The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gu_paruttajariya_ja, 2022-04-28 00:26:24

มคอ.2 สาขาสาธารณสุขชุมขน

มคอ2 สาธารณสุขชุมชน

หลกั สูตรอนุปริญญา
สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน
(หลกั สูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561)

วิทยาลยั ชุมชนตาก
สถาบันวิทยาลัยชมุ ชน
สาํ นกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

คาํ นํา

หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน พุทธศักราช 2561 เปนหลักสูตรที่ปรับปรุงจาก
หลักสูตรอนุปริญญาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรใหม พ.ศ. 2554 โดยหลักสูตรฉบับน้ีจะให
ความสําคัญกับความตองการของผูใชผูสําเร็จ ควบคูกับทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 และการบูรณาการ
เทคโนโลยใี นการเรียนรโู ดยไดปรับปรุงเน้ือหาหลักสูตรใหสอดคลอ งกบั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบับท่ี 12 (พุทธศักราช 2560-2564) และแนวนโยบายไทยแลนด 4.0 การใชเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู เพ่ือ
มุงเนนใหนักศึกษารูจริงในสิ่งท่ีทําเช่ือมโยงกิจกรรมในหองเรียนสูการปฏิบัติ คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา
หลกั สูตรฉบับนี้ทจ่ี ดั ทําข้นึ จะชว ยเสรมิ สรา งคุณลกั ษณะอันพึงประสงคใ หกับสงั คมและประเทศชาติ ตอ ไป

สารบญั หนา

เรื่อง 1
คาํ นํา 1
สารบญั 1
หมวดที่ 1 ขอมูลทวั่ ไป 1
1
1. ชื่อหลักสตู ร 2
2. ชือ่ ปรญิ ญาและสาขาวชิ า 2
3. จํานวนหนว ยกิตที่เรยี น 2
4. รปู แบบของหลักสตู ร
5 สถานภาพของหลักสตู รและการพิจารณาอนุมตั ิ/เห็นชอบหลกั สตู ร 2
6. ความพรอ มกรอบคุณวุฒแิ หง ชาติ 3
7. อาชีพท่ีสามารถประกอบไดหลงั สาํ เร็จการศกึ ษา
8. เลขประจาํ ตวั บัตรประชาชน ช่ือ–สกลุ และคณุ วุฒิการศึกษาของอาจารย 3
ผรู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร
9. สถานทีจ่ ดั การเรียนการสอน 5
10. สถานการณภายนอกหรือการพฒั นาทจ่ี ําเปนตองนาํ มาพิจารณาในการวางแผน 6
หลกั สตู ร 7
11. ผลกระทบจาก ขอ 10.1 และ 10.2 ตอ การพัฒนาหลกั สตู รและความเกี่ยวของกบั 7
พนั ธกจิ ของสถาบัน 8
12. ความสมั พนั ธกับหลักสูตรอนื่ ท่เี ปด สอนในคณะ/ สาขาวชิ าอ่นื ของสถาบนั 9
หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลกั สตู ร 9
1. ปรชั ญา ความสาํ คัญ และวัตถุประสงคข องหลกั สูตร 9
2. แผนพฒั นา/ปรบั ปรงุ 11
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศกึ ษา การดําเนินการ และโครงสรางหลักสตู ร 34
1. ระบบการจดั การศึกษา 34
2. การดําเนนิ การหลักสตู ร 35
3. หลักสูตรและอาจารยผ ูส อน 35
4. องคประกอบเกย่ี วกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน) 35
5. ขอ กาํ หนดเกย่ี วกบั การทําโครงงานหรอื งานวิจัย 42
หมวดท่ี 4 ผลการเรยี นรกู ลยุทธก ารสอนและการประเมินผล
1. การพัฒนาคุณลักษณะพเิ ศษของนักศึกษา
2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดา น)
3. แผนท่ีแสดงการกระจายความรบั ผิดชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู ากหลักสตู ร
สูรายวิชา (Curriculum Mapping)

เรื่อง หนา
หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมนิ ผลนักศกึ ษา 47
47
1. กฎระเบยี บหรอื หลักเกณฑในการใหร ะดับคะแนน (เกรด) 47
49
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธขิ์ องนักศึกษา 50
3. เกณฑก ารสาํ เร็จการศกึ ษาตามหลกั สตู ร 50
หมวดท่ี 6 การพัฒนาอาจารย 50
1. การเตรยี มการสําหรบั อาจารยใ หม 51
2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแ กคณาจารย 51
หมวดท่ี 7 การประกันคณุ ภาพหลักสตู ร 51
1. การกาํ กับมาตรฐาน 52
2. บัณฑิต 52
53
3. นกั ศกึ ษา 53
54
4. อาจารย 56
5. หลักสตู ร 56
56
6. ส่งิ สนบั สนนุ การเรียนรู 56
56
7. ตวั บง ชีผ้ ลการดาํ เนนิ งาน (Key Performance Indicators)
หมวดท่ี 8 การประเมนิ และปรับปรงุ การดาํ เนินการของหลักสูตร 57

1. การประเมินประสทิ ธิผลของการสอน

2. การประเมินหลกั สูตรในภาพรวม
3. การประเมนิ ผลการดาํ เนินงานตามรายละเอยี ดหลกั สตู ร

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรุง
ภาคผนวก

ภาคผนวก ก ตารางเปรยี บเทยี บหลักสตู ร

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๑

รายละเอียดของหลักสูตร
หลักสตู รอนปุ ริญญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน

หลกั สูตรปรับปรงุ 2561

ชื่อสถาบันอุดมศกึ ษา วทิ ยาลยั ชุมชนตาก
สาขาวิชา สาธารณสุขชุมชน

หมวดท่ี 1 ขอมลู ทว่ั ไป

1. ชือ่ หลกั สูตร หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน
ชือ่ ภาษาไทย: Associate Degree Program in Community Health

ช่อื ภาษาอังกฤษ:

2. ช่ือปรญิ ญาและสาขาวิชา อนุปริญญา (สาธารณสุขชมุ ชน)
ชื่อเต็ม (ไทย): อ.(สาธารณสุขชมุ ชน)
Associate Degree (Community Health)
ชือ่ ยอ (ไทย): A.(Community Health)

ชื่อเต็ม (อังกฤษ):
ชอ่ื ยอ (องั กฤษ):

3. จาํ นวนหนว ยกติ ท่ีเรยี น
จาํ นวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสตู ร ไมน อยกวา 90 หนว ยกิต

4. รปู แบบของหลักสูตร
4.1 รปู แบบ
หลกั สูตรอนุปริญญา 3 ป ระดบั ท่ี 1 ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดบั อดุ มศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2552

4.2 ภาษาท่ใี ช
ภาษาไทย

4.3 การรับเขาศกึ ษา
รบั นักศึกษาไทยและนักศกึ ษาตา งชาติทส่ี ามารถพดู ฟง อาน เขียนและเขา ใจภาษาไทยเปนอยางดีและ

ใหเปนไปตาม ระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชนวาดวยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาท่ีตํ่ากวาปริญญาของ

วทิ ยาลัยชมุ ชน พทุ ธศกั ราช 2560

4.4 ความรวมมือกบั สถาบันอืน่ หรอื หนวยงานอน่ื
เปนหลักสูตรเฉพาะของวิทยาลัยชุมชน

4.5 การใหปริญญาแกผสู าํ เรจ็ การศึกษา
ใหอ นุปริญญาเพียงสาขาวชิ าเดยี ว

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๒

5. สถานภาพของหลกั สูตรและการพจิ ารณาอนุมตั ิ/เห็นชอบหลักสูตร
5.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ปรับปรุงจากหลักสูตรอนุปริญญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน
หลกั สตู รใหม พ.ศ. 2554
5.2 เปดสอนภาคการศึกษาที่ 1 ปการศกึ ษา 2561
5.3.สภาวทิ ยาลยั ชมุ ชนอนมุ ัตกิ ารจดั การเรียนการสอน ในการประชมุ ครงั้ ท่ี 10/ 2561
เม่ือวนั ท่ี 19/ ตุลาคม / 2561
5.4 สภาสถาบันวทิ ยาลัยชุมชนใหค วามเห็นชอบหลกั สูตรในการประชมุ ครงั้ ที่ 12/ 2561
เมอ่ื วนั ที่ 11/ ธนั วาคม/ 2561

6. ความพรอมกรอบคณุ วุฒแิ หง ชาติ
หลักสูตรมีความพรอมที่จะเผยแพรคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหง ชาติ ในป พ.ศ. 2564

7. อาชพี ท่ีสามารถประกอบไดหลังสาํ เร็จการศึกษา
7.1 เจาพนกั งานสาธารณสุขในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

7.2 เจา พนักงานสาธารณสขุ ในองคการปกครองสวนทองถนิ่ ทกุ ระดบั

8. อาจารยผ รู บั ผดิ ชอบหลักสูตร

ชื่อ – สกุล เลขประจาํ ตวั ตาํ แหนง คุณวุฒสิ ูงสดุ สาขาวชิ า สาํ เรจ็ การศึกษาจากสถาบนั ป
ประชาชน ทาง ยทุ ธศาสตรการพฒั นา
ดร.สรณี ปรัชญาดษุ ฎี สาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลยั ราชภฎั กาํ แพงเพชร 2555
กณั ฑนิล 363010075XXXX วิชาการ บณั ฑิต
สาธารณสขุ สุขศึกษา
- ศาสตรมหา
บัณฑติ
วิทยาศาสตร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2547
บณั ฑติ
มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 2323

นายวิวฒั น 541010003XXXX - สาธารณสขุ การจัดการส่ิงแวดลอม มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธิราช 2548
ศาสตรมหา อตุ สาหกรรม
โมราราช
บัณฑติ

สาธารณสุข อาชีวอนามยั และความ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช 2536

ศาสตร ปลอดภยั

บัณฑิต

วทิ ยาศาสตร วทิ ยาศาสตรส ุขาภบิ าล มหาวิทยาลยั มหดิ ล 2533

บัณฑิต

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๓

ชือ่ – สกลุ เลขประจําตัว ตาํ แหนง คุณวุฒิสงู สุด สาขาวิชา สําเร็จการศกึ ษาจากสถาบนั ป
นางสุภาภรณ ประชาชน ทาง สาธารณสุขศาสตร
บญั ญตั ิ 352990027XXXX สาธารณสุข พยาบาลศาสตร มหาวิทยาลยั นเรศวร 2547
วชิ าการ ศาสตรมหา สาธารณสขุ ศาสตร
นายเฉลิม 365080104XXXX - สาธารณสขุ ศาสตร มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2543
กลอ มเกล้ียง บณั ฑิต
- พยาบาล มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2547
ศาสตร
บณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม 2537
สาธารณสุข
ศาสตรมหา
บณั ฑติ
สาธารณสขุ
ศาสตร
บณั ฑติ

9. สถานท่จี ัดการเรยี นการสอน
วิทยาลยั ชุมชนตาก

10. สถานการณภายนอกหรือการพฒั นาที่จําเปนตองนาํ มาพจิ ารณาในการวางแผนหลักสูตร
10.1. สถานการณหรอื การพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาหลักสูตรจะสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับท่ี 12 (พ.ศ.

2560-2564) ซ่ึงมียุทธศาสตรท่ียังมุงการเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย เพ่ือมุงสู “ความม่ันคง มั่งคั่ง
และย่งั ยืน” และยังสอดคลอ งแผนยุทธศาสตรช าติดานสาธารณสุข ระยะ 20 ป ตามนโยบายรัฐบาลที่จะนําประเทศ
ไทยกาวสู Thailand 4.0 รองรับอนาคตที่มีความเปนสังคมเมือง สังคมผูสูงอายุซ่ึงในป 2573 ประเทศไทยจะมี
ผูสูงอายุถึง 1 ใน 4 ของประชากรทั้งหมด การเช่ือมตอการคาและการลงทุน ความกาวหนาทางเทคโนโลยี และ
ลดความเหลื่อมล้ําการเขาถึงระบบสุขภาพ ต้ังเปาหมายให "ประชาชนสุขภาพดี เจาหนาที่มีความสุข ระบบ
สุขภาพย่ังยืน" การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศตลอดจนกระแสโลกาภิวัตน ทําใหมีการเปล่ียนแปลงทาง
เศรษฐกิจท่ีสงผลกระทบตอวิถีการดําเนินชีวิตของประชาชน ท่ีอยูภายใตความกดดันทางเศรษฐกิจ และการ
แขงขนั เพื่อความอยูรอด สง ผลตอ แบบแผนการเจบ็ ปวยของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต รวมถึงคาใชจาย
ดานการดูแลสุขภาพ ทั้งภาครัฐและเอกชนท่ีสูงข้ึน จะเห็นไดวาการพัฒนาคนยังคงเปนส่ิงสําคัญในการพัฒนา
ประเทศและสุขภาพ ถือเปนปจจัยพ้ืนฐานของแตละบุคคล ที่จะสงผลใหคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และชวย
ขับเคลื่อนใหประเทศชาติกาวไปสูการพัฒนาที่ย่ังยืนในทุกดาน ภาวะในปจจุบันการพัฒนาทางเศรษฐกิจของ
ประเทศกา วหนาไปอยางไมห ยุดยั้ง ประชาชนชาวไทยตองปรับตัวใหสอดคลอ งทันกับกระแสเศรษฐกิจ จึงทําใหวิถี
ชีวิตของคนไทยเปล่ียนแปลงไป ทุกคนตองเรงรีบแกงแยงแขงขันกัน เพื่อใหทันกับภาวะเศรษฐกิจ ทําใหมีเวลา
เอาใจใสเรื่องสุขภาพของตนเองและครอบครัวนอยลง มีโอกาสเกิดความเจ็บไขไดปวยดวยโรคที่ไมติดตอเร้ือรังได

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๔

งายขึ้น เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคกลามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเครียด ฯลฯ
รวมทั้งอุบัติเหตุตาง ๆ ที่ลวนแตสงผลตอครอบครัว สังคมและประเทศชาติได ทําใหการจัดการเรียนการสอน
ในหลกั สตู รตอ งเนน การปรบั เปล่ยี น กระบวนทศั น รูปแบบ การดูแล สงเสริม ปองกันและรักษาสุขภาพประชาชน
ใหมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และสามารถตอบสนองความตองการของผูรับบริการและกลุมเปาหมายทางสังคมให
มากยิ่งข้ึน ในขณะที่บางพื้นที่ ท่ีมีความเฉพาะสูงเชน พื้นที่ชนบททุรกันดาร หางไกลหรือชายแดน เชน
จังหวัดตาก นอกจากโรคไมติดตอดังกลาวแลว การเขาถึงบริการทําไดยากลําบากและยังคงมีการเกิดโรคติดตอ
และมกี ารระบาดเกิดข้นึ ในพน้ื ท่ีอยางตอ เนอ่ื ง เชน มาลาเรยี อหิวาหตกโรค โรคเทาชาง โรคไขกาฬหลังแอน ฯลฯ
โรคเหลาน้ีหากไมไดรับการปองกันดูแล อยางเหมาะสมจะสงผลกระทบใหประชาชนในพ้ืนที่เกิดการเจ็บปวย
จาํ นวนมาก อาจระบาดไปในวงกวางไดงายและสงผลกระทบตอเศรษฐกจิ ชีวติ ความเปน อยตู ลอดจนการทองเท่ียว
ของประเทศชาตไิ ด

การจะดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่เฉพาะแบบนี้ จึงตองมีบุคลากรดานสาธารณสุข
ท่ีเพียงพอ กระจายตัวใหบริการในพื้นทอ่ี ยางเหมาะสมและมีความรูความสามารถเปนอยางดี ตามพระราชบัญญัติ
วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน พ.ศ. 2556 มาตรา 3 ท่ีบัญญัติไววา วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน หมายความวา
วิชาชีพที่กระทําตอมนุษยและสิ่งแวดลอมในชุมชนเกี่ยวกับการสงเสริมสุขภาพ การปองกันโรค การควบคุมโรค
การตรวจประเมินและการบําบัดโรคเบ้ืองตน การดูแลใหความชวยเหลือผูปวย การฟนฟูสภาพ การอาชีวอนามัย
และอนามัยสิ่งแวดลอม ท้ังนี้ เพ่ือลดความเสี่ยงจากการเจ็บปวยในชุมชนโดยนําหลักวิทยาศาสตรมาประยุกตใช
แตไมรวมถึงการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ หรือการประกอบวิชาชีพทาง
การแพทยและการสาธารณสุขอ่ืนตามกฎหมายวาดวยการน้ัน ดังน้ันการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรจึงนํา
ปญหาสขุ ภาพของประชาชนในพื้นที่มาพิจารณาอยางรอบดาน ครอบคลุมตามบริบทและใหความสําคัญ กับการ
สงเสริมสุขภาพ การควบคุมปองกันโรคและการจัดบริการสาธารณสุขใหแกประชาชนในพ้ืนท่ีเฉพาะ เพ่ือชวยให
ประชาชนในพื้นท่ีดอยโอกาส มีสุขภาพแข็งแรงท้ังรางกาย จิตใจ สังคมและปญญา ดวยการพัฒนาสุขภาพและ
สาธารณสุขอยางครบวงจร มุงการดูแลสุขภาพในเชิงปองกัน การฟนฟูรางกายและจิตใจ สงเสริมใหคนไทยลด
ละ เลิก พฤตกิ รรมเส่ยี งตอสขุ ภาพ สงเสรมิ ใหม ีทกั ษะความสามารถดา นสุขภาพใหมากข้นึ

10.2 สถานการณห รือการพฒั นาทางสงั คมและวฒั นธรรม
การเปลี่ยนแปลงท้ังการเมือง การปกครอง สังคม และวัฒนธรรม ตลอดจนโครงสรางประชากร

ระบบบริการสุขภาพ รวมถึงกระแสโลกาภิวัตนของประเทศตาง ๆ ในโลกไดสงผลกระทบตอวิถีการดําเนินชีวิต
ของประชาชนที่มีความเสี่ยงตอสุขภาพเพ่ิมข้ึน ทําใหแบบแผนการเกิดโรคเปล่ียนแปลงไปอยางซับซอน โรคอุบัติ
ใหม รายแรงหลายโรคแพรระบาดไปพรอมกันในหลายประเทศ โรคติดตอรายแรงและโรคไมติดตอมีการอุบัติซ้ํา
วิถีชีวิตความเปนอยูทําใหสุขภาพและความเจ็บปวยเปลี่ยนแปลงไป อีกท้ังสงผลตอการเคล่ือนยายของประชากร
จากพื้นที่ท่ีมีเศรษฐกิจและเทคโนโลยีลาหลังไปสูที่ที่สูงกวา ทําใหเกิดความซับซอนทางดานชาติพันธุ ภาษาและ
ความเปนอยู สงผลตอการเขาถึงสถานบริการสาธารณสุขและการโยกยายของเจาหนาที่สาธารณสุขจากพื้นที่
ท่ีมีความเจริญนอยไปยังพื้นท่ีที่มีความเจริญมาก รวมทั้งปญหาสภาพแวดลอมที่กําลังทวีความรุนแรงขึ้น
ทําใหปญหาและความตองการทางสุขภาพของประชาชน รวมทั้งเทคโนโลยีการบริหารและการจัดบริการสุขภาพ
เปล่ียนแปลงไป โดยมีระบบการประกันสุขภาพถวนหนา มีการกระจายอํานาจจากสวนกลางไปสูทองถ่ิน และ

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๕

การสงเสริมใหภาคประชาสังคมเขามามีสวนรวมในการจัดการสุขภาพเพิ่มมากข้ึน สิ่งเหลานี้ทําใหประชาชน
ท่ียากจนในพนื้ ทช่ี นบทหางไกลชายแดน ขาดบุคคลากรสาธารณสุขมาดูแลอยางทั่วถึงเพียงพอ อัตราการโยกยายสูง
และมีอุปสรรคในการเขาถึงบริการสาธารณสุข ท้ังดานความแตกตางทางดานเชื้อชาติ ภาษา วัฒนธรรมและ
ประเพณี ดังน้ัน การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรจะพัฒนาบุคลากรสาธารณสุขท่ีสามารถอยูปฏิบัติหนาที่
ในชมุ ชนชนบทเหลานีไ้ ดอยางคุนเคย สามารถลดอุปสรรคตา ง ๆ ของประชาชนในการเขาถึงบริการสาธารณสุขได
ซ่ึงจะชวยลดความเหล่ือมล้ําและสรางความเปนธรรมในสังคมไดอีกทางหน่ึง ดังน้ันหลักสูตรจึงเนนการเรียนรู
ปจจัยที่เก่ียวของกับสุขภาพและการจัดบริการสุขภาพทั้งการสงเสริมสุขภาพ ปองกันโรค การตรวจประเมินและ
การบาํ บดั โรคเบ้ืองตน และการฟน ฟูสภาพไดอยางมีคุณภาพ ประสิทธิภาพ สอดคลองกับกฎหมายและการปฏิรูป
ระบบสาธารณสุข ตลอดจนสามารถตอบสนองความตองการของประชาชนทุกกลุมวัย ครอบครัว และชุมชน
ใหมากย่งิ ขนึ้ เพ่ือนําไปสูก ารพฒั นาสุขภาพและสขุ ภาวะของประชาชนและชุมชนโดยทว่ั หนา
11. ผลกระทบจาก ขอ 10.1และขอ 10.2 ตอการพัฒนาหลกั สตู รและความเก่ยี วของกับพันธกจิ ของสถาบนั

11.1 การพฒั นาหลักสตู ร
จากสภาวการณเปล่ียนแปลงทางสังคม สภาพแวดลอม วัฒนธรรม ท่ีสงผลกระทบตอวิถี
การดําเนินชีวิตของประชาชนท่ีมีความเสี่ยงตอสุขภาพเพ่ิมข้ึน ในการพัฒนาหลักสูตร จึงจําเปนตองพัฒนา
หลักสูตรในเชิงรุกและเปดโอกาสใหประชาชนในพื้นท่ีชนบท หางไกล ชายแดน ดอยโอกาสไดเขามาศึกษาเรียนรู
ทางดานสาธารณสุขเพ่ือสามารถกลับไปปฏิบัติหนาที่ในโรงพยาบาลชุมชน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ
โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ หนวยบริการปฐมภูมิและสถานบริการ
สาธารณสุขชุมชนหรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นในพื้นที่ ไดอยางสอดคลองเหมาะสมกับบริบทของพ้ืนท่ีและ
ประชาชน ดงั นน้ั การพัฒนาหลักสูตรจึงตอ งมงุ เนนทก่ี ารพฒั นาศักยภาพของผูเ รยี นในดานการสงเสริมสุขภาพและ
ปองกันโรค และมคี วามสามารถในการใชเทคโนโลยแี ละสารสนเทศในการเรียนรอู ยา งตอเนื่อง
หลักสูตรจะตองมีกลไกในการสนับสนุนใหคนในพ้ืนท่ีไดมีโอกาสเขามาศึกษาในพ้ืนที่เพื่อ
สรางความคุนเคย การปรับตัวเขากับสถานการณที่เหมาะสมกับพื้นที่และสามารถกลับไปปฏิบัติงานในพ้ืนที่
ดวยความสามารถท่ีเหมาะสมและมีความม่ันใจ สอดคลองกับแนวคิดขององคการอนามัยโลกในการพัฒนา
กําลังคนดานสุขภาพท่ีวา “คัดคนทองถิ่น เรียนในทองถ่ินและทํางานบานเกิดหรือ Rural recruitment, Rural
training, Hometown working”
11.2 ความเกีย่ วของกบั พนั ธกจิ ของสถาบัน
ผลกระทบจากสถานการณทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีตอพันธ
กิจของวิทยาลัยชุมชนท่ีมุงใหการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ทัศนคติและคุณภาพชีวิตของสมาชิกในชุมชนอันนําไปสู
การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอมและความม่ันคง ชวยพัฒนาศักยภาพของชุมชนเพ่ือสงเสริมกระบวนการ
เรียนรู พัฒนาและถายทอดเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับการจัดการทรัพยากร เพ่ิมมูลคาใหแกทรัพยากรบุคคล
ในชมุ ชน สั่งสมประสบการณเ ปน ภูมปิ ญญาทองถิ่นอยางตอ เน่ืองสูการพง่ึ ตนเองอยา งยงั่ ยืน
ดังนั้นการพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชนจึงเปนสวนหนึ่งในการแกปญหาและ
รวมพัฒนาชุมชนในพื้นท่ีที่รับผิดชอบ เปดโอกาสใหประชาชนผูดอยโอกาสทางการศึกษาไดเขามาศึกษาพัฒนา
ตนเองใหเปนกาํ ลังสาํ คญั ของครอบครวั ชุมชนและประเทศชาติ และมุงธํารงปณิธานในการผลิตผูจบการศึกษาท่ีดี

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๖

เกงและมีความสุข ไดบูรณาการพันธกิจดานการวิจัยและการบริการทางวิชาการ ที่ตอบสนองตอปญหาสุขภาพ
ของประชาชนในทองถ่ิน ใหเขากับการจัดการเรียนการสอนในทุกรายวิชาทางดานสาธารณสุข และสงเสริม
ใหผูเรียนไดทํากิจกรรมการฝกงานในชุมชนรวมกับอาจารย อาจารยพี่เล้ียง และสรางการมีสวนรวมกับชุมชน
ในทองถิน่ โดยคาํ นึงถงึ สถานการณปญ หาสุขภาพทเ่ี ฉพาะของชุมชนในทองถนิ่ เปนสาํ คัญ
12. ความสมั พนั ธก ับหลักสูตรอน่ื ทเ่ี ปดสอนในคณะ/สาขาวิชาอนื่ ของสถาบนั

12.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรน้ที เ่ี ปด สอนโดยคณะ/สาขาวิชา/หลกั สตู รอน่ื
รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ใชตามหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาท่ัวไปฉบับปรับปรุง

พ.ศ. 2561 ของสถาบันวทิ ยาลยั ชุมชน
12.2 กลมุ วชิ า/รายวชิ าในหลกั สตู รทเ่ี ปด สอนใหส าขาวชิ า/หลักสตู รอืน่ ตองมาเรียน
ไมม ี
12.3 การบริหารจัดการ
ยึดหลักการบริหารงานแบบมีสวนรวม จากบุคลากรภายในและภายนอกของวิทยาลัยชุมชน

โดยมีผูรับผิดชอบหลักสูตรหรือหัวหนาสาขาวิชาและบุคลากรภายในวิทยาลัยชุมชน ท่ีรับผิดชอบในการดูแล
หลักสูตรเปนผูประสานงานการบริหารหลักสูตร อาทิเชน การพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร การตรวจสอบ
การปรับปรุงแกไข และการนําหลักสูตรไปใช เพื่อใหหลักสูตรมีความเปนมาตรฐานสามารถนําไปใชเปนขอมูล
ตดิ ตามและประเมินคุณภาพการเรียนการสอน

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๗

หมวดท่ี 2
ขอมูลเฉพาะของหลกั สูตร

1. ปรชั ญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร
1.1 ปรชั ญาของหลักสตู ร
พัฒนานักปฏิบัติดานสาธารณสุขชุมชน เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชน (Healthy is

Wealthy)
1.2 ความสําคญั ของหลักสูตร
หลักสูตรที่สรางนักปฏิบัติดานสาธารณสุขชุมชน สามารถปฏิบัติงานแบบมีสวนรวมดานสาธารณสุข

เพ่ือสรางความเขมแข็งของชุมชนและการมีสุขภาวะที่ดีอยางยั่งยืน ทามกลางความขาดแคลนบุคลากรดาน
สาธารณสุข ในพ้ืนที่หางไกลทุรกันดารหรือในพ้ืนที่ชายแดนท่ีมีความยากลําบากในการเขาถึงบริการดาน
สาธารณสุข หรือพื้นท่ีท่ีมีความแตกตางทางดานชาติพันธุ ภาษา วัฒนธรรมประเพณี ลดปญหาการโยกยาย
กําลังคนดานสุขภาพ ทําใหมีเจาหนาที่อยูปฏิบัติงานในพ้ืนท่ีไดอยางตอเนื่อง ดังนั้น จึงจําเปนตองจัดการศึกษา
ดานสาธารณสุขชุมชน เพื่อสรางบุคลากรท่ีมีสมรรถนะเหมาะสม สามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ
สอดคลอ งนโยบายการพฒั นาระบบบริการสขุ ภาพ

1.3 วัตถุประสงคของหลักสตู ร
เพื่อใหผ ูเรียนมคี วามสามารถและคุณลกั ษณะ ดังน้ี
(1) มีความเปนคนดี พลเมืองดี มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพและมีเจตคติที่ดี

ตอ วิชาชพี สาธารณสุขชมุ ชน
(2) มีความรู ความเขาใจ ทักษะ ในการสงเสริมสุขภาพ การควบคุมและปองกันโรค การตรวจ

ประเมินและบําบัดโรคเบื้องตน การฟนฟูสภาพ การคุมครองผูบริโภคและอนามัยสิ่งแวดลอม รวมทั้งบูรณาการ
ศาสตรอ ่ืนท่ีเกีย่ วขอ งมาใชอ ยา งเหมาะสม

(3) สามารถใหบ ริการ สง เสริมและสนับสนุนใหประชาชนดูแลสุขภาพตนเอง ชุมชน แบบองครวม
ทง้ั ระดบั ปฐมภมู ิ ทตุ ยิ ภูมิ และตติยภูมิ

(4) สามารถคิดริเริ่มสรางสรรค วิเคราะห สังเคราะหและแกปญหาในการปฏิบัติงานดาน
สาธารณสุขของชมุ ชน

(5) เปนผูนําดานการดูแลสุขภาพที่ดีในชุมชน สามารถเช่ือมประสานการบริการปฐมภูมิกับ
เครอื ขายทเี่ กยี่ วของกบั การจดั บริการสขุ ภาพชมุ ชน

(6) มีความสามารถและประยุกตใ ชท กั ษะดจิ ทิ ลั ในการปฏิบตั ิงานดา นสาธารณสุข

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๘

2. แผนการพฒั นา/ปรับปรงุ

การพัฒนา/เปลย่ี นแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตวั บงชี้

1. พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลอง - สาํ รวจตดิ ตามความพงึ พอใจของผูใ ช - รายงานการตดิ ตามความ

กับความตองการของผูใชผสู ําเรจ็ ผสู าํ เร็จการศึกษา พงึ พอใจของผูใชผ ูสาํ เรจ็

การศกึ ษา - นิเทศตดิ ตามการฝกประสบการณ การศกึ ษา

สาธารณสขุ ชุมชนตามแหลง ฝกอยา งตอ เนื่อง - รายงานการนเิ ทศตดิ ตาม

2. พฒั นาการจดั การเรียน - สง เสรมิ การจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ - ระดับความพึงพอใจของ

การสอนใหผสู ําเรจ็ การศกึ ษา ทีเ่ นน การมสี ว นรว มของบุคลากรแหลงฝก ผใู ชบรกิ ารและบคุ ลากร

มีทกั ษะปฏิบัติงานดา น ประสบการณทางสาธารณสุขชมุ ชนกับ แหลงฝกประสบการณ

สาธารณสุข พรอมท่จี ะปฏิบัติงาน สถาบนั การศึกษา สาธารณสขุ ชมุ ชนตอ การ

ในชมุ ชน - จัดระบบหอ งปฏิบัติการดา นสาธารณสขุ ปฏิบตั กิ ารดานสาธารณสขุ

และส่ือการเรยี นรทู ี่จาํ ลองสถานการณจ รงิ ของนักศึกษา

เพ่ือสง เสรมิ การเรียนรกู อนออกฝกปฏบิ ตั กิ าร

การพฒั นา/เปล่ยี นแปลง กลยทุ ธ หลกั ฐาน/ตวั บงช้ี
3. พฒั นาทักษะการสอน/ - พฒั นาทกั ษะการสอนของอาจารยทีเ่ นน - รอ ยละของอาจารยผสู อน
การประเมินผลของอาจารย การสอนดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดานความรู ท่ีไดรับการพัฒนาทกั ษะการ
ตามผลการเรยี นรทู ง้ั 6 ดาน ทกั ษะทางปญ ญา ทักษะความสัมพนั ธ สอน การประเมินผลตามผล
ระหวา งบคุ คลและความรับผิดชอบ ทกั ษะ การเรยี นรทู ้งั 6 ดาน
ในการวิเคราะหเ ชงิ ตวั เลข การสอ่ื สาร และ - ระดับความพึงพอใจของ
การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ ทกั ษะการ ผูเรยี นที่มตี อประสิทธิภาพ
ปฏิบตั ิทางวชิ าชีพ การสอนของอาจารยผ สู อน
ไมตาํ่ กวา 3.51 จากระดับ
คะแนนเต็ม 5

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๙

หมวดที่ 3
ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลกั สูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาค

การศึกษาปกติ มรี ะยะเวลาศึกษาไมน อยกวา 15 สปั ดาห
1.2 การจดั การศึกษาภาคฤดูรอน
- ไมม ี -
1.3 การเทียบเคยี งหนว ยกิตในระบบทวิภาค
- ไมมี –

2. การดําเนินการของหลักสูตร
2.1 ระยะเวลาของการดาํ เนนิ การเรียนการสอน
2.1.1 ภาคการศกึ ษาที่ 1 เดอื นมถิ นุ ายน – เดือนพฤศจกิ ายน
2.1.2 ภาคการศึกษาท่ี 2 เดือนธนั วาคม – เดอื นพฤษภาคม
2.1.3 ตลอดการศึกษาในหลักสูตรใชเวลาการศึกษาไดไมเกิน 6 ปการศึกษา และสําเร็จการศึกษาได

ไมกอ น 5 ภาคการศึกษาปกติ
2.2 คณุ สมบตั ิของผูเขาศกึ ษา
เปนผูส ําเรจ็ การศึกษาระดับชวงช้นั ท่ี 4 หรอื ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี

หรือเทียบเทา และคุณสมบตั ิอื่น ๆ ใหเปน ไปตามขอบงั คบั วิทยาลัยชมุ ชน
2.3 ปญหาของนกั ศกึ ษาแรกเขา
นกั ศกึ ษาท่สี มัครเขาเรียนในหลักสตู รที่ไมไดเรียนสายวิทยาศาสตร-คณติ ศาสตร ในระดับมธั ยมศกึ ษา

ตอนปลาย อาจมีพ้ืนฐานการเรียนรใู นหลกั สตู รสาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชนไมเพยี งพอ รวมทัง้ ทักษะความสามารถ
ในการใชภาษาอังกฤษและเทคโนโลยสี ารสนเทศของนักศึกษาไมเ พยี งพอ อกี ท้ังมีความแตกตางหลากหลายทาง
ชาตพิ ันธุ

2.4 กลยุทธใ นการดาํ เนินการเพอื่ แกไ ขปญหา ขอ 2.3
จัดใหมกี ารปรบั ความรพู ื้นฐานทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และ

คอมพิวเตอรเทคโนโลยีสารสนเทศ กอนเรมิ่ ภาคการศึกษาแรก

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๑๐

2.5 แผนการรบั นกั ศึกษาและผสู ําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป
จํานวนนกั ศึกษาแตละปก ารศึกษา
จาํ นวนนักศึกษา 2562 2563 2564 2565 2566

ชั้นปท่ี 1 40 40 40 40 40

ชน้ั ปที่ 2 - 40 40 40 40

ชัน้ ปท่ี 3 - - 40 40 40

รวม 40 80 120 120 120

จํานวนนกั ศกึ ษาทีค่ าดวา จะสาํ เร็จการศกึ ษา - - 30 30 30

2.6 งบประมาณตามแผน

หมวดรายจา ย 1/2562 2/2562 1/2563 2/2563 1/2564 2/2564 รวม
81,000 81,000 72,900 81,000 64,800 461,700
คา ตอบแทน 81,000 40,500 40,500 40,500 40,500 40,500 243,000
4,500 4,500 4,500 4,500 4,500 27,000
คา วัสดุ 40,500
126,000 126,000 117,900 126,000 109,800 731,700
คาบํารุงสถานที่ 4,500 4,200 4,200 3,930 4,200 3,660 24,390

(คา สาธารณูปโภค

,อินเตอรเน็ต)

รวมทั้งส้ิน 126,000

คาใชจายเฉล่ียตอคน 4,200

***หมายเหตุ คาใชจายตอ หัวตอ ป (สงู สดุ ) เปนเงนิ 8,400 บาท
2.7 ระบบการศกึ ษา

ระบบชัน้ เรยี น และส่ืออิเลก็ ทรอนกิ ส

2.8 การเทียบโอนหนวยกิต
เปนไปตามระเบียบสถาบันวิทยาลัยชุมชน วาดวยการเทียบโอนผลการเรียนของนักศึกษา

พ.ศ. 2560

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๑๑

3. หลักสูตรและอาจารยผสู อน

3.1 หลกั สูตร

3.1.1 จาํ นวนหนว ยกติ

หนวยกิตรวมตลอดหลกั สูตรไมนอ ยกวา 90 หนวยกติ

3.1.2 โครงสรา งของหลกั สูตร

โครงสรางหลักสูตร แบงเปนหมวดวิชาท่ีสอดคลองกับที่กําหนดไวในเกณฑมาตรฐาน

หลักสตู รระดบั อนปุ รญิ ญา พ.ศ. 2548 ดังน้ี

1. หมวดวชิ าศึกษาทั่วไป ไมน อ ยกวา 30 หนว ยกิต

2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมน อยกวา 57 หนวยกติ

2.1 กลมุ วชิ าพ้ืนฐานวชิ าชีพ จํานวน 18 หนว ยกิต

2.2 กลมุ วิชาชพี จาํ นวน 39 หนว ยกิต

2.2.1 วิชาบังคับ จํานวน 30 หนว ยกติ

2.2.2 วชิ าเลือก จาํ นวน 6 หนว ยกติ

2.2.3 วชิ าการฝกงาน จาํ นวน 3 หนวยกติ

3. หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมน อ ยกวา 3 หนวยกติ

3.1.3 รายวชิ า

3.1.3.1 การกาํ หนดรหสั วิชา

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป

การกําหนดรหสั วชิ าในหมวดศึกษาทว่ั ไปเปนไปตามหลักเกณฑท่ีสถาบันวิทยาลัยชุมชน

กําหนด ดังน้ี

ศท XX XX

ลาํ ดบั ทข่ี องรายวชิ าในหมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป

รหสั กลุมวิชา

01 กลุม วชิ าภาษา

02 กลุมวิชามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

03 กลุมวิชาวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตร และเทคโนโลยี

อกั ษรยอหมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป

หมวดวิชาเฉพาะ

รายวชิ าหมวดวิชาเฉพาะ มีหลกั เกณฑกาํ หนดรหัสวิชา ดงั นี้

สช XX XX

ลาํ ดบั ทขี่ องรายวิชาในสาขาวิชา

ลําดบั ทข่ี องสาขาวิชา

ช่อื สาขาวิชา

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๑๒

3.1.3.2 รายวิชาตามโครงสรา งหลักสูตร

1) หมวดวชิ าศกึ ษาทวั่ ไป ไมนอ ยกวา 30 หนว ยกิต

(1) กลมุ วิชาภาษา ไมน อยกวา 9 หนวยกิต

รหสั วิชา ชอื่ รายวิชา หนว ยกติ (ท-ป-ศ)

ศท 0101 ภาษาไทยเพือ่ การพัฒนาปญ ญา 3 (2-2-5)

GE 0101 Thai for Intellectual Development

ศท 0102 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สาร 1 3 (2-2-5)

GE 0102 English for Communication 1

ศท 0103 ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 2 3 (2-2-5)

GE 0103 English for Communication 2

ศท 0104 การพัฒนาทักษะการพูดและการเขียน 3 (2-2-5)

GE 0104 Development of Speaking and Writing Skills

ศท 0105 ปญ ญาจากวรรณกรรม 3 (2-2-5)

GE 0105 Wisdom through Literature

ศท 0106 ภาษาอังกฤษจากนนั ทนาการ 3 (2-2-5)

GE 0106 English through Recreation

ศท 0107 ภาษาประเทศเพ่ือนบา น 3 (2-2-5)

GE 0107 Neighboring Countries Language

(2) กลุมวิชามนุษยศาสตรแ ละสงั คมศาสตร ไมน อ ยกวา 9 หนว ยกติ

รหัสวชิ า ชอ่ื รายวชิ า หนวยกติ (ท-ป-ศ)

ศท 0201 จงั หวัดศึกษา 3 (2-2-5)

GE 0201 Province Studies

ศท 0202 ศิลปะและทกั ษะการใชช ีวิต 3 (2-2-5)

GE 0202 Arts and Skills for Self Development

ศท 0203 พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบตอสงั คม 3 (2-2-5)

GE 0203 Civics and Social Responsibility

ศท 0204 พลังของแผนดนิ 3 (2-2-5)

GE 0204 Vitality of the Land

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๑๓

(3)กลุมวิชาวิทยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยีไมนอยกวา 6หนวยกิต

รหัสวชิ า ช่ือรายวิชา หนวยกติ (ท-ป-ศ)

ศท 0301 การเขา ใจดิจทิ ลั 3(2-2-5)

GE 0301 Digital Literacy

ศท 0302 การคดิ สรางสรรคและการแกปญ หา 3 (2-2-5)

GE 0302 Creative Thinking and Problem Solving

ศท 0303 วิทยาศาสตรและส่ิงแวดลอ มเพือ่ ชีวติ 3 (2-2-5)

GE 0303 Science and Environment for Life

ศท 0304 โปรแกรมคอมพวิ เตอรส ําเรจ็ รูป 3 (2-2-5)

GE 0304 Computer Program

ศท 0305 คณติ ศาสตรใ นชีวติ ประจาํ วนั 3 (2-2-5)

GE 0305 Mathematics in Daily Life

แนวทางการจัดการเรียนการสอน

1) รายวชิ าบงั คบั จํานวน 24 หนวยกิต

กลุมวชิ าภาษา จํานวน 9 หนว ยกิต

รหสั วิชา ช่อื รายวิชา หนว ยกติ (ท-ป-ศ)

ศท 0101 ภาษาไทยเพ่ือการพัฒนาปญญา 3 (2-2-5)

GE 0101 Thai for Intellectual Development

ศท 0102 ภาษาอังกฤษเพือ่ การสอ่ื สาร 1 3 (2-2-5)

GE 0102 English for Communication 1

ศท 0103 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การสื่อสาร 2 3 (2-2-5)

GE 0103 English for Communication 2

กลมุ วิชามนุษยศาสตรและสงั คมศาสตร จาํ นวน 9 หนวยกิต

รหสั วชิ า ชือ่ รายวิชา หนวยกติ (ท-ป-ศ)

ศท 0201 จังหวดั ศึกษา 3 (2-2-5)

GE 0201 Province Studies

ศท 0202 ศลิ ปะและทักษะการใชชีวติ 3 (2-2-5)

GE 0202 Arts and Skills for Self Development

ศท 0203 พลเมืองกบั ความรบั ผิดชอบตอสังคม 3 (2-2-5)

GE 0203 Civics and Social Responsibility

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๑๔

กลุมวิชาวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรและเทคโนโลยี จํานวน 6 หนวยกติ

รหสั วชิ า ชอื่ รายวชิ า หนวยกติ (ท-ป-ศ)

ศท 0301 การเขา ใจดิจทิ ัล 3 (2-2-5)

GE 0301 Digital Literacy

ศท 0302 การคิดสรา งสรรคแ ละการแกป ญ หา 3 (2-2-5)

GE 0302 Creative Thinking and Problem Solving

2) วิชาเลอื ก 6 หนว ยกติ

ใหเลอื กเรียนรายวิชาจากกลมุ วชิ าภาษา มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร วิทยาศาสตรค ณิตศาสตร

และเทคโนโลยี

2) หมวดวชิ าเฉพาะ ไมนอ ยกวา 57 หนวยกติ

(1) กลมุ วชิ าพ้นื ฐานวิชาชพี จาํ นวน 18 หนว ยกติ

รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า หนวยกิต(ท-ป-ศ)

สช 0501 เคมีสาธารณสุข 3(2-2-5)

CH 0501 Public Health Chemistry

สช 0502 ชวี วทิ ยาสาธารณสขุ 3(2-2-5)

CH 0502 Public Health Biology

สช 0503 จุลชีววิทยาและปรสติ วิทยา 3(2-2-5)

CH 0503 Microbiology and Parasitology

สช 0504 มนุษยชวี เคมี 3(2-2-5)

CH 0504 Human Biochemistry

สช 0505 กายวภิ าคศาสตรแ ละสรีรวิทยาของมนษุ ย 3(2-2-5)

CH 0505 Human Anatomy and Physiology

สช 0506 เภสชั ศาสตรส าธารณสขุ 3(2-2-5)

CH 0506 Public Health Pharmacy

(2) กลุมวชิ าชีพ จํานวน 39 หนวยกิต

(2.1) วชิ าบังคับ ไมนอยกวา 30 หนวยกติ

รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า หนว ยกติ (ท-ป-ศ)

สช 0507 การสาธารณสุขและสาธารณสุขชุมชน 3(3-0-6)

CH 0507 Public Health and Community Health

สช 0508 ระบาดวทิ ยา 3(3-0-6)

CH 0508 Epidemiology

สช 0509 การปองกันและควบคมุ โรค 3(2-2-5)

CH 0509 Prevention and Disease Control

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๑๕

สช 0510 การบรกิ ารปฐมภมู ิ 1 3(2-2-5)

CH 0510 Primary Medical Care 1

สช 0511 การบรกิ ารปฐมภูมิ 2 3(1-4-4)

CH 0511 Primary Medical Care 2

สช 0512 การสงเสรมิ สขุ ภาพชมุ ชน 3(2-2-5)

CH 0512 Community Health Promotion

สช 0513 อนามัยการเจริญพนั ธุ 3(2-2-5)

CH 0513 Reproductive Health

สช 0514 อนามัยสิ่งแวดลอม 3(2-2-5)

CH 0514 Environmental Health

สช 0515 การฟนฟสู ภาพ 3(2-2-5)

CH 0515 Rehabilitation

สช 0516 การบรหิ ารงานสาธารณสขุ 3(3-0-6)

CH 0516 Public Health Administration

(2.2) วิชาเลอื ก จํานวน 6 หนว ยกติ

รหสั วิชา ชื่อรายวชิ า หนวยกติ (ท-ป-ศ)

สช 0517 สขุ ภาพจติ ชุมชน 3(3-0-6)

CH 0517 Community Mental Health

สช 0518 ทนั ตสาธารณสุข 3(3-0-6)

CH 0518 Dental Health

สช 0519 สขุ ศกึ ษาและพฤติกรรมสขุ ภาพ 3(3-0-6)

CH 0519 Health Education and Health Behavior

สช 0520 ชีวสถติ สิ าธารณสุข 3(3-0-6)

CH 0520 Public Health Biostatistics

สช 0521 โภชนาการชุมชน 3(3-0-6)

CH 0521 Community Nutrition

สช 0522 อาชวี อนามยั และความปลอดภยั 3(3-0-6)

CH 0522 Occupational Health and Safety

สช 0523 การดแู ลสุขภาพทีบ่ า นและชมุ ชน 3(3-0-6)

CH 0523 Community and Home Health Care

สช 0524 การพฒั นาสาธารณสุขชุมชน 3(2-2-5)

CH 0524 Community Health Development

สช 0525 การดูแลสขุ ภาพผสู ูงอายุ 3(2-2-5)

CH 0525 Health Care for Aging

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๑๖

สช 0526 การคมุ ครองผบู รโิ ภค 3(2-2-5)

CH 0526 Consumer Protection

(2.3) วิชาการฝก งาน จํานวน 3 หนว ยกติ

รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า นก.(ชวั่ โมง)

สช 0527 ฝกประสบการณ 3(300)

CH 0527 Field Experience in Community Health

3) หมวดวิชาเลือกเสรี

เลือกเรียนรายวิชาตาง ๆ จากหมวดวิชาศึกษาทั่วไปหรือหมวดวิชาเฉพาะในสาขาวิชา

เดียวกันหรือตางสาขาวิชาก็ได หรือเลือกจากหลักสูตรอ่ืนใดในระดับเดียวกันจากวิทยาลัยชุมชนอ่ืนๆ

โดยไมซ้ําซอนกับรายวิชาท่ีเรียนมาแลว สวนรายวิชาท่ีหลักสูตรระบุไมใหนับหนวยกิตในการขอจบหลักสูตรจะ

เลือกเรยี นเปนวชิ าเลอื กเสรไี มไ ด โดยไมน อยกวา 3 หนวยกิต

3.1.4 แผนการศกึ ษาในแตล ะชั้นป ช้ันปที่ 3 รวม
แผนการศกึ ษาของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน ตลอดหลกั สตู ร

จาํ นวนหนวยกิต

ชั้นปที่ 1 ชัน้ ปที่ 2

หมวดวิชา ภาคการ ึศกษา ่ีท 1
ภาคการ ึศกษา ี่ท 2
ภาคการ ึศกษา ี่ท 1
ภาคการ ึศกษา ่ีท 2
ภาคการ ึศกษา ี่ท 1
ภาคการ ึศกษา ่ีท 2

1. หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป 30 หนวยกติ 9993 30
2. หมวดวิชาเฉพาะดาน 57 หนว ยกิต
666 18
2.1 วชิ าพ้ืนฐานวิชาชพี 18 หนว ยกิต
12 15 3 30
2.2 วิชาชพี 39 หนว ยกิต 66
33
1) วชิ าชีพบงั คับ 30 หนว ยกิต 33

2) วิชาชีพเลอื ก 6 หนว ยกติ 15 15 15 15 15 15 90

3) วชิ าการฝกงาน 3 หนวยกติ
3. หมวดวิชาเลอื กเสรี 3 หนวยกิต

รวม

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๑๗

3.1.5 แผนการจดั การศกึ ษาตลอดหลักสตู ร

ปท่ี 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 1

หมวดวชิ า กลมุ วิชา รหัสรายวิชา ช่อื รายวชิ า หนว ยกติ
3(2-2-5)
ศกึ ษาทว่ั ไป วชิ าภาษา ศท 0101 ภาษาไทยเพ่อื การพัฒนาปญ ญา 3(2-2-5)

ศึกษาทว่ั ไป วิชาวิทยาศาสต ศท 0301 การเขา ใจดิจิทัล 3(x-x-x)
3(2-2-5)
ค ณิ ต ศ า ส ต ร แ ล 3(2-2-5)
15(x-x-x)
เทคโนโลยี

ศกึ ษาทั่วไป วิชาเลอื ก xxxx ศท xxxx xxxxxxxxx

วิชาเฉพาะ พน้ื ฐานวิชาชพี สช 0501 เคมสี าธารณสุข

วิชาเฉพาะ พื้นฐานวชิ าชพี สช 0502 ชีววิทยาสาธารณสุข

รวม

ปที่ 1 ภาคการศกึ ษาที่ 2

หมวดวชิ า กลุมวิชา รหัสรายวชิ า ชอ่ื รายวิชา หนวยกิต
ศกึ ษาทั่วไป 3(2-2-5)
ศกึ ษาท่วั ไป วชิ าภาษา ศท 0102 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสาร 1 3(2-2-5)

ศกึ ษาทั่วไป วิชามนุษยศาสต ศท 0201 จังหวัดศึกษา 3(x-x-x)
วิชาเฉพาะ 3(2-2-5)
วชิ าเฉพาะ และสงั คมศาสตร 3(2-2-5)
15(x-x-x)
หมวดวิชา วชิ าเลอื ก xxxx ศท xxxx xxxxxxxxx
ศึกษาทว่ั ไป หนว ยกิต
ศึกษาทั่วไป พนื้ ฐานวิชาชีพ สช 0504 มนุษยช วี เคมี 3(2-2-5)
3(2-2-5)
ศกึ ษาทั่วไป พน้ื ฐานวชิ าชีพ สช 0503 จลุ ชวี วทิ ยาและปรสติ วทิ ยา
3(2-2-2)
วิชาเฉพาะ รวม
3(2-2-5)
วชิ าเฉพาะ ปท ี่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
3(2-2-5)
กลุมวิชา รหสั รายวชิ า ช่ือรายวชิ า 15(x-x-x)

วชิ าภาษา ศท 0103 ภาษาองั กฤษเพ่ือการสอ่ื สาร 2

วิช าวิทย าศาส ต ศท 0302 การคดิ สรา งสรรคแ ละการแกป ญ หา

ค ณิ ต ศ า ส ต ร แ ล

เทคโนโลยี

วชิ ามนุษยศาสตร ศท 0203 พลเมืองกับความรับผิดชอบต

และสังคมศาสตร สงั คม

พืน้ ฐานวชิ าชีพ สช 0505 กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยาขอ

มนษุ ย

พน้ื ฐานวชิ าชพี สช 0506 เภสัชศาสตรสาธารณสขุ

รวม

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๑๘

ปท ่ี 2 ภาคการศกึ ษาท่ี 2

หมวดวิชา กลุมวิชา รหัสรายวชิ า ชื่อรายวชิ า หนวยกติ
ศกึ ษาทัว่ ไป 3(2-2-5)
วิชามนุษยศาสต ศท 0202 ศิลปะและทักษะการใชชีวติ
วิชาเฉพาะ 3(3-0-6)
และสงั คมศาสตร
วชิ าเฉพาะ 3(3-0-6)
วชิ าเฉพาะ วชิ าชีพบังคบั สช 0507 การสาธารณสุขและสาธารณสุ 3(2-2-5)
วชิ าเฉพาะ 3(2-2-5)
ชมุ ชน 15(12-6-27)

วิชาชพี บังคบั สช 0508 ระบาดวทิ ยา

วชิ าชีพบังคับ สช 0510 การบริการปฐมภมู ิ 1

วชิ าชีพบงั คับ สช 0512 การสงเสรมิ สุขภาพชุมชน

รวม

ปท่ี 3 ภาคการศึกษาท่ี 1

หมวดวิชา กลุมวิชา รหัสรายวิชา ชือ่ รายวชิ า หนวยกติ
วิชาเฉพาะ 3(2-2-5)
วิชาเฉพาะ วิชาชีพบังคับ สช 0514 อนามัยส่งิ แวดลอ ม 3(2-2-5)
วชิ าเฉพาะ 3(1-4-4)
วิชาเฉพาะ วิชาชพี บงั คบั สช 0509 การปอ งกันและควบคมุ โรค 3(2-2-5)
วิชาเฉพาะ 3(3-0-6)
วิชาชพี บังคบั สช 0511 การบริการปฐมภูมิ 2 15(10-10-25)

วชิ าชีพบงั คบั สช 0515 การฟน ฟสู ภาพ

วิชาชีพบงั คับ สช 0516 การบริหารงานสาธารณสขุ

รวม

ปท ี่ 3 ภาคการศกึ ษาท่ี 2

หมวดวิชา กลุม วิชา รหสั รายวชิ า ชือ่ รายวชิ า หนวยกติ
วชิ าเฉพาะ 3(2-2-5)
วิชาเฉพาะ วชิ าชพี บังคับ สช 0513 อนามัยการเจรญิ พนั ธุ 3(x-x-x)
วิชาเฉพาะ 3(x-x-x)
วิชาเลอื กเสรี วิชาชีพเลือก สช xxxx xxxxxx 3(x-x-x)
วชิ าเฉพาะ 3(300)
วิชาชพี เลือก สช xxxx xxxxxx 15(x-x-x)

เลือกเสรี xx xxxx xxxxxx

วิชาชีพการฝกงาน สช 0527 ฝกประสบการณ

รวม

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๑๙

3.1.6 คําอธิบายรายวิชา

1) หมวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป 3 (2-2-5)
กลุมวิชาภาษา

ศท 0101 ภาษาไทยเพ่อื การพฒั นาปญ ญา

GE 0101 Thai for Intellectual Development

การพัฒนาทักษะการใชภาษาไทยในการสื่อสาร ทักษะการฟง การพูด การอาน และการ

เขียน ทักษะการส่ือสาร การจับใจความสําคัญในการอานและการฟง การมีวิจารณญาน วิเคราะห ตีความและ

ประเมินคา การฟง เชิงลกึ สุนทรยี สนทนา ความมีสุนทรียภาพทางภาษา การใชภาษาไทยในการแสวงหาความรู

และสรางสรรค

ศท 0102 ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอื่ สาร 1 3 (2-2-5)

GE 0102 English for Communication 1

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเนนคําศัพท สํานวน โครงสรางพื้นฐาน และ
วัฒนธรรมของเจา ของภาษา เพอ่ื ติดตอสอื่ สารในชวี ติ ประจําวัน

ศท 0103 ภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สาร 2 3 (2-2-5)

GE 0103 English for Communication 2

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเนนคําศัพท สํานวน โครงสรางระดับกลาง และ

วฒั นธรรมของเจาของภาษา เพ่อื ตดิ ตอ ส่อื สารในชีวิตประจาํ วนั การแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และการทาํ งาน

หมายเหตุ : ตอ งผา นรายวชิ าภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร 1 มากอ น

ศท 0104 การพฒั นาทักษะการพดู และการเขียน 3 (2-2-5)
GE 0104
Development of Speaking and Writing Skills

ความสําคัญของทักษะการส่ือสาร การพูดอยางเปนทางการ การเลาเรื่องเพื่อสรางแรงบันดาลใจ การ
นาํ เสนอความคดิ เหน็ อยางเปนระบบ การนําเสนอผลงาน การเขียนความเรียง การเขียนรายงานการศึกษาคนควา
และการทํางาน และการเขียนสรปุ ความ ฝกปฏิบตั ิการพฒั นาทักษะการพดู และการเขยี น

ศท 0105 ปญ ญาจากวรรณกรรม 3 (2-2-5)

GE 0105 Wisdom through Literature

วรรณกรรม คุณคา และสุนทรียภาพจากวรรณกรรม การอาน การคิดวิเคราะห ประเมินคา

โลกทศั น คา นิยม ความเชื่อ เพอ่ื เช่อื มโยงมนษุ ยก ับผลงานสรา งสรรคด า นวรรณกรรม จากวรรณกรรมคดั สรร

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน หลกั สูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๒๐

ศท 0106 ภาษาอังกฤษจากนนั ทนาการ 3 (2-2-5)

GE 0106 English through Recreation

ฝกทักษะการฟงและการพูด โดยใชกิจกรรรมนันทนาการเปนส่ือชวยในการถายทอดความหมาย

การนําคําศพั ท สาํ นวน ประโยค และการออกเสียง สามารถส่ือความคดิ และความหมายไดถ ูกตอง

ศท 0107 ภาษาประเทศเพ่อื นบา น 3 (2-2-5)

GE 0107 Neighboring Countries Languages

ทักษะการฟง พูด อาน และเขียน คําศัพทและสํานวนที่ใชสื่อสารในชีวิตประจําวัน ความเขาใจ ใน

วัฒนธรรมของเจาของภาษา (เลือกภาษาประเทศเพื่อนบานภาษาใดภาษาหน่ึงที่ใกลกับที่ต้ังของวิทยาลัยชุมชน

ภาษาเขมร (Khmer Language) ภาษาจีน (Chinese) ภาษาลาว (Laotian) ภาษามาเลเซีย (Bahasa Malaysia)

หรอื ภาษาพมา (Burmese))

กลมุ วิชามนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร

ศท 0201 จังหวัดศกึ ษา 3 (2-2-5)

GE 0201 Province Studies

บริบทชุมชนและจังหวัดของตนเอง ความเปนชุมชนและความเขมแข็งของชุมชน การศึกษาชุมชน

เครือ่ งมอื สาํ หรับปฏิบัตกิ ารเรียนรชู ุมชนในภาคสนาม ปญหาและแนวทางการพัฒนาชุมชน และการมีสวนรวม ใน

การพัฒนาชุมชน

ศท 0202 ศลิ ปะและทกั ษะการใชชวี ิต 3 (2-2-5)

GE 0202 Arts and Skills for Self Development

การวางจดุ มงุ หมายและการจัดการชีวิต ปญญาทางอารมณ หลักธรรมที่ใชในการดําเนินชีวิต ภาวะ

ผูนํา การรจู กั ใชเ งนิ การพัฒนาตนและการเห็นคณุ คาแหง ตน สุนทรียภาพของชวี ติ การเรยี นรูบุคคล ในชุมชน

ทเ่ี ปน แบบอยางการดําเนนิ ชวี ติ และดํารงชีวติ อยา งมคี วามสขุ

ศท 0203 พลเมืองกับความรับผดิ ชอบตอสังคม 3 (2-2-5)

GE 0203 Civics and Social Responsibility

ความเปนพลเมือง สิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรม หนาท่ีความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม คุณคา

และเอกลักษณที่ดีงามอยางไทย การมีจิตอาสา และสํานึกสาธารณะ การมีสวนรวมในระบบประชาธิปไตย

วิเคราะหปญหา ผลกระทบที่เกิดข้ึนกับสังคม และเสนอแนวทางแกปญหาในสังคมอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม

การจัดทําโครงการในบทบาทหนาท่ขี องพลเมือง

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๒๑

ศท 0204 พลังของแผน ดนิ 3 (2-2-5)

GE 0204 Vitality of the Land

ความเขาใจเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (ร.9)

หลักการทรงงาน หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ การดําเนินชีวิตตาม

หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง กรณศี ึกษาหรอื การจดั ทําโครงงาน

กลมุ วิชาวทิ ยาศาสตร คณิตศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ศท 0301 การเขา ใจดจิ ิทัล 3 (2-2-5)

GE 0301 Digital Literacy

ความเขาใจและการใชเทคโนโลยีดิจิทัล การสื่อสารในยุคดิจิทัล การทําธุรกรรมออนไลน สังคม

ออนไลน การเรียนรูและการสืบคนจากส่ือดิจิทัล การวิเคราะหและรูเทาทันสื่อ นําเสนอในรูปแบบดิจิทัล

ผลกระทบ ความปลอดภัย คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และกฎหมาย ที่เก่ียวขอ งกบั การใชสื่อและเทคโนโลยดี ิจทิ ัล

ศท 0302 การคิดสรา งสรรคและการแกป ญหา 3 (2-2-5)

GE 0302 Creative Thinking and Problem Solving

การคิดสรางสรรค เทคนิค เครื่องมือ และกระบวนการคิดสรางสรรค การฝกคิดสรางสรรค วิธีการ

แกป ญหา กระบวนการฝกการคดิ แกป ญ หา

ศท 0303 วทิ ยาศาสตรแ ละสิ่งแวดลอ มเพื่อชีวติ 3 (2-2-5)

GE 0303 Science and Environment for Life

กระบวนการคิดและการแกปญหาทางวิทยาศาสตร มนุษยและสิ่งแวดลอม ผลกระทบจากปญหา

สิง่ แวดลอม วิกฤตพลังงาน ภาวะโลกรอ น และสารมลพษิ ในสิ่งแวดลอ ม การอนุรักษส งิ่ แวดลอ มอยางยั่งยนื

ศท 0304 โปรแกรมคอมพิวเตอรส ําเร็จรูป 3 (2-2-5)

GE 0304 Computer Program

โปรแกรมสําเร็จรูปในการทํางาน การใชงานและบํารุงรักษาคอมพิวเตอร ฝกโปรแกรมประมวล

ผลคํา ตารางคํานวณ และการนําเสนองาน ในการพิมพและจัดทํารูปแบบเอกสาร การแสดงผลดวยกราฟ

การจดั การฐานขอ มูลเบอื้ งตน การสรางการนาํ เสนองาน การทํามัลตมิ ีเดยี

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๒๒

ศท 0305 คณติ ศาสตรใ นชีวติ ประจาํ วัน 3 (2-2-5)

GE 0305 Mathematics in Daily Life

วิธีคดิ และกระบวนการทางคณติ ศาสตร การใหเ หตผุ ลแบบนิรนัยและอปุ นัย การวดั ในมาตราวัดตา งๆ การหาพื้นท่ี

ผวิ และปรมิ าตร อัตราสวนและรอยละ การคํานวณภาษี กาํ ไร คา เสื่อมราคา ดอกเบยี้ และสว นลด ขัน้ ตอนในการ

สํารวจขอ มลู วิธีการเกบ็ รวบรวมขอ มลู การวเิ คราะหขอ มูลและการนําเสนอขอมลู เบื้องตน ความนา จะเปน และ

การตดั สินใจเชงิ สถิตเิ บ้ืองตน

2) หมวดวิชาเฉพาะ

สช 0501 เคมสี าธารณสุข 3(2-2-5)

CH 0501 Public Health Chemistry

คุณสมบัติของสาร โครงสรางอะตอม ตารางธาตุ พันธเคมี มวลสารสัมพันธ คุณสมบัติของ

กาซ ของแข็ง ของเหลว สารละลาย สมดุลเคมี กรด เบส ปฏิกิริยาอ็อกซิเดชันรีดักชัน สารประกอบ

ไฮโดรคารบอนและอนุพันธ เคมีอินทรีย เคมีสิ่งแวดลอม สารเคมีในชีวิตประจําวัน และการใชประโยชน ความ

ปลอดภัย ในหองปฏิบัติการทางเคมี การใชอุปกรณเคร่ืองมือพื้นฐานปฏิบัติการท่ีสอดคลองกับทฤษฎีและ

ผลกระทบของการใชสารเคมีตอมนุษยแ ละสง่ิ แวดลอ ม

สช 0502 ชวี วิทยาสาธารณสขุ 3(2-2-5)

CH 0502 Public Health Biology

หลักการตางๆ ของส่ิงมีชีวิต องคประกอบของเซลลเนื้อเย่ือ หลักเบื้องตนของเมตาบอลิซึมใน

เซลล และส่งิ มีชีวติ อทิ ธิพลของชีวเคมีตอเซลล การสืบพันธุ และการเจริญเติบโต การหายใจและการลําเลียงสาร

ในรางกาย ขบวนการตอบสนองและการประสานงานภายในของรางกายทั้งระบบประสาทและระบบตอมไรทอ

หลักพันธุกรรม ความผิดปกติของระบบประสาท ระบบตอมไรทอ ถายทอดทางพันธุกรรมที่มีความเก่ียวเน่ืองกับ

ชีววิทยาสาธารณสุข กําเนิดและวิวัฒนาการของส่ิงมีชีวิต การจัดหมวดหมูของส่ิงมีชีวิต นิเวศวิทยา

และฝกปฏิบตั กิ ารทส่ี อดคลอ งกบั ทฤษฎี

สช 0503 จุลชีววทิ ยาและปรสิตวิทยา 3(2-2-5)

CH 0503 Microbiology and Parasitology

ลักษณะของจุลชีววิทยา การจําแนก ประเภท สัณฐาณวิทยา สรีรวิทยา คุณสมบัติที่สําคัญ การ

เจริญเติบโต วัฏจักรชีวิตและพันธุศาสตร ของจุลินทรียและปรสิต การควบคุมจุลินทรีย จุลชีวทางอาหาร การ

สุขาภิบาล โรคติดตอ และภมู ติ านทาน ความสัมพนั ธของปรสิตกับการกอ ใหเ กิดโรคหรอื โทษตอ มนุษย การรวบรวม

และเก็บตัวอยางปรสิต เทคนิคพื้นฐานและเคร่ืองมือในหองปฏิบัติการจุลชีววิทยา เทคนิคประยุกตในงานจุล

ชวี วิทยาและศึกษาระบบภมู คิ ุม กนั ของรา งกายในการตอตานการตดิ เชอ้ื จลุ ชีพ หรอื ปรสติ

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๒๓

สช 0504 มนุษยช วี เคมี 3(2-2-5)

CH 0504 Human Biochemistry

ลักษณะโมเลกุลของสาร ในส่ิงมีชีวิตพรอมทั้งสมบัติ บทบาทและหนาท่ีของเซลล และ

องคประกอบของเซลล กรด เบส บัฟเฟอรในเซลล โปรตีน เอนไซม คารโบไฮเดรต ลิปด วิตามิน ฮอรโมน

การยอยและการดูดซึมอาหาร กระบวนการและสารจําเปนท่ีเกี่ยวของในเมตาบอลิซึมของสารอาหาร (โปรตีน

คารโบไฮเดรต ลิปด และกรดนิวคลีอิก) ในรางกายภาวะปกติและในบางโรคท่ีพบบอย ฝกการนําความรูไปใชใน

การปอ งกนั วินจิ ฉัย และพยากรณโรคทีพ่ บบอย

สช 0505 กายวิภาคศาสตรและสรีรวทิ ยาของมนษุ ย 3(2-2-5)

CH 0505 Human Anatomy and Physiology

แนวคิดความหมาย ความสําคญั ของกายวภิ าคและสรีรวิทยา ความรเู บื้องตน และคําศัพททางกาย

วิภาคและสรีรวิทยา โครงสรางรางกายมนุษย ลักษณะ ตําแหนง และหนาท่ีของอวัยวะระบบตาง ๆ ของรางกาย

ระบบโครงกระดูก ระบบกลามเน้ือ ระบบประสาท ระบบไหลเวียน ระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบ

ขับถายปสสาวะ ระบบสืบพันธุ ระบบตอมไรทอ และอวัยวะรับสัมผัสพิเศษ หนาท่ีและการทํางานของรางกาย

มนุษยที่ทําใหชีวิตดํารงอยูไดในภาวะปกติในวัยตาง ๆ การทํางานของเซลล เนื้อเย่ือ และอวัยวะของระบบตาง ๆ

ของรา งกายซึ่งทาํ หนา ทปี ระสานกนั เพื่อใหรา งกายอยูในสภาวะสมดลุ

สช 0506 เภสชั ศาสตรสาธารณสุข 3(2-2-5)

CH 0506 Public Health Pharmacy

หลักการพ้ืนฐานทางเภสัชวิทยาท่ีใชในการสงเสริม ปองกัน และการบําบัดโรคเบ้ืองตน กระบวนการ

ดูดซึมยา การเปล่ียนแปลงยา การกระจายตัวของยา การขับถายยา การออกฤทธ์ิของยาตอระบบตาง ๆ ของรางกาย

หลักการใชยา การคํานวณขนาดของยา การแบงกลุมยา การประยุกตใชยาในการรักษาโรคตาง ๆ อันตรายและ

อาการไมพ งึ ประสงคจ ากการใชยา ยาสามญั ประจําบา น การใชยาสมุนไพร การใชยาอยางสมเหตุผล บัญชียาหลัก

แหงชาติ กฎหมายท่เี กี่ยวขอ งกับยา การสบื คน ขอ มลู ยาจากฐานขอมูลตาง ๆ

สช 0507 การสาธารณสขุ และสาธารณสุขชุมชน 3(3-0-6)

CH 0507 Public Health and Community Health

ความหมาย ประวัติ ความเปนมา หลักการ การดําเนินงานสาธารณสุข สาธารณสุขชุมชนและ

สาธารณสุขมูลฐาน โครงสรางระบบบริการและบทบาทการสาธารณสุขในประเทศไทย ปญหาสาธารณสุขของ

ประเทศและทองถิ่น แนวคิดและรูปแบบของการบริการสาธารณสุข แผนพัฒนาสาธารณสุขและนวัตกรรม

สาธารณสุขของประเทศ การนําความรูทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามาใชในงานสาธารณสุข แนวคิดและ

หลักการทํางานในชุมชนท่ีเกี่ยวของกับความรวมมือของภาคสวนตาง ๆ การสงเสริมบทบาทชุมชนในการพัฒนา

สุขภาพของประชาชน การพัฒนาทักษะท่ีจําเปนสําหรับการทํางานในชุมชน ทั้งในดานความเปนผูนํา

การวเิ คราะหชุมชน การเขาถึงชมุ ชน การปรับใชเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมในชมุ ชนและการนําภูมิปญญาทองถ่ินมา

ใชเพื่อการพัฒนาสาธารณสขุ ที่ยงั่ ยืนของชุมชน

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๒๔

สช 0508 ระบาดวิทยา 3(3-0-6)

CH 0508 Epidemiology

แนวคิดหลักการและวิธีทางระบาดวิทยา ความสําคัญของระบาดวิทยาตองานดานสาธารณสุข

ธรรมชาติของการเกิดโรค หลักการปองกันและควบคุมโรค ลักษณะของบุคคล สถานท่ี และเวลา การวัดการปวย

และการตาย ดัชนีอนามัย แนวคิดเกี่ยวกบั ความสัมพันธและความสัมพนั ธทางสาเหตุ ระบาดวิทยาเกี่ยวกับโรคติดเช้ือ

และโรคไรเช้ือ การตรวจจับการระบาดของโรค การเฝาระวังโรคและการเฝาระวังทางระบาดวิทยา

และการสอบสวนโรคทางระบาดวิทยา โดยใชค วามรทู างระบาดวิทยาเพื่อประโยชนในการควบคุมปองกันโรคและ

ความผดิ พลาดทีพ่ บบอ ยในทางระบาดวทิ ยา

สช 0509 การปองกนั และควบคมุ โรค 3(2-2-5)

CH 0509 Prevention and Disease Control

แนวคิด ความหมายและคําจํากัดความเกี่ยวกับการเกิดโรค ธรรมชาติของโรคติดตอและโรคไม

ติดตอ ปจจัยและองคประกอบสําคัญของการเกิดโรค กระบวนการเกิดโรคติดตอและไมติดตอ โรคท่ียังไมทราบ

สาเหตุและโรคประจําถ่ิน ลักษณะชุมชนและสังคมที่กอใหเกิดโรคติดตอและโรคไมติดตอ การระบาดของโรค

ผลกระทบของโรคที่มีตอสุขภาพกายและจิตใจ หลักและวิธีการการปองกันและควบคุมโรคและพาหะนําโรค

ภูมิคุมกันโรคและการสรางเสริมภูมิคุมกันโรค การควบคุมโรคระบาด พระราชบัญญัติโรคติดตอ การปองกันโรค

อุบัติใหม โรคอุบัติซํ้า การตอบสนองภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข แนวคิด หลักการการปองกันและควบคุมการ

แพรกระจายเช้ือในสถานพยาบาลและชุมชน เทคนิคการทําใหปราศจากเช้ือรวมถึงยุทธศาสตรในการวางแผน

ปอ งกนั โรคตาง ๆ

สช 0510 การบรกิ ารปฐมภมู ิ 1 3(2-2-5)

CH 0510 Primary Medical Care 1

แนวคิดหลักการ วิธีการปฏิบัติ การดูแลผูปวยปฐมภูมิ การใหการปฐมพยาบาลเบ้ืองตนในภาวะ

ตาง ๆ การชวยเหลือผูปวยในภาวะฉุกเฉินที่พบบอยในชุมชน การวัดและการประเมินสัญญาณชีพ การทํา

หัตถการเบ้ืองตนตามขอบเขตท่ีกระทรวงสาธารณสุขกําหนด การใชเทคนิคการทําใหปราศจากเช้ือและการ

ปอ งกัน การแพรกระจายเชื้อในสถานพยาบาลระดับปฐมภูมิและชุมชน ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการประเมิน

สุขภาพเพื่อการวินิจฉยั แยกโรคและการใชยาเพื่อการบําบัดโรคเบื้องตนตามขอบเขตกําหนด การสงตอผูปวย การ

ใหค ําแนะนาํ ดานสขุ ภาพและการตดิ ตามดูแลผูป ว ยบนพืน้ ฐานการดูแลรักษาแบบองครวม

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชุมชน หลกั สูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๒๕

สช 0511 การบริการปฐมภูมิ 2 3(1-4-4)

CH 0511 Primary Medical Care 2

ฝก ปฏบิ ัตกิ ารบริการปฐมภูมิแบบองครวมดวยแนวคิดเวชศาสตรครอบครวั ผสมผสาน การซัก

ประวัติ การตรวจรางกาย การสงตรวจทางหองปฏิบัติการและการแปรผล การตรวจทางรังสีวิทยา การวินิจฉัยโรค

การจายยา และเวชภัณฑที่ไมใชยา และใหการบําบัดโรคเบื้องตนอยางเหมาะสมตามขอบเขตวิชาชีพ การชวยฟน

คืนชีพขั้นพ้ืนฐาน การดูแลตอเน่ืองถึงที่บานและชุมชน การสงตอเพ่ือการรักษาอยางเหมาะสมในกลุมโรค

ความเจ็บปวยและภาวะฉุกเฉินเรงดวนที่พบบอยในชุมชนท้ังดานอายุรกรรม (โรคติดตอและโรคไมติดตอเร้ือรัง)

กุมารเวชกรรม สูตินรีเวชกรรม ศัลยกรรม ทันตกรรม และโรคหรือปญหาอ่ืน ๆ ท่ีพบบอยในชุมชนและ

นโยบายของรฐั บาล

หมายเหตุ ตองลงทะเบียนเรียนรายวิชา สช 0510 การบริการปฐมภมู ิ 1 มากอ น

สช 0512 การสงเสริมสขุ ภาพชุมชน 3(2-2-5)

CH 0512 Community Health Promotion

แนวคิด ทฤษฎี ความหมายและความสําคัญของสุขภาพ แนวคิดเกี่ยวกับสุขภาพ แนวคิด

หลักการ และความสําคัญของการสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค กฎบัตรเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ นโยบาย

การสงเสริมสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ การสงเสริมสุขภาพแบบองครวม

สุขศกึ ษาและการสรา งเสรมิ สุขภาพ สขุ ศกึ ษาเพอื่ การปรับเปล่ียนพฤตกิ รรมสุขภาพ การประเมินภาวะสุขภาพและ

ปจจัยเสี่ยง กลวิธีในการสงเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับเพศ วัยและสภาวะของรางกาย วิถีชีวิตเพ่ือสุขภาพ

การจัดกิจกรรมสงเสริมสุขภาพในโรงเรียน ชุมชน วัดหรือสถานประกอบการใหเหมาะสมกับเพศและวัย

การฝกทักษะดาน การใหบริการในคลินิกสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค คลินิกเด็กดี คลินิกโภชนาการ

การเสรมิ ภูมิคุมกันโรค การใหคําปรึกษาดานสุขภาพ อนามัยโรงเรียน ปญหาโภชนาการ การดูแลผูสูงอายุ และ

การวินจิ ฉัยชุมชนเพอ่ื การดูแลสขุ ภาพแบบองครวมแกบุคคล ครอบครวั และชุมชน ในสถานพยาบาลและชมุ ชน

สช 0513 อนามยั การเจริญพันธุ 3(2-2-5)

CH 0513 Reproductive Health

แนวคิดและฝกทักษะการดูแลการอนามัยเจริญพันธุทั้ง 10 องคประกอบคือ การวางแผน

ครอบครัว อนามัยแมและเด็ก โรคเอดส มะเร็งในระบบสืบพันธุ โรคติดเช้ือในระบบสืบพันธุ การแทงและ

ภาวะแทรกซอน ภาวะมีบุตรยาก เพศศึกษา อนามัยวัยรุน ภาวะหลังวัยเจริญพันธุและผูสูงอายุ ศึกษา

ความสัมพันธและผลกระทบของอนามัยการเจริญพันธุ สุขวิทยาทางเพศ การดูแลสุขอนามัยของสตรีในระยะ

ต้ังครรภ ระยะคลอดและ หลังคลอด ภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวชศาสตร การเลี้ยงลูกดวยนมแม ความรู

พนื้ ฐานเก่ยี วกบั การเล้ียงดูทารก การแกปญหาสุขภาพของมารดาและทารก การสงเสริมสุขภาพของครอบครัว

ทีม่ ีบตุ รรวมทงั้ การจดั การครอบครวั ในชุมชนใหเขมแข็ง

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๒๖

สช 0514 อนามยั ส่ิงแวดลอม 3(2-2-5)

CH 0514 Environmental Health

แนวคิด หลักการและความหมายและความสําคัญของอนามัยสิ่งแวดลอม นโยบายและกฎหมาย

ดา นสขุ าภบิ าลและอนามัยสิ่งแวดลอ ม การจดั การคุณภาพน้าํ การจัดการขยะมูลฝอยและส่ิงปฏิกูล และสุขาภิบาล

อาหารและน้ําด่ืมน้ําใช การควบคุมกําจัดแมลงและสัตวนําโรค การสุขาภิบาลที่พักอาศัยและอาคารสถานท่ี

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การควบคุมมลพิษทางอากาศ การควบคุมเหตุรําคาญ มลพิษสิ่งแวดลอม

การสุขาภิบาลในภาวะฉุกเฉิน และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดลอม การวิเคราะหผลกระทบดานสิ่งแวดลอม

และสุขภาพ

สช 0515 การฟนฟสู ภาพ 3(2-2-5)

CH 0515 Rehabilitation

แนวคิด หลักการและสถานการณเจ็บปวย ภาวะเสี่ยงตอความพิการ การปองกันความพิการ

ความหมาย ความสําคัญและรูปแบบการฟนฟูสภาพ ผูปวย การดูแลสุขภาพแบบองครวม ผสมผสาน

กายภาพบาํ บัด กิจกรรมบําบดั การฟนฟูสภาพผูปวยในสถานบริการสุขภาพ และการฟนฟูสภาพผูปวยท่ีบานและ

ชุมชน ระบบ การฟนฟูสมรรถภาพและการสงตอ การฟนฟูสมรรถภาพโดยชุมชน กฎหมายและพระราชบัญญัติ

การฟนฟูสมรรถภาพคนพิการ รวมท้งั การเลอื กวิธีการออกกําลงั กายและการกีฬาทเี่ หมาะสมกับบคุ คล

สช 0516 การบรหิ ารงานสาธารณสขุ 3(3-0-6)

CH 0516 Public Health Administration

แนวคิด ปรัชญา และหลักการที่ใชในการบริหารงานสาธารณสุข การวางแผน การจัดองคการ การจัด

บุคลากร การอาํ นวยการและควบคุมงาน ภาวะผูนํา กระบวนการวางแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการ

การติดตามประเมินผล โครงสรางการบริหารงานสาธารณสุข การใชเทคนิคเพื่อการบริหารสาธารณสุข

โดยเนนการทํางาน เปนทีม การมีสวนรวมของชุมชน นวัตกรรมดานการบริหารสาธารณสุข การประกัน

สุขภาพ และการประกันคุณภาพการบริหารจัดการ ความหมายและความสําคัญ องคประกอบ

ขอบเขต และกลไกลการควบคุม จรรยาวิชาชีพดานสาธารณสุข รวมท้ังศึกษากฎหมาย พระราชบัญญัติ

พระราชกําหนด และกฎกระทรวงสาธารณสุขโดยท่ัว ๆ ไปท่ีใชในการบริหารงานสาธารณสุข การชันสูตร

บาดแผล รายงานชันสูตรบาดแผลเบื้องตนและรายงานชันสูตรพลิกศพเบื้องตน การเปนพยานทาง

การแพทย

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๒๗

สช 0517 สขุ ภาพจติ ชุมชน 3(3-0-6)

CH 0517 Community Mental Health

ความหมาย แนวคิดและความสําคัญของสุขภาพจิต การวางรากฐานและพัฒนาการของ

สขุ ภาพจติ ลักษณะของการมสี ุขภาพจิตดี ลักษณะความผิดปกติทางสุขภาพจิต ทฤษฎีบุคลิกภาพ พัฒนาการทาง

บุคลิกภาพ พัฒนาการทางดานอารมณ จิตใจและสังคม การเลี้ยงดูที่ถูกตอง การปรับตัวเขากับสิ่งแวดลอม

การปรับตัวทางเพศ บทบาทของครอบครัว โรงเรียน ชุมชนที่มีตอสุขภาพจิต ประเภทของความผิดปกติทางจิต

ปญหาสุขภาพ สาเหตุและแนวทางการปองกันและแกไข การสงเสริมสุขภาพจิตรายบุคคล ครอบครัว และชุมชน

การปองกันและสงเสริมสุขภาพจิต การประเมินสุขภาพจิต การใหบริการงานสุขภาพจิตผสมผสานกับงานบริการ

ชุมชน

สช 0518 ทันตสาธารณสขุ 3(3-0-6)

CH 0518 Dental Health

ความสําคัญของสุขภาพปากและฟน ความรูเก่ียวกับอวัยวะในชองปาก พยาธิสภาพ โรคท่ีพบ

บอยในชอ งปาก การตรวจวินิจฉัย การปองกนั และรักษาโรคในชองปาก ความผิดปกติเกี่ยวกับฟน การดูแลอนามัย

ในชองปาก การบําบัดฉุกเฉิน ทันตะระบาดวิทยา ทันตกรรมปองกัน ทันตสุขศึกษา ทันตสาธารณสุขในงาน

สาธารณสุขมูลฐาน แนวทางการดําเนินงานทันตสาธารณสุขตามแผนพัฒนาการทันตสาธารณสุขแหงชาติและ

งานตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข

สช 0519 สุขศกึ ษาและพฤติกรรมสุขภาพ 3(3-0-6)

CH 0519 Health Education and Health Behavior

ความหมาย แนวคิด ขอบขายและหลักการสุขศึกษาและ แนวคิดพฤติกรรมศาสตรสุขศึกษาและ

การสรางเสริมสุขภาพในระบบบริการสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพและ ปจจัยของภาวะเสี่ยงตอสุขภาพและภาวะ

สุขภาพ กลวิธีทางสุขศึกษา การวางแผนงานโครงการสรางเสริมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ระดับบุคคล

ครอบครวั และชมุ ชน

สช 0520 ชีวสถติ ิสาธารณสุข 3(3-0-6)

CH 0520 Public Health Biostatistics

หลกั เบอ้ื งตนและประโยชนข องสถิติ ความสาํ คัญของสถติ ิ การรวบรวมจัดเก็บขอมูล วิธีวิเคราะห

ขอมูลเบ้ืองตนทางสาธารณสุข การแจกแจงขอมูล การนําเสนอขอมูลสาธารณสุขในรูปแบบตางๆ สถิติชีพ

ตารางชีพ การเปรียบเทียบขอมูลตาง ๆ ประโยชนของตารางชีพและสถิติตัวชี้วัดที่สําคัญในงานสาธารณสุข

การทดสอบสมมติฐานดวยวิธีการ ทางสถิติและการแปรผล การนําขอมูลที่จําเปนมาใชในงานสาธารณสุข

การจัดทํา เวชระเบียน รายงานและสถิติทางการแพทยแ ละสาธารณสุข

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๒๘

สช 0521 โภชนาการชมุ ชน 3(3-0-6)

CH 0521 Community Nutrition

ความสําคัญของโภชนาการตอสุขภาพ ความตองการอาหาร และสารอาหารของบุคคลวัยตาง ๆ

ปญหาโภชนาการในอดีต ปจจุบัน และแนวโนมในอนาคต ปญหาโภชนาการของบุคคลและชุมชน การหา

ความสัมพันธของปญหาและสาเหตุของปญหาโภชนาการ ความเชื่อและวัฒนธรรมการบริโภคอาหาร พิษภัยของ

อาหาร ผลกระทบของปญหาโภชนาการ แนวทางการสงเสริมแกไขปญหาโภชนาการชุมชน การใหโภชนศึกษา

เพ่อื ปรับพฤติกรรมบริโภค

สช 0522 อาชวี อนามัยและความปลอดภยั 3(3-0-6)

CH 0522 Occupational Health and Safety

ความหมายและความสําคัญของอาชีวอนามัย โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ อุบัติภัยอันเกิด

จากการประกอบอาชีพ สภาวะสิ่งแวดลอมและสุขภาพการทํางาน ท่ีอาจกอใหเกิดอันตรายตอสุขภาพของ

คนทํางานในโรงงานอตุ สาหกรรมและการเกษตรกรรม พิษวิทยาและกายศาสตร การสุขาภิบาลโรงงานและสถาน

ประกอบการ หลักการและวิธีการประเมินความเส่ียงท่ีเกิดจากสภาวะแวดลอมในโรงงานอุตสาหกรรมหรือฟารม

หลกั การเดินสาํ รวจสถานประกอบการ ระบบสวัสดิภาพในประชากรวัยทํางาน การจัดบริการอาชีวอนามัยในชุมชน

อาชีวอนามัยในโรงพยาบาลและสถานบริการสุขภาพ หนวยงานและกฎหมายท่ีเก่ียวของกับงานอาชีวอนามัยและ

ความปลอดภยั

สช 0523 การดูแลสขุ ภาพที่บานและชุมชน 3(3-0-6)

CH 0523 Community and Home Health Care

ความหมายความสําคัญและความจําเปนของการดูแลสุขภาพท่ีบานและชุมชน การประเมิน

ปญหาสุขภาพและความตองการของครอบครัว การวางแผนเพื่อชวยเหลือครอบครัว การดูแลผูปวยที่บาน

รูปแบบของการดูแลผูปวยท่ีบาน การเยี่ยมบาน บทบาทหนาท่ีและกลวิธีของผูดูแล ปจจัยเส่ียงและผลกระทบ

การดูแลและการปอ งกนั แนวทางการสงตอ ผปู ว ยโรคเรื้อรัง คําแนะนํา ข้ันตอนหรือวิธีการ อุปกรณทางการแพทย

ปจจัยท่ีมีผลตอศักยภาพของผูปวย ขอควรปฏิบัติเพื่อปองกันความเจ็บปวยจากการติดเช้ือ การอาบน้ําผูปวยใน

เตียง การสวนอุจจาระ การจัดทานอนและเคล่ือนไหวผูปวย การดูแลบาดแผล การปองกันแผลกดทับ วิธีใหยา

การดูแลเด็กเล็กและผูสูงอายุ การดูแลผูปวยโรคเร้ือรังท่ีบานและชุมชน การฟนฟูสภาพ โภชนาการและการออก

กําลงั กาย ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพผูป วย ครอบครวั และชมุ ชน

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๒๙

สช 0524 การพัฒนาสาธารณสุขชุมชน 3(2-2-5)

CH 0524 Community Health Development

แนวคดิ และหลกั การทํางานในชมุ ชน ทเ่ี กีย่ วขอ งกบั การระดมความรวมมือระหวางองคกรภาครัฐ

ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและชุมชน การสงเสริมบทบาทของชุมชน ในการพัฒนาสุขภาพของประชาชน

การพัฒนาทกั ษะท่ีจําเปนสําหรบั การทํางานชมุ ชน ท้ังในดา นความเปนผูนาํ การรวเิ คราะหชุมชน การเขาถึงชุมชน

การปรับใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม ในชุมชนและการนํา ภูมิปญญาทองถิ่นมาปรับใช เพ่ือการพัฒนาสาธารณสุข

ท่ียั่งยืนของประชาชนและชุมชน ฝกการทํางานเปนทีมและเรียนรูการทํางานรวมกับชุมชน การเตรียมชุมชน

การสํารวจชุมชนโดยใชเคร่ืองมือทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา การบันทึกผลการสํารวจทางสาธารณสุข

การวินิจฉัย การเรยี งลาํ ดบั ความสําคญั และการแกไขปญหาสาธารณสุขของชมุ ชน

สช 0525 การดูแลสขุ ภาพผสู ูงอายุ 3(2-2-5)

CH 0525 Health Care for Aging

สุขภาพองครวมของผูสูงอายุ เกณฑมาตรฐานผูสูงอายุที่มีสุขภาพอนามัยท่ีพึงประสงค

การเปลี่ยนแปลงดานรางกาย จิตใจและสังคมของผูสูงอายุ โรคที่เปนปญหาตอสุขภาพผูสูงอายุและการปองกัน

รักษาหลักการปฏิบัติตนของผูสูงอายุ อาหารสําหรับผูสูงอายุ การเคล่ือนไหวและการออกกําลังกายเพ่ือสุขภาพ

ของผูส งู อายุ การจัดกจิ กรรมสงเสรมิ สุขภาพผูสงู อายุท่เี หมาะสม ตลอดจนการดูแลสขุ ภาพจติ ของผสู งู อายุ

สช 0526 การคมุ ครองผูบริโภค 3(2-2-5)

CH 0526 Consumer Protection

ความหมาย ประเภท ความสําคัญของการคุมครองผูบริโภค กฎหมายคุมครองผูบริโภคและ

ขอกําหนดทางกฎหมายเกี่ยวกับการคุมครองผูบริโภค บทบาทของเจาหนาที่สาธารณสุขในงานคุมครองผูบริโภค

สารเคมี กับชีวิตประจําวัน การคุมครองผูบริโภคดานยา อาหาร อาหารเสริม สารปรุงแตงอาหารและเคร่ืองสําอาง

สารฆาแมลงและสารกาํ จดั ศตั รูพชื ท่ีสง ผลกระทบตอสขุ ภาพ การนาํ ความรูไปประยุกตใ นการทํางานในอนาคต

สช 0527 ฝก ประสบการณ 3(300 ชั่วโมง)

CH 0527 Field Experience in Community Health

ฝกปฏิบัติงานดานสาธารณสุขชุมชน ดําเนินการใหการดูแลสุขภาพของบุคคล ครอบครัว

ชุมชน แบบผสมผสาน และองครวมท่ีสอดคลองกับปญหาสุขภาพและบริบทของชุมชนในสถานบริการท้ังดาน

การสงเสริมสุขภาพ การควบคุมและปองกันโรค การบําบัดโรคเบื้องตน การฟนฟูสภาพ อนามัยส่ิงแวดลอม

การคุมครองผูบริโภค กระบวนการวนิ ิจฉยั และแกไขปญ หาสาธารณสุขในชมุ ชน

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๓๐

3.2 อาจารยผูสอน

3.2.1 อาจารยป ระจําหลักสูตร

ชื่อ – สกุล เลขประจําตวั ตาํ แหนง ทาง คุณวุฒิ สาขาวิชา สําเรจ็ การศกึ ษาจากสถาบนั ป
สูงสุด มหาวิทยาลยั ราชภฎั 2555
ประชาชน วชิ าการ ปรชั ญาดุษฎี ยทุ ธศาสตรการ กาํ แพงเพชร 2547
บัณฑติ พฒั นา มหาวิทยาลยั นเรศวร
ดร.สรณี 363010075XXXX - สาธารณสขุ สาธารณสุข มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล 2323
ศาสตรมหา ศาสตร มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช 2548
กัณฑน ลิ บณั ฑิต
วิทยาศาสตร สขุ ศกึ ษา มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช 2536
นายววิ ฒั น 541010003XXXX - บัณฑติ
โมราราช การจัดการ มหาวทิ ยาลยั มหิดล 2533
สาธารณสขุ ส่งิ แวดลอ ม มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2547
นางสุภาภรณ 352990027XXXX - ศาสตรมหา
บญั ญตั ิ อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช 2543
บัณฑิต อาชวี อนามยั และ
นายเฉลมิ 365080104XXXX - สาธารณสขุ ความปลอดภยั มหาวทิ ยาลยั นเรศวร 2547
กลอมเกล้ียง วทิ ยาศาสตร
ศาสตร สุขาภิบาล มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม 2537
บณั ฑติ สาธารณสุข
วิทยาศาสตร ศาสตร
บณั ฑติ
พยาบาลศาสตร
สาธารณสขุ
ศาสตรมหา สาธารณสขุ
ศาสตร
บัณฑติ
พยาบาล สาธารณสุข
ศาสตร ศาสตร
บณั ฑติ

สาธารณสขุ
ศาสตรมหา

บัณฑติ
สาธารณสขุ

ศาสตร
บณั ฑิต

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา ๓๑

3.2.2 อาจารยป ระจาํ

ช่อื – นามสกลุ คุณวุฒิการศึกษา รายวชิ าทส่ี อน สําเร็จการศกึ ษาจาก

ดร.เปรมจิต มอรซ งิ ศษ.ด.การวจิ ัยและพัฒนา ก า ร คิ ด ส ร า ง ส ร ร ค แ ล ะ ก า ร สถาบนั ป
การศกึ ษา แกป ญ หา
นายภัทรพงค ทองรวย ศษ.ม.วิจยั และสถติ กิ ารศึกษา มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม 2556
ศษ.บ.คณิตศาสตร การเขา ใจดิจทิ ลั
กศ.ม.เทคโนโลยีทางการศกึ ษา มหาวิทยาลยั เชียงใหม 2546
ศศ.บ.อตุ สาหกรรมศลิ ป ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร 2 มหาวิทยาลยั เชยี งใหม 2543
ภาษาองั กฤษเพ่ือการส่อื สาร 1 2551
นางวีระวรรณ ศศ.ม.ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลยั นเรศวร 2540
เอื้อจนิ ดาพงศ ศศ.บ.ประถมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
สงคราม 2545
นางสาวปย รัตน เกิดแสง ศศ.ม.ภาษาอังกฤษ 2534
ศศ.บ.ภาษาองั กฤษ มหาวทิ ยาลัยนเรศวร 2547
มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม 2543

มหาวทิ ยาลยั นเรศวร
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฎ
กําแพงเพชร

3.2.3 อาจารยพ ิเศษ

ชอื่ – นามสกลุ คณุ วฒุ กิ ารศึกษา รายวชิ าท่ีสอน ตําแหนง/ประสบการณ/
ความเช่ยี วชาญ
นายแพทยพ ิเชฐ บัญญตั ิ ปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต - เคมสี าธารณสุข
นางผกากรอง สขุ ากุล กิตติมศกั ดิ(์ การจดั การ - มนุษยช ีวเคมี รองอธบิ ดี
เทคโนโลย)ี กรมวิทยาศาสตรก ารแพทย
MPH(Belgium) - ภาษาไทยเพ่อื การพฒั นา
รป.ม.รฐั ประศาสนศาสตร ปญ ญา ขาราชการบาํ นาญ
อว.เวชศาสตรครอบครวั - ประสบการณส อนดา นภาษาไทย
พ.บ.แพทยศาสตร ระยะเวลา 30 ป
ขาราชการบาํ นาญ
กศ.ม.การบริหารการศกึ ษา - เปน วิทยากรใหสวนราชการทว่ั
ค.บ.ภาษาไทย จังหวัดตาก
- ปฏบิ ตั ิหนา ทดี่ า นการสอน
นายสมนึก เรอื งศรี กศ.ม.การบริหารการศึกษา - ศิลปะและทกั ษะการใชชวี ติ ระยะเวลา 30 ป

ค.บ.สังคมศึกษา - พลเมอื งกบั ความรบั ผิดชอบ

ตอ สังคม

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๓๒

ช่อื – นามสกลุ คณุ วุฒิการศึกษา รายวิชาทส่ี อน ตําแหนง/ประสบการณ/
ความเชยี่ วชาญ
นางณชิ ากร ขําทพั ป.การพยาบาลและเฉพาะ - การบริการปฐมภมู ิ 1
นางสาวพชรพิมพ ขาวทงุ ทางสาขาเวชปฏบิ ตั ิ - การบริการปฐมภมู ิ 2 พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญการ
ป.พยาบาลและผดงุ ครรภ - ปฏบิ ัติงานดา นการพยาบาลและ
(ตอเนอ่ื ง 2 ป) - การบรกิ ารปฐมภมู ิ 1 หัตถการการดูแลฟน ฟผู ปู ว ย
ป.พยาบาลและผดงุ ครรภ - การบรกิ ารปฐมภูมิ 2 ประจําโรงพยาบาลบา นตาก

พย.ม.การพยาบาลดา น พยาบาลวชิ าชีพชาํ นาญการ
การควบคมุ การติดเช้ือ - ปฏบิ ัติงานดา นการพยาบาลและ
พย.บ.พยาบาลศาสตร หัตถการการดแู ลฟน ฟผู ูปว ย
ประจาํ โรงพยาบาลวงั เจา
ดร.เผดจ็ ทุกขส ญู Ph.D.strategie - การเขา ใจดจิ ิทัล อาจารยมหาวิทยาลัย
บธ.ม.การจัดการตลาด - ปฏบิ ัติงานงานสอนประจําคณะ
นางภริญดา บธ.บ.การตลาด - กายวภิ าคศาสตรและ บรหิ ารธุรกิจ มทร.ลานนาตาก
ชัยประเดมิ ศกั ดิ์ สรีรวิทยาของมนษุ ย พยาบาลวชิ าชีพชาํ นาญการ
พย.บ.พยาบาล(เวชปฏบิ ัติ - ปฏบิ ตั งิ านดา นจกั ษปุ ระจาํ
นางธดิ า ศิริ ทางตา - กายวิภาคศาสตรและ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจา ตากสนิ
ประกาศนียบตั รพยาบาล สรรี วิทยาของมนุษย มหาราช 22 ป
ศาสตร พยาบาลวชิ าชพี ชาํ นาญการ
- ปฏิบัติงานดา นอายุรกรรมประจาํ
วท.ม.สขุ ศกึ ษาและ โรงพยาบาลสมเด็จพระเจา ตากสนิ
พฤตกิ รรมศาสตร มหาราช 21 ป
ป.พยาบาลศาสตร เภสชั กรชํานาญการ
- ปฏิบัติงานตาม พ.ร.บ.ยา และการ
ภญ.ธนารักษ บญุ ถนอม ภ.บ.เภสัชศาสตร - เภสชั ศาสตรส าธารณสขุ คุมครองผบู ริโภค ประจําสาํ นักงาน
สาธารณสขุ จังหวดั ตาก
นายพงษพจน เปยน้ําลอ ม วท.ม.การจัดการ - วทิ ยาศาสตรและสงิ่ แวดลอม นกั วชิ าการสาธารณสุขชาํ นาญการ
ดร.ภญ.ธีรยา วรปาณิ ทรัพยากรธรรมชาติและ เพื่อชีวติ - ปฏบิ ตั งิ านดานสิ่งแวดลอ ม ระบาด
สิ่งแวดลอ ม - อนามยั สงิ่ แวดลอม วิทยา งานปองกนั และควบคมุ โรค
ส.บ.สาธารณสขุ ศาสตร ประจําโรงพยาบาลแมสอด
- เภสชั ศาสตรส าธารณสุข เภสัชกรชาํ นาญการ
ภ.ด.เภสัชศาสตรสงั คมและ - ปฏบิ ัติงานตาม พ.ร.บ.
การบริหาร สถานพยาบาล, พ.ร.บ. ยา, พ.ร.บ.
วท.ม.การจดั การผลติ ภณั ฑ วิกฤตออกฤทธ์ติ อ จิตและประสาท
สขุ ภาพ และการคุมครองผูบริโภค ประจํา
ภ.บ.เภสัชศาสตร สาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดตาก

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๓๓

ช่อื – นามสกุล คณุ วุฒกิ ารศึกษา รายวชิ าที่สอน ตาํ แหนง /ประสบการณ/
ความเช่ยี วชาญ
นางสาวนวินดา คงเมอื ง วท.ม.วิทยาศาสตรก ารกีฬา - จลุ ชวี วทิ ยาและปรสติ วทิ ยา
นางอัณณฉตั ร อินภริ มย พย.บ.พยาบาลศาสตร พยาบาลวิชาชีพ
- ปฏิบตั งิ าน ณ ศนู ยว ัคซนี คณะ
นางสธุ าทิพย อินทะนันท ส.ม.สาธารณสุขศาสตร - สุขภาพจิตชมุ ชน เวชศาสตรเ ขตรอ น ม.มหดิ ล กทม.
พย.บ.พยาบาลศาสตร - อนามัยการเจริญพนั ธุ
ทันตแพทยหรญิ ญา พยาบาลวิชาชีพชํานาญการ
หรติ านนท วท.ม.วิทยาการระบาด - ระบาดวทิ ยา - ปฏบิ ัติงานดา นอนามัยแมและเดก็
ดร.กติ ตพิ ทั ธ เอี่ยมรอด ส.บ.สาธารณสุขศาสตร - การปองกนั และควบคมุ โรค และงานสงเสรมิ สุขภาพชุมชนประจํา
โรงพยาบาลบา นตาก
นายมานัส ตะ ชมภู ท.บ.ทนั ตแพทย - ทนั ตสาธารณสขุ
นางธนิดา บญุ ศรี นกั วิชาการสาธารณสขุ ชาํ นาญการ
ปร.ด.ยุทธศาสตรก ารบรหิ าร - ชวี สถติ สิ าธารณสุข - ปฏบิ ตั ิงานดานระบาดวทิ ยาและการ
นางนชิ ธาวัลย ถาวร และการพัฒนา ปองกันและควบคุมโรค ประจํา
วท.ม.เวชศาสตรชุมชน - การสาธารณสขุ และ สํานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั ตาก
ส.บ.สาธารณสุขศาสตร สาธารณสุขชุมชน
ทันตแพทยชํานาญการ
ศศ.ม.รัฐศาสตร - ปฏิบตั งิ านดานทันตกรรมประจํา
ส.บ.สาธารณสุขศาสตร โรงพยาบาลพบพระ

วท.บ.กายภาพบาํ บดั - การฟนฟสู ภาพ นักวชิ าการสาธารณสุขชาํ นาญการ
- ปฏบิ ตั ิงานดานงานเวชศาสตรชมุ ชน
ร.ม.สหวิทยาการเพือ่ การ - การบรกิ ารปฐมภมู ิ 1 และงานนเิ ทศตดิ ตามประจาํ สกั งาน
พฒั นาทอ งถ่ิน - การบริการปฐมภูมิ 2 สาธารณสุขจังหวดั ตาก
ป.พยาบาลระดบั ตน
ป.พยาบาลศาสตร สาธารณสุขอาํ เภอเมอื งตาก
ป.พยาบาลเวชปฏบิ ตั ิการ - ปฏิบตั งิ านดานการบริหารงาน
รักษาโรคเบื้องตน สาธารณสขุ 17 ป

นกั กายภาพบาํ บัด
- ปฏบิ ตั งิ านดานกายภาพบําบัดกลุม
ฟนฟปู ระจาํ โรงพยาบาลสมเด็จพระ
เจา ตากสินมหาราช 10 ป

พยาบาลวชิ าชีพชํานาญการ
- ปฏบิ ตั ิงานประจาํ โรงพยาบาลแม
สอด
- อาจารยพ ่ีเลย้ี งประจาํ แหลง ฝก
นักศึกษาพยาบาลเวชปฏบิ ัตกิ ารรกั ษา
โรคเบอ้ื งตน โครงการหมออนามยั ติด
ปก โครงการการดูแลผปู วย เด็ก และ
ผสู ูงอายุ

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๓๔

ชื่อ – นามสกุล คณุ วุฒกิ ารศึกษา รายวชิ าทส่ี อน ตาํ แหนง /ประสบการณ/
ความเชีย่ วชาญ
นายประเสริฐ ส.ม.สาธารณสุขศาสตร - การบริหารงานสาธารณสขุ
สอนเจรญิ ทรัพย ส.บ.สาธารณสุขศาสตร - การสาธารณสขุ และ รองนายแพทยส าสาธารณสขุ จงั หวัด
สาธารณสขุ ชุมชน ตาก
นายจีระเกียรติ - ปฏิบัติงานดา นการบริหารงาน
ประสานธนกุล ศษ.ม.การศึกษานอก - วทิ ยาศาสตรและสงิ่ แวดลอม สาธารณสขุ 20 ป
ระบบ เพือ่ ชวี ิต
ส.บ.สาธารณสขุ ศาสตร - อนามัยสง่ิ แวดลอม นกั วิชาการสาธารณสขุ ชํานาญการ
- ปฏิบตั ิงานดานนิเทศติดตาม
ประเมนิ ผลกระทบตอสขุ ภาพ
- เปนวิทยากรอบรมเกยี่ วกับชมุ ชน
การดแู ลอนามัยสงิ่ แวดลอม

4. องคประกอบของประสบการณภ าคสนาม
จากผลการประเมินความตองการของผูสําเร็จการศึกษา นายจางและหนวยงานองคกรท่ีรับผูสําเร็จการศึกษา

เขาทํางาน มีความตองการใหผูสําเร็จการศึกษามีประสบการณในวิชาชีพกอนเขาสูการทํางานจริง ดังนั้นใน
หลักสตู รน้จี ึงมรี ายวชิ าการฝกงานซ่ึงจดั อยูใ นกลมุ วิชาชีพทีน่ ักศึกษาทุกคนตองลงทะเบยี นเรยี นกอ นจบการศึกษา

4.1 มาตรฐานผลการเรยี นรูของการฝกประสบการณว ิชาชีพ
ความคาดหวังในผลการเรียนรูประสบการณภาคสนามของนักศึกษา มีดังน้ี
1) สามารถบรู ณาการความรูและปฏิบัตทิ กั ษะการดูแลสุขภาพแกบคุ คลทุกวัย ครอบครวั

และชุมชนแบบองครวมและผสมผสานโดยคํานึงถึงความตางทางวัฒนธรรม และระดับภาวะสุขภาพ และระดับ

การบริการสุขภาพ
2) สามารถทาํ งานเปน ทมี และมีเครอื ขา ยในการใหบ ริการทางดานสุขภาพ ทาํ บทบาทไดทั้ง

ผูนําและผตู าม แสดงออกซึ่งภาวะผนู ําในสถานการณเฉพาะหนา มีความคิดรเิ ริม่ สรางสรรคใ นการวิเคราะหป ญ หา

3) มีความสามารถในการคดิ อยา งมีวจิ ารณญาณ คิดอยา งสรางสรรค เพอ่ื การวนิ ิจฉัยและแกไข
ปญหาสาธารณสขุ ของชุมชน

4) มีความสามารถการดูแลดา นสุขภาพแกประชาชนอยา งเอ้อื อาทร จิตอาสา ดวยหัวใจของ

ความเปนมนุษย และศรัทธาในวิชาชพี เคารพในคุณคา และศักดศิ์ รขี องความเปน มนษุ ยอยางเทา เทียมกัน
5) มีความรับผดิ ชอบ มีระเบยี บวนิ ัย ตรงตอเวลา เขาใจวฒั นธรรมและสามารถปรบั ตัวเขา

กับสถานบริการสาธารณสุข
4.2 ชวงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 2 ของชนั้ ปที่ 3
4.3 การจัดเวลาและตารางสอน
จดั เต็มเวลาใน 1 ภาคการศึกษา มีจาํ นวนชั่วโมงการฝก งานไมตํา่ กวา 300 ชวั่ โมง

5. ขอ กําหนดเก่ยี วกับการทาํ โครงงานหรอื งานวจิ ัย

ไมม ี

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๓๕

หมวดที่ 4
ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลกั ษณะพเิ ศษของนกั ศึกษา

คุณลกั ษณะพิเศษ กลยทุ ธห รือกจิ กรรมของนกั ศกึ ษา
(1) มจี ิตสาํ นกึ รกั บานเกดิ - ปลูกฝง เก่ยี วกบั ความรักทอ งถนิ่
- จัดกิจกรรมสํารวจคุณคาทางวัฒนธรรมและส่ิงดีงามใน
(2) มจี ิตสาธารณะ ทอ งถิ่น
- สอดแทรกแนวคดิ และการปลูกฝง ในทกุ รายวชิ า
- จัดโครงงาน/กจิ กรรม/คา ยอาสา เพ่ือพฒั นาชมุ ชนดาน
สาธารณสุข

- กิจกรรมท่ีสงเสริมการเสียสละเพื่อสวนรวม การชวยเหลือ
ชุมชนหรอื หนว ยงานสาธารณประโยชนใ นชุมชน
- กิจกรรมกลุมและสถานการณจําลองเพื่อสงเสริมการมีจิต
สาธารณะ
- จัดทําโครงงาน/กิจกรรม ศึกษาบุคคลตนแบบทาง
สาธารณสุข
- จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรในรายวิชา เชน โครงการบําเพ็ญ
ประโยชนและบรกิ ารวชิ าการทางดานสาธารณสขุ แกช ุมชน
- กิจกรรมเขาคายสงเสริมการเรียนรูในชุมชนเพ่ือสรางจิต
อาสาสาํ หรับนกั ศกึ ษาและบคุ ลากรดา นสาธารณสุข

2. การพัฒนาผลการเรียนรใู นแตละดา น
2.1 มาตรฐานผลการเรยี นรูห มวดวชิ าศกึ ษาทั่วไป
2.1.1 ดา นคุณธรรม จริยธรรม
ผลการเรยี นรู
(1) มีระเบียบวนิ ัย ประพฤติตนตามระเบียบของสงั คม

(2) ซือ่ สตั ยสุจริตตอ ตนเอง และผอู ื่น

(3) ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝเรยี นรู

(4) ประหยัด อดออม และเลอื กใชทรัพยากรอยา งคมุ คา

กลยทุ ธการสอน

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๓๖

(1) การปลกู ฝงคุณธรรมจริยธรรมโดยการบูรณาการเขากับรายวิชา
(2) การเรียนรจู ากบุคคลตน แบบ
(3) จัดทําโครงงานที่สะทอ นถึงคุณธรรมและจริยธรรม
กลยทุ ธการวดั และประเมินผล
(1) ใชแ บบสังเกตพฤตกิ รรมโดยอาจารยผสู อน กลมุ เพ่ือนนกั ศกึ ษา
(2) ประเมนิ จากการเขา รว มกจิ กรรมและผลงานของนักศกึ ษา
(3) ผูเ รยี นประเมินตนเอง
2.1.2 ดานความรู
ผลการเรยี นรู
(1) มคี วามรู ความสามารถในการใชภ าษาในการเรยี นรูและพัฒนาปญ ญาไดอยา งตอเน่อื ง
(2) มีความรู ความเขาใจ เห็นคุณคาของศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญา เขาใจความสัมพันธ
ระหวางมนุษยก ับมนุษย สงั คม และธรรมชาตสิ งิ่ แวดลอม
(3) มีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการเปลี่ยนแปลงท่ีสงผล
กระทบตอ ตนเองและผูอ่นื
(4) มีความรู ความเขาใจ เก่ียวกับหลักการและวิธีการทางวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และ
เทคโนโลยี
กลยทุ ธการสอน
(1) กจิ กรรมเนนผูเรยี นมบี ทบาทในการคดิ และการกระทาํ ดวยตนเอง หรอื การกระทาํ เปนกลุม
(2) กิจกรรมสงเสริมใหผูเรียนไดศึกษาคนควาแสวงหาความรู สรุปองคความรูดวยตนเอง และ
นําเสนอความรไู ด
(3) เรียนรจู ากสถานการณจริง การทาํ กจิ กรรมโครงการ รวมท้งั แลกเปลี่ยนประสบการณ
(4) ฝก ทกั ษะตาง ๆ ทเ่ี ปน จดุ เนนของแตละรายวชิ า
กลยุทธก ารวัดและประเมินผล
(1) การกําหนดสดั สว นน้ําหนักการประเมนิ ของแตล ะผลลัพธการเรยี นรู
(๒) การประเมินยอ ยเพอื่ ปรบั ปรงุ พัฒนา และการประเมินผลรวม
(3) ประเมินจากการเขารวมกิจกรรมของนกั ศึกษา
(๔) การประเมนิ ผลงานทีม่ อบหมาย
2.1.3 ทกั ษะทางปญ ญา
ผลการเรยี นรู
(1) รูจักคดิ วิเคราะห สงั เคราะห ประเมินคา เช่อื มโยงความคดิ อยางองคร วม
(2) สามารถระบุประเด็นปญหา วางแผน เสนอแนะแนวทางการแกปญหาอยางมีคุณคาและ
สรางสรรค

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๓๗

กลยุทธก ารสอน
(1) การฝก ทักษะยอ ย
(2) การจัดทาํ โครงการ หรอื โครงงาน โดยการมอบหมายทํางานเปน กลมุ
(3) การอภิปรายกลมุ การแลกเปลี่ยนเรียนรู
(4) ฝกคิดดว ยวิธีการตา ง ๆ

กลยทุ ธการวดั และประเมินผล
(1) การประเมินผลงานท่ีมอบหมาย
(2) ประเมินความกาวหนา ในการพฒั นาทักษะตาง ๆ
(3) ประเมนิ การทํางานรว มกัน

2.1.4 ทกั ษะความสัมพนั ธร ะหวางบคุ คลและความรับผดิ ชอบ
ผลการเรยี นรู
(1) มีความสามัคคี สามารถอยรู วมกับผอู ืน่ ทํางานอยา งมสี วนรว ม มภี าวะผนู าํ และผูตาม
(2) มจี ติ สาธารณะ เสยี สละ เหน็ คณุ คา แหงการแบง ปน
(3) มคี วามรับผดิ ชอบตอ ตนเอง ชมุ ชน สังคม และสวนรวม สามารถพ่งึ ตนเองได
กลยทุ ธการสอน
(1) การมอบหมายงาน หรอื โครงการ
(2) การฝกการทํางานเปน ทีม
(3) ฝกบทบาทภาวะผูน ํา และผูตาม
กลยุทธก ารวัดและประเมนิ ผล
(1) ประเมินกระบวนการการทํางานเปน กลมุ
(2) ประเมินผลงานของกลมุ
(3) ประเมนิ ภาวะผูนาํ และผูตาม

2.1.5 ทกั ษะการวเิ คราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ผลการเรยี นรู
(1) ใชวธิ ที างคณติ ศาสตรแ ละสถติ พิ ้นื ฐาน ในการศึกษาคน ควาและนาํ ไปใชไ ดอยางเหมาะสม
(2) มที ักษะในการสอ่ื สารและใชภ าษาอยา งมีประสิทธิภาพ
(3) ใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การเรียนรูแ ละพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
กลยทุ ธก ารสอน
(1) ฝกปฏบิ ัติ วิเคราะหขอมูลดว ยวิธกี ารทางคณติ ศาสตรแ ละสถิติ
(2) ฝกการนาํ เสนอและการประเมนิ ผลงานตาง ๆ
(3) ฝกทักษะการใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรูจ ากการปฏบิ ตั ิงาน

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา ๓๘

กลยุทธการวดั และประเมินผล
(1) ประเมินกระบวนการปฏิบัติ
(2) ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
(3) ประเมนิ ความกา วหนา ในการพัฒนาทกั ษะตา ง ๆ
2.2 มาตรฐานผลการเรียนรูหมวดวชิ าเฉพาะ
2.2.1 ดา นคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
ผลการเรยี นรู
(1) มคี วามซอื่ สตั ยส ุจริต มรี ะเบยี บวินยั ขยัน อดทน เสียสละ และสภุ าพ ออ นนอมถอ มตน
(2) มีจิตสาธารณะ มคี วามสามัคคี รจู ักกาลเทศะ ปลกู ฝง ใหเ ห็นคุณคาของชมุ ชน
(3) มีจรรยาบรรณในวิชาชีพ ปฏิบัติตามกฎระเบียบ กติกา และขอบังคับขององคกรและ
สงั คม
กลยทุ ธการสอน
(1) กาํ หนดแนวปฏิบัติดานคุณธรรม จริยธรรมท่ีกําหนด และตดิ ตามการปฏิบตั ิอยางตอเนื่อง
(2) จดั กิจกรรมในรายวชิ าและการฝกประสบการณส าธารณสุขชมุ ชนทส่ี ง เสรมิ ใหผูเรียนมีจติ
สาธารณะ มีความสามคั คี รูจักกาลเทศะ และสาํ นกึ รักบา นเกิด
(3) สง เสริมใหผูเรียนมคี ณุ ธรรมจริยธรรมในการดําเนินชีวติ ประจําวัน และปฏบิ ัตติ ัวตาม
จรรยาบรรณวิชาชพี
กลยทุ ธก ารประเมินผล
(1) ใชแ บบประเมิน ตรวจสอบและบนั ทึกพฤติกรรมของผเู รียนจากการเรยี นรูแ ละรว ม
กจิ กรรม
(2) ใหผูเรียนมสี ว นรว มในการประเมิน
(3) เสริมแรงหรือใหรางวลั แกผเู รยี นทีม่ คี ุณธรรมจริยธรรมดเี ดน
2.2.2 ดานความรู
ผลการเรียนรู
(1) มีความรคู วามเขาใจเกย่ี วกับวทิ ยาศาสตรพ้ืนฐานในงานสาธารณสุข
(2) รูและเขา ใจบรบิ ทของชุมชน และระบบสาธารณสุขชมุ ชน
(3) มคี วามรูความเขาใจในดานการสงเสรมิ สขุ ภาพชุมชน การควบคุมปองกันโรค การบําบัด
โรคเบื้องตน การฟน ฟสู ุขภาพ การคุม ครองผบู ริโภคดานสาธารณสุข และอนามยั สงิ่ แวดลอม
(4) สามารถเชือ่ มโยงและประยกุ ตใ ชความรูในศาสตรสาธารณสุขชุมชน
กลยทุ ธการสอน
(1) จดั กจิ กรรมการเรียนรเู ชิงรกุ (Active learning) โดยใหผเู รยี นเปนเจา ของกระบวนการ
เรยี นรรู ว มกับผสู อน
(2) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนทเี่ นนการปฏิบตั เิ พื่อใหผ เู รียนเกดิ ความเขา ใจไดอ ยางแทจริง
(3) สง เสรมิ การเรียนรูด วยตนเอง และการเรียนรูรวมกนั เปนกลุม (Collaboration learning)

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา ๓๙

(4) เรยี นรจู ากสถานการณจรงิ ทั้งการเรยี นรใู นชัน้ เรยี น แหลง ฝก และชมุ ชน และทาํ โครงงาน
หรือกรณีศึกษา

กลยุทธก ารประเมินผล
(1) มีการประเมินเพ่ือการพัฒนาการเรยี นรูอยา งตอเน่ือง
(2) ประเมนิ ตามสภาพจรงิ จากผลงาน ชิน้ งานท่ไี ดเรียนรเู ปนรายบุคคลหรือรายกลุม
(3) ใช rubric score ในการประเมนิ
(4) ใหม ีสวนรว มในการประเมินจากเพ่ือน อาจารย และแหลง ฝก
(5) ประเมินจากการสอบประมวลความรู และ/หรือประมวลทักษะวชิ าชีพ
(6) กาํ หนดสดั สวนนํา้ หนักของผลการเรยี นรใู หเหมาะกบั ธรรมชาตขิ องรายวิชา

2.3 ทกั ษะทางปญญา
ผลการเรียนรู
(1) สามารถคิดรเิ ริ่มสรางสรรค วเิ คราะห สังเคราะหเพอ่ื นําไปสกู ารแกปญ หาสาธารณสุข

ชมุ ชนได
(2) มีทักษะในการสง เสริมสขุ ภาพและปองกนั โรคในชุมชน
(3) สามารถแสวงหาความรูดวยตนเองและเทาทนั การเปลี่ยนแปลงใหม ๆ

กลยุทธก ารสอน
(1) ฝกทักษะการคดิ รูปแบบตางๆ
(2) จัดทาํ โครงงาน กรณีศกึ ษา บทบาทสมมุติ สาธติ สถานการณจําลอง และศกึ ษานอก

สถานที่
กลยทุ ธก ารประเมนิ ผล
(1) ประเมินการปฏิบตั ิการฝกทักษะการคดิ
(2) ประเมินผลงานการฝกตามสภาพจริงโดยใชเ ครือ่ งมอื ประเมนิ ท่เี หมาะสม
(3) ผเู รยี นและผสู อนรว มสะทอนผลการเรยี นรูและการฝกเพือ่ ปรับปรงุ และพัฒนา

2.4 ทักษะความสัมพันธร ะหวา งบุคคลและความรับผิดชอบทต่ี องการพฒั นา
ผลการเรยี นรู
(1) มีปฏิสมั พันธอยา งสรางสรรคร ะหวา งบุคคลและกลมุ คน ปรับตัวไดต ามสถานการณ
(2) มภี าวะผูนาํ สามารถทาํ งานเปน ทมี ได
(3) เคารพสิทธิ รบั ฟง ความคิดเห็นของผูอน่ื และยอมรบั ในความแตกตางระหวางบุคคลและ

วฒั นธรรม
(4) มีความรับผิดชอบตอตนเอง บทบาทหนา ที่ วิชาชีพ และสังคม

กลยทุ ธการสอน
(1) ฝกคิด เรยี นรู ปฏิบตั ิ และรบั ผดิ ชอบรว มกนั
(2) จดั กจิ กรรมเพ่ือสงเสริมใหผเู รียนมภี าวะผูนาํ

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลักสูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๔๐

กลยุทธก ารประเมินผล
(1) ประเมนิ ผลตามกระบวนการฝกคดิ เรยี นรู ปฏบิ ัติ และรับผิดชอบรว มกัน
(2) ประเมนิ ผลงาน
(3) สงั เกตพฤติกรรมการมีสว นรว ม ภาวะผนู าํ และผูท าํ งานรวม
(4) ประเมินจากการฝกประสบการณส าธารณสขุ ชมุ ชน

2.5 ทักษะการวเิ คราะหเชงิ ตัวเลข การส่ือสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศทีต่ องพฒั นา
ผลการเรียนรู
(1) สามารถจดั การขอ มลู สารสนเทศดา นสาธารณสุขอยางเปนระบบ
(2) สามารถส่อื สารทง้ั การฟง พูด อาน และเขยี นไดอยางมีประสิทธภิ าพ
(3) สามารถเลอื กใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือแสวงหาความรู พัฒนาปญ ญาและใชใ นการ

ส่ือสารไดอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
กลยทุ ธก ารสอน
(1) ฝก ใหผ ูเ รยี นจดั การขอมูลสารสนเทศดานสาธารณสุขในรายวชิ าท่ีเก่ียวของ
(2) ฝก การส่ือสารและการนําเสนอ ในวิชาชีพสาธารณสุขชมุ ชน
(3) การใชส ่ือดจิ ิทัลเพอ่ื สงเสริมการแสวงหาความรู และพฒั นาปญ ญา
กลยทุ ธการประเมนิ ผล
(1) ประเมนิ ทักษะการนาํ เสนอ และการใชส ื่อดจิ ิทัลในการนาํ เสนอ
(2) ประเมนิ ผลงาน

2.6 ทักษะการปฏิบตั ิทางวชิ าชีพ
ผลการเรียนรู
(1) มีทกั ษะการใหบ รกิ ารปฐมภูมิแกบ คุ คล ครอบครวั และชมุ ชน แบบองครวมไดอยา ง

เหมาะสมกบั บรบิ ท
(2) มที ักษะการสาํ รวจและวเิ คราะหช ุมชน เพ่ือการใหบ ริการทางดานสาธารณสขุ
(3) มีทักษะการทาํ งานรว มกับชมุ ชน

กลยุทธก ารสอน
(1) การสาธิต
(2) การฝกปฏบิ ัตใิ นหองปฏิบตั ิการ
(3) การแสดงบทบาทสมมติ
(4) การฝกปฏบิ ตั ใิ นสถานการณจําลอง
(5) การฝกปฏิบตั กิ บั คนไขจาํ ลอง
(6) การสอนขางเตียง
(7) การฝกปฏิบัติในสถานการณจริง ในสถานบริการสขุ ภาพและชมุ ชนใหครอบคลมุ

ความหลากหลายทางวัฒนธรรมภายใตการควบคุมดูแลของอาจารย/พเ่ี ลี้ยงแหลงฝก

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลกั สูตรปรบั ปรงุ 2561 หนา ๔๑

(8) การทาํ โครงการบรกิ ารวิชาการแกสงั คม และ/หรอื กจิ กรรมบําเพ็ญประโยชนร วมกับ
อาจารย

(9) การฝกประสบการณส าธารณสุขชุมชนตามแหลงฝกในสถานบรกิ ารสาธารณสขุ
กลยุทธก ารประเมินทักษะ

(1) ประเมินผลงานการฝกตามสภาพจริงโดยใชเ คร่อื งมือประเมนิ ที่เหมาะสม
(2) การประเมินทักษะการปฏบิ ตั ิ
(3) การประเมนิ จากขอมูลสะทอนกลับ จากคนไขจ าํ ลอง ผใู ชบริการ
(4) การประเมนิ ผลโครงการบริการวชิ าการแกสังคม และ/หรือกจิ กรรมบําเพ็ญประโยชน
โดยผูเรียนรวมกับผสู อน
(5) ประเมินผลฝกประสบการณสาธารณสขุ ชุมชน

3. แผนท่แี สดงการกระจายความรบั ผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรยี นรจู ากหลักสตู รสรู

แผนท่ีแสดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนรจู า

 ความรับผิดชอบหลกั

รายวิชา 1.ดานคณุ ธรรม จริยธรรม 2. ดานค

123412

กลมุ วชิ าภาษา

ภาษาไทยเพื่อการพัฒนาปญญา 

ภาษาอังกฤษเพอื่ การสอ่ื สาร 1  

ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร 2  

ภาษาไทยเพอื่ การสื่อสาร  

การพัฒนาทกั ษะการพูดและการ   
เขยี น

ปญญาจากวรรณกรรม  

ภาษาอังกฤษเพื่อนันทนาการ  

ภาษาประเทศเพ่อื นบาน  

กลมุ วชิ ามนษุ ยศาสตรแ ละ

สงั คมศาสตร

จังหวัดศกึ ษา  

ศลิ ปะและทักษะการใชช วี ติ  

พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอ สังคม  

พลังของแผนดนิ  

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 42

รายวิชา (Curriculum Mapping)

ากหลกั สตู รสรู ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวชิ าศึกษาท่ัวไป

 ความรับผดิ ชอบรอง

4. ดา นทักษะ 5. ดา นทกั ษะการ

ความรู 3. ดานทกั ษะ ความสัมพันธร ะหวา ง วิเคราะหเชงิ ตวั เลข การ

ทางปญญา บุคคลและความ ส่อื สารและการใช

รบั ผดิ ชอบ เทคโนโลยสี ารสนเทศ

34 1 2 1 2 3 1 2 3

  
  
  
  

  

  

   

 

   

   

      

   

รายวิชา 1.ดานคุณธรรม จรยิ ธรรม 2. ดา นค

123412

กลุม วชิ าวิทยาศาสตร  
คณิตศาสตรและเทคโนโลยี 
การเขาใจดจิ ิทลั

การคดิ สรา งสรรคแ ละการแก
ปญญา  
 
วิทยาศาสตรและสง่ิ แวดลอ มเพือ่
ชีวติ

โปรแกรมคอมพิวเตอรสําเรจ็ รปู

คณิตศาสตรในชีวติ ประจาํ วนั

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลกั สูตรปรับปรงุ 2561 หนา 43

ความรู 3. ดานทกั ษะ 4. ดานทักษะ 5. ดา นทักษะการ
34 ทางปญ ญา ความสัมพนั ธร ะหวา ง วิเคราะหเชงิ ตัวเลข การ

12 บุคคลและความ สอื่ สารและการใช
รับผดิ ชอบ เทคโนโลยีสารสนเทศ

1 23 123

     
    

   

    

    

แผนท่แี สดงการกระจายความรับผดิ ชอบมาตรฐานผลการเรียนร

 ความรับผิดชอบหลกั

1. 2. ความ
คุณธรรม
จรยิ ธรรม

รายวชิ า

หมวดวชิ าเฉพาะ 123123
เคมีสาธารณสุข
สช 0501 ชวี วิทยาสาธารณสุข  
สช 0502 จลุ ชีววทิ ยาและปรสิตวิทยา
สช 0503 มนุษยชีวเคมี  
สช 0504 กายวิภาคศาสตรแ ละสรรี วทิ ยาของ
สช 0505 มนษุ ย 
เภสชั ศาสตรส าธารณสขุ
สช 0506 การสาธารณสุขและสาธารณสขุ ชมุ ชน  
สช 0507 ระบาดวทิ ยา
สช 0508 การปองกนั และควบคมุ โรค 
สช 0509 การบรกิ ารปฐมภมู ิ 1
สช 0510 


 
 



Click to View FlipBook Version