The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการสอน กัญชา แก้ไข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tukkyyanisa2524, 2022-05-25 23:28:44

แผนการสอน กัญชา แก้ไข

แผนการสอน กัญชา แก้ไข

48

ขณะเดยี วกนั การสํารวจจากคณะพฒั นาสงั คมและส่ิงแวดลอ้ ม สถาบันบัณฑติ พฒั นบริหารศาสตร์ (นดิ า้ ) ได้
ทาํ การสํารวจประชาชนอายุ 18 ปีขน้ึ ไป 1,257 คน เมอ่ื ปี 2562 หลังจากพ.ร.บ.ยาเสพตดิ ใหโ้ ทษ (ฉบับ 7)
พ.ศ. 2562 มผี ลบังคบั ใช้ พบว่า สว่ นใหญ่ร้อยละ 71 ค่อนข้างเชือ่ หรือเช่ือมากวา่ กัญชาสามารถรักษาโรครา้ ย
ใหห้ ายได้ ซึง่ ไมส่ อดคล้องกบั คําแนะนาํ การใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ที่ออกโดยกรมการแพทย์ กระทรวง
สาธารณสขุ แต่อย่างไรก็ตาม ประชาชนไทยส่วนใหญเ่ หน็ ด้วยใน "การใชก้ ญั ชาทางการแพทย"์ แตไ่ ม่เห็นด้วย
จากการใชเ้ ชงิ สันทนาการ
ทําความเข้าใจก่อนบริโภคกญั ชา
“รศ.พญ.รศั มน กัลป์ยาศริ ิ” ผ้จู ดั การศนู ย์ศกึ ษาปัญหาการเสพตดิ (ศศก.) ภายใต้การสนับสนุน สํานักงาน
กองทนุ สนบั สนนุ การสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) กลา่ วในเวทีวชิ าการ “กญั ชา 360 องศา หมุนรอบตัวรอบร้ัวให้
ปลอดภัย” จดั โดย ศศก. ร่วมกบั สสส. ณ โรงแรมเดอะสุโกศล โดยระบวุ า่ การบริโภคกัญชาเริ่มเปน็ กระแส
เพิม่ มากขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ต้องเข้าใจว่าการนํากัญชามาเปน็ ส่วนผสมปรงุ ในอาหารจะออกฤทธิ์ช้ากว่าการสูบ
เน่อื งจากปริมาณทีใ่ ห้อนุญาตมีสว่ นสารมนึ เมานอ้ ย กวา่ จะออกฤทธิ์ใชเ้ วลานาน ทําให้ผบู้ รโิ ภคในครง้ั แรก
บางคร้ังไมร่ สู้ ึกถึงความเคลิบเคลมิ้ หรอื มีความสุขอยา่ งท่ีคิด
จึงบรโิ ภคซาํ้ ไปอีกต่อเนอ่ื ง เมื่อสะสมเรื่อยๆ จะกลายเปน็ รบั ประทานในปริมาณมากเกินไป ดงั นั้น ก่อนท่ีจะ
รบั ประทานอาหารหรือเคร่อื งดืม่ ที่มีสว่ นผสมของกัญชา ควรตอ้ งรวู้ า่ รา้ นดังกลา่ วได้รบั อนญุ าตถูกต้องหรือไม่
นาํ กัญชามาจากทใ่ี ด เพราะแตล่ ะสายพนั ธุ์มีสารเมาไมเ่ ท่ากัน รวมถึงกระบวนการปรุงอาหารแต่ละอย่างอาจ
ทาํ ให้สารเมาออกมาไม่เทา่ กนั
“สง่ิ ท่ีตอ้ งระวงั คือ กลุม่ เปราะบาง เชน่ เยาวชนและผ้ทู ีม่ ีโรคประจําตัว หากต้องใชค้ วรปรกึ ษาแพทย์
ไมเ่ ช่นนัน้ อาจะเกิดผลข้างเคยี งได้ ส่วนการสูบกัญชาแนน่ อนว่ากฎหมายยงั ไม่อนญุ าต แตต่ อ้ งยอมรบั ว่ามีการ
สบู มานานแบบผดิ กฎหมาย ซ่งึ การสบู ออกฤทธิไ์ ด้เร็ว แต่หากสบู ผิดวธิ อี าจทาํ ให้เกดิ โรคปอดอักเสบได้ ขณะท่ี
4-5 ปีท่ีผา่ นมา พบว่ามผี ู้ที่มีอาการคลนื่ ไส้อาเจยี นจากการใช้กญั ชาเพมิ่ มากขนึ้ โดยเฉพาะจาการ THC ท่ี
เขม้ ขน้ มากขึ้น แม้จะมีการอนญุ าตใหใ้ ช้ทางการแพทย์ แต่มโี รคไม่มากนกั ในการใช้ ขอใหร้ ะวังการใช้
ผลติ ภัณฑ์ท่ไี ม่ได้มาตรฐาน” รศ.พญ.รศั มน กล่าว"กัญชา" เสพอนั ดบั หนง่ึ แซงหนา้ กระท่อม
จากการสํารวจ ลา่ สุด สถาบันบําบัดรกั ษาและฟนื้ ฟผู ู้ตดิ ยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี (สบยช.) พบว่า ผปู้ วุ ย
ทเ่ี ขา้ มารับการบําบัดจากกัญชาจะมอี าการทางจิตรุนแรงพอสมควร เพราะผ้ทู สี่ บู กัญชากว่าจะแสดงอาการ
รนุ แรง ใชร้ ะยะเวลานานกว่ายาบา้ หรือไอซ์ จงึ เข้าส่กู ระบวนการบําบัดช้ากวา่ ที่ควรจะเป็น ซงึ่ อาการส่วนใหญ่
จะเปน็ อาการหลอน หลงผิดและหวาดกลัวผู้อ่นื ทาํ รา้ ย ขณะที่ หลังจา มกี ารปลดล็อคกญั ชาในชว่ งปี 2562
การเสพ “กญั ชา” ขน้ึ มาเป็นอนั ดับ 1 แซงหนา้ กระท่อมท่ีเคยเปน็ อันดบั หนึ่ง
“นพ.ลา่ํ ซํา ลักขณาภิชนชชั ” รองผูอ้ ํานวยการด้านวชิ าการและการแพทย์ สถาบนั บาํ บัดรกั ษาและฟนื้ ฟูผู้ติด
ยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี (สบยช.) อธิบายว่า ประเทศไทยยงั ไม่อนุญาตให้ใช้กัญชาเพือ่ การสนั ทนาการ
แตก่ ลับพบว่ากัญชาหาซื้อไดต้ ามแหลง่ โซเชียล และแหลง่ ที่ผู้เสพรูเ้ องวา่ หาได้อยา่ งไร แมร้ ฐั บาลจะเร่งจบั กุมก็
ตาม หลงั จากมกี ารอนุญาต ไม่คอ่ ยมีเคสทีเ่ อากญั ชาทางการแพทยม์ าใชเ้ ป็นยาเสพติด มีเพียงกรณีลูกชาย
ขโมยของแม่ท่ีใช้กัญชารักษามะเรง็ มาหยอดใสบ่ ุหรแ่ี ละสูบ

