจกรรมมีการรับรู้การจัดกิจกรรมโดยการ
ประชาสมั พนั ธใ์ นเครือข่างสังคมออนไลน์ (Facebook, Line) ของวิทยาลยั ฯ โดยมกี ารเข้าลงทะเบียน
ใน Google From ทุกครั้งเพื่อทำให้ได้เข้าร่วมกิจกรรมผ่านโปรแกรมออนไลน์ (Google meet/
Facebook Live/ Line/ Zoom) เม่ือเขา้ ร่วมกิจกรรมเสร็จสน้ิ แลว้ ทำการประเมนิ ผลกิจกรรมทุกคร้ัง
ทีเ่ ขา้ รว่ ม ทำกิจกรรมครบกระบวนการแลว้ นักเรียน นกั ศึกษา ครูและผู้บรหิ ารจะได้รับเกียรติบัตรทุก
กิจกรรมที่เข้าร่วม จากแนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรียนนักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก มีการเข้าร่วมกิจกรรมในรูปแบบออนไลน์โดยใช้โปรแกรม
Zoom, Google Meeting, Facebook Live, Line ทั้งนี้เนื่องจากนกั เรียน นักศึกษา มีความคิดเหน็
ว่าการพัฒนานักเรียน นักศึกษาให้เป็นคนดีคนเก่ง และมีความสุข ตามเป้าหมายของวิทยาลัยที่ได้
กำหนดแผนงานไว้นั้น ต้องเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละด้านให้ครบทั้งด้านการประชาสัมพันธ์ การ
ลงทะเบยี น การจัดกิจกรรม การประเมนิ ผล และการมอบเกยี รติบัตรในรูปแบบออนไลน์ ซ่งึ สอดคล้อง
กับงานวิจัยของมนธิชา ทองหัตถา (2564) ได้วิจัยเรื่อง สภาพการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของครูกลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรียนปากพนงั จังหวัดนครศรีธรรมราช นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษา
แอพพลเิ คช่ันทใี่ ช้ในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลนข์ องครูและ 2) ศึกษาปญั หาทค่ี รูพบในการจัดการ
เรยี นร้แู บบออนไลน์ กลมุ่ ตวั อย่างได้แก่ ครู กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาตา่ งประเทศ โรงเรยี นปากพนัง
จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามวิธกี ารวจิ ัยนี้
เปน็ การวจิ ยั เชงิ สำรวจวิเคราะห์ขอ้ มลู โดยใช้สถิติเชงิ พรรณนา ผลการศึกษาพบวา่ 1) แอพลเิ คชันที่ครู
นยิ มใช้ในการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์มากท่ีสุด คอื แอพลิเคชนั ไลน์ (Line) คิดเปน็ รอ้ ยละ 88.23
และ Google Meet น้อยที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 23.53 และ 2) ปญั หาท่ีครพู บในการจดั การเรยี นรู้แบบ
ออนไลน์คือ ปัญหาด้านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ สัญญาณอินเทอร์เน็ต และโปรแกรมที่ใช้สำหรับการ

43

เรียนแบบออนไลน์ถูกพบมากที่สุด ปัญหาทางด้านการเงิน ปัญหาด้านพฤติกรรมของ นักเรียน เช่น
การบริหารจดั การเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองของนกั เรยี น นอกจากนั้นปัญหาด้านครอบครัว
ยงั ทำใหน้ กั เรยี นบางสว่ นต้องทำงานเพื่อแบ่งเบาภาระครอบครัวขณะอยูบ่ า้ น

5.4.2 พฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบปกติใหม่ (New
Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก พบว่า นักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมี
ค่าเฉล่ยี อยู่ในระดบั มาก เมอ่ื พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าดา้ นแรงจูงใจของการเข้ารว่ มกิจกรรม ของ
นกั เรียน นักศกึ ษา ครู และผูบ้ รหิ าร ภาพรวมมคี า่ เฉล่ียอยู่ในระดบั มาก เม่อื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบว่า
ได้ร่วมกิจกรรมรูปแบบใหม่ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดบั มากที่สดุ มีความเห็นว่าการเขา้ ร่วมกิจกรรมโดยใช้
โปรแกรม Zoom, Google Meeting, Facebook live, Line ที่ผู้เข้าร่วมสามารถมีปฏิสัมพันธ์
ระหวา่ งการจัดกิจกรรม เปน็ รูปแบบการเข้ารว่ มรปู แบบใหม่ ทเี่ ข้าถงึ ไดโ้ ดยการพฒั นาแนวทางการจัด
กิจกรรมในรูปแบบออนไลน์ ที่นักเรียน นักศึกษา ครูและผู้บริหาร สามารถเข้าร่วมกิจกรรม ผ่าน
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือ (สมาร์ทโฟน) ได้ที่บ้านหรือที่อื่น ๆ ซึ่งสอดคล้องกับ
แนวคดิ เกยี่ วกบั การพฒั นารปู แบบและหลกั การในการพัฒนารูปแบบ

