The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kruwawa, 2022-03-24 01:10:57

ระบบย่อยอาหาร (Digestive system)

digestive system (2)

Rumen Reticulum
Omasum

Abomasum

การยอ่ ยอาหารของววั

เม่ือววั กลืนอาหาร อาหารจะผ่านหลอดอาหารลงสู่กระเพาะส่วนรูเมน จากน้ันอาหารจะถูกจดั เป็ นช้นั ๆ ตามความ
หนาแน่นของอาหารเอง อาหารท่ีมีความหนาแน่นสูงจะจมอยู่ดา้ นล่างของกระเพาะรูเมน อาหารท่ีมีความหนาแน่ นตา่ เช่น
อาหารหยาบพวกหญา้ จะลอยข้ึน ใกลผ้ ิวดา้ นบนของรูเมน อาหารท่ลี อยข้ึนน้ี จะเป็นสว่ นท่ถี กู ขยอกออกมาเค้ยี วใหม่

เม่ืออาหารอยูใ่ นกระเพาะรูเมน อาหารจะถกู ยอ่ ยสลายโดยจุลนิ ทรยี ซ์ ่งึ ไดแ้ ก่ แบคทีเรยี และ โปรโตซวั
- แบคทเี รยี ในกระเพาะรูเมน มีอยู่หลายชนิด ซ่งึ สว่ นใหญ่ไม่สรา้ งสปอร์ และไม่ตอ้ งการกา๊ ซออกซเิ จนในการเจรญิ เตบิ โต

สว่ นใหญ่มรี ูปร่างกลม ไม่มหี นา้ ท่ใี นการยอ่ ยอาหาร แตบ่ างพวกเช่น Streptococcus bovis , Lactobacillus spp.,
Ruminococcus เป็นตน้ ซ่ึงช่วยในการยอ่ ยอาหารจาพวกแป้ งและน้าตาล สว่ นอาหารท่เี ป็นพวกเซลลูโลสและเฮมิเซลลูโลส ถกู
แบคทเี รยี ย่อยไดเ้ หมอื นกนั แตช่ า้ มาก

- โปรโตซวั ท่พี บในกระเพาะรูเมน สว่ นใหญ่เป็ นพวกท่มี ีขน (cilia) และบางพวกมีหนวด (flagella) ขนาดเลก็ พวกท่มี ี
ขน สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็ น 2 พวก คอื Holotrichs และ Oligotrichs โปรโตซวั สว่ นใหญ่ท่อี ยู่ในกระเพาะรูเมน มีหนา้ ท่ี
ในการย่อยพชื

จากน้ันจะกลนื กลบั ลงสู่ กระเพาะส่วนเรติคิวลมั แลว้ ส่งต่อไปยงั กระเพาะโอมาซมั เพ่อื บดอาหารผสมรวมกนั และบีบ
คน้ั น้าออกเพ่ือใหอ้ าหารแหง้ และเป็ นกอ้ น จากน้ันส่งเขา้ กระเพาะอาหารแอบโอมาซมั หรือกระเพาะจริง เพ่ือทาการย่อย
ตามปกติ โดยมเี อนไซมช์ ่วยในการย่อย

เม่ืออาหารย่อยในกระเพาะอาหารแลว้ จะถูกขบั ออกมาสูล่ าไสเ้ ลก็ ตอนตน้ และมีอวยั วะอน่ื ๆ อกี ท่ีช่วยในการย่อยอาหาร
ไดแ้ ก่ ตบั ออ่ น สรา้ งเอนไซมม์ าย่อยอาหารพวกโปรตนี ไขมนั และแป้ ง ตบั สรา้ งน้าดีเพ่อื ช่วยในการย่อยในลาไสเ้ ลก็ โดยทาให้
ไขมนั แตกตวั เม่ืออาหารยอ่ ยเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ จะดูดซึมเขา้ ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดเพอ่ื นาไปใชใ้ นสว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย

หน่วยท่ี 1

การยอ่ ยอาหารและ
การสลายสารอาหารระดบั เซลล์

นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ : ผูส้ อน
โรงเรยี นหาดใหญ่วิทยาลยั จงั หวดั สงขลา

เน้ือหา

อาหารและการย่อยอาหาร
 การย่อยอาหารในจุลนิ ทรยี แ์ ละสง่ิ มีชีวติ เซลลเ์ ดียว
 การย่อยอาหารในสตั วบ์ างชนิด
 การย่อยอาหารในคน

