The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงาน SDG4 ปทุมธานีปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานผลการดำเนินงาน SDG4 ปทุมธานีปี 2566

รายงานผลการดำเนินงาน SDG4 ปทุมธานีปี 2566

45 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี - โครงการ/กิจกรรม ศูนยดิจิทัลชุมชน - โครงการ/กิจกรรม ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานอาชีวศึกษา (V-NET) 5) เปาหมายยอย SDG 4.5 ขจัดความเหลี่อมล้ำทางเพศดานการศึกษา และสรางหลักประกันวา กลุมที่เปราะบาง ซึ่งรวมถึงผูพิการ ชนพื้นเมืองและเด็ก เขาถึงการศึกษาและการฝกอาชีพทุกระดับอยางเทาเทียม ภายในป พ.ศ. 2573 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดไดดำเนินโครงการที่เกี่ยวของ ดังนี้ - โครงการ/กิจกรรม สงเสริมและพัฒนาการรับนักเรียน ปการศึกษา 2566 - โครงการ/กิจกรรม เพิ่มโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา - โครงการ/กิจกรรม สนับสนุนคาใชจายในการจัดการศึกษาตั้งแตระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน - โครงการ/กิจกรรม พัฒนาคุณภาพเด็กพิการโดยเครือขายพอ แม ผูปกครองและ ศูนยการศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดปทุมธานี 6) เปาหมายยอย SDG 4.6 สรางหลักประกันวาเยาวชนทุกคนและผูใหญ ทั้งชายและหญิง ในสัดสวนสูง สามารถอานออกเขียนไดและคำนวณไดภายในป พ.ศ. 2573 - โครงการ/กิจกรรม การประเมินความสามารถดานการอานของผูเรียน (RT) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 - โครงการ/กิจกรรม สงเสริมการอานและพัฒนาการจัดการเรียนรูสูความเปนเลิศ ดานทักษะภาษาไทย เพื่อแกไขปญหาภาวะถดถอยทางการเรียนรู (Learning Loss) ของผูเรียน - โครงการ/กิจกรรม สงเสริมการรูหนังสือ 7) เปาหมายยอย SDG 4.7 สรางหลักประกันวาผูเรียนทุกคนไดรับความรูและทักษะที่จำเปน สำหรับสงเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนรวมไปถึงการศึกษาสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืนและการมีวิถีชีวิตที่ยั่งยืน สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคระหวางเพศการสงเสริมวัฒนธรรมแหงความ สงบสุขและการไมใชความรุนแรง การเปนพลเมืองของโลก และความชื่นชมในความหลากหลายทางวัฒนธรรมและการที่วัฒนธรรมมีสวนชวยใหเกิด การพัฒนาที่ยั่งยืน ภายในป พ.ศ. 2573 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดไดดำเนินโครงการที่เกี่ยวของ ดังนี้ - โครงการ/กิจกรรม สรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดาน การศึกษาสูการปฏิบัติ - โครงการ/กิจกรรม พัฒนาการจัดการเรียนรูเพื่อเสริมสรางสมรรถนะผูเรียนในศตวรรษที่ 21 - โครงการ/กิจกรรม เสริมสรางพลเมืองดี วิถีประชาธิปไตยในสถานศึกษา - โครงการ/กิจกรรม บูรณาการการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพกับการเสริมสราง คุณลักษณะอันพึงประสงคของผูเรียนอาชีวศึกษา (Fix it – จิตอาสา)