49

ข้อมูลการบําบัดรักษา พบว่า ผเู้ ข้ารบั การบําบดั ยาเสพตดิ ราว 2 แสนกวา่ รายต่อปี ค่อนข้างคงทม่ี าตลอด โดย
ผปู้ วุ ย 5 อันดบั แรกที่เข้ารักษาจากการเสพ ได้แก่ ยาบา้ ยาไอซ์ กญั ชา กระท่อม และเฮโรอีน ตามลาํ ดบั โดย
ระบบบาํ บดั ของไทย มี 3 ระบบผเู้ ข้ารับการบําบัดโดยการ บงั คบั บําบัดมากทส่ี ดุ ถัดมาคือ สมัครใจ และ
ต้องโทษ ยิง่ อายนุ ้อยเปอรเ์ ซน็ การติดย่งิ สูงขน้ึ อาการระยะส้ัน ระยะยาวจาก "กัญชา"
อาการระยะสั้น คอื การกะระยะผดิ พลาดอาจส่งผลต่อการขับข่ี เคลิ้ม สว่ นอาการตกค้างระยะยาวที่น่าหว่ งคือ
อาการทางจติ ซ่ึงกัญชามบี า้ งแต่อาจจะไม่เยอะ มกี ารสมุ่ ตรวจผปู้ วุ ยจากเวชระเบยี น 1,170 ราย ในเคสท่ีเสพ
หนกั เสพตดิ มอี าการบางอย่างท่ญี ตพิ ามาหรือมาตามระบบบังคับบาํ บัด พบวา่ สดั สว่ นผูป้ วุ ยกัญชาในหอ
ผูป้ ุวยวิกฤตจิ ิตเวชยาเสพตดิ ที่มอี าการรนุ แรงเพ่ิมมากข้นึ จากปี 2563 สดั สว่ น 15.52% แตใ่ นปี 2564 สดั สว่ น
28.70% โดยอายทุ เ่ี จอบ่อยคือ 18 - 25 ปี จากแต่เดิม 90% เป็นผปู้ ุวยจากยาบา้
โดยอาการหลอนท่ีพบบ่อย คอื หูแวว่ สอดคล้องกบั อาการหลงผิดวา่ มีคนมาทาํ ร้าย ถัดมาคอื ภาพหลอน
อาการซึมเศร้า ไม่สนใจไมอ่ ยากทาํ อะไร ไม่มแี รง ส่วนใหญอ่ ายเุ ปน็ ตัวบอกหากใชอ้ ายุน้อยจะมีโอกาสมากกวา่
และหากแต่ละวนั ใชเ้ ยอะจะมีโอกาสให้เกดิ อาการทางจิตได้ ยิ่งพนั ธ์ทุ มี่ สี าร THC เขม้ ขน้ ยง่ิ มีผลมากขึน้
หลีกเลย่ี ง "ความเสี่ยงจากกัญชา"
ทงั้ น้ี คําแนะนาํ เพ่ือลดความเส่ียงจากการใชผ้ ลิตภัณฑ์กญั ชา ได้แก่ 1) ควรศกึ ษาคําแนะนาํ ความเส่ียงจาก
ผลติ ภณั ฑ์กัญชาทั้งระยะส้นั และระยะยาว ซง่ึ แตกตา่ งในแต่ละบุคคล 2) หากใช้เมอื่ อายนุ อ้ ยจะเกิดความเสย่ี ง
ต่อสขุ ภาพและสงั คมมากย่งิ ข้ึน โดยเฉพาะทม่ี ีสาร THC สงู แนะนาํ ใหใ้ ชก้ ับผ้ปู ุวยอายุ 25 ปีข้ึนไป ไม่ควรใช้กับ
ผ้ปู วุ ยอายตุ ํา่ กว่า 18 ปี 3) ไม่แนะนํากัญชาสงั เคราะห์ ซ่ึงมผี ูเ้ สยี ชีวติ ในตา่ งประเทศ 4) การสบู กัญชาแบบเผา
ไหมเ้ ปน็ ประจําส่งผลตอ่ ระบบทางเดินหายใจ การใช้วธิ ีรบั ประทานชว่ ยลดความเส่ยี งต่อทางเดนิ หายใจแตอ่ าจ
เกิดผลทางจติ ได้ภายหลัง
5) หากยนื ยนั ทจี่ ะสบู แนะนาํ ว่าไมใ่ หส้ ูบโดยการอดั เข้าไปในปอดหรือสดู ลกู แลว้ กล้นั ไว้ เพราะทําให้เกดิ
อันตรายต่อปอดมากขึน้ 6) การใชผ้ ลติ ภัณฑ์กญั ชาความถี่สงู หรือเข้มข้นสงู มีโอกาสเสี่ยงตอ่ สขุ ภาพและสังคม
มากขึน้ 7) การขบั ขีย่ านพาหนะขณะที่มีอาการขา้ งเคยี งจากการใช้กัญชา เพ่มิ ความเสี่ยงต่อการเกดิ อุบตั เิ หตุ