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้

4. อธิบายเก่ียวกบั โครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวยั วะในกระบวนการย่อยเชิงกลและทาง
เคมีของมนุษย์

5. อธิบายเก่ยี วกบั โครงสรา้ งและหน้าท่ีของอวยั วะในการดูดซึมสารอาหารและการถ่าย
อจุ จาระของมนุษย์

Peristalsis
Villi
Duodenum

การยอ่ ยอาหารของคน

การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถึง การแปรสภาพของสารอาหารท่ีมีโมเลกุลใหญ่และละลายน้าไม่ได้ ใหเ้ ป็ น
สารอาหารท่ีมีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถละลายน้า และดูดซึมเขา้ สู่กระแสเลือดนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ โดยอาศยั
กระบวนการทางเชิงกลและกระบวนการทางเคมี

กระบวนการย่อย 2 แบบ คอื

1. การย่อยเชิงกล (Mechanical Digestion) โดยการใชฟ้ ันบดเค้ียว และการหดตวั คลายตวั ของทางเดินอาหาร
เช่น หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร เป็นตน้
2. การย่อยทางเคมี (Chemical Digestion) โดยการใชน้ ้าย่อย หรอื เอนไซม์ ทาใหอ้ าหารเปล่ยี นแปลงจนเป็ น
โมเลกลุ เด่ยี ว ร่างกายสามารถดูดซึมไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้



อวยั วะในระบบทางเดินอาหารของคน

1. อวยั วะท่เี ป็นทางเดนิ อาหาร ไดแ้ ก่
1.1 ปากและโพรงปาก (Mouth and Mouth Cavity) ประกอบดว้ ย ฟัน ล้นิ ต่อมน้าลาย
1.2 คอหอย (Pharynx)
1.3 หลอดอาหาร (Esophagus)
1.4 กระเพาะอาหาร (Stomach)
1.5 ลาไสเ้ ลก็ (Small Intestine)
1.6 ลาไสใ้ หญ่ (Large Intestine)
1.7 ไสต้ รง (Rectum) และ ทวารหนกั (Anus)

2. อวยั วะท่ชี ่วยยอ่ ยอาหาร แตไ่ ม่ใช่ทางเดินอาหารไดแ้ ก่
2.1 ต่อมน้าลาย (Salivary Gland)
2.2 ตบั (Liver) และถงุ น้าดี (Gall Bladder)
2.3 ตบั ออ่ น (Pancreas)

ปาก (Mouth)

เป็ นทางเดินอาหารเร่มิ แรก ซ่ึงประกอบดว้ ยอวยั วะต่างๆทาหนา้ ท่ีร่วมกนั มีทง้ั การย่อยเชิงกล (Mechanical Digestion)
และการยอ่ ยทางเคมี (Chemical Digestion) การทางานของอวยั วะภายในปากท่เี ก่ยี วกบั การย่อยอาหารประกอบดว้ ย ฟัน
ล้นิ ต่อมน้าลาย

ฟัน (Teeth)

1. ฟันน้านม (Deciduous Teeth) มี 20 ซ่ี เร่มิ ข้ึนเม่ืออายปุ ระมาณ 6 เดือน จะข้ึนครบเม่ือมอี ายปุ ระมาณ 2 ปี
2. ฟันแท้ (Permanent Teeth) มี 32 ซ่ี เร่มิ ข้ึนเม่ือฟันน้านมซ่ีแรกหกั และหลดุ ไป และจะข้ึนครบหรือเกอื บครบเม่ืออายุ

ประมาณ 21 ปี แต่บางคนอาจมเี พยี ง 28 ซ่ี เท่าน้นั ฟันแทป้ ระกอบดว้ ยฟันชนิดต่างๆ

1. ฟันตดั (Incisor หรือ I) มี 2 ซ่ี ทาหนา้ ท่ตี ดั อาหาร ในสตั วท์ ่กี นิ
อาหารโดยการแทะจะมฟี ันชนิดน้ีเจรญิ ดีท่สี ดุ

2. ฟันฉีก หรือ เข้ียว (Canine หรือ C) มี 1 ซ่ี ทาหนา้ ท่ีกดั และฉีก
อาหาร มีลกั ษณะค่อนขา้ งแหลมคม ในสตั วก์ นิ เน้ือเข้ียวจะเจริญดี
ท่สี ดุ ไวส้ าหรบั ลา่ เหย่อื

