The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน SDG4 ปทุมธานีปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการดำเนินงาน SDG4 ปทุมธานีปี 2566

รายงานผลการดำเนินงาน SDG4 ปทุมธานีปี 2566

รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


ก รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี บทสรุปสำหรับผูบริหาร กระทรวงศึกษาธิการ โดย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะหนวยงานรับผิดชอบและ ประสานงานหลักการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน “เปาหมายที่ 4 สรางหลักประกันวา ทุกคนมี การศึกษาที่มีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต” ซึ่งภายใตเปาหมายนี้ มีเปาหมายยอย 10 เปาหมาย ดังนี้ 4.1 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ที่มีคุณภาพ เทาเทียม และไมมีคาใชจาย นำไปสูผลลัพธทางการเรียนที่มีประสิทธิผล ภายในป พ.ศ. 2573 4.2 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเขาถึงการพัฒนาการดูแล และการจัดการศึกษาระดับ กอนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพเพื่อใหเด็กเหลานั้นมีความพรอมสำหรับการศึกษาระดับ ประถมศึกษา ภายในปพ.ศ. 2573 4.3 สรางหลักประกันใหชายและหญิงทุกคนเขาถึงการศึกษา อาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัย ที่มีคุณภาพ ในราคาที่สามารถจายไดภายในปพ.ศ. 2573 4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผูใหญที่มีทักษะที่เกี่ยวของจำเปน รวมถึงทักษะทางดานเทคนิคและอาชีพ สำหรับการจางงานการมีงานที่มีคุณคา และการเปนผูประกอบการ ภายในปพ.ศ. 2573 4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศดานการศึกษา และสรางหลักประกันวากลุมที่เปราะบาง ซึ่งรวมถึง ผูพิการ ชนพื้นเมืองและเด็ก เขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับอยางเทาเทียม ภายในป พ.ศ. 2573 4.6 สรางหลักประกันวาเยาวชนทุกคนและผูใหญ ทั้งชายและหญิงในสัดสวนสูง สามารถอานออกเขียนได และคำนวณไดภายในป พ.ศ. 2573 4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดรับความรูและทักษะที่จำเปนสำหรับสงเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมไปถึงการศึกษาสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน และการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหวางเพศ การสงเสริมวัฒนธรรมแหงความสงบสุขและการไมใชความรุนแรง การเปนพลเมืองของโลก และความชื่นชมใน ความหลากหลายทางวัฒนธรรม และการที่วัฒนธรรมมีสวนชวยใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน ภายในป พ.ศ. 2573 4.a สรางและยกระดับสถานศึกษา ตลอดจนเครื่องมือและอุปกรณการศึกษาที่ออนไหวตอเด็กผูพิการ และเพศภาวะ และใหมีสภาพแวดลอมทางการเรียนรูที่ปลอดภัยปราศจากความรุนแรง ครอบคลุม และมี ประสิทธิผลสำหรับทุกคน 4.b เพิ่มจำนวนทุนการศึกษาทั่วโลกที่ใหแกประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะประเทศพัฒนานอยที่สุด รัฐกำลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็กและประเทศในทวีปแอฟริกาเพื่อเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา รวมถึง การฝกอาชีพ และโปรแกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตร ในประเทศพัฒนาแลว และประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ ภายในปพ.ศ. 2573 4.c เพิ่มจำนวนครูที่มีคุณวุฒิรวมถึงการดำเนินการผานความรวมมือระหวางประเทศในการฝกอบรมครู ในประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยที่สุด และรัฐกำลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็ก ภายในป พ.ศ. 2573


ก รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี ในการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) จังหวัดปทุมธานี มีวัตถุประสงคเพื่อใชเปนกรอบแนวทาง และเปาหมายของการดำเนินงานในการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืน เปาหมายที่ 4 สรางหลักประกันวาทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ ครอบคลุมและเทาเทียมและ สนับสนุน โอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต (SDG4) ไปสูการปฏิบัติไดอยางชัดเจน เปนรูปธรรม มีกรอบแนวทางในการติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงานในการในฐานะหนวยงาน รับผิดชอบและ ประสานงานหลักเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ใหเปนไปตามแนวทางการดำเนินงานที่ คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกำหนด ทั้งนี้ เพื่อใหการดำเนินการในการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา “เปาหมายที่ 4 สรางหลักประกันวา ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุนโอกาส ในการเรียนรูตลอดชีวิต” ในปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ไปสูการปฏิบัติที่ชัดเจน เปนรูปธรรม มีกรอบแนวทาง ในการติดตาม ประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงาน และรายงานผลการดำเนินงานไปตามแนวทางที่กำหนด สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี จึงดำเนินการ ดังนี้ 1. การดำเนินงานรวมกับสวนกลาง สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานีเขารวมประชุมชี้แจงสรางความรู ความเขาใจ การดำเนินโครงการจัดทำฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน เปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ในวันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม 2566 โดยเปนการประชุมทางไกลผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (โปรแกรม Zoom) เพื่อ มอบขอเสนอแนะแนวคิด แนวทางการดำเนินงาน ชี้แจงขอบเขตและแนวปฏิบัติการดำเนินโครงการ รวมทั้ง ชี้แจงแนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการรายงานผลการดำเนินงานตามเปาหมายของสหประชาชาติ วาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา 2. การดำเนินงานในสวนภูมิภาค/ระดับพื้นที่รับผิดชอบ 2.1 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี เขารวมประชุมปฏิบัติการวิเคราะหสถานะ ตัวชี้วัดดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดาน การศึกษา SDG4 ณ วันที่ 26 – 27 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมโฮเทล วิศมา ราชบุรี จังหวัดราชบุรี เพื่อสราง ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการวิเคราะห และการจัดทำขอมูลสารสนเทศดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการ ขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ระดับภาค 2.2 สรางการรับรูเกี่ยวกับสถานะตัวชี้วัดดานการศึกษา กรอบแนวทางและเปาหมาย การขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา และแผนที่นำทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสูการปฏิบัติ โดยทุกภาคสวนที่เกี่ยวของ ตองรับรู เขาใจ และเขามามีสวนรวมดำเนินการ เพื่อใหเห็นความสำคัญ และเขามา มีสวนรวมในการขับเคลื่อน ไปสูการปฏิบัติอยางจริงจังกับการพัฒนาดานการศึกษาของสํานักงานศึกษาธิการ จังหวัดปทุมธานีตามคำสั่ง คณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ที่ 2/2565 เรื่อง แตงตั้ง


ก รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี คณะทำงานขับเคลื่อนเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษาระดับจังหวัดปทุมธานีณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 เพื่อขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ในระดับพื้นที่ 2.3การจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนที่นำทางฯ หรือทบทวน ปรับปรุงแผนที่นำทางฯ ใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ ความตองการ/ความจำเปน และบริบทที่เกี่ยวของ 2.4 การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปญหาอุปสรรค และ แนวทางในการแกไขปัญหาหรือพัฒนาการจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายที่กำหนด 2.5 การจัดเก็บขอมูลและจัดทำฐานขอมูล เพื่อใชในการติดตามและรายงานผล การดำเนินงานตามตัวชี้วัดเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึง การพัฒนาวิธีการจัดเก็บขอมูลตามตัวชี้วัดที่ยังไม มีขอมูลพื้นฐาน 2.6 การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานฯ เพ ื่ อเสนอคณะกรรมการฯ หรือ คณะทำงานฯ รับทราบและนำไปใชเป็นขอมูลประกอบการกำหนดแนวทางการดำเนินงานในระยะตอไป รวมถึง รายงานผลการดำเนินงานตอคณะกรรมการฯ และหนวยงานตนสังกัด


ข รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี คำนำ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ไดดำเนินโครงการจัดทำฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผล ระดับพื้นที่ เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา (SDG4) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อเปนกลไกระดับจังหวัดในการสนับสนุน การดำเนินการพัฒนาจังหวัดดานการศึกษาใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยมีหนาที่หลักในการขับเคลื่อน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษาสูการปฏิบัติในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ใหครอบคลุมอยางสมดุลและ บูรณาการประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ตลอดจนติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน รวมทั้ง วิเคราะห ปญหาอุปสรรค ประเด็นทาทาย และประเด็นจากผลการดำเนินงานในปพ.ศ. 2566 เพื่อเสนอตอคณะกรรมการ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มากกวานั้น เพื่อเปนกรอบแนวทาง และเปาหมายการดำเนินงานใหบรรลุเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษาในปถัดไป สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานีจึงไดจัดทำรายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อรายงานผลการดำเนินงานโครงการ/ กิจกรรมและ ขอมูลที่สนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) จังหวัดปทุมธานีเพื่อรายงานตอหนวยงานตนสังกัด และเผยแพรประชาสัมพันธผลการดำเนินงานตอหนวยงาน การศึกษา และผูมีสวนเกี่ยวของ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี สิงหาคม 2566


รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี สารบัญ เนื้อหา หนา บทสรุปผูบริหาร ก คำนำ ข สวนที่ 1 1 บทนำ 1 สวนที่ 2 8 การดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) 8 สูการปฏิบัติประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สวนที่ 3 13 ความกาวหนาการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 13 ดานการศึกษา (SDG4) สวนที่ 4 44 บทสรุปผลการดำเนินงาน ความทาทาย และขอเสนอแนะ 44 การดำเนินงานระยะตอไป ภาคผนวก


1 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี สวนที่ 1 บทนำ 1.1 เกริ่นนำ ตามมติคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (กพย.) ในคราวประชุมครั้งที่ 1/2562 เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2562 เห็นชอบในหลักการรางแผนการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDG Roadmap) เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อน การดำเนินงานให เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนซึ่งแผนการขับเคลื่อนฯ ครอบคลุมการดำเนินการหลักใน 6 ดาน ดังนี้ 1) การสรางการตระหนักรูดำเนินการใหทุกภาคสวนมีความรูและความเขาใจในเปาหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืน โดยมีการดำเนินการทั้งในระดับประเทศ และระดับทองถิ่น เพื่อใหทุกภาคสวนมีสวนรวมในการขับเคลื่อน ประเทศสูความยั่งยืน 2) การเชื่อมโยงเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนกับแผน 3 ระดับของประเทศ ขับเคลื่อนการพัฒนา ประเทศตามกรอบยุทธศาสตรชาติ แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ และแผนระดับอื่น ๆ ซึ่งสอดคลองกับ เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน สรางประเทศใหมั่นคง โดยไมทิ้งใครไวขางหลัง 3) กลไกการขับเคลื่อนการพัฒนาที่ยั่งยืน มีคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนกลไกสนับสนุน การขับเคลื่อนในระดับนโยบาย และหนวยงานภาครัฐบูรณาการรวมกับทุกภาคสวนของสังคม เพื่อนำไปสู การปฏิบัติที่เปนรูปธรรม 4) การดำเนินงานเพื่อบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดำเนินงานโดยยึดหลักความสัมพันธเชิงเหตุ และผล เพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการที่สำคัญตอการบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนและยุทธศาสตรชาติ รวมทั้ง ขยายผลสูการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ (SDG Localization) 5) ภาคีการพัฒนา สนับสนุนความรวมมือกับทุกภาคสวน ทั้งในประเทศและภาคีการพัฒนาระหวาง ประเทศ เพื่อรวมขับเคลื่อนประเทศไทยใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 6) การติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ติดตามและประเมินผล การขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดวยระบบฐานขอมูลกลางที่มีการรายงานความกาวหนาจากหนวยงานที่ เกี่ยวของอยางสม่ำเสมอ ในการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสูการปฏิบัติของประเทศไทย สำนักงานสภาพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ในฐานะเลขานุการ กพย. ไดจัดประชุมชี้แจงสรางความรูความเขาใจกับ หนวยงานที่ เกี่ยวของ เมื่อวันที่ 18 กันยายน 2563 มีวัตถุประสงคเพื่อทำความเขาใจในเรื่องการขับเคลื่อน SDGs ระหวาง หนวยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักรายเปาหมายหลัก (Goals) และเปาหมายยอย (Targets) กำหนด แนวทางการขับเคลื่อน SDGs รวมกันในระยะ 10 ป ขางหนา รวมถึง รับทราบแนวทางการจัดทำ Roadmap รายเปาหมายหลัก และการกำหนดคาเปาหมาย/หมุดหมายรายเปาหมายยอย โดยการจัดทำ Roadmap เพื่อ การดำเนินการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยในระดับเปาหมายหลัก (Goal) กำหนดใหเจาภาพ รายเปาหมายหลักเปนผูดำเนินการ ในการจัดทำ Roadmap ใหประสานหนวยงานรับผิดชอบรายเปาหมายยอย เพื่อพิจารณากำหนดคาเปาหมายและหมุดหมาย (milestone) ใหสอดคลองกับ SDGs และเปาหมายของ


2 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี ยุทธศาสตรชาติและแผนอื่น ๆ ที่เกี่ยวของรวมทั้งกำหนดตัวชี้วัดที่เหมาะสม โดยพิจารณาจากตัวชี้วัดที่ สหประชาชาติกำหนดเปนหลัก (global SDG indicators) และอาจเสนอตัวชี้วัดทดแทน (proxy indicators) และ ตัวชี้วัดเพิ่มเติม (additional indicators) เพื่อใหการขับเคลื่อน SDGs สอดคลองกับบริบทของประเทศ ตลอดจน ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนาและจัดเก็บขอมูลตัวชี้วัด เพื่อระบุแหลงขอมูล (sources) และ ผูประสานงาน (focal point) ดวย กระทรวงศึกษาธิการไดรับมอบหมายใหเปนหนวยงานรับผิดชอบและประสานงานหลักเปาหมายหลักที่ 4 “สรางหลักประกันวา ทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียมและสนับสนุนโอกาสใน การเรียนรูตลอดชีวิต” ซึ่งในการดำเนินงาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได ดำเนินการแตงตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา รับผิดชอบการดำเนินงาน ขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษาในภาพรวม และแตงตั้งคณะทำงานจัดทำแผนที่นำทาง (Roadmap) การขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา รับผิดชอบจัดทำแผนที่นำทางขับเคลื่อน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) ที่สอดคลองกับ Thailand’s SDG Roadmap เพื่อ ใชเปนกรอบแนวทางในการดำเนินงาน สำหรับในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษาลงสูการปฏิบัติในระดับพื้นที่ กระทรวงศึกษาธิการโดยคณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนดานการศึกษา เห็นชอบใหมีการแตงตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนดานการศึกษา ระดับภาค/กลุมจังหวัด และระดับจังหวัด และใหมีการจัดทำแผนที่นำทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) ระดับภาค/กลุมจังหวัด และระดับจังหวัด เพื่อใชเปนกรอบแนวทาง ในการดำเนินงาน ดังนั้น ในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (เปาหมายหลักที่ 4) ไปสูการปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการกำหนดกรอบแนวทาง และกลไกขับเคลื่อนการดำเนินงาน ดังนี้ 1. กรอบแนวทางและเปาหมายการดำเนินงาน 1.1 การดำเนินงานภาพรวม ไดแก แผนที่นำทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา 1.2 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับภาค ไดแก แผนที่นำทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา ระดับภาค/กลุมจังหวัด 1.3 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับจังหวัด ไดแก แผนที่นำทางขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนดานการศึกษา ระดับจังหวัด 2. กลไกการดำเนินงาน แบงเปน 2.1 การดำเนินงานภาพรวม ไดแก คณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา โดยมีสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เปนหนวยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก 2.2 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับภาค ไดแก คณะทำงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษาระดับภาค/กลุมจังหวัด โดยมีสำนักงานศึกษาธิการภาค 18 ภาค เปนหนวยงานรับผิดชอบ และ ประสานงานหลัก