50

และ 8) ไมค่ วรใชก้ ญั ชาในผปู้ ุวยทป่ี ระวตั ิครอบครัวเปน็ โรคจติ เวช ผู้ตดิ ชา สารเสพติด หญงิ ต้ังครรภ์ มโี อกาส
เกดิ ผลขา้ งเคยี งรนุ แรง
“หากต้อง การใชก้ ัญชาทางการแพทย์ สามารถปรึกษาแพทย์ได้ แต่หากใช้ในชีวติ ประจาํ วัน แนะนาํ ใหใ้ ช้
กญั ชาทเี่ ปน็ ใบประกอบอาหาร สว่ นนํ้ามันกัญชายังไม่แนะนํา และหากเสพกัญชาและจําเป็นต้องขบั รถควรเว้น
ระยะอย่างน้อย 6 ชวั่ โมง รวมถึงอาจต้องปรับปรงุ พ.ร.บ.จราจร ให้ครอบคลุมในเร่ืองของกัญชาอีกดว้ ย” นพ.
ล่าํ ซาํ กล่าว
ส่อง แคนาดา หลังปลดล็อคกัญชาสันทนาการ
สาํ หรับในประเทศ แคนาดา ซึง่ อนุญาตให้มี "การใชก้ ญั ชาทางการแพทย"์ ตั้งแต่ปี 2001 ขณะทลี่ า่ สุดในปี
2018 มกี ารอนญุ าตใหใ้ ชก้ ัญชาเพื่อนันทนาการอยา่ งถกู กฎหมาย โดยจําหนา่ ยใหผ้ ู้ทม่ี ีอายุ 19 ปขี ้นึ ไป
“Dr.Jurgen Rehm” Senior Scientist, Institute for Mental Health Policy Research & Campbell
Family Mental Health Research Institute, Centre for Addiction and Mental Health (CAMH),
Canada อธบิ ายว่า ในแคนาดา กอ่ นและหลงั การอนุญาตใหใ้ ช้ พบวา่ อัตราการใช้ไม่ได้สูงขนึ้ เนื่องจากก่อน
การปลดล็อคแคนาดาเป็นประเทศทใ่ี ชก้ ญั ชาจาํ นวนมาก และมีอบุ ตั เิ หตุท่ีเกดิ จากการใชก้ ัญชาคอ่ นขา้ งสงู อยู่
แลว้ ต่างจากไทย ดงั นน้ั ก่อนและหลังการปลดล็อคจงึ ไม่ต่างกัน
“แต่บรบิ ทของประเทศไทย ท่ีใช้ไม่มากเท่าแคนาดา หากเปิดใหม้ ีการใชม้ ากข้ึน อตั ราการใช้และการเกดิ
อุบตั ิเหตุอาจจะสูงตามแคนาดาหากไมม่ ีการควบคุมทช่ี ดั เจน หากวนั หนงึ่ กัญชาเข้ามาเป็นสว่ นหนงึ่ ของชวี ติ
เปน็ เรื่องปกติ จะควบคุมอย่างไรใหส้ ารมึนเมาในกัญชาอยใุ่ นเกณฑ์ทเ่ี หมาะสม เช่นเดียวกบั แอลกอฮอล์ และ
อนญุ าตให้ใครเสพได้อย่างถูกหมาย ส่ิงที่พึงระวงั คอื ภมู ิศาสตรท์ ่ีเปิดกว้าง อาจจะมีบางส่วนที่ถกู มองข้ามไป
เม่ือเปดิ ใหถ้ ูกกฎหมายต้องทาํ ใหด้ ีการใชก้ ัญชาอาจเกดิ จากอบุ ตั กิ ารณ์จากเคสทีใ่ ชก้ ัญชาเพิม่ มากขึน้ ”
Dr.Jurgen กลา่ ว

51

ใบงาน ครั้งท่ี 10
รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศึกษา เพื่อใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หน่วยกิต

ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย
ชอื่ – นามสกลุ
กศน.ตาบล
คาชีแ้ จง จงตอบคาถามต่อไปนี้ ดงั ตอ่ ไปนี้ (10 คะแนน)
1. จงอธิบายถงึ มุมมองการใชก้ ญั ชาและกัญชงของประชาชนท่ัวไปในมิติการของกัญชาและกัญชงในประเทศ
ไทย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. โทษของกัญชาและกญั ชงส่งผลกระทบต่อรา่ งกายอย่างไรบ้าง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. จงอธบิ ายถงึ ประโยชนข์ องกญั ชาและกญั ชงทางการแพทย์มาพอสงั เขป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

52

4. โทษของการฝุาฝนื กฎหมายทเี่ กยี่ วข้องกบั กัญชาและกัญชงมีอะไรบา้ ง
4.1 กลมุ่ ผ้เู สพ
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4.2 กล่มุ ผู้ครอบครอง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.3 กลุม่ จาํ หน่ายโดยไม่ไดร้ ับอนุญาต
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.4 กลุ่มผู้ฝาุ ฝืน ผลติ นาํ เขา้ หรือส่งออก
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4.5 กลุ่มกรณเี พ่ือจําหน่าย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ตํารับยาทม่ี กี ญั ชาเปน็ สว่ นประกอบท่ีได้มีการคัดเลือกและมกี ารรับรองโดยกระทรวงสาธารณสขุ ยาแกล้ ม
ขึ้นเบ้ืองสูงมีสตู รตํารบั ยาอะไรบา้ ง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ให้ผเู้ รยี นยกตวั อยา่ งกัญชาและกญั ชงท่ีชว่ ยบรรเทาโรคแผนปัจจบุ ัน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

53

7. น้ํามนั กัญชาคืออะไรและสูตรของนํา้ มันกัญชามอี ะไรบา้ ง จงอธบิ าย
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. จงยกตวั อย่างผลติ ภัณฑ์กัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ มา 3 ผลติ ภัณฑ์
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
9. จงอธบิ ายถึงการใชผ้ ลิตภณั ฑ์กัญชาและกญั ชงใหไ้ ด้ประโยชนท์ างการแพทย์ในปัจจุบันมาพอสังเขป
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
10. การใชผ้ ลิตภณั ฑก์ ญั ชาและกญั ชงทางการแพทยน์ ่าจะไดป้ ระโยชนใ์ นเรอ่ื งใด
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

54

เฉลยใบงาน ครงั้ ที่ 10
รายวชิ า ทช33098 กัญชาและกัญชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ปน็ ยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หนว่ ยกิต

ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
ชือ่ – นามสกลุ
กศน.ตาบล
คาชี้แจง จงตอบคาถามต่อไปน้ี ดงั ต่อไปน้ี (10 คะแนน)
1. จงอธิบายถึงมุมมองการใชก้ ัญชาและกัญชงของประชาชนทวั่ ไปในมิติการของกัญชาและกัญชงใน
ประเทศไทย
ตอบ ในประเทศไทยมกี ารแพร่กระจายของการนํานํ้ามันกัญชามาใช้ในการรักษาโรคตา่ งๆตามความเช่ือของ
ประชาชนซ่งึ การใชน้ ํา้ มนั กญั ชาในปจั จุบนั โดยสว่ นมากเปน็ การแอบซือ้ มาใชโ้ ดยไม่ทราบแหล่งทมี่ าและไม่
ทราบวา่ ใช้กัญชาในการผลติ มากนอ้ ยเพยี งใด
2. โทษของกัญชาและกัญชงส่งผลกระทบต่อรา่ งกายอย่างไรบา้ ง
ตอบ 1. ทําลายสมรรถภาพรา่ งกาย ผ้เู สพกญั ชาในปริมาณมาก เป็นระยะเวลานาน ๆจะทําาให้รา่ งกาย
เสื่อมโทรม จนไมส่ ามารถปฏิบตั ิงานใด ๆ ได้
2. ทาํ ลายสมอง การเสพกัญชาแม้เพยี งในระยะสัน้ ทําใหผ้ ูเ้ สพบางราย สูญเสยี สมาธิ ความทรงจํา
เพราะฤทธิ์ของกัญชาจะทาํ ให้สมอง และความจาํ เส่ือม เกดิ ความสบั สน วติ กกังวล
3. เพ่ิมความเส่ียงทําให้เกิดมะเร็งปอด เนื่องจากผู้เสพจะสูบควันกัญชาเข้าไปในปอดลึกนานหลาย
วินาทีการสบู บุหรท่ี นี่ าํ กัญชามาทําเป็นไสจ้ ํานวน 4 มวน จะมีผลเท่ากับสูบบุหรี่ 1 ซอง หรือ 20 มวน สามารถ
ทําลายการทํางานของระบบทางเดินหายใจ ทําให้มีความเส่ียงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่
ธรรมดาถงึ 5 เท่า และในกญั ชายังมีสารเคมที ี่เปน็ อันตรายสามารถเกิดโรคมะเรง็ ได้
4. ทําร้ายทารกในครรภ์ ฉะน้ันหญิงที่เสพกัญชาในระยะต้ังครรภ์ทารกท่ีคลอด มีความเส่ียงต่อการ
ผิดปกตทิ างรา่ งกาย และสตปิ ญั ญามากกว่าปกติควรหยุดเสพกัญชาท้ังก่อน และ ระหว่างตั้งครรภ์เพราะอาจมี
ผลกระทบตอ่ มารดา และทารกในครรภร์ วมไปถงึ หญิงท่ีกาํ ลงั ให้นมบตุ ร
5. ผลกระทบต่อทางเดินหายใจ (Respiratory Tract System) ทําให้หลอดลม ขยายเฉียบพลัน การ
สูบต่อเนื่องจะเกิดปัญหาต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น ไอเรื้อรัง เสมหะมาก และเพ่ิมความเส่ียงในการเกิด
หลอดลมอกั แสบ เป็นตน้
6. ผลกระทบต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System) คนที่ ไม่เคยเสพกัญชามา
ก่อนจะมีชีพจรเต้นเร็วมากข้ึนได้ 20 เปอร์เซ็นต์ ในช่วง 2 - 3 ช่ัวโมงแรก นอกจากนี้ทําให้หลอดเลือดส่วน
ปลายคลายตัว ความดันโลหิตต่ําลงขณะเปลี่ยนท่านั่งหรือนอน มาเป็นยืนได้(Postural Hypotension)
กลา้ มเนื้อหัวใจบบี ตวั ทํางานมากขึน้
7. ภาวะติดยา (Dependence Syndrome) การใช้กัญชาเป็นระยะเวลานาน ๆ จะทําให้เกิดอาการ
ตดิ ยาประมาณ 1 ใน 10 ของผูเ้ สพกญั ชา