3. ฟันกรามหนา้ (Premolar หรือ P) มี 2 ซ่ี ทาหนา้ ท่ีตดั และฉีก
อาหาร ในสตั วก์ ินเน้ือ เช่น เสือ สุนัข แมว จะมีฟันกรามหน้า
เตบิ โตแข็งแรงเป็นพเิ ศษ

4. ฟันกรามหลงั (Molar หรือ M) มี 3 ซ่ี ทาหนา้ ท่ีบดเค้ียวอาหาร ฟัน
กรามซ่ีสุดทา้ ยอาจโผล่ ข้ึนมาไม่พน้ เหงอื ก จงึ อาจเหลือแค่ 2 ซ่ี
ดงั น้นั ในคนบางคนจงึ อาจมเี พยี ง 28 ซ่ี เท่าน้นั

http://32teethonline.com/know%20your%20teeth.htm

ต่อมน้าลาย (Salivary Gland )

1. ต่อมขา้ งกกหู (Parotid salivary gland) อยู่บรเิ วณกกหทู ง้ั 2 ขา้ ง สรา้ งน้าลายชนิดใสเพยี งอย่างเดียว มี
ขนาดใหญ่ท่สี ดุ ถา้ เกดิ การอกั เสบ บรเิ วณกกหทู ง้ั 2 ขา้ งจะบวมแดง เรยี กวา่ โรคคางทูม ต่อมชนิดน้ีจะผลติ
น้าลายประมาณ 25% ของน้าลายทง้ั หมด

3. ต่อมใตล้ ้นิ (Sublingual salivary gland) สรา้ งน้าลายทง้ั
ชนิดใสและชนิดเหนียว แต่มีน้าลายทง้ั ชนิดเหนียวมากกว่า
ต่อมชนิดน้ีจะผลติ น้าลายประมาณ 5% ของน้าลายทง้ั หมด

2. ต่อมใตข้ ากรรไกร (Submaxillary salivary gland,
Submandibular salivary gland) สรา้ งน้าลายทง้ั ชนิดใส
และชนิดเหนียว แต่มีน้าลายทง้ั ชนิดใสมากกว่า ต่อมชนิดน้ี
จะผลติ น้าลายประมาณ 70% ของน้าลายทง้ั หมด

http://reasonablywell-julia.blogspot.com/2011/05/facial-
swelling-and-sjogrens-syndrome.html

น้าลาย มลี กั ษณะเป็นของเหลว มี 2 ชนิด คอื

1. ชนิดใส (Serous) มีน้าย่อยอะไมเลสหรอื ไทยาลนิ (Amylase or Ptyalin) ทาหนา้ ท่ยี ่อยแป้ งใหเ้ ป็ น เดกซต์ รนิ (Dextrin) ซ่ึงเป็ น
แป้ งท่มี โี มเลกลุ ขนาดเลก็ ลง

2. ชนิดเหนียว (Mucous) ช่วยใหก้ ารคลกุ เคลา้ อาหารผสมกบั น้าย่อยเกดิ ไดด้ ี และสะดวกต่อการกลนื อาหาร

สว่ นประกอบของน้าลายมีดงั น้ี
1. เอนไซมอ์ ะไมเลส (Amylase) ช่วยยอ่ ยสลายคารโ์ บไฮเดรต
2. นา้ (Water) มีประมาณ 99.5% เป็นตวั ทาละลายสารอาหาร
3. นา้ เมอื ก (Mucin) เป็นสารคารโ์ บไฮเดรต ผสมโปรตนี ช่วยใหอ้ าหารรวมตวั กนั เป็นกอ้ น ลน่ื และกลนื สะดวก
น้าลายจะถูกสรา้ งจากต่อมน้าลายประมาณ 1-1.5 ลติ ร มีฤทธ์ิเป็ นกรดออ่ น (pH 6.0-7.0) ทาหนา้ ท่ลี ะลายอาหาร ป้ องกนั ไม่ใหป้ าก

แหง้ และช่วยในการเคลอ่ื นไหวของล้นิ ในขณะพูด

ล้นิ (Tongue)

