The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายธีรพล เดือนกลาง, 2021-06-27 08:43:13

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ

ทกั ษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์
13 ทกั ษะ

ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรป ระกอบดวย 13 ทักษะ ดังนี้

1. ทักษะขนั้ มลู ฐาน 8 ทกั ษะ ไดแก

1.1 ทกั ษะการสังเกต
1.2 ทักษะการวดั
1.3 ทักษะการจําแนกหรือทักษะการจดั ประเภทสิง่ ของ
1.4 ทกั ษะการใชความสัมพนั ธระหวา งมติ ิกับเวลา
1.5 ทักษะการคาํ นวณและการใชจ าํ นวน
1.6 ทักษะการจัดกระทาํ และส่อื ความหมายขอมลู
1.7 ทักษะการลงความเหน็ จากขอมูล
1.8 ทักษะการพยากรณ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรป ระกอบดวย 13 ทกั ษะ ดงั น้ี

2. ทกั ษะขัน้ สงู หรือทกั ษะขัน้ ผสม 5 ทักษะ ไดแก

2.1 ทกั ษะการตั้งสมมุติฐาน
2.2 ทกั ษะการควบคุมตัวแปร
2.3 ทกั ษะการตคี วามและลงขอสรปุ
2.4 ทกั ษะการกําหนดนยิ ามเชิงปฏิบัตกิ าร
2.5 ทกั ษะการทดลอง

1.ทกั ษะการสังเกต ( Observing )

การใชป ระสาทสัมผัสท้งั 5 ในการสงั เกต ไดแ ก
ใชตาดูรปู ราง ใชห ฟู ง เสยี ง ใชล นิ้ ชมิ รส ใชจ มกู ดมกล่นิ และใชผวิ กายสมั ผัส
ความรูส ึกรอ นเยน็ หรือใชม ือจบั ตอ งความออนแข็ง เปนตน

2.ทักษะการวดั ( Measuring )

การเลอื กและการใชเครอ่ื งมอื วดั ปรมิ าณของสงิ่ ของออกมาเปนตัวเลขท่แี นนอนไดอยา งเหมาะสม

3.ทกั ษะการจําแนกหรอื ทักษะการจัดประเภทสง่ิ ของ (Classifying)

การแบงพวกหรอื การเรยี งลาํ ดบั วัตถุ หรอื สิ่งท่ีอยใู นปรากฏการณโดยการหาเกณฑห รือสรางเกณฑใ นการจาํ แนกประเภท
ซ่งึ อาจใชเกณฑความเหมือนกัน ความแตกตางกัน หรือความสัมพนั ธก ันอยางใดอยา งหนงึ่

4.ทกั ษะการหาความสัมพนั ธร ะหวางมติ ิกับมิตแิ ละมิติกบั เวลา

การหาความสมั พนั ธระหวางมิตติ า งๆ ที่เกีย่ วกับสถานท่ี รูปทรง ทศิ ทาง ระยะทาง พ้นื ท่ี เวลา ฯลฯ เชน การหาความ
สมั พนั ธร ะหวา ง มติ กิ บั มติ ิ คอื การหารูปรางของวัตถุ โดยสังเกตจากเงาของวตั ถุ เม่อื ใหแ สงตกกระทบวตั ถใุ นมมุ ตา งๆกนั
ฯลฯ

5.ทักษะการคาํ นวณและการใชจ าํ นวน

การนําเอาจาํ นวนทไ่ี ดจ ากการวดั การสังเกต และการทดลองมาจดั กระทาํ ใหเ กิดคา ใหม เชน การบวก ลบ คูณ หาร การ
หาคาเฉล่ีย

6.ทกั ษะการจดั กระทาํ และสอ่ื ความหมายขอ มูล

การนําเอาขอมลู ซึง่ ไดม าจากการสงั เกต การทดลอง ฯลฯ มาจัดกระทาํ เสียใหม เชน นาํ มาจัดเรียงลําดบั หาคาความถ่ี
แยกประเภท คาํ นวณหาคา ใหม นํามาจดั เสนอในรปู แบบใหม ตวั อยา งเชน กราฟ ตาราง แผนภมู ิ แผนภาพ วงจร ฯลฯ

7.ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ มูล
( Inferring )

การเพมิ่ เติมความคดิ เหน็ ใหกับขอมลู ที่มอี ยอู ยา งมเี หตุผลโดยอาศัยความรหู รือประสบการณเ ดมิ มาชว ย ขอ มูลอาจจะได
จากการสังเกต การวัด การทดลอง การลงความเห็นจากขอมูลเดยี วกนั อาจลงความเหน็ ไดห ลายอยา ง

8.ทักษะการพยากรณ ( Predicting )

หมายถึงการคาดคะเนหาคําตอบลวงหนา กอนการทดลองโดยอาศยั ขอ มูลทไี่ ดจ ากการสงั เกต การวัด รวมไปถงึ ความ
สัมพนั ธระหวางตัวแปรท่ไี ดศึกษามาแลว หรอื อาศัยประสบการณทเ่ี กดิ ซา้ํ ๆ

9.ทกั ษะการตั้งสมมติฐาน

การคิดหาคาคําตอบลว งหนากอนจะทําการทดลอง โดยอาศัยการสงั เกต ความรู ประสบการณเ ดิมเปน พื้นฐาน คําตอบท่ี
คดิ ลวงหนายังไมเปน หลกั การ กฎ หรอื ทฤษฎีมากอน

10.ทักษะการควบคมุ ตัวแปร

การควบคมุ สิ่งอนื่ ๆ นอกเหนือจากตัวแปรอิสระ ที่จะทาํ ใหผลการทดลองคลาดเคลื่อน ถาหากวาไมค วบคมุ ใหเ หมอื นๆกนั
และเปนการปองกันเพ่อื มใิ หมขี อ โตแยง ขอผดิ พลาดหรือตัดความไมนาเช่ือถอื ออกไป

11.ทักษะการตคี วามและลงขอ สรุป

ตคี วามใหสะดวกทจี่ ะส่ือความหมายไดถูกตองและเขา ใจตรงกนั
การตีความหมายขอมลู คือ การบรรยายลักษณะและคณุ สมบตั ิ
การลงขอ สรุป คือ การบอกความสมั พันธของขอ มูลท่ีมีอยู

เชน ถา ความดันนอย น้ําจะเดอื ด ท่อี ุณหภูมิต่ําหรือนํ้าจะเดือดเรว็
ถา ความดนั มากนํ้าจะเดอื ดทอ่ี ณุ หภมู สิ ูงหรือนาํ้ จะเดอื ดชาลง

12.ทกั ษะการกําหนดนยิ ามเชิงปฏิบตั กิ าร (Defining
Operationally )

การกําหนดความหมาย และขอบเขตของคําตาง ๆทม่ี ีอยูในสมมุติฐานทจ่ี ะทดลองใหมีความรดั กุม เปน ท่ีเขาใจตรงกนั และ
สามารถสังเกตและวดั ได เชน “ การเจริญเติบโต ” หมายความวาอยา งไร ตอ งกาํ หนดนิยามใหช ดั เจน เชน การเจริญเตบิ โด
หมายถงึ มีความสูงเพม่ิ ขึน้ เปนตน

13.ทักษะการทดลอง (Experimenting)

กระบวนการปฏบิ ตั กิ ารโดยใชท ักษะตางๆ เชน การสงั เกต การวัด การพยากรณ การตัง้ สมมุติฐาน ฯลฯ มาใชร วมกนั เพอ่ื หาคํา
ตอบ หรือทดลองสมมตุ ฐิ านทต่ี ัง้ ไว ซ่ึงประกอบดว ยกจิ กรรม 3 ขน้ั ตอน
1. การออกแบบการทดลอง
2. การปฏบิ ัติการทดลอง
3. การบันทกึ ผลการทดลอง

GooD!

ครูพล

นายธีรพล เดอื นกลาง ครผู ้ชู ว่ ย


Click to View FlipBook Version