55

3. จงอธิบายถงึ ประโยชนข์ องกญั ชาและกัญชงทางการแพทย์มาพอสังเขป
ตอบ สารสกดั จากกัญชาท่นี ํามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์มีสารออกฤทธ์ิสําคัญ 2 ชนิดคอื แคนาบดิ ออลมี
คณุ สมบัตลิ ดอาการเจบ็ ปวด อับเสบ ชักเกร็ง คล่นื ไสแ้ ละสารเตตราไฮโดรแคนนาบนิ อล มีคุณสมบตั ิต่อจิต
ประสาททาํ ให้ผอ่ นคลาย ลดอาการตึงเครียด
4. โทษของการฝาุ ฝนื กฎหมายทเี่ กี่ยวขอ้ งกับกัญชาและกัญชงมอี ะไรบา้ ง
4.1 กลมุ่ ผเู้ สพ
ตอบ มบี ทลงโทษจําคกุ ไม่เกนิ 1 ปี หรอื ไมเ่ กิน 20,000 บาทหรอื ท้งั จําทงั้ ปรับ
4.2 กลุม่ ผคู้ รอบครอง
ตอบ มบี ทลงโทษ จาํ คุกไม่เกนิ 5 ปี หรือปรบั ไม่เกนิ 100,000 บาท หรือท้งั จาํ ทง้ั ปรบั
4.3 กลุ่มจําหน่ายโดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต
ตอบ มบี ทลงโทษ จาํ คุกตัง้ แต่ 1 - 15 ปี และปรับ 100,000 - 1,500,000 บาท
4.4 กลุ่มผฝู้ าุ ฝนื ผลติ นําเข้าหรอื ส่งออก
ตอบ มีบทลงโทษ จําคุกไมเ่ กิน 5 ปี และปรับไมเ่ กิน 500,000 บาท
4.5 กลุ่มกรณีเพ่ือจาํ หน่าย
ตอบ มีบทลงโทษ จาํ คุกไมเ่ กนิ 1 - 15 ปี และปรบั 100,000 - 1,500,000 บาท
5. ตารบั ยาท่ีมกี ัญชาเปน็ ส่วนประกอบท่ีได้มกี ารคดั เลือกและมกี ารรับรองโดยกระทรวงสาธารณสุข ยาแก้
ลมขนึ้ เบื้องสูงมสี ตู รตารับยาอะไรบา้ ง
ตอบ ยาดํา, กัญชา, อุตพิด, ดองดึง ส่ิงละ 4 ส่วน กระเทียม 6 ส่วน, ว่านนํ้า, ชะเอมเทศ, โกฐน้ําเต้า, โกฐ
พุงปลา, มหาหิงค์ุ ส่ิงละ 8 ส่วน ว่านเปราะ, ผลผักชี ส่ิงละ 12 ส่วน ขิงแห้ง, แก่นแสมทะเล, รากส้มกุ้ง,
สะคา้ น สงิ่ ละ 16 ส่วน พริกไทย, เปลือกกันเกรา สิ่งละ 24 ส่วน ทําเป็นจุณบดละลายนํ้าผ้ึงรวง ให้กินหนัก 1
สลงึ
6. ให้ผ้เู รยี นยกตัวอย่างกัญชาและกัญชงที่ช่วยบรรเทาโรคแผนปจั จบุ ัน
ตอบ 1. กัญชาและกัญชงกับโรคพารก์ นิ สนั

2. กัญชาและกัญชงกับโรคมะเรง็
3. กญั ชาและกัญชงกบั การลดอาการปวด
4. กัญชาและกัญชงกับโรคลมชัก
5. กัญชาและกัญชงกับโรคผิวหนัง
6. กญั ชาและกัญชงกับโรคต้อหนิ
7. นา้ มนั กญั ชาคืออะไรและสูตรของน้ามนั กัญชามีอะไรบา้ ง จงอธบิ าย
ตอบ นํ้ามันกัญชา คือ สารสกัดกัญชา (Cannabis extract) ที่เจือจางอยู่ในน้ํามันตัวพา (Carrier Oils หรือ
Diluent) ส่วนมากนิยมใช้น้ํามันมะกอก และนํ้ามันมะพร้าวสกัดเย็น โดยหากผ่านการผลิตที่ได้มาตรฐานจะมี
การควบคุมคุณภาพของปริมาณสารสําคัญ หรือตัวยาให้มีสัดส่วน และปริมาณตรงตามท่ีระบุในฉลากหรือ

56

เอกสารกํากบั ยา แต่นํ้ามันกัญชาท่ีผลติ ขึ้นมาใช้เอง และไม่ผ่านการควบคุมคุณภาพ ผู้ใช้จะไม่สามารถทราบได้
เลยว่าปริมาณความเข้มข้นของตัวยา THC และ CBD มีอยู่ปริมาณเท่าใด เน่ืองจากความเข้มข้นของตัวยาไม่
ข้ึนอย่กู ับความเข้มของสนี ํ้ามนั กัญชาแต่อยา่ งใด
สูตรของน้ามันกัญชา

สูตรที่ 1 น้ํามันสูตร THC สูง (ร้อยละ 1.7 หรือ 0.5 มิลลิกรัมต่อหยด) ข้อบ่งใช้ ภาวะคล่ืนไส้อาเจียน
จากเคมีบ้าบัด กระตุ้นความอยากอาหารในผู้ปุวยโรคเอดส์ และอาจใช้ในภาวะ ปวดจากระบบประสาท เพิ่ม
คุณภาพชวี ติ ในผปู้ วุ ยมะเร็งระยะสุดทา้ ย หรอื ใช้ตามแพทย์ส่ัง

สูตรที่ 2 นํ้ามันสูตร THC : CBD ในอัตราส่วนเท่า ๆ กัน (ร้อยละ 2.7 : 2.5) ข้อบ่งใช้ ภาวะกล้ามเน้ือ
หดเกรง็ ผู้ปวุ ยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง และอาจใช้ในภาวะปวดจาก ระบบประสาท หรือใชต้ ามแพทย์ส่งั

สูตรที่ 3 นา้ํ มนั สตู ร CBD สงู (มี CBD ร้อยละ 10) ข้อบง่ ใช้ รกั ษาโรคลมชกั ท่รี ักษายากหรอื ดอ้ื ต่อการ
รกั ษา โรคพาร์กนิ สัน หรือใช้ตามแพทยส์ งั่
8. จงยกตัวอย่างผลิตภณั ฑก์ ัญชาและกญั ชงทางการแพทย์ มา 3 ผลติ ภัณฑ์
ตอบ 1. ผลติ ภณั ฑ์ THC สังเคราะห์ (Synthetic THC)

2. ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์จากธรรมชาติ (Natural purified cannabinoid) ได้แก่ นาบิกซี
มอล (Nabiximol) ช่อื การคา้ คอื ซาตเิ วกซ์ (Sativex®)

3. ผลิตภณั ฑ์สารสกัด CBD
4. ผลิตภัณฑส์ าํ หรับสัตว์
ผลิตภัณฑ์สําเร็จรูปจากกัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ สําหรับคนมีรูปแบบนํ้ามันหยดใต้ลิ้น
แคปซูล สเปรย์ฉีดพ่นใต้ลิ้น ยาเม็ด ยาเหน็บทวาร หรือรูปแบบแผ่นแปะบนผิวหนัง ผลิตภัณฑ์กัญชาจะมีสูตร
แตกต่างกันตามสัดส่วน และปริมาณสารสําคัญ THC และ CBD ผลิตภัณฑ์กัญชาที่ได้รับการข้ึนทะเบียน
(Registered drug) ขณะน้มี อี ยู่ 3 รูปแบบ คือ ผลิตภัณฑ์ THC สังเคราะห์ ผลิตภัณฑ์สารสกัดแคนนาบินอยด์
จากธรรมชาติ และผลิตภัณฑ์สารสกัด CBD นอกจากน้ีในต่างประเทศยังมีผลิตภัณฑ์รักษาอาการเจ็บปุวยใน
สตั ว์
9. จงอธบิ ายถงึ การใช้ผลติ ภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงให้ได้ประโยชนท์ างการแพทย์ในปัจจุบนั มาพอสังเขป
ตอบ การใช้ผลติ ภัณฑ์กญั ชาและกัญชงให้ไดป้ ระโยชนท์ างการแพทย์ ในปัจจุบัน แนะนําโดยกรมการแพทย์
เพ่ือใช้ในการดูแลรักษา และควบคุมอาการของผู้ปุวย เนื่องจากมีหลักฐานทางวิชาการท่ีมีคุณภาพสนับสนุน
ชัดเจน โดยแบง่ เปน็ 4 กล่มุ ได้แก่
(1) ภาวะคล่ืนไส้อาเจียนจากเคมีบําบัด (Chemotherapy induced nausea and vomiting) โดย
แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาเพื่อรักษาภาวะคล่ืนไส้อาเจียนจากเคมีบําบัดที่รักษาด้วยวิธีต่าง ๆ แล้วไม่
ไดผ้ ล
(2) โรคลมชักท่ีรักษายาก และโรคลมชักที่ด้ือต่อยารักษา (Intractable epilepsy) ผู้สั่งใช้ควรเป็น
แพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญดา้ นระบบประสาท และไดร้ บั การอบรมการใชส้ ารสกดั จากกัญชาเพื่อการรักษาผูป้ วุ ย

57

(3) ภาวะกล้ามเน้ือหดเกร็ง (Spasticity) ในผู้ปุวยโรคปลอกประสาทเสื่อมแข็ง (Multiple sclerosis)
แพทยส์ ามารถใช้ผลติ ภณั ฑก์ ญั ชาเพ่ือบรรเทาอาการปวดและเกร็งในกรณีทร่ี ักษาด้วยวธิ อี ื่น ๆ แล้วไม่ได้ผล

(4) ภาวะปวดจากระบบประสาท (Neuropathic pain) แพทย์สามารถใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาในกรณีที่
รักษาภาวะปวดจากระบบประสาทท่ีดอื้ ต่อการรักษาด้วยยามาตรฐาน
10. การใชผ้ ลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทยน์ า่ จะได้ประโยชนใ์ นเรือ่ งใด
ตอบ การใช้ผลิตภัณฑ์กัญชาและกัญชงทางการแพทย์ น่าจะได้ประโยชน์ใน การควบคุมอาการ ในกรณีท่ี
ผปู้ ุวยไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยวธิ ีมาตรฐานแลว้ ไมส่ ามารถควบคุมอาการของ โรคได้ หากจะนําผลิตภัณฑ์กัญชามา
ใช้กบั ผ้ปู ุวยเฉพาะราย ปฏิญญาเฮลซิงกิ ของแพทย์สมาคมโลก (ปี ค.ศ. 2013) ระบุว่ามีความเป็นไปได้หากไม่
มีวิธีการรกั ษาอนื่ ๆ หรอื มีวธิ กี ารรักษาแต่ไมเ่ กิด ประสิทธิผล ภายหลังจากได้ปรึกษากับผู้เช่ียวชาญ และได้รับ
ความยินยอมจากผู้ปุวย หรือญาติ โดยชอบธรรมแล้ว แพทย์อาจเลือกวิธีการใช้ผลิตภัณฑ์กัญชามาช่วยชีวิต
ผปู้ ุวย ฟื้นฟสู ุขภาพ หรอื ลดความทกุ ข์ทรมานของผ้ปู วุ ย

58

แบบทดสอบย่อย ครง้ั ที่ 10

รายวชิ า ทช33098 กญั ชาและกญั ชงศกึ ษา เพ่ือใชเ้ ป็นยาอย่างชาญฉลาด จานวน 3 หนว่ ยกติ

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

ชือ่ – นามสกุล

กศน.ตาบล

ข้อสอบปรนัย จานวน 10 ข้อ

1. กญั ชา เปน็ สารเสพตดิ ให้โทษประเภทใด ศกึ ษาวจิ ยั วา่ สามารถใช้ไดเ้ ฉพาะผู้ปวุ ยท่ไี ม่แพ้

ก. ประเภท 2 เทา่ นนั้

ข. ประเภท 3 5. ปจั จยั ใดเป็นสาเหตทุ ี่ทาํ ให้มกี ารแกไ้ ขกฎหมาย

ค. ประเภท 4 เก่ียวกบั พชื กัญชาและพชื กัญชง ของ

ง. ประเภท 5 พระราชบญั ญตั ิยาเสพติดให้โทษ (ฉบบั ที่ 7) พ.ศ.

