The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน กัญชา แก้ไข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tukkyyanisa2524, 2022-05-25 23:28:44

แผนการสอน กัญชา แก้ไข

แผนการสอน กัญชา แก้ไข

แผนการจดั การเรยี นรรู้ ายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา
เพือ่ ใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หน่วยกิต

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั สุพรรณบรุ ี
สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธิการ



คานา

แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา รายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยา
อย่างชาญฉลาด สาระทักษะการดําเนินชีวิตหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 จัดทําข้ึนเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย แนวทางการจัดการ
เรียนการสอนแบบ ONIE MODEL 4 ขั้นตอน ได้แก่ ข้ันตอนที่ 1 การกําหนดสภาพ ปัญหา ความต้องการ ใน
การเรียนรู้ (O : Orientation) ข้ันตอน ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ (N : New ways of
learning) ขั้นตอนท่ี 3 การปฏิบัติและนําไปประยุกต์ใช้ (I : Implementation) ข้ันตอนท่ี 4 การประเมินผล
(E : Evaluation) มีเนื้อหาความสอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน.
ปีงบประมาณ 2564 และแนวนโยบาย จุดเน้นการปฏิบัติในการจัดการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
นอกระบบแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ในการจัดทําแผนการจัดการเรียนการสอนเล่มนี้ ผู้จัดทําได้รวบรวมองค์ความรู้
ทักษะและสภาพปัญหาจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมา เพ่ือนํามาปรับปรุงเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพ
กระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีการจัดการเรียนรู้ครบตามเน้ือหา และตัวชี้วัดของ
หลักสตู ร

ขอขอบคุณภาคีเครือข่ายและผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านที่ให้ความรู้ คําแนะนําและ
ให้คําปรึกษาเป็นแนวทาง ทําให้แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาเล่มนี้ จนสําเร็จเป็นรูปเล่มสมบูรณ์
คณะผู้จัดทําหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์สําหรับผู้นําไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนรู้
ได้อย่างมีประสิทธิภาพหากพบข้อผิดพลาดหรือมีข้อเสนอแนะประการใด คณะผู้จัดทําขอน้อมรับไว้แก้ไข
ปรบั ปรงุ ดว้ ยความขอบคุณย่ิง



สารบญั

คานา หนา้
สารบญั ก
คาอธิบายรายวิชา วิชากัญชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด ข
รายละเอยี ดคาอธิบายรายวิชา วิชา กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด 1
ตารางวิเคราะหย์ ากง่ายรายวิชา กัญชาและกญั ชงศึกษา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด 2
แผนการจัดการเรียนรู้แบบพบกลุม่ คร้ังท่ี 10 11
20
- ใบความรู้ 25
- ใบงาน 51
- เฉลยใบงาน 54
- แบบทดสอบย่อย 58
- เฉลยแบบทดสอบย่อย 60
- บนั ทึกผลหลังการเรยี นรู้ 62
ปฏทิ นิ การเรยี นร้ดู ้วยตนเอง วิชา กญั ชาและกัญชงศึกษา เพ่อื ใชเ้ ปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด
แผนการจัดการเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง ครง้ั ท่ี 7
- ใบความรู้
- ใบงาน
- เฉลยใบงาน
แผนการจดั การเรียนร้ดู ้วยตนเอง ครง้ั ท่ี 10
- ใบความรู้
- ใบงาน
- เฉลยใบงาน
แผนการจัดการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง คร้งั ที่ 11
- ใบความรู้
- ใบงาน
- เฉลยใบงาน
บรรณานกุ รม
คณะทางาน

1

คาอธบิ ายรายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพื่อใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด
จานวน 3 หนว่ ยกติ

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย
มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ

รู้ เขา้ ใจ มคี ณุ ธรรม จริยธรรม เจตคติทดี่ ี มีทกั ษะในการดแู ล และสรา้ งเสริมการมีพฤติกรรมสุขภาพท่ี
ดี ปฏบิ ัตจิ นเป็นกจิ นสิ ัย วางแผนพฒั นาสุขภาพ ดํารงสุขภาพของตนเอง และครอบครัว ตลอดจนสนับสนุนให้
ชมุ ชนมสี ่วนร่วมในการสง่ เสรมิ ด้านสขุ ภาพพลานามยั และพัฒนาสภาพแวดลอ้ มท่ดี ี
ศึกษาและฝกึ ทักษะเกีย่ วกับเรอื่ งต่อไปนี้

เหตุใดต้องเรียนรู้กัญชาและกัญชง กัญชาและกัญชงพืชยาท่ีควรรู้ รู้จักโทษและประโยชน์ กฎหมายท่ี
เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง กัญชากับการแพทย์ทางเลือก และแพทย์แผนปัจจุบัน และใช้กัญชาและกัญชง
เป็นยาอยา่ งร้คู ณุ ค่าและชาญฉลาด

เพ่ือให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจ และทักษะชีวิตในการเรียนรู้กัญชาและกัญชง ใช้เป็นยาอย่างชาญ
ฉลาด ตระหนักถึงโทษและประโยชน์ของกัญชาและกัญชง ตลอดจนสามารถนําความรู้ และทักษะชีวิตที่ได้ไป
แนะนําบุคคลในครอบครัว หรือเพื่อน หรือชุมชน ในการใช้กัญชาและกัญชงเป็นยาในการรักษาหรือควบคุม
อาการได้อยา่ งเหมาะสม
การจดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้

บรรยายสรุป กําหนดประเด็นศึกษาค้นคว้าร่วมกัน ศึกษาค้นคว้าจากสื่อท่ีหลากหลาย บันทึกผล
การศึกษาค้นคว้าท่ีได้ลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.) และนํามาพบกลุ่ม อภิปราย คิดแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ข้อมูลท่ีได้ กับเพื่อนผู้เรียนและครูผู้สอนคิดสรุปการเรียนรู้ที่ได้ใหม่ร่วมกัน บันทึกลงในเอกสารการ
เรียนรดู้ ้วยตนเอง (กรต.) นําข้อสรุปการเรียนรู้ท่ีได้ใหม่มาฝึกปฏิบัติด้วยการทําแบบฝึกหัด และกิจกรรมตามท่ี
มอบหมาย จัดทํารายงานการศึกษาการนํากัญชาไปใช้ทางการแพทย์ทางเลือก และรายงานการศึกษาการนํา
กัญชาและกัญชงไปใช้ทางการแพทย์แผนปัจจุบันตามท่ีสนใจ นําเสนอผลการศึกษาต่อเพื่อนผู้เรียนและ
ครผู ู้สอน ตลอดจนบนั ทกึ ผลการเรยี นรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการฝึกปฏบิ ตั ิลงในเอกสารการเรียนรู้ด้วยตนเอง (กรต.)
การวัดและประเมินผล

ประเมินความก้าวหน้า ด้วยวิธีการสังเกต การซักถาม ตอบคําถาม การตรวจเอกสาร การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง (กรต.) การตรวจรายงานการศึกษาการนํากัญชาไปใช้ทางการแพทย์ทางเลือกและรายงานการศึกษา
การนํากัญชาและกัญชงไปใช้ทางการแพทย์แผนปัจจุบัน นําเสนอ และประเมินผลรวมด้วยวิธีการ ให้ตอบ
แบบทดสอบวัดความรู้ ตอบแบบสอบถามวัดทักษะ และตอบแบบสอบถามวดั เจตคติ

2

รายละเอียดคาอธบิ ายรายวิชา ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา
เพือ่ ใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หนว่ ยกติ
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั

รู้ เข้าใจ มีคุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติท่ดี ี มีทักษะในการดูแล และสร้างเสริมการมีพฤติกรรม

สุขภาพที่ดี ปฏิบัติจนเป็นกิจนิสัย วางแผนพัฒนาสุขภาพ ดํารงสุขภาพของตนเอง และครอบครัว ตลอดจน

สนบั สนนุ ใหช้ มุ ชนมีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ ด้านสขุ ภาพพลานามยั และพฒั นาสภาพแวดลอ้ มทด่ี ี

ที่ หัวเร่อื ง ตวั ชีว้ ัด เน้อื หา จานวน
ช่ัวโมง
1 เหตใุ ดต้องเรยี นรู้ 1. บอกมมุ มองกฎหมาย 1. มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและกัญ
กญั ชาและกญั ชง 10

การใชก้ ญั ชาและกญั ชง ชงในประเทศไทยและต่างประเทศ

ในประเทศและตา่ งประเทศได้

2. บอกมมุ มองการใช้ 2. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของ

กัญชาและกัญชงของประชาชน ประชาชนทวั่ ไป

ท่วั ไปได้

3. วิเคราะห์หลักการของ 3. สภาพการณ์ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชา

ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับกัญชาและ และกญั ชงผ่านส่อื ออนไลน์

กญั ชงผา่ นส่อื ออนไลนแ์ ต่ละ 3.1 Internet

ประเภทได้ 3.2 Facebook

3.3 Line

3.4 YouTube

4. อธิบายสภาพการณ์การใช้ 4. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงใน

กญั ชาและกญั ชงในต่างประเทศ ตา่ งประเทศ

ได้

5. อธบิ ายสภาพการณ์การใช้ 5. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญชงใน

กญั ชาและกัญชงในประเทศไทย ประเทศไทย

ได้

6. บอกมุมมองการใช้กญั ชาและ 6. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของ

กัญชงของบคุ ลากรทาง บุคลากร ทางการแพทย์

การแพทยไ์ ด้

7. บอกมมุ มองการใช้กัญชาและ 7. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชงของ

กญั ชงของผปู้ วุ ยได้ ผปู้ ุวย

8. สภาพการณ์และขั้นตอนการให้บริการ

3

ท่ี หัวเรอื่ ง ตัวช้วี ัด เน้อื หา จานวน
ช่ัวโมง
2 กัญชาและกัญชง 8. อธิบายสภาพการณ์และ คลินกิ กัญชาในประเทศไทย
พืชยาท่คี วรรู้ 15
ขนั้ ตอนการใหบ้ รกิ ารคลนิ กิ

กัญชาในประเทศไทยได้

9. ตระหนักถึงมุมมองทุกมิติท่ี

เกี่ยวข้องกับกัญชาและกัญชง

รวมทัง้ สภาพการณ์การใชก้ ัญชา

และกัญชง ในตา่ งประเทศ

และประเทศไทย

1. บอกประวัติความเปน็ มาของ 1. ประวัติความเปน็ มา ของพืชกญั ชาและ

พืชกัญชาและกญั ชงได้ กญั ชง

2. อธิบายความสัมพนั ธ์เกีย่ วกบั 2. ความรูเ้ บื้องต้นเก่ยี วกับ พืชกัญชาและ

พชื กัญชาและกัญชงได้ กญั ชง

2.1 พฤกษศาสตร์ของ พืชกญั ชาและ

กญั ชง

2.2 ชนดิ (species) ของกัญชาและกัญ

ชง

2.3 องคป์ ระกอบทางเคมี และ

สารสําคญั ที่พบในพชื กัญชา และกญั ชง

2.3.1 องค์ประกอบ ทางเคมีที่พบใน

พชื กญั ชาและ กัญชง

2.3.2 สารสําคัญท่ีพบ ในพืชกัญชา

และกัญชง

1) สาร CBG

2) สาร THC

3) สาร CBD

4) สาร ออกฤทธิ์ท่ีร่วมกับแคนนา

บนิ อยด์

3. วิเคราะหค์ วามแตกต่าง และ 3. พืชกัญชาและกัญชง คืออะไร แตกต่าง

ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง พชื กัญชา กันอย่างไร

และกัญชงได้

4. บอกการใชพ้ ชื กญั ชา และ

กญั ชงในชีวติ ประจาํ วนั ของคน 4. การใชพ้ ชื กญั ชาและกัญชง ใน

4

ท่ี หัวเร่อื ง ตวั ช้วี ดั เนือ้ หา จานวน
ชั่วโมง

ใน โลกได้ ชีวติ ประจําวนั ของคนในโลก

5. ตระหนักถงึ คณุ คา่ กญั ชา 4.1 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชา และกัญชงไม่

และกญั ชงพชื ยาที่ ควรรู้ แปรรปู

4.2 ผลิตภัณฑ์พืชกัญชา และกัญชงแปร

รปู

4.3 การบรโิ ภคและอปุ โภค

4.3.1 ผลติ ภัณฑ์ เพ่ือการบรโิ ภค

4.3.2 ผลิตภัณฑ์ เพื่อความงาม และ

สขุ ภาพ

4.3.3 ผลติ ภณั ฑ์ เพ่ือการอปุ โภค

4.4 การนนั ทนาการ

3 รจู้ กั โทษและ 1. อธิบายโทษ ของกญั ชาและ 1. โทษของกัญชาและกญั ชง 15

ประโยชน์ ของ กัญชง ตอ่ ร่างกาย จิตใจ 1.1 ผลกระทบตอ่ ร่างกาย และ

กญั ชา และกญั ชง ครอบครวั ชุมชน สังคม และ ผลข้างเคยี ง

ประเทศชาติได้ 1.2 ผลกระทบตอ่ จติ ใจ

2. บอกผลขา้ งเคียงจาก การใช้ 1.3 ผลกระทบต่อ ครอบครัว ชุมชน

กัญชาและกัญชงได้ และสังคม

1.4 ผลกระทบตอ่ ประเทศชาติ

3. อธิบายประโยชนข์ อง กญั ชา 2. ประโยชน์ของกญั ชา และกัญชง ทาง

และกัญชงทาง การแพทย์ได้ การแพทย์

4. วิเคราะห์ความสาํ คัญ และ

หลักการของโทษ และ

ประโยชน์ของกญั ชา และกัญชง

ตาม กรณีศกึ ษาทีก่ ําหนดได้

5. ตระหนักถึงโทษและ

ประโยชนข์ องกัญชา และกัญชง

4 กฎหมาย ที่ 1. บอกกฎหมาย ทเ่ี กี่ยวข้องกับ 1. พระราชบญั ญัตยิ าเสพติด ให้โทษ พ.ศ. 15

เก่ยี วข้อง กบั กัญชา กัญชาและ กญั ชงได้ 2522

และ กญั ชง 2. อธิบายสาระที่สาํ คัญ ของ 2. พระราชบัญญัตวิ ตั ถุออกฤทธ์ิ ตอ่ จิต

กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง กับกัญชา และประสาท พ.ศ. 2559

และกญั ชงได้ 3. พระราชบัญญตั ยิ าเสพติด ใหโ้ ทษ

(ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2562

5

ท่ี หัวเร่อื ง ตัวชวี้ ัด เนอื้ หา จานวน
ช่ัวโมง
5 กญั ชากบั 4. ประกาศกระทรวง สาธารณสขุ ที่
การแพทย์ 25
ทางเลือก เก่ียวขอ้ งกับกัญชา และกัญชง

5. ประกาศคณะกรรมการ ควบคมุ ยาเสพ

ตดิ ให้โทษ

6. พระราชบัญญตั สิ ทิ ธิบตั ร กบั กัญชาและ

กัญชง

7. ขอ้ ปฏบิ ัติที่ต้องทําตาม กฎหมายท่ี

3. สามารถบอก ข้อปฏบิ ตั ิท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั กัญชา และกัญชง

ต้องทําตามกฎหมายที่เก่ียวข้อง

กับ กัญชาและกญั ชงได้

8. โทษของการฝุาฝนื กฎหมาย ท่ีเก่ียวขอ้ ง

4. วเิ คราะห์หลักการ เกย่ี วกบั กับกญั ชาและกัญชง

โทษของการ ฝาุ ฝนื กฎหมายท่ี

เกีย่ วข้อง กับกัญชาและกัญชง

ตามกรณีศกึ ษาท่ีกําหนด ได้ 9. กฎหมายระหวา่ งประเทศ เก่ียวกับ

5. บอกกฎหมาย ระหว่าง กัญชาและกัญชง

ประเทศ ทเ่ี ก่ียวกบั กญั ชา และ

กัญชงได้

6. ตระหนกั ถึงโทษ ของการฝุา

ฝืนกฎหมาย ท่ีเกี่ยวข้องกบั

กญั ชา และกัญชง

1. บอกประวตั ิ ความเปน็ มา 1. ประวัติความเป็นมาการใช้ กัญชาเป็น

การใช้ กัญชาเป็นยาทาง ยาทางการแพทย์ ในต่างประเทศ

การแพทย์ใน ต่างประเทศได้

2. บอกประวัติ ความเป็นมา 2. ประวัติความเป็นมาการใช้ กัญชาใน

การใช้ กัญชาในการแพทย์ การแพทย์ทางเลอื ก ของไทย

ทางเลอื กของไทยได้

3. วิเคราะห์ ความสัมพนั ธ์ และ 3. ตํารับยาที่มีกัญชา เป็นส่วนประกอบท่ี

หลกั การในตาํ รับยาที่มี กัญชา ได้มีการ คัดเลือกและมีการรับรองโดย

เปน็ ส่วนประกอบ ทไ่ี ด้มีการ กระทรวงสาธารณสุข

คัดเลอื กและ รับรองโดย 3.1 ยาอัคคนิ ีวคณะ

กระทรวง สาธารณสุข ตาม 3.2 ยาศขุ ไสยาศน์

6

ท่ี หัวเรือ่ ง ตัวชวี้ ดั เนอื้ หา จานวน
ช่ัวโมง

กรณีศึกษาทก่ี ําหนด ใหไ้ ด้ 3.3 ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย

4. อธิบายการนําตาํ รับ ยาที่มี 3.4 ยาน้ํามันสน่นั ไตรภพ

กญั ชาเป็น สว่ นประกอบที่ได้มี 3.5 ยาแก้ลมขนึ้ เบื้องสูง

การ คดั เลือกและรับรองโดย 3.6 ยาไฟอาวธุ

กระทรวงสาธารณสขุ ไป ใชใ้ น 3.7 ยาแก้นอนไม่หลับ หรือยาแก้ไข้

โรคทีส่ นใจศกึ ษาได้ ผอมเหลือง

5. ตระหนักถึงคณุ ค่า ของตาํ รับ 3.8 ยาแก้สณั ฑฆาต กลอ่ นแหง้

ยาทม่ี ีกญั ชา เป็นสว่ นประกอบ 3.9 ยาอมั ฤตย์โอสถ

3.10 ยาอไภยสาลี

3.11 ยาแกล้ มแกเ้ สน้

3.12 ยาแกโ้ รคจิต

3.13 ยาไพสาลี

3.14 ยาทาริดสีดวง ทวารหนัก และโรค

ผิวหนัง

3.15 ยาทาํ ลายพระสุเมรุ

3.16 ยาทัพยาธคิ ณุ

6. อธบิ ายขอ้ มูล ทีเ่ กีย่ วข้องกับ 4. ภูมิภูเบศรรวบรวมและ เผยแพร่ภมู ิ

ภูมิภูเบศร รวบรวมและเผยแพร่ ปัญญาไทย

ภมู ิปัญญาไทยได้

7. บอกข้อมลู ทีเ่ ก่ียวข้องกับภมู ิ 5. ภมู ปิ ญั ญาหมอพื้นบ้าน นายเดชา

ปัญญา หมอพน้ื บ้าน นายเดชา ศริ ิภัทร

ศริ ภิ ทั ร ได้

8. ตระหนักถึงคณุ คา่

ความสําคัญ ของ ภูมปิ ญั ญา

ภมู ภิ ูเบศร รวบรวมและเผยแพร่

ภมู ิปญั ญาไทย และ ตระหนกั ถงึ

ภมู ปิ ญั ญา หมอพ้นื บา้ น

นายเดชา ศิรภิ ทั ร กับการใช้

กัญชาเปน็ ยา

6 กญั ชาและกัญชง 1. บอกประวัติการใช้ กญั ชา 1. ประวัติการใช้กัญชา และ กัญชง ทาง 20

กับการแพทย์ แผน และกญั ชง ทางการแพทย์แผน การแพทย์แผนปัจจุบนั

ปัจจบุ นั ปจั จบุ นั ท้งั ในตา่ งประเทศ และ 1.1 ต่างประเทศ

7

ที่ หวั เรอื่ ง ตวั ช้ีวดั เน้ือหา จานวน
ชัว่ โมง

ประเทศไทยได้ 1.2 ประเทศไทย

2. บอกการใช้กญั ชา และกญั ชง 2. กัญชาและกัญชงที่ช่วย บรรเทาโรค

ท่ีช่วยบรรเทา โรคพารก์ นิ สัน แผนปจั จุบัน

มะเรง็ ลดอาการปวด ลมชกั 2.1 กญั ชาและกญั ชง กับโรคพารก์ นิ สัน

ผวิ หนัง และโรคตอ้ หนิ ได้ 2.2 กัญชาและกัญชง กบั โรคมะเรง็

3. ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ กัญชา 2.3 กัญชาและกัญชง กับการลดอาการ

และกญั ชงท่ชี ่วย บรรเทาโรค ปวด

แผนปจั จุบนั ศกึ ษาโรคทสี่ นใจ 2.4 กญั ชาและกัญชง กบั โรคลมชัก

ได้ 2.5 กัญชาและกัญชง กบั โรคผิวหนงั

2.6 กญั ชาและกัญชง กบั โรคตอ้ หิน

4. วเิ คราะห์หลักการใช้ นํา้ มัน 3. การใช้น้ํามันกัญชาและกัญชง กับ

กญั ชาและกญั ชง กับการแพทย์ การแพทย์แผนปจั จบุ ัน

แผน ปัจจุบนั ตามกรณีศกึ ษา ท่ี 3.1 นา้ํ มันกญั ชาคอื อะไร

กําหนดใหไ้ ด้ 3.2 ลกั ษณะของ นา้ํ มนั กญั ชา

3.3 สูตรของนา้ํ มันกญั ชา

3.4 วธิ ีการสกดั นา้ํ มันกัญชา

3.5 วิธกี ารใช้นํ้ามนั กัญชา

5. อธบิ ายผลติ ภณั ฑ์ กญั ชาและ 4. ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชง ทาง

กญั ชง ทางการแพทยไ์ ด้ การแพทย์

4.1 ผลิตภัณฑ์THC สังเคราะห์

(Synthetic THC)

4.1.1 ยาโดรนาบินอล (Dronabinol)

4.1.2 นาบิโลน (Nabilone)

4.2 ผลติ ภณั ฑส์ ารสกดั แคนนาบนิ อยด์

จากธรรมชาติ (Natural Purified

Cannabinoid)

4.3 ผลิตภัณฑ์สารสกดั CBD

4.4 ผลติ ภัณฑ์สาํ หรับสัตว์

5. การใชผ้ ลิตภัณฑก์ ญั ชาและ กญั ชง ให้

6. บอกวิธกี ารใช้ ผลิตภณั ฑ์ ไดป้ ระโยชน์ ทางการแพทยใ์ นปัจจบุ ัน

กัญชาและ กัญชง ให้ได้ 5.1 ภาวะคล่ืนไสอ้ าเจียน จากเคมีบําบัด

ประโยชน์ ทางการแพทยใ์ น 5.2 โรคลมชักท่รี กั ษายาก และโรคลมชกั

8

ท่ี หวั เรอ่ื ง ตัวชวี้ ัด เน้ือหา จานวน
ชั่วโมง

ปจั จุบัน ได้ ทด่ี ้อื ต่อยารักษา

5.3 ภาวะกล้ามเนอ้ื หดเกร็ง ในผู้ปวุ ยโรค

ปลอกประสาท เส่อื มแขง็

5.4 ภาวะปวดประสาท

6. การใชผ้ ลิตภัณฑก์ ัญชาและ กัญชงทาง

7. บอกวิธีการใช้ ผลติ ภณั ฑ์ การแพทย์นา่ จะได้ ประโยชนใ์ นการ

กัญชาและ กญั ชงทาง ควบคุมอาการ

การแพทย์ นา่ จะได้ประโยชน์ใน

การ ควบคุมอาการได้

8. ตระหนกั ถงึ ความสําคัญของ

การ นาํ กัญชาและกัญชง ไปใช้

รักษาโรค และ ลดอาการปวด

ในการแพทย์แผนปัจจบุ ัน

7 ใช้กัญชาและกัญชง 1. บอกความเช่ือและความจริง 1. ความเชอ่ื และความจริงเกีย่ วกบั กญั ชา

เปน็ ยาอย่างรู้คณุ ค่า เก่ียวกบั กัญชาและกัญชงทาง และกัญชง ทางการแพทย์

และชาญฉลาด การแพทย์ ได้ 1.1 ความเชอื่ เกี่ยวกบั กญั ชาและกัญชง

ทางการแพทย์

1.2 ความจรงิ เก่ียวกบั กัญชาและกญั ชง

ทางการแพทย์

2. บอกวิธีการใช้ ผลิตภัณฑ์ 2. การใชผ้ ลิตภัณฑก์ ัญชาและ กญั ชงทาง

กญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์ การแพทย์ในอนาคต ให้ไดป้ ระโยชน์

ใน อนาคตให้ไดป้ ระโยชน์ได้

3. บอกข้อแนะนาํ ก่อน 3. ข้อแนะนําก่อนตัดสนิ ใจ ใช้ผลิตภัณฑ์

ตดั สนิ ใจใชผ้ ลิตภณั ฑ์ กัญชา กัญชาและกญั ชง ทางการแพทย์

และกัญชง ทางการแพทย์ได้

4. บอกวิธีการ วางแผนการ 4. การวางแผนการรกั ษาดว้ ย ผลติ ภณั ฑ์

รักษาดว้ ย ผลิตภัณฑ์กัญชาและ กัญชาและกญั ชง

กัญชงได้

5. อธบิ ายวธิ ีการเรม่ิ ใช้ 5. การเร่ิมใช้ผลิตภัณฑ์กัญชา และกัญชง

ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและกญั ชง ในทางการแพทย์

ในทางการแพทย์ได้

6. บอกข้อหา้ มใช้ ผลติ ภัณฑ์ทมี่ ี 6. ข้อห้ามใช้ผลิตภัณฑ์ ที่มีสาร THC และ

9

ที่ หวั เรอื่ ง ตัวช้ีวดั เนอ้ื หา จานวน
ชัว่ โมง

สาร THC และ CBD เป็น CBD เป็นส่วนประกอบ

ส่วนประกอบได้

7. วิเคราะห์ ความสมั พนั ธ์ และ 7. ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ ผลิตภัณฑ์

หลกั การใชก้ ญั ชาและ กัญชง กัญชาและกัญชง

เป็นยาอยา่ งรู้ คณุ ค่าและชาญ 7.1 ข้อควรระวัง ทางการแพทย์

ฉลาดได้ 7.2 ขนาดของกัญชาและ กัญชงท่ีใช้

8. ให้คณุ ค่าหลกั ธรรม นาํ ชีวติ ในทางการแพทย์

พ้นพิษภัยจาก กัญชาและกัญชง 7.2.1 ขนาดยากัญชา และกัญชงท่ี

ได้ เหมาะสม

7.2.2 ปัจจัยทีม่ ีผลต่อ ขนาดกญั ชาและ

กญั ชง ท่ีเหมาะสม

7.2.3 คําแนะนําการใช้ขนาดของ

นํา้ มันกญั ชา และกญั ชง

7.3 ห้ามใช้น้ํามันกัญชา และกัญชงทา

บหุ รี่

7.4 สารตกค้างจาก การสกัดนํ้ามัน

กญั ชาและกัญชง

7.5 ความปลอดภัย ของน้ํามันกัญชา

และกัญชง

7.6 สายพนั ธุก์ ัญชาและ กญั ชงเหมาะกับ

บางโรค

7.7 หลักธรรมนําชีวิต พ้นพิษภัยจาก

กญั ชาและกัญชง

9. บอกข้อหา้ มในการ ใชก้ ญั ชา 8. ข้อหา้ มในการใช้กัญชาและ กญั ชง

และกัญชงได้

10. บอกวธิ ีการถอนพิษ 9. การถอนพษิ เบื้องตน้ จากการเมากัญชา

เบ้อื งตน้ จากการเมา กัญชาและ และกัญชง

กัญชงได้

11. สามารถนาํ ความรู้ ที่ไดจ้ าก

การศึกษา การใชก้ ัญชาและกัญ

ชง เป็นยาไปแนะนําบคุ คล ใน

ครอบครวั หรือเพื่อน หรือ

10

ท่ี หัวเรอื่ ง ตวั ช้วี ัด เนื้อหา จานวน
ชั่วโมง

ชุมชนได้
12. ตระหนักถึงคุณค่า ของการ
นาํ กญั ชาและ กัญชงไปใช้เป็น
ยา

11

ตารางวเิ คราะหย์ ากง่ายรายวชิ า รายวิชา ทช33098 กัญชาและกญั ชงศึกษา
เพ่ือใช้เป็นยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หนว่ ยกติ

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

ที่ ตวั ชี้วดั เนอื้ หา ช่วั โมง ออกแบบแผน
การจดั การเรยี นรู้
1 เหตใุ ดต้องเรยี นรู้กัญชาและกัญ 10 พบ การเรยี นรู้
กลมุ่ ด้วยตนเอง
ชง

1. บอกมุมมองกฎหมาย 1. มุมมองกฎหมายการใช้กัญชาและ

การใชก้ ญั ชาและกญั ชง กั ญ ช ง ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย แ ล ะ 

ในประเทศและต่างประเทศได้ ต่างประเทศ 

2. บอกมุมมองการใช้กัญชาและ

กญั ชงของประชาชนทั่วไปได้ 2. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชง 

3. วิเคราะห์หลักการของข้อมูลท่ี ของประชาชนทว่ั ไป

เกี่ยวข้องกบั กัญชาและกัญชง 3. สภาพการณ์ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องกับ

ผา่ นสื่อออนไลน์แตล่ ะประเภทได้ กัญชาและกญั ชงผ่านส่อื ออนไลน์

3.1 Internet

3.2 Facebook

4. อธบิ ายสภาพการณ์การใช้กัญชา 3.3 Line

และกัญชง ในต่างประเทศได้ 3.4 YouTube

5. อธบิ ายสภาพการณ์การใช้กญั ชา 4. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญ

และกัญชงในประเทศไทยได้ ชงในตา่ งประเทศ

6. บอกมุมมองการใช้กัญชาและ

กัญชงของบุคลากรทางการแพทย์ 5. สภาพการณ์การใช้กัญชาและกัญ

ได้ ชงในประเทศไทย

7. บอกมุมมองการใช้กัญชาและ

กญั ชง ของผปู้ ุวยได้ 6. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชง

8. อธบิ ายสภาพการณ์และข้ันตอน ของบุคลากร ทางการแพทย์

การใหบ้ ริการคลินกิ กัญชาใน

ประเทศไทยได้ 7. มุมมองการใช้กัญชาและกัญชง

9. ตระหนักถึงมุมมองทุกมิติที่ ของผปู้ ุวย

เก่ียวข้องกับกัญชาและกัญชง 8. สภาพการณ์และข้นั ตอนการ

รวมท้ังสภาพการณก์ ารใชก้ ัญชา ให้บริการคลนิ กิ กัญชาในประเทศไทย

12

ออกแบบแผน

ที่ ตัวชีว้ ดั เนื้อหา ชว่ั โมง การจดั การเรียนรู้
พบ การเรียนรู้
และกัญชง ในต่างประเทศ
และประเทศไทย กลมุ่ ด้วยตนเอง

2 กัญชาและกัญชงพืชยาทคี่ วรรู้ 15

1. บอกประวัติความเป็นมาของพชื 1. ประวตั คิ วามเปน็ มา ของพืชกญั ชา 

กญั ชาและกญั ชงได้ และกญั ชง

2. อธบิ ายความสมั พันธ์เก่ยี วกับพืช 2. ความรู้เบื้องตน้ เกี่ยวกับ พชื กัญชา 

กญั ชาและกัญชงได้ และกญั ชง

2.1 พฤกษศาสตรข์ อง พชื กัญชา

และกญั ชง

2.2 ชนดิ (species) ของกัญชาและ

กัญชง

2.3 องคป์ ระกอบทางเคมี และ

สารสาํ คัญทพ่ี บในพชื กัญชา และกัญ

ชง

2.3.1 องค์ประกอบ ทางเคมที ่ี

พบในพืชกญั ชาและ กัญชง

2.3.2 สารสาํ คัญทีพ่ บ ในพืช

กญั ชาและกญั ชง

1) สาร CBG

2) สาร THC

3) สาร CBD

4) สาร ออกฤทธิ์ทรี่ ว่ มกับ

3. วเิ คราะหค์ วามแตกต่าง และ แคนนาบนิ อยด์

ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง พชื กญั ชา 3. พืชกญั ชาและกัญชง คอื อะไร

และกัญชงได้ แตกตา่ งกนั อย่างไร

4. บอกการใช้พืชกญั ชา และกญั ชง

13

ที่ ตวั ช้ีวัด เนือ้ หา ชัว่ โมง ออกแบบแผน
การจัดการเรยี นรู้
ในชีวิตประจาํ วนั ของคนใน โลกได้ 4. การใช้พชื กัญชาและกัญชง ใน พบ การเรียนรู้
กลมุ่ ดว้ ยตนเอง
5. ตระหนกั ถงึ คุณคา่ กญั ชาและ ชีวติ ประจําวันของคนในโลก

