The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by gu_paruttajariya_ja, 2022-04-28 00:26:24

มคอ.2 สาขาสาธารณสุขชุมขน

มคอ2 สาธารณสุขชุมชน

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลักสตู รปรับปรงุ 2561 หนา 44

รจู ากหลกั สตู รสรู ายวิชา (Curriculum Mapping) หมวดวิชาเฉพาะ

 ความรับผดิ ชอบรอง

มรู 3. ทักษะทาง 4. ทกั ษะ 5. ทกั ษะการ 6. ทักษะ

ปญญา ความสมั พนั ธ วเิ คราะหเ ชงิ การปฏบิ ตั ิ

ระหวางบคุ คล ตัวเลข การ ทาง

และความ ส่อื สาร และ วชิ าชีพ

รับผิดชอบ การใช

เทคโนโลยี

สารสนเทศ

3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 123

 

 

   

 

   

  

   

    

   

  

1. 2. ความ

คุณธรรม
จริยธรรม

รายวชิ า

หมวดวิชาเฉพาะ 123123
สช 0511 การบรกิ ารปฐมภมู ิ 2
สช 0512 การสง เสรมิ สขุ ภาพชุมชน   
สช 0513 อนามยั การเจรญิ พันธุ 
สช 0514 อนามยั ส่ิงแวดลอม 
สช 0515 การฟน ฟสู ภาพ  
สช 0516 การบริหารงานสาธารณสขุ
สช 0517 สขุ ภาพจิตชมุ ชน 
สช 0518 ทนั ตสาธารณสุข  
สช 0519 สุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ 
สช 0520 ชีวสถิติสาธารณสุข
สช 0521 โภชนาการชมุ ชน 
สช 0522 อาชีวอนามยั และความปลอดภัย 
สช 0523 การดแู ลสขุ ภาพท่บี า นและชุมชน





หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 45

มรู 3. ทกั ษะทาง 4. ทกั ษะ 5. ทักษะการ 6. ทกั ษะ
ปญญา ความสัมพันธ วเิ คราะหเชิง การปฏบิ ตั ิ
ระหวา งบุคคล ตวั เลข การ ทาง
และความ ส่ือสาร และ วิชาชีพ
รบั ผิดชอบ
การใช
34 1 2 3 1234 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
 
1 2 3 123



  

 

  

  

   

  

  

 

 

  

  

 

1. 2. ความ

คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม

รายวชิ า

หมวดวชิ าเฉพาะ 123123
สช 0524 การพฒั นาสาธารณสุขชมุ ชน
สช 0525 การดแู ลสขุ ภาพผสู งู อายุ 
สช 0526 การคมุ ครองผูบริโภค
สช 0527 ฝก ประสบการณ 



 

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชมุ ชน หลักสูตรปรับปรงุ 2561 หนา 46

มรู 3. ทกั ษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ 6. ทกั ษะ
ปญญา ความสัมพันธ วเิ คราะหเ ชิง การปฏบิ ัติ
34 ระหวางบคุ คล ตัวเลข การ
123 และความ ส่อื สาร และ ทาง
 รบั ผดิ ชอบ วิชาชพี
  การใช
 1234 เทคโนโลยี 123
 สารสนเทศ
  123 

 

  

  



หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรุง 2561 หนา 47

หมวดท่ี 5
หลักเกณฑในการประเมนิ ผลนักศึกษา

1. กฎระเบยี บหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด)
การวัดและการประเมินผลการศึกษาใหเปน ไปตามระเบยี บของสถาบนั วิทยาลยั ชุมชน วาดวยเร่อื ง

การจดั การศกึ ษาตํา่ กวา ปรญิ ญา พ.ศ. 2560
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสมั ฤทธิข์ องนกั ศกึ ษา

2.1 การทวนสอบระดับรายวชิ า
2.1.1 แตงต้ังคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูระดับรายวิชา

ประกอบดว ย
(1) กรรมการจากคณะกรรมการบริหารหลักสตู ร
(2) กรรมการจากอาจารยประจํากลมุ วชิ า

2.1.2 บทบาทหนา ทข่ี องคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรูระดับรายวิชา
(1) กาํ หนดกระบวนการหรือข้ันตอนของการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู

ระดับ
รายวชิ า

(2) กําหนดปฏิทินการดําเนินงานการทวนสอบประจําภาคการศึกษาโดย
กาํ หนด
รายละเอียดของกิจกรรมและระยะเวลาที่ตอ งดําเนินการของผทู เี่ กี่ยวขอ งกับการจัดการเรียนรูท้ังรายวิชา
ทฤษฎีและรายวิชาปฏิบตั ิ

(3) กําหนดความรบั ผดิ ชอบและสงิ่ ท่ีอาจารยประจําวิชาตองเตรียมและแจงให
ทราบเพอื่ การเตรียมพรอมรับการทวนสอบ ไดแก คะแนนผลการตรวจผลงาน คะแนนผลการสอบ หรือ
คะแนนสวนอ่ืน ๆ ที่กําหนดไวในเกณฑการประเมินผลการเรียนรูของรายวิชา พรอมหลักฐานท่ีแสดง
ทม่ี าของคะแนนแตละสว น เชน กระดาษคําตอบจากการสอบ แบบตรวจผลงาน/ช้ินงาน

(4) ดําเนินการทวนสอบตามกระบวนการหรอื ขน้ั ตอนและระยะเวลาท่ีกําหนดไว
(5) จดั ทาํ รายงานผลการสอบทวนประจาํ ภาคการศึกษา
2.1.3 กระบวนการหรือขัน้ ตอนการทวนสอบระดับรายวิชา
(1) กําหนดรายวิชาที่จะทวนสอบ เชน ทุกรายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ
สุม รายวิชาในหมวดวิชาศกึ ษาท่วั ไป และหมวดวิชาเลอื กเสรี
(2) สุม ตรวจสอบผลการใหคะแนนแตล ะสว นตามท่กี ําหนดเกณฑการ
ประเมนิ ผลการเรียนรใู น มคอ.3 และ มคอ.4 ของแตล ะรายวิชา โดยพิจารณาการใหคะแนนจากรายงาน

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 48

ชนิ้ งานหรอื ผลงานจากการเรียนรู การประเมินพฤติกรรมจากการทํากิจกรรมการเรยี นรู แบบทดสอบ
แบบประเมินตามมาตรฐานการเรียนรดู า นตาง ๆ หรือแบบประเมนิ งานอนื่ ๆ ท่มี อบหมายของรายวิชา

(3) ใชขอมูลที่เก่ียวของจากรายงานผลการจัดการเรียนรูของรายวิชา มคอ.5
และ มคอ.6 ท่ีอาจารยประจําวิชาจัดทํา เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา มาประกอบการพิจารณาผลการทวน
สอบ

(4) จัดทํารายงานผลการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูรายวิชาประจําภาค
การศึกษา ที่แสดงใหเห็นในภาพรวมวาคุณภาพของการจัดการเรียนรูของรายวิชาเปนอยางไร ผูเรียน
บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในแตละรายวิชาในระดับใด พรอมแสดงขอมูลหรือหลักฐานที่
ยนื ยนั วา ผูเรียนบรรลุตามมาตรฐานท่กี าํ หนด

2.2. การทวนสอบระดับหลกั สตู ร
2.2.1 ใหแตงต้ังคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูระดับหลักสูตร

ประกอบดว ย
(1) กรรมการจากสาํ นักวิชาการ
(2) กรรมการจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
(3) ผทู รงคุณวฒุ ิในสาขาวิชา นน้ั ๆ

2.2.2 บทบาทหนาทข่ี องคณะกรรมการทวนสอบมาตรฐานผลการเรยี นรูร ะดับหลักสตู ร
(1) กําหนดกระบวนการหรือข้ันตอนของการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู

ระดับ
หลักสูตร เพื่อการตรวจสอบและประเมนิ ความสําเร็จของการผลิตผสู ําเรจ็ การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ

(2) กําหนดปฏิทินการดําเนินงานการทวนสอบประจําปการศึกษาท่ีมีผูสําเร็จ
การศึกษา โดยกําหนดรายละเอยี ดของกิจกรรมและระยะเวลาท่ีตองดําเนนิ การของผูที่เกยี่ วของ

(3) กําหนดขอมูล แหลงขอมูล และผูใหขอมูล ที่ตองเก็บรวบรวมและแจงให
ผูเกี่ยวของทราบเพ่ือการเตรียมพรอม ไดแก รายงานผลการจัดการดําเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7)
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร แหลงฝกปฏิบัติผูใชบัณฑิต และผูมีสวนไดสวนเสียในการจัดการศึกษา
และการปฏบิ ัติงานของผูสําเร็จการศึกษาหลังจากสาํ เรจ็ การศึกษา

(4) ดําเนนิ การทวนสอบตามกระบวนการหรอื ขัน้ ตอนและระยะเวลาที่กาํ หนดไว
(5) จาํ ทาํ รายงานผลการทวนสอบประจําปการศกึ ษา

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 49

2.2.3 กระบวนการหรือข้นั ตอนการทวนสอบระดับหลักสตู ร
(1) กําหนดลักษณะขอมูล แหลงขอมูลและผูใหขอมูล ที่สามารถนํามาใช

วิเคราะห
ผลสัมฤทธกิ์ ารเรียนรูท ค่ี รอบคลมุ ผลการเรียนรูทุกดานตามมาตรฐานการเรยี นรูสาขาวิชา เพอ่ื ประเมนิ
ความสาํ เร็จของการผลิตผูสาํ เร็จการศกึ ษาที่มีคุณภาพของวทิ ยาลัยชุมชน

(2) พัฒนาเคร่ืองมือ ท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลที่จําเปนตองใชดําเนินการ
เก็บรวบรวมขอมลู จากผใู หขอมลู ตามทีก่ าํ หนดไว

(3) ใชขอมูลที่เก่ียวของจากรายงานผลการจัดการเรียนรูของรายวิชา มคอ.5
และ มคอ.6 และขอมูลจากรายงานผลการดําเนินงานของหลักสูตร (มคอ.7) ท่ีคณะกรรมการบริหาร
หลกั สตู รจดั ทําเมื่อสิ้นสุดปก ารศึกษา มาประกอบการพิจารณาผลการทวนสอบ

(4) จัดทํารายงานผลการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของผูสําเร็จ
การศึกษาประจําปการศึกษา ท่ีแสดงใหเห็นในภาพรวมวา คุณภาพของการจัดการเรียนรูของหลักสูตร
เปนอยางไร ผูสําเร็จการศึกษาบรรลุตามมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตรครบถวนเพียงใด
พรอ มแสดงขอมลู หรอื หลกั ฐานทยี่ นื ยนั วาบรรลุตามมาตรฐานที่กําหนดไว

3. เกณฑการสําเรจ็ การศกึ ษาตามหลักสตู ร
เปน ไปตามระเบยี บสถาบนั วิทยาลยั ชมุ ชน วาดว ยการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาท่ตี ่ํากวา

ปริญญาของวิทยาลัยชมุ ชน พ.ศ. 2560 ดังนี้
3.1 ศึกษารายวิชาตาง ๆ ครบถวนตามจํานวนหนวยกิตที่กําหนดไวในโครงสรางของหลักสูตร

และเกณฑข้ันต่ําของแตละรายวิชา และตองไดรับคะแนนเฉลี่ยไมตํ่ากวา 2.00 จากระบบ 4 ระดับ
คะแนนหรอื เทยี บเทา

3.2 ไมม พี ันธะทางการเงินหรอื ทพี นั ธะอื่น ๆ ตอ วทิ ยาลัย
3.3 ผา นการเขารวมกจิ กรรมตามท่ีวทิ ยาลัยกําหนด
3.4 สอบผา นการประเมินความรแู ละทักษะตามทว่ี ทิ ยาลยั กําหนด

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 50

หมวดท่ี 6
การพฒั นาอาจารย

1. การเตรียมการสาํ หรบั อาจารยใ หม
1.1 ปฐมนิเทศอาจารยใหม เพื่อช้ีแจงรายละเอียดของหลักสูตร และแนะนําอาจารยประจํา

หลักสูตร และมอบเอกสารที่เก่ียวของกับการเรียนการสอน ไดแก คูมือหลักสูตร คูมือนักศึกษา กฎ
ระเบียบ ขอบังคับ และคูมอื ปฏบิ ตั กิ ารจัดการเรียนการสอนของอาจารย

1.2 สงเสริมใหอาจารยใ หมเ ขารว มประชุมของทางวิทยาลัยชุมชน เพื่อทราบถึงปรัชญา พันธกิจ
และวิสยั ทัศน ของการจดั การศึกษา

1.3 ชี้แจงแนวทางในการจัดการเรียนการสอน แนวทางในการทําวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการ
สอน การจัดทํารายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) รายละเอียดของประสบการณภาคสนาม (มคอ.4)
รายงานผลการดําเนินการของรายวิชา (มคอ.5) และรายงานผลการดําเนินการของประสบการณ
ภาคสนาม (มคอ.6)

1.4 จดั การอบรมเกีย่ วกบั การจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอนและการประเมินผล รวมถงึ
การบูรณาการเทคโนโลยีกบั การเรียนการสอน
2. การพัฒนาความรแู ละทกั ษะใหแ กคณาจารย

2.1 การพัฒนาทกั ษะการจัดการเรียนการสอน การวดั และการประเมนิ ผล
2.1.1 สนับสนนุ ใหอาจารยเขาฝกอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอน

กลยทุ ธ การสอน และการประเมนิ ผล จากหนวยงานทั้งภายในและหนวยงานภายนอก
2.1.2 สนับสนุนใหอาจารยเขารวมประชุม สัมมนาทางวิชาการเพื่อประยุกตใชความรูท่ีไดให

เกดิ ประโยชนต อ การจดั การเรยี นการสอน
2.1.3 จัดใหมีการแลกเปล่ียนเรียนรูโดยใชวิธีการจัดการความรู (Knowledge Management)

เพ่ือ ใหเกิดการถายทอดประสบการณและเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูในการพัฒนาการเรียนการสอน
และการบรหิ ารหลกั สูตร

2.2 การพัฒนาวิชาการและวชิ าชีพดา นอื่นๆ
2.2.1 สงเสริมใหอาจารยพ ัฒนาการเรยี นการสอนและทําวจิ ยั เพอื่ สรางองคความรูใหม
2.2.2 ศึกษาดูงานท่ีเกี่ยวของเพ่ือนําความรูมาประยุกตใชใหเกิดประโยชนตอตนเองและ