46 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี 8) เปาหมายยอย SDG 4.a สรางและยกระดับสถานศึกษา ตลอดจนเครื่องมือและอุปกรณ การศึกษาที่ออนไหวตอเด็กผูพิการ และเพศภาวะ และใหมีสภาพแวดลอมทางการเรียนรูที่ปลอดภัยปราศจาก ความรุนแรง ครอบคลุมและมีประสิทธิผลสำหรับทุกคน - โครงการ/กิจกรรม สงเสริมการใชและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัล - โครงการ/กิจกรรม เชาใชบริการสัญญาณอินเทอรเน็ต ประจำปงบประมาณ พ.ศ. 2566 9) เปาหมายยอย SDG 4.b ขยายจำนวนทุนการศึกษาในทั่วโลกที่ใหสำหรับประเทศกำลังพัฒนา โดยเฉพาะประเทศพัฒนานอยที่สุด รัฐกำลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็ก และประเทศในแอฟริกาในการสมัครเขา ศึกษาตอในระดับอุดมศึกษา รวมถึงการฝกอาชีพ และโปรแกรมดานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ดานเทคนิค วิศวกรรม และวิทยาศาสตรในประเทศพัฒนาแลวและประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ ภายในป 2573 - โครงการ/กิจกรรม ทุนการศึกษาพระราชทานฯ ป 2566 10) เปาหมายยอย SDG 4.c เพิ่มจำนวนครูที่มีคุณภาพ รวมถึงการดำเนินการผานทางความ รวมมือระหวางประเทศในการฝกอบรมครูในประเทศกำลังพัฒนาเฉพาะอยางยิ่งในประเทศพัฒนานอยที่สุด และรัฐ กำลังพัฒนาที่เปนเกาะขนาดเล็กภายในป 2573 - โครงการ/กิจกรรม พัฒนาครูผูชวยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ประจำป งบประมาณ พ.ศ. 2566 - โครงการ/กิจกรรม สงเสริมและเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร ทางการศึกษา - โครงการ/กิจกรรม พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพครู 4.2 สรุปประเด็นความทาทายการบรรลุเปาหมาย 1) การเก็บขอมูล ยังคงเปนปญหาพื้นฐานแตสำคัญที่สุดในการวัดผลความกาวหนาของการดำเนินการ SDG4 นั้นเปรียบเสมือนไมบรรทัดขนาดใหญที่นำไปใชเปนแนวทาง ดังนั้น จึงจำเปนอยางยิ่งที่ตองมีการจัดเก็บ ขอมูลจากหลากหลายแหลงและประเภท ในระดับองคกร/พื้นที่/ทองถิ่น รวมไปถึงการสรางความตอเนื่องของ การจัดเก็บขอมูล เพื่อใหมีขอมูลเพียงพอที่จะนำมาปรับใชและจัดทำตัวชี้วัดของเปาหมาย และการจัดทำขอมูลนั้น ก็ตองมีการหารือและวิเคราะหขอมูลอยางเหมาะสมตอไป 2) สรางความตระหนักรูเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืนใหเกิดขึ้นในวงกวาง ทุกภาคสวนจะตองรวมกันสราง ทัศนคติและจิตสำนึกความยั่งยืนใหเกิดขึ้นในสังคม เนื่องจากการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับคนทุกคน ไมใชหนาที่ของภาคสวนใดเปนการเฉพาะ ดังนั้น หนวยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันวิชาการ องคกรอิสระ องคกรไมแสวงหากำไร หรือประชาชนทั่วไปจะตองมีจิตสำนึกในการสรางสังคมที่มี ความยั่งยืนรวมกัน เพื่อมุงไปสูจุดหมายปลายทางเดียวกัน 3) ความไมแนนอนที่อาจเกิดขึ้นไดทุกขณะ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสถานการณที่ไมคาดคิดไดสงผลตอการ ขับเคลื่อนเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนอยางหลีกเลี่ยงไมไดดังนั้น การเตรียมความพรอมเพื่อรับมือกับสถานการณที่


47 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี อาจเกิดขึ้นในอนาคต จะทำใหการขับเคลื่อนประเทศมีความมีความมั่นคงมากยิ่งขึ้น เพื่อสรางภูมิคุมกันใหกับการ พัฒนาประเทศในระยะตอไป 4.3 สรุปประเด็นขอเสนอแนะการดำเนินงานใหบรรลุเปาหมาย 1) บูรณาการความรวมมือจากทุกภาคสวน เพื่อดำเนินมาตรการที่มีประสิทธิภาพและเกิดผลเปนรูปธรรม ภายใตงบประมาณและทรัพยากรที่จำกัด โดยเฉพาะการขับเคลื่อนเปาหมายยอยที่เกื้อกูล (synergy) และเปน แรงหนุนใหเปาหมายยอยอื่น ๆ สามารถประสบผลสำเร็จไดในคราวเดียวกัน 2) การขับเคลื่อนประเทศไทยเพื่อใหบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนจะเปนเรื่องทาทาย หากปราศจาก ความรวมมือของทุกภาคสวนในสังคม ดังนั้น ความรวมมือจึงเปนเรื่องสำคัญในการสรางความยั่งยืนใหเกิดขึ้นซึ่ง ทุกคนควรเขามามีบทบาทในการเปนหุนสวนการพัฒนาที่มีสวนรวมอยางแข็งขันและลงมือทำทันที เพื่อสราง ความเปลี่ยนแปลงในเชิงสรางสรรคใหกับประเทศไทยและกับโลกใบนี้ บนหลักการพัฒนาที่ครอบคลุม ยืดหยุนและ ยั่งยืน


48 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี ภาคผนวก


49 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


50 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


51 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


52 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


53 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


54 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


55 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


56 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


57 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


58 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


59 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


60 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี คณะผูจัดทำ ที่ปรึกษา 1. นายกฤษณะ เลิศวิชานันท ศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี 2. นายมนตรี เดชรักษา รองศึกษาธิการจังหวัดปทุมธานี 3. ผูอำนวยการกลุมทุกกลุม / ผูอำนวยการหนวยตรวจสอบภายใน คณะทำงาน 1. นายสิทธิพร สุดพรหม นักวิชาการศึกษาชำนาญการ ปฏิบัติหนาที่ผูอำนวยการกลุมนโยบายและแผน 2. นางสาวสุพัตรา หงอกชัย นักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ 3. นายแทนไท อดิศัยมนตรี นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ 4. นางสาวอาจารี บำเพ็ญทาน เจาหนาที่ปฏิบัติงานกลุมนโยบายและแผน ออกแบบและจัดรูปเลม 1. นายแทนไท อดิศัยมนตรี นักวิเคราะหนโยบายและแผนปฏิบัติการ 2. นางสาวอาจารี บำเพ็ญทาน เจาหนาที่ปฏิบัติงานกลุมนโยบายและแผน


61 รายงานผลการขับเคลื่อน SDG4 ปงบประมาณ พ.ศ. 2566 จังหวัดปทุมธานี


Click to View FlipBook Version