2. กัญชง เป็นสารเสพตดิ ออกฤทธป์ิ ระเภทใด 2562

ก. สารออกฤทธกิ์ ระตนุ้ ประสาท ก. เพือ่ นาํ กญั ชามาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์

ข. สารออกฤทธิ์หลอนประสาท ข. เพอ่ื ใหส้ อดคล้องตามกฎหมายสากล

ค. สารออกฤทธ์กิ ดประสาท ค. เพอ่ื ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน

ง. ถูกทุกข้อ ง. เพอื่ การนิรโทษกรรมผู้ครอบครองกญั ชา

3. เมือ่ นําเมลด็ กัญชงมาสกัดจะไดส้ ารชนิดใด 6. สารทมี่ ีฤทธ์ิกระต้นุ ประสาทในกัญชาจะ

ก. นโิ คตนิ กอ่ ให้เกิดอาการต่อผูเ้ สพในข้อใด…

ข. คาเฟอนี ก. มคี วามคดิ สร้างสรรค์

ค. เบต้าแคโรทนี ข. มสี มาธิ และตดั สนิ ใจไดด้ ี

ง. โปรตีนและ กรดไขมันโอเมกา้ -3 ค. ความคิดสับสน ควบคุมตนเองได้

4. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องท่สี ดุ เกี่ยวกบั การใช้ ง. ความคิดสับสน ควบคมุ ตนเองไม่ได้

ประโยชนจ์ ากสารสกดั จากกัญชา 7. กัญชามีผลอย่างไรเม่ือเขา้ สู่รา่ งกาย

ก. การใชป้ ระโยชน์ของสารสกดั กัญชาทาง ก. ออกฤทธ์ติ ่อการได้ยนิ

การแพทยใ์ ช้รักษากลมุ่ โรคที่มีผลการศกึ ษาวิจยั ข. ออกฤทธิ์ต่อการมองเห็น

สนบั สนุนว่าสามารถใช้ได้ ค. ออกฤทธ์ิต่อจติ ประสาท

ข. การใช้ประโยชน์ของสารสกัดกญั ชาทาง ง. ออกฤทธ์ติ อ่ การเคลื่อนไหว

การแพทยใ์ ชร้ กั ษากลมุ่ โรคที่มีผลการศึกษาวจิ ัย 8. พิษของกัญชา มผี ลกระทบต่อระบบรา่ งกาย

สนบั สนนุ ว่าไม่เป็นอนั ตรายต่อตับ สว่ นใดมากทสี่ ุด

ค. การใช้ประโยชน์ของสารสกัดกัญชาทาง ก. ปอด

การแพทย์ใชร้ กั ษากลมุ่ โรค ที่มผี ลการศึกษาวิจยั ข. ผวิ หนงั

สนับสนุนว่าไมเ่ ป็นอันตรายต่อหวั ใจ ค. สมองและประสาท

ง. การใช้ประโยชน์ของสารสกดั กญั ชาทาง ง. หวั ใจและหลอดเลอื ด

การแพทย์ใชค้ วบคุมอาการกล่มุ โรคที่มผี ลการ

9. ข้อใดเปน็ โทษของการใช้กัญชาท่ีพบมากทส่ี ดุ ใน 2
ประเทศไทย
ง. การเสพติดกัญชาทําใหค้ รอบครวั แตกแยก
ก. พชื กัญชามีสารเคมที เี่ ปน็ พิษกอ่ ใหเ้ กิด และทาํ ลายช่อื เสยี งวงศต์ ระกูล
โรคมะเรง็ 10. ข้อปฏิบัตปิ ระการสําคัญทสี่ ดุ ในการใช้นํ้ามนั
กัญชาเพื่อรักษาโรคคือข้อใด
ข. ผ้เู สพติดกัญชามักขับรถโดยประมาท
กอ่ ใหเ้ กิดอุบตั ิเหตุได้ง่าย ก. ใชน้ าํ้ มันกญั ชาในปริมาณน้อยที่สุด
ข. ใชน้ า้ํ มนั กัญชาตามทแ่ี พทยส์ ัง่ เทา่ น้นั
ค. สารพษิ จากกญั ชาทําลายสมองของผู้เสพ ค. ใช้นํ้ามันกัญชาใหต้ รงกบั ชนิดของโรค
และอาจปวุ ยเป็นโรคจติ ได้ ง. ใช้น้ํามันกญั ชาจากแหลง่ ทเ่ี ช่อื ถือไดเ้ ท่านน้ั

ข้อสอบอตั นัย จานวน 5 ขอ้
1. จงบอกถึงความแตกตา่ งระหวา่ งกญั ชาและกัญชงวา่ มีความแตกต่างกันอย่างไร
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................
.................................................................................................... ..........................................................................
............................................................................................................................. .................................................
2. ขอ้ ควรรกู้ ่อนตดั สนิ ใจใชผ้ ลิตภณั ฑ์กญั ชาและกัญชงทางการแพทย์มอี ะไรบ้าง
.............................................................................................................. ................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................... ...............................
................................................................................................... ...........................................................................
3. ขอ้ ห้ามในการใชก้ ัญชาและกัญชงมีอะไรบ้าง
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
4.ปัจจยั ใดทมี่ ีผลต่อขนาดกัญชาและกัญชงท่เี หมาะสม
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
5. การถอนพิษเบื้องตน้ จากการเมากญั ชาและกญั ชงทาํ ได้อย่างไร
............................................................................................ ..................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

1

เฉลยแบบทดสอบยอ่ ย ครง้ั ท่ี 10
รายวิชา ทช 33098 กญั ชาและกัญชงศกึ ษา เพอื่ ใช้เปน็ ยาอยา่ งชาญฉลาด จานวน 3 หนว่ ยกติ

ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย
ปรนัย 10 ข้อ

1. ง. ประเภท 5
2. ค. สารออกฤทธิ์กดประสาท
3. ง. โปรตีนและ กรดไขมนั โอเมกา้ -3
4. ง. การใชป้ ระโยชนข์ องสารสกดั กัญชาทางการแพทยใ์ ช้ควบคมุ อาการกลมุ่ โรคทมี่ ี