3 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 2.3 การดำเนินงานในพื้นที่ระดับจังหวัด ไดแก คณะทำงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนา ที่ยั่งยืนดานการศึกษาระดับจังหวัด โดยมีสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด 77 จังหวัด เปนหนวยงานรับผิดชอบและ ประสานงานหลัก จากกรอบแนวทาง และกลไกการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษาไปสู การปฏิบัติใหบรรลุเปาหมายที่กำหนดไว ตองอาศัยกลไกและความรวมมือจากหนวยงานหรือภาคีเครือขาย ที่เกี่ยวของทั้งในสวนกลาง และในระดับพื้นที่ รวมกันดำเนินงานอยางจริงจัง ตอเนื่อง ดังนั้น กรอบแนวคิด ในการกำหนดขอบเขตและแนวปฏิบัติในการดำเนินงานโครงการฯ คือ ยึดเปาหมาย SDG4 เปนเปาหมายหลัก เปาหมายเดียว แตแนวทางการปฏิบัติหรือกิจกรรมที่จะดำเนินการ สามารถดำเนินการไดหลากหลายแนวทาง โดย คำนึงถึงความสอดคลอง เหมาะสมกับสถานภาพ สถานการณ และความตองการหรือความจำเปน รวมถึง สภาพแวดลอมในแตละพื้นที่เนนการถายทอดเปาหมายการดำเนินงานจากภาพรวม (สวนกลาง) ไปสู เปาหมาย การดำเนินงานในระดับพื้นพื้นที่ภาคและจังหวัด ดังนั้น ขอบเขตการดำเนินงานที่เปนกิจกรรมหลัก ภายใต โครงการฯ จึงมีกิจกรรมการดำเนินงานที่เหมือนกัน แตมีความแตกตางกันในสวนของขอบเขตและระดับ ความรับผิดชอบที่มีผลการดำเนินงานที่สอดคลอง เชื่อมโยง และสงผลกระทบตอกันโดยตรง ไดแก ระดับกำหนด นโยบาย หนวยงานรับผิดชอบและประสานงานหลัก คือ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร สป. ศูนยเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร สป. สำนักความสัมพันธตางประเทศ สป. และระดับพื้นที่ หนวยงานรับผิดชอบและ ประสานงานหลัก คือ สำนักงานศึกษาธิการภาค และสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด โดยกรอบแนวทางหรือกิจกรรม หลักที่จะดำเนินการ มีดังนี้ 1. การประชุม ชี้แจง สรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับกรอบแนวทางและเปาหมายการ ขับเคลื่อน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา และแผนที่นำทางฯ (SDG4 Roadmap) ไปสูการปฏิบัติใหถูกตอง ตรงกัน รวมทั้ง ระดมความคิดเห็น เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงานและบูรณาการการทำงานรวมกัน 2. การจัดทำแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนแผนที่นำทางฯ หรือทบทวน ปรับปรุงแผนที่นำทางฯใหสอดคลอง กับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ ความตองการ/ความจำเปน และบริบทที่เกี่ยวของ 3. การกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน รวมถึงปญหาอุปสรรค และแนวทางในการแกไข ปญหาหรือพัฒนาการจัดการศึกษาใหบรรลุเปาหมายที่กำหนด 4. การจัดเก็บขอมูลและจัดทำฐานขอมูล เพื่อใชในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึง การพัฒนาวิธีการจัดเก็บขอมูลตามตัวชี้วัดที่ยังไมมีขอมูลพื้นฐาน 5. การจัดทำรายงานผลการดำเนินงานฯ เพื่อเสนอคณะกรรมการฯ หรือคณะทำงานฯ รับทราบและ นำไปใชเปนขอมูลประกอบการกำหนดแนวทางการดำเนินงานในระยะตอไป รวมถึง รายงานผลการดำเนินงานตอ คณะกรรมการฯ และ กพย. ตามลำดับ 6. การวิเคราะหสรุปผลการดำเนินงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรู ระดมความคิดเห็นรวมกัน เพื่อกำหนด กรอบแนวทางการแกไขปญหา หรือกำหนดแนวทางหรือนวัตกรรมการพัฒนาใหบรรลุเปาหมายในระยะตอไป


4 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 1.2 วัตถุประสงค 1) เพื่อนำเสนอขอมูลผลการดำเนินงานของกระทรวงศึกษาธิการและหนวยงานที่เกี่ยวของใน การขับเคลื่อนการดำเนินงานตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (เปาหมายที่ 4 : SDG4) พ.ศ. 2566 2) เพื่อวิเคราะหขอมูลผลการดำเนินงาน ปญหาอุปสรรค ประเด็นทาทายและประเด็นขอเสนอแนะจากผล การดำเนินงานในป พ.ศ. 2566 มาพิจารณากำหนดกรอบแนวทางและเปาหมายการดำเนินงานใหบรรลุเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษาในปถัดไป 3) เพื่อรายงานความกาวหนาการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา ปพ.ศ. 2566 ตอคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.3 แผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา แผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) มีสาระสำคัญ แบงออกเปน 5 สวน ไดแก สวนที่ 1 บทนำ และปจจัยสวนที่ 2 เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) กับ การพัฒนาประเทศไทย สวนที่ 3 ความสำคัญของเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (เปาหมายหลักที่ 4) สวนที่ 4 สาระสำคัญของแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) และ สวนที่ 5 การขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายหลักที่ 4 สูการปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล โดยยึดองคประกอบของแผนการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนสำหรับประเทศไทย (Thailand’s SDGs Roadmap) ตามที่ กพย. เห็นชอบ นำมาใชเปนกรอบหรือองคประกอบหลักของ SDG4 Roadmap ทั้งนี้ สำหรับ สาระสำคัญของแผนที่นำทางฯ สวนที่มีความสำคัญและหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถนำไปใชเปนกรอบแนวทาง ในการดำเนินงาน คือ สวนที่ 4 ที่ไดนำเสนอใหเห็นภาพหวงโซคุณคา (Value Chain) และตัวชี้วัดและเปาหมาย ของการดำเนินงาน รวมถึงกรอบแนวทาง แผนงานหรือโครงการสำคัญในการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเปาหมาย การพัฒนาที่ยั่งยืนในแตละเปาหมายยอยใหบรรลุเปาหมายที่กำหนดไว มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ เปาหมายยอย แหลงขอมูล หนวยงาน รับผิดชอบ SDG 4.1 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เทาเทียม และไมมีคาใชจาย นำไปสูผลลัพธทางการเรียนที่มีประสิทธิผล ภายในป พ.ศ. 2573 1) รอยละของเด็กในวัย ป.3 ที่มีทักษะการอานและการคำนวณ ขั้นพื้นฐาน ผลสอบ NT ศธ. (สพฐ.) 2) คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้น พื้นฐาน (O-NET) (1) ภาษาไทย (2) คณิตศาสตร (3) วิทยาศาสตร(4) ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ผลสอบ O-NET สทศ. 3) อัตราการสำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย ฐานขอมูลกลางดานการศึกษา ศธ. ศธ. (ศทก.สป.) SDG 4.2 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเขาถึงการพัฒนา การดูแล และการจัดการศึกษาระดับกอนประถม ศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ ภายในป 2573 1) รอยละของเด็กอายุต่ำกวา 5 ป ที่มีพัฒนาการทาง ระบบฐานขอมูลสารสนเทศ พม.


5 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี เปาหมายยอย แหลงขอมูล หนวยงาน รับผิดชอบ ดานสุขภาพ การเรียนรู และพัฒนาการทางบุคลิกภาพตามวัย จำแนกตามเพศ การพัฒนาเด็กปฐมวัยตาม มาตรฐานชาติ (ดานคุณภาพเด็กปฐมวัย) 2) อัตราการเขาเรียนปฐมวัย (อยางนอย 1 ป กอนถึงเกณฑอายุ เขาเรียนประถมศึกษา) จำแนกตามเพศ ฐานขอมูลกลางดานการศึกษา ศธ. ศธ. (ศทก.สป.) SDG 4.3 ใหชายและหญิงทุกคนเขาถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัยที่มีราคาที่สามารถจาย ไดและมีคุณภาพภายในป 2573 1) อัตราการเขาเรียนระดับอาชีวศึกษา (สัดสวนผูเรียนระดับ มัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีวศึกษา (ปวช.): สายสามัญ ศึกษา) ฐานขอมูลกลางดานการศึกษา ศธ. ศธ. (ศทก.สป.) 2) อัตราการเขาเรียนตอในระดับอุดมศึกษา ฐานขอมูลการศึกษา อว. อว. SDG 4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผูใหญที่มีทักษะที่จำเปน รวมถึงทักษะทางเทคนิคและอาชีพสำหรับการจางงาน การมีงานที่ดี และการเปนผูประกอบการ ภายในป 2573 1) สัดสวนของเยาวชน/ผูใหญที่มีทักษะทางดานเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร จำแนกตามประเภททักษะ รายงานผลการสำรวจขอมูล สสช. SDG 4.5 ขจัดความเหลื่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสรางหลักประกันวากลุมที่เปราะบางซึ่งรวมถึงผูพิการ ชนพื้นเมือง และ เด็กเขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับอยางเทาเทียม ภายในป 2573 1) ดัชนีความเทาเทียมทางเพศ จำแนกตามระดับการศึกษา (ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษา ตอนปลาย อุดมศึกษา) ฐานขอมูลกลางดานการศึกษา ศธ. ศธ. (ศทก.สป.) 2) ดัชนีความเทาเทียมทางความมั่งคั่ง จำแนกตามระดับ การศึกษา (ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษาตอนปลาย อุดมศึกษา) รายงานผลการสำรวจขอมูล สสช. 3) ดัชนีความเทาเทียมตามพื้นที่ จำแนกตามระดับการศึกษา (ปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนตน มัธยมศึกษา ตอนปลาย อุดมศึกษา) รายงานผลการสำรวจขอมูล สสช. SDG 4.6 สรางหลักประกันวาเยาวชนทุกคนและผูใหญในสัดสวนสูง ทั้งชายและหญิงสามารถอานออกเขียนไดและคำนวณได ภายในป 2573 1) อัตราการอานออกเขียนไดของประชากรอายุ 15 ป ขึ้นไป จำแนกตามเพศ รายงานผลการสำรวจขอมูล สสช. 2) อัตราการมีทักษะดานการคำนวณของประชากรอายุ 15 ปขึ้น ไป จำแนกตามเพศ รายงานผลการสำรวจขอมูล สสช. 3) อัตราการอานออกเขียนไดและมีทักษะดานการคำนวณของ ประชากร อายุ 15 ปขึ้นไป รายงานผลการสำรวจขอมูล สสช. SDG 4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดรับความรูและทักษะที่จำเปนสำหรับสงเสริมการพัฒนาอยางยั่งยืน รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพัฒนาอยางยั่งยืนและการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหวางเพศ การสงเสริม วัฒนธรรมแหงความสงบสุขและไมใชความรุนแรง การเปนพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรม และในสวนรวมของวัฒนธรรมตอการพัฒนาที่ยั่งยืน ภายในป 2573


6 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี เปาหมายยอย แหลงขอมูล หนวยงาน รับผิดชอบ 1) ระดับการดำเนินการการกำหนดเรื่อง การศึกษาเพื่อความ เปนพลเมืองโลกและการจัดการศึกษา เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เปนเรื่องหลักใน (ก) นโยบายการศึกษาของประเทศ (ข) หลักสูตร (ค) การศึกษาของครู(หลักสูตรการผลิต/พัฒนา ครู) และ (ง) การประเมินผลนักเรียน จัดทำรายงานผลการวิเคราะหระดับ การดำเนินงานเชิงนโยบายตามประเด็นที่ กำหนด ศธ. 2) การจัดกิจกรรมหรือโครงการเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีความรู และทักษะเกี่ยวกับความเปนพลเมือง หรือการพัฒนาที่ยั่งยืน (โครงการ/กิจกรรม พัฒนาผูเรียนเสริมหลักสูตร) เสนอตัวชี้วัดเพิ่มเติมเพื่อแสดงขอมูล การดำเนินงานเชิงปฏิบัติ ศธ. SDG 4.a สรางและยกระดับอุปกรณและเครื่องมือทางการศึกษาที่ออนไหวตอเด็กผูพิการ และเพศภาวะ และใหมี สภาพแวดลอมทางการเรียนรูที่ปลอดภัย ปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสิทธิผลสำหรับทุกคน 1) สัดสวนของโรงเรียนที่มีการเขาถึงบริการขั้นพื้นฐาน จำแนก ตามประเภทบริการ (สัดสวนของโรงเรียนที่มีการเขาถึง) (a) ไฟฟา (b) อินเทอรเน็ตที่ใชในการเรียนการสอน (c) เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในการเรียนการสอน (d) โครงสราง พื้นฐาน และวัสดุอุปกรณที่ไดรับการปรับใหเหมาะสมกับ นักเรียนที่มีความบกพรองทางรางกาย (e) น้ำดื่มพื้นฐาน (f) สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานดานสุขอนามัยที่แบงแยกตาม เพศ และ (g) สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานในการทำความ สะอาดมือ (ตามนิยามตัวชี้วัดของ WASH ในเรื่อง น้ำ สุขอนามัย และสุขลักษณะสำหรับทุกคน) จะดำเนินการพัฒนารูปแบบและวิธีการ จัดเก็บขอมูลรวมกับหนวยงานที่ เกี่ยวของตอไป ศธ. SDG 4.b ขยายจำนวนทุนการศึกษาในทั่วโลกที่ใหสำหรับประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะประเทศพัฒนานอยที่สุด รัฐกำลัง พัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็ก และประเทศในแอฟริกาในการสมัครเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝกอาชีพ และ โปรแกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตรในประเทศพัฒนาแลว และประเทศ กำลังพัฒนาอื่น ๆ ภายในป 2573 1) ปริมาณความชวยเหลือเพื่อการพัฒนาอยางเปนทางการ (ODA) ที่เปนทุนการศึกษา สำหรับประเทศกำลังพัฒนาและ ประเทศพัฒนานอยที่สุด รายงานผลการดำเนินงาน กต SDG 4.c เพิ่มจำนวนครูที่มีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผานทางความรวมมือระหวางประเทศในการฝกอบรมครูในประเทศ กำลังพัฒนาเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยที่สุด และรัฐกำลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็กภายในป 2573 1) สัดสวนของครูที่มีคุณวุฒิเหมาะสมในการจัดการศึกษา พื้นฐานจำแนกตามระดับการศึกษา ผูซึ่งอยางนอยไดรับการ ฝกอบรม (เชน การฝกอบรมการสอน) ซึ่งตองดำเนินการกอน หรือระหวางชวงที่ทำการสอนในระดับที่เกี่ยวของของแตละ ประเทศ (1) กอนประถมศึกษา (2) ประถมศึกษา (3) มัธยมศึกษาตอนตน (4) มัธยมศึกษาตอนปลาย ฐานขอมูลทางการศึกษา ศธ. (สกศ.)


7 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 1.4 กลไกการขับเคลื่อน (กลไกระดับพื้นที่) 1) กลไกการขับเคลื่อนระดับชาติ ไดแก คณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คณะกรรมการนโยบาย การพัฒนาเด็กปฐมวัย คณะอนุกรรมการสงเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลการพัฒนาที่ยั่งยืน ฯลฯ 2) กลไกการขับเคลื่อนระดับกระทรวง ไดแก คณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา 3) กลไกการขับเคลื่อนระดับพื้นที่ 3.1) คณะทำงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน เปาหมายหลักที่ 4 ระดับจังหวัด ตามคำสั่งคณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา ที่ 2/2565 เรื่องแตงตั้งคณะทำงาน ขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนระดับจังหวัด จังหวัดปทุมธานี ลงวันที่ 31 พฤษภาคม 2565 3.2) หนวยงานภาครัฐ ไดแก คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด สำนักงานศึกษาธิการภาค สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา/สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา องคกรปกครองสวนทองถิ่น สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัด สถานศึกษา สถาบันอุดมศึกษากรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา 3.3) หนวยงานภาคเอกชน ไดแก สภาหอการคาแหงประเทศไทย/หอการคาจังหวัด สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย/สภาอุตสาหกรรมจังหวัด สถานศึกษา/สถาบันอุดมศึกษาเอกชน/นานาชาติ 4) ภาคีการพัฒนา สนับสนุนความรวมมือกับทุกภาคสวน ทั้งในประเทศและภาคีการพัฒนาระหวาง ประเทศ เพื่อรวมขับเคลื่อนประเทศไทยใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ไดแก ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และภาคีการพัฒนาระหวางประเทศ


8 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี สวนที่ 2 การดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) สูการปฏิบัติ ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 2.1 การดำเนินโครงการจัดทำฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อน เปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี (สวนกลาง/ระดับภาค/กลุมจังหวัด/ระดับจังหวัด) 1) ขอบเขตการดำเนินโครงการ 1.1) วัตถุประสงค (1) เพื่อขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) สูการปฏิบัติ (2) เพื่อจัดทำระบบฐานขอมูลสำหรับการติดตามประเมินผล และรายงานผลการ ดำเนินงานตามแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) ตอคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.2) เปาหมาย (1) หนวยงานที่เกี่ยวของมีการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (2) รายงานผลการดำเนินงานตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (3) ระบบฐานขอมูล สำหรับการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตาม SDG4 Roadmap มีประสิทธิภาพ เอื้อตอการจัดทำรายงานผลการดำเนินงานการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา (เปาหมายหลักที่ 4) 1.3) กิจกรรมสำคัญภายใตโครงการ - กำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงานโครงการฯ - ทบทวนแนวทางการดำเนินงาน/เปาหมาย/ตัวชี้วัดแผนที่นำทาง SDG4 Roadmap - ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา - ประชุมชี้แจงแนวทางและขอบเขตดำเนินงานโครงการฯ กับหนวยงานในระดับพื้นที่ - ประชุมคณะทำงานจัดทำระบบฐานขอมูล สำหรับการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตาม SDG4 Roadmap - ดำเนินการขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) - สรุปและติดตามผลการดำเนินงาน ปญหาอุปสรรค และรายงานผลการดำเนินการ ขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) - จัดพิมพและเผยแพรรายงานผลการดำเนินการขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap)