ดา้ นความสัมพนั ธก์ ับบุคลอ่ืน ของนกั เรียน นกั ศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมีค่าเฉล่ียอยู่ใน
ระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ได้พบปะกับเพือ่ น และปรับตัวให้เข้ากับบคุ คลอื่น มี
ค่าเฉลย่ี อยใู่ นระดับมากท่ีสุด เพราะจะได้รบั ประสบการณ์มุมมองใหม่ๆ ในดา้ นการรบั รู้แบ่งปันข้อมูล
ข่าวสารทีเ่ ป็นประโยชน์ มีการเรียนร้กู ารทำงานร่วมกับบุคคลอน่ื ๆ มีโอกาสไดพ้ บปะเพอื่ นและปรับตัว
ให้เข้ากับบุคคลอื่นได้และเกิดการแลกเปลี่ยนความคิด เปิดโลกทัศน์ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ
สวุ ิมล มธรุ ส (2564) ได้วจิ ยั เรื่องการจดั การศกึ ษาในระบบออนไลนใ์ นยุค NEW NORMAL COVID-19
มีวตั ถปุ ระสงค์ ของการนำเสนอแนวคิดการบริหารจัดการเรยี นการสอนระบบออนไลน์ท่ีเหมาะสมใน
ยุค COVID-19 จึงขอเสนอดังนี้ 1) แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนหลังโควิด-19 (Social
Distancing) 2) แนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความปกติใหม่ (New
Normal) และ 3) แนวคิดเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนรปู แบบการเรียนรู้ โดยศึกษาถึงบริบทการบริหาร
จัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความปกติ (New Normal) ผู้บริหารจึงต้องมีการบริหารจัดการศึกษาที่
สอดคลอ้ งกบั ความปกติใหม่โดยมีแนวทางในการบรหิ าร ไดแ้ ก่ การเตรียมความพร้อมในการเรียนการ
สอนออนไลน์ด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยี การออกแบบหลักสูตรโดยคำนึงถึงความแตกต่างของ
นักเรียนแต่ละคน การระบาดของโรค COVID-19 ที่ส่งผลกระทบให้สถาบนั การศึกษาทั่วประเทศถกู
สั่งปิดเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคทำให้ทั้งนักเรียน นักศึกษา และอาจารย์ผู้สอนต้องปรับตัว
เข้าสู่การเรียนการสอนแบบออนไลน์ เพื่อให้หลักสูตรยังคงดำเนินต่อไปได้อย่างไม่ขาดตอน การ
บริหารจัดการต่อการเรียนการสอนสามารถเข้าถึงของนักเรียน นักศึกษา ทุกคนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและให้อาจารย์ประสบความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ โดยมีการหารือและวางแผน
ร่วมกันของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง นักศึกษา รวมไปถึง
คณาจารย์ในการเตรียมความพร้อมทงั้ ทางดา้ นรา่ งกายและจติ ใจ

ดา้ นการใหค้ วามสำคญั กับกิจกรรม ของนกั เรียน นักศกึ ษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมีค่าเฉล่ีย
อยูใ่ นระดบั มาก เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า ได้พัฒนาตนเองใหเ้ ปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสุข มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด การพัฒนาให้เป็นคนดี คนเก่งและมีความสุข มีการพัฒนาความรู้
ความสามารถทางวิชาการและวิชาชพี การพัฒนาบุคลิกภาพ ความรบั ผดิ ชอบต่อตนเอง การเสริมเติม
เต็มคุณลักษณะนักเรียน นักศึกษา ที่พึงประสงค์ และการเสริมสร้างศักยภาพนักเรียน นักศึกษา ใน

44

ด้านต่าง ๆ สอดคล้องกับงานวิจัยของเจริญ ภูวิจิตร (2564) ได้วิจัยเรื่อง การจัดการเรียนรู้ทาง
ออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อทราบถึงการจัดการเรียนรู้ทาง
ออนไลน์อย่างมปี ระสิทธิภาพในยุคดิจิทัล 2) เพื่อให้สามารถนำประโยชน์จากการจัดการเรียนรู้ทาง
ออนไลน์อยา่ งมีประสิทธิภาพไป การจัดเรียนการเรียนรู้ทางออนไลน์ในยคุ ดิจิทลั เป็นนวัตกรรมทาง
การศึกษาท่ีเปลี่ยนแปลงวิธีเรยี นที่เปน็ อยูเ่ ดมิ เป็นการเรียนทใี่ ชเ้ ทคโนโลยที ี่ก้าวหนา้ สำหรบั การจัดการ
เรียนการสอนแบบออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ตาม
วัตถุประสงค์ซึ่งการสอนแบบออนไลน์มีองคป์ ระกอบ ได้แก่ ผู้สอน ผู้เรียน เนื้อหา สื่อการเรียนและ
แหล่งเรยี นรกู้ ระบวนการจัดการเรียนรู้ ระบบการติดต่อสื่อสาร ระบบเครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การวดั และ การประเมนิ ผล โดยรปู แบบการเรียนการสอนมีหลากหลายวธิ ีท่ีจะทำใหผ้ ู้สอนและผู้เรียน
มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันได้ การพิจารณาองค์ประกอบและรูปแบบที่สอดคล้องเหมาะสมกับลักษณะวิชา
และบริบทของผู้เรียนจะนำไปสู่การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ
เปลี่ยนแปลงพืน้ ทก่ี ารเรียนรเู้ ป็นเร่ืองที่เห็นได้ชดั เจนท่ีสุด ดว้ ยเทคโนโลยีในปัจจุบันและนวัตกรรมที่
สร้างสรรค์คอนเทนต์ (Content) ทำให้เราสามารถเรียนรู้ทุกเน้ือหาได้จากทกุ คน ทุกที่ ทกุ เวลา เพื่อ
ไปสเู่ ป้าหมายเดียวกันในการเรยี นรวู้ ิถีใหม่ (New Normal) เป้าหมายของการศึกษาอาจยังคงเดิมแต่
ผ้เู รยี นสามารถใช้วิธีทแ่ี ตกต่างในการไปใหถ้ งึ จดุ หมายได้นกั ศกึ ษาบางคนอาจเรยี นร้ไู ดเ้ ร็วกว่าหากได้ดู
ภาพหรือคลิปวิดีโอ การกำหนดแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่เหมาะสมเพื่อให้สามารถ
ดำเนินการเรียนการสอนให้ไปได้ยอ่ มแสดงให้เห็นถึงการบรหิ ารรูปแบบการเรียนการสอนหลังโควดิ -
19 (Social Distancing) และการบรหิ ารจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับความปกติใหม่ (New Normal)
มีความสำคัญต่อการบริหารจัดการ ทั้งนี้สะท้อนให้เห็นว่าการจัดการเรียนการสอนนั้นต้องการการ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนรู้ (Change Learning) เพื่อให้เกิดความเหมาะสมกับสถานการณ์การ
แพร่ระบาดเกิดขึ้น ดังนั้น ครูผู้สอนในฐานะผู้ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่นักเรียน นักศึกษามีการ
ปรบั ตัวและเตรียมทักษะเพื่อรบั มือกับแนวทางการจัดการเรียนรแู้ บบใหม่อย่างทันทว่ งที พร้อมรับกับ
สถานการณค์ วามไม่แน่นอนท่อี าจเกดิ ขน้ึ ได้อยู่เสมอ

ด้านการให้ความร่วมมือในการเข้าร่วมกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร
ภาพรวมมีคา่ เฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมอ่ื พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า มีสว่ นรว่ มกจิ กรรมท่ีเป็นประโยชน์
แก่สถานศึกษา สังคม ชุมชน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ได้สรุปความหมายของงานกิจการ
นักเรียนไว้ว่า กิจการนักเรียน หมายถึง การจัดดำเนินงานกิจการและกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อกับ
นักเรียนและเป็นกิจกรรมที่นอกเหนือจากการเรียนการสอนในห้องเรียน ซึ่งจะส่งผลให้นักเรียนเปน็
บุคคลที่มีความรู้ความสามารถมีความประพฤติท่ีดีงาม มีระเบียบวินัยมีความคิดไตร่ตรองมีความคดิ
รเิ ร่ิมสร้างสรรคแ์ สวงหาความรอู้ ยูเ่ สมอ ร้จู กั นำความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์

4.2.3 ความพึงพอใจต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New
Normal) ของวิทยาลัยเทคนิคมวกเหล็ก พบว่านักเรียนนักศึกษา ครูและผู้บริหาร ที่ตอบ
แบบสอบถามในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า กิจกรรม ด้าน
โปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ของนักเรียน นกั ศกึ ษา ครู และผบู้ รหิ าร ภาพรวมมีคา่ เฉลี่ยอยู่ในระดับ
มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความเหมาะสมของโปรแกรมหรือระบบออนไลน์ ในการจัด
กิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรม ของนักเรียน
นกั ศึกษา ครู และผูบ้ รหิ าร ภาพรวมมคี ่าเฉลยี่ อยู่ในระดับมาก เมอื่ พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า สามารถ
เข้าร่วมกิจกรรมที่บ้าน หรือที่อื่น ๆ ได้ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านระยะเวลาในการจัด

45

กิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความเหมาะสมของระยะเวลาการจัดกิจกรรม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ที่สุด ด้านการจัดกิจกรรม ของนักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดบั
มาก เมือ่ พิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า การถ่ายทอดความรู้และความพรอ้ มของวทิ ยากร มคี ่าเฉล่ียอยู่ใน
ระดบั มากท่ีสดุ ซงึ่ สอดคลอ้ งกับงานวจิ ัยงานวิจยั ของ ภิญโญ วงษ์ทอง (2564) ไดว้ ิจัยเร่อื ง การจัดการ
เรียนรู้ออนไลน์บนฐานวิถีชีวิตใหม่ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย โดยมี
วัตถุประสงค์ คือ 1) รูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์บนฐานวิถีชีวิตใหม่สำหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาตอนปลาย 2) ประสิทธิผลของรูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์และ 3) แนวทางการ
พัฒนาการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนอย่างมีประสิทธภิ าพ งานวิจัยน้ี
เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน วิธีออกแบบการวิจัยด้วยการสร้างแบบสอบถามออนไลน์และส่งให้กลุ่ม
ตัวอย่างคอื นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4-6 โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ องครักษ์
จำนวน 208 คน และมีนักเรียน 148 คน ที่สมัครใจให้ข้อมูล และตอบกลับแบบสอบถามออนไลน์
เครอ่ื งมอื ท่ีใช้คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์และแบบประเมินความพงึ พอใจ วเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้
คา่ เฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ค่าร้อยละ และการวเิ คราะห์ขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ ผลการวจิ ัย พบว่า 1)
ด้านรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นสำรวจและวิเคราะห์ ขั้นเตรียมการ
และวางแผน ข้ันดำเนนิ การและกำกบั ติดตาม ข้นั ประเมินและสะท้อนผล 2) ดา้ นประสิทธิผลของการ
จดั การเรยี นรู้ พบวา่ นักเรียนมคี วามพร้อมของเคร่อื งมือทใี่ ช้สำหรบั การเรียนออนไลนอ์ ยู่ในระดับมาก
มีพฤติกรรมการเรยี นรู้ออนไลน์อยู่ในระดับมาก และมคี วามพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ออนไลน์อยู่
ในระดับมาก และ 3) ดา้ นแนวทางในการพฒั นารูปแบบการจัดการเรียนรู้ออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพ
โรงเรียนควรพัฒนาด้านการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้สื่อเทคโนโลยีตลอดจน
ดา้ นครู นกั เรยี น และผู้ปกครอง และสอดคล้องกบั สขุ นิษฐ์ สังขสตู ร และ จอมเดช ตรีเมฆ (2564) ได้
วิจัยเรื่อง การศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การระบาด
ของโรคติดเชื้อโควิด-19 ของมหาวิทยาลัยรังสิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจความคิดเห็นของ
นักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอน
ออนไลน์ และศึกษาปัญหา อุปสรรคต่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การระบาด
ของโรคติดเชื้อโควิด-19 ของมหาวิทยาลัยรังสิต โดยใช้แนวทางการวิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้
แบบสอบถามเปน็ เคร่ืองมอื กลุ่มตวั อยา่ งคือนกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยรงั สติ จำนวน 400 คน นักศึกษามี
ความคิดเห็นต่อความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของมหาวิทยาลัยรังสิต ใน
ภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ดา้ นท่มี ีความเหมาะสมมากท่ีสุดคือ ด้านปจั จยั เก้อื หนุน ด้านผู้เรียน มีความ
เหมาะสมน้อยที่สุด กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนในระบบออนไลน์ของ
มหาวิทยาลยั รงั สติ ในภาพรวมในระดบั มาก เมือ่ พจิ ารณาเป็นรายด้านพบว่า มคี วามพงึ พอใจมากที่สุด
ด้านหลักสูตร/เนื้อหา ส่วนการวัดและการประเมินผลมีความพึงพอใจน้อยที่สุด กลุ่มตัวอย่างแสดง
ความคิดเห็นอย่างอิสระเกี่ยวกับปัญหาและอุปสรรคของการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ พบว่ามี
ปญั หาเกี่ยวกบั ไมม่ ีสมาธใิ นการเรยี น, มีการรบกวนของสภาพแวดลอ้ มรอบขา้ งขณะเรยี น, รสู้ ึกเบ่อื , มี
ใบงาน/การบ้านเยอะเกินไป ดังนั้น ผู้สอนควรสอบถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นพร้อมทั้งวาง
แผนการเรยี นการสอนรว่ มกบั นกั ศึกษาเพอื่ จัดการปัญหาเหล่านี้

46

5.5 ขอ้ เสนอแนะ
5.5.1 ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้
1) การนำแนวทางการวิจัยที่ผู้วิจัยได้พัฒนาขึ้นนี้เกิดขึ้นจากประสบการณ์การทำงานฝ่าย

พัฒนากจิ การนกั เรียน นักศกึ ษา ซึง่ มคี วามเข้าใจในกระบวนการจัดกจิ กรรม ผ้ทู ่ีจะนำไปใช้งานวิจัยน้ี
ประยุกต์ใช้ควรศึกษาสภาพแวดล้อม ส่ิงอำนวยความสะดวกของบุคลากร นกั เรียน นักศึกษา เพื่อให้
สามารถปรับแนวทางการจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และพื้นที่ ทั้งนี้ควรส่งเสริมและ
สนบั สนนุ ให้นกั เรียน นักศึกษา ครู มสี ่วนรว่ มในการจัดกิจกรรรมพฒั นานักเรียนนักศึกษาอย่างเต็มท่ี
ดังนั้นสถานศึกษาสามารถนำผลการวิจัยนี้ไปปรับใช้ในด้านการจัดกิจกรรมพัฒนานักเรยี นนักศึกษา
เพือ่ ใหก้ ระบวนการจดั การเรยี นการสอนได้ตรงตามหลักสตู รในการพัฒนาผูเ้ รยี นใหเ้ หมาะสมตลอดจน
ใหค้ วามสำคญั ต่อแนวทางการดำเนนิ การจดั กจิ กรรม

2) ควรส่งเสริมด้านการสร้างแรงจงู ใจในการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานกั เรียน นักศึกษา ให้
เล็งเห็นถึงความสำคัญของการร่วมกิจกรรมในด้านต่าง ๆ เพื่อให้ตรงต่อความต้องการของนักเรียน
นักศึกษา ที่จะส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการพัฒนาให้ผู้เรียนเป็นคนดี คนเก่งและมีความสุขภายใต้การจัด
กจิ กรรม ที่ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นอนาคต

5.5.2 ขอ้ เสนอแนะสำหรับการวจิ ัยครง้ั ต่อไป
1) ศึกษาการวิจยั การตดิ ตามผลแนวทางพัฒนาการจดั กิจกรรมนกั เรยี น นักศกึ ษา เพอ่ื นำไป

ประยุกต์ใชก้ ับกจิ กรรมดา้ นอืน่ ๆ
2) ศึกษาความต้องการและความคาดหวังของนักเรียนนักศึกษา ที่มีต่อการจัดกิจกรรม

พฒั นานักเรยี น นกั ศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกับเหตกุ ารณใ์ นปัจจบุ ัน

47

บรรณานกุ รม

ภาษาไทย

กลั ยา วานชิ ย์บัญชา. 2552. สถิตสิ ำหรบั งานวิจยั . กรงุ เทพฯ: ภาควิชาสถิติ คณะพาณชิ ยศาสตรแ์ ละการบญั ชี
จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

กรวรรณ สืบสมและนพรตั น์ หมพี ลดั . 2560. การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบหอ้ งเรยี นกลับด้าน
(Flipped classroom) ด้วยการบูรณาการการเรียนการสอนรายวชิ ามัลติมีเดียผ่าน Google
classroom. วารสารวชิ าการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย.

ขวัญชยั พะยอม. 2550. แนวทางการพฒั นาการจัดกิจกรรมนกั ศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั กำแพงเพชร.
สักทองวารสารมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ปที ี่ 28 ฉบบั ท่ี 1.

เจรญิ ภูวิจิตร. 2564. การจัดการเรยี นรู้ทางออนไลนอ์ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพในยคุ ดิจิทลั . วารสารรชั ตภาคย์
ปีท่ี 15 ฉบับที่ 40.

จอมพงศ์ มงคลวนิช. 2556. การบรหิ ารองคก์ ารและบุคลากรทางการศึกษา.
พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2. กรงุ เทพฯ : วี.พร้นิ ท์.

ชยั วฒั น์ สรุ วิชัย. 2559. การพฒั นาศกั ยภาพตนเอง เพื่อสามารถทำงานให้ตวั เองและสังคม ดีมีประโยชนแ์ ละ
คุณค่ามากขน้ึ . [สืบคน้ วันท่ี 15 กมุ ภาพันธ์ 2565]. จาก https://siamrath.co.th/n/900

ณัฐชยา ฐานสิ ร,นรา บรู ณรชั และคณะ. 2553. สภาพการจดั กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนของสถานศกึ ษา.
สงขลา : มหาวิทยาลยั ทกั ษิณ.

ธนพรรณ ทรัพยธ์ นาดล. 2553. ปจั จัยทีม่ ีผลกระทบต่อการจัดการเรียนการสอนบทเรยี นออนไลน์
ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฎนครราชสมี า. วารสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์ มหาวิทยาลยั ศิลปากร.

บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2545. การวิจยั เบ้ืองต้น. พมิ พ์ครงั้ ท่ี 7 กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาสน์ .

บญุ ชม ศรสี ะอาด. 2556. วธิ ีการทางสถติ ิสำหรับการวิจัย เล่ม 1.

พมิ พ์คร้ังที่ 5 กรุงทพฯ : สวุ ีริยาสาส์น.

ประมวล วิลาจนั ทร์. 2555. การพัฒนารปู แบบการบริหาร กจิ การนกั เรียน นกั ศกึ ษา ของสถาบนั การ

อาชีวศึกษาสังกดั สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญาการศกึ ษา
ดุษฎีบณั ฑิต บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.
ประจวบ หนเู ล่ยี ง และคณะ. (2558). การพฒั นารูปแบบการจัดการศกึ ษาแบบมีสว่ นร่วมของจงั หวดั
พัทลุง. วารสารปารชิ าต, 28(2).
ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ. 2564. เร่อื งการเลือ่ นเวลาเปิดภาคเรียนท่ี 1 ประจำปีการศกึ ษา 2564 ของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประกาศ ณ วนั ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2564.
[สบื คน้ วันที่ 20 กรกฎาคม 2565]. จาก https://moe360.blog/2021/05/19/19-may-2564/
ฝากจติ คุณุรตั น.์ 2545. แนวทางการพฒั นาการจัดกจิ กรรมนักศึกษาตามความคิดเห็น
ของคณะกรรมการนกั ศึกษา มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ศกึ ษาศาสตรม์ หาบณั ฑิต
(การบรหิ ารการศึกษา). ขอนแกน่ : มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.
พรี พฒั น์ แก้วใจมา. 2563. การศกึ ษาพฤติกรรมการดำรงชวี ิตแบบปรกติใหม่ของประชาชนชาวไทยระหว่าง
วิกฤตโควิด-19 ทป่ี รากฏในส่อื ออนไลน์. วิทยานิพนธ์สาขาวิชาภูมิศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร.