หลกั สตู ร
2.2.3 สงเสริมใหอ าจารยม ีสวนรวมในกจิ กรรมชุมชนและบรกิ ารสังคม
2.2.4 สงเสริมใหอาจารยมีโอกาสไปศึกษาหรือเขาฝกอบรมเพ่ือเพิ่มพัฒนาตนเองและเพิ่ม

คณุ วุฒิ

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 51

หมวดที่ 7
การประกนั คณุ ภาพหลักสตู ร

1. การกาํ กบั มาตรฐาน
หลักสตู รมีกระบวนการบรหิ ารจดั การหลักสตู ร ดังน้ี
1.1 แตงต้ังคณะกรรมการอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร เพื่อวางแผน กํากับ และติดตาม

การดาํ เนินงานตาง ๆ ของหลักสูตร
1.2 สรางความตระหนักและความเขาใจใหแกบุคลากร โดยการจัดประชุมชี้แจง ในประเด็นสําคัญท่ี

เกย่ี วขอ งกบั การปฏบิ ัตงิ าน ตลอดจนการประกันคุณภาพ
1.3 มีกระบวนการจัดทําหลักสูตร โดยดําเนินการจัดทําแผนการสอนและเกณฑการวัดและการ

ประเมินผล
1.3.1 มีรายละเอียดของรายวิชาตามแบบ มคอ.3 กอนเปดสอนในแตละภาคการศึกษา ครบทุก

รายวิชา
1.3.2 ประชุมวางแผน ตดิ ตามและทบทวนการดําเนนิ งานของหลกั สูตร โดยอาจารยผูรับผิดชอบ

หลักสตู รมสี วนรว ม อยางนอยรอ ยละ 80
1.3.3 จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชาตามแบบ มคอ.5 ภายใน 30 วัน หลังส้ินสุด

ภาคการศกึ ษาท่เี ปด สอนใหครบทุกรายวิชา
1.3.4 จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลังสิ้นสุด

ปก ารศึกษา
1.4 มีการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและรายงานผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน

ตอสถาบันวิทยาลยั ชุมชน และนําเอาขอเสนอแนะจากผลการประเมินคุณภาพมาปรับปรุงหลักสูตรอยาง
ตอเนอ่ื งทุกปก ารศึกษา
2. บัณฑติ

คณุ ภาพบัณฑติ
หลักสูตรมุงพัฒนาบัณฑิตที่มีคุณภาพ ตอบสนองความตองการของตลาดแรงงาน โดยการ
ประเมินและ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรูในขณะที่นักศึกษากําลังศึกษา และ
ประเมินผลการมีงานทํา ตลอดจนความพึงพอใจและความตองการของผูใชบัณฑิต มีการจัดการเพ่ือ
ติดตามการประเมินผลและ การทวนสอบเพื่อการแกไขปรับปรุง เพื่อใหไดบัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษามี
คุณลักษณะบัณฑิตท่ีพึงประสงคเปนไปมาตรฐานคุณวุฒิระดับอนุปริญญา และมาตรฐานผลการเรียนรู
อยางนอย 6 ดาน คือ 1) คุณธรรมจริยธรรม 2) ความรู 3) ทักษะทางปญญา 4) ทักษะความสัมพันธ

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา 52

ระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 5) ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การส่ือสาร การใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ และ 6) ทกั ษะการปฏิบตั ทิ างวชิ าชพี และมีคณุ ลักษณะพเิ ศษ ตามทหี่ ลักสตู รกาํ หนด

หลกั สูตรพัฒนาคุณภาพบัณฑิตเพอ่ื ใหตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงาน สังคม
และ/หรือความพึงพอใจของผูใชบัณฑติ โดยมีกลไกขับเคล่ือนการดําเนนิ งาน ดังน้ี

1. ติดตาม สาํ รวจความตอ งการจําเปนของผูใชบ ัณฑติ อยางตอ เน่ือง
2. สาํ รวจความพงึ พอใจของผูใชบ ัณฑิตที่มตี อ คณุ ภาพของบัณฑิตที่จบการศึกษาในหลักสูตร
3. จัดการประชุมโดยเชิญผใู ชบัณฑติ เขามามีสวนรวมในการวิพากษห ลกั สูตร
4. สรางความเช่ยี วชาญใหก บั นักศกึ ษา ดว ยการลงมอื ทาํ ดวยการเรียนรูจาก การทํางาน (Work-
based Learning)
5. จัดกิจกรรมเสริม ใหสอดคลองกับบริบทของชุมชน สังคมไทยและสังคมโลก ติดตาม
สถานการณแ ละวกิ ฤติทางสาธารณสขุ ชมุ ชน
6. จัดกิจกรรมเสริมสรางการมีจิตสาธารณะ โดยการบริการชุมชน ดวยองคความรูทางดาน
สาธารณสขุ ชุมชน
7. เนนพฒั นาทกั ษะกระบวนการคดิ การทํางานแบบมีสวนรว ม และการสรางเครือขา ยชุมชน
3. นกั ศึกษา
3.1 หลักสูตรกําหนดคุณสมบัติการรับนักศึกษาเขาศึกษาเปนไปตามเกณฑการประกาศรับสมัคร
ของวทิ ยาลยั ชุมชน โดยกําหนดใหมีการสัมภาษณเ พื่อประเมนิ ความพรอมในการเขาเรยี นในหลักสตู ร
3.2 จัดใหมีการเรียนปรับพื้นฐานความรูในรายวิชา ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร
คณติ ศาสตร และคอมพิวเตอร เพือ่ เตรยี มความพรอ มกอ นเขา เรียนจริง
3.3 วิทยาลัยจัดใหมีระบบอาจารยท ปี่ รึกษา โดยมีคําสั่งแตงใหผูสอนประจําหรือผูสอนพิเศษ เปน
อาจารยท ี่ปรกึ ษา จาํ นวน 1 – 2 คนตอ นักศึกษา 1 หอง เพอ่ื ใหน ักศกึ ษาไดเขาพบ และใหคําแนะนําใน
เร่อื งของวชิ าการ การเรียนการสอนและเรอื่ งอ่ืน ๆ
3.4 วิทยาลัยเปดโอกาสใหนักศึกษาเพ่ือเสนอปญหาหรือเรื่องตาง ๆ โดยเฉพาะเรื่องเก่ียวกับ
วิชาการ
3.5 วิทยาลัยมีการติดตามนักศึกษาท่ีออกกลางคัน มีการสํารวจความพึงพอใจของผูใชผูสําเร็จ
การศกึ ษา มกี ารติดตามการมงี านงานของผูสาํ เรจ็ การศกึ ษาอยางตอเน่ืองทุกป
4. อาจารย
4.1 การรับอาจารยใ หม
การคดั เลือกอาจารยใ หมใหเปนไปตามระเบยี บและหลักเกณฑข องสถาบันวิทยาลัยชมุ ชน โดยมี
คณุ วฒุ ิระดบั ปริญญาโทหรอื เทียบเทาตรงหรือสมั พนั ธกบั รายวิชาท่สี อน หรือคณุ วฒุ ริ ะดับปริญญาตรีตรง
หรอื สมั พนั ธกับรายวชิ าที่สอนและมีประสบการณทีส่ มั พันธกับรายวชิ าทีส่ อนไมน อยกวา 5 ป

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา 53

4.2 การคดั เลอื กและแตงตงั้ อาจารยพเิ ศษ
เปนไปตามขอบังคับสถาบันวทิ ยาลยั ชุมชนวา ดว ยคณุ สมบัติ และหลกั เกณฑเกย่ี วกบั ผูส อนพเิ ศษ