9 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 2) ผลการดำเนินงาน 2.1) กำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงานโครงการฯ สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ไดกำหนดกรอบแนวทางการดำเนินงานโครงการ จัดทำฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติ วาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 และไดแตงตั้งคณะทำงานโครงการ จัดทำฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติ วาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ตามคำสั่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ที่ 105/2566 สั่ง ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2566 2.2) ทบทวนแนวทางการดำเนินงาน/เปาหมาย/ตัวชี้วัดแผนที่นำทาง SDG4 Roadmap สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ทบทวนแนวทางการดำเนินงาน/เปาหมาย/ตัวชี้วัด แผนที่นำทาง SDG4 Roadmap เพื่อใชเปนกรอบแนวทางในการสรางหลักประกันวา ทุกคนในจังหวัดปทุมธานี จะมีการศึกษาที่มีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรูตลอดชีวิต SDG4 Roadmap สรางหลักประกันวาทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพอยางครอบคลุมและเทาเทียม สนับสนุนโอกาส ในการเรียนรูตลอดชีวิต 2.3) ประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา ดังนี้ 2.3.1 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี เขารวมประชุมชี้แจงสรางความรูความเขาใจ การดำเนินโครงการจัดทำฐานขอมูลและระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่เพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมาย ของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 6 กรกฎาคม 2566 ของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มอบขอเสนอแนะแนวคิด แนวทางการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ไปสูการปฏิบัติสำนักนโยบายและยุทธศาสตร ชี้แจงขอบเขตและแนวปฏิบัติการดำเนินโครงการจัดทำฐานขอมูล และระบบติดตามประเมินผลระดับพื้นที่ฯ ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารชี้แจงแนวทางการพัฒนา ระบบสารสนเทศเพื่อการรายงานผลการดำเนินงานตามเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา


10 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 2.3.2 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ประชุมปฏิบัติการวิเคราะหสถานะตัวชี้วัด ดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) และการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อสรางความรูความเขาใจเกี่ยวกับการวิเคราะห และการจัดทำขอมูลสารสนเทศ ดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาระดับภาค ของสำนักงานศึกษาธิการ ภาค 2 ระหวางวันที่ 26-27 กรกฎาคม 2566 ณ โรงแรมโฮเทล วิศมา ราชบุรี จังหวัดราชบุรี


11 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 2.4) ประชุมชี้แจงแนวทางและขอบเขตดำเนินงานโครงการฯ กับหนวยงานในระดับพื้นที่ ประชุม คณะทำงานจัดทำระบบฐานขอมูล สำหรับการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตาม SDG4 Roadmap และดำเนินการ ขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4 Roadmap) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะหสถานะ ตัวชี้วัดดานการศึกษาเพื่อสนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืน ดานการศึกษา (SDG4) และการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัด ของสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดปทุมธานี ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา SDG4 Roadmap สูการปฏิบัติเพื่อจัดทำระบบฐานขอมูลสำหรับการติดตามประเมินผล และรายงานผล การดำเนินงานตามแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา SDG4 Roadmap ตอคณะกรรมการเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เมื่อวันจันทรที่ 28 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น. ณ หองประชุมสโรชา ชั้น 3 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ตำบลรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี อีกทั้งยังประชุมชี้แจงแนวทางและขอบเขตดำเนินงานโครงการฯ กับหนวยงานในระดับพื้นที่ ประชุมคณะทำงาน จัดทำระบบฐานขอมูล สำหรับการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตาม SDG4 Roadmap และดำเนินการ ขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา SDG4 Roadmap ดวย


12 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 2.4) สรุปและติดตามผลการดำเนินงาน ปญหาอุปสรรค และรายงานผลการดำเนินการ ขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา SDG4 Roadmap สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการสรุปและติดตามผลการดำเนินงาน วิเคราะหปญหาอุปสรรค เพื่อรวบรวมเปนขอมูลจัดทำรายงานผลการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมและขอมูล ที่สนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ในพื้นที่ จังหวัดปทุมธานี 2.5) จัดพิมพและเผยแพรรายงานผลการดำเนินการขับเคลื่อนแผนที่นำทางการขับเคลื่อน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา SDG4 Roadmap สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี จัดทำเลมรายงานผลการดำเนินงานขับเคลื่อน เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 ขึ้น เพื่อรายงานผลการดำเนินงาน โครงการ/กิจกรรมและขอมูล ที่สนับสนุนการขับเคลื่อนเปาหมายของสหประชาชาติวาดวยการพัฒนาที่ยั่งยืนดาน การศึกษา (SDG4) ในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี


13 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี สวนที่3 ความกาวหนาการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) ผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) รายเปาหมายยอย 1. เปาหมายยอย SDG 4.1 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จการศึกษาระดับ ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพ เทาเทียม และไมมีคาใชจาย นำไปสูผลลัพธทางการเรียนที่มีประสิทธิผล ภายในป พ.ศ. 2573 1.1) ผลการดำเนินงาน โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน การประเมินความสามารถ ดานการอานของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 และ การประเมินคุณภาพผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2565 สพป.ปท. 1 1) เพื่อดำเนินการประเมิน ความสามารถดานการอาน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 (RT) และการประเมิน ความคุณภาพผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (NT) 2) เพื่อวิเคราะหผล การประเมินเปนสารสนเทศ ที่นำไปใชวางแผน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพดานการ อานของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 (RT) และการประเมินความ คุณภาพผูเรียน ชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 (NT) กิจกรรมที่ 1 การประเมิน ความสามารถดานการอาน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 1 (RT) ปการศึกษา 2565 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมและ การดำเนินงานการประเมิน คุณภาพผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (NT) ปการศึกษา 2565 1) ไดดำเนินการประเมิน ความสามารถดานการอาน (RT) ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 ปการศึกษา 2565 ดังนี้ 1.1 แตงตั้งคณะกรรมการ ประเมินฯ ทั้งระดับศูนยสอบ และระดับสนามสอบ 1.2 ประชุมชี้แจงแนวทางการ ประเมินความสามรถดานการ อานของผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 1.3 ดำเนินการประเมิน ความสามารถดานการอานของ ผูเรียนในวันที่ 20 กุมภาพันธ 2566 1.4 สถานศึกษานำสงคะแนน การประเมินผานระบบ NT Access วันที่ 25 กุมภาพันธ – 1 มีนาคม 2566 1.5 ประกาศผลการประเมิน ทางระบบ NT access วันที่ 5 เมษายน 2566 2)ดำเนินการประเมินคุณภาพ ผูเรียน (NT)ชั้นประถมศึกษา ปที่3 ปการศึกษา 2565 ดังนี้ 2.1 แตงตั้งคณะกรรมการ ประเมินฯ ทั้งระดับศูนยสอบ และระดับสนามสอบ 2.2. ประชุมชี้แจงแนวทางการ ประเมินคุณภาพผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 2.3 ดำเนินการประเมินผูเรียน ในวันที่ 15 มีนาคม 2566 ในระบบ NT access ไมไดจัดแบงหองสอบให ผูประเมินตามสัดสวน จัดแบงเพียงหองปกติ กับ หองเด็กพิเศษ จึงทำให เกิดปญหาในการจัด หองสอบที่ชัดเจน


14 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน 2.4 สถานศึกษานำสงคะแนน การประเมินผานระบบ NT Access วันที่ 20-24 มีนาคม 2566 2.5 ประกาศผลการประเมิน ทางระบบ NT access วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 2.6สรุปรายงานผลการทดสอบ ของโรงเรียนในสังกัดและ ดำเนินการจัดทำเกียรติบัตร ใหโรงเรียนที่มีผลการ ประเมินฯ ทั้งรายดานและ ผลคะแนนเฉลี่ยรวม สูงกวา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับชาติ ประเมินคุณภาพผูเรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2565 สพป.ปท. 2 1) เพื่อตรวจสอบ ความสามารถพื้นฐานในดาน การอาน การเขียน และ การคิดคำนวณ ของผูเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ของนักเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อนำผลการประเมินไป ใชในการวางแผนพัฒนา คุณภาพการศึกษา ความสามารถดานภาษาไทย และความสามารถดาน คณิตศาสตร (National Test: NT) ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 และ ในระดับชั้นตอไป กิจกรรมที่ 1 แตงตั้ง คณะทำงานระดับเขตพื้นที่ การศึกษาในการดำเนินการ จัดสอบระดับศูนยสอบ และระดับสนามสอบ กิจกรรมที่ 2 ประชุมชี้แจง การดำเนินการประเมิน คุณภาพผูเรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2565 คณะ กรรมการฯ ระดับศูนยสอบ และระดับสนามสอบ ดวย ระบบออนไลน ผาน Google Meet กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการ ประเมินคุณภาพผูเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2565 สนาม สอบ 67 โรงเรียน กิจกรรมที่ 4 จัดทำ สารสนเทศรายงานผลการ ประเมินคุณภาพผูเรียน (National Test : NT) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2565 1) นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 2 จำนวน 67 โรงเรียน ไดรับการประเมิน คุณภาพผูเรียน 2) นักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 มีความสามารถดาน ภาษาไทย และความสามารถ ดานคณิตศาสตร เพิ่มขึ้นไม ต่ำกวารอยละ 50 ไมมี


15 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน การจัดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2565 สพป.ปท. 1 1) เพื่อจัดสอบทางการศึกษา ในระดับชาติขั้นพื้นฐาน ใหกับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2565 ที่มี ความประสงครับทดสอบ O-NET ทุกคน ทุกโรงเรียน และทุกสังกัดที่อยูใน ความรับผิดชอบของศูนยสอบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 2) เพื่อจัดทำสารสนเทศที่มี คุณภาพสำหรับเปนขอมูล ยอนกลับ ในการจัดการศึกษา เพื่อใชสำหรับกระบวนการ ตัดสินใจและกำหนดแผนพัฒนา คุณภาพการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐานของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1 และ สถานศึกษาที่เขารับ การทดสอบ O-NET กิจกรรมที่ 1 การดำเนิน กิจกรรมประชุมปฏิบัติ งานคณะกรรมการ ดำเนินงาน กิจกรรมที่ 2 การดำเนิน กิจกรรมดำเนินการการจัด สอบทางการศึกษา ระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2565 กิจกรรมที่ 3 การวิเคราะหขอมูล สรุปผล และเขียนรายงานผลการสอบ 1)ดำเนินการมอบเกียรติบัตร นักเรียนที่มีผลการทดสอบ ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2565 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ได 100 คะแนนเต็ม จำนวน 14 ใบ 2) เกียรติบัตรโรงเรียนที่มีผล การทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2565 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 วิชาคณิตศาสตร วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร และ วิชาภาษาอังกฤษ สูงกวา คาเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่ การศึกษา จำนวน 243 ใบ 3) เกียรติบัตรโรงเรียนที่มีผล การทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2565 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 วิชาคณิตศาสตร วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร และ วิชาภาษาอังกฤษ สูงกวา คาเฉลี่ยระดับระดับ สพฐ. จำนวน 172 ใบ 4) เกียรติบัตรโรงเรียนที่มีผล การทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2565 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 วิชาคณิตศาสตร วิชาภาษาไทย วิชาวิทยาศาสตร และ วิชาภาษาอังกฤษ สูงกวา คาเฉลี่ยระดับประเทศ จำนวน 133 ใบ 5) เกียรติบัตรโรงเรียนที่มีผล การทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปการศึกษา 2565 ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 และ ไมมี


16 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 คาเฉลี่ย รวมทุกวิชา สูงกวาคาเฉลี่ย ระดับประเทศ จำนวน 29 ใบ สพป.ปท. 2 1) เพื่อจัดสอบทางการศึกษา ในระดับชาติขั้นพื้นฐาน ใหกับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 และชั้น มัธยมศึกษาปที่ 3 ป การศึกษา 2565 ที่มีความ ประสงครับทดสอบ O-NET ทุกคน ทุกโรงเรียน และทุก สังกัดที่อยูในความรับผิดชอบ ของทุกสังกัดที่อยูในความ รับผิดชอบของศูนยสอบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อจัดทำสารสนเทศที่มี คุณภาพสำหรับเปนขอมูล ยอนกลับในการจัดการศึกษา เพื่อใชสำหรับกระบวนการ ตัดสินใจและ กำหนด แผนพัฒนาคุณภาพการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และสถานศึกษาที่เขารับการ ทดสอบ O-NET กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจง การจัดสอบทางการศึกษา ระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) คณะกรรมการ ระดับสนามสอบ กิจกรรมที่ 2 จัดสอบชั้น ป.6 และ ม.3 จำนวน 20 ศูนยการสอบ กิจกรรมที่ 3 การวิเคราะหขอมูล สรุปผล และเขียนรายงานผลการสอบ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 และสถานศึกษาที่เขา รับการทดสอบ O-NET มี สารสนเทศที่มีคุณภาพใช เปนขอมูลยอนกลับ ในการ จัดการศึกษา เพื่อใชใน กระบวนการตัดสินใจและ กำหนดแผนพัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไมมี พัฒนาคุณภาพการศึกษาและ การวัดและประเมินผล ในชั้นเรียนเพื่อพัฒนา การเรียนรูของผูเรียน (Assessment for Learning) สพม.ปท. เพื่อพัฒนาครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหมีสมรรถนะใน การจัดการเรียนรูเชิงรุก สามารถ ออกแบบการเรียนรู การจัด กิจกรรมการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) การจัดการ ชั้นเรียน การใชสื่อเทคโนโลยีใน การจัดการเรียนรู การวัดและ ประเมินผลการเรียนรูตาม สภาพจริง กิจกรรมที่ 1การจัดการ เรียนรูเพื่อการพัฒนา การเรียนรูและสมรรถนะของ ผูเรียน กิจกรรมที่ 2 การประเมินเพื่อ การเรียนรู (Assessment for Learning) กิจกรรมที่ 3 การสราง เครื่องมือและการตรวจสอบ คุณภาพของเครื่องมือการ ประเมินเพื่อการเรียนรูและ สมรรถนะของผูเรียน 1) ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน คะแนนเฉลี่ย ทุกรายวิชาสูงกวา ระดับประเทศและระดับตน สังกัดทั้ง ม.3 และ ม.6 2) รอยละ 100 ของผูเรียน สำเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนตน 3) รอยละ 100 ของผูเรียน สำเร็จการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ไมมี


17 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 1.2) สถานการณตามเปาหมายยอย 1.2.1 ผลการทดสอบ O-NET ตาราง ผลการประเมินคุณภาพผูเรียนระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยรวม ยอนหลัง 3 ปการศึกษา จําแนกตามระดับและสังกัด ระดับและ สังกัด รวมทุกวิชา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2563 ปการศึกษา 2564 ปการศึกษา 2565 ปการศึกษา 2563 ปการศึกษา 2564 ปการศึกษา 2565 ปการศึกษา 2563 ปการศึกษา 2564 ป การศึกษา 2565 ประเทศ 42.13 40.19 39.73 36.01 34.56 35.68 33.79 39.69 30.04 ศธภ.2 47.41 44.48 41.20 40.95 40.62 41.34 38.92 49.03 36.13 จังหวัด 44.87 41.83 44.91 40.65 39.01 39.56 35.02 45.73 33.69 สังกัดสพฐ. ปท. 40.71 38.01 42.12 40.66 40.06 40.32 36.09 46.14 37.43 สังกัด สพม.ปท. - - - 44.47 43.08 43.59 36.54 48.49 38.06 สังกัด สพป.ปท. 40.71 38.01 38.63 32.01 31.85 33.22 28.49 36.49 27.47 สังกัดสช.ปท. 52.21 49.60 40.61 38.48 39.17 39.98 33.05 47.40 28.10 สังกัดอว.ปท. 56.29 50.84 50.99 51.97 42.74 44.51 34.26 55.13 52.04 สังกัด กสท.ปท. 38.71 36.52 49.41 33.73 30.44 32.54 26.86 36.22 26.61 สังกัดพศ.ปท. - - - - - - 29.07 37.58 30.33 ที่มา: ขอมูลจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) จากตาราง ผลการประเมินคุณภาพผูเรียนระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 โดยรวม ยอนหลัง 3 ปการศึกษา จําแนกตามระดับและ สังกัด พบวา ระดับจังหวัด ผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเมื่อ เทียบกับปการศึกษา 2564 และปการศึกษา 2563 ระดับสังกัด สพฐ. จังหวัดปทุมธานีผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มี คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2564 แตยังมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกวาปการศึกษา 2563 ระดับสังกัด สช. จังหวัดปทุมธานีผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มี คะแนนเฉลี่ยลดลงเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2564 และปการศึกษา 2563 โดยมีแนวโนมลดลง ผลการประเมินคุณภาพผูเรียนระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เปรียบเทียบ ยอนหลัง 3 ปการศึกษา (2563–2565) พบวา ระดับจังหวัด ผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเมื่อ เทียบกับปการศึกษา 2564 แตยังมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกวาปการศึกษา 2563 ระดับสังกัด สพฐ. จังหวัดปทุมธานีผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2564 แตยังมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกวาปการศึกษา 2563 ระดับสังกัด สช. จังหวัดปทุมธานีผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2564 และปการศึกษา 2563 โดยมีแนวโนมสูงขึ้น


18 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี ผลการประเมินคุณภาพผูเรียนระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O–NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เปรียบเทียบ ยอนหลัง 3 ปการศึกษา (2563–2565) พบวา ระดับจังหวัด ผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยลดลง เมื่อเทียบกับปการศึกษา 2564 และมีคะแนนเฉลี่ยต่ำกวาปการศึกษา 2563 ระดับสังกัด สพฐ. จังหวัดปทุมธานีผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยลดลงเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2564 แตยังมีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาปการศึกษา 2563 ระดับสังกัด สช. จังหวัดปทุมธานีผลการประเมินคุณภาพผูเรียนในภาพรวมทุกวิชา ปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยลดลงเมื่อเทียบกับปการศึกษา 2564 และมีคะแนนต่ำกวาปการศึกษา 2563 ตาราง ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน Ordinary National Education Test ( O-Net ) ปการศึกษา 2565 ของผูเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในระดับหนวยงาน ระดับ ชั้น ระดับหนวยงาน กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศึกษา เฉลี่ยรวม ป.6 ประเทศ 53.89 37.62 28.06 39.34 - 39.73 กระทรวง:ศธ 53.76 37.44 28.04 39.28 - 39.63 ภาคกลาง 54.71 38.42 28.39 39.62 - 40.29 สำนักงานศึกษาธิการภาค 2 58.37 48.19 32.15 43.17 - 45.47 จังหวัด 56.13 43.69 29.85 41.51 - 42.80 ม.3 ประเทศ 52.95 32.05 24.39 33.32 - 35.68 กระทรวง:ศธ 53.21 32.18 24.48 33.45 - 35.83 ภาคกลาง 53.93 32.59 24.55 33.57 - 36.16 สำนักงานศึกษาธิการภาค 2 59.23 40.88 28.78 36.47 - 41.34 จังหวัด 57.13 38.12 27.49 35.50 - 39.56 ม.6 ประเทศ 44.09 23.44 21.61 28.08 33.00 30.04 กระทรวง:ศธ 44.42 23.56 21.83 28.26 33.11 30.24 ภาคกลาง 44.58 24.16 22.32 28.53 33.26 30.57 สำนักงานศึกษาธิการภาค 2 50.30 31.61 30.11 31.61 37.04 36.13 จังหวัด 46.56 28.82 27.69 30.71 34.66 33.69 ที่มา: ขอมูลจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) จากตาราง ผลการทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผูเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ดังนี้ 1) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ระดับจังหวัดปทุมธานี มีคะแนนเฉลี่ยรวมต่ำกวาคาเฉลี่ยของระดับสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 2 แตสูงกวาระดับภาคกลาง ระดับกระทรวง: ศธ และระดับประเทศ โดยกลุมสาระการเรียนรูที่มี คะแนนสูงที่สุด คือ ภาษาไทย รองลงมา ไดแก ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตรคณิตศาสตรตามลำดับ 2) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ระดับจังหวัดปทุมธานีมีคะแนนเฉลี่ยรวมต่ำกวาคาเฉลี่ยของระดับสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 2 แตสูงกวาระดับภาคกลาง ระดับกระทรวง: ศธ และระดับประเทศ โดยกลุมสาระการเรียนรูที่มี คะแนนสูงที่สุด คือ ภาษาไทย รองลงมา ไดแก ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตร ตามลำดับ


19 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 3) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ระดับจังหวัดปทุมธานี มีคะแนนเฉลี่ยรวมต่ำกวาคาเฉลี่ยของระดับสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 2 แตสูงกวาระดับภาคกลาง ระดับกระทรวง: ศธ และระดับประเทศ โดยกลุมสาระการเรียนรูที่มี คะแนนสูงที่สุด คือ ภาษาไทย รองลงมา ไดแก สังคมศึกษา วิทยาศาสตรภาษาอังกฤษ คณิตศาสตรตามลำดับ ตาราง การเปรียบเทียบผลการทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผูเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ระหวางระดับประเทศ และระดับจังหวัดปทุมธานีปการศึกษา 2565 และ ปการศึกษา 2564 ชั้น ระดับ ปการศึกษา กลุมสาระการเรียนรู เฉลี่ยรวม ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ป.6 ระดับประเทศ 2565 53.89 37.62 28.06 39.34 - 39.73 2564 50.38 39.22 36.83 34.31 - 40.19 ระดับจังหวัด 2565 56.13 43.69 29.85 41.51 - 42.80 2564 50.60 44.57 37.47 34.67 - 41.83 ผลตางระดับจังหวัด และประเทศ ป 65 2.24 6.07 1.79 2.17 - 3.07 ผลตางระดับจังหวัด และประเทศ ป 64 0.22 5.35 0.64 0.36 - 1.64 เปรียบเทียบผลตางป 64 และ 65 เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้น - เพิ่มขึ้น ม.3 ระดับประเทศ 2565 52.95 32.05 24.39 33.32 - 35.68 2564 51.19 31.11 24.47 31.45 - 34.56 ระดับจังหวัด 2565 57.13 38.12 27.49 35.50 - 39.56 2564 56.23 37.32 28.60 33.89 - 39.01 ผลตางระดับจังหวัด และประเทศ ป 65 4.18 6.07 3.10 2.18 - 3.88 ผลตางระดับจังหวัด และประเทศ ป 64 5.04 6.21 4.13 2.44 4.46 เปรียบเทียบผลตางป 64 และ 65 ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง - ลดลง ม.6 ระดับประเทศ 2565 44.09 23.44 21.61 28.08 33.00 30.04 2564 46.40 25.56 21.28 28.65 36.87 31.75 ระดับจังหวัด 2565 46.56 28.82 27.69 30.71 34.66 33.69 2564 51.38 33.11 27.86 31.38 39.19 36.58 ผลตางระดับจังหวัด และประเทศ ป 65 2.47 5.38 6.08 2.63 1.66 3.64 ผลตางระดับจังหวัด และประเทศ ป 64 4.98 7.55 6.58 2.73 2.32 4.83 เปรียบเทียบผลตางป 64 และ 65 ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ลดลง ที่มา: ขอมูลจากสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) จากตาราง สามารถเปรียบเทียบผลการทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผูเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 6ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3และชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6ระหวางระดับประเทศ และระดับจังหวัดปทุมธานี ปการศึกษา 2565 และปการศึกษา 2564ไดดังนี้ 1) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในภาพรวม ผลคะแนนเฉลี่ยทั้ง 4 กลุมสาระการเรียนรูของระดับจังหวัด ปการศึกษา 2564 และปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาของระดับประเทศ และเมื่อพิจารณาแลวพบวา ผลตางของคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดและระดับประเทศ มีแนวโนมเพิ่มขึ้นทุกกลุมสาระการเรียนรู 2) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ในภาพรวม ผลคะแนนเฉลี่ยทั้ง 4 กลุมสาระการเรียนรูของระดับจังหวัด ปการศึกษา 2564 และปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาของระดับประเทศ แตเมื่อพิจารณาแลวพบวา ผลตางของคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดและระดับประเทศ มีแนวโนมลดลงทุกกลุมสาระการเรียนรู


20 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 3) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ในภาพรวม ผลคะแนนเฉลี่ยทั้ง 4 กลุมสาระการเรียนรูของระดับจังหวัด ปการศึกษา 2564 และปการศึกษา 2565 มีคะแนนเฉลี่ยสูงกวาของระดับประเทศ เมื่อพิจารณาแลวพบวาผลตาง ของคะแนนเฉลี่ยระดับจังหวัดและระดับประเทศ มีแนวโนมลดลงทุกกลุมสาระการเรียนรู ตาราง ผลการทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผูเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 จังหวัดปทุมธานี จำแนกตามสังกัดปการศึกษา 2565 ชั้น สังกัด กลุมสาระการเรียนรู เฉลี่ยรวม ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมฯ ป.6 สพฐ. 53.44 25.96 38.69 36.42 - 38.63 สช. 61.35 37.19 47.00 58.23 - 50.94 อว. 61.54 58.23 37.19 47.00 - 50.99 กสท. 54.52 55.83 39.21 48.06 - 49.41 ม.3 สพฐ. 58.05 38.41 28.62 36.21 - 40.32 สช. 56.97 41.55 26.40 34.99 - 39.98 อว. 63.06 49.48 27.72 37.76 - 44.51 กสท. 49.29 29.41 20.94 30.50 - 32.54 ม.6 สพฐ. 51.79 32.35 32.71 33.78 36.52 37.43 สช. 38.95 26.69 17.95 25.91 31.01 28.10 อว. 67.03 46.3 37.6 39.26 44.25 46.89 กสท. 37.00 21.34 18.34 25.47 30.92 26.61 พศ. 48.15 20.70 23.54 22.53 36.75 30.33 จากตาราง ผลการทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของผูเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี จำแนกตามสังกัด ดังนี้ 1) ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 คะแนนเฉลี่ยรวม 4 กลุมสาระการเรียนรู โรงเรียนสังกัด อว. มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด (50.99) รองลงมา คือ สช. (50.94) กสท. (49.41) สพฐ. (38.63) 2) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 คะแนนเฉลี่ยรวม 4 กลุมสาระการเรียนรู โรงเรียนสังกัด อว. มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด (44.51) รองลงมา คือ สพฐ. (40.32) สช. (39.98) กสท. (32.54) 3) ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 คะแนนเฉลี่ยรวม 5 กลุมสาระการเรียนรู โรงเรียนสังกัด อว. (46.89) มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมา สพฐ. (37.43) พศ. (30.33) สช. (28.10) กสท. (26.61)


21 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 1.2.2) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) ตาราง ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ครั้งที่ 2 ปการศึกษา 2564 ระดับหนวยงาน สาระ การประกอบอาชีพ การพัฒนาสังคม ความรูพื้นฐาน ทักษะการดำเนินชีวิต ทักษะการเรียนรู จำนวนผู เขาสอบ คะแนน เฉลี่ย จำนวนผู เขาสอบ คะแนน เฉลี่ย จำนวนผู เขาสอบ คะแนน เฉลี่ย จำนวนผู เขาสอบ คะแนน เฉลี่ย จำนวนผู เขาสอบ คะแนน เฉลี่ย ระดับประเทศ 56,062 32.95 56,110 29.17 56,335 30.91 56,055 35.85 56,085 33.52 สำนักงาน ศึกษาธิการภาค 2 5,182 38.20 5,169 31.58 5,179 33.59 5,182 41.05 5,182 38.43 กรุงเทพมหานคร 3,077 38.57 3,068 31.85 3,073 33.50 3,077 40.96 3,077 38.56 นครปฐม 441 37.13 439 30.68 441 32.83 441 40.89 441 36.96 นนทบุรี 470 38.60 470 32.43 470 36.13 470 42.41 470 38.91 ปทุมธานี 525 37.88 524 30.76 526 32.60 525 41.42 525 38.11 สมุทรปราการ 669 37.19 668 30.99 669 33.54 669 40.35 669 38.73 การสรุปผลคะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบ (N-NET) ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย ครั้งที่ 2 ปการศึกษา 2564 พบวา 1) สาระการประกอบอาชีพ จังหวัดปทุมธานีมีคะแนนเฉลี่ย 37.88 ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับประเทศ แต ต่ำกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ที่คะแนนเฉลี่ย 32.95และ 38.20ตามลำดับ 2) สาระการพัฒนาสังคม จังหวัดปทุมธานีมีคะแนนเฉลี่ย 30.76 ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับประเทศ แต ต่ำกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ที่คะแนนเฉลี่ย 29.17 และ 31.58 ตามลำดับ 3) สาระความรูพื้นฐาน จังหวัดปทุมธานีมีคะแนนเฉลี่ย 32.60 ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับประเทศ แตต่ำกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ที่คะแนนเฉลี่ย 30.91 และ 33.59 4) สาระทักษะการดำเนินชีวิต จังหวัดปทุมธานีมีคะแนนเฉลี่ย 41.42 ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ย ของระดับประเทศ และระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ที่คะแนนเฉลี่ย 35.85 และรอยละ 41.05 ตามลำดับ 5) สาระทักษะการเรียนรูจังหวัดปทุมธานีมีคะแนนเฉลี่ย 38.11 ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ย ของระดับประเทศ แตต่ำกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับสำนักงานศึกษาธิการภาค 2 ที่คะแนนเฉลี่ย 33.52 และ 38.43 ตามลำดับ


22 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 2. เปาหมายยอย SDG 4.2 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเขาถึงการพัฒนา การดูแล และ การจัดการศึกษาระดับกอนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพ ภายในป 2573 2.1) ผลการดำเนินงาน โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ขับเคลื่อนการ พัฒนาการจัด การศึกษา ปฐมวัยจังหวัด ปทุมธานี ศธจ.ปท. 1) เพื่อสงเสริม สนับสนุนให เด็กปฐมวัยทุกคน ใหไดรับ การดูแลและพัฒนาดาน รางกาย จิตใจ วินัย อารมณ สังคม สติปญญา ทักษะการ เรียนรูที่สมวัย และมีพื้นฐาน ชีวิตที่มั่นคง 2) เพื่อสงเสริม สนับสนุน และพัฒนาสถานศึกษาเด็ก ปฐมวัย รวมทั้งผูปฏิบัติงาน ดานการจัดการศึกษาปฐมวัย ใหมีความรู ความเขาใจ และ มีคุณภาพตามมาตรฐาน สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย แหงชาติ พ.ศ. 2561 3) เพื่อพัฒนาเครือขายความ รวมมือการขับเคลื่อนการ พัฒนาการจัดการศึกษา ปฐมวัยในระดับพื้นที่จังหวัด ปทุมธานีอยางบูรณาการทุก ภาคสวนเพื่อใหบรรลุ มาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยแหงชาติ พ.ศ. 2561 กิจกรรมที่ 1 การอบรมเชิง ปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะ ครูผูดูแลเด็กในการสงเสริม สุขภาพเด็กปฐมวัย กิจกรรมที่ 2 การวิจัย ประเมินความตองการ จำเปนเพื่อการพัฒนาการจัด การศึกษาปฐมวัยจังหวัด ปทุมธานี กิจกรรมที่ 3 การประกวด นวัตกรรมการจัดการศึกษา ปฐมวัยจังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ 4 การจัดทำ รายงานโครงการ 1) มีผูเขารวมการอบรมเชิง ปฏิบัติการ การพัฒนาทักษะ ครูผูดูแลเด็กในการสงเสริม สุขภาพเด็กปฐมวัย เขารวม โครงการจำนวน 90 คน 2) เด็กปฐมวัย ครู ผูบริหาร ผูปกครอง ผูดูแลเด็ก สถานศึกษา/สถานพัฒนา เด็กปฐมวัย และผูที่มีสวน เกี่ยวของทุกภาคสวนไดรับ การสงเสริม สนับสนุนและ พัฒนาการจัดการศึกษา ปฐมวัยใหมีคุณภาพตาม มาตรฐานสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยแหงชาติ พ.ศ. 2561 3) มีนวัตกรรมการจัด การศึกษาปฐมวัยดานการ บริหารการจัดการศึกษา ปฐมวัยและดานการจัด ประสบการณการเรียนรู จำนวน 38 ผลงาน มีการแจงเพิ่มประเภท และเกณฑการประกวด นวัตกรรมการจัด การศึกษาปฐมวัย ภายหลัง ทำใหเกิด ความยุงยากในการ ดำเนินโครงการฯ และ การบริหารงบประมาณ การสงเสริมการ จัดการศึกษาขั้น พื้นฐานโดย ครอบครัว สพป.ปท. 1 1) เพื่อสงเสริมและสนับสนุน ใหครอบครัว/ผูจัดการศึกษา สามารถจัดทำแผนการ จัดการศึกษาที่สอดคลองกับ บริบท ปรัชญา ความตองการ และศักยภาพผูเรียน 2) เพื่อสงเสริมและสนับสนุนให ผูเรียนมีการพัฒนาการเรียนรู จากการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยครอบครัว อยางมีคุณภาพ และประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ 1 นิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว 1)ครอบครัว/ผูจัดการศึกษา ที่ขอจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยครอบครัว ในปการศึกษา 2566 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1 ไดรับอนุญาต จากสำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดปทุมธานี ใหจัดการ ศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว ทุกครอบครัวที่ขอจัด การศึกษา 2)ผูเรียนสอบผานการทดสอบ ความรู ดวยการวัดและ ประเมินผลการเรียนรู ตามคุณภาพที่มุงหวัง หรือ มาตรฐาน/ตัวชี้วัดที่ปรับใช ที่ระบุไวในแผนการ จัดการศึกษาของครอบครัว ครอบครัว/ สถานประกอบการ/ ชุมชน มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ การจัดการศึกษา ไมเทากัน ทำใหคุณภาพ และมาตรฐานการจัด การศึกษา ไมเทาเทียมกัน


23 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ตามหลักเกณฑแนวปฏิบัติการ วัดและประเมินผลการเรียนรู 2.2) สถานการณตามเปาหมายยอย ตารางแสดงรอยละผูเรียน ตอประชากรกลุมอายุ 3-5 ป ในพื้นที่สํานักงานศึกษาธิการภาค 2 ปพ.ศ. 2565 จังหวัด จำนวนประชากร (คน) จำนวนผูเรียน (คน) รอยละ กรุงเทพมหานคร 124,735 121,746 97.60 นนทบุรี 32,410 28,090 86.67 ปทุมธานี 34,584 22,339 65.59 สมุทรปราการ 38,355 28,787 75.05 นครปฐม 24,945 22,918 91.87 ศธภ. 2 255,029 223,880 87.79 จากตาราง ป พ.ศ. 2565 จังหวัดปทุมธานีมีประชากรที่อยูในวัยเรียน (ผูที่มีสัญชาติไทยและมีชื่อใน ทะเบียนบานอายุ 3-5 ป) จำนวน 34,584 คน และมีจำนวนผูที่กำลังศึกษาในระดับอนุบาลทั้งหมด 22,339 คน ทำใหจังหวัดปทุมธานีมีการเขาถึงโอกาสทางการศึกษาชวงปฐมวัยรอยละ 65.59 ซึ่งอยูในลำดับสุดทายของจังหวัด ที่อยูในพื้นที่ศึกษาธิการภาค 2


24 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 3. เปาหมายยอย SDG 4.3 ใหชายและหญิงทุกคนเขาถึงการศึกษาวิชาเทคนิคอาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึง มหาวิทยาลัยที่มีราคาที่สามารถจายไดและมีคุณภาพภายในป 2573 3.1) ผลการดำเนินงาน โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน สงเสริมเวทีและ ประชาคมเพื่อ การจัดทำรูปแบบ และการพัฒนา หลักสูตรตอเนื่อง เชื่อมโยง การศึกษาขั้น พื้นฐานกับ อาชีวศึกษาและ อุดมศึกษา ศธจ.ปท 1) เพื่อพัฒนาหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความ เชื่อมโยงการจัดการเรียนรูใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาที่ สอดคลองกับบริบทของพื้นที่ อยางบูรณาการ 2) เพื่อสงเสริมใหหนวยงานใน ระดับพื้นที่รวมมือกันในการ บูรณาการหลักสูตรตอเนื่อง เชื่อมโยงการศึกษาอยางยังยืน อันจะนำไปสูการสงเสริมการมี อาชีพและการมีงานทำ 3) เพื่อสงเสริมใหสถาน ประกอบการเขามามีสวนรวมใน การจัดทำหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐานที่มีความเชื่อมโยงการ จัดการเรียนรูในระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและ อุดมศึกษาที่สอดคลองกับบริบท ของความตองการของ ตลาดแรงงาน กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจง แนวทางการดำเนินโครงการ สงเสริมเวทีและประชาคมเพื่อ การจัดทำรูปแบบและการพัฒนา หลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยง การศึกษาขั้นพื้นฐานกับ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาและ วางแผนการพัฒนาหลักสูตร และ จัดลงนามบันทึกขอตกลงความ รวมมือ MOU ระหวาง คูสถานศึกษาคูพัฒนาหลักสูตร ตอเนื่องเชื่อมโยงฯ กิจกรรมที่ 2 ประชุมปฏิบัติการ พัฒนาหลักสูตรตอเนื่อง เชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษา กิจกรรมที่ 3นิเทศ ติดตาม การดำเนินงานของสถานศึกษา กิจกรรมที่ 4พิธีมอบเกียรติ บัตรการดำเนินงานขับเคลื่อน โครงการฯ ในระดับจังหวัด กิจกรรมที่ 5การประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรียน และประกวด คัดเลือกผลการพัฒนาหลักสูตร ที่เปนแนวปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practice) ระดับภาคภายใต โครงการสงเสริมเวทีและ ประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบ และการพัฒนาหลักสูตรตอเนื่อง เชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับ อาชีวศึกษาและอุดมศึกษาใน พื้นที่รับผิดชอบของสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 2 กิจกรรมที่ 6 รายงานผลการดำเนินโครงการ จังหวัดมีหลักสูตรตอเนื่อง เชื่อมโยงการศึกษาขั้น พื้นฐานกับอาชีวศึกษาและ อุดมศึกษาแบบบูรณาการที่ สงเสริมใหผูเรียนมีความรู ดานอาชีพ ทั้งหมด 7 หลักสูตร ไมมี


25 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 3.2) สถานการณตามเปาหมายยอย ตารางแสดงสัดสวนผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีวศึกษา (ปวช.): สายสามัญศึกษาในพื้นที่สํานักงาน ศึกษาธิการภาค 2 ปพ.ศ. 2565 จำนวนผูเรียน (คน) สัดสวนผูเรียน จังหวัด สายอาชีวศึกษา (ปวช.) สายสามัญศึกษา (ม.ปลาย) สายอาชีวศึกษา (ปวช.) สายสามัญศึกษา (ม.ปลาย) กรุงเทพมหานคร 56,774 152,590 27.12% 72.88% นนทบุรี 9,321 25,971 26.41% 73.59% ปทุมธานี 7,473 26,715 21.86% 78.14% สมุทรปราการ 6,458 27,916 18.79% 81.21% นครปฐม 8,553 24,566 25.83% 74.17% ศธภ. 2 88,579 257,758 25.58% 74.42% จากตาราง ป พ.ศ. 2565 จังหวัดปทุมธานีมีจำนวนผูที่กำลังศึกษาในระดับระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายอาชีวศึกษา (ปวช.) ทั้งหมด 7,473 คน และสายสามัญศึกษา (ม.ปลาย) ทั้งหมด 26,715 คน ทำใหจังหวัด ปทุมธานีมีสัดสวนผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีวศึกษา (ปวช.) รอยละ 21.86 และสายสามัญศึกษา รอยละ 78.14 ซึ่งถือวามีสัดสวนสายอาชีวศึกษา (ปวช.): สายสามัญศึกษา นอยเปนอันดับสองของจังหวัดที่อยูใน พื้นที่ศึกษาธิการภาค 2 รองจากจังหวัดสมุทรปราการ


26 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 4. เปาหมายยอย SDG 4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผูใหญที่มีทักษะที่เกี่ยวของจำเปน รวมถึงทักษะทางดาน เทคนิคและอาชีพสำหรับการจางงานการมีงานที่มีคุณคาและการเปนผูประกอบการ ภายในปพ.ศ. 2573 4.1) ผลการดำเนินงาน โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรม การศึกษา เพื่อ พัฒนา การศึกษา ศธจ.ปท. 1) เพื่อสงเสริม สนับสนุน พัฒนา นวัตกรรม การบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และ การนิเทศการศึกษารวมทั้ง การยกระดับคุณภาพ และ ประสิทธิภาพการจัดการศึกษา อยางบูรณาการรวมกันของ หนวยงานที่เกี่ยวของ 2) เพื่อพัฒนาศูนยกลาง ขอมูลสารสนเทศอยางบูรณา การ ดานนวัตกรรม และการ วิจัยทางการศึกษาในระดับ จังหวัด 3) เพื่อสรางเครือขายความ รวมมือในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษาของหนวยงานทาง การศึกษาและสถานศึกษาใน จังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ 1 ประชุม คณะทำงานโครงการ IFTE ภายใตหัวขอ “การพัฒนา นวัตกรรมโดยใชเครือขาย บันทึกขอตกลงในการพัฒนา งาน (PA : Performance Agreement) เปนฐาน” กิจกรรมที่ 2 เขตพื้นที่ การศึกษา และสำนักงาน ศึกษาธิการจังหวัด ประชาสัมพันธรับสมัครทีม นวัตกรรม /ประชุม ขับเคลื่อนนวัตกรรม /นิเทศ ติดตามเพื่อพัฒนานวัตกรรม /ประเมินคัดเลือกนวัตกรรม ระดับพื้นที่ กิจกรรมที่ 3 นิเทศ ติดตาม เพื่อพัฒนานวัตกรรมระดับ จังหวัด/ประเมินคัดเลือก นวัตกรรมระดับจังหวัด กิจกรรมที่ 4 ประชุมรับฟง การขับเคลื่อนโครงการ ระดับภาค/รวมกิจกรรมถอด บทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู/ นำเสนอผลการดำเนินงาน และคัดเลือก Best Practice ระดับภาค 1) ไดผลงานนวัตกรรมของ จ.ปทุมธานี ดานการบริหาร จัดการ จำนวน 6 ผลงาน ดานการจัดการเรียนรู จำนวน 45 ผลงานและดาน การนิเทศการศึกษา จำนวน 10 ผลงาน ทั้งนี้ จังหวัด ปทุมธานี ไดรับรางวัล ใน ระดับภาค ทั้ง 3 ดาน โดย ไดรับรางวัลชนะเลิศ ระดับ ภาค จำนวน 2 ผลงาน ไดไป นำเสนอตอระดับประเทศ 2) มีศูนยกลางขอมูล สารสนเทศทางการศึกษา นวัตกรรมจ.ปทุมธานี จำนวน 1 ศูนย 3) ไดเครือขายความรวมมือ ในการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา จำนวน 4 เครือขาย ไดแก สพป.ปท1, สพป.ปท2, สพม.ปท และ คณะกรรมการประสานและ สงเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดปทุมธานี ภาระงานของสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา มีจำนวนมาก ทำให การประสานงานและให ความรวมมือทำได ไมเต็มที่ เนื่องจากตอง รับผิดชอบภาระงานของ เขตพื้นที่ตนเองใหสำเร็จ ลุลวงเสียกอนจึงจะ ดำเนินงานตามโครงการ IFTE สงผลใหบาง สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสงผลงาน ไมมากพอ เนื่องจากการ ประชาสัมพันธและ ระยะเวลาอาจจะ กระชั้นชิด การจัดการ ศึกษาอาชีพเพื่อ การมีงานทำ สพป.ปท.1 1) เพื่อใหโรงเรียนจัด การศึกษาพัฒนาทักษะอาชีพ เพื่อการมีงานทำ 2) เพื่อใหนักเรียนมีความรู เลือกเรียนตอสายอาชีพตาม ความถนัดและความชอบของ ตนเอง มีทัศนคติที่ดีตอ การเรียนสายอาชีพ กิจกรรมที่ 1จัดทำแนวทาง การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนา ทักษะอาชีพเพื่อการมีงานทำ กิจกรรมที่ 2การนิเทศ ติดตาม การศึกษาพัฒนา ทักษะอาชีพเพื่อการมีงานทำ อยางทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ สำนักงานเขตพื้นที่ ไดแนวทางในการจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาทักษะอาชีพใหกับ โรงเรียนในสังกัด 102 โรงเรียน เพื่อดำเนินกิจกรรมหลากหลาย เชน บูรณาการใน 8 กลุมสาระ การเรียนรู กิจกรรมพัฒนา ผูเรียน หลักสูตรทองถิ่น โรงเรียนมีการดำเนินงาน แตยังไมครบวงจรไปสู การมีงานทำ พัฒนา สมรรถนะครูใน การใช เทคโนโลยี ดิจิทัลเปน สพม.ปท. 1) เพื่อใหครูมีความรูความ เขาใจในการใชเทคโนโลยี ดิจิทัลในการจัดการเรียนรู กิจกรรมที่ 1จัดทำโครงการ เพื่อขออนุมัติ กิจกรรมที่ 2 จัดทำคำสั่ง แตงตั้งคณะกรรมการดำเนิน ตามโครงการ 1)รอยละ 80ของครูมีความรู ความเขาใจในการใชเทคโนโลยี ดิจิทัลเปนเครื่องมือในการ จัดการเรียนรู ไมมี


27 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน เครื่องมือในการ จัดการเรียนรู สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่ การศึกษา มัธยมศึกษา ปทุมธานี 2) เพื่อใหครูสรางเครือขาย การใชเทคโนโลยีดิจิทัลอยาง ยั่งยืน กิจกรรมที่ 3 การอบรมเชิง ปฏิบัติการการใชเทคโนโลยี ดิจิทัลเพื่อเปนเครื่องมือ ในการจัดการเรียนรู กิจกรรมที่ 4 การอบรมเชิง ปฏิบัติการสัมมนาแลกเปลี่ยน เรียนรูการใชเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อเปนเครื่องมือในการจัดการ เรียนรู กิจกรรมที่ 5 นิเทศ ติดตาม และประเมินผล 2)รอยละ 80 ของครูมีการ สรางเครือขายในการจัดการ เรียนรู ศูนยดิจิทัล ชุมชน สกร.ปท. 1) เพื่อขยายผลการสราง เครือขายเศรษฐกิจดิจิทัลสู ชุมชนในระดับตำบล ครอบคลุมทุกพื้นที่ในจังหวัด ปทุมธานี ตามแนวทางการ ปฏิบัติการสรางเครือขาย ดิจิทัลชุมชนระดับตำบล 2) เพื่อสงเสริมใหประชาชนมี ความรู ความเขาใจในเรื่อง ดิจิทัล กิจกรรมที่ 1 จัดอบรมอบรม ใหกับประชาชนหลักสูตร การคาออนไลน และการใช งานโปรแกรมสำนักงานเพื่อ การมีงานทำใหกับประชาชน ในพื้นที่ 7 อำเภอ 1) การอบรมหลักสูตร การคาออนไลน และการใช งานโปรแกรมสำนักงานเพื่อ การมีงานทำใหกับประชาชน ในพื้นที่ จำนวน 360 คน 2) ประชาชนที่เขารวม กิจกรรมตามโครงการมี ความรู ความเขาใจ ทักษะ ตามหลักสูตร Digital Literacy หลักสูตรการคา ออนไลน นำเทคโนโลยีที่มี อยูในปจจุบันมาใชประโยชน ในการดำรงชีวิต ทั้งดานการ เรียนรู การประกอบอาชีพ อยางมีประสิทธิภาพ การจัดสรรงบประมาณ จัดสรรจากสวนกลางมี ความลาชา ทดสอบทาง การศึกษา ระดับชาติ ดานอาชีวศึกษา (V-NET) อศจ.ปท. 1) เพื่อทดสอบความรูและ ประเมินความพรอมในการ เขาสูโลกอาชีพทักษะใน ศตวรรษที่ 21 และการ พัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง 2) เพื่อใหสถานศึกษาใชเปน ขอมูลสำหรับการปรับปรุง และพัฒนาการจัดการเรียน การสอน และการบริหาร จัดการอาชีวศึกษาของ สถานศึกษา 3) เพื่อเปนขอมูลและ สารสนเทศการขับเคลื่อนการ อาชีวศึกษาของประเทศให สอดคลองกับแผนพัฒนา กิจกรรมที่ 1 ดำเนินการ จัดการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ดานอาชีวศึกษา (V-NET) ณ วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี ไดดำเนินการนำผลจากการ ประเมินไปใชในการพัฒนา ความรู ความสามารถของ นักเรียน และใชในการศึกษา ตอในระดับสูงขึ้น ไมมี


28 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 4.2) สถานการณตามเปาหมายยอย ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา ดวยระบบดิจิทัล (V-NET Digital Testing) ตาราง สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา ดวยระบบดิจิทัล (V-NET Digital Testing) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 3 (ปวช.3) ปการศึกษา 2564 ตาราง สรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา ดวยระบบดิจิทัล (V-NET Digital Testing) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 3 (ปวช.3) แยกสถานศึกษาในจังหวัดปทุมธานี ปการศึกษา 2564 สถานศึกษา คะแนน เฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน คะแนน สูงสุด คะแนน ต่ำสุด มัธยฐาน ฐานนิยม วิทยาลัยเทคโนโลยีชางฝมือปญจวิทยา 44.44 13.88 68.36 22.11 47.43 - วิทยาลัยเทคโนโลยีแหลมทอง 33.44 10.59 60.00 10.50 34.86 23.96 วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี 43.05 9.13 63.82 18.93 43.39 45.79 วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี 40.39 10.89 80.46 15.32 39.22 30.43 วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี 43.60 10.74 76.32 14.43 44.29 34.39 การสรุปผลคะแนนเฉลี่ยการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดานอาชีวศึกษา ดวยระบบดิจิทัล (V-NET Digital Testing) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 3 (ปวช.3) ปการศึกษา 2564 พบวา 1) จังหวัดปทุมธานีมีคะแนนเฉลี่ยรอยละ 41.25 ซึ่งต่ำกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับประเทศ และระดับ ศึกษาธิการภาค 2 ที่คะแนนเฉลี่ยรอยละ 41.90 และ 44.08 ตามลำดับ 2) สถานศึกษาในจังหวัดปทุมธานีที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด คือ วิทยาลัยเทคโนโลยีชางฝมือปญจวิทยา โดยมี คะแนนเฉลี่ยรอยละ 44.44 ซึ่งสูงกวาคะแนนเฉลี่ยของระดับประเทศ และระดับศึกษาธิการภาค 2 ระดับหนวยงาน คะแนนเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนน สูงสุด คะแนน ต่ำสุด มัธยฐาน ฐานนิยม ระดับประเทศ 41.90 10.42 82.25 2.50 41.68 33.18 ระดับ ศธภ.2 44.08 10.76 80.46 10.50 44.14 39.00 กรุงเทพมหานคร 44.78 10.63 80.43 14.21 44.79 44.71 นครปฐม 41.90 10.41 72.11 11.79 42.22 38.50 นนทบุรี 46.09 10.87 78.18 16.07 46.09 46.68 ปทุมธานี 41.25 11.01 80.46 10.50 41.14 41.00 สมุทรปราการ 43.06 10.55 80.39 14.75 42.84 43.46


29 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 5. เปาหมายยอย SDG 4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศในการศึกษา และสรางหลักประกันวากลุมที่ เปราะบาง ซึ่งรวมถึงผูพิการ ชนพื้นเมือง และเด็กเขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับ อยางเทาเทียมภายในป 2573 ผลการดำเนินงานหรือสถานการณตามเปาหมายยอย โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน สงเสริมและ พัฒนา การรับนักเรียน ป การศึกษา 2566 สพป.ปท. 1 1) เพื่อใหเด็กที่อยูในเกณฑ การศึกษาภาคบังคับในเขต พื้นที่บริการไดเขาเรียนใน สถานศึกษาครบทุกคน 2) เพื่อใหเด็กที่จบการศึกษา ภาคบังคับไดเรียนตอ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และสายอาชีพเพิ่มขึ้น 3) เพื่อใหเด็กตกหลน เด็กออกกลางคันไดเขาเรียน จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน กิจกรรมที่ 1 จัดทำแผน การรับนักเรียน กิจกรรมที่ 2 การสำรวจ และจัดพิมพรายชื่อเด็กที่เกิด ป พ.ศ. 2560 ที่จะตองเขา เรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ในปการศึกษา 2566 กิจกรรมที่ 3 การรับ นักเรียน ปการศึกษา 2566 กิจกรรมที่ 4 ติดตาม นักเรียนออกกลางคัน 1) มีขอมูลแผนการรับ นักเรียน ปการศึกษา 2566 ของโรงเรียนในสังกัด 2) มีการจัดทำสำมะโน ประชากรวัยเรียน ขอมูลเด็ก ที่เกิดป พ.ศ. 2560 จำนวน 6,315 คน 3) แตงตั้งคณะกรรมการรับ นักเรียนระดับเขตพื้นที่ การศึกษา 4) แตงตั้งคณะกรรมการรับ นักเรียนระดับโรงเรียน จำนวน 102 โรงเรียน 5) ประกาศนโยบายและแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียน ของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1และแจง โรงเรียนในสังกัดทราบเพื่อถือ ปฏิบัติในการดำเนินการรับ นักเรียน ปการศึกษา 2566 6) สำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1 ประสานกับ โรงเรียนที่มีนักเรียน ออกกลางคัน จำนวน 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนวัดเชิง ทา และโรงเรียนสังขอ่ำ วิทยา โดยครูผูรับผิดชอบ ไดลงพื้นที่ออกติดตาม นักเรียนเด็กออกกลางคัน จำนวน 6 คน ติดตามแลว รอยละ 100 7)การติดตามเด็กเขาเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 1 ป การศึกษา 2566 รอยละ 100 1) การติดตามนักเรียน ออกกลางคัน ไมพบตัว เนื่องจากยายถิ่นที่อยูไม สามารถติดตอได 2) การรายงานผลการ ติดตามนักเรียนออก กลางคัน “พานองกลับ มาเรียน” ยังไมสามารถ รายงานผล การติดตามทางเว็บไซต https://dropout.in.th เพิ่มโอกาสและ ความเสมอภาค ทางการศึกษา สพป.ปท. 2 1) เพื่อสงเสริมใหประชากร วัยเรียนในเขตบริการไดรับ โอกาสการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยางทั่วถึงและเสมอภาค กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิง ปฏิบัติการสรางภูมิคุมกัน ปองกัน ดูแลชวยเหลือ นักเรียน เพื่อเพิ่มโอกาสทาง การศึกษา 1) ประชากรวัยเรียนในเขต บริการไดรับโอกาส การศึกษาขั้นพื้นฐานอยาง ทั่วถึงและเสมอภาค การศึกษาตามความถนัด ไมมี


30 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน 2) เพื่อสรางนวัตกรรมสราง โอกาสทางการศึกษาของ โรงเรียนในสังกัด 3) เพื่อชวยเหลือเด็กตกหลน และลดอัตราการออก กลางคันในวัยเรียนใหจบ การศึกษาภาคบังคับ 4) เพื่อเสริมสรางความ เขมแข็งของภาคีเครือขาย โรงเรียนในสังกัด โดยให คำแนะนำ ปรึกษา และดูแล ชวยเหลือเกี่ยวกับการ ดำเนินงานดูแลชวยเหลือ นักเรียน 5) เพื่อสงเสริมสนับสนุนการ จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดย ครอบครัว ใหมีความรู ความ เขาใจถึงขั้นตอนและวิธีการ จัดการศึกษาอยางถูกตอง อยางมีคุณภาพ และมี เครือขายแลกเปลี่ยนเรียนรู กิจกรรมที่ 2 ประชุม คณะทำงานการประกวด นวัตกรรมเพิ่มโอกาสทาง การศึกษา กิจกรรมที่ 3 ประกวด นวัตกรรมเพื่อเพิ่มโอกาส ทางการศึกษาประกวด นวัตกรรมเพื่อเพิ่มโอกาส ทางการศึกษา กิจกรรมที่ 4 เปดบาน สรางเครือขาย Home School ความสนใจ สอดคลองกับ ภาพความตองการและเต็ม ตามศักยภาพ และจบ การศึกษาภาคบังคับทุกคน 2) ประชากรวัยเรียนในเขต บริการไดรับการพัฒนาให เปนคนสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ มีความรู และ คุณธรรม มีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยูรวมกับผูอื่นได อยางมีความสุข 3) ครูในสังกัดมีความรูความ เขาใจในการดำเนินงานดูแล ชวยเหลือนักเรียนอยางมี ประสิทธิภาพ 4) โรงเรียนในสังกัดมี เครือขายความรวมมือ และ นวัตกรรมเพิ่มโอกาสทาง การศึกษา 5) ผูจัดการศึกษาโดย ครอบครัวมีความรูความ เขาใจ ขั้นตอน วิธีการการ จัดการศึกษาโดยครอบครัว ไดอยางถูกตอง ไดรับสิทธิ และโอกาสการศึกษาอยาง เทาเทียมกัน และมีเครือขาย แลกเปลี่ยนเรียนรู สพม.ปท. 1) เพื่อเพิ่มโอกาสและสราง ความเสมอภาคทางการศึกษา 2) เพื่อประกาศเกณฑเด็กเขา เรียนการศึกษาภาคบังคับ และประชาสัมพันธการรับ นักเรียน 3) เพื่อสงเสริมใหเด็กที่จบ การศึกษาชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ไดเรียนตอจนจบการศึกษา ภาคบังคับ และนักเรียนที่จบ การศึกษาชั้น ม.3 ไดศึกษาตอ ตามความเหมาะสม ทั้งสาย สามัญและสายอาชีพ 4) เพื่อพิจารณาจัดสรร ที่เรียนรอบสองใหกับนักเรียน ทุกคนที่ยื่นความจำนงทุกคน กิจกรรมที่ 1 ประกาศเกณฑเด็ก เขาเรียนการศึกษาภาคบังคับ กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ รณรงคการรับนักเรียน กิจกรรมที่ 3 ประชุมโรงเรียน ในสังกัด สพม.ปทุมธานี กิจกรรมที่ 4 ตรวจเยี่ยมการ สอบคัดเลือกนักเรียนเขา ศึกษาตอ ม. 1และ ม. 4ตาม ปฏิทินการรับนักเรียน กิจกรรมที่ 5 ตั้งศูนยประสาน การรับนักเรียน/ศูนยรับสมัคร และจัดสรรที่เรียนรอบสอง และประชุมคณะกรรมการ จัดสรรที่เรียนรอบสอง กิจกรรมที่ 6 สงเด็กนักเรียนที่ ยื่นความประสงคที่มี 1) มีการประชาสัมพันธ การรับนักเรียนอยางเปน รูปธรรม 2) นักเรียนที่จบการศึกษาชั้น ประถมศึกษาปที่ 6 จาก โรงเรียนในสังกัดไดเรียนตอ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ทุกคน 3) มีการประชุมโรงเรียนใน สังกัด สพม.ปทุมธานี 4)อัตราการออกกลางคัน ลดลงเมื่อเทียบกับปการศึกษา ที่ผานมา 5) นักเรียนที่ยื่นความจำนงให จัดสรรที่เรียนรอบสอง ไดรับ การจัดสรรที่เรียนตามความ เหมาะสมครบทุกคน ไมมี


31 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน 5) เพื่อตรวจเยี่ยมการสอบ คัดเลือกนักเรียนเขาศึกษาตอ ชั้น ม.1 และ ม.4 ใหเปนไปดวย ความเรียบรอย ผาน กระบวนการรับนักเรียนที่เปน ธรรม สุจริต โปรงใสตรวจสอบ ไดและเสมอภาค 6) เพื่อสงเสริมสนับสนุน ใหเด็กตกหลน เด็กออกกลางคัน ไดรับโอกาสทางการศึกษา 7) เพื่อประชุมคณะกรรมการรับ นักเรียนระดับเขตพื้นที่ การศึกษา ในการพิจารณาให ความเห็นชอบ/อนุญาตเรื่องที่ เกี่ยวของกับบทบาทหนาที่ที่ กำหนดไวในนโยบายและแนว ปฏิบัติเกี่ยวกับการรับนักเรียน สังกัด สพฐ. 8) เพื่อติดตามผลการ ดำเนินงานการรับนักเรียน 9) เพื่อติดตามคนหาเด็กตก หลนและหลุดอออกจากระบบ การศึกษากลับเขาสูระบบ การศึกษา ไดรับการดูแล ชวยเหลือและโอกาสทางการ ศึกษาจนจบหลักสูตร ความจำเปนที่ไมสามารถศึกษา ในระบบไปศึกษาตอนอกระบบ (กศน.) (เด็กออกกลางคันที่ อายุยังอยูในเกณฑการศึกษา ภาคบังคับ) กิจกรรมที่ 7 ประชุม คณะกรรมการรับนักเรียน กิจกรรมที่ 8 รายงานผลการ รับนักเรียน กิจกรรมที่ 9 ติดตามคนหา เด็กตกหลนและหลุดออกจาก ระบบการศึกษากลับเขาสู ระบบการศึกษา 6) ไดสงเด็กนักเรียนที่ยื่น ความประสงคที่มีความจำเปน ที่ไมสามารถศึกษาในระบบไป ศึกษาตอนอกระบบ (กศน.) (เด็กออกกลางคันที่อายุยังอยู ในเกณฑการศึกษาภาคบังคับ) 7) มีการประชุมคณะกรรมการ รับนักเรียน 8)รายงานผลการรับนักเรียน 9)ติดตามคนหาเด็กตกหลน และหลุดอออกจากระบบ การศึกษากลับเขาสูระบบ การศึกษา สนับสนุน คาใชจายในการ จัดการศึกษา ตั้งแตระดับ อนุบาลจนจบ การศึกษาขั้น พื้นฐาน อศจ.ปท. เพื่อเปนแนวทางในการ ดำเนินงานตามโครงการ สนับสนุนคาใชจายในการจัด การศึกษาตั้งแตระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหนักเรียนทุกคนมีความ พรอมที่จะไดรับการศึกษาที่มี คุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษาโดยการบริหาร จัดการอยางมีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ 1 แตงตั้ง คณะกรรมการดำเนินการ กิจกรรมที่ 2 ประชุมภาคี เครือขาย กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการ จัดซื้อและดำเนินกิจกรรม ตามแผนงาน นักเรียนไดรับโอกาส การเขาถึงการศึกษาที่มี คุณภาพและลดความ เหลื่อมล้ำทางการศึกษาโดย การสนับสนุนคาใชจายใน การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามโครงการสนับสนุน คาใชจายในการจัด การศึกษาตั้งแตระดับ อนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ไมมี


32 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพ เด็กพิการโดย เครือขายพอ แม ผูปกครองและ ศูนยการศึกษา พิเศษ ประจำ จังหวัดปทุมธานี ศูนย การศึกษา พิเศษ ประจำ จังหวัด ปทุมธานี 1) เพื่อพัฒนาขอมูล สารสนเทศคนพิการ ใน จังหวัดปทุมธานีใหครอบคลุม ในการ ใหบริการทาง การศึกษา 2) เพื่อคนหาเด็กพิการใน จังหวัดปทุมธานี มารับบริการ ชวยเหลือระยะแรกเริ่มและ เตรียมความพรอมภายใน ศูนยการศึกษาพิเศษ ประจำ จังหวัดปทุมธานี 3) เพื่อปกหมุดสารสนเทศ แผนที่บานนักเรียนที่มารับ บริการที่ศูนยการศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ 1 สำรวจขอมูล ประสานงานและดำเนินงาน จัดทำฐานขอมูลเด็กพิการ จำนวน 7 อำเภอในจังหวัด ปทุมธานี กิจกรรมที่ 2 ลงพื้นที่คนหา เด็กพิการ อายุ แรกเกิด - 18 ป จำนวน 7 อำเภอ ในจังหวัดปทุมธานี กิจกรรมที่ 3 ลงนิเทศกำกับ ติดตามใหความชวยเหลือ ตามแผนการจัดการศึกษา เฉพาะบุคคล พรอมปกหมุด สารสนเทศแผนที่บาน นักเรียนที่มารับบริการที่ ศูนยการศึกษาพิเศษ ประจำ จังหวัดปทุมธานี 1) ศูนยการศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดปทุมธานี มี ขอมูลสารสนเทศเด็กพิการ ในจังหวัดปทุมธานี ชวงอายุ แรกเกิด – 18 ป ครบทุก 7 อำเภอในจังหวัดปทุมธานี 2) เด็กพิการในจังหวัด ปทุมธานี ไดรับบริการ ชวยเหลือระยะแรกเริ่มและ เตรียมความพรอม ครบทุก 7 อำเภอในจังหวัดปทุมธานี 3) นักเรียนที่มารับบริการที่ ศูนยการศึกษาพิเศษ ประจำ จังหวัดปทุมธานี ไดรับการ ปกหมุดแผนที่บานนักเรียน ที่มารับบริการครบทุกคน ไมมี


33 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 6. เปาหมายยอย SDG 4.6 สรางหลักประกันวาเยาวชนทุกคนและผูใหญ ทั้งชายและหญิงในสัดสวนสูง สามารถ อานออกเขียนไดและคำนวณไดภายในป พ.ศ. 2573 6.1) ผลการดำเนินงาน โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน การประเมิน ความสามารถ ดานการอาน ของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 และการ ประเมินคุณภาพ ผูเรียน (NT) ชั้นประถมศึกษา ปที่ 3 ปการศึกษา 2565 สพป.ปท. 1 1) เพื่อดำเนินการประเมิน ความสามารถดานการอาน ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 (RT) และการประเมิน ความคุณภาพผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (NT) 2) เพื่อวิเคราะหผล การประเมินเปนสารสนเทศ ที่นำไปใชวางแผน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพดานการ อานของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 1 (RT) และ การประเมินความคุณภาพ ผูเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 (NT) กิจกรรมที่ 1 การประเมิน ความสามารถดานการอาน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 1 (RT) ป การศึกษา 2565 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมและ การดำเนินงานการประเมิน คุณภาพผูเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 (NT) ป การศึกษา 2565 1) ไดดำเนินการประเมิน ความสามารถดานการอาน (RT) ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษา ปที่ 1 ปการศึกษา 2565 ดังนี้ 1.1 แตงตั้งคณะกรรมการ ประเมินฯ ทั้งระดับศูนยสอบ และระดับสนามสอบ 1.2 ประชุมชี้แจงแนวทางการ ประเมินความสามรถดานการ อานของผูเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 1 1.3 ดำเนินการประเมิน ความสามารถดานการอานของ ผูเรียนในวันที่ 20 กุมภาพันธ 2566 1.4 สถานศึกษานำสงคะแนน การประเมินผานระบบ NT Access วันที่ 25 กุมภาพันธ – 1 มีนาคม 2566 1.5 ประกาศผลการประเมิน ทางระบบ NT access วันที่ 5 เมษายน 2566 2)ดำเนินการประเมินคุณภาพ ผูเรียน (NT)ชั้นประถมศึกษา ปที่3 ปการศึกษา 2565 ดังนี้ 2.1 แตงตั้งคณะกรรมการ ประเมินฯ ทั้งระดับศูนยสอบ และระดับสนามสอบ 2.2. ประชุมชี้แจงแนวทางการ ประเมินคุณภาพผูเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 2.3 ดำเนินการประเมินผูเรียน ในวันที่ 15 มีนาคม 2566 2.4 สถานศึกษานำสงคะแนน การประเมินผานระบบ NT Access วันที่ 20-24 มีนาคม 2566 2.5 ประกาศผลการประเมิน ทางระบบ NT access วันที่ 2 พฤษภาคม 2566 ในระบบ NT access ไมไดจัดแบงหองสอบให ผูประเมินตามสัดสวน จัดแบงเพียงหองปกติ กับ หองเด็กพิเศษ จึงทำให เกิดปญหาในการจัด หองสอบที่ชัดเจน


34 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 2.6สรุปรายงานผลการทดสอบ ของโรงเรียนในสังกัดและ ดำเนินการจัดทำเกียรติบัตร ใหโรงเรียนที่มีผลการ ประเมินฯ ทั้งรายดานและ ผลคะแนนเฉลี่ยรวม สูงกวา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และ ระดับชาติ สงเสริมการอาน และพัฒนาการ จัดการเรียนรูสู ความเปนเลิศ ดานทักษะ ภาษาไทย เพื่อ แกไขปญหา ภาวะถดถอย ทาง การเรียนรู (Learning Loss) ของผูเรียน สพม.ปท. 1) เพื่อสงเสริมสนับสนุนให โรงเรียนในสังกัดดำเนินกิจกรรม สงเสริมการอาน โดยใชหนังสือ พระราชนิพนธฯ และหนังสือ อื่นๆอยางตอเนื่อง 2) เพื่อพัฒนาครูผูสอนใหมี ความรูและแนวทางการจัด กิจกรรมสงเสริมการอาน 3) เพื่อสงเสริมสนับสนุนให ผูเรียนมีนิสัยรักการอาน การคนควา และแสวงหาความรู ดวยตนเอง 4) เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรม การเรียนรูและสื่อนวัตกรรมการ สอนของครูผูสอนภาษาไทย 5) เพื่อสงเสริมสนับสนุนให ผูเรียนไดแสดงความสามารถ ดานทักษะภาษาไทย 6) เพื่อประเมินความสามารถ ดานการอานและการเขียน ของผูเรียน 7) เพื่อนิเทศ กำกับติดตาม การจัดกิจกรรมการเรียนรูวิชา ภาษาไทยและกิจกรรมสงเสริม การอาน กิจกรรมที่ 1 สงเสริม กิจกรรมรักการอานและ แหลงเรียนรูหองสมุด กิจกรรมที่ 2 พัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนรู เพื่อพัฒนาทักษะดาน ภาษาไทย กิจกรรมที่ 3 การประกวด แขงขันความสามารถ ดานทักษะภาษาไทย กิจกรรมที่ 4 การประเมิน คุณภาพผูเรียน ดานทักษะ ภาษาไทย 1)รอยละ 100 ของโรงเรียนใน สังกัดจัดกิจกรรมสงเสริมการ อานฯ ไดอยางตอเนื่อง 2)รอยละ 80 ของครูผูสอน ภาษาไทย โรงเรียนในสังกัด ไดรับการอบรมพัฒนาการจัด กิจกรรมการเรียนรูและ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมการสอน 3)รอยละ 80ของครูผูสอน กิจกรรมสงเสริมการอาน/ ครูบรรณารักษ(หองสมุด) โรงเรียนในสังกัดไดรับการ อบรมพัฒนาการจัดกิจกรรม สงเสริมการอานและ แหลงเรียนรูหองสมุด 4)รอยละ 100ของโรงเรียนใน สังกัดไดรับการนิเทศ กำกับ ติดตาม การจัดกิจกรรมการ เรียนรูภาษาไทย/กิจกรรม สงเสริมการอาน และ ประเมินผลการดำเนินงาน 5)รอยละ 80ของผูเรียน มีทักษะการอาน การเขียน มีนิสัยรักการอาน การคนควา และแสวงหาความรูดวยตนเอง 6)ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ดานทักษะภาษาไทยเพิ่มขึ้น ไมมี สงเสริมการรู หนังสือ สกร.ปท. 1) เพื่อใหสถานศึกษามี ฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ/ผูลืม หนังสือในพื้นที่จังหวัดปทุมธานี ไดถูกตองเปนปจจุบัน 2) เพื่อจัดทำ/พัฒนาหลักสูตร/ สื่อการเรียนการสอนสูการศึกษา สำหรับจัดสงเสริมการรูหนังสือ 3) เพื่ออัตราการรูหนังสือ และ คงสภาพการรูหนังสือให ประชาชนสามารถอานออก เขียนได คิดเลข เปนไปตาม มาตรฐานและหลักสูตรที่กำหนด กิจกรรมที่ 1 จัดทำ ฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ/ผูลืม หนังสือในพื้นที่จังหวัด ปทุมธานี - จัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อ สงเสริมการรูหนังสือ - จัดทำพัฒนาหลักสูตร/สื่อ การเรียนการสอนสำหรับจัด การศึกษาเพื่อสงเสริมการรู หนังสือ ประชาชนในพื้นที่ที่ยังไมรู หนังสือหรือลืมหนังสือ จำนวน 126 คน สามารถอาน ออก เขียนได คิดเลขเปน งบประมาณมีจำกัด


35 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 6.2) สถานการณตามเปาหมายยอย ผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ตาราง สรุปผลการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2564 ภายในจังหวัดปทุมธานี คะแนนผลการประเมินการอาน ดาน ศึกษาธิการ จังหวัด ศึกษาธิการ ภาค ประเทศ คะแนนเฉลี่ยรอยละจำแนกตามสังกัด สพฐ. สช. อปท. อว. การอาน ออกเสียง คะแนนเฉลี่ย (รอยละ) 70.34 76.10 69.95 68.49 79.81 62.56 69.10 S.D. 14.34 13.51 13.98 14.47 11.71 17.96 16.20 การอาน รูเรื่อง คะแนนเฉลี่ย (รอยละ) 73.78 79.36 72.79 74.13 74.12 62.66 72.48 S.D. 9.29 8.93 9.43 9.55 7.71 10.84 6.77 รวม 2 ดาน คะแนนเฉลี่ย (รอยละ) 72.09 77.76 71.38 71.35 76.96 62.61 70.79 S.D. 21.54 20.30 21.43 21.94 17.59 26.80 21.23 การสรุปผลคะแนนการประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (Reading Test : RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ปการศึกษา 2564 ภายในจังหวัดปทุมธานี คะแนนเฉลี่ยรอยละ จำแนกตามสังกัด พบวา 1) ดานการออกเสียง คะแนนเฉลี่ยรอยละ สูงสุด คือ สังกัด สช. (x = 79.81, S.D. = 11.71) รองลงมา สังกัด อว. (x = 69.10, S.D. = 16.20) ตามลำดับ สังกัด สพฐ. (x = 68.49, S.D. = 14.47) และนอยที่สุดดานการอานออกเสียง คือ สังกัด อปท. (x = 62.56, S.D. = 17.96) 2) ดานการอานรูเรื่องคะแนนเฉลี่ยรอยละ สูงสุด คือ สังกัด สพฐ. (x = 74.13 S.D. = 9.55) รองลงมา สช. (x = 74.12, S.D. = 7.71) ตามลำดับ สังกัด อว. (x = 72.48, S.D. = 6.77) และนอยที่สุดดานการอานรูเรื่อง คือ สังกัด อปท. (x = 62.66, S.D. = 10.84) รวม 2 ดาน คะแนนเฉลี่ยรอยละสูงสุด คือ สังกัด สช. (x = 76.96, S.D. = 17.59) รองลงมา สังกัดสพฐ. (x = 71.35, S.D. = 21.94) ตามลำดับ อว. (x = 70.79, S.D. = 21.23) และ นอยที่สุดรวม 2 ดาน คือ สังกัด อปท. (x = 62.61, S.D. = 26.80)


36 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 7. เปาหมายยอย SDG 4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดรับความรูและทักษะที่จำเปนสำหรับสงเสริมการ พัฒนาอยางยั่งยืน รวมไปถึง การศึกษาสำหรับการพัฒนาอยางยั่งยืนและการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหวางเพศ การสงเสริมวัฒนธรรมแหงความสงบสุขและไมใชความรุนแรง การเปนพลเมืองของโลก และความนิยมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและในสวนรวมของวัฒนธรรมตอการ พัฒนาที่ยั่งยืน ภายในป 2573 ผลการดำเนินงานหรือสถานการณตามเปาหมายยอย โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน สรางและ สงเสริมความ เปนพลเมืองดี ตามรอยพระ ยุคลบาทดาน การศึกษาสูการ ปฏิบัติ ศธจ.ปท 1. เพื่อสงเสริมใหผูเรียนได ศึกษาเรียนรู และมีทัศนคติที่ ดีตอสถาบันพระมหากษัตริย และบานเมือง รวมทั้ง พระราชกรณียกิจของ บูรพกษัตริยไทย และพระ มหากรุณาธิคุณที่มีตอ ประชาชนคนไทย 2. เพื่อสงเสริมใหผูเรียน มีความรูและสามารถนอมนำ พระบรมราโชบายดาน การศึกษา ไปประยุกตใชใน ชีวิตประจำวันได มีโอกาสทำ หนาที่เปนพลเมืองดี มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง และ มีคุณธรรม สงผลใหเกิดการ พัฒนาสังคมและประเทศ อยางยั่งยืนตามบริบทในพื้นที่ ตนเอง 3. เพื่อสงเสริมใหผูเรียนได เรียนรูถึงนวัตวิถีของทองถิ่น และชุมชน มีจิตสำนึกรักและ ภูมิใจ ในทองถิ่นและชุมชน ของตนเอง กิจกรรมที่ 1 การประชุม คณะทำงานโครงการ กิจกรรมที่ 2 การจัด กิจกรรมโครงการ จำนวน 2 รุน ๆ ละ 2 วัน กิจกรรมที่ 3 การคัดเลือก ผลงานรูปแบบ/แนวทางปฏิบัติ ที่เปนเลิศ (Best Practice) ระดับจังหวัด กิจกรรมที่ 4 การประเมิน สถานศึกษาพอเพียง กิจกรรมที่ 5 สรุปและ รายงานผลการดำเนิน โครงการ 1. มีสถานศึกษาที่เขารวมการ ประเมินสถานศึกษาพอเพียง จำนวน 1 โรงเรียน คือ โรงเรียนวัดเตยนอก สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 2. ผูเรียนมีความรูความเขาใจ มีเจตคติที่ดี ถูกตองตอสถาบัน หลักของชาติและยึดมั่น การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปน ประมุขสามารถนอมนำ พระบรมราโชบายดาน การศึกษาสูการปฏิบัติ สงผล ใหเกิดการพัฒนาสังคม และประเทศอยางยั่งยืนตาม บริบทในพื้นที่ตนเอง 3. ผูเรียนมีจิตสำนึกรักทองถิ่น และภูมิใจความเปนนวัตวิถี ของทองถิ่นและชุมชนของ ตนเอง ไมมี พัฒนาการ จัดการเรียนรู เพื่อเสริมสราง สมรรถนะ ผูเรียนใน ศตวรรษที่ 21 สพป.ปท. 1 1) เพื่อพัฒนาผูเรียนใหมี ทักษะจำเปนของโลกศตวรรษ ที่ 21 สามารถคิดวิเคราะห คิดสรางสรรค คิดแกปญหา ปรับตัว สื่อสาร และทำงาน รวมกับผูอื่นไดอยางมี ประสิทธิผล 2) เพื่อพัฒนาครูดานการ จัดการเรียนการสอน เทคนิค วิธีการที่สอดคลองกับทักษะ ในศตวรรษที่ 21 กิจกรรมที่ 1 ประชุม คณะทำงาน วางแผนการ จัดการเรียนรูที่สอดคลองกับ ทักษะในศตวรรษที่ 21 สูระดับหองเรียนใน โรงเรียนที่เขารวมโครงการ กิจกรรมที่ 2 สรางเครือขาย และนำไปขยายผลภายใน โรงเรียน กิจกรรมที่ 3จัดการประกวด คัดเลือกครูตนแบบจัดการ ผูเรียนมีความรู และทักษะ การเรียนรูที่จำเปนของโลก ศตวรรษที่ 21 และนำไป ปรับใชในชีวิตประจำวันได ตามบริบทของพื้นที่ ไมมี


37 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน 3) เพื่อนิเทศ กำกับติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ของโรงเรียนกลุมเปาหมาย เรียนรูที่สอดคลองกับทักษะ แหงศตรวรรษที่ 21 กิจกรรมที่ 4 นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ภายในของสถานศึกษาและ รายงานผลการดำเนินงาน เสริมสราง พลเมืองดี วิถี ประชาธิปไตย ในสถานศึกษา สพม.ปท. 1) เพื่อสงเสริมการจัดตั้งสภา นักเรียนเขตพื้นที่การศึกษาใหมี ความเขมแข็งสามารถรวมตัวกัน จัดกิจกรรมในเชิงสรางสรรคใน ลักษณะเครือขายอยางเปน ระบบสอดคลองกับคุณลักษณะ อันพึงประสงค 2) เพื่อสงเสริมใหสภานักเรียน ไดแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ปญหาความตองการ ขอเสนอแนะแนวทาง การแกไขในการพัฒนาโรงเรียน ใหเหมาะสมกับสภาพสังคม ทองถิ่น 3) เพื่อเปนการปลูกฝงวิถี ประชาธิปไตยใหกับนักเรียน พัฒนาองคกรนักเรียนให เขมแข็ง สามารถดำเนินงานตาม หลักธรรมาภิบาลอันเปนวิถี ชีวิตที่รัฐธรรมนูญไดวางไว 4) นักเรียนมีความคุนเคยกับ สังคมธรรมาภิบาลสามารถสราง และเคารพกลไก กติกาการ ดำเนินงานองคกรนักเรียนและ มีสวนรวมในการบริหารการ พัฒนานักเรียนอยางมี คุณคาและสรางสรรคสังคมใน อนาคตในสังคมธรรมาภิบาลที่ ยั่งยืน 5)สรางเครือขายในการทำงาน ของคณะกรรมการสภานักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษากับ องคกรอื่นๆ ที่เกี่ยวของ กิจกรรมที่ 1 แตงตั้ง คณะกรรมการดำเนินงาน และประชุมเตรียม ความพรอม กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมคาย สภานักเรียน 1)คณะกรรมการสภานักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา มีความเขมแข็ง ชัดเจน เกิดขึ้น อยางเปนรูปธรรม สามารถ จัดทำแผนปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสภานักเรียน เสนอเขตพื้นที่การศึกษา 2) นักเรียนเกิดทักษะใน การบริหารการดำเนินงาน สภานักเรียน มีจิตอาสา กลาคิด กลาแสดงความคิดเห็น 3) นักเรียนมีความรูความ เขาใจในการปกครอง ไมมี บูรณาการการ พัฒนาทักษะ ทางวิชาชีพกับ การเสริมสราง คุณลักษณะอัน พึงประสงค อศจ.ปท. 1) เพื่อบริการซอมเครื่องใช ไฟฟา เครื่องมือเกษตร อุปกรณอิเล็กทรอนิกส เครื่องใชในครัวเรือน และยานพาหนะ กิจกรรมที่ 1 เสนอโครงการ กิจกรรมที่ 2 ประชุม/ แตงตั้งคณะกรรมการ กิจกรรมที่ 3 ดำเนินการ จัดซื้อจัดจาง 1) ไดดำเนินการจัดกิจกรรม ณ วิทยาลัยเทคนิคธัญบุรี และ ศูนยบริการซอมสรางเพื่อให ชุมชน ใหบริการประชาชน ไมมี


38 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน ของผูเรียน อาชีวศึกษา (Fix it – จิต อาสา) 2) เพื่อสงเสริมการฝกอาชีพ และพัฒนาตอยอดผลิตภัณฑ ใหเหมาะสมและเอื้อตอการ เรียนรูและเกิด ประโยชนสูงสุดกับประชาชน กิจกรรมที่ 4 ดำเนินการ ตามโครงการ กิจกรรมที่ 5 สรุปผลและ รายงานผล ในการซอมแซมสิ่งของ พัฒนาอาชีพ และพัฒนา ตอยอดผลิตภัณฑ 2) นักเรียน นักศึกษา มีจิตอาสา ไดฝกทักษะวิชาชีพ ความชํานาญ ประสบการณ วิชาชีพในดานตางๆ จาก สถานการณจริง


39 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 8. เปาหมายยอย SDG 4.a สรางและยกระดับสถานศึกษา ตลอดจนเครื่องมือและอุปกรณการศึกษาที่ออนไหวตอ เด็กผูพิการ และเพศภาวะ และใหมีสภาพแวดลอมทางการเรียนรูที่ปลอดภัยปราศจากความรุนแรง ครอบคลุมและ มีประสิทธิผลสำหรับทุกคน ผลการดำเนินงานหรือสถานการณตามเปาหมายยอย โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน สงเสริมการใชและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล สพป.ปท. 1 1) เพื่อสงเสริมการใชสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล 2) เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษา ทางไกลผานดาวเทียม DLTV และ DLIT 3) เพื่อเผยแพรสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีผล การปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) กิจกรรมที่ 1 ประชุม คณะทำงานสงเสริม การจัดการศึกษาทางไกลผาน ดาวเทียม DLTV, DLIT หรือสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ดิจิทัลในระหวางวันที่ 13-14 กรกฎาคม 2566 ณ หองประชุมบัวชมพู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 กิจกรรมที่ 2 นิเทศ ติดตาม การจัดการศึกษาทางไกลผาน ดาวเทียม DLTV, DLIT หรือสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ดิจิทัล กิจกรรมที่ 3 การเผยแพรสื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีผลการ ปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) ของโรงเรียนใน สังกัด 1) โรงเรียนมีคูมือแนวทาง สงเสริมการใชและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล 2) โรงเรียนมีการเผยแพรสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล ที่มีผลการปฏิบัติที่เปนเลิศ (Best Practices) 3) โรงเรียนมีผลการปฏิบัติ ที่เปนเลิศ (Best Practices) การจัดการศึกษาทางไกลผาน ดาวเทียม DLTV, DLIT หรือสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล เวลาในการจัดตารางนิเทศ ซึ่งคณะกรรมการมีการนิเทศ ในโครงการอื่นตรงกัน ทำให จัดตารางลำบาก เชาใชบริการสัญญาณ อินเทอรเน็ต ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 สพป.ปท. 1 1)เพื่อเปนศูนยกลาง ตอบสนอง ความตองการ และใหบริการ อยางสะดวก รวดเร็ว โปรงใส 2) เพื่อใหมีระบบการใหบริการ ผานชองทางอิเล็กทรอนิกส ภาครัฐ (e-Service) โดยงาย สะดวก รวดเร็ว กิจกรรมที่ 1จัดสรร งบประมาณคาเชาใชบริการ สัญญาณอินเทอรเน็ตใหแก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา (12เดือน) - โรงเรียนในสังกัด จำนวน 102โรง -สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียนในสังกัด มีระบบเครือขายและ สัญญาณอินเทอรเน็ตใช อยางมีประสิทธิภาพ ไมมี


40 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 9. เปาหมายยอย SDG 4.b ขยายจำนวนทุนการศึกษาในทั่วโลกที่ใหสำหรับประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะ ประเทศพัฒนานอยที่สุด รัฐกำลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็ก และประเทศในแอฟริกาในการสมัครเขาศึกษาตอใน ระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝกอาชีพ และโปรแกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตรในประเทศพัฒนาแลวและประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ ภายในป 2573 ผลการดำเนินงานหรือสถานการณตามเปาหมายยอย การคัดเลือก คัดสรร นักเรียนทุนการศึกษาพระราชทาน ม.ท.ศ. รุนที่ 15 ปการศึกษา 2566 โครงการ ทุนการศึกษาพระราชทานฯ ป 2566 ภายใต “มูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทาน สมเด็จ พระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ม.ท.ศ.)” โดยในพื้นที่รับผิดชอบของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานีเพื่อสงเสริมและ สนับสนุนเด็กและเยาวชนไทยที่เรียนดี ประพฤติดี มี คุณธรรม ดวยการพระราชทาน ทุนการศึกษาระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย แกผูที่จบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ใหมีโอกาสศึกษาตอ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สายสามัญ สายอาชีพ และศึกษาตอเนื่องไปจนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือ เทียบเทา ในสาขาที่เปน ความตองการของประเทศ สาขาขาดแคลน สาขาดานความมั่นคง และเขาสูการมี อาชีพอยางมั่นคง รวมทั้ง การพระราชทานทุนเปนกรณี ๆ ตามที่คณะกรรมการ ม.ท.ศ. จะเห็นสมควร เพื่อ เสริมสรางทัศนคติที่ถูกตอง ดีงาม ตอสถาบันพระมหากษัตริยและประเทศชาติ บมเพาะความมีวินัย รวมทั้ง พัฒนาศักยภาพความสามารถการ เรียนรู ใหเปนผูใฝเรียนรูอยางตอเนื่อง มีทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ อันจะชวย สรางพื้นฐานชีวิตที่มั่นคงเขมแข็งแก เด็กและเยาวชนไทยผูไดรับทุนพระราชทาน เปนนักเรียนทุนในพระองคฯ เติบโตเปนคนดี มีคุณภาพนําความรู กลับไปทำงานพัฒนาทองถิ่นชุมชน มีสัมมาชีพมั่นคง เปนพลเมืองที่ทำประโยชนใหแกประเทศชาติ ปญหาอุปสรรค หรือประเด็นทาทายการบรรลุเปาหมาย - ผูเรียนและสถานศึกษาบางแหงยังเขาไมถึงแหลงทุนการศึกษา ประเด็นขอเสนอแนะการดําเนินงานใหบรรลุ เปาหมาย - เพิ่มชองทางสื่อสารเพื่อเขาถึงแหลงทุนการศึกษาทั้งในประเทศและตางประเทศ เชื่อมโยงภาคี เครือขาย สนับสนุนทุนการศึกษาหรือหาแหลงทุนสนับสนุนดานการศึกษา


41 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 10. เปาหมายยอย SDG 4.c เพิ่มจำนวนครูที่มีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผานทางความรวมมือระหวาง ประเทศในการฝกอบรมครูในประเทศกำลังพัฒนาเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยที่สุด และรัฐกำลังพัฒนาที่ เปนเกาะขนาดเล็กภายในป 2573 ผลการดำเนินงานหรือสถานการณตามเปาหมายยอย โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน พัฒนาครูผูชวย เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพใน การปฏิบัติงาน ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 สพป.ปท.1 1) เพื่อใหขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาได ฝกปฏิบัติธรรมขั้นพื้นฐาน ฝกสมาธิเกิดความสงบรมเย็น ทางจิตใจ เพิ่มพลังใจใน การปฏิบัติงานไดอยางมี คุณภาพ 2) เพื่อพัฒนาความรูความ เขาใจในเรื่องการสรางวินัย คุณธรรม จริยธรรม และ ระเบียบกฎเกณฑ ในการปฏิบัติงาน 3) เพื่อสงเสริมสนับสนุนและ พัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงาน ของขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ในบทบาทอาชีพครู 4) เพื่อสรางเครือขายการ ทำงานรวมกัน และการทำงาน เปนทีม เพื่อพัฒนาการจัด การเรียน การสอน กิจกรรมที่ 1การฝกอบรม เสริมสรางวินัย คุณธรรม จริยธรรม สำหรับขาราชการ ครูและบุคลากรทางการศึกษา ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2566 รุนที่ 1 จัดกิจกรรมระหวาง วันที่ 1 – 3 พฤษภาคม 2566 ณ วัดใหญชัยมงคล อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผูเขารวมกิจกรรมฝกอบรม 101 คน รุนที่ 2 จัดกิจกรรม ระหวางวันที่ 8 – 10 พฤษภาคม 2566 ณ วัดใหญชัยมงคล อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีผูเขารวมกิจกรรมฝกอบรม 102 คน รูปแบบกิจกรรมจะ เปนการปฏิบัติธรรม เจริญภาวนา นั่งสมาธิ ทำวัตรสวดมนตเชา – เย็น ฟงบรรยายธรรมะ โดยพระ วิทยากรของวัดใหญชัยมงคล และการบรรยายใหความรู ดานกฎหมายและวินัยที่ เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน และบทบาทหนาที่และความ รับผิดชอบของการเปน ขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่ดี โดยผูอำนวยการสถานศึกษา ที่มีประสบการณและความ เชี่ยวชาญ ไมมี สงเสริมและเพิ่ม ศักยภาพในการ ปฏิบัติงานของ ครูและบุคลากร ทางการศึกษา สพป.ปท.1 1) เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพ ใหกับขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาสามารถ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานกำหนด ตำแหนง ตามบทบาทอำนาจ หนาที่ตามระเบียบกฎหมายและ ภารกิจที่เกี่ยวของ อันจะสงผล ใหการจัดการศึกษา มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กิจกรรมที่ 1การประเมิน สัมฤทธิผลการปฏิบัติงานใน หนาที่ผูบริหารการศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 2การประเมิน สัมฤทธิผลการปฏิบัติงาน ในหนาที่ผูบริหารสถานศึกษา เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงาน 1) มีการประเมินสัมฤทธิผล การปฏิบัติงานในหนาที่เพื่อ พัฒนาการศึกษา ตำแหนง ผูอำนวยการสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา สังกัด สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 24 พฤษภาคม 2566 เวลา 09.00 น. ณ สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ไมมี


42 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน 2) เพื่อใหขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษาไดรับการ พัฒนาไดตรงตามความตองการ และตรงตามศักยภาพในรูปแบบ ที่หลากหลาย 3) เพื่อสงเสริม สนับสนุนให ขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหไดรับการ พัฒนาทักษะดานเทคโนโลยี ดิจิทัล ภาษา และทักษะอื่นๆ เพื่อตอบสนองตอการ เปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 4) เพื่อใหขาราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ไดรับ การพัฒนาใหเกิดความรูความ เขาใจในการปฏิบัติงานและ ไดรับองคความรู กระบวนการ ทำงาน วิธีการแกปญหาในการ ทำงานทำใหสามารถพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนและ พัฒนาการปฏิบัติงานสงเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21ไดอยางมี ประสิทธิภาพ 5) เพื่อยกยองเชิดชูเกียรติ สรางขวัญและกำลังใจใหกับ ขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาที่ปฏิบัติหนาที่ ราชการดวยความเสียสละ ซื่อสัตยสุจริต และสรางความ ผูกพันภายในองคกรใหมีความ ยั่งยืน สรางภาพลักษณที่ดีของ องคกร สรางเสริมมิตรภาพ ความสัมพันธอันดี 6) เพื่อกระตุนใหครูและ บุคลากรทางการศึกษา ยึดถือ ปฏิบัติเปนแบบอยางในการ ปฏิบัติงานดวยความมานะ อุตสาหะและมีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ 3การประเมิน สัมฤทธิผลการปฏิบัติงานใน หนาที่ศึกษานิเทศก เพื่อเพิ่ม ศักยภาพในการปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ 4 การสงเสริม ขาราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษาใหไดรับรางวัล เชิดชูเกียรติ ปทุมธานี อำเภอเมือง จังหวัด ปทุมธานี 2)การใหคำปรึกษา/แนะนำ ในการประเมินสัมฤทธิผลการ ปฏิบัติงานในหนาที่ตำแหนง ผูอำนวยการสถานศึกษา ใน ระยะเวลา 1 ป ครั้งที่ 3 และ ครั้งที่ 4 (ควบรวม) ของ ผูอำนวยการสถานศึกษา จำนวน 7 ราย เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 น. ณ หองประชุมโรงเรียนวัดโพธิ์ เลื่อน 3) ไดดำเนินการประเมิน สัมฤทธิผลการปฏิบัติงานใน ตำแหนงหนาที่ผูอำนวยการ สถานศึกษา ในระยะเวลา 1 ป ครั้งที่ 2 ของผูอำนวยการ สถานศึกษาจำนวน 7 ราย เมื่อ วันที่ 19 มิถุนายน 2566 เวลา 09.00 น. ณ หองประชุม โรงเรียนวัดโพธิ์เลื่อน


43 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี โครงการ หนวยงาน รับผิดชอบ การดำเนินงานโครงการ ปญหา/อุปสรรค วัตถุประสงค กิจกรรม ผลการดำเนินงาน พัฒนาและ เสริมสราง ศักยภาพครู สพม.ปท. เพื่อเสริมสรางสมรรถนะ และทักษะการปฏิบัติงานใหกับ ขาราชการครูโดยให ความสำคัญกับการพัฒนา สมรรถนะหลักและสมรรถนะ ประจำสายงาน เพื่อนำไปสู การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ กิจกรรมที่ 1 อบรมพัฒนา ครูผูชวยสูการเปนครูวิถีใหม ใสใจคุณภาพ ขาราชการครูในสังกัด สพม.ปทุมธานีมีการพัฒนา สมรรถนะและทักษะใน การปฏิบัติงาน ไมมี


44 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี สวนที่ 4 บทสรุปผลการดำเนินงาน ความทาทาย และขอเสนอแนะการดำเนินงานระยะตอไป 4.1 สรุปผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา เปาหมายยอย กลุมที่มีขอมูลผลการดำเนินงาน หรือขอมูลพื้นฐานตามตัวชี้วัดครบถวนสมบูรณสามารถ นำเสนอความกาวหนาหรือสภาพการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายยอยไดอยางชัดเจนเปนรูปธรรม ผลการดำเนินงานขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนดานการศึกษา (SDG4) รายเปาหมายยอยของจังหวัด ปทุมธานีจำนวน 5 เปาหมาย ดังนี้ 1) เปาหมายยอย SDG 4.1 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนสำเร็จการศึกษา ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาที่มีคุณภาพเทาเทียมและไมมีคาใชจายนำไปสูผลลัพธทางการเรียนที่มี ประสิทธิผลภายในป พ.ศ. 2573 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดไดดำเนินโครงการที่เกี่ยวของ ดังนี้ - โครงการ/กิจกรรม ประเมินคุณภาพผูเรียน (National Test : NT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 3 - โครงการ/กิจกรรม การจัดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ป - โครงการ/กิจกรรม พัฒนาคุณภาพการศึกษาและการวัดและประเมินผลในชั้นเรียนเพื่อ พัฒนาการเรียนรูของผูเรียน (Assessment for Learning) 2) เปาหมายยอย SDG 4.2 สรางหลักประกันวาเด็กชายและเด็กหญิงทุกคนเขาถึงการพัฒนา การดูแลและการจัดการศึกษาระดับกอนประถมศึกษา สำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณภาพเพื่อใหเด็กเหลานั้นมี ความพรอมสำหรับการศึกษาระดับประถมศึกษา ภายในป พ.ศ. 2573 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดไดดำเนิน โครงการที่เกี่ยวของ ดังนี้ - โครงการ/กิจกรรม ขับเคลื่อนการพัฒนาการจัดการศึกษาปฐมวัยในระดับพื้นที่จังหวัดปทุมธานี - โครงการ/กิจกรรม การสงเสริมการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว 3) เปาหมายยอย SDG 4.3 สรางหลักประกันใหชายและหญิงทุกคนเขาถึงการศึกษา อาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพ ในราคาที่สามารถจายไดภายในปพ.ศ. 2573 สำนักงานศึกษาธิการ จังหวัดไดดำเนินโครงการที่เกี่ยวของ ดังนี้ - โครงการ/กิจกรรมสงเสริมเวทีและประชาคมเพื่อการจัดทำรูปแบบและการพัฒนา หลักสูตรตอเนื่องเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา 4) เปาหมายยอย SDG 4.4 เพิ่มจำนวนเยาวชนและผูใหญที่มีทักษะที่เกี่ยวของจำเปน รวมถึง ทักษะทางดานเทคนิคและอาชีพสำหรับการจางงานการมีงานที่มีคุณคาและการเปนผูประกอบการ ภายในป พ.ศ. 2573 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดไดดำเนินโครงการที่เกี่ยวของ ดังนี้ - โครงการ/กิจกรรม Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา - โครงการ/กิจกรรม การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทำ - โครงการ/กิจกรรม พัฒนาสมรรถนะครูในการใชเทคโนโลยีดิจิทัลเปนเครื่องมือในการ จัดการเรียนรู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปทุมธานี


Click to View FlipBook Version