ผลการศึกษาวิจยั วา่ สามารถใชไ้ ดเ้ ฉพาะผปู้ ุวยท่ีไม่แพ้เท่าน้นั
5. ก. เพ่อื นาํ กัญชามาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
6. ง. ความคดิ สบั สน ควบคมุ ตนเองไม่ได้
7. ค. ออกฤทธ์ติ ่อจิตประสาท
8. ง. หวั ใจและหลอดเลือด
9. ค. สารพษิ จากกญั ชาทําลายสมองของผ้เู สพ และอาจปวุ ยเป็นโรคจติ ได้
10. ก. ใช้น้าํ มนั กญั ชาในปริมาณน้อยทีส่ ุด
แนวคาตอบขอ้ สอบอัตนัย 3 ขอ้
1. จงบอกถงึ ความแตกต่างระหว่างกญั ชาและกญั ชงว่ามีความแตกตา่ งกนั อย่างไร
- ทัง้ กัญชาและกญั ชงเป็นพืชชนดิ เดียวกัน มลี กั ษณะภายนอกแตกต่างกนั น้อยมาก แตส่ ามารถสังเกต
ในเบอ้ื งต้นไดค้ ือ กัญชงมีใบแคบเรยี วและสีเขียวอ่อนกว่า มลี ําตน้ สงู และแตกกิ่งกา้ นน้อยกวา่ ชอ่ ดอก
มียางน้อยกว่ากัญชา จึงมีการนาํ กัญชงไปใช้เป็นพชื เส้นใยสําหรับทําเส้อื ผา้ และเยื่อกระดาษ
ถา้ ต้องการจําแนกให้ลกึ ลงไป ให้พจิ ารณาจากสารประกอบทีเ่ รียกว่าแคนนาบนิ อยด์ (Cannabinoid)
โดยเฉพาะ สารท่ีออกฤทธิ์ต่อจติ ประสาท น่นั คือ THC (Delta-9-Tetrahydrocannabinol) และ
สารสําคญั อกี ชนดิ คือ CBD (Cannabidiol) ซ่ึงชว่ ยยบั ย้งั การออกฤทธ์ขิ อง THC ถ้าตน้ ท่ีมีสาร THC
นอ้ ยกวา่ 0.3 เปอรเ์ ซ็นตต์ ่อน้ําหนักแห้ง จะถอื วา่ เปน็ Hemp หรือกัญชง แตถ่ ้ามคี ่า THC สงู กว่าน้ถี อื
ว่าเปน็ Marijuana หรือกญั ชา กรณใี ช้ทางการแพทยต์ ้องสกดั สาร THC, CBD รวมถึงสารประกอบ
แคนนาบินอยดอ์ ื่นๆ ออกมาจากต้น ซง่ึ แตกต่างจากการเสพกญั ชาท่ีใช้สว่ นต่าง ๆ ของพืชโดยตรง
กัญชา
- กญั ชามชี ือ่ ภาษาอังกฤษ เรียกวา่ Marijuana
- รูปร่าง ลาํ ตน้ >> ลาํ ตน้ มกั จะมลี ักษณะเตย้ี และเปน็ พุ่ม ต้นกญั ชาจะแตกกง่ิ กา้ นค่อนข้างมากเม่อื เทียบกับ
กัญชง สว่ นใบก็สีเขยี วจดั จะมีประมาณ 5-7 แฉก
- สว่ นตา่ ง ๆ ของกญั ชาท่ีไมจ่ ัดเป็นยาเสพติด ได้แก่ เปลือก ลําต้น เส้นใย ก่ิงก้าน ราก ใบ ซึง่ ไมม่ ยี อดหรือชอ่
ดอกติดมาด้วย
- กญั ชา มีสารใหค้ วามเมา THC (Tetrahydrocannabinol) มากกวา่ 1% ลดอาการคล่ืนไส้อาเจียนจากการ

2

ได้รบั เคมีบาํ บัด ลดอาการปวด รกั ษาโรคลมชัก ชว่ ยผ่อนคลาย
- สารแคนนาบินอล (Cannabinol : CBD) มีคุณสมบตั ิในการช่วยลดอาการเจบ็ ปวด ลดการอักเสบของแผล
ยบั ย้ังการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็ง
กัญชง
- กญั ชงมชี ่ือภาษาองั กฤษ เรยี กว่า Hemp
- รปู รา่ ง ลําต้น >> ต้นกญั ชงมักจะสงู กว่า ในส่วนของใบกัญชงจะมขี นาดใหญ่กว่ากญั ชา มีการเรียงสลับของ
ใบท่ีหา่ งกนั ลกั ษณะของใบกัญชงจะมีประมาณ 7-11 แฉก โดยสขี องใบกัญชงจะเป็นเขยี วออ่ น
- กญั ชงทีไ่ มจ่ ดั เปน็ ยาเสพติด ได้แก่ เปลือก ลําตน้ เสน้ ใย กิ่งก้าน ราก ใบ ซง่ึ ไม่มยี อดหรือชอ่ ดอกตดิ มาด้วย
- กญั ชง มสี ารสาํ คัญ ทัง้ THC (Tetrahydrocannabinol) และ CBD (Cannabinol ) ต่าํ มาก จึงไมไ่ ด้จัดอยู่ใน
ประเภทยาเสพติด
- มเี ส้นใยคุณภาพสูงมกั ถกู นํามาใชใ้ นอุตสาหกรรมการแปรรูป เชน่ เสื้อผ้า, เยอ่ื กระดาษ, เชอื ก เปน็ ต้น โดยมี
ความแข็งแรงของเส้นใยมากกวา่ ฝาู ยถึง 2 เท่า
ทั้งกญั ชาและกัญชงเป็นพืชชนิดเดยี วกนั มีลกั ษณะภายนอกแตกต่างกนั น้อยมาก แต่สามารถสงั เกตในเบื้องต้น
ได้คือ กัญชงมีใบแคบเรียวและสเี ขียวอ่อนกว่า มีลําตน้ สงู และแตกกงิ่ ก้านน้อยกวา่ ชอ่ ดอกมยี างน้อยกว่ากัญชา
จงึ มีการนาํ กญั ชงไปใช้เป็นพืชเสน้ ใยสําหรับทาํ เส้ือผ้าและเย่ือกระดาษ
2. ข้อควรรู้ก่อนตัดสนิ ใจใช้ผลติ ภณั ฑก์ ัญชาและกัญชงทางการแพทย์มีอะไรบา้ ง