เป็ นกลา้ มเน้ือท่ีสามารถเคล่ือนท่ีไดอ้ ย่างคล่องแคล่ว
ในหลายทศิ ทาง ทาหนา้ ท่สี าคญั รบั รสอาหาร เพราะ
มีต่อมรบั รส (Taste Budd), ช่วยคลกุ เคลา้ อาหารให้
ผสมกบั น้าลาย และตะล่อมใหอ้ าหารเป็ นกอ้ น, ช่วย
หน่วงเหน่ียวอาหารไม่ใหไ้ หลผ่านคอหอยเร็วเกินไป,
ช่วยในการกลืนอาหาร, ช่วยในการพูด ทาใหพ้ ูด
ชดั เจน

การรบั รสอาหารของล้นิ

ทาหนา้ ท่ใี นการรบั รสอาหาร เพราะท่ลี ้นิ มีป่มุ รบั รส เรยี กว่า Taste Bud อยู่ 4 รส คอื
รสหวาน
รสเคม็
รสเปร้ยี ว
รสขม

นางไวยดุ ะ๊ เหตเุ หลา๊ ะ

กระบวนการยอ่ ยในปาก

• เร่มิ ตน้ จากการเค้ยี วอาหารโดยการทางานรว่ มกนั ของ ฟนั ล้นิ และแกม้ ซ่ึงถอื เป็นการย่อยเชิงกล ทาใหอ้ าหารกลายเป็น
ช้ินเลก็ ๆ มพี ้นื ท่ผี ิวสมั ผสั กบั เอนไซมไ์ ดม้ ากข้ึน

• ในขณะเดยี วกนั ตอ่ มน้าลายกจ็ ะหลงั่ น้าลายออกมาช่วยคลกุ เคลา้ ใหอ้ าหารเป็ นกอ้ นลน่ื สะดวกต่อการกลนื

• เอนไซมใ์ นน้าลาย คอื ไทยาลนิ หรอื อะไมเลสจะย่อยแป้ งในระยะเวลาสน้ั ๆ ในขณะท่อี ยูใ่ นช่องปากใหก้ ลายเป็ นเดกซ์
ทรนิ (Dextrin) ซ่งึ เป็นคารโ์ บไฮเดรตท่ีมีโมเลกลุ เลก็ กว่าแป้ ง แต่ใหญ่กว่าน้าตาล

คอหอย (Pharynx)

• คอหอย (pharynx, pharynges) เป็ นสว่ นหน่ึงของคอ (neck) และช่องคอ (throat) ตง้ั อยู่ดา้ นหลงั ปากและโพรงจมูก
และอยูบ่ นหลอดอาหาร กลอ่ งเสยี งและทอ่ ลม (trachea)

• คอหอยเป็ นส่วนหน่ึงของระบบทางเดินอาหารและระบบทางเดินหายใจของส่ิงมีชีวิตหลายชนิด เน่ืองจากทง้ั อาหารและ
อากาศต่างผ่านเขา้ สูค่ อหอย ร่างกายมนุษยจ์ งึ มีแผ่นเน้ือเย่อื เก่ยี วพนั เรยี กว่า ฝาปิ ดกล่องเสยี ง (epiglottis) ปิ ดช่องท่อลม
เม่ือมกี ารกลนื อาหาร เพอ่ื ป้ องกนั การสาลกั ในมนุษย์ คอหอยยงั มีความสาคญั ในการออกเสยี ง

คอหอยของมนุษยโ์ ดยทวั่ ไปแบ่งออกเป็ น 3 สว่ น ไดแ้ ก่
1. คอหอยสว่ นปาก
2. คอหอยสว่ นจมกู
3. คอหอยสว่ นกลอ่ งเสยี ง

การกลนื อาหาร (Swallowing)

การกลืนอาหาร อาศยั การทางานของกลา้ มเน้ือหลายชุด บงั คบั ใหอ้ าหารผ่านจากปากเขา้ สู่หลอดอาหาร หลงั จากท่ีอาหารถูก
เค้ียวและผสมกบั น้าลายจนออ่ นน่ิมแลว้ อาหารกพ็ รอ้ มท่จี ะถูกกลนื โดยล้นิ จนดนั กอ้ นอาหาร (Bolus) ไปทางดา้ นหลงั ใหล้ งสูช่ ่อง
คอ ซ่ึงจะมีผลใหเ้ กดิ รเี ฟลก็ ซ์ (Reflex) ตามลาดบั