พ.ศ. 2558 โดยวทิ ยาลัยชมุ ชนตากแตง ต้ังอาจารยพิเศษตามคาํ แนะนาํ ของหนวยจัดการศกึ ษา มี
หัวหนา สาขาวชิ าพจิ ารณากล่ันกรองจากประวตั ิการศึกษา คุณวฒุ ิ คณุ สมบัติและประสบการณทํางาน
ตรงจากหนว ยงานภาครฐั และภาคเอกชนเบ้ืองตน นาํ เสนอใหคณะอนกุ รรมการวิชาการวิทยาลยั ชมุ ชน
ตากพจิ ารณากลั่นกรอง เสนอสภาวทิ ยาลัยชมุ ชนตากใหความเห็นชอบและใหผ อู ํานวยการวทิ ยาลยั
ชมุ ชนตากแตงตง้ั เปน อาจารยพเิ ศษทุกภาคการศึกษา

4.3 การมีสว นรวมของอาจารยใ นการวางแผน การติดตามและทบทวนหลกั สตู ร
อาจารยผรู ับผดิ ชอบหลกั สตู ร และอาจารยผสู อนประจําสาขาวชิ า ประชุมรวมกันเพอื่ วาง

แผนการจัดการเรียนการสอน การประเมนิ ผล และใหความเหน็ ชอบการประเมินผลทุกรายวิชา โดยจะ
เก็บรวบรวมทั้งหมดเพื่อประกอบการปรับปรงุ และพฒั นาหลักสูตร ตลอดจนประชมุ ปรกึ ษาหารอื หา
แนวทางการจดั การเรยี นการสอนใหบ รรลุตามปรัชญาและวัตถปุ ระสงคของหลักสูตร เพ่ือใหไ ดผ ูส ําเรจ็
การศกึ ษาตามคุณลักษณะที่พึงประสงค
5. หลกั สตู ร

5.1 การออกแบบหลักสูตรเปนไปตามเกณฑการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรของสถาบัน
วิทยาลยั ชุมชน

5.2 กํากับ ติดตาม การจัดกระบวนการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรโดย ผูรับผิดชอบ
หลักสูตรหรือหัวหนาสาขาวิชา ไดแก การจัดทํา มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 และ มคอ.6 รวมทั้งการนิเทศ
ตดิ ตามการจดั การเรียนการสอน

5.3 หลกั สูตรการเรียนการสอนเนนการเรียนการสอนท่ีนําไปใชไดจริง การจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนเนน ผเู รียนเปนสาํ คัญ มกี ารวดั ผลประเมินผลทหี่ ลากหลายตามสภาพจริง

5.4 มีการประเมินผูเรียนกอนจบหลักสูตรโดยกระบวนการสอบประมวลความรู และ
กระบวนการสัมมนาเตรียมความพรอมกอนฝกประสบการณและหลังการฝกประสบการณสาธารณสุข
ชุมชน
6. ส่ิงสนบั สนุนการเรียนรู

การจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน วิทยาลัยชุมชนตากมีหองเรียนสําหรับ
จดั การเรยี นการสอนในรายวิชาตาง ๆ ในหมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไปและหมวดวชิ าเฉพาะเพียงพอ

(1) หองเรียน/หองปฏิบตั ิการ สําหรับการจดั การเรียนการสอนในรายวชิ าพน้ื ฐานวชิ าชีพ/วชิ าชีพ
(2) หองปฏิบัติการตาง ๆ หากมีภาคปฏิบัติ หรือรายวิชาที่จะใหนักศึกษาไดเรียนรูจาก
สถานการณจริง ก็จะนํานักศึกษาไปเรียนรู ณ โรงพยาบาลบานตาก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจาตากสิน

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 54

มหาราช โรงพยาบาลแมสอด โดยทางวิทยาลัยชุมชนตากไดทําความรวมมือกับสํานักงานสาธารณสุข
จงั หวดั ตากในการใชท รัพยากรรว มกับหนว ยในสังกดั

(3) แหลงฝกประสบการณสาธารณสุขชุมชน ไดแก สถานบริการสาธารณสุขในจังหวัดตาก
ประกอบดวยโรงพยาบาลชุมชน สํานักงานสาธารณสุขอําเภอ โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบล ทั้ง 9
อาํ เภอ ในจงั หวดั ตาก

(4) หองสมดุ สาํ หรบั บรกิ ารสืบคนขอ มลู วิทยาลัยชมุ ชนตาก มคี วามพรอมดานหนังสือ ตํารา และ
การสืบคนผานฐานขอมลู

(5) มีระบบเครือขายอินเตอรเน็ต ระบบบริการการศึกษาดานงานทะเบียนและวัดผลไวบริการ
นักศกึ ษา

7. ตวั บงช้ผี ลการดาํ เนินงาน (Key Performance Indicators)

ระบุตัวบงชี้ผลการดําเนินงานท่ีใชในการติดตาม ประเมินและรายงานคุณภาพของหลักสูตร

ประจําปตามตัวบงช้ีตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ หรือตัวบงชี้ท่ีหลักสูตร

พัฒนาข้นึ เองโดยครอบคลมุ หมวด 1 – หมวด 6

ชนดิ ของตัวบงช้ี : กระบวนการ

เกณฑม าตรฐาน : ระดบั

ดัชนบี งชี้ผลการดาํ เนนิ งาน ปท ี่ ปที่ ปที่ ปท ี่ ปท ่ี

12345

1. อาจารยป ระจาํ หลักสูตรอยา งนอยรอยละ 80 มีสวนรวมในการ XXXXX
ประชมุ เพื่อวางแผน ตดิ ตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร

2. มีรายละเอียดของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.2 ทส่ี อดคลอ งกับ XXXXX
มาตรฐานคุณวุฒสิ าขา/สาขาวชิ า

3. มรี ายละเอียดของรายวชิ า และประสบการณภ าคสนาม (ถาม)ี

ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยางนอยกอ นการเปดสอนในแตล ะ X X X X X

ภาคการศึกษาใหครบทุกรายวชิ า

4. จัดทาํ รายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และประสบการณ

ภาคสนาม (ถา ม)ี ตามแบบ มคอ.5-6 ภายใน 30 วัน หลังสนิ้ สุดภาค X X X X X

การศกึ ษาท่ีเปดสอนใหครบทุกรายวชิ า

5. จดั ทํารายงานผลการดาํ เนนิ การของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7

ภายใน 60 วัน หลังส้ินสดุ ปก ารศึกษา XXXXX

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชมุ ชน หลกั สตู รปรบั ปรุง 2561 หนา 55

ดชั นีบงชี้ผลการดําเนินงาน ปที่ ปท ี่ ปที่ ปท่ี ปท่ี

12345

6. มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธขิ์ องนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู

ทก่ี ําหนดในมคอ.3-4 (ถา ม)ี อยา งนอ ยรอยละ 25 ของรายวิชาทีเ่ ปด X X X X X

สอนในแตล ะปก ารศกึ ษา

7. มีการพัฒนา/ปรบั ปรุงการจัดการเรยี นการสอน กลยุทธก ารสอน

หรือ การประเมนิ ผลการเรยี นรู จากผลการประเมนิ การดาํ เนินงานที่ XXXX

รายงานใน มคอ.7 ปท่ีผา นมา

8. อาจารยใหม (ถามี) ทกุ คน ไดรับการปฐมนเิ ทศหรือคําแนะนําดาน X X X X X
การจดั การเรียนการสอน