- ขอ้ ควรพจิ ารณาในการเลือกใช้ยากัญชา ต้องเป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภยั ผลติ ภณั ฑ์ ไมม่ ี
สารกาํ จัดศัตรูพืช โลหะหนกั ผา่ นกระบวนการผลิตทม่ี ีมาตรฐาน การใชย้ ากัญชาควรปรึกษาแพทย์ เพื่อรับ
การวินิจฉยั เลือกใช้ยาได้อยา่ งเหมาะสมและปลอดภัย และควรแจ้งให้แพทย์ ผรู้ กั ษาทราบวา่ ใช้ยาประเภท
ใดอยู่
3. ขอ้ ห้ามในการใช้กัญชาและกญั ชงมีอะไรบา้ ง

- กัญชา กัญชง ห้ามใช้เพื่อสันทนาการ อย.เน้นทําร่าง พ.ร.บ. มุ่งการใช้ประโยชน์เต็มที่ และ
ปูองกันไม่ให้มีการนําไปใช้ในทางที่ผิด

ผู้ทีไ่ ม่สามารถรบั การรักษาดว้ ยตํารบั ยากัญชา ดงั นี้
1. ผูป้ ุวยอยู่ในระหวา่ งการตัง้ ครรภ์ วางแผนการตงั้ ครรภ์ หรือใหน้ มบุตร
2. ผปู้ วุ ยท่มี ปี ระวตั แิ พ้กัญชาและสว่ นประกอบอืน่ ๆ ในตํารบั ยา ผปู้ วุ ยโรคเรื้อรงั ข้นั รนุ แรงหรือไม่
สามารถคมุ อาการได้ เชน่ โรคหัวใจ ยังมีอาการกําเริบบ่อย ๆ โรคความดนั โลหติ สูงที่คุมความดันไม่ได้ ผทู้ ม่ี ี
ความบกพรอ่ งของตับ ไต รนุ แรง เปน็ ต้น
3. ผู้ปุวยทเ่ี ป็นโรคทางจิตเวชรนุ แรง ติดสารเสพติด รวมถึงนืโคติน หรอื ผู้ดื่มสุราอยา่ งหนัก
4. ผู้ปุวยทีม่ ีภาวะทางคลินกิ อื่น ๆ ซงึ่ แพทย์ให้ความเหน็ วา่ จะเป็นอันตรายตอ่ ผูป้ วุ ย
4. ปจั จัยใดทีม่ ผี ลต่อขนาดกัญชาและกญั ชงท่เี หมาะสม
- การออกฤทธิ์ในแต่ละบุคคลแตกตา่ งกัน หลกั การเริ่มใช้ยากัญชาตอ้ งเริม่ ใช้ในขนาดตาํ่ ๆ และค่อย ๆ ปรับ
ปรมิ าณการใชท้ ลี ะน้อยให้เหมาะสมกบั อาการของแตล่ ะบุคคล และอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
5. การถอนพิษเบ้ืองตน้ จากการเมากญั ชาและกญั ชงทาไดอ้ ยา่ งไรบ้าง

3

- ดื่มน้ําเพิ่มหลงั จากรับประทานยา หรือจบิ นาํ้ เพ่ิมตลอดท้ังวนั
- หากมอี าการวงิ เวยี นศรีษะ คลื่นไส้ อาเจยี น แนะนาํ ใหผ้ ู้ปวุ ยสงั เกตอาการและระยะเวลาที่มีอาการแนะนาํ ให้
ผู้ปวุ ยดื่มชาชงขงิ นํ้าขิง หรอื ชารางจดื หากอาการไมท่ ุเลาลงให้ปรกึ ษาแพทย์
- กรณเี กิดผลขา้ งเคียงรนุ แรง เชน่ หมดสติ ประสาทหลอน แนน่ หนา้ อก หายใจไม่ออก ควรไปพบแพทย์ทนั
-. เตมิ นํ้าใหร้ ่างกาย. การดื่มน้ํามากๆ ชว่ ยชะล้างกัญชาออกจากร่างกายไดบ้ างส่วน และการรกั ษารา่ งกาย
ไมใ่ หข้ าดน้ํา
- งดคาเฟอนี . เนื่องจากการล้างพษิ ทาํ ใหน้ อนไมห่ ลับอยู่แล้ว เพราะฉะนนั้ ใหง้ ดดื่มกาแฟ
- ออกกําลงั กาย การออกกําลังกายสรา้ งความรู้สึกเปน็ สุขตามธรรมชาติท่ีช่วยให้คุณอารมณด์ ี นอกจากนีย้ ังทาํ
ใหร้ า่ งกายแขง็ แรงซ่งึ จะช่วยให้คณุ หายเรว็ ขึน้ ออกกําลังกายสปั ดาห์ละหลายๆ คร้งั เพื่อลดอาการซมึ เศรา้ และ
นอนไมห่ ลบั

4

บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้
ครง้ั ที่ ..................

วนั ท.่ี ..........................เดอื น..............................................พ.ศ. ............................ ระดับ………………….....…………

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

จาํ นวนนักศกึ ษา ทงั้ หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน
จาํ นวนนกั ศึกษาท่เี ข้าเรียน ทงั้ หมด....................คน ชาย................คน หญิง..................คน
จาํ นวนนกั ศึกษาทขี่ าดเรยี น ทั้งหมด....................คน ชาย................คน หญงิ ..................คน

สภาพการจดั การเรยี นรแู้ บบพบกลุ่ม (ปัจจัยกระบวนการจัดกิจกรรมและผเู้ รยี น)
1. ...........................................................................................................................................................

....................................................................................................................................... .......................................
2. ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

สภาพการจัดการเรยี นรแู้ บบเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (ปัจจัยกระบวนการจดั กจิ กรรมและผ้เู รียน)
1. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................
2. ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

ด้านสอื่ การเรียนรู้
1. ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
2. ...........................................................................................................................................................

..............................................................................................................................................................................

ปัญหาที่พบและการแกไ้ ขปัญหา (อยา่ งไร)
1. ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
2. ............................................................................................................................................ ...............

................................................................................................................... ...........................................................

ข้อคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะ (เพ่ือการปรบั ปรุงแกไ้ ข/พัฒนา)
1. ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

5

2. ...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงช่ือ.............................................................ผู้บันทกึ
(.............................................................)

(อาจแนบภาพแสดงให้เห็นเฉพาะสว่ นเดน่ และสว่ นท่ีเป็นปญั หา)
เสนอข้อคดิ เหน็

1. .................................................................................................................................... .......................
........................................................................................................... ...................................................................

2. ...........................................................................................................................................................
....................................................................................................................................... .......................................

ลงชอ่ื .............................................................ผตู้ รวจเสนอ
(.............................................................)
นายทะเบยี น

การดาเนินการแก้ไข/พัฒนา
1. ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................
2. ...........................................................................................................................................................

............................................................................................................................. .................................................

ลงชอื่ .............................................................ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา
(.............................................................)
ผอู้ ํานวยการ กศน.อําเภอ............................

ผลจากการนาข้อเสนอแนะไปปฏิบัติ
............................................................................................................................... ...............................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

ลงชื่อ.............................................................ผปู้ ฏิบตั ิ
(.............................................................)

6


Click to View FlipBook Version