1. เพดานอ่อน (Solf Palate) ถกู ดนั ยกข้ึนไปปิ ดช่องจมูกเพ่อื ไม่ใหเ้ กดิ การสาลกั และไม่ใหอ้ าหารเขา้ ไปในช่องจมกู
2. เสน้ เลยี ง (Vocal Cord) ถูกดึงใหม้ าชิดกนั และฝาปิ ดกลอ่ งเสยี ง (Epiglottis) จะเคล่อื นมาทางขา้ งหลงั ปิ ดหลอดลมเอาไว้
ป้ องกนั ไม่ใหอ้ าหารตกเขา้ สูห่ ลอดลม
3. กล่องเสยี ง (Larynx) ถกู ยกข้ึนทาใหร้ ูเปิดช่องคอมีขนาดใหญ่ข้ึน
4. กลา้ มเน้ือบริเวณคอหอยหดตวั ใหก้ อ้ นอาหาร (Bolus) เคล่อื นลงไปในหลอดอาหารไดโ้ ดยไม่พลดั ตกลงไปในหลอดลมหรอื
เคล่อื นข้ึนไปในช่องจมูก

หลอดอาหาร (Esophagus)

• หลอดอาหารมีลกั ษณะเป็ นท่อกลา้ มเน้ือท่ีต่อจากคอหอย อยู่ทางดา้ นหลงั ของหลอดลม (trachea) ไปส้นิ สุดท่ีกระเพาะอาหาร
ตรงบรเิ วณถดั จากสว่ นลา่ งของแผ่นกะบงั ลม (diaphragm) มคี วามยาวประมาณ 25 เซนตเิ มตร

• ไม่มีตอ่ มสรา้ งน้าย่อย แต่ยงั มีการยอ่ ยอาหารต่อเน่ืองมาจากในปาก

• มตี ่อมขบั น้าเมือก (mucous gland) กระจายอยู่ทวั่ ไป น้าเมือกเหนียวขน้ ท่ีหลงั่ ออกมาจะช่วยในการหลอ่ ล่นื ทาใหอ้ าหาร
เคล่อื นผ่านไดส้ ะดวก

• อาหารท่ีเคล่อื นผ่านไปตามหลอดอาหารไดโ้ ดยการหดตวั ของกลา้ มเน้ือหลอดอาหารซ่ึงจะหดและคลายตวั เป็ นจงั หวะเป็ น
ช่วงๆต่อเน่ืองกนั เรียกว่า เพอรสิ ทลั ซิส (Peristalsis) และอาหารถกู ย่อยเชิงกลโดยกระบวนการ Peristalsis โดย
หลอดอาหารเป็นบรเิ วณแรกท่มี ีกระบวนการ Peristalsis

วดี ิโอ

กระเพาะอาหาร (stomach)

กระเพาะอาหาร (stomach) อยู่ทางดา้ นซา้ ยของร่างกาย ใตก้ ะบงั ลม (diaphragm) ในสภาพไม่มีอาหารบรรจอุ ยู่ จะมีปรมิ าตร
50 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร แต่เม่ือมอี าหารสามารถขยายไดถ้ งึ 10-40 เท่า

สว่ นต่างๆของกระเพาะอาหาร แบ่งออกเป็น 3 สว่ น ดงั น้ี
1. Cardiac region หรือ Cardium เป็ นสว่ นของกระเพาะอาหารตอนบนอยู่ต่อจากหลอดอาหารมีกลา้ มเน้ือหูรูด เรียกว่า Cardiac
sphincter ป้ องกนั ไม่ใหอ้ าหารภายในกระเพาะอาหารยอ้ นกลบั สูห่ ลอดอาหาร
2. Fundus เป็นกระเพาะอาหารสว่ นกลาง มีลกั ษณะเป็นกระพงุ้ ใหญ่ท่สี ดุ

3. Pylorus หรือ Pyloric region เป็นกระเพาะอาหารสว่ นปลายติดตอ่ กบั ลาไสเ้ ลก็ ตอนตน้ (duodenum) มลี กั ษณะเลก็ เรียวแคบ
ลง ตอนปลายสดุ ของกระเพาะอาหารสว่ นน้ีมีกลา้ มเน้ือหรู ูด เรยี กว่า Pyloric sphincter ป้ องกนั ไม่ใหอ้ าหารออกจากกระเพาะ
อาหาร

http://apbrwww5.apsu.edu/thompsonj/Anatomy%20&%20Physiology/2020/2020%20Exam%20Reviews/Exam%203/CH23%20Stomach%20Anatomy.htm

ลกั ษณะผนงั กระเพาะอาหาร ประกอบดