ระบบยอ่ ยอาหาร
Digestive System
เน้ือหา
ระบบยอ่ ยอาหาร
การย่อยอาหารในจุลนิ ทรยี แ์ ละสง่ิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว
การย่อยอาหารในสตั วบ์ างชนิด
การย่อยอาหารในคน
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. สบื คน้ ขอ้ มูล อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและกระบวนการย่อยอาหารของสตั วไ์ มม่ ีทางเดนิ อาหาร สตั วท์ ่มี ี
ทางเดนิ อาหารแบบไม่สมบูรณ์ และสตั วท์ ่มี ีทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ์
2. สงั เกต อธิบาย การกนิ อาหารของไฮดรา และพลานาเรยี
การย่อยอาหารในจลุ นิ ทรยี แ์ ละสง่ิ มีชีวติ เซลลเ์ ดยี ว
การย่อยอาหารในจุลนิ ทรยี ์
การยอ่ ยอาหารในสง่ิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดียว
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การยอ่ ยอาหารของแบคทเี รยี และรา
Rhizopus sp.
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การย่อยเป็นการยอ่ ยภายนอกเซลล์ (extracellular digestion)
เป็นการปลอ่ ยน้าย่อยหรอื เอนไซมอ์ อกมาย่อยสารโมเลกลุ ใหญ่ใหเ้ ป็ นสารโมเลกลุ เลก็ กอ่ น แลว้ จงึ ดูดซึมสารโมเลกลุ เลก็ เขา้ สู่
เซลล์ เน่ืองจากแบคทเี รยี และรา มผี นงั เซลลจ์ งึ ไม่สามารถนาสารโมเลกลุ ใหญ่เขา้ สูเ่ ซลลไ์ ด้
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การย่อยสลายโดยแบคทเี รียและรามีความเฉพาะเจาะจงของจุลนิ ทรยี ต์ ่อสารท่จี ะเจริญ เช่น ยีสต์ มีเอนไซมใ์ นการยอ่ ย
สลายน้าตาล แต่ไม่มีเอนไซมย์ ่อยแป้ ง ยสี ตจ์ งึ เจริญไดด้ ีในอาหารพวกน้าตาล ปจั จุบนั นามาใชใ้ นงานเทคโนโลยีชีวภาพ เช่น
การหมกั แอลกอฮอล์ การหมกั กรดแลกตกิ
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การยอ่ ยอาหาร เป็นกระบวนการแปรสภาพโมเลกลุ ของสารอาหารขนาดใหญ่กลายเป็นโมเลกลุ ขนาดเลก็ ท่ี
สามารถแพรเ่ ขา้ สูเ่ ซลลเ์ พอ่ื นาไปใชป้ ระโยชน์ได้ แบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คอื
1. การย่อยอาหารภายในเซลล์ (Intracellular Digestion) พบในสง่ิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว เช่น อะมีบา เซลลเ์ ม็ด
เลอื ดขาว และเซลลป์ ลอก (Choanocyte cell) ของฟองน้า เป็นตน้ มีการนาอาหารเขา้ สูเ่ ซลลโ์ ดยวธิ ีเอนโดไซโทซิสแลว้ หลงั่
เอนไซมอ์ อกมายอ่ ยอาหารภายในเซลล์
2. การย่อยอาหารภายนอกเซลล์ (Extracellular Digestion) พบในสง่ิ มชี ีวิตท่มี รี ะบบทางเดินอาหารและ
พวกผูย้ อ่ ยสลายอนิ ทรยี สาร เช่น เหด็ รา โดยเซลลจ์ ะหลงั่ เอนไซมอ์ อกมายอ่ ยอาหารภายนอกเซลลแ์ ลว้ ดูดซมึ อาหารท่ยี อ่ ย
แลว้ เขา้ สูเ่ ซลล์
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การย่อยอาหารของสง่ิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดยี ว
การย่อยอาหารของอะมบี า
การยอ่ ยอาหารของพารามเี ซียม
การย่อยอาหารของยูกลนี า
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การย่อยอาหารของอะมบี า
อาหารของอะมีบาประกอบดว้ ยเศษสารอนิ ทรีย์ เซลลแ์ บคทเี รยี สาหร่ายและสง่ิ มีชีวิตเลก็ ๆ นาอาหารเขา้ สูเ่ ซลลโ์ ดย
กลไกท่เี รยี กวา่ Phagocytosis หรอื การกนิ ของเซลล์
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การย่อยอาหารของพารามีเซียม
อาหารของพารามีเซยี มคลา้ ยกบั อะมีบา ใช้ Cilia
ท่บี ริเวณร่องปาก ทาหนา้ ท่ีในการโบกพดั ใหอ้ าหารตกลงสู่
ร่องปาก (oral groove) จนถงึ ส่วนของคอหอยและถูก
สรา้ งเป็นฟดู แวควิ โอลข้ึน ซ่งึ ฟดู แวควิ โอลน้ีจะเคล่อื นท่ีไป
รอบ ๆ เซลลโ์ ดยการไหลเวียนของไซโทพลาซึม ในขณะ
ท่ฟี ดู แวควิ โอลเคลอ่ื นท่ไี ปกจ็ ะมกี ารยอ่ ยอาหารเกดิ ข้ึนดว้ ย
ทาใหฟ้ ูดแวควิ โอลมีขนาดเลก็ ลงเร่ือย ๆ และสารอาหารท่ี
ไดจ้ ากการย่อยก็จะกระจายและแพร่ไปไดท้ วั่ ทุกส่วนของ
เซลล์ สว่ นท่ีเหลือจากการย่อยก็จะถูกขบั ออกจากเซลลใ์ น
รูปของกากอาหารต่อไป
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
การย่อยอาหารของยูกลนี า
ยูกลนี าไดอ้ าหารโดยวธิ ีการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง
เน่ืองจากมีโครมาโทฟอร์ (Chromatophore) ซ่งึ เป็น
รงควตั ถทุ ่มี คี ลอโรฟี ลลเ์ อและคลอโรฟี ลลบ์ ีอยูด่ ว้ ย จงึ
สงั เคราะหด์ ว้ ยแสงได้ นอกจากน้ียงั ดารงชีวิตแบบ
Saprophyte ไดด้ ว้ ยโดยย่อยสารอาหารท่อี ยูร่ อบ ๆ ตวั
และสง่ เขา้ รอ่ งปาก
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ
ระบบย่อยอาหาร
Digestive System
นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ : ผูส้ อน
โรงเรยี นหาดใหญ่วทิ ยาลยั จงั หวดั สงขลา
เน้ือหา
อาหารและการยอ่ ยอาหาร
การยอ่ ยอาหารในจุลนิ ทรยี แ์ ละสง่ิ มชี ีวติ เซลลเ์ ดียว
การยอ่ ยอาหารในสตั วบ์ างชนิด
การย่อยอาหารในคน
การย่อยอาหารในสตั วบ์ างชนิด
การย่อยอาหารในฟองน้า การย่อยอาหารของสตั วท์ ่ที างเดินอาหารสมบูรณ์
การย่อยอาหารของสตั วท์ ่ที างเดินอาหารไม่สมบูรณ์ การย่อยอาหารของหนอนตวั กลม
การย่อยอาหารของไฮดรา
การย่อยอาหารของหนอนตวั แบน การย่อยอาหารของไสเ้ ดอื นดนิ
การย่อยอาหารของกงุ้
การย่อยอาหารของแมลง
การย่อยอาหารของหอยกาบ
การย่อยอาหารของสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั
การย่อยอาหารของปลา
การย่อยอาหารของสตั วป์ ีก
การย่อยอาหารของววั
การย่อยอาหารของฟองน้า Phylum Porifera
อาหารของฟองน้า ไดแ้ ก่ พวกแพลงกต์ อนท่ตี ดิ มากบั น้า
มที างเดินอาหารเป็ นแบบช่องรา่ งแห (channel network) ซ่งึ เป็นทางเดินอาหารท่ไี ม่ใช่ทางเดินอาหารท่แี ทจ้ ริง
น้าไหลเขา้ ทางออสเทีย (ostia) และไหลออกทางออสควิ ลมั (osculum)
อาหารจะถกู เซลลโ์ คแอโนไซต์ (choanocyte) จบั โดยจะตดิ กบั เมอื กเหนียวบรเิ วณ collar แลว้ นาอาหารเขา้ สู่
เซลลโ์ ดยวธิ ี Phagocytosis กลายเป็น food vacuole สง่ ต่อใหก้ บั เซลลท์ ่เี คล่อื นท่ีไดค้ ลา้ ยอะมบี าเรยี กว่า เซลลอ์ ะมี
โบไซต์ (amoebocyte) ซ่งึ จะทาหนา้ ท่ยี อ่ ยโดยนา food vacuole ไปรวมกบั lysosome จากน้นั นาอาหารท่ยี อ่ ยได้
แลว้ ไปสง่ ใหก้ บั เซลลอ์ น่ื ๆ ทวั่ ตวั ฟองน้า
การยอ่ ยอาหารของสตั วท์ ่มี ที างเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์
ทางเดินอาหารแบบไม่สมบูรณ์หรือทางเดินอาหารแบบปากถงุ (on-hole-sac) เป็ นทางเดินอาหารท่ีมีทาง
เปิดทางเดยี วคอื มีปากแต่ไม่มีทวารหนัก ปากทาหนา้ ท่เี ป็ นทง้ั ทางเขา้ ของอาหารและทางออกของกากอาหารไปพรอ้ ม
ๆ กนั ทาใหอ้ าหารและกากอาหารมีทศิ ทางการเคล่อื นท่ีสวนทางกนั ระบบทางเดินอาหารจงึ ยงั ไม่พฒั นามากนกั
1. การยอ่ ยอาหารของไฮดรา
2. การยอ่ ยอาหารของหนอนตวั แบน
พลานาเรยี
การย่อยอาหารของพยาธิใบไม้
การย่อยอาหารของพยาธติ วั ตดื
การยอ่ ยอาหารของไฮดรา (Phylum Cnidaria)
อาหารของไฮดรา ไดแ้ ก่ ตวั ออ่ นของกงุ้ ปู ไรน้าเลก็ ๆ ท่อี ยู่ในน้า
ไฮดราใชอ้ วยั วะคลา้ ยหนวด เรยี กว่า หนวดจบั (tentacle) ซ่งึ มอี ยูร่ อบปากจบั อาหารและใชเ้ ซลลท์ ่ีมเี นมาโทซิสต์
(nematocyst) หรอื เข็มพษิ ท่อี ยูท่ ่หี นวดจบั แทงและฆ่าเหย่อื ต่อจากน้นั จงึ สง่ เหย่อื เขา้ ปาก
ทางเดินอาหารของไฮดราอยู่กลางลาตวั เป็ นท่อกลวงเรยี กว่า ช่องแกสโทรวาสควิ ลาร์ (gastrovascular cavity)
ซ่งึ บดุ ว้ ยเซลลท์ รงสูงเรยี กว่า ชน้ั แกสโทเดอรม์ สิ (gastrodermis) เป็นเหย่อื ชน้ั ในบชุ ่องว่างของลาตวั ซ่งึ ประกอบดว้ ย
นิวทรทิ พิ เซลล์ (nutritive cell) เซลลต์ อ่ มหรือเซลลย์ ่อยอาหาร (gland cell or digestive cell)
นิวทริทิพ เซลล์ (nutritive cell) เป็ นเซลลท์ ่มี ีลกั ษณะอว้ น บางเซลลม์ ีแฟลกเจลลา 1 หรือ 2 เสน้ เรียกว่า เซลล์
แฟลเจลเลต (flagellate cell) บางเซลลม์ ีลกั ษณะคลา้ ยอะมีบา เรยี กว่า เซลลอ์ ะมีบอยด์ (amoeboid cell) ทาหนา้ ท่ีย่นื
ขาเทียมออกมาลอ้ มจบั อาหาร แลว้ จงึ ยอ่ ยอาหารและทาหนา้ ท่ีดูดอาหารท่ีย่อยแลว้ สว่ นเซลลแ์ ฟลเจลเลต มีหนา้ ท่ีโบกพดั
ใหเ้ กดิ การหมนุ เวยี นของน้าและอาหารภายในช่องแกสโทรวาสควิ ลาร์ และโบกพดั ใหก้ ากอาหารเคลอ่ื นท่อี อกทางปากต่อไป
เซลลต์ ่อมหรือเซลลย์ ่อยอาหาร (gland cell or digestive cell) เป็ นเซลลท์ ่ีทาหนา้ ท่สี รา้ งน้าย่อยแลว้ ปลอ่ ยน้าย่อย
ออกมาย่อยอาหารพบมากบริเวณใกลๆ้ ปาก จะเห็นไดว้ ่า การย่อยอาหารโดยเซลลต์ ่อม จดั เป็ นการย่อยแบบนอกเซ ลล์
สว่ นการย่อยโดยเซลลอ์ ะมีบอยดจ์ ดั เป็ นการย่อยอาหารแบบภายในเซลล์
การย่อยอาหารของหนอนตวั แบน
หนอนตวั แบนเป็ นสตั วท์ ่จี ดั อยู่ในลมั แพลทเี ฮลมินเทส (Phylum Platyhelminthes) ไดแ้ ก่
พลานาเรยี
พยาธิใบไม้
พยาธิตวั ตดื
การย่อยอาหารของพลานาเรยี (Phylum Platyhelminthes)
อาหารของพลานาเรยี ไดแ้ ก่ พวกเน้ือสตั วช์ ้ินเลก็ ๆ ตวั ออ่ นของแมลง ไรน้า หนอนเลก็ ๆ
ปากอยู่บรเิ วณกลางลาตวั และมงี วงหรือโพรบอซิส (probosis) ท่ียดื หดได้ มีหนา้ ท่ชี ่วยจบั อาหารเขา้ สูป่ าก ต่อจากน้ัน
อาหารจะถูกสง่ ผ่านทางเดินอาหาร ซ่ึงมี 3 แฉก แยกไปทางสว่ นหวั 1 แฉก และแยกออกทางดา้ นขา้ งลาตวั อกี 2 แฉก แต่
ละแฉกจะมแี ขนงของทางเดนิ อาหารแตกแขนงแยกย่อยออกไปอกี เรยี กว่า ไดเวอรท์ คิ วิ ลมั (diverticulum)
โพรบอซิส มีกลา้ มเน้ือแข็งแรง มีหนา้ ท่ีจบั อาหารเขา้ สูป่ าก กากอาหารท่ีเหลอื จากการย่อยและดูดซึมแลว้ จะถูกขบั
ออกทางช่องปากเช่นเดิม การยอ่ ยอาหารของพลานาเรยี เป็ นการย่อยภายนอกเซลล์ นอกจากน้ีเซลลบ์ ผุ นังช่องทางเดินอาหาร
ยงั สามารถใชว้ ิธีฟาโกไซโทซสิ จบั อาหารเขา้ มายอ่ ยภายในเซลลไ์ ดด้ ว้ ย
การย่อยอาหารของพยาธใิ บไม้
ทางเดินอาหาร มีลกั ษณะคลา้ ยอกั ษรรูปตวั วาย (Y–shape)
ทางเดินอาหารของพยาธิใบไมป้ ระกอบดว้ ยปากป่ ุมดูด (Oral
sucker) ท่ีมีปากดูดกินอาหารจากโฮสต์ ต่อจากปากเป็ นคอ
หอย (Pharynx) ซ่ึงเป็ นกลา้ มเน้ือหนา ต่อจากคอหอยเป็ น
หลอดอาหารสน้ั ๆ ซ่ึงจะต่อกบั ลาไส้ (Intestine) ซ่ึงแตก
แขนงเป็ น 2 แฉกอยู่ขา้ งลาตวั แต่ละแฉกยงั มีแฉกย่อยอกี
มากมายแยกออกไปทวั่ ร่างกาย แขนงยอ่ ยหรอื ไดเวอรท์ ิคิวลมั
น้ี ช่วยเพ่ิมพ้ืนท่ีผิวในการดูดซึมอาหารไปเล้ียงส่วนต่าง ๆ
ของร่างกายไดอ้ ย่างทวั่ ถึง โดยไม่ตอ้ งอาศยั ระบบการลาเลียง
โดยเฉพาะสว่ นกากอาหารกถ็ ูกกาจดั ออกทางปากเช่นเดียวกบั
ไฮดราและพลานาเรีย
การย่อยอาหารของพยาธติ วั ตดื
พยาธิตวั ตืด ไดอ้ าหารโดยการแพร่ของสารอาหารท่ียอ่ ยแลว้ ผ่านเขา้ ทางผิว ลาตวั และสะสมเป็ นไกลโคเจน ซ่ึงจะเป็ น
แหลง่ ของพลงั งาน ถา้ พยาธิตวั ตืดขาดแคลนอาหารจะนาไกลโคเจนมาใชแ้ ละถา้ หมดจะนาไข่แดงมาใช้ ถา้ ไข่แดงหมดจะนา
อวยั วะสบื พนั ธุม์ าใช้ ซ่งึ ทาใหต้ วั มขี นาดเลก็ ลงเร่อื ย ๆ และตายยากมาก
การยอ่ ยอาหารของสตั วท์ ่มี ีทางเดนิ อาหารสมบูรณ์
มีทางเดนิ อาหาร เป็นแบบช่องเปิด 2 ทาง หรอื ทอ่ กลวง (two hole tube)
ปาก --> คอหอย --> ลาไสเ้ ลก็ --> ทวารรว่ ม --> ทวารหนกั
การยอ่ ยอาหารของหนอนตวั กลม
การย่อยอาหารของไสเ้ ดอื นดิน
การยอ่ ยอาหารของกงุ้
การยอ่ ยอาหารของแมลง
การยอ่ ยอาหารของหอยกาบ
การยอ่ ยอาหารของหนอนตวั กลม
หนอนตวั กลมเป็นสตั วจ์ ดั อยู่ในไฟลมั นีมาโทดา (Phylum Nematoda)
ทางเดินอาหารเร่ิมตน้ ดว้ ยปากถดั ไปเป็ นคอหอย ซ่ึงเป็ นกลา้ มเน้ือหนาและสน้ั ต่อจากน้ันเป็ นลาไสเ้ ล็กยาวไปจนถึง
ทวารหนกั ซ่งึ อยู่ท่สี ว่ นทา้ ยของตวั ในพยาธิไสเ้ ดือนตวั กลมตวั ผูม้ ีทวารหนกั เปิ ดรวมกบั ท่อของระบบสบื พนั ธุเ์ ป็ นทวาร
ร่วมหรือโคลเอกา (cloaca) สว่ นตวั เมียทวารหนักและท่อของอวยั วะสบื พนั ธุจ์ ะแยกกนั อาหารท่หี นอนตวั กลมกนิ เขา้
ไปจะถกู ยอ่ ยและถกู ดูดซมึ โดยลาไสซ้ ่งึ มีความยาวเกอื บตลอดลาตวั
การยอ่ ยอาหารของไสเ้ ดอื นดนิ
ไสเ้ ดือนเป็ นสตั วจ์ าพวกหนอนตวั กลมมีปลอ้ งจดั อยู่ใน ไฟลมั แอนนิลิดา (Phylum Annelida) อาหารของไสเ้ ดือน
ไดแ้ ก่ เศษพชื เศษอนิ ทรยี ต์ ่างๆ ท่เี น่าเป่ือยผุพงั ตวั ออ่ นของสตั วเ์ ลก็ ๆ
ปาก ช่องปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร
ทวารหนกั ลาไส้ กระเพาะบดอาหาร (กนึ๋ )
ทางดา้ นบนของลาไสไ้ สเ้ ดือนจะมีส่วนท่ีย่ืนลงมา เรียกว่า ไทโฟลโซล (typholsole) ช่วยใหล้ าไสข้ ยายขนาดข้ึนเม่ือมี
อาหารอยูภ่ ายใน ทาใหป้ ระสทิ ธิภาพของการย่อยและการดูดซึมดขี ้ึน
การย่อยอาหารของกงุ้
เป็นสตั วข์ าปลอ้ งจดั อยูใ่ นไฟลมั อารโ์ ทโพดา (Phylum Arthopoda) ทางเดินอาหารเป็นแบบช่องเปิ ด 2 ทาง (Two hole
tube) แบ่งเป็น 3 ตอน คอื
1. ทางเดินอาหารตอนหน้า (Stomodaeum) ใชป้ ากซ่ึงมีระยางคร์ อบปาก 3 คู่ ช่วยในการกินเค้ียวอาหารและมีต่อม
น้าลาย (Salivary gland) ทาหนา้ ท่สี รา้ งน้าย่อย มีหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ซ่ึงกระเพาะอาหารของกงุ้ ทาหนา้ ท่ี 2 อย่าง คอื
เป็นท่พี กั และบดอาหาร
2. ทางเดินอาหารตอนกลาง (Mesenteron) เป็ นสว่ นท่ีอยู่ถดั จากกระเพาะอาหาร และมีช่องรบั น้าย่อย ทางเดินอาหาร
สว่ นน้ีจงึ ทาหนา้ ท่ีในการย่อยอาหาร
3. ทางเดินอาหารตอนปลาย (Protodaeum) เป็ นสว่ นท่เี รยี กว่าลาไส้ เป็ นท่อเลก็ ๆ พาดไปทางดา้ นหลงั ของลาตวั และ
ไปเปิดออกท่สี ว่ นทา้ ยของสว่ นทอ้ งเรยี กว่า ทวารหนกั
ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ทางเดนิ อาหารตอนกลาง
ทวารหนกั ลาไส้
การยอ่ ยอาหารของแมลง
แมลงเป็นสตั วใ์ นกล่มุ ของสตั วข์ าปลอ้ งจดั อยู่ในไฟลมั อารโ์ ทโพดา (Phylum Arthopoda) อาหารของแมลงมหี ลายชนิด
อาจจะเป็นเศษอาหาร พชื แมลงดว้ ยกนั เอง หรอื สตั วอ์ น่ื ๆ กไ็ ด้
ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะพกั อาหาร
ทวารหนกั ลาไสใ้ หญ่ ลาไสเ้ ลก็ กระเพาะบดอาหาร (กนึ๋ )
ระหว่างปากและคอหอยมีต่อมน้าลาย ทาหน้าท่ีสรา้ งน้าลาย ซ่ึงมีน้าย่อยท่ีย่อยแป้ งอยู่ดว้ ย ระหว่างกึ๋นและกระเพาะ
อาหาร มีสว่ นท่ีย่นื ออกมาคลา้ ยน้ิวมือ 8 อนั เรียกว่า ต่อมสรา้ งน้าย่อย (digestive glands) ช่วยสรา้ งน้าย่อยชนิดต่างๆ และ
สง่ เขา้ สูก่ ระเพาะอาหารเพ่อื ยอ่ ยอาหารตอ่ ไป
ในแมลงมีปากซ่ึงมีประสทิ ธิภาพดีกว่าปากของไสเ้ ดือน เพราะสามารถบดอาหารได้ และยงั มีต่อสรา้ งน้าย่อย ช่วยให้
ระบบการย่อยอาหารดขี ้ึนและมีประสทิ ธิภาพสูงข้ึนดว้ ย
สตั วท์ ่ีมีทางเดินอาหารแบบปากถงุ ซ่ึงมีช่องเปิ ดเดียว เซลลเ์ ย่ือบุทางเดินอาหารจะทาหน้าท่ีทง้ั การย่อยและการดูดซึม
ตลอดทางเดนิ อาหารน้ัน และทาใหเ้ กดิ การปะปนกนั ของอาหารและ กากอาหารเน่ืองจากมีการเคล่อื นของอาหารและกากอาหาร
ในทศิ ทางท่สี วนทางกนั
แต่ในพวกสตั วท์ ่ีมีทางเดินอาหารท่ีมีช่องเปิ ดสองทางน้ัน อาหารจะมีการเคล่ือนท่ีไปในทิศทางเดียวกนั ไม่สวนทางกนั
เป็นผลใหป้ ระสทิ ธภิ าพของการย่อยและการดูดซึมดีกว่าทางเดินอาหารแบบช่องเปิดเดียว
การย่อยอาหารของหอย
หอย เป็นสตั วท์ ่อี ยู่ในไฟลมั มอลลสั กา (Phylum Mollasca) มที างเดนิ อาหารเป็นแบบช่องเปิ ด 2 ทาง (Two hole
tube) หอยมีทางเดนิ อาหารแบ่งออกเป็ นสว่ น ๆ คอื
ปาก --> หลอดอาหาร --> กระเพาะอาหาร --> ลาไสเ้ ลก็ --> ไสต้ รง --> ทวารหนกั
การยอ่ ยอาหารของสตั วม์ ีกระดูกสนั หลงั
การยอ่ ยอาหารของปลา
การยอ่ ยอาหารของสตั วป์ ีก
การยอ่ ยอาหารของววั
การย่อยอาหารของปลา
ปลาเป็ นสัตว์มีกระดูกสันหลัง จดั อยู่ใน
ไฟลมั คอรด์ าตา (Phylum Chordata) ปลามีทง้ั
ปลาปากกลมซ่ึงเป็ นปลาท่ีไม่มีขากรรไกรขอบของ
ปากและล้ินมีฟันใชข้ ูดเน้ือและดูดกินเลือดสตั วอ์ ่นื
ปลาฉลามมปี ากอยู่ทางดา้ นล่างและมีฟันจานวนมาก
ฉลามมลี าไสส้ น้ั และภายในมีล้นิ ซ่ึงมีลกั ษณะเหมือน
บนั ไดเวียน (Spiral valve) ช่วยในการถ่วงเวลา
ไม่ใหอ้ าหารเคล่อื นตวั ไปเรว็ และพวกปลากระดูก
แข็งมีปากซ่ึงภายในมีฟันรูปกรวย มีล้ินขนาดเล็ก
ย่ืนออกมาจากปากทาหน้าท่ีรบั สมั ผสั พวกปลากิน
เน้ือ เช่น ปลาช่อน ปลาน้าดอกไม้ ปลาพวกน้ีจะมี
ลาไสส้ น้ั สว่ นปลากนิ พชื เช่น ปลาทู ปลาสลดิ จะมี
ลาไสย้ าว
การย่อยอาหารของสตั วป์ ีก
สตั วป์ ี กไม่มฟี นั แต่มจี ะงอยปากแหลมใชจ้ กิ อาหาร มีล้นิ ปลายแหลม และสง่ อาหารไปยงั ลาคอและหลอดอาหาร ซ่งึ
หลอดอาหารมีขนาดใหญ่ และตอนลา่ งของหลอดอาหารขยายใหญ่เป็ นถงุ ใชส้ าหรบั เป็ นท่พี กั อาหาร เรยี ก กระเพาะพกั
(crop) มีต่อมขบั น้าเมือกเพอ่ื ใหอ้ าหารเปียก และออ่ นนุ่ม ขณะท่อี าหารอยู่ในกระเพาะพกั จะเกิดการหมกั จากการ
กระทาของจลุ นิ ทรยี ์
กระเพาะสว่ นหนา้ (Proventriculus) ซ่งึ ทาหนา้ ท่เี หมอื นกระเพาะจรงิ ของสตั วอ์ น่ื ๆ คอื มกี ารหลงั่ น้าย่อย
กระเพาะบด หรอื กนึ๋ (Gizzard) ซ่ึงประกอบดว้ ยกลา้ มเน้ือแข็งและหนาเป็ นแถบ ไม่มีต่อมขบั น้าย่อย มีกรวด (Grit)
อยูภ่ ายในเพอ่ื ทาหนา้ ท่บี ดแทนฟัน อาหารท่ยี งั หยาบอยู่ เช่น เมลด็ พชื จะถกู บดใหล้ ะเอยี ดก่อนท่จี ะถกู สง่ เขา้ ลาไสเ้ ลก็
กรวดจะอยู่ในกนึ๋ จนกระทงั่ สกึ จนเรยี บและมีขนาดเลก็ ลงกจ็ ะผ่านออกไปจากกนึ๋ ไปยงั ลาไสเ้ ลก็
การย่อยอาหารของววั
ทางเดินอาหารของววั ประกอบดว้ ย
1. ช่องปาก (Oral cavity)
2. หลอดอาหาร (Esophagus)
3. กระเพาะอาหาร (Stomach)
4. สาไลเ้ ลก็ (Small intestine)
5. ลาไสใ้ หญ่ (Large intestine)
6. ไสต้ รง (Rectum)
7. ทวารหนกั (Anus)
เม่ือววั กนิ อาหาร ววั จะรีบเค้ียวอาหารเพ่อื ใหอ้ าหารคลกุ กบั น้าลายและรีบกลนื อาหารลงสูก่ ระเพาะอาหารทนั ที หลงั จากน้ัน
เม่ือถงึ เวลาท่วี วั พกั ผ่อน ววั จะขยอกเอาอาหารท่ีกลนื เขา้ ไปแลว้ ออกมาเค้ยี วใหม่ใหอ้ าหารมีขนาดเลก็ ลง เรียกว่า การเค้ยี วเอ้อื ง
(rumination) เพ่ือใหอ้ าหารมีขนาดเล็กลง โดยปกติจะใชเ้ วลาทาการเค้ียวเอ้อื งวนั ละประมาณ 8 ชวั่ โมง หรือมากกว่า ซ่ึงก็
แลว้ แตช่ นิดของอาหารท่วี วั กนิ เขา้ ไป
การเค้ยี วเอ้อื งจงึ มปี ระโยชน์ คอื
– ทาใหอ้ าหารมขี นาดเลก็ ลง เพอ่ื จลุ นิ ทรยี ใ์ นกระเพาะอาหารสามารถทาการยอ่ ยไดง้ า่ ยข้ึน
– การเค้ยี วเอ้อื ง ยงั เป็นการกลนื น้าลาย ซ่งึ มคี า่ ความเป็นกรด-ด่าง (pH) ประมาณ 8.2 ลงสูก่ ระเพาะอาหาร เป็นการช่วย
ลดความเป็ นกรดในกระเพาะอาหาร
ปาก
- ปากไม่มีฟนั บน แต่มแี ผ่นแข็งช่วยในการขบตดั หญา้ ใหข้ าด
- มตี อ่ มน้าลาย
หลอดอาหาร
- เป็นทางผ่านของอาหารจากปากสูก่ ระเพาะอาหาร
กระเพาะอาหาร ววั เป็นสตั ว์ ท่มี ี 4 กระเพาะไดแ้ ก่ 2. เรตคิ วิ ลมั (Reticulum) หรอื รงั ผ้ึง
4. แอบโอมาซมั (Abomasum) หรอื กระเพาะจรงิ
1. รูเมน (Rumen) หรอื ผา้ ข้ีร้วิ
3. โอมาซมั (Omasum) หรอื สามสบิ กลบี
Rumen Reticulum
Omasum
Abomasum
กระเพาะผา้ ข้ีร้วิ : Rumen
ลกั ษณะเป็ นป่ ุมย่ืนเล็กคลา้ ยผิวของผา้ ข้ีร้ิว (ผา้ ขนหนู) เป็ นกระเพาะท่ีมีขนาดใหญ่ เป็ นกระเพาะส่วนแรกของโค มี
ขนาดใหญ่กนิ เน้ือท่ีประมาณ 3 ใน 4 ของช่องทอ้ ง สาหรบั ใชพ้ กั และหมกั อาหารจาพวกหญา้
ผนังดา้ นในของกระเพาะรูเมน มีส่วนท่ี
คลา้ ยขนย่นื ออกมา เรยี กว่า Pappilae ช่วย
เพ่มิ พ้นื ท่ีผิวของกระเพาะ กระเพาะรูเมนมี
ความจุประมาณ 80% ของกระเพาะทง้ั หมด
หลอดอาหารจะมาเช่ือมต่อกบั กระเพาะตรง
รอยต่อของ กระเพาะรูเมนและเรตตคิ ูลมั
กระเพาะรังผงึ้ : Reticulum
มีลกั ษณะเป็ นสนั รูปเล่ียมคลา้ ยรงั ผ้ึง อยู่ส่วน
หน้าสุด มีขนาดเล็ก กลม ดา้ นหวั และทา้ ยจะแบน
เล็กน้อย ตอนบนของกระเพาะ จะมีส่วนท่ีห่อตัวได้
เรยี กวา่ Esophageal groove ซ่งึ จะใชป้ ระโยชน์เม่ือ
ลูกโคดูดนม น้านมจะผ่านอีโซฟาเจียล กรูบ ไปสู่
กระเพาะส่วนอะโบมาซัมได้ โดยไม่ต้องเข้าสู่
กระเพาะอ่ืนๆ กระเพาะส่วนน้ี มีความจุประมาณ
5 % ของกระเพาะทง้ั หมด
กระเพาะสามสบิ กลบี : Omasum
ลกั ษะเป็ นกลีบแผ่นบาง ๆ รูปร่างคลา้ ย
รูปไข่ ภายในเป็ นกลีบหลายกลีบซอ้ นกัน
ก ลีบ เ ห ล่ า น้ ี จ ะ ช่ ว ย ใ น ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า ห า ร
กระเพาะส่วนน้ีอยู่ทางดา้ นขวาของตวั โค
กระเพาะสว่ นน้ี มีความจุประมาณ 7 % ของ
กระเพาะทง้ั หมด
กระเพาะแท้ : Abomasum
ภาษาชาวบา้ นเรียกว่า ไสเ้ ปร้ียวเป็ นกระเพาะท่มี ีน้าย่อยเพ่อื ใชใ้ นการย่อยอาหาร เช่นเดียวกบั กระเพาะอาหารของคน สว่ น
ปลายของกระเพาะน้ี จะตอ่ กบั ลาไสเ้ ลก็ กระเพาะโอมาซมั มีความจปุ ระมาณ 8 % ของกระเพาะทง้ั หมด