กัญชงพชื ยาท่ี ควรรู้ 4.1 ผลติ ภัณฑพ์ ชื กญั ชา และกญั ชง

ไม่แปรรูป

4.2 ผลติ ภณั ฑ์พชื กัญชา และกญั ชง

แปรรปู

4.3 การบริโภคและอุปโภค

4.3.1 ผลติ ภัณฑ์ เพื่อการ

บรโิ ภค

4.3.2 ผลติ ภัณฑ์ เพอื่ ความงาม

และสขุ ภาพ

4.3.3 ผลติ ภัณฑ์ เพอ่ื การ

อุปโภค

4.4 การนนั ทนาการ

3 รู้จักโทษและ ประโยชน์ ของ 15

กญั ชา และกัญชง

1. อธบิ ายโทษ ของกัญชาและกญั 1. โทษของกญั ชาและกญั ชง

ชง ตอ่ รา่ งกาย จติ ใจ ครอบครวั 1.1 ผลกระทบต่อรา่ งกาย และ

ชมุ ชน สังคม และประเทศชาตไิ ด้ ผลข้างเคียง

2. บอกผลขา้ งเคียงจาก การใช้ 1.2 ผลกระทบตอ่ จติ ใจ

กญั ชาและกญั ชงได้ 1.3 ผลกระทบต่อ ครอบครัว

ชมุ ชน และสงั คม

3. อธิบายประโยชน์ของ กญั ชา 1.4 ผลกระทบตอ่ ประเทศชาติ

และกญั ชงทาง การแพทย์ได้ 2. ประโยชน์ของกญั ชา และกัญชง

4. วิเคราะหค์ วามสาํ คัญ และ ทางการแพทย์

หลกั การของโทษ และประโยชน์

ของกัญชา และกญั ชงตาม

กรณีศึกษาท่กี าํ หนดได้

5. ตระหนักถงึ โทษและ ประโยชน์

ของกญั ชา และกัญชง

14

ออกแบบแผน

ที่ ตัวช้ีวดั เน้ือหา ช่ัวโมง การจดั การเรียนรู้
พบ การเรยี นรู้

กลมุ่ ดว้ ยตนเอง

4 กฎหมาย ที่เกยี่ วข้อง กับกญั ชา 15

และ กญั ชง

1. บอกกฎหมาย ทเี่ ก่ียวข้องกับ 1. พระราชบัญญตั ิยาเสพติด ให้โทษ 

กญั ชาและ กัญชงได้ พ.ศ. 2522 

2. อธบิ ายสาระทสี่ ําคัญ ของ 2. พระราชบัญญตั ิวัตถุออกฤทธ์ิ ตอ่ 

กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง กบั กญั ชาและ จิตและประสาท พ.ศ. 2559 

กัญชงได้ 3. พระราชบญั ญัตยิ าเสพตดิ ใหโ้ ทษ 

(ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562

4. ประกาศกระทรวง สาธารณสขุ ที่

เก่ยี วข้องกับกัญชา และกัญชง

5. ประกาศคณะกรรมการ ควบคุมยา

เสพติดใหโ้ ทษ

6. พระราชบญั ญัติสทิ ธบิ ตั ร กบั

กัญชาและกัญชง

3. สามารถบอก ข้อปฏบิ ตั ิทต่ี ้องทาํ 7. ข้อปฏบิ ตั ิที่ต้องทําตาม กฎหมายท่ี

ตามกฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั กัญชา เกี่ยวข้องกบั กัญชา และกัญชง

และกัญชงได้

4. วิเคราะห์หลกั การ เกย่ี วกับโทษ 8. โทษของการฝาุ ฝนื กฎหมาย ท่ี 

ของการ ฝาุ ฝนื กฎหมายท่เี กย่ี วข้อง เกยี่ วขอ้ งกบั กัญชาและกญั ชง

กบั กญั ชาและกญั ชง ตาม

กรณีศึกษาที่กําหนด ได้

5. บอกกฎหมาย ระหวา่ งประเทศ 9. กฎหมายระหว่างประเทศ เกย่ี วกบั

ที่เก่ยี วกบั กญั ชา และกัญชงได้ กญั ชาและกญั ชง

6. ตระหนักถึงโทษ ของการฝุาฝืน

กฎหมาย ทเี่ ก่ียวข้องกบั กัญชาและ

กัญชง

15

ที่ ตัวชีว้ ัด เนื้อหา ช่วั โมง ออกแบบแผน
การจัดการเรียนรู้
5 กญั ชากบั การแพทย์ ทางเลอื ก 25 พบ การเรยี นรู้
กลมุ่ ด้วยตนเอง
1. บอกประวัติ ความเปน็ มาการใช้ 1. ประวัติความเป็นมาการใช้ กัญชา

กัญชาเปน็ ยาทางการแพทยใ์ น เปน็ ยาทางการแพทย์ ในต่างประเทศ

ตา่ งประเทศได้

2. บอกประวัติ ความเปน็ มาการใช้ 2. ประวัติความเป็นมาการใช้ กัญชา

กญั ชาในการแพทย์ ทางเลือกของ ในการแพทยท์ างเลอื ก ของไทย

ไทยได้

3. วเิ คราะห์ ความสมั พนั ธ์ และ 3. ตํารับยาท่ีมีกัญชา เป็น

หลกั การในตาํ รบั ยาท่มี ี กัญชาเป็น ส่วนประกอบที่ได้มีการ คัดเลือกและ

สว่ นประกอบ ทีไ่ ด้มีการคัดเลือก มีการรับรองโดย กระทรวง

และ รับรองโดยกระทรวง สาธารณสุข

สาธารณสุข ตามกรณีศกึ ษาที่ 3.1 ยาอคั คนิ ีวคณะ

กาํ หนด ใหไ้ ด้ 3.2 ยาศขุ ไสยาศน์

4. อธิบายการนําตาํ รับ ยาท่ีมี 3.3 ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย

กัญชาเป็น ส่วนประกอบที่ได้มกี าร 3.4 ยาน้ํามนั สนนั่ ไตรภพ

คัดเลอื กและรบั รองโดย กระทรวง 3.5 ยาแก้ลมขน้ึ เบื้องสงู

สาธารณสุขไป ใชใ้ นโรคท่ีสนใจ 3.6 ยาไฟอาวุธ

ศกึ ษาได้ 3.7 ยาแก้นอนไม่หลับ หรือยาแก้

5. ตระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของตาํ รับยา ไข้ผอมเหลือง

ที่มกี ญั ชา เป็นสว่ นประกอบ 3.8 ยาแก้สณั ฑฆาต กลอ่ นแหง้

3.9 ยาอมั ฤตยโ์ อสถ

3.10 ยาอไภยสาลี

3.11 ยาแก้ลมแกเ้ ส้น

3.12 ยาแก้โรคจิต

3.13 ยาไพสาลี

3.14 ยาทาริดสีดวง ทวารหนัก

และโรคผิวหนัง

3.15 ยาท าลายพระสเุ มรุ

6. อธิบายขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วข้องกับภมู ิ 3.16 ยาทพั ยาธคิ ณุ

ภูเบศร รวบรวมและเผยแพร่ ภูมิ

16

ที่ ตวั ช้วี ัด เนือ้ หา ช่ัวโมง ออกแบบแผน
การจดั การเรียนรู้
ปญั ญาไทยได้ 4. ภูมภิ เู บศรรวบรวมและ เผยแพร่ พบ การเรียนรู้
กลมุ่ ดว้ ยตนเอง
7. บอกข้อมูล ท่เี ก่ียวข้องกบั ภูมิปญั ญาไทย

ภมู ิปัญญา หมอพน้ื บา้ น นายเดชา 

ศริ ภิ ทั ร ได้ 5. ภูมปิ ญั ญาหมอพนื้ บ้าน นายเดชา 

8. ตระหนกั ถึงคณุ ค่า ความสําคัญ ศิริภัทร

ของ ภูมิปัญญา

ภมู ภิ เู บศร รวบรวมและเผยแพร่

ภมู ปิ ัญญาไทย และ ตระหนักถึง

ภูมิปัญญา หมอพื้นบา้ น

นายเดชา ศริ ภิ ัทร กับการใช้กัญชา

เป็นยา

6 กญั ชาและกัญชงกับการแพทย์ 20

แผนปัจจุบัน

1. บอกประวตั ิการใช้ กัญชาและ 1. ประวัติการใช้กัญชา และ กัญชง

กัญชง ทางการแพทยแ์ ผน ปจั จุบัน ทางการแพทย์แผนปจั จบุ นั

ท้งั ในต่างประเทศ และประเทศ 1.1 ตา่ งประเทศ

ไทยได้ 1.2 ประเทศไทย

2. บอกการใชก้ ญั ชา และกญั ชงท่ี 2. กัญชาและกัญชงท่ีช่วย บรรเทา

ชว่ ยบรรเทา โรคพารก์ ินสัน มะเร็ง โรคแผนปัจจุบนั

ลดอาการปวด ลมชกั ผวิ หนัง และ 2.1 กัญชาและกัญชง กับโรคพาร์

โรคต้อหนิ ได้ กนิ สัน

3. ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ กัญชาและ 2.2 กัญชาและกญั ชง กบั โรคมะเรง็

กัญชงที่ชว่ ย บรรเทาโรคแผน 2.3 กัญชาและกัญชง กับการลด

ปจั จบุ นั ศึกษาโรคท่ีสนใจได้ อาการปวด

2.4 กญั ชาและกญั ชง กับโรคลมชกั

2.5 กัญชาและกัญชง กับโรค

4. วเิ คราะห์หลกั การใช้ นา้ํ มัน ผิวหนงั

กัญชาและกัญชง กับการแพทย์ 2.6 กัญชาและกญั ชง กบั โรคต้อหนิ

แผน ปจั จบุ ันตามกรณีศึกษา ท่ี 3. การใช้นํ้ามันกัญชาและกัญชง กับ

กาํ หนดใหไ้ ด้ การแพทย์แผนปจั จบุ ัน

17

ที่ ตัวช้วี ดั เน้ือหา ชัว่ โมง ออกแบบแผน
การจัดการเรยี นรู้
3.1 น้าํ มนั กัญชาคอื อะไร พบ การเรียนรู้
กลมุ่ ดว้ ยตนเอง
3.2 ลักษณะของ นาํ้ มนั กัญชา 

3.3 สตู รของนาํ้ มนั กญั ชา 

5. อธิบายผลิตภณั ฑ์ กัญชาและ 3.4 วิธีการสกัดนาํ้ มันกัญชา 

กัญชง ทางการแพทยไ์ ด้ 3.5 วิธีการใช้นา้ํ มนั กัญชา

4. ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและกัญชง ทาง

การแพทย์

4.1 ผลิตภณั ฑ์THC สังเคราะห์

(Synthetic THC)

4.1.1 ยาโดรนาบนิ อล

(Dronabinol)

4.1.2 นาบโิ ลน (Nabilone)

4.2 ผลติ ภณั ฑส์ ารสกดั แคนนาบิ

นอยดจ์ ากธรรมชาติ (Natural

Purified Cannabinoid)

6. บอกวิธกี ารใช้ ผลิตภัณฑ์กัญชา 4.3 ผลิตภัณฑ์สารสกดั CBD

และ กญั ชง ให้ได้ประโยชน์ ทาง 4.4 ผลิตภัณฑส์ ําหรบั สตั ว์

การแพทย์ในปัจจุบัน ได้ 5. การใช้ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและ กญั ชง

ให้ไดป้ ระโยชน์ ทางการแพทยใ์ น

ปัจจุบนั

5.1 ภาวะคล่นื ไส้อาเจยี น จากเคมี

บําบัด

5.2 โรคลมชกั ท่รี ักษายาก และโรค

ลมชกั ทดี่ อื้ ต่อยารักษา

7. บอกวิธกี ารใช้ ผลิตภณั ฑก์ ัญชา 5.3 ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ใน

และ กญั ชงทางการแพทย์ น่าจะได้ ผู้ปุวยโรคปลอกประสาท เสอ่ื มแข็ง

ประโยชนใ์ นการ ควบคุมอาการได้ 5.4 ภาวะปวดประสาท

8. ตระหนักถงึ ความสําคญั ของ 6. การใชผ้ ลติ ภัณฑ์กัญชาและ กญั ชง

การ นํากญั ชาและกญั ชง ไปใช้ ทางการแพทย์น่าจะได้ ประโยชน์ใน

รกั ษาโรค และ ลดอาการปวด ใน การควบคุมอาการ

18

ที่ ตวั ชว้ี ดั เนื้อหา ช่ัวโมง ออกแบบแผน
การจัดการเรียนรู้
การแพทยแ์ ผนปจั จบุ นั พบ การเรียนรู้
กลมุ่ ด้วยตนเอง
7 ใชก้ ัญชาและ กญั ชงเป็นยา อยา่ ง

รูค้ ุณค่าและ ชาญฉลาด

1. บอกความเชื่อและ ความจริง 1. ความเชือ่ และความจรงิ เกยี่ วกบั 

เกย่ี วกบั กัญชา และกัญชงทาง กัญชาและกญั ชง ทางการแพทย์ 

การแพทย์ ได้ 1.1 ความเชอ่ื เกย่ี วกับ กัญชาและ 

กญั ชงทางการแพทย์

1.2 ความจริงเกยี่ วกบั กัญชาและ

กญั ชงทางการแพทย์

2. บอกวธิ ีการใช้ ผลติ ภัณฑก์ ัญชา 2. การใชผ้ ลิตภัณฑก์ ัญชาและ กัญชง

และกญั ชงทางการแพทยใ์ น ทางการแพทย์ในอนาคต ให้ได้

อนาคตใหไ้ ด้ประโยชนไ์ ด้ ประโยชน์

3. บอกข้อแนะนําก่อน ตัดสินใจใช้

ผลิตภัณฑ์ กัญชาและกัญชง ทาง 3. ขอ้ แนะนําก่อนตดั สินใจ ใช้

การแพทยไ์ ด้ ผลติ ภัณฑก์ ญั ชาและกัญชง ทาง

4. บอกวิธกี ารวางแผนการรักษา การแพทย์

ดว้ ย ผลิตภณั ฑก์ ญั ชาและ กัญชง

ได้ 4. การวางแผนการรกั ษาด้วย

5. อธิบายวธิ กี ารเรม่ิ ใช้ ผลติ ภัณฑ์ ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชง

กัญชาและกัญชงในทางการแพทย์

ได้ 5. การเริ่มใช้ผลิตภัณฑก์ ัญชา และ

6. บอกข้อห้ามใช้ ผลิตภณั ฑ์ท่ีมี กัญชงในทางการแพทย์

สาร THC และ CBD เป็น

สว่ นประกอบได้

7. วเิ คราะห์ ความสมั พนั ธ์ และ

หลักการใช้กญั ชาและ กญั ชงเป็น 6. ขอ้ ห้ามใช้ผลิตภณั ฑ์ ทีม่ ีสาร THC

ยาอยา่ งรู้ คณุ คา่ และชาญฉลาดได้ และ CBD เป็นส่วนประกอบ

8. ใหค้ ณุ คา่ หลักธรรม นําชวี ิต พ้น

พิษภัยจาก กัญชาและกัญชงได้ 7. ขอ้ ควรระวังเก่ยี วกบั การใช้

ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกญั ชง

19

ที่ ตวั ช้วี ัด เนอ้ื หา ช่วั โมง ออกแบบแผน
การจัดการเรยี นรู้
7.1 ข้อควรระวงั ทางการแพทย์ พบ การเรียนรู้
กลมุ่ ดว้ ยตนเอง
7.2 ขนาดของกัญชาและ กัญชงที่ใช้

ในทางการแพทย์ 

7.2.1 ขนาดยากัญชา และกัญชง

ทเี่ หมาะสม

7.2.2 ปัจจยั ท่ีมผี ลต่อ ขนาด

กญั ชาและกัญชง ท่ีเหมาะสม

7.2.3 คําแนะนําการใชข้ นาดของ

น้าํ มันกญั ชา และกัญชง

7.3 หา้ มใชน้ าํ้ มันกัญชา และกญั ชง

ทาบหุ ร่ี

7.4 สารตกค้างจาก การสกัดนาํ้ มนั

กัญชาและกญั ชง

9. บอกข้อหา้ มในการ ใชก้ ัญชา 7.5 ความปลอดภยั ของนํ้ามนั

และกญั ชงได้ กญั ชาและกญั ชง

10. บอกวธิ กี ารถอนพษิ เบอื้ งตน้ 7.6 สายพันธุ์กญั ชาและ กญั ชง

จากการเมา กัญชาและกัญชงได้ เหมาะกบั บางโรค

11. สามารถนาํ ความรู้ ทีไ่ ด้จาก 7.7 หลักธรรมนาํ ชวี ติ พ้นพิษภยั

การศกึ ษา การใชก้ ัญชาและกัญชง จากกัญชาและกัญชง

เปน็ ยาไปแนะนําบคุ คล ใน 8. ข้อหา้ มในการใชก้ ัญชาและ กัญชง

ครอบครัว หรอื เพ่ือน หรือชุมชนได้

12. ตระหนักถึงคณุ ค่า ของการนาํ 9. การถอนพษิ เบ้ืองตน้ จากการเมา

กัญชาและ กัญชงไปใชเ้ ป็นยา กัญชาและกัญชง

20

แผนการจัดการเรียนรู้ (พบกลุ่ม)
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา
เพือ่ ใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หนว่ ยกติ

ครง้ั ที่ 10 จานวน 6 ชั่วโมง

เรื่อง เหตใุ ดต้องเรียนรู้ กญั ชาและกญั ชง
ตวั ช้วี ดั

บอกมุมมองการใช้ กัญชาและกัญชง ของประชาชนท่ัวไปได้
เนอ้ื หา

มุมมองการใช้กัญชาและ กญั ชงของประชาชนทั่วไป
เรือ่ ง ร้จู กั โทษและ ประโยชน์ ของกัญชา และกัญชง
ตัวชว้ี ดั

1. อธิบายโทษ ของกัญชาและกัญชง ต่อร่างกาย จิตใจ ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติได้
2. บอกผลข้างเคยี งจาก การใช้กัญชาและกญั ชงได้
3. อธบิ ายประโยชน์ของ กญั ชาและกัญชงทาง การแพทยไ์ ด้
4. วิเคราะห์ความสําคัญ และหลักการของโทษ และประโยชนข์ องกัญชา และกัญชงตาม กรณีศกึ ษาท่ี
กาํ หนดได้
5. ตระหนักถงึ โทษและประโยชนข์ องกัญชาและกัญชง
เนื้อหา
1. โทษของกญั ชาและกญั ชง