9. อาจารยประจําหลักสูตรทุกคนไดรับการพัฒนาทางวชิ าการ และ/ X X X X X
หรือวิชาชีพ อยางนอยปล ะหน่ึงคร้ัง

10.จํานวนบคุ ลากรสนบั สนุนการเรียนการสอน (ถาม)ี ไดร ับการ

พฒั นาวชิ าการ และ/หรือวิชาชพี ไมน อยกวารอ ยละ 50 ตอ ป XXXXX

11.ระดบั ความพงึ พอใจของนักศึกษาปสุดทา ย/ผูสําเร็จการศึกษาใหม XXX
ทม่ี ตี อ คณุ ภาพหลักสูตร เฉลย่ี ไมน อ ยกวา 3.5 จากคะแนน 5.0 XX

12.ระดับความพึงพอใจของผใู ชผสู าํ เร็จการศึกษาท่ีมตี อผูสาํ เร็จ
การศกึ ษาใหม เฉลย่ี ไมน อยกวา 3.5 จากคะแนนเตม็ 5.0

เกณฑประเมิน : หลักสตู รไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ ฯ ตองผา นเกณฑประเมิน ดงั นี้
ตัวบงช้ีบังคับ (ตัวบงช้ีท่ี 1 - 5) มีผลดําเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจํานวนตัวบงช้ี ท่ีมีผล

ดาํ เนินการบรรลุเปา หมาย ไมนอยกวารอยละ 80 ของตัวบงชี้รวมโดยพิจารณาจากจํานวนตัวบงชี้บังคับ

และตวั บงชรี้ วมในแตล ะป

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรบั ปรุง 2561 หนา 56

หมวดที่ 8
การประเมนิ และปรบั ปรงุ การดาํ เนินการของหลกั สูตร

1. การประเมินประสทิ ธผิ ลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธก ารสอน
1) การประชมุ สัมมนารวมกันระหวางผูรับผิดชอบหลักสูตรหรือหัวหนาสาขาวิชา และ

ผสู อนเพอื่ แลกเปลีย่ นความคิดเห็นและแนวปฏบิ ตั ิที่ดรี วมกัน
2) ประเมินจากความพงึ พอใจของผูเรยี น
3) สาขาวิชามีการกําหนดใหผูสอนจัดการเรียนการสอนตาม มคอ.3 ในแตละรายวิชา

หัวหนาสาขาวิชาหรอื ผูร ับผิดชอบหลักสูตรประเมินกลยุทธการสอนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอนในคร้ัง
ตอไป

1.2 การประเมินทักษะของอาจารยใ นการใชแผนกลยุทธก ารสอน
1) การประเมินการสอนโดยนักศกึ ษาแตละรายวชิ า
2) การสงั เกตการณของผูร บั ผิดชอบหลักสูตร และ/หรือทีมผสู อน
3) การนเิ ทศติดตามการจดั การเรยี นการสอน

2. การประเมินหลกั สูตรในภาพรวม
1) นกั ศกึ ษาปสดุ ทาย/ผสู าํ เร็จการศกึ ษา
2) ผวู า จา ง (ผใู ชผสู าํ เร็จการศึกษา)
3) ผูท รงคณุ วุฒิ
4) อาจารยผูสอน
5) ผูมีสวนไดส ว นเสียในชุมชน

3. การประเมินผลการดําเนนิ งานตามรายละเอียดหลกั สูตร
ตองผานการประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับ

อนุปริญญาสาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน และตัวบงชี้เพิ่มเติมในหมวดที่ 7 ขอ 7 รวมท้ังผานการประเมิน
การประกนั คณุ ภาพภายใน
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรบั ปรุง

1) รวบรวมขอ เสนอแนะ/ขอมูล จากการประเมนิ นกั ศกึ ษา ผใู ชผสู าํ เร็จการศึกษา ผทู รงคุณวฒุ ิ
2) วิเคราะห ทบทวนขอมูลขา งตน โดยผูร ับผดิ ชอบหลักสูตร
3) เสนอการปรบั ปรงุ หลักสตู รและแผนกลยทุ ธ (ถา มี)

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 57

ภาคผนวก ก
ตารางเปรยี บเทียบหลกั สตู ร

การเปรยี บเทยี บความแตกตางระหวา งห
ตารางท่ี 1 การเปรยี บเทียบโครงสรางหลกั สตู รเดิมและโครงสรา งหลกั สตู รปรับปรุง

โครงสรางหลกั สูตร เกณฑมาตรฐานหลกั สตู รระดับอน
๒๕๔๘ ของกระทรวงศึกษ
1. หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไป ไมน อยกวา ๓๐ นก.
2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมน อ ยกวา ๕7 นก. 1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา ๓
2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา ๔๕ น
2.1 กลุมวชิ าพนื้ ฐานวชิ าชพี ไมนอยกวา ๑8 นก.
2.2 กลุมวิชาชีพ 2.1 กลมุ วิชาพ้นื ฐานวิชาชพี
2.2 กลุมวชิ าชพี
2.2.1 วชิ าบงั คับ 30 นก.
2.2.2 วชิ าเลอื ก 6 นก. 2.2.1 วชิ าบังคับ
2.2.3 วชิ าการฝกงาน 3 นก. 2.2.2 วชิ าเลือก
3. หมวดวชิ าเลือกเสรี ไมนอยกวา ๓ นก. 2.2.3 วชิ าการฝก งาน
3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมนอยกวา ๓ น
รวม ไมนอยกวา ๙0 หนวยกิต
รวม ไมนอ ยกวา ๙๐ หน

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรับปรุง 2561 หนา 58

หลักสตู รเดมิ และหลักสูตรปรับปรงุ

นุปริญญา พ.ศ. จํานวนหนว ยกิต
ษาธกิ าร
๓๐ นก. หลักสูตรเดมิ หลกั สตู รปรบั ปรงุ
นก.
พ.ศ. ๒๕๕4 พ.ศ. ๒๕๖๑
นก.
นวยกิต ไมนอยกวา ๓๐ นก. ไมนอยกวา ๓๐ นก.

ไมนอยกวา ๕๗ นก. ไมน อ ยกวา ๕๗ นก.

ไมนอ ยกวา 18 นก. ไมนอยกวา 18 นก.

ไมน อยกวา 39 นก. ไมนอ ยกวา 39 นก.

30 นก. 30 นก.

ไมน อ ยกวา 6 นก. ไมนอยกวา 6 นก.

ไมน อยกวา ๓ นก. ไมน อ ยกวา ๓ นก.

ไมน อยกวา ๓ นก. ไมน อ ยกวา ๓ นก.

ไมน อยกวา ๙๐ นก. ไมน อ ยกวา ๙๐ นก.

ตารางท่ี ๒ การเปรียบเทียบขอแตกตางระหวางหลักสูตรเดิมและหลักสตู รปรบั ปรุง

หลกั สตู รปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕4 หลักสูตรปรบั ปรงุ

ชื่อหลักสตู ร ชื่อหลักสูตร/สาขาวิชา

ภาษาไทย : หลกั สตู รอนุปริญญา สาธารณสุขศาสตร ภาษาไทย : หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขา

สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน ภาษาอังกฤษ : Associate Degree Pro

ภาษาองั กฤษ : Associate of Public Health Health

Program in Community Health

ชอ่ื ปริญญา ชอื่ ปริญญา/สาขาวิชา
ภาษาไทย ภาษาไทย
ชือ่ เตม็ : อนปุ ริญญาสาธารณสุขศาสตร สาขาวชิ า ชือ่ เต็ม : อนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณ

สาธารณสขุ ชมุ ชน ชือ่ ยอ : อ.(สาธารณสขุ ชุมชน)
ภาษาอังกฤษ
ชอ่ื ยอ : อ.ส.(สาธารณสุขชุมชน) ช่ือเตม็ : Associate Degree (Commu
ภาษาอังกฤษ ชอื่ ยอ : A.(Community Health)
ช่ือเตม็ : Associate of Public Health
(Community Health)
ชือ่ ยอ : A.P.H. (Community Health

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสขุ ชุมชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 59

พ.ศ. ๒๕๖๑ หมายเหตุ
าวิชาสาธารณสุขชุมชน ปรบั ปรุงตามมติคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาในคราวประชุม
ogram in Community ครง้ั ท่ี ๘/๒๕๖๐ เม่อื วนั ท่ี ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ การกําหนดช่อื
ปริญญาระดับอนปุ ริญญาวา “อนปุ รญิ ญา” แลวตามดว ยชื่อ
ณสขุ ชุมชน สาขาวชิ าและกําหนดใชอักษรยอ วา
“อ.(สาขาวิชา.....)” เพอื่ ใหเปนไปตามประกาศ
unity Health) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง เกณฑม าตรฐานหลักสูตรระดบั
อนปุ ริญญา พ.ศ. ๒๕๔๘
ปรบั ปรงุ ตามมติคณะกรรมการการอดุ มศึกษาในคราวประชุม
คร้งั ท่ี ๘/๒๕๖๐ เมอื่ วนั ที่ ๙ สิงหาคม ๒๕๖๐ การกาํ หนด

ชอื่ ปรญิ ญาระดับอนปุ รญิ ญาวา “อนปุ รญิ ญา” แลว ตามดว ย
ชือ่ สาขาวิชาและกําหนดใชอ ักษรยอวา
“อ.(สาขาวิชา.....)” เพอื่ ใหเ ปนไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรอ่ื ง เกณฑมาตรฐานหลักสตู รระดบั
อนปุ ริญญา พ.ศ. ๒๕๔๘

หลักสูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕4 หลักสตู รปรับปรุง

ปรชั ญาของหลกั สตู ร ปรชั ญาของหลกั สตู ร

มงุ สรา งบคุ ลากรทางดานสุขภาพใหม คี วามรู พัฒนานกั ปฏบิ ัตดิ า นสาธารณสขุ ชมุ ชน เพ

ความสามารถ ในงานสาธารณสขุ คดิ วเิ คราะหการนําความ ชุมชน (Healthy is Wealthy)

รแู ละทกั ษะทางสาธารณสุขไปใชใ นการใหบริการดานสง

เสริมสขุ ภาพ ควบคุมปองกันโรค รกั ษาพยาบาลเบือ้ งตน

และฟนฟสู ภาพ ทสี่ อดคลองกับปญหาสขุ ภาพของทองถน่ิ

โดยเนน ใหป ระชาชนสามารถดแู ลสขุ ภาพ

ของตนเอง ตลอดจนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และเจตคติ

ท่ีดีตองานสาธารณสขุ ในชมุ ชนอนั จะนาํ มาซง่ึ สุขภาวะ

ของประชาชน

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 60

ง พ.ศ. ๒๕๖๑ หมายเหตุ
พื่อเสริมสรางความเขม แขง็ ของ ปรบั ปรงุ ใหสอดคลองกับพนั ธกจิ ของสถาบนั วทิ ยาลัยชมุ ชน

หลักสตู รปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕4 หลักสตู รปรับปรุง
ความสําคัญของหลักสตู ร ความสําคัญของหลกั สูตร

ผูสาํ เรจ็ การศึกษาจากหลักสตู รนจ้ี ะชว ยจัดการ หลกั สตู รที่สรา งนกั ปฏบิ ตั ดิ า นสาธ
แบบมสี วนรว มดานสาธารณสุข เพื่อสรา งค
สาธารณสุขและบริการสาธารณสุขทามกลางความขาด สุขภาวะท่ีดอี ยา งยั่งยนื ทา มกลางความข
แคลน ยากลาํ บากในพนื้ ท่ีหางไกลทรุ กนั ดารหรือในพืน้ ท่ี ในพ้ืนท่หี างไกลทรุ กันดารหรอื ในพ้ืนทช่ี า
เขา ถงึ บริการดา นสาธารณสุข หรือพื้นทที่
ชายแดนท่ีมีความยากลาํ บากในการเขาถงึ บริการดาน ภาษา วฒั นธรรมประเพณี ลดปญ หาการโ
มเี จาหนา ทอ่ี ยูปฏบิ ตั ิงานในพน้ื ทีไ่ ดอยางต
สาธารณสุขในพนื้ ท่ีจงั หวัดตากหรอื จังหวัดชายแดนอนื่ ๆ การศกึ ษาดานสาธารณสุขชุมชน เพือ่ สรา ง
รวมทั้งจดั การสาธารณสุขท่เี หมาะสมกับบริบทของพนื้ ที่ สามารถปฏบิ ตั งิ านไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ
ระบบบริการสุขภาพ
ทรุ กนั ดาร หา ง

ไกล ชายแดน หรอื พืน้ ท่ีทีม่ ีความแตกตา งทางดานชาติ

พันธุ ภาษา

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรุง 2561 หนา 61

พ.ศ. ๒๕๖๑ หมายเหตุ
- เพ่อื ใหส อดคลองกบั กบั นโยบายรัฐบาลท่จี ะนาํ ประเทศไทยกา ว
ธารณสขุ ชมุ ชน สามารถปฏบิ ัตงิ าน สู Thailand 4.0 และลดความเหลื่อมลํ้าการเขาถึงระบบสขุ ภาพ
ความเขมแข็งของชมุ ชนและการมี ตั้งเปาหมายให "ประชาชนสขุ ภาพดี เจา หนา ทีม่ คี วามสุข
ขาดแคลนบุคลากรดานสาธารณสขุ ระบบสุขภาพยง่ั ยนื "
ายแดนทมี่ ีความยากลาํ บากในการ - พฒั นาบุคคลากรสาธารณสุขทสี่ ามารถอยูป ฏิบตั หิ นาท่ใี น
ทีม่ คี วามแตกตางทางดา นชาติพนั ธุ ชมุ ชน สามารถลดอุปสรรคตา ง ๆ ของประชาชนในการเขาถึง
โยกยา ยกาํ ลงั คนดานสขุ ภาพ ทําให บริการสาธารณสุขได ซงึ่ จะชว ยลดความเหลือ่ มล้าํ และสรา ง
ตอเนือ่ ง ดงั นนั้ จงึ จําเปนตองจัด ความเปน ธรรมในสงั คมไดอ ีกทางหนึ่ง และนําไปสกู ารพัฒนา
งบุคลากรทมี่ ีสมรรถนะเหมาะสม สุขภาพและ
พ สอดคลอ งนโยบายการพัฒนา สขุ ภาวะของประชาชนและชุมชนโดยทว่ั หนา และสอดคลองกบั
แนวคดิ ขององคการอนามยั โลกในการพัฒนากําลงั คนดา น
สขุ ภาพที่วา “คัดคนทองถน่ิ เรียนในทอ งถน่ิ และทาํ งานบา นเกดิ
หรอื

หลักสตู รปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕4 หลักสูตรปรับปรงุ
วฒั นธรรมประเพณี ลดปญ หาการโยกยายกาํ ลังคน ความสาํ คัญของหลกั สูตร

ดา นสขุ ภาพ ทาํ ใหมเี จา หนา ท่ีอยูปฏบิ ตั งิ านในพื้นท่ี หลกั สตู รทส่ี รา งนักปฏบิ ตั ิดานส
ปฏิบัตงิ านแบบมีสว นรวมดา นสาธารณ
อยา งตอเน่อื งได ชมุ ชนและการมสี ขุ ภาวะที่ดีอยา งยง่ั ยืน
บุคลากรดา นสาธารณสขุ ในพ้ืนทีห่ างไก
ชายแดน
ท่มี คี วามยากลาํ บากในการเขาถงึ บรกิ า
ความแตกตางทางดา นชาติพันธุ ภาษา
การโยกยายกําลังคนดา นสุขภาพ ทําให
พน้ื ที่ไดอ ยางตอเน่ือง ดงั นน้ั จงึ จาํ เปน ต
สาธารณสขุ ชมุ ชน เพอ่ื สรางบุคลากรท่มี
ปฏบิ ัตงิ านไดอยางมีประสทิ ธิภาพ สอด
บรกิ ารสุขภาพ

หลกั สตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลักสตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 62

พ.ศ. ๒๕๖๑ หมายเหตุ
Rural recruitment, Rural training, Hometown
สาธารณสุขชมุ ชน สามารถ working”
ณสุข เพ่ือสรางความเขมแขง็ ของ
น ทา มกลางความขาดแคลน
กลทรุ กันดารหรือในพนื้ ท่ี

ารดานสาธารณสขุ หรอื พนื้ ที่ทีม่ ี
วัฒนธรรมประเพณี ลดปญหา
หมเี จา หนา ที่อยปู ฏบิ ัติงานใน
ตองจัดการศึกษาดาน
มสี มรรถนะเหมาะสม สามารถ
ดคลองนโยบายการพัฒนาระบบ

หลักสูตรปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๕4 หลกั สตู รปรบั ปรงุ

วัตถปุ ระสงคของหลักสูตร วตั ถปุ ระสงคของหลักสตู ร

เ พื่ อ ผ ลิ ต ผู สํ า เ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ใ ห มี ค ว า ม รู เพอื่ ใหผูเรยี นมคี วามสามารถและคณุ ล
(1) มีความเปนคนดี พลเมอื งด
ความสามารถ มีคุณภาพตามเกณฑมาตรฐาน โดยมี
จรยิ ธรรม จรรยาบรรณในวชิ าชพี และมีเ
คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค ดังน้ี
1 . มี ค ว า ม เ ป น พ ล เ มื อ ง ดี มี คุ ณ ธ ร ร ม สุขชมุ ชน
(2) มคี วามรู ความเขาใจ ทกั ษ
จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพและมีเจตคติที่ดีตอ
การควบคุมและปอ งกนั โรค การตรวจปร
วิชาชีพสาธารณสขุ การฟน ฟูสภาพ การคมุ ครองผบู รโิ ภคแล
2. มคี วามรู ความเขา ใจ ทางดานสาธารณสขุ รวมทัง้ บูรณาการศาสตรอ น่ื ที่เก่ียวของม

การบริการสงเสรมิ สขุ ภาพ การควบคุมและปองกนั (3) สามารถใหบ ริการ สงเสรมิ แ
โรค การรักษาพยาบาล การฟนฟูสภาพ ในทองถ่ิน ดูแลสุขภาพตนเอง ชุมชน แบบองคร วม ท
และตติยภูมิ
3. สามารถใหบ ริการปฐมภูมิแกบคุ คลแบบ
องคร วมไดอ ยางเหมาะสมกับบริบทและปญหา (4) สามารถคดิ รเิ ริม่ สรา งสรรค
สาธารณสขุ ของทอ งถ่นิ และแกป ญหาในการปฏบิ ตั งิ านดา นสาธา

4. สามารถกระตุน ใหป ระชาชนเกิดการสง (5) เปนผนู าํ ดา นการดูแลสุขภา
เสริมสุขภาพและการดูแลตนเองเพ่ือปองกนั โรคทงั้ เชื่อมประสานการบรกิ ารปฐมภูมิกบั เครือ
ระดับปฐมภมู ิ ทตุ ยิ ภมู แิ ละตติยภมู ใิ นชมุ ชน สขุ ภาพชมุ ชน

5. สามารถคดิ วิเคราะห และแกป ญหาใน (6) มีความสามารถและประยุกต
การปฏิบัตงิ านดานสาธารณสขุ ของชุมชน ดา นสาธารณสุข

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลักสตู รปรับปรงุ 2561 หนา 63

พ.ศ. ๒๕๖๑ หมายเหตุ
ปรบั ปรงุ เพ่ือมงุ เมนการพฒั นาผเู รียนตาม Learning outcome
ลกั ษณะ ดังนี้ ของหลกั สตู ร
ดี มีคุณธรรม
เจตคติท่ดี ีตอ วชิ าชพี สาธารณ

ษะ ในการสง เสรมิ สุขภาพ
ระเมินและบาํ บัดโรคเบอ้ื งตน
ละอนามัยส่ิงแวดลอม
มาใชอยางเหมาะสม
และสนบั สนนุ ใหประชาชน
ท้งั ระดับปฐมภมู ิ ทุตยิ ภมู ิ

ค วเิ คราะห สงั เคราะห
ารณสุขของชุมชน
าพทดี่ ีในชมุ ชน สามารถ
อขายที่เกีย่ วของกับการจัดบริการ

ตใ ชทกั ษะดิจิทัลในการปฏบิ ัตงิ าน

หลกั สูตรปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๕4 หลักสูตรปรบั ปรงุ
6. เปน ผูนําทางดา นสาธารณสุข และการดู
โครงสรางหลักสตู ร
แลสุขภาพทีด่ ีในชุมชน สามารถเชอื่ มประสานการ หนว ยกิตรวมตลอดหลักสูตร ไมน อ
บริการปฐมภูมกิ บั เครือขา ยที่เกีย่ วของกบั การ
สดั สวนหนว ยกติ แตล ะหมวดวิชา และแ
จดั บรกิ ารสขุ ภาพชุมชน
1. หมวดวิชาศกึ ษาท่ัวไป ไมน อย
โครงสรา งหลกั สูตร 2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา
หนว ยกติ รวมตลอดหลักสูตร ไมน อยกวา 90
2.1 กลุมวิชาพน้ื ฐานวชิ าชีพ ไม
หนวยกิต โดยมีสัดสว นหนว ยกิต แตล ะหมวดวิชา และ 2.2 กลมุ วิชาชพี ไมน อ ยกวา

แตละกลมุ วิชาดงั น้ี 2.2.1 วชิ าบังคับ 30 นก.
1. หมวดวิชาศึกษาท่วั ไป ไมนอยกวา ๓๐ นก. 2.2.2 วชิ าเลอื ก 6 นก.
2. หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอ ยกวา ๕๗ นก. 2.2.3 วชิ าการฝก งาน ๓ นก
2.1 กลมุ วชิ าพื้นฐานวิชาชีพ ไมนอยกวา 3. หมวดวชิ าเลอื กเสรี ไมนอ ยกวา

18 นก.
2.2 กลุมวชิ าชพี ไมนอ ยกวา 39 นก.

2.2.1 วชิ าบังคับ 30 นก.

2.2.2 วชิ าเลือก 6 นก.
2.2.3 วชิ าการฝกงาน ๓ นก.
3. หมวดวิชาเลอื กเสรี ไมนอ ยกวา ๓ นก.

หลักสตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลกั สตู รปรับปรงุ 2561 หนา 64

พ.ศ. ๒๕๖๑ หมายเหตุ

ไมม ีการปรับเปล่ียน

อยกวา 90 หนว ยกติ โดยมี
แตละกลมุ วชิ าดงั นี้

ยกวา ๓๐ นก.
๕๗ นก.
มน อ ยกวา 18 นก.
า 39 นก.

ก.
๓ นก.

หลกั สูตรปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๕4 หลกั สตู รปรับปรุง

เปรียบเทียบรายวิชา

1. หากมีการยกเลิกรายวชิ า ใหร ะบขุ อมลู ในชอ งหลักสูตรเดิมและเวนวา งในชองหลักสตู รใหม พร

2. หากเปนรายวิชาใหมท ไ่ี มไดมกี ารปรับปรงุ จากรายวชิ าเดิมที่มีอยใู นหลกั สูตรเดิม ใหร ะบุขอมลู

ใหม”

กลุมวชิ าพ้นื ฐานวิชาชพี 18 หนวยกติ กลมุ วชิ าพื้นฐานวชิ าชีพ 18 หนวยกิต

สศ 0101 เคมีสาธารณสขุ 3(2-2-5) สช 0501 เคมสี าธารณสุข 3(2-2-5)

สศ 0102 ชีววิทยาสาธารณสุข 3(2-2-5) สช 0502 ชีววทิ ยาสาธารณสขุ 3(2-

สศ 0103 จลุ ชีววทิ ยาและปรสติ วิทยา 3(2-2-5) สช 0503 จุลชวี วทิ ยาและปรสติ วทิ ย

สศ 0104 เคมสี าธารณสขุ 3(2-2-5) สช 0504 เคมีสาธารณสุข 3(2-2-5)

สศ 0105 กายวิภาคศาสตรแ ละสรีรวิทยาของ สช 0505 กายวภิ าคศาสตรแ ละสรีรว

มนษุ ย สช 0506 เภสชั ศาสตรสาธารณสขุ

3(2-2-5)

สศ 0106 เภสชั วิทยา วิชาบงั คบั 30 หนว ยกิต

วิชาบงั คับ 30 หนวยกิต สช 0507 การสาธารณสุขและสาธาร

สศ 0107 การสาธารณสุขและสาธารณสุขชมุ ชน 3(3-0-6)

3(3-0-6) สช 0508 ระบาดวิทยา 3(3-0-6)

สศ 0108 ระบาดวิทยา 3(3-0-6) สช 0509 การปองกันและควบคมุ โรค

สศ 0109 การปอ งกนั และควบคุมโรค 3(2-2-5) สช 0510 การบรกิ ารปฐมภมู ิ 1 3(2

หลักสตู รอนุปรญิ ญา สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน หลักสตู รปรบั ปรุง 2561 หนา 65

พ.ศ. ๒๕๖๑ หมายเหตุ

รอ มระบุในชองหมายเหตวุ า “ยกเลิกรายวชิ า”
ลในชองหลกั สูตรใหมและเวน วา งในชองหลกั สูตรเดิม พรอมระบใุ นชองหมายเหตุวา “รายวชิ า

ต ปรบั ปรงุ เนอื้ หา
) ปรบั ชื่อรายวิชา/ปรบั ปรงุ เนอ้ื หา
-2-5)

ยา 3(2-2-5)

)
วทิ ยาของมนษุ ย 3(2-2-5)

รณสขุ ชุมชน

ค 3(2-2-5) ปรบั ปรงุ เนอ้ื หา
2-2-5)

สศ 0110 การบริการปฐมภูมิ 1 3(2-2-5) สช 0511 การบรกิ ารปฐมภมู ิ 2 3(1
สศ 0111 การบรกิ ารปฐมภมู ิ 2 3(1-4-4) สช 0512 การสง เสรมิ สุขภาพชุมชน
สศ 0112 การสง เสรมิ สขุ ภาพชมุ ชน 3(2-2-5) สช 0513 อนามยั การเจริญพันธุ 3(2
สศ 0113 อนามยั การเจรญิ พันธุ 3(2-2-5) สช 0514 อนามัยส่ิงแวดลอ ม 3(2-2
สศ 0114 อนามัยสงิ่ แวดลอม 3(2-2-5) สช 0515 การฟนฟูสภาพ 3(2-2-5)
สศ 0115 การฟนฟสู ภาพ 3(2-2-5) สช 0516 การบริหารงานสาธารณสขุ
สศ 0116 การบริหารงานสาธารณสุข 3(3-0-6) วิชาเลอื ก ไมนอ ยกวา 6 หน
วชิ าเลือก ไมนอ ยกวา 6 หนวยกติ สช 0517 สุขภาพจิตชุมชน 3(3-0-6
สศ 0117 สุขภาพจิตชุมชน 3(3-0-6) สช 0518 ทนั ตสาธารณสขุ 3(3-0-6)
สศ 0118 ทันตสาธารณสุข 3(3-0-6) สช 0519 การสุขศึกษาและพฤตกิ รรม
สศ 0119 การสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
สช 0520 ชวี สถิตสิ าธารณสขุ 3(3-0
3(3-0-6) สช 0521 โภชนาการชมุ ชน 3(3-0-6
สศ 0120 ชวี สถิตสิ าธารณสขุ 3(3-0-6)
สศ 0121 โภชนาการชุมชน 3(3-0-6) สช 0523 การดแู ลสุขภาพที่บา นและ
สศ 0122 อาชีวอนามัยและความปลอดภัย สช 0524 การพฒั นาสาธารณสุขชมุ ช
สช 0525 การดแู ลสุขภาพผูสงู อายุ 3
3(3-0-6) สช 0526 การคุม ครองผบู ริโภค 3(2-
สศ 0123 การดแู ลสขุ ภาพท่บี านและชุมชน 3(3-0-6)
สศ 0124 การพัฒนาสาธารณสขุ ชมุ ชน 3(2-2-5)

หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชุมชน หลกั สตู รปรบั ปรงุ 2561 หนา 66

1-4-4) ปรบั ปรงุ เนื้อหา
3(2-2-5) ปรับปรุงเน้ือหา
2-2-5) ปรบั ปรุงเนอ้ื หา
ปรบั ปรงุ เนอ้ื หา
2-5)
) ปรบั ปรงุ เนื้อหา
ข 3(3-0-6) ปรบั ปรุงเนอ้ื หา
นวยกิต ปรับปรงุ เนอ้ื หา
6)
) รายวิชาใหม
มสขุ ภาพ 3(3-0-6) รายวชิ าใหม

0-6)
6)

ะชมุ ชน 3(3-0-6)
ชน 3(2-2-5)
3(2-2-5)
-2-5)



หลกั สตู รอนปุ รญิ ญา สาขาวชิ าสาธารณสุขชมุ ชน หลักสตู รปรับปรงุ 2561 หนา 67


Click to View FlipBook Version