48

ภิญโญ วงษท์ อง. 2564. การจดั การเรยี นร้อู อนไลน์บนฐานวถิ ชี ีวิตใหม่ สำหรบั นกั เรียนระดบั ชั้น ประถมศึกษา
ตอนปลาย. วารสารรชั ต์ภาคย์ ปที ่ี 15 ฉบับท่ี 43.

ระเบยี บสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ว่าด้วยการบริหารสถานศกึ ษา พ.ศ. 2552
[สบื ค้นวนั ที่ 28 กรกฎาคม 2565]. จาก
http://www.spc.ac.th/spc/Planning_and_cooperation_department/Planning_and_budg
eting_work/Office_of_the_Vocational_Education_Commission_on_Educational_Admini
stration_Regulations_-_2009.pdf

สัมมา รธนิธย์. 2556. ภาวะผ้นู ำของผูบ้ ริหาร. พิมพ์คร้งั ท่ี 3 กรุงเทพ : ขา้ วฟา่ ง
สุพิชญ์ ประจญยทุ ธ. 2552. การบริหารกจิ กรรพัฒนาผ้เู รยี นของสถานศกึ ษาสังกดั สำนกั งานเขตพื้นท่ี

การศึกษาอบุ ลราชธานี เขต 4. วิทยานพิ นธป์ ริญญาครุศาสตรม์ หาบณั ฑิต บัณฑิตวทิ ยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภัฎอบุ ลราชธาน.ี
สมคั ร ภมู ิเขต. 2551. ความพงึ พอใจของนิสิตระดบั ปรญิ ญาตรี ทม่ี ตี อ่ การเขา้ รว่ มกิจกรรมตามหลักสตู ร
การศึกษาของมหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาวิทยาศาสตรม์ หาบัณฑิต
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ.
สวุ มิ ล มธรุ ส. 2564. การจดั การศึกษาในระบบออนไลนใ์ นยคุ NEW NORMAL COVID-19.
วารสารรัชตภาคย์ ปที ่ี 15 ฉบับที่ 40.
สกุ จิ ทวีศกั ด.ิ์ 2555. การพัฒนาคมู่ อื เสรมิ สร้างแรงจงู ใจสำหรบั นักเรยี นมัธยมศึกษาท่ขี าดแรงจูงใจ :
การวจิ ยั แบบผสมวธิ ี. กรุงเทพมหานคร : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
สรุ ศักด์ิ คณุ ดิลกสิโรดม. 2563. ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นร้อู อนไลน์ดว้ ย Application LINE โดยการใช้ ส่อื
วดิ ทิ ัศน์ (VDO) ในรายวิชาการพฒั นาทกั ษะชีวิตเพอื่ สขุ ภาพและสงั คม (ลีลาศ) ของนักศกึ ษาระดับช้นั
ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชน้ั สูง สาขาวชิ าคอมพิวเตอร์ธรุ กิจ วทิ ยาลยั เทคโนโลยอี รรถวิทย์พณชิ ยการ.
วิจัยในชน้ั เรยี น วทิ ยาลยั เทคโนโลยีอรรถวิทยพ์ ณิชยการ.
สภุ าภรณ์ พรหมบตุ ร. 2563. New Norma กบั วิถีชวี ติ ทีเ่ ปลี่ยนแปลง. [สบื ค้นวนั ที่ 5 สิงหาคม 2565]. จาก
https://dsp.dip.go.th/th/category/2017-11-27-08-04-02/2020-06-29-14-39-49
สุขนษิ ญ์ สังขสูตรและจอมเดช ตรเี มฆ. 2564. การศึกษาความพงึ พอใจตอ่ รปู แบบการเรยี นการสอนออนไลน์
ในสถานการณ์ระบาดของโรคตดิ เชื้อโควิด-19 ของมหาวทิ ยาลยั รังสติ . งานประชุมวิชาการระดบั ชาติ
มหาวิทยาลยั รงั สิต ประจำปี 2564. [สืบคน้ วนั ที่ 5 สงิ หาคม 2565]. จาก
https://rsucon.rsu.ac.th/proceedings
สุวิมล ติรกานนั ท์. 2555. การวเิ คราะหต์ วั แปรพหใุ นงานวจิ ัยทางสังคมศาสตร.์ พิมพ์คร้ังท่ี 2.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .
สวุ รยี ์ ศิรโิ ภคาภริ มย์. 2546. การวิจยั ทางการศกึ ษา. ลพบุรี : สถาบันราชภฎั เทพสตร.ี
มนธิชา ทองหัตถา. 2564. สภาพการจัดการเรียนรแู้ บบออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื
ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ของครกู ลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ โรงเรยี นปากพนงั
จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารลวะศรี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เทพสรึ ปีที่ 5 ฉบบั ท่ี 1.

49

ภาษาอังกฤษ
Likert, R.A. 1932. Technique for the Measurement of Attitudes. Psychological Measurement.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining sample sizes for research activities.

Educational and Psychological Measurement.
Cronbach, L. J. (1970). Essentials of Psychological Test (5th ed.). New York: Harper Collins.

50

ภาคผนวก ก

ขออนุญาตดำเนนิ การวจิ ยั

- หนังสือขออนญุ าตดำเนนิ การวจิ ัย
- ตารางสรุปจำนวนนักเรยี น นกั ศกึ ษา ประจำปีการศกึ ษา 2564

51

52

53

54

ภาคผนวก ข

แนวทางการพฒั นาการจดั กิจกรรมพัฒนานกั เรยี น นักศึกษา รปู แบบใหม่
(New Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหล็ก

แนวทางการพฒั นาการจัดกจิ กรรมพฒั นานกั เรยี น นักศกึ ษา ในรปู แบบใหม่ (New Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็ 55

56
เป้าหมายท่ี 2 วา่ ดว้ ยกจิ กรรม การพัฒนาสมาชิกให้เป็น “คนเกง่ และมคี วามสขุ ”

2.2 แผนพฒั นาส่งเสริมความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์
โครงการประกวดโครงงานวิชาชพี (Project) ตามหลกั สตู ร
1. การประชาสมั พันธ์

2. การลงทะเบยี นร่วมกจิ กรรม

3. การจัดกิจกรรมออนไลน์ 57
ประธานกล่าวเปดิ โครงการ

คณะกรรมการกลา่ วรายงาน

นกั เรียน นักศกึ ษา นำเสนอโครงงาน

นกั เรยี น นกั ศกึ ษา นำเสนอโครงงาน

58

4. การประเมินผล
- แบบทดสอบ

- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

59

5. การมอบเกยี รติบตั ร

60
เปา้ หมายท่ี 1 วา่ ด้วยกจิ กรรมการพฒั นาสมาชกิ ให้เปน็ “คนดแี ละมคี วามสขุ ”

1.5 แผนส่งเสริมการอนรุ กั ษธ์ รรมชาติและสง่ิ แวดล้อม
โครงการปอ้ งกันและบำบดั มลภาวะ

1. การประชาสมั พันธ์

2. การลงทะเบยี นรว่ มกจิ กรรม

3. จดั กจิ กรรมออนไลน์ 61

ประธานกลา่ วเปิดโครงการ
คณะกรรมการกลา่ วรายงาน
นำเสนอเน้อื หา ให้ความรู้
นำเสนอเนือ้ หา ให้ความรู้

62

4. การประเมินผล
- แบบทดสอบ

- แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

63

5. การมอบเกยี รติบตั ร

64
เปา้ หมายท่ี 1 วา่ ด้วยกจิ กรรมการพัฒนาสมาชิกให้เปน็ “คนดีและมีความสขุ ”

1.3 แผนพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม
โครงการสวดมนต์นง่ั สมาธิเสริมสรา้ ง และพฒั นาจิตสำนกึ ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1. การประชาสมั พันธ์

2. การลงทะเบียนร่วมกิจกรรม

65

3. การจัดกิจกรรมออนไลน์

ถา่ ยทอดสดผ่าน Facebook live
ร่วมกจิ กรรมออนไลน์
รว่ มกจิ กรรมออนไลน์

66

4. การประเมินผล
5. การมอบเกยี รติบัตร

67

ภาคผนวก ค

แบบสอบถามการวิจัย

68

แบบสอบถามเพอื่ การวิจัย
เรอื่ ง แนวทางการพฒั นาการจดั กิจกรรมพัฒนานกั เรียน นักศึกษา รปู แบบปกติใหม่

(New Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนคิ มวกเหล็ก
ผู้วิจัย ว่าทรี่ อ้ ยตรีชชั วาลย์ ปอ้ มสุวรรณ

**************************
คำชแ้ี จงในการตอบแบบสอบถาม

1. ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ นักเรียน นักศึกษา ครู และผู้บริหาร ในวิทยาลัยเทคนิค

มวกเหลก็

2. แบบสอบถามชดุ นี้ มี 4 ตอน ประกอบด้วย
ตอนท่ี 1 แบบสอบถามข้อมูลทัว่ ไปของนักเรียน นกั ศึกษา ครู และผูบ้ รหิ าร
ตอนที่ 2 แบบสอบถามการมีส่วนร่วมต่อแนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนา

นกั เรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลยั เทคนคิ มวกเหลก็
ตอนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา

รปู แบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหลก็
ตอนท่ี 4 แบบสอบถามความพงึ พอใจตอ่ นการเข้ารว่ มกิจกรรมพัฒนานกั เรยี น นกั ศกึ ษา

รปู แบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก
3. กรุณาตอบแบบสอบถามทุกข้อตามความเป็นจริง เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาการจัด

กิจกรรมพัฒนานักเรยี น นักศกึ ษา รปู แบบปกติใหม่ (New Normal) ของวิทยาลัยเทคนคิ มวกเหลก็
4. ข้อมูลของผู้ตอบแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยนี้จะถูกเก็บเป็นความลับ ตาม

มาตรฐานจริยธรรมการวจิ ัยในคนระดับสากลและพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคล พ.ศ.2562
โดยจะไม่เสยี ผลประโยชน์หรือไดร้ บั ผลกระทบใด ๆ การตอบแบบสอบถามเป็นไปด้วยความสมัครใจ
ไม่มีการบังคับ หากผู้ตอบแบบสอบถามเกิดความรู้สึกไม่สะดวกใจที่จะให้ข้อมูล สามารถยุติการทำ
แบบสอบถามไดต้ ลอดเวลา มีเพยี งผ้วู ิจัยเท่านน้ั ทีจ่ ะเข้าถึงขอ้ มูลได้ภายหลังเสร็จสิน้ การวิจัยข้อมูลจะ
ถูกลบเหลือเพียงตัวเลขที่ใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านัน้ การรายงานผลการวิจัย จะกระทำในภาพรวม
และจะดำเนินการดว้ ยความระมัดระวงั รดั กุม ไมม่ ีการอา้ งอิงถึงช่อื ผู้ให้ขอ้ มูล หรือข้อมูลสว่ นตัวใด ๆ
ลงในเอกสารตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วกับการวจิ ัยครงั้ นี้ และขอขอบคุณทา่ นทตี่ อบแบบสอบถาม มา ณ โอกาสนี้

ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของนักเรียน นักศึกษา และครู ผู้บริหาร วิทยาลัยเทคนิค

มวกเหลก็

คำชแ้ี จง เขยี นเคร่ืองหมายถูก √ ลงใน ( ) ที่ท่านเลอื กเพยี งคำตอบเดยี ว

1. เพศ

( ) หญงิ ( ) ชาย

2. ตำแหนง่

( ) นักเรียน นักศึกษา ( ) ครู ผู้บริหาร

3. ระดบั การศึกษา

( ) ประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) ( ) ประกาศนยี บัตรวิชาชีพชน้ั สูง (ปวส.)

( ) ปรญิ ญาตรี ( ) สูงกวา่ ระดับปรญิ ญาตรขี ึ้นไป

69

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามการมีส่วนรว่ มตอ่ แนวทางการพัฒนาการจัดกิจกรรมพฒั นานกั เรียน นกั ศกึ ษา
รูปแบบใหม่ (New Normal) ของวิทยาลยั เทคนิคมวกเหล็ก
คำชีแ้ จง เขยี นเคร่อื งหมายถกู √ ลงใน ( ) ที่ท่านเลือกเพียงคำตอบเดยี ว

1. การประชาสมั พันธ์
( ) รบั รจู้ ากการประชาสมั พนั ธ์ในครือข่ายสังคมออนไลน์ (Facebook, Line) ของ

วทิ ยาลยั ฯ
( ) รับร้จู ากการประชาสมั พันธใ์ นเว็บไซตข์ องวทิ ยาลัยฯ
( ) รบั รกู้ ารประชาสัมพันธจ์ ากครูทป่ี รกึ ษา
( ) รับรู้จากปา้ ยประกาศภายในวิทยาลัยฯ

2. การลงทะเบยี น
( ) ลงทะเบียนใน Google From ทุกคร้งั
( ) ระบบมีปญั หาไมส่ ามารถลงทะเบียนได้
( ) ลงทะเบียนไมท่ นั ตามเวลาท่ีกำหนด

3. การจดั กิจกรรม
( ) เข้ารว่ มกิจกรรมผา่ นโปรแกรมออนไลน์ (Google meet/ Facebook Live/

Line/ Zoom)
( ) เข้ารว่ มกจิ กรรมได้เป็นบางครง้ั
( ) ไมส่ ามารถเข้าร่วมกิจกรรมได้

4. การประเมินผล
( ) ทำแบบประเมินผลกิจกรรมทกุ คร้ังที่เข้าร่วม
( ) ทำแบบประเมนิ ผลกิจกรรมเปน็ บางคร้งั ท่เี ข้ารว่ ม
( ) ไม่ทำแบบประเมนิ ผลกิจกรรมทุกครง้ั ที่เขา้ ร่วม

5. การมอบเกียรตบิ ัตร
( ) ได้รบั เกียรตบิ ัตรทกุ กิจกรรมท่เี ข้าร่วม
( ) ไดร้ ับเกยี รตบิ ัตรเปน็ บางกิจกรรมที่เข้ารว่ ม
( ) ไมเ่ คยไดร้ ับเกยี รติบตั รเลยสักครัง้

ตอนที่ 3 แบบสอบถามพฤติกรรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนานักเรียน นักศึกษา รูปแบบใหม่
(New Normal) ของวิทยาลยั เทคนคิ มวกเหล็ก

คำช้แี จง ใส่เคร่ืองหมายถกู √ ลงในช่องระดับพฤติกรรมทีต่ รงกบั ความคิดเห็นของท่าน โดยใช้เกณฑ์

ในการกำหนดนำ้ หนักคะแนนเปน็ 5 ระดบั ดังน้ี
5 หมายถงึ พฤติกรรมต่อการเขา้ ร่วมกจิ กรรมอยู่ในระดับมากทสี่ ุด
4 หมายถึง พฤตกิ รรมต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยใู่ นระดับมาก
3 หมายถึง พฤตกิ รรมตอ่ การเข้าร่วมกจิ กรรมอยูใ่ นระดับปานกลาง
2 หมายถงึ พฤตกิ รรมตอ่ การเข้ารว่ มกจิ กรรมอยใู่ นระดบั น้อย
1 หมายถึง พฤตกิ รรมต่อการเข้าร่วมกิจกรรมอยใู่ นระดับน้อยทสี่ ดุ

70

ท่ี พฤติกรรมต่อการเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นานักเรยี น นกั ศึกษา ระดับพฤตกิ รรม
54321
ดา้ นแรงจูงใจของการเข้าร่วมกิจกรรม
1 ไดร้ ับเน้ือหามีประโยชน์ตอ่ การใช้ชีวิตประจำวนั
2 ได้รบั สาระความรทู้ นี่ ำไปปรบั ใช้ในการเรยี น
3 ได้แลกเปลยี่ นความคิด เปิดโลกทศั น์
4 ได้รว่ มกจิ กรรมรูปแบบใหม่
ด้านความสัมพันธ์กับบุคคลอืน่
1 ได้เรยี นรู้การทำงานรว่ มกบั บคุ คลอนื่
2 ได้พบปะกบั เพ่ือน และปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั บคุ คลอื่น
3 ได้รับรู้ แบ่งปัน ขอ้ มูลขา่ วสารที่เปน็ ประโยชน์
4 ได้รบั ประสบการณ์และมุมมองใหม่ๆ
ดา้ นการให้ความสำคญั กับกิจกรรม
1 ได้พัฒนาทักษะและการประยกุ ตใ์ ช้
2 ได้พัฒนาคณุ ธรรม จริยธรรมและลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
3 ได้พฒั นาตนเองให้เปน็ คนดี คนเก่ง และมีความสุข
4 ได้พฒั นาบุคลิกภาพและความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเอง
5 ได้พัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาการและวิชาชพี
ด้านการใหค้ วามรว่ มมือในการเขา้ รว่ มกิจกรรม
1 มคี วามตั้งใจเขา้ ร่วมกิจกรรม
2 มีส่วนรว่ มแสดงความคดิ เหน็ เป็นประชาธิปไตย
3 มสี ่วนร่วมแสดงความความรู้ทางวชิ าการและวชิ าชีพของตนเอง
4 มีร่วมสง่ เสริมจรรยาบรรณวิชาชพี ของตนเอง
5 มีส่วนร่วมกิจกรรมที่เปน็ ประโยชนแ์ กส่ ถานศึกษา สังคม ชมุ ชน

ตอนท่ี 4 แบบสอบถามความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นานกั เรียน นกั ศกึ ษา รปู แบบใหม่
(New Normal) ของวทิ ยาลยั เทคนิคมวกเหลก็

คำช้ีแจง ใส่เครื่องหมายถูก √ ลงในช่องระดบั ความพึงพอใจที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน โดยใช้

เกณฑ์ในการกำหนดนำ้ หนกั คะแนนเปน็ 5 ระดบั ดังนี้

5 หมายถึง มีความพึงพอใจในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมอย่ใู นระดับมากทสี่ ุด
4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยู่ในระดับมาก

3 หมายถึง มีความพึงพอใจในการเขา้ รว่ มกิจกรรมอยูใ่ นระดับปานกลาง
2 หมายถึง มีความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมกิจกรรมอย่ใู นระดับนอ้ ย
1 หมายถงึ มีความพงึ พอใจในการเขา้ รว่ มกิจกรรมอยใู่ นระดบั น้อยทีส่ ุด

71

ท่ี ความพงึ พอใจในการเขา้ ร่วมกจิ กรรมพฒั นานกั เรียน ระดบั ความพึงพอใจ
นักศกึ ษา 54321

ด้านโปรแกรมหรอื ระบบออนไลน์

1 ความเหมาะสมของโปรแกรมหรอื ระบบออนไลน์ ในการจัด
กิจกรรม

2 การเตรยี มพรอ้ มของโปรแกรมหรอื ระบบออนไลน์ ก่อนการจดั
กจิ กรรม

3 มีความทนั สมยั ง่ายตอ่ การเขา้ ใชง้ าน

4 สามารถใช้ไดก้ ับคอมพิวเตอร์หรอื โทรศัพทม์ อื ถอื (สมารท์ โฟน)
ได้ทุกนิด

ดา้ นความสะดวกในการเข้าร่วมกิจกรรม

1 ข้ันตอนการจดั กจิ กรรมง่ายตอ่ การเขา้ ร่วม

2 รับรู้การประชาสัมพันธ์กิจกรรมจากหลายชอ่ งทางเข้าถึงงา่ ย

3 สามารถเขา้ ร่วมกิจกรรมทีบ่ ้าน หรอื ทอ่ี ืน่ ๆ ได้

4 สามารถ ถาม ตอบ ได้ในระหว่างร่วมกจิ กรรม

ดา้ นระยะเวลาในการจดั กิจกรรม

1 ความเหมาะสมของระยะเวลาการจดั กจิ กรรม

2 สามารถควบคมุ เวลาไดต้ ลอดการจดั กจิ กรรม

ดา้ นการจดั กจิ กรรม

1 การเตรยี มสื่อและความพรอ้ มของผดู้ ำเนนิ การจดั กจิ กรรม

2 การถ่ายทอดความรู้และความพรอ้ มของวิทยากร

3 การอธิบายเน้อื หาได้ชดั เจนและตรงประเด็น

4 การใชภ้ าษาท่เี หมาะสมและเข้าใจงา่ ย

5 การสรา้ งแรงจูงใจตอ่ ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม

6 การตอบขอ้ ซกั ถามได้เป็นอยา่ งดี

7 การนำความรู้ ทักษะ ไปใชใ้ นชวี ิตประจำวัน

8 การใชส้ อื่ และเอกสารประกอบการจดั กิจกรรม

ขอ้ เสนอแนะ

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

72

ตวั อยา่ งแบบสอบถาม Google form

73

ตัวอยา่ งแบบสอบถาม Google form

.

74

ภาคผนวก ง

ขออนุญาตเชิญผเู้ ชย่ี วชาญตรวจเครือ่ งมอื วิจัย

- หนังสือขออนญุ าตเชญิ ผู้เชยี่ วชาญ
- หนังสือเชญิ ผู้เชยี่ วชาญ
- หนงั สอื ตอบรบั เชญิ เปน็ ผเู้ ชี่ยวชาญในการตรวจเครอ่ื งมอื วิจยั

75

หนงั สอื ขออนุญาตเชญิ ผเู้ ช่ียวชาญ

76

หนังสอื เชญิ ผู้เชยี่ วชาญ

77

78

79

80

81

หนังสอื ตอบรบั เชิญเปน็ ผเู้ ช่ยี วชาญในการตรวจเครอ่ื งมอื วิจยั

82

83

84

85

86

ภาคผนวก จ

ผลการวิเคราะหค์ ณุ ภาพของเคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ยั

87

ตารางที่ 1จ ผลการวิเคราะห์หาค่าดัชนีความสอดคล้องของแบบสอบถาม

รายการ คะแนนการพิจารณาของผเู้ ชยี่ วชาญ รวม ค่า IOC แปลผล

ประเมิน คนที่ คนที่ คนท่ี คนที่ คนที่
ขอ้ ที่ 1 2 3 4 5

ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกย่ี วกับพฤติกรรมตอ่ การเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นานกั เรียน นักศกึ ษา

ด้านแรงจงู ใจของการเขา้ ร่วมกิจกรรม

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง

ดา้ นความสมั พนั ธก์ ับบุคคลอื่น

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
4 +1 +1 +1 +1 0 4 0.80 สอดคลอ้ ง

ดา้ นการให้ความสำคัญกับกิจกรรม

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง

ด้านการให้ความร่วมมือในการเข้ารว่ มกจิ กรรม

1 +1 +1 0 +1 +1 4 0.80 สอดคลอ้ ง
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง

88

ตารางท่ี 1จ (ต่อ) รวม คา่ IOC แปลผล

รายการ คะแนนการพจิ ารณาของผู้เชีย่ วชาญ
ประเมนิ คนท่ี คนท่ี คนที่ คนที่ คนที่
ขอ้ ที่ 1 2 3 4 5

ตอนท่ี 4 แบบสอบถามเกย่ี วกบั ความพึงพอใจในการเข้ารว่ มกจิ กรรมพฒั นานักเรียน นักศึกษา

ด้านโปรแกรมหรือระบบออนไลน์

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
2 +1 +1 +1 0 +1 4 0.80 สอดคล้อง
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง

ดา้ นความสะดวกในการเขา้ ร่วมกิจกรรม

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง

ดา้ นระยะเวลาในการจัดกิจกรรม

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง

ดา้ นเนื้อหาของกจิ กรรม

1 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
2 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
3 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
4 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง
5 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
6 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคล้อง
7 +1 +1 +1 0 +1 4 0.80 สอดคล้อง
8 +1 +1 +1 +1 +1 5 1.00 สอดคลอ้ ง

89

ภาคผนวก ฉ

การทดลองใช้เคร่ืองมือในการวจิ ยั (Try – Out)

- หนังสอื ขออนญุ าตส่งหนงั สอื ขอความอนุเคราะในการทดลอง(Try – Out)
เครื่องมอื

- หนังสือขอความอนเุ คราะห์ในการทดลอง (Try – Out) เครื่องมอื
- หนังสือตอบรับการทดลองใชเ้ ครื่องมือในงานวจิ ยั


Click to View FlipBook Version