1.1 ผลกระทบต่อร่างกาย และผลขา้ งเคยี ง
1.2 ผลกระทบต่อจิตใจ
1.3 ผลกระทบต่อ ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม
1.4 ผลกระทบต่อ ประเทศชาติ
2. ประโยชนข์ องกญั ชา และกัญชง ทางการแพทย์
เรื่อง กฎหมาย ท่ีเกย่ี วข้อง กับกัญชาและ กัญชง
ตวั ชว้ี ดั
ตระหนกั ถึงโทษของการฝาุ ฝนื กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้องกบั กัญชาและกญั ชง
เนื้อหา
โทษของการฝาุ ฝืนกฎหมาย ท่ีเกย่ี วขอ้ งกับกัญชาและกัญชง
เรอ่ื ง กัญชากบั การแพทย์ ทางเลอื ก
ตวั ชว้ี ัด
1. วเิ คราะห์ ความสัมพันธ์ และ หลักการในตาํ รับยาทม่ี ี กัญชาเปน็ สว่ นประกอบ ท่ไี ด้มีการคัดเลือก
และรับรองโดยกระทรวง สาธารณสขุ ตามกรณศี ึกษาที่กําหนด ให้ได้

21

2. อธิบายการนําตาํ รบั ยาท่ีมีกัญชาเป็น ส่วนประกอบท่ีได้มกี าร คดั เลือกและรบั รองโดย กระทรวง
สาธารณสุขไป ใช้ในโรคที่สนใจศึกษาได้

3. ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของตํารับยาทมี่ ีกัญชา เปน็ ส่วนประกอบ
เน้ือหา

1. ตาํ รบั ยาทมี่ ีกญั ชา เปน็ สว่ นประกอบทีไ่ ด้มกี าร คัดเลือกและมกี ารรับรองโดย กระทรวงสาธารณสขุ
1.1 ยาอัคคินวี คณะ
1.2 ยาศขุ ไสยาศน์
1.3 ยาแกล้ มเนาวนารวี าโย
1.4 ยาน้ํามนั สนั่นไตรภพ
1.5 ยาแกล้ มข้นึ เบอื้ งสูง
1.6 ยาไฟอาวุธ
1.7 ยาแกน้ อนไม่หลบั หรอื ยาแกไ้ ข้ผอมเหลือง
1.8 ยาแกส้ ัณฑฆาต กลอ่ นแหง้
1.9 ยาอัมฤตย์โอสถ
1.10 ยาอไภยสาลี
1.11 ยาแก้ลมแก้เสน้
1.12 ยาแก้โรคจิต
1.13 ยาไพสาลี
1.14 ยาทาริดสีดวง ทวารหนัก และโรคผวิ หนงั
1.15 ยาทาํ ลายพระสเุ มรุ
13.16 ยาทพั ยาธิคณุ

เร่ือง กัญชาและกัญชง กับการแพทย์แผนปัจจบุ ัน
ตัวชว้ี ดั

1. บอกการใชก้ ัญชา และกัญชงท่ีช่วยบรรเทา โรคพารก์ นิ สัน มะเรง็ ลดอาการปวด ลมชัก ผิวหนงั
และโรคตอ้ หนิ ได้

2. ประยุกต์ใช้ความรู้ กัญชาและกญั ชงที่ชว่ ย บรรเทาโรคแผนปจั จบุ นั ศกึ ษาโรคท่สี นใจได้
3. วเิ คราะหห์ ลักการใช้ นํา้ มนั กัญชาและกัญชง กับการแพทย์แผน ปจั จบุ นั ตามกรณศี ึกษา ที่
กาํ หนดใหไ้ ด้
4. อธบิ ายผลติ ภณั ฑ์ กญั ชาและกัญชง ทางการแพทย์ได้
5. บอกวธิ กี ารใช้ ผลติ ภัณฑก์ ัญชาและ กญั ชง ให้ไดป้ ระโยชน์ ทางการแพทยใ์ นปจั จบุ ัน ได้
6. บอกวิธกี ารใช้ ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและ กัญชงทางการแพทย์ น่าจะได้ประโยชน์ในการ ควบคมุ อาการ
ได้
7. ตระหนักถงึ ความสาํ คญั ของการ นาํ กญั ชาและกญั ชง ไปใชร้ ักษาโรค และ ลดอาการปวด ใน
การแพทย์แผนปัจจุบัน

22

เน้อื หา
1. กัญชาและกัญชงทีช่ ว่ ย บรรเทาโรคแผนปัจจบุ นั
1.1 กัญชาและกญั ชง กับโรคพาร์กนิ สัน
1.2 กญั ชาและกญั ชง กบั โรคมะเรง็
1.3 กัญชาและกญั ชง กับการลดอาการปวด
1.4 กญั ชาและกัญชง กับโรคลมชัก
1.5 กญั ชาและกญั ชง กบั โรคผิวหนัง
1.6 กัญชาและกัญชง กับโรคต้อหนิ
2. การใช้น้าํ มันกญั ชาและกญั ชง กับการแพทยแ์ ผนปจั จุบัน
2.1 นา้ํ มนั กญั ชาคอื อะไร
2.2 ลกั ษณะของ นา้ํ มันกญั ชา
2.3 สตู รของน้ํามนั กัญชา
2.4 วิธกี ารสกัดนํ้ามันกญั ชา
2.5 วธิ ีการใช้นํ้ามนั กญั ชา
3. ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชง ทางการแพทย์
3.1 ผลิตภัณฑ์THC สงั เคราะห์ (Synthetic THC)
3.1.1 ยาโดรนาบนิ อล (Dronabinol)
3.1.2 นาบโิ ลน (Nabilone)
3.2 ผลิตภัณฑส์ ารสกัด แคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ (Natural Purified Cannabinoid)
3.3 ผลิตภัณฑส์ ารสกดั CBD
3.4 ผลติ ภัณฑ์สาํ หรับสัตว์
4. การใชผ้ ลติ ภัณฑก์ ญั ชาและ กัญชง ให้ได้ประโยชน์ ทางการแพทยใ์ นปจั จุบัน
4.1 ภาวะคลืน่ ไสอ้ าเจยี น จากเคมีบาํ บัด
4.2 โรคลมชกั ทรี่ ักษายาก และโรคลมชกั ท่ดี ้ือต่อยารักษา
4.3 ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผ้ปู ุวยโรคปลอกประสาท เส่อื มแข็ง
4.4 ภาวะปวดประสาท
5. การใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและ กัญชงทางการแพทยน์ ่าจะได้ ประโยชน์ในการควบคุมอาการ

เร่อื ง ใชก้ ัญชาและ กัญชงเป็นยา อยา่ งรคู้ ุณค่าและ ชาญฉลาด
ตัวชวี้ ัด

1. บอกวธิ กี าร วางแผนการรักษาดว้ ย ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและ กญั ชงได้
2. บอกข้อหา้ มใช้ ผลติ ภัณฑท์ ่ีมีสาร THC และ CBD เป็น สว่ นประกอบได้
3. วิเคราะห์ ความสัมพนั ธ์ และ หลกั การใช้กัญชาและ กญั ชงเป็นยาอยา่ งรู้ คณุ ค่าและชาญฉลาดได้
4. ให้คณุ คา่ หลักธรรม นาํ ชวี ิต พน้ พิษภยั จาก กัญชาและกัญชงได้
5. บอกข้อหา้ มในการ ใช้กัญชาและกญั ชงได้

23

6. บอกวธิ ีการถอนพิษ เบือ้ งต้นจากการเมา กัญชาและกญั ชงได้
7. สามารถนาํ ความรู้ ท่ีไดจ้ ากการศึกษา การใช้กัญชาและกัญชง เปน็ ยาไปแนะนาํ บุคคล ใน
ครอบครัว หรอื เพื่อน หรือชมุ ชนได้
8. ตระหนักถงึ คุณค่า ของการน ากญั ชาและ กญั ชงไปใชเ้ ป็นยา
เน้ือหา
1. การวางแผนการรักษาด้วย ผลิตภัณฑ์กัญชาและกญั ชง
2. ขอ้ หา้ มใชผ้ ลิตภัณฑ์ ที่มสี าร THC และ CBD เป็นสว่ นประกอบ
3. ขอ้ ควรระวังเกย่ี วกับการใช้ ผลิตภัณฑ์กญั ชาและกญั ชง

3.1 ขอ้ ควรระวัง ทางการแพทย์
3.2 ขนาดของกัญชาและ กญั ชงทใี่ ชใ้ นทางการแพทย์

3.2.1 ขนาดยากัญชา และกญั ชงท่เี หมาะสม
3.2.2 ปัจจยั ที่มผี ลต่อ ขนาดกัญชาและกญั ชง ท่ีเหมาะสม
3.2.3 คําแนะนาํ การใชข้ นาดของนํา้ มนั กญั ชา และกัญชง
3.3 ห้ามใชน้ ้ํามันกญั ชา และกัญชงทาบุหร่ี
3.4 สารตกคา้ งจาก การสกัดนาํ้ มันกัญชาและกัญชง
3.5 ความปลอดภยั ของน้ํามันกัญชาและกญั ชง
3.6 สายพันธก์ุ ญั ชาและ กญั ชงเหมาะกับบางโรค
3.7 หลกั ธรรมนาํ ชีวิต พน้ พิษภัยจากกัญชาและกญั ชง
4. ข้อห้ามในการใชก้ ัญชาและ กญั ชง
5. การถอนพษิ เบื้องต้น จากการเมากญั ชาและกญั ชง
ขน้ั ตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้
ขัน้ ที่ 1 การกาหนดสภาพปัญหา ความต้องการในการเรยี นรู้

ครทู บทวน กรต.ครง้ั ท่ีผา่ นและพดู คุยเลา่ ข่าวที่เก่ยี วข้องกบั กัญชาทไี่ ด้จากสื่อต่าง ๆ และใหผ้ ูเ้ รยี น
แสดงความคิดเห็นร่วมกันและพูดคยุ ถึง ความสําคัญของการ นํากญั ชาและกญั ชง ไปใช้รักษาโรค และ ลด
อาการปวด ในการแพทย์แผนปจั จุบนั
ขัน้ ท่ี 2 การแสวงหาขอ้ มูลและจัดการเรียนรู้

1. ครอู ธิบายเหตใุ ดต้องเรียนรู้ กญั ชาและกัญชง และให้รจู้ ักโทษและ ประโยชน์ ของกัญชา และกัญชง
2. ครูใหผ้ ู้เรียนคน้ ควา้ เรอื่ ง เก่ียวกบั โทษของการ ฝาุ ฝืนกฎหมายท่เี กีย่ วข้อง กับกัญชาและกญั ชงจากใบ
ความรู้ Internet พรอ้ มบนั ทึกลงในสมดุ บนั ทึกการเรียนรู้
3. แบ่งกลมุ่ ผเู้ รยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆละเท่าๆ กัน ศึกษาคน้ คว้าขอ้ มูลในเรื่องต่อไปน้ี

1. มมุ มองการใช้ กัญชาและกัญชง ของประชาชนทว่ั ไปได้
2. โทษและประโยชน์ ของกญั ชาและกญั ชง ต่อร่างกาย จติ ใจ ครอบครวั ชมุ ชน สังคม และ
ประเทศชาติได้

24

3. ตาํ รบั ยาทีม่ ีกญั ชา เป็นสว่ นประกอบท่ีไดม้ ีการ คัดเลอื กและมกี ารรับรองโดย กระทรวง
สาธารณสุข

4. กญั ชาและกัญชงทช่ี ว่ ย บรรเทาโรคแผนปจั จุบัน/การใช้นํา้ มันกญั ชาและกญั ชง กบั
การแพทย์แผนปจั จุบนั /ผลติ ภณั ฑ์กัญชาและกัญชง ทางการแพทย์/การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและ กัญชง ใหไ้ ด้
ประโยชน์ ทางการแพทยใ์ นปัจจุบนั /การใชผ้ ลติ ภณั ฑก์ ญั ชาและ กัญชงทางการแพทย์นา่ จะได้ ประโยชน์ใน
การควบคุมอาการ

5. การวางแผนการรักษาด้วย ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชง /ขอ้ หา้ มใชผ้ ลิตภณั ฑ์ ท่ีมีสาร THC
และ CBD เป็นสว่ นประกอบ /ข้อควรระวงั เกี่ยวกบั การใช้ ผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกัญชง โดยจัดทําแผนผงั
ความคดิ (Mind map)

4. สง่ ตัวแทนออกมานําเสนอหนา้ ชัน้ เรียน
ขั้นท่ี 3 การปฏิบัตแิ ละนาไปประยกุ ต์ใช้

1. ครแู ละผู้เรียนร่วมกนั สรุปเนอื้ หาเกย่ี วกับวธิ ีการใช้ ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและ กัญชง ให้ได้ประโยชน์
ทางการแพทย์ในปัจจุบนั พร้อมกับวิเคราะหส์ รปุ องค์ความรทู้ ไี่ ดจ้ ากการเรยี นและคน้ คว้าเพิ่มเติมจาก
อินเตอรเ์ น็ต จากนนั้ ครใู ห้ผู้เรียนทําใบงานและทาํ แบบทดสอบยอ่ ย

2. ครูเฉลยใบงานและแบบทดสอบ
3. ครแู ละผ้เู รียนร่วมกันถอดองค์ความรทู้ ่ีได้จากการคน้ ควา้ ในคร้งั นี้เพ่ือนาํ ไปประยกุ ต์ใช้ใน
ชวี ิตประจําวนั และบันทกึ ลงในสมุดบนั ทกึ การเรียนรู้
ขัน้ ที่ 4 การประเมนิ ผลการเรียนรู้
1. ใบงาน
2. แบบทดสอบ
3. แผนผังความคดิ
4. บันทึกการเรียนรู้

สอ่ื
1. หนงั สือเรยี น
2. อนิ เตอร์เนต็
3. ใบความรู้

การวดั ผลประเมนิ ผล
1. การตรวจผลงานจากใบงาน
2. การตรวจผลงานจากบันทึกการเรียนรู้
3. การทดสอบ

25

ใบความรู้ คร้ังที่ 10
รายวิชา ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพื่อใช้เปน็ ยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หน่วยกติ

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

กญั ชา-กัญชง ต่างกันอยา่ งไร กฎหมายอนุญาตใชป้ ระโยชน์อะไรไดบ้ ้าง
กัญชา เปน็ พืชทีเ่ ราค้นุ ช่อื มานานและรจู้ ักในนามของพชื ต้องห้ามเพราะกฎหมายจัดว่าเป็นยาเสพตดิ สว่ น
กญั ชง ก่อนหนา้ นเี้ ราไมค่ ุ้นชือ่ กันเท่าไหร่ แตช่ ว่ งหลัง ๆ ก็เร่มิ ไดย้ ินบ่อยจนคนุ้ หมู ากแล้วเหมือนกนั
เนอื่ งจากรัฐบาลปจั จุบันไดป้ ลดล็อกให้ใช้ประโยชนม์ ากมายของพืช 2 ชนดิ นี้ เพอื่ ประโยชนท์ างการแพทย์
และเศรษฐกิจ
คาํ วา่ “ปลดล็อก” ไม่ไดห้ มายความวา่ พชื 2 ชนิดนี้ถูกถอดออกจากรายช่ือยาเสพติดแล้ว แต่หมายถงึ การ
อนุญาตให้ใช้ประโยชน์ได้ภายใต้กรอบกฎหมาย
กระทรวงสาธารณสขุ ได้ออกประกาศกระทรวง เร่อื ง ระบชุ ่ือยาเสพตดิ ให้โทษในประเภท 5 (ฉบับท่ี 2) เม่อื
วันที่ 14 ธนั วาคม 2563 ให้บางสว่ นของตน้ กญั ชาและกญั ชงไมจ่ ดั เป็นยาเสพตดิ
สว่ นต่าง ๆ ของกัญชาที่ไมจ่ ัดเปน็ ยาเสพติด ได้แก่ เปลอื ก ลาต้น เสน้ ใย กง่ิ กา้ น ราก ใบ ซ่งึ ไม่มียอดหรือ
ช่อดอกตดิ มาด้วย สารสกัด CBD ท่มี ี THC ไมเ่ กินร้อยละ 0.2% และกากท่ีเหลือจากการสกดั กญั ชา ซึ่ง
ตอ้ งมี THC ไม่เกิน 0.2%
ส่วนต่าง ๆ ของกญั ชงทไี่ ม่จัดเป็นยาเสพติด ไดแ้ ก่ เปลอื ก ลาตน้ เสน้ ใย กง่ิ กา้ น ราก ใบ ซง่ึ ไมม่ ียอดหรือ
ช่อดอกติดมาด้วย สารสกัด CBD ทม่ี ี THC ไมเ่ กนิ 0.2% เมลด็ นา้ มนั หรือสารสกัดจากเมล็ด และกากท่ี
เหลอื จากการสกัดกัญชง ซ่ึงต้องมี THC ไมเ่ กิน 0.2%
ประชาชน เอกชน สามารถใช้ประโยชนจ์ ากสว่ นเหล่าน้ีของกญั ชาและกญั ชงได้ แต่มีข้อกําหนดวา่ ต้องได้มา
จากสถานทปี่ ลูกหรือผลติ ในประเทศ ซ่ึงได้รบั อนุญาตแลว้ เทา่ นั้น กรณีการนาํ เข้าสามารถนาํ เขา้ ได้ โดยขอ
อนุญาตเป็นยาเสพตดิ ยกเวน้ เปลอื กแหง้ แกนลาํ ต้นแห้ง และเสน้ ใยแห้ง ไดร้ บั การยกเว้นไม่เปน็ ยาเสพติดตาม
ประกาศนี้

26
กรณกี ญั ชงน้นั กา้ วหน้าไปกอ่ นกญั ชาแล้ว เพราะกระทรวงสาธารณสขุ ได้ออกกฎกระทรวง เร่อื ง การขอ
อนุญาตและการอนุญาตผลิต นาเขา้ ส่งออก จาหน่าย หรือมีไวใ้ นครอบครองซ่ึงยาเสพติดใหโ้ ทษใน
ประเภท 5 เฉพาะกัญชง (Hemp) พ.ศ. 2563 ใหข้ ออนุญาตปลกู ผลติ สง่ ออก จําหน่าย ครอบครองได้
ต้ังแตว่ ันที่ 29 มกราคม 2564 ส่วนการนาํ เขา้ เมลด็ พันธก์ุ ัญชงเข้ามาปลูกจะสามารถทาํ ได้ภายใน 5 ปี
นบั ต้ังแต่กฎกระทรวงฉบับนบี้ ังคบั ใช้

กญั ชา Photo by JUAN MABROMATA / AFP
ทราบเรอื่ งทางกฎหมาย-การอนุญาตให้ใช้ประโยชน์กันแล้ว เรามาทาํ ความรูจ้ ักกญั ชากับกญั ชงกันต่อซิว่า มี
ความเหมือนและความต่างกันอย่างไร
อยา่ งทเ่ี ราเหน็ กนั วา่ กัญชา กัญชง มีความคล้ายความเหมือนทงั้ ชอ่ื และรปู ร่างหนา้ ตา จรงิ ๆ แลว้ กัญชาและ
กัญชงเป็นพืชท่ีมีต้นกาเนิดจากพชื ชนิดเดยี วกัน คอื Cannabis sativa L. ในวงศ์ Cannabidaceae จึง
ทาให้ลักษณะภายนอกแตกต่างกันน้อยมาก แตห่ ลังจากท่ีมีการนําพืชทงั้ 2 ชนิดนไ้ี ปใช้ประโยชน์อยา่ ง
กว้างขวาง โดยในอดีตกัญชาถูกใช้เป็นยารกั ษาโรคและเพ่ือการสนั ทนาการ ขณะท่ีกัญชงเป็นพืชท่ีนําเสน้ ใยมา
ใชส้ ําหรบั การถกั ทอ จึงมีการคดั เลอื กสายพนั ธ์ทุ ่ีดีสดุ ทาํ ให้กัญชงและกญั ชามีความแตกต่างกนั เกิดข้นึ
กัญชา (Marijuana) มชี อ่ื ทางวิทยาศาสตร์วา่ Cannabis sativa L.subsp. indica ตน้ สูงไม่มากหากเทยี บกบั
กัญชง โดยมคี วามสูงไมเ่ กิน 2 เมตร มลี กั ษณะเปน็ ต้นพุ่ม แตกกงิ่ ก้านสาขาคอ่ นข้างมาก ลําตน้ เป็นปล้องหรือ
ขอ้ สนั้ ใบสเี ขียวจดั มี 5-7 แฉก โดยจะเรียงชิดกนั จะออกดอกเม่ืออายุประมาณ 3 เดือน และช่อดอกมยี าง
มากกัญชง (Hemp) มีช่ือทางวิทยาศาสตรว์ า่ Cannabis sativa L.subsp. sativa โดยท่วั ไปจะมีลําต้นสูงกวา่
กญั ชา หรือสงู มากกว่า 2 เมตร มลี กั ษณะลําต้นสูงเรยี ว แตกกงิ่ กา้ นสาขาน้อย ปลอ้ งหรือข้อยาว ใบสเี ขยี วออ่ น
มปี ระมาณ 7-11 แฉก โดยใบมีการเรียงสลบั ค่อนขา้ งห่างอย่างชัดเจน กัญชงจะออกดอกเมอ่ื อายมุ ากกว่า 4
เดือน และช่อดอกมียางไม่มาก
การจะแยกแยะพืชสองพ่นี ้องน้ดี ว้ ยตาเปล่า เราต้องจาลักษณะสาคัญของมนั ว่า กญั ชาตน้ เตยี้ และใบอ้วน
สว่ นกญั ชงต้นสงู และใบเรียว

27

กัญชง Photo by ROMAIN LAFABREGUE / AFP
นอกจากลักษณะทางกายภาพที่คอ่ นขา้ งตา่ งกันแล้ว สารสกัดทีไ่ ดจ้ ากพชื ท้ัง 2 ชนิดกม็ ีปริมาณทีต่ า่ งกันดว้ ย
กัญชงและกญั ชามสี ารทเ่ี รยี กวา่ THC (Tetrahydroconnabinol) และ CBD (Canabidiol) ซึ่งสารเหล่านจี้ ะ
เปน็ ตัวแบง่ แยกพืชทง้ั 2 ชนิดน้ีออกจากกนั
THC เป็นสารที่ทาํ ให้เมาหรอื เคลบิ เคล้ิม พบไดม้ ากในกัญชา โดยมปี ระมาณ 1-20% ส่วนกัญชงมสี ารชนดิ นี้
น้อยกว่า 1% ในทางการแพทยส์ าร THC มีประโยชนช์ ว่ ยลดอาการปวด ช่วยเพ่ิมความอยากอาหาร รักษา
ผลข้างเคียงจากการทําเคมีบําบดั แต่การใช้สารชนิดน้ใี นการรกั ษาก็อาจจะทําให้ผู้ปุวยปากแหง้ ตาแห้ง หรือ
การตอบสนองช้าลงได้
ส่วนสาร CBD ซ่งึ เป็นสารทีพ่ บไดใ้ นกัญชงมากกวา่ กัญชา คือพบประมาณ 2% แตใ่ นกญั ชามีสารชนิดนอ้ี ยู่น้อย
มาก เม่ือเสพสารชนดิ นเ้ี ข้าไปจะไม่มีอาการเมาหรือเคลบิ เคลม้ิ เหมอื นกญั ชา คุณสมบัตทิ างการแพทย์ของ
CBD มหี ลากหลาย ชว่ ยลดอาการปวด แก้อาการนอนไม่หลบั แกอ้ าการโรคลมชัก แม้จะใช้ในปรมิ าณมากก็ไม่
มผี ลข้างเคยี ง และสารนีย้ งั นยิ มนาํ มาใชใ้ นเคร่ืองสาํ อางและสกนิ แครต์ ่าง ๆ ด้วย
อกี ประโยชนห์ น่ึงของกญั ชง คือ เป็นพชื ทใี่ หเ้ สน้ ใยยาว เส้นใยมคี วามละเอียดใกล้เคยี งกับลินนิ มคี วามเหนยี ว
ทนทาน และมคี วามเงางาม ครบถ้วนคุณสมบัตเิ สน้ ใยช้นั ดี จงึ เป็นเส้นใยชนดิ หนง่ึ ทน่ี ยิ มใช้ผลิตเส้อื ผา้
เครอื่ งนงุ่ ห่มกนั มาเป็นเวลายาวนานแลว้ ในปจั จุบันผา้ ทีท่ อจากเส้นใยกญั ชงมรี าคาสูงและเปน็ ทีต่ ้องการมาก
ด้วยประโยชน์ท่ีหลากหลาย ใช้งานได้เกอื บทุกส่วน จึงไม่น่าแปลกใจท่ที ั้งกัญชาและกัญชงกาลังได้รบั
ความสนใจอยา่ งมาก ไมใ่ ช่แคใ่ นระดบั รายย่อยเทา่ นน้ั ได้ขา่ วว่าบริษทั ใหญ่ ๆ ก็กาลงั สนใจโอกาสใหมน่ ้ี
เช่นกัน

28

รวม 5 เมนูกญั ชาไทย กับสูตรทีท่ ากนิ เองไดท้ ีบ่ ้าน
เมนูกญั ชาไทย ถือเปน็ ภูมิปัญหาไทยท่สี ืบทอดกันมาแต่โบราณ อาหารท่ีใสก่ ัญชาเป็นวัตถุดิบมีฤทธ์ิช่วยรักษา
โรคบางอย่าง และเพิ่มรสชาติให้รสู้ กึ อร่อยกลมกลอ่ ม สว่ นประกอบจากตน้ กญั ชาท่นี าํ มาประกอบอาหารได้ ไม่
ถอื ว่าเป็นยาเสพติด ได้แก่ เปลอื ก ลาํ ตน้ เส้นใย ใบ และราก มาดูกนั ว่าเมนกู ญั ชาท่ีทาํ กินเองได้ท่บี ้าน มี
อะไรบา้ ง
ใบกัญชาสด มีสาร THCA (Tetrahydrocannabinolic Acid) เป็นสารที่มีผลต่อสุขภาพ ผลขา้ งเคียงของการ
บรโิ ภคกัญชา อาจมีอาการปากแหง้ คอแห้ง ง่วงนอน วิงเวียน เกดิ ข้ึน 30 นาที ถึง 3 ชว่ั โมง ขึน้ อย่กู ับปริมาณ
ที่บริโภค คาํ แนะนําจากสมุนไพรอภยั ภูเบศร ถงึ ผู้ท่ใี ชก้ ัญชาประกอบอาหาร ไม่ควรกนิ เกินวันละ 5-6 ใบ
5 เมนูกญั ชาไทย พร้อมสตู ร
1. กะเพรากัญชา

29

ดัดแปลงจากสูตรกะเพราทั่วไปท่ีคุณช่ืนชอบ ใส่กญั ชาครง่ึ ใบตอ่ จาน
สว่ นผสม
1. หมูสบั หรือเน้อื สตั ว์ท่ชี ื่นชอบ 100 - 200 กรัม
2. พรกิ แหง้
3. กระเทียมสับ 1 ชอ้ นโตะ๊
4. ซอสนํา้ มันหอย
5. ซีอิ๊วขาว 1-2 ชอ้ นโตะ๊
6. นาํ้ ตาลทราย คร่ึงช้อนชา
7. นํา้ ปลา 1 ชอ้ นชา
8. ใบกะเพรา 1 ถ้วย
9. ใบกัญชาคร่ึงใบ
10. นํ้ามนั พชื
วธิ ที า
1. ตั้งนํา้ มันให้ร้อน ใส่กระเทียมสบั ลงเจียว
2. ใส่หมูหรอื เนื้อสตั ว์ท่ีชนื่ ชอบ ตามดว้ ยซอี ีว๊ ขาว
3. ใส่ใบกญั ชา เติมน้าํ ปลา ตามด้วยใบกะเพรา
4. เมือ่ เนอ้ื สตั ว์สกุ แลว้ พรอ้ มเสริ ฟ์

2. แกงหน่อไม้กญั ชา

แกงหนอ่ ไม้ใบย่านางเป็นเมนูทน่ี ิยมของคนไทย หากอยากเพม่ิ รสชาตดิ ว้ ยกญั ชา กน็ ํามาคั้นรวมกบั นํา้ ใบย่านาง
กอ่ นต้ม มวี ิธีการทําดังนี้

30

ส่วนผสม
1. หน่อไม้ 2 ถว้ ย
2. เห็นนางฟาู คร่งึ ถว้ ย
3. ชะอม ครงึ่ ถว้ ย
4. ใบแมงลกั ครึง่ ถว้ ย
5. ใบย่านาง 1 ถ้วย
6. ใบกัญชา 2 ใบ
7. นํ้าปลา
8. เกลอื
9. พริกขหี้ นูสวน
10. ตะไคร้ซอย ครึ่งถว้ ย
11. น้าํ ต้มสุก 500 มิลลิลิตร
วธิ ที า
1. โขลกวตั ถุดิบใสใ่ นครก ไดแ้ ก่ ตะไคร้ซอย, พริกขีห้ นู,
2. ตําใบยา่ นาง กบั ใบกญั ชา ค้ันจนได้น้าํ สีเขยี วเข้ม
3. ต้มนา้ํ ให้เดอื ด ใสเ่ ครื่องแกง เกลือ ตามดว้ ยหน่อไม้
4. ปรุงรสด้วยนา้ํ ปลา หรอื นํ้าปลารา้ ตามชอบ

3. น้าพรกิ ออ่ งกัญชา

นํ้าพริกออ่ งใส่กญั ชาปรบั ปรุงมาจากเมนนู ้ําพริกอ่องทางเหนือ โดยใส่ใบกัญชา 1-2 ใบ เพิม่ รสชาติความกลม
กล่อม

31

สว่ นผสม
1. หมสู ับ 1 ถว้ ย
2. มะเขือเทศสีดา 12 ลกู
3. กะปิ 1 ช้อนชา
4. พริกแดงแหง้ 8-10 ผล
5. พรกิ ขหี้ นโู ขลก 1 ช้อนชา
6. เกลอื เลก็ น้อย
7. น้าํ ปลา
8. ใบกัญชาสด 1-2 ใบ
9. หอมแดง 5 หัว
10. กระเทยี ม 5 กลบี
11. นํา้ ต้มสกุ 1 ถ้วย
12. นํา้ มันพชื 2 ชอ้ นชา
วธิ ที า
1. นาํ พรกิ แดงแห้ง พริกขี้หนู หอมแดง กระเทียม ใบกญั ชา โขลกในครก ใหล้ ะเอียด เคล็ดลับควรทาํ ให้พริก
แดงแหง้ ชุ่มก่อนดว้ ยการแชน่ าํ้ ร้อน หรือลวกในนา้ํ เดือด
2. สบั มะเขือเทศสีดาเตรียมไว้
3. ใส่นํา้ มนั พชื ผัดเครอ่ื งแกงทโ่ี ขลกไว้
4. ใส่หมูลงผดั ตอ่ เมื่อหมใู กล้สกุ ใส่มะเขอื เทศสีดาสบั
5. ปรุงรสดว้ ยน้ําปลา เกลือ ตามชอบ

4. ยากญั ชากรอบ

32

ยํากัญชากรอบจากกลุ่มงานเภสชั กรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ใชใ้ บกัญชา 5 ใบ มีวธิ ีทําคลา้ ยยํา
ผกั บุง้ กรอบ ดังนี้
ส่วนผสม
1. ใบกัญชา 5 ใบ
2. แปูงทอดกรอบ 2 ชอ้ นโตะ๊ ผสมนํ้าเยน็ จดั สาํ หรับชุบแปูงทอด
3. หอมแดงซอย 3-4 หวั
4. ผักชลี าว 1-2 ใบ
5. แครอทซอย 1 ชอ้ นโตะ๊
6. มะนาว 1 ลูก
7. นาํ้ ปลาเล็กนอ้ ย
8. น้ําตาลเลก็ นอ้ ย
9. เกลือเล็กน้อย
10. พริกขหี้ นูสับ ครึ่งชอ้ นชา
11. หมูสบั รวน 3 ช้อนโต๊ะ
12. น้ํามันพืช
วธิ ที า
1. ซอยเครอื่ งยํา ใสห่ มูสับรวน และบีบมะนาว นํา้ ปลา
2. ทอดใบกญั ชาชบุ แปูงทอดในน้ํามนั พืชร้อนๆ เอาขึ้นพักใหห้ ายรอ้ น
3. เสิรฟ์ แยกกบั น้ํายํา ยงั ไม่ราดทันที

5. ชากญั ชา

ชากญั ชาเป็นอกี เมนสู ําหรบั ผู้ท่ีชน่ื ชอบกลนิ่ ของชาไทย จากกลุ่มงานการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก กล่มุ งานเภสชั กรรม โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภยั ภูเบศร ไดเ้ ผยแพรเ่ มนู “ชาไทยล้ัลลา” ไว้ในหนังสอื
CANNABIS COOK BOOK ตํารับยิ้ม ดงั นี้

33

ส่วนผสม
1. ใบชาดํากลิ่นหอม 6-8 ช้อนชา
2. นา้ํ มะนาวหรอื นํ้าผลไม้รสเปร้ยี ว 6 ชอ้ นโตะ๊
3. ดอกเก๊กฮวย หรือชาดอกไมก้ ลนิ่ หอม 6 ชอ้ นชา
4. ใบกัญชาสด 6 ใบ
5. ใบโรสแมรี่ 1 ช้อนชา
6. เกลอื เลก็ น้อย
7. นา้ํ ตาล 6 ชอ้ นโตะ๊
8. น้ําเปลา่ 500 มิลลลิ ิตร
9. โซดา 3 ขวด หรือนํา้ สะอาด 1 ลติ ร
10. นาํ้ แขง็
วธิ ีทา
1. ต้มชา ดอกเก๊กฮวย โรสแมรี่ ในน้าํ เปลา่ 200 มิลลลิ ติ ร ตม้ ให้เดือดแลว้ กรอกออกให้เหลอื แต่ชา
2. เติมน้ําตาลทรายในนา้ํ ชาหอมๆ คนจนน้าํ ตาลละลายหมดจงึ ปดิ แก๊ส
3. ลา้ งใบกัญชา นาํ ไปป่ันกับนาํ้ เปลา่ 200 มิลลิลิตร กรองเอาแต่นํ้า
4. เตรยี มนาํ้ มะนาว หรือน้ําผลไม้รสเปรีย้ ว 100 มิลลิลติ ร
5. ใสน่ ้ําแขง็ ในแกว้ 14 ออนซ์ ตามด้วยนาํ้ เชือ่ มชาหอม 30 มลิ ลลิ ิตร โซดา 100 มลิ ลิลติ ร และน้าํ ผลไม้รส
เปร้ียว 15 มลิ ลิลติ ร
6. เทน้ํากญั ชาคัน้ สดลงบนชั้นบนสดุ แล้วตกแตง่ ด้วยผลไม้หรอื ใบกญั ชาตามชอบ
ผทู้ ีไ่ มเ่ คยกินกัญชามาก่อน หากร้สู กึ วิงเวียน แกฤทธิ์ได้ด้วยการดืม่ น้ํามะนาวผสมนาํ้ ผงึ้ ผู้ที่ควรหลีกเลย่ี งการ
บรโิ ภคกัญชา คือผทู้ ่ีอายตุ า่ํ กว่า 25 ป,ี ตับและไตบกพร่อง, ผใู้ ช้ยาละลายลิม่ เลอื ดวารพ์ าริน, ผูป้ ุวยโรคหัวใจ
และหลอดเลือด, หญงิ ต้งั ครรภ์และให้นมบุตร และผู้ทใี่ ชย้ าที่มีผลตอ่ ระบบประสาทสว่ นกลาง

34

กญั ชาทางการแพทย์

กัญชาทางการแพทย์
พญ.เชดิ ชู อรยิ ศรวี ฒั นา

กัญชาเป็นพชื ท่ีมีผลออกฤทธิต์ ่อจิตประสาท และใช้เป็นยารักษาโรคมาตั้งแต่ยุคโบราณหลายพนั ปี
มาแล้วก่อนการเกิดศาสนา ซึ่งมีหลกั ฐานทางโบราณคดที ี่เชื่อว่ามนษุ ยใ์ นสมัยนัน้ ใช้กัญชาเพอื่ เหตผุ ลทางจิต
วิญญาณ จากการขุดคน้ พบโครงกระดูกมนุษย์อายรุ าว 10,000 ปี สนั นิษฐานวา่ มนุษยใ์ นยุคนน้ั ใชก้ ญั ชาเผาไฟ
ท่ดี า้ นในสุดของถํ้า เพ่ือสดู ดมควันจากการเผาไหม้ของกัญชา นอกจากนนั้ ยังมีหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ที่

35

บ่งชว้ี ่ามีการใชก้ ญั ชาเพ่อื ประโยชนใ์ นทางการแพทย์ ท้ังจากประเทศอังกฤษที่มีหนังสือกล่าวถงึ การใช้กัญชาใน
การรักษาโรคซมึ เศร้า รกั ษาอาการปวดประจําเดือน

ในปี พ.ศ. 2517 มรี ายงานจากรฐั เวอร์จเี นยี สหรัฐอเมริกา ว่าในกัญชาท่ีมีการแปรรปู แบบความ
เข้มข้นสงู จะโจมตีเซลล์มะเรง็ ในร่างกายและยงั คงรักษาเซลล์ทด่ี ไี ว้ โดยทมี วิจยั สรุปวา่ มันอาจเป็นการรักษาที่
ถกู ต้องสําหรับมะเรง็ เพราะมันทาํ งานได้อยา่ งรวดเรว็ และทํางานไดเ้ ปน็ อย่างดี
กัญชาและการถกู ควบคุมโดยกฎหมาย

ในปี พ.ศ. 2481 สภาคองเกรสของสหรัฐอเมริกาได้ออกกฎหมายห้ามการใช้กญั ชาทกุ รปู แบบ ไมเ่ วน้
แมแ้ ต่การใช้เส้นใยในอุตสาหกรรม แม้จะมเี สียงคัดค้านจาก Dr.William C. Woodward ผู้แทนจาก The
American Medical Association ท่ีไดค้ ดั ค้านในสภาวา่ ไม่มหี ลักฐานทบี่ ่งชวี้ า่ กัญชาคือยาเสพติดท่ีอันตราย
และทีม่ ากกว่านน้ั การออกกฎหมายในลกั ษณะนจ้ี ะเปน็ การทาํ ใหส้ ญู เสยี ผลประโยชน์ในด้านการแพทยใ์ นการ
สืบค้นยารักษาโรคจากกัญชาทอ่ี าจเปน็ ไปได้ในอนาคต แต่ก็ไม่ยอมรับฟัง ต่อมาในปี พ.ศ. 2483 กัญชาถูกลบ
ออกจากตํารบั ยาท้ังหมด และมีการเพ่มิ ความรนุ แรงในการลงโทษกรณมี ยี าเสพติด

ในปี พ.ศ. 2504 (ค.ศ. 1961) สหประชาชาตลิ งนามในความสญั ญาร่วมเพ่ือปราบยาเสพตดิ ใหห้ มดไป
จากโลกนี้ ส่งผลให้กญั ชากลายเปน็ ส่งิ ผิดกฎหมาย เป็นของต้องหา้ ม ไม่ใชส่ มนุ ไพร หรือการใชเ้ พื่อความบันเทิง
ใด ๆ

พ.ศ. 2514 สหรฐั อเมรกิ ามกี ารแบง่ บัญชยี าเสพตดิ ตามความรนุ แรง และกัญชาถูกจดั อย่ใู นบัญชที ่ี 1
คอื ยาเสพติดทีร่ ุนแรงที่สุด โดยไมม่ ีคณุ สมบัติทางยาใด ๆ

ในประเทศไทยดูเหมือนมกี ารนํากญั ชาเขา้ มาจากประเทศอินเดีย โดยอ้างหลักฐานจากช่ือซึ่งคลา้ ยกบั
คําวา่ gunja ในภาษาฮินดี เดิมกญั ชาใชใ้ นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นส่วนประกอบของอาหาร เครื่องเทศ ยา
และเส้นใย และนบั เปน็ สมนุ ไพรพนื้ บ้านมาหลายศตวรรษ

ประเทศไทยมีประวัติการใช้กัญชาในตํารบั ยารักษาอาการเจ็บปวุ ยตา่ ง ๆ มายาวนาน ตง้ั แตย่ ุคสมเดจ็
พระนารายณม์ หาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 2175-2231 ครองราชย์ พ.ศ. 2199-2231) แตต่ ้องหยดุ ใช้ไป
เนอ่ื งจากความเข้าใจผดิ ของคนทัว่ โลกท่ีกาํ หนดวา่ กัญชาเป็นส่งิ เสพตดิ ตามอนสุ ัญญาเดี่ยวว่าด้วยการควบคมุ
ยาเสพติดให้โทษ ปี ค.ศ. 1961 (Single Convention on Narcotic Drugs)

ประเทศไทยมพี ระราชบัญญตั ิยาเสพตดิ ให้โทษมาต้ังแต่ปี พ.ศ. 2465 และมีการแกไ้ ขฉบับสุดทา้ ยคือ
ฉบบั ที่ 7 พ.ศ. 2562 ซงึ่ ยงั คงบัญญตั ิให้กญั ชาเป็นยาเสพติดประเภทท่ี 5 ห้ามมิให้ผู้ใดผลิต จําหน่าย นําเขา้
สง่ ออก หรอื มีไว้ในครอบครอง เว้นแต่รัฐมนตรจี ะได้อนุญาต โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการควบคุมยา
เสพติดใหโ้ ทษเปน็ ราย ๆ ไป

แตค่ วามร้ใู หม่จากผลการศกึ ษาวิจัยในปัจจบุ นั ได้ชีใ้ หเ้ ห็นวา่ กัญชามสี ว่ นประกอบของสารท่รี า่ งกาย
มนษุ ย์เราสามารถสงั เคราะห์ไดเ้ องตามธรรมชาติ (endocannabinoid) ซ่งึ รา่ งกายนําไปใช้ประโยชน์ในการ
ควบคุมหรือส่งเสริมใหอ้ วัยวะภายในร่างกายสามารถทํางานให้เกดิ ความสมดุลแก่ชีวิต และได้พบว่าเม่ือร่างกาย
ขาดแคลนสารเหลา่ นี้อาจเป็นต้นเหตทุ ที่ ําให้เกิดพยาธสิ ภาพหรอื ความเจ็บปุวยบางอย่างในร่างกาย การให้
กญั ชาในผู้ปุวยเหลา่ นีจ้ งึ มีประโยชน์ต่อการชว่ ยใหร้ า่ งกายของคนเราสามารถฟนื้ จากความเจบ็ ปวุ ย และ
กลบั คนื สคู่ วามปกติได้ดงั เดิม

36

แต่เนอื่ งจากบทบัญญัตขิ องกฎหมายไดม้ องขา้ มประโยชน์ของกญั ชาในการดูแลรักษาสุขภาพมานาน
แลว้ นบั วา่ ถูกปิดก้นั การเขา้ ถึงกญั ชาในการนํามาใชป้ ระโยชน์ ได้แต่เพ่งโทษของกัญชา เมื่อหวนกลบั มามองถึง
ด้านดีมีประโยชนข์ องกัญชาจึงทําใหส้ ังคมเกดิ ความสบั สน กังขา ลังเล ไมแ่ นใ่ จ ในการท่ีจะนํากญั ชามาใช้
ประโยชนต์ อ่ มวลมนุษยชาตวิ ่าจะคมุ้ ค่ากบั การนาํ ไปใชใ้ หเ้ กิดโทษแก่ร่างกาย เชน่ การเสพติด และผลพวงจาก
การเสพตดิ มากกว่าประโยชนท์ ่ีจะไดร้ บั จากกญั ชาหรอื ไม่

ก่อนที่กัญชาจะถกู หา้ มใช้ ในปี พ.ศ. 2477 ทราบกันวา่ ผ้ใู ชแ้ รงงานใช้เป็นยาคลายกลา้ มเนื้อ และยงั มี
รายงานวา่ ใช้เพ่อื บรรเทาการเจ็บครรภข์ องหญงิ ได้ และชาวบ้านท่วั ไปก็รับทราบวา่ มีการใชก้ ัญชาในการ
ประกอบอาหาร ให้สูบเพื่อสันทนาการ ก่อนท่ีจะมีการออกกฎหมายทจ่ี ดั ให้กญั ชาเป็นพืชต้องห้าม ไม่ใช่
สมุนไพรท่สี ามารถนํามาใช้ในการรักษาโรค หรือใชใ้ นการใด ๆ ท้งั สิน้

โดยประเทศไทยได้ออกพระราชบัญญัตกิ ญั ชา พ.ศ. 2477 ซง่ึ ห้ามผู้ใดปลูก นาํ เข้า ซอื้ ขาย หรือ
ครอบครองกญั ชาโดยเดด็ ขาด ไม่เชน่ นน้ั จะได้รบั โทษทั้งจาํ และปรับอย่างรนุ แรง จนกระทงั่ ในปี พ.ศ. 2522
รฐั บาลไทยก็ได้ออกพระราชบัญญัติยาเสพตดิ โดยกัญชาถกู จัดเป็นยาเสพตดิ ใหโ้ ทษประเภทท่ี 5 ซึ่งมโี ทษทาง
อาญากับผเู้ สพและผู้ครอบครอง และไม่มีการอนุญาตให้นาํ มาใช้ในทางการแพทย์แต่อย่างใด

แตก่ ระแสการต่นื ตวั จากการใช้เส้นใยกัญชง (Hemp) ในช่วงปี พ.ศ. 2540 และมีพระราชเสาวนียข์ อง
สมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ เกีย่ วกับการใชป้ ระโยชนจ์ ากเสน้ ใยกญั ชง และจากความพยายาม
ของหลายภาคสว่ นท่ีเหน็ ถงึ ประโยชนข์ องการใช้เสน้ ใยกญั ชง และสารสกัดท่ีไดจ้ ากช่อดอกของกัญชง (CBD
oil) จึงได้มีการประกาศกฎกระทรวง การขออนุญาตผลติ จําหนา่ ย หรือมีไว้ในครอบครอง ซึ่งยาเสพติดใหโ้ ทษ
ในประเภทท่ี 5 เฉพาะเฮมพ์ (กญั ชง) พ.ศ. 2559

ต่อมามกี ระแสต่ืนตัวในการใช้นา้ํ มันสกดั จากกัญชาเพอ่ื ใช้ในทางการแพทย์มากข้ึน จนทําให้รัฐบาลได้
ออกพระราชบัญญัติยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 โดยมีสาระสาํ คญั ท่ีจะเปิดโอกาสใหบ้ คุ คลสามารถ
ใชย้ าเสพติดประเภทที่ 5 ในทางการแพทย์ได้ ทั้งน้ีภายใต้การควบคุมที่เครง่ ครดั ของสาํ นักงานคณะกรรมการ
อาหารและยา (อย.)

การประกาศใช้พระราชบญั ญัติยาเสพติดฉบบั น้ีจะเปน็ ประโยชนส์ าํ หรบั ผู้ปุวยทม่ี คี วามจาํ เป็นหรือขอ้
บ่งช้ีในการท่ีจะต้องใชย้ าหรอื สารสกัดจากกญั ชา และเปน็ ประโยชน์สาํ หรับนกั วิจัยทีจ่ ะสามารถนํากัญชามา
ปลกู พัฒนาสายพนั ธใ์ุ ห้มีความเหมาะสม เพ่ือนาํ มาพัฒนาตํารบั ยาใหม้ ีความปลอดภัยและมีประสทิ ธผิ ลในทาง
การแพทย์ ทงั้ ในตํารับยาแผนไทยและแผนปจั จบุ นั ต่อไป และเพ่ือส่งเสริมให้เป็นพืชเศรษฐกิจของไทยต่อไปใน
อนาคต ไม่วา่ จะเป็นทางดา้ นการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ การทาํ ผลติ ภณั ฑ์ทางยาและอาหารเสริม และอนื่ ๆ

แต่ทั้งน้ีเพื่อความปลอดภยั ในการใช้ประโยชนท์ างการแพทยเ์ ท่าน้ัน มิให้มกี ารนําไปใช้ในทางสันทนา
การหรือการเสพติด จึงจะต้องมีการควบคุมกํากบั อยา่ งเครง่ ครัดเพ่ือให้มีการควบคุมคุณภาพมาตรฐานของยา
และผลติ ภณั ฑ์ท่จี ะมาใช้ในทางการแพทย์ ต้งั แตก่ ารปลกู การนาํ มาพฒั นาเป็นผลิตภณั ฑ์ทางยา การวิจยั ทาง
คลนิ กิ เพ่ือตอ่ ยอดความรู้ให้ผู้นาํ ไปใช้ในทางการแพทย์ เพอื่ เพิม่ ความครอบคลมุ การรกั ษาโรคได้มากขึ้นอยา่ งมี
ประสิทธภิ าพและประสิทธิผล และมคี วามปลอดภัยต่อผนู้ ําไปใชใ้ นทางการแพทยต์ ่อไป

37

ท้งั น้ีมีขา่ ววา่ กระทรวงสาธารณสขุ เสนอให้รฐั มนตรีลงนามในประกาศกระทรวงสาธารณสุข ปลดลอ็ ก
“ใบกญั ชา-กญั ชง” พ้นบญั ชยี าเสพติด เพ่ือใหป้ ระชาชนไดใ้ ชป้ ระโยชน์ทางการแพทยโ์ ดยไมถ่ ือเปน็ ยาเสพตดิ
ประเภทที่ 5 แตต่ ้องเปน็ ใบที่ไม่มีชอ่ ดอกตดิ อยู่ และมาจากต้นท่ถี กู ต้องตามกฎหมาย

สาํ หรับการปลูกกัญชาทีถ่ กู ต้องตามกฎหมายนั้น ทําได้ตามประกาศกฎกระทรวงท่ีออกตาม
พระราชบัญญตั ิยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ท่ี 7) พ.ศ. 2562 ท่กี าํ หนดไวว้ ่า ประชาชนจะขออนุญาตปลกู กัญชาได้
ต้องรวมตัวเป็นวสิ าหกิจชุมชน เพอ่ื ขออนุญาตปลูกกญั ชา และแนวทางในการปลกู กญั ชา(2) โดยประชาชนแต่
ละคนไมส่ ามารถปลกู กัญชาไว้ประดับบ้านละ 6 ต้น ตามที่พรรคการเมืองพรรคหนงึ่ ได้เคยหาเสียงไว้

การใชย้ าตามตารบั ยาการแพทย์แผนไทย
สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้เผยแพร่ข้อมูลตํารับยา

ในทางการแพทย์แผนไทย 16 ตาํ รบั ตวั อยา่ งเชน่
1. ตาํ รับยาศขุ ไสยาสน์ มีท่มี าจากคมั ภรี ธ์ าตพุ ระนารายณ์ ท้ังนพี้ ระนารายณ์มหาราชเป็นกษัตริยล์ าํ ดบั ท่ี 27
ในสมยั กรุงศรีอยุธยา
ขอ้ บง่ ใช้ ชว่ ยใหน้ อนหลับ เจรญิ อาหาร ฟ้ืนฟูกําลงั ผู้ปุวยเรือ้ รงั
ขอ้ หา้ มใช้ หา้ มใช้ในสตรีมีครรภ์ ผูท้ ่ีไขส้ งู
2. ยานํ้ามนั สน่นั ไตรภพ มที ี่มาจากตาํ รายาจารึกในวดั พระเชตุพนวิมลมงั คลาราม
ข้อบง่ ใช้ แก้กษยั เหล็ก ลดอาการแทรกซ้อนในผูป้ ุวยมะเร็งรังไข่ มะเร็งมดลูก มะเรง็ ตับในระยะเร่มิ ต้น
ขอ้ ห้ามใช้ หา้ มใชใ้ นผปู้ วุ ยโรคตับระยะสุดท้ายท่ีมภี าวะเสน้ เลอื ดแตกเป็นใยแมงมุม หา้ มใชใ้ นผู้ปวุ ยทมี่ ีตบั วาย
ห้ามใช้ในผู้ปวุ ยท่ใี ชย้ าละลายล่ิมเลอื ด

และยงั มียาตามตาํ รบั การแพทย์แผนไทยอีก 14 ตาํ รบั ท่ีกรมแพทย์แผนไทยไดร้ บั รองตามตํารบั เดิม
ของคัมภีร์แพทยแ์ ผนไทยโบราณของขุนโสภิตบรรณลักษณ์ ตาํ รายาจารึกในวดั พระเชตพุ นวิมลมังคลาราม
ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์พระยาพศิ ณุประสาทเวช ร.ศ. 128 ตาํ รับยาอายุรเวทศึกษา (ขุนนทิ เทสสขุ กจิ
ตํารบั ยาเวชศาสตรว์ ณั ณ์ ณา ตาํ รบั ยาคมั ภรี ์ธาตพุ ระนารายณ์)
เภสชั วทิ ยาคลนิ กิ ของกัญชาทางการแพทย์ (Clinical pharmacology of medical cannabis)

กญั ชาประกอบด้วยสารอยา่ งต่ํา 60 ชนิด สว่ นสาํ คญั ทร่ี จู้ ักกันดีก็คือ cannabinoids ซง่ึ เปน็ active
component ของกัญชา ได้แก่ delta-9 tetrahydrocannabinol (THC) ซ่งึ ออกฤทธติ์ ่อจิตประสาท ทําให้
เกิดการเสพตดิ

ส่วนสารอีกประเภทหนง่ึ คอื cannabidiol (CBD) น้ันไม่ทําใหเ้ สพตดิ และมีรายงานการศึกษาวา่ มีฤทธ์ิ
ตา้ นการอักเสบ มฤี ทธป์ิ กปูองการเส่ือมของเซลล์ประสาท และต้านการชกั

การศึกษาในห้องปฏิบตั ิการและการทดสอบฤทธ์ิทางชวี ภาพกบั สตั ว์ทดลองพบว่า THC และ CBD
แสดงฤทธย์ิ ับยัง้ เซลลม์ ะเรง็ หลายชนดิ เช่น มะเร็งเม็ดเลอื ดขาว มะเร็งช่องปาก มะเรง็ เต้านม มะเร็งปาก
มดลูก (Sledzinski, 2018) นอกจากน้ียงั มีฤทธ์ติ า้ นการอักเสบ (anti-inflammatory Hasenoehr, 2017)
และฤทธิ์ตา้ นเช้ือแบคทเี รยี (Appendino, 2008)

38

การใชป้ ระโยชนท์ างยาของกัญชา
Nabizmols หรอื ชือ่ ทางการค้าว่า Sativex คือสารสกัดของ THC และ CBD ในอัตราส่วน 1:1 ใช้

รกั ษาอาการปวดของเสน้ ประสาท (neuropathic pain), ภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็ง (spasticity), ภาวะกระเพาะ
ปสั สาวะบีบตัวไวเกิน (overactive bladder; OAB), รกั ษาอาการอาเจียน (antiemetic effect) และโรค
ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (multiple sclerosis; MS) (Deiana, 2018)

มีการใชก้ ัญชาเพ่ือประโยชนท์ างการแพทย์ในหลายประเทศ และหลายรปู แบบ ได้แก่ การสบู การใช้
สารสกัดกญั ชาหยอดใต้ล้นิ การรกั ษาโรคทางผวิ หนงั กใ็ ชก้ ารทา ในการรักษารดิ สีดวงหรือมะเร็งปากมดลกู กใ็ ช้
การเหนบ็ ทางทวารหรอื ชอ่ งคลอด

เทคนิคในการสกัดและวเิ คราะห์สารสาคญั ในกญั ชาเพอื่ การแพทย์
ในปัจจุบนั กระทรวงสาธารณสุขไดร้ บั รองการรกั ษาผปู้ ุวยโดยการแพทย์แผนปัจจุบัน โดยประกาศ

กระทรวงสาธารณสขุ ท่พี ิสูจน์แลว้ วา่ อาการหรอื โรคท่ีรักษาแลว้ ไดผ้ ลดีคอื
1. Nausea and vomiting from chemotherapy อาการคลื่นไส้อาเจียนจากเคมีบําบดั
2. Epilepsy ลมชักรักษายาก
3. Multiple sclerosis อาการเกร็งจากปลอกห้มุ ประสาทอักเสบ
4. Neuropathic painปวดระบบประสาท
สว่ นการรักษาทนี่ า่ จะได้ประโยชน์ คอื

1.พารก์ ินสัน (Parkinson)
2.อัลไซเมอร์ (Alzheimer)
3.ปลอกประสาทอักเสบ (Multiple sclerosis)
4.โรควติ กกังวล (Anxiety disorder)
5.มะเร็งระยะสดุ ท้าย (Cancer, end stage)
6.โรคอ่นื ๆ ระยะสดุ ทา้ ย (Severe diseases, end stage)

สว่ นการรกั ษาท่ตี ้องการการวิจยั เพิ่มคือ โรคมะเรง็
ในปจั จบุ นั กระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมการแพทย์แผนไทยได้สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้โรงพยาบาล
ส่งเสรมิ สุขภาพตาํ บล (รพ.สต.)150 แห่งปลกู กญั ชาทางการแพทย์ รว่ มกับวิสาหกจิ ชมุ ชน ปลกู กัญชาตาํ บลละ
50 ต้น เพื่อนาํ มาใช้ประโยชนใ์ นทางการแพทย์ในแตล่ ะชุมชน
ส่วนกระทรวงอุตสาหกรรม และกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ออกกาํ หนดมาตรฐานกัญชาในระดับ
อุตสาหกรรม โดยมาตรฐาน ISO 17025 และมาตรฐาน Thai Pharmacopoeia ในสารสกดั มาตรฐาน 5 ชนิด
ไดแ้ ก่
1. Isolate CBD powder 99%
2. CBD 100 mg/ml
3. THC 10 mg/ml

39
4. THC 17 mg/ml
5. THC 27 mg/ml

เพือ่ นาํ ไปผลิตยา ตาํ รบั ยา ผลิตภัณฑส์ มนุ ไพรเพื่อสุขภาพ เวชสาํ อาง ต่อไป
สรปุ การใชก้ ัญชาในทางการแพทย์ของไทยยังมชี ่องทางทจี่ ะพัฒนาต่อยอดได้อีกมาก เพื่อจะได้มกี าร
วิเคราะห์/วิจยั เพม่ิ เตมิ ในสารอ่นื ๆ ทเี่ ปน็ ส่วนประกอบสาํ คัญของกญั ชา และการสกดั สารท่มี ีสรรพคุณทางยา
เพอื่ นําไปวิจัยในการนําไปใช้เพอื่ ผลการรักษาในทางการแพทย์ หรือท่ีมผี ลต่อสรรี วิทยา หรือการรกั ษาโรคหรอื
สภาวะต่าง ๆของร่างกาย เพ่ือขยายความครอบคลุมและสรรพคุณในการใช้กัญชาทางการแพทย์ไดม้ ากขนึ้
เพื่อนําไปใช้ในการรักษาโรคท่ียงั ไมม่ ผี ลการวจิ ัยมายืนยนั การรักษา เพราะยังสามารถทาํ การศกึ ษาวิจยั ในการ
สกดั สารสําคญั ต่าง ๆ อกี หลายชนดิ ของกัญชาวา่ จะมีผลต่อการรกั ษาโรคอะไรได้อย่างมีประสทิ ธิผลมากขึ้น
และอาจนาํ มาใชแ้ ทนยาทางเคมีในปัจจุบันไดอ้ ีกดว้ ย ซึ่งจะชว่ ยลดตน้ ทนุ ในการสั่งยาจากตา่ งประเทศ และอาจ
ลดภาระคา่ รกั ษาพยาบาลของผู้ปวุ ย ไดใ้ นอนาคต

เคยสงสยั กันหรอื ไม่วา่ กัญชงกับกญั ชา แทจ้ รงิ แลว้ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร มองผ่าน ๆ ทําไม
หนา้ ตาถงึ ไดค้ ลา้ ยกันจนแยกไม่ออกแลว้ ตามความคดิ ของคุณ คณุ คิดว่าพืชทงั้ 2 ชนดิ น้ีเปน็ ยาเสพติดหรอื
พชื สมุนไพรไปไขความกระจ่างกับบทความนีก้ ันเลย

40

1. พืชตระกูลเดยี วกัน แต่คนละสายพันธุ์

กญั ชา (Marijuana) และกัญชง (Hemp) พชื ทั้งสองชนดิ เปน็ พชื ล้มลกุ ทม่ี ีถ่ินกาํ เนดิ เดยี วกันในวงศ์
Cannabaceae ทอี่ ยใู่ นตระกูล Cannabis เหมอื นกัน ต่างกนั ที่สายพนั ธุย์ ่อยจึงทําให้กญั ชงและกัญชามี

ลักษณะท่ีคลา้ ยกัน โดยจะแตกตา่ งกันในดา้ นลักษณะทางกายภาพ และปรมิ าณสารสําคัญ

2. กัญชงและกัญชา เป็นหรือไมเ่ ป็นสารเสพติด ?

กัญชงถูกจดั ให้เปน็ พืชท่ีอยูใ่ นบญั ชยี าเสพตดิ ประเภทที่ 5 ตามพระราชบญั ญตั ยิ าเสพติดใหโ้ ทษ พ.ศ. 2522

เน่ืองจากกญั ชงเปน็ พืชสายพันธย์ุ ่อยของกญั ชาท่ีมีสารเสพตดิ ออกฤทธสิ์ าํ คญั ท่ีชื่อว่า THC

(Tetrahydrocannabinol) แตใ่ นปัจจบุ ันกัญชาและกญั ชงถูกปลดล็อคจากกระทรวงสาธารณสขุ ที่ไดอ้ อก

ประกาศกฎกระทรวงเรื่อง ระบุชือ่ ยาเสพติดใหโ้ ทษในประเภท 5 พ.ศ. 2563 ให้บางสว่ นของต้นกัญชง

บางส่วนของตน้ กญั ชา สารสกัดทม่ี ี CBD (Cannabidiol) เป็นส่วนประกอบและต้องมีสาร THC ไม่เกินร้อยละ

0.2 โดยน้ําหนกั ไมจ่ ดั วา่ เป็นยาเสพตดิ ยกเว้นช่อดอกกัญชง ชอ่ ดอกกัญชา และเมลด็ กญั ชาที่ยังคงจัดเปน็ ยา

เสพติดใหโ้ ทษประเภท 5 อยู่

3. ลักษณะท่ีแตกต่างกันของกญั ชงและกัญชา

ลักษณะ กัญชง กญั ชา

ช่อื เล่น Hemp Marijuana

ชือ่ วทิ ยาศาสตร์ Cannabis sativa L.subsp. sativa Cannabis sativa L.subsp. indica

สขี องใบ เขยี วออ่ น เขียวเข้ม

ลกั ษณะใบ ใบเรียว เรยี งตัวหา่ งกวา่ ใบกัญชามี ใบหนากวา้ ง เรียงตัวชิดกัน มีแฉก

แฉกประมาณ 7-11 แฉก ประมาณ 5-7 แฉก

ลําตน้ ลําต้นสูงเรยี วมากกว่า 2 เมตร ลําต้นเต้ียเป็นพุม่ สูงไมเ่ กิน 2 เมตร

กิ่งก้าน แตกกิ่งกา้ นน้อย แตกกิ่งกา้ นมาก

เสน้ ใย เส้นใยใหป้ ริมาณมากกว่ากญั ชาและมี เสน้ ใยคุณภาพตํ่ากวา่ กัญชง

คณุ ภาพสูง

เมลด็ มขี นาดใหญ่ ผวิ เมลด็ เรียบ มีลายบ้าง มขี นาดเล็กกว่า ผิวมลี ักษณะมนั วาว

ปรมิ าณสาร THC THC ไม่เกนิ 1% THC เกิน 1%

(Tetrahydrocannabinol)

ปรมิ าณสาร CBD (Cannabidiol) CBD เกิน 2% CBD ไม่เกิน 2%

ประโยชน์ - นยิ มแปรรปู ในงานส่งิ ทอ - นยิ มนาํ มาสกดั เปน็ ยารักษาโรค

- ทาํ กระดาษ และใชใ้ นทางการแพทย

- เมลด็ สกดั สาํ หรับอตุ สาหกรรม
อาหารและเคร่ืองสาํ อาง

41
สาร THC (Tetrahydrocannabinol) : มฤี ทธิ์ต่อจติ และประสาท ส่งผลตอ่ อารมณ์ ความจํา ความรสู้ ึก ทาํ ให้
รู้สึกผอ่ นคลาย เคลบิ เคลม้ิ อยากอาหาร และลดอาการคลื่นไส้
สาร CBD (Cannabidiol) : ไมอ่ อกฤทธ์ติ อ่ จิตและประสาท มีฤทธิ์ระงบั อาการปวด ลดการอกั เสบ ลดอาการ
ชกั เกร็ง และลดความกังวล

สรรพคณุ ของ "นา้ มันกญั ชา" มปี ระโยชน์ทางการแพทย์อยา่ งไร?
หลังจากประเทศไทยปลดล็อกกัญชาออกจากบญั ชยี าเสพติด และอนญุ าตใหน้ ําไปใชใ้ นทางการแพทย์ "นา้ มนั
กัญชา" ไดก้ ลายเปน็ รูปแบบยาประเภทหน่งึ ที่กําลงั ได้รับความสนใจ เนือ่ งจากมีประโยชนแ์ ละสรรพคุณที่ชว่ ย
รักษาโรคบางชนิดได้ แต่การจะใชน้ ํ้ามันชนดิ นี้ไดอ้ ย่างปลอดภัย กค็ วรศึกษาข้อมลู และวิธใี ช้ท่ีถกู ต้องจาก
ผเู้ ชย่ี วชาญ
ทาความรจู้ ัก "น้ามนั กัญชา" คอื อะไร?
นา้ มันกัญชา คอื สารสกดั เข้มขน้ จากต้นกัญชา ที่นํามาทาํ ใหเ้ จอื จางเพ่อื ใช้เปน็ สว่ นประกอบในรปู แบบยาทาง
การแพทย์ หรอื ผลติ ภณั ฑต์ ่างๆ โดยจะต้องไดร้ ับอนญุ าตจากหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องเพอื่ ผลิตเป็นยารักษาโรค มี
การนําไปผสมกับส่วนผสมต่างๆ ใหเ้ หมาะแก่การรกั ษาในแตล่ ะประเภท เช่น นาํ ไปหยดใตล้ ิน้ นาํ ไปทาบน
ผิวหนงั เป็นตน้
ท้ังนี้ น้ามนั กัญชาทุกรปู แบบทีน่ าํ ไปรักษาโรคและเก่ยี วข้องกบั การรักษาสุขภาพ จะต้องผา่ นกระบวนการที่
ถกู ต้อง อยภู่ ายใต้การดแู ลและได้รบั คาํ แนะนําถึงวิธีการใช้อยา่ งปลอดภยั จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ซ่งึ บางคนอาจ
มคี วามเชือ่ วา่ นํ้ามันกัญชาคือ "ยาสารพดั โรค" ทําให้มีการนําไปใชร้ ักษาอาการต่างๆ เอง ยกตวั อยา่ งเชน่

42
นา้ มนั กัญชา สาหรบั หยอดหู หยอดตา
แนน่ อนวา่ หากจะใชน้ ํ้ามันชนิดนไ้ี ปหยอดหูเพ่ือรกั ษาอาการที่เก่ียวขอ้ งกบั หู หรอื นําไปหยอดตา ควรไดร้ บั
คาปรกึ ษาจากแพทยอ์ ยา่ งใกลช้ ิด เพราะไมไ่ ดห้ มายความว่านา้ํ มนั กัญชาทุกประเภทจะใช้งานเหมือนกัน
โดยเฉพาะการใชน้ า้ํ มันกญั ชารักษาโรคท่ีเกยี่ วกับดวงตา เช่น โรคตอ้ หนิ เป็นการรักษาที่ยังไม่ไดร้ บั การยอมรบั
หรอื แม้กระท่ังหยอดตาเพ่ือลดความดนั ลกู ตา กถ็ ือเป็นวิธที อี่ ันตรายและไม่ควรทําดว้ ยตนเอง
นา้ มนั กญั ชา สาหรบั รกั ษาสิว
แม้วา่ นาํ้ มันกัญชาจะสามารถใช้รักษาโรคทางผิวหนงั บางชนิดได้ ทาํ ใหห้ ลายคนนาํ ไปใชร้ ักษาสวิ หรอื ผวิ หน้าที่
มผี ่ืนแดง แตท่ ั้งน้ีต้องศึกษาด้วยวา่ น้ํามันกญั ชามีสว่ นผสมใดบา้ ง และสิวนั้นเป็นสิวประเภทใด เพราะไมเ่ ช่นน้นั
แทนที่จะชว่ ยลดอาการอักเสบ อาจทําให้มีอาการผิวหนังอักเสบมากกว่าเดิม จะเห็นไดว้ ่าทุกกระบวนการใช้
นํ้ามันกญั ชาเพือ่ รักษาอาการต่างๆ น้ัน จาเปน็ ต้องไดร้ ับคาแนะนาจากผเู้ ช่ียวชาญก่อนนาไปใชเ้ สมอ

สรรพคณุ นา้ มันกัญชาในทางการแพทย์ รักษาโรคอะไรไดบ้ า้ ง?
ประโยชน์และสรรพคุณของนํ้ามนั กญั ชาถูกนาํ มาใชใ้ นวงการแพทย์ เพ่อื รักษาอาการและโรคบางชนิด เช่น ใช้
บรรเทาอาการปวดเรื้อรัง บารุงสขุ ภาพ รวมถึงคลายอาการวิตกกังวล แต่อยา่ งไรก็ตามหากไดร้ บั ในปรมิ าณ
ทม่ี ากเกนิ ไป หรือผใู้ ช้มอี าการแพน้ า้ มันกญั ชากอ็ าจสง่ ผลเสยี ทาํ ให้มผี ลขา้ งเคียง เชน่ ออ่ นเพลยี ท้องเสยี
เป็นต้น
จากข้อมลู ของกระทรวงสาธารณสขุ ได้ระบถุ ึงคุณสมบัติของน้าํ มนั กัญชา 3 ประเภท ที่ไดร้ ับการยอมรับใน
ฐานะสารสกดั นาํ้ มันกัญชาทางการแพทย์ ประกอบไปดว้ ยกลมุ่ สารแคนนาบนิ อยด์ (Cannabinoid) ทพ่ี บใน
พืชกญั ชา ได้แก่

43
1. นา้ มนั กญั ชาทางการแพทย์ สูตร THC
ใช้รักษาผู้ปุวยที่มภี าวะคลน่ื ไส้อาเจียนจากเคมบี ําบัด ใช้หยอดใตล้ นิ้ ตามแพทยส์ ัง่
2. นา้ มันกัญชาทางการแพทย์ สตู ร CBD
ใช้รักษาผู้ปวุ ยโรคลมชักที่รักษายาก หรอื ดือ้ ต่อการรักษา ใช้หยอดใต้ลิน้ ตามแพทยส์ ัง่
3. นา้ มนั กญั ชาทางการแพทย์ สูตร THC : CBD
ใชร้ กั ษาผู้ปุวยที่มีภาวะกล้ามเนอื้ หดเกร็ง และโรคปลอกประสาทเสอ่ื มแข็ง ใชห้ ยอดใตล้ ิ้นตามแพทยส์ ่งั

ใครสามารถปลกู กัญชา และปรงุ ยาจากกญั ชาไดบ้ า้ ง?
แม้ประเทศไทยจะปลดลอ็ กกัญชาแลว้ แตใ่ นปจั จบุ ันกเ็ ปิดใหย้ ืน่ ขออนญุ าตปลกู กัญชาไดเ้ พอ่ื ประโยชนท์ าง
การแพทยแ์ ละการศึกษาวจิ ัยเท่านน้ั ตาม พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ. 2562 ระบุว่า ผู้ที่สามารถ
ปลกู กญั ชาได้ มีดังน้ี
 หน่ายงานของรัฐ
 สถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน ที่มีการสอน วิจยั ทางการแพทย์หรอื เภสชั ศาสตร์
 ผูป้ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน่ สหกรณ์การเกษตร, วสิ าหกิจชุมชน, วิสาหกจิ สงั คม ที่อยู่ภายใต้หนว่ ยงาน
ของรฐั หรอื สถาบนั อุดมศึกษา
 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม (เภสชั กรรม ทนั ตกรรม การแพทยแ์ ผนไทย หรือหมอพ้ืนบ้านตามกฎหมาย)
การขออนุญาตปลูกกญั ชา
สาํ หรบั ผูท้ ต่ี ้องการจะขออนุญาตเพื่อปลูกกัญชาอยา่ งถูกต้องตามกฎหมาย จะตอ้ งประกอบไปด้วย 3 ขอ้ ได้แก่
1. มีคณุ สมบตั ิเปน็ ผทู้ ส่ี ามารถปลูกกญั ชาได้ถกู ต้องตามกฎหมาย ตาม พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบบั ที่ 7)
พ.ศ. 2562 หรอื มีสถานะเปน็ วิสาหกจิ ชุมชน และไปรว่ มกบั หน่วยงานของรัฐ
2. มแี ผนโครงการ แผนกระบวนการผลติ และรายละเอียดการใช้ประโยชนอ์ ย่างชัดเจน
3. มีสถานทปี่ ลกู กัญชา ที่มีเอกสารสิทธิครอบครองท่ถี ูกต้องตามกฎหมาย

44

ผทู้ ่ีสามารถปรุงยากญั ชาได้
สาํ หรับผทู้ จ่ี ะนํากัญชาไปปรุงยาไดน้ ้ัน จะต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพแพทย์แผนไทย และหมอพืน้ บ้านตาม
กฎหมายวา่ ดว้ ยวชิ าชีพการแพทยแ์ ผนไทย หรอื ผ่านการอบรมหลักสูตรการใช้ตํารบั ยาที่มีกญั ชาผสม จาก
หลักสูตรทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ
สว่ นการจําหน่าย หรือสั่งจ่ายยา ไม่จําเปน็ ต้องอยู่ภายใต้สถานพยาบาลของรฐั หรอื เอกชนก็ได้ แต่ต้องเปน็
ตาํ รับยาท่ีไดร้ บั การยอมรับแล้วเทา่ นน้ั
อย่างไรก็ตาม ประชาชนสามารถติดตอ่ สอบถามเร่ืองกัญชาทางการแพทย์ รวมถงึ ข้อมูลเก่ยี วกบั น้ามนั กญั ชา
ได้ท่ี [email protected]
สรรพคณุ ของ "น้ามนั กญั ชา" มปี ระโยชน์ทางการแพทย์อย่างไร?
หลงั จากประเทศไทยปลดลอ็ กกัญชาออกจากบญั ชียาเสพติด และอนุญาตให้นาํ ไปใช้ในทางการแพทย์ "นา้ มนั
กัญชา" ไดก้ ลายเป็นรปู แบบยาประเภทหน่ึงที่กําลงั ไดร้ บั ความสนใจ เนอ่ื งจากมีประโยชน์และสรรพคุณทช่ี ว่ ย
รกั ษาโรคบางชนดิ ได้ แตก่ ารจะใช้น้ํามันชนิดนไ้ี ด้อย่างปลอดภยั ก็ควรศกึ ษาข้อมลู และวิธใี ช้ท่ถี ูกต้องจาก
ผเู้ ชย่ี วชาญ
ทาความร้จู ัก "นา้ มันกัญชา" คอื อะไร?
นา้ มันกัญชา คือ สารสกัดเข้มข้นจากต้นกญั ชา ท่ีนาํ มาทาํ ให้เจือจางเพ่อื ใช้เปน็ ส่วนประกอบในรปู แบบยาทาง
การแพทย์ หรือผลิตภณั ฑต์ ่างๆ โดยจะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากหนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องเพื่อผลิตเปน็ ยารกั ษาโรค มี
การนาํ ไปผสมกับสว่ นผสมต่างๆ ใหเ้ หมาะแก่การรกั ษาในแต่ละประเภท เชน่ นาํ ไปหยดใต้ลน้ิ นําไปทาบน
ผิวหนงั เป็นตน้

45
ท้ังนี้ น้ามันกญั ชาทุกรปู แบบท่นี ําไปรกั ษาโรคและเกี่ยวข้องกับการรักษาสุขภาพ จะต้องผา่ นกระบวนการที่
ถกู ต้อง อยภู่ ายใต้การดแู ลและไดร้ บั คาํ แนะนําถงึ วธิ ีการใชอ้ ย่างปลอดภัยจากแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญ ซง่ึ บางคนอาจ
มคี วามเชื่อว่านา้ํ มันกัญชาคือ "ยาสารพดั โรค" ทําให้มกี ารนําไปใชร้ กั ษาอาการตา่ งๆ เอง ยกตัวอยา่ งเชน่
น้ามันกญั ชา สาหรบั หยอดหู หยอดตา
แน่นอนว่าหากจะใชน้ ํา้ มันชนิดนไี้ ปหยอดหูเพ่ือรักษาอาการที่เกยี่ วขอ้ งกับหู หรอื นําไปหยอดตา ควรได้รบั
คาปรกึ ษาจากแพทย์อย่างใกล้ชิด เพราะไม่ไดห้ มายความว่านา้ํ มันกัญชาทุกประเภทจะใช้งานเหมือนกัน
โดยเฉพาะการใชน้ ้ํามนั กญั ชารักษาโรคท่ีเกีย่ วกบั ดวงตา เช่น โรคตอ้ หนิ เปน็ การรักษาท่ียังไม่ไดร้ บั การยอมรับ
หรือแม้กระท่ังหยอดตาเพื่อลดความดันลกู ตา กถ็ ือเปน็ วธิ ีท่อี ันตรายและไม่ควรทําด้วยตนเอง
นา้ มันกัญชา สาหรับรกั ษาสิว
แม้วา่ นา้ํ มันกัญชาจะสามารถใชร้ ักษาโรคทางผิวหนงั บางชนิดได้ ทาํ ใหห้ ลายคนนาํ ไปใช้รกั ษาสิว หรือผวิ หน้าท่ี
มีผน่ื แดง แต่ท้ังนี้ตอ้ งศกึ ษาด้วยวา่ น้ํามันกญั ชามีสว่ นผสมใดบา้ ง และสวิ นนั้ เปน็ สวิ ประเภทใด เพราะไมเ่ ช่นนน้ั
แทนทีจ่ ะชว่ ยลดอาการอกั เสบ อาจทําให้มอี าการผวิ หนังอักเสบมากกวา่ เดิม จะเหน็ ได้ว่าทุกกระบวนการใช้
นา้ํ มนั กัญชาเพอ่ื รักษาอาการตา่ งๆ นั้น จาเป็นต้องได้รบั คาแนะนาจากผเู้ ชี่ยวชาญก่อนนาไปใชเ้ สมอ

สรรพคณุ นา้ มนั กัญชาในทางการแพทย์ รักษาโรคอะไรได้บา้ ง?
ประโยชน์และสรรพคุณของน้ํามนั กญั ชาถูกนาํ มาใช้ในวงการแพทย์ เพ่ือรักษาอาการและโรคบางชนิด เช่น ใช้
บรรเทาอาการปวดเรื้อรัง บารุงสขุ ภาพ รวมถึงคลายอาการวติ กกงั วล แต่อย่างไรกต็ ามหากได้รับในปรมิ าณ
ท่มี ากเกนิ ไป หรือผู้ใช้มอี าการแพ้น้ามนั กญั ชาก็อาจสง่ ผลเสีย ทาํ ให้มีผลข้างเคียง เชน่ ออ่ นเพลีย ทอ้ งเสีย
เปน็ ต้น
จากข้อมูลของกระทรวงสาธารณสขุ ได้ระบุถงึ คณุ สมบตั ิของนํ้ามันกัญชา 3 ประเภท ท่ไี ดร้ บั การยอมรบั ใน
ฐานะสารสกดั นํา้ มันกัญชาทางการแพทย์ ประกอบไปดว้ ยกลุม่ สารแคนนาบินอยด์ (Cannabinoid) ทพ่ี บใน
พชื กญั ชา ไดแ้ ก่

46
1. นา้ มนั กญั ชาทางการแพทย์ สูตร THC
ใช้รักษาผู้ปวุ ยท่ีมีภาวะคลนื่ ไส้อาเจียนจากเคมบี าํ บัด ใชห้ ยอดใต้ลิ้นตามแพทยส์ งั่
2. น้ามันกัญชาทางการแพทย์ สตู ร CBD
ใช้รักษาผู้ปวุ ยโรคลมชกั ทีร่ ักษายาก หรือดื้อต่อการรกั ษา ใชห้ ยอดใต้ล้ินตามแพทยส์ ัง่
3. นา้ มนั กญั ชาทางการแพทย์ สูตร THC : CBD
ใชร้ กั ษาผูป้ ุวยท่ีมภี าวะกลา้ มเนอื้ หดเกรง็ และโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง ใชห้ ยอดใตล้ ้ินตามแพทยส์ ่งั

ใครสามารถปลกู กัญชา และปรงุ ยาจากกญั ชาไดบ้ ้าง?
แม้ประเทศไทยจะปลดล็อกกัญชาแลว้ แต่ในปจั จบุ นั กเ็ ปิดใหย้ ื่นขออนุญาตปลกู กญั ชาไดเ้ พอ่ื ประโยชนท์ าง
การแพทยแ์ ละการศึกษาวิจัยเท่านน้ั ตาม พ.ร.บ. ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 ระบุว่า ผู้ที่สามารถ
ปลกู กญั ชาได้ มดี ังน้ี
 หน่ายงานของรัฐ
 สถาบนั อุดมศกึ ษาเอกชน ท่มี ีการสอน วจิ ัย ทางการแพทย์หรือเภสัชศาสตร์
 ผูป้ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน่ สหกรณ์การเกษตร, วิสาหกิจชุมชน, วสิ าหกจิ สงั คม ท่ีอยู่ภายใต้หนว่ ยงาน
ของรัฐ หรอื สถาบันอุดมศึกษา
 ผปู้ ระกอบวิชาชีพเวชกรรม (เภสชั กรรม ทันตกรรม การแพทย์แผนไทย หรือหมอพ้ืนบ้านตามกฎหมาย)
การขออนุญาตปลูกกญั ชา
สาํ หรบั ผูท้ ต่ี ้องการจะขออนุญาตเพื่อปลูกกัญชาอยา่ งถกู ต้องตามกฎหมาย จะตอ้ งประกอบไปด้วย 3 ขอ้ ได้แก่
1. มีคณุ สมบตั ิเป็นผทู้ ส่ี ามารถปลูกกญั ชาได้ถูกต้องตามกฎหมาย ตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดใหโ้ ทษ (ฉบบั ท่ี 7)
พ.ศ. 2562 หรอื มีสถานะเปน็ วิสาหกิจชุมชน และไปรว่ มกบั หน่วยงานของรฐั
2. มแี ผนโครงการ แผนกระบวนการผลติ และรายละเอยี ดการใชป้ ระโยชน์อย่างชดั เจน
3. มีสถานทีป่ ลกู กัญชา ท่ีมเี อกสารสทิ ธคิ รอบครองที่ถูกตอ้ งตามกฎหมาย

47

ผทู้ ส่ี ามารถปรุงยากญั ชาได้
สําหรบั ผ้ทู ่จี ะนํากญั ชาไปปรงุ ยาได้นั้น จะต้องเป็นผู้ประกอบวิชาชีพแพทยแ์ ผนไทย และหมอพืน้ บา้ นตาม
กฎหมายว่าดว้ ยวิชาชีพการแพทยแ์ ผนไทย หรอื ผา่ นการอบรมหลักสตู รการใชต้ าํ รบั ยาท่มี ีกญั ชาผสม จาก
หลักสตู รทีก่ ระทรวงสาธารณสขุ
สว่ นการจาํ หนา่ ย หรอื ส่ังจา่ ยยา ไมจ่ าํ เปน็ ต้องอยู่ภายใต้สถานพยาบาลของรฐั หรอื เอกชนก็ได้ แต่ต้องเป็น
ตาํ รับยาท่ไี ด้รับการยอมรับแล้วเทา่ นัน้
อย่างไรก็ตาม ประชาชนสามารถตดิ ตอ่ สอบถามเร่ืองกญั ชาทางการแพทย์ รวมถึงข้อมูลเก่ียวกับนา้ มนั กัญชา
ไดท้ ่ี [email protected]

ข้อควรรู้ก่อนบรโิ ภค กัญชา กิน ด่ืม อย่างไรใหป้ ลอดภยั
ขอ้ ควรรู้ก่อนบรโิ ภค กัญชา กิน ด่ืม อย่างไรให้ปลอดภัย
แมว้ า่ กฎหมายจะปลดล็อคก่ิง ก้าน ราก ใบ ของกญั ชาและกญั ชงออกจากยาเสพติดทําให้กระแสการบรโิ ภค
อาหารจากกัญชามากขึน้ แต่ยงั เกิดข้อกังวลเกีย่ วกับความเข้าใจของประชาชนเก่ียวกับโทษ และ ประโยชน์ ใน
การบรโิ ภคกัญชาอยา่ งเหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดผลเสยี ต่อตัวเองและสงั คม
คําแนะนําใน "การใช้กัญชาทางการแพทย"์ จาก กระทรวงสาธารณสุข ไดร้ บั รองประโยชนจ์ ากสาร THC และ
CBD วา่ มีประโยชนส์ ําหรบั การเจบ็ ปุวยในเบ้ืองตน้ 4 ภาวะ ไดแ้ ก่ ภาวะคล่ืนไส้อาเจียนจากเคมีบําบดั โรค
ลมชกั ทร่ี ักษายาก และโรคลมชักทดี่ ือ้ ต่อยารักษา ภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็งในผปู้ วุ ยโรคปลอกประสาทเสือ่ มแขง็
และภาวะปวดปลายประสาท โดยภาวะเจ็บปวุ ยและอาการอ่ืนๆ ตอ้ งรอการศึกษาเพมิ่ เติมทางการแพทย์


Click to View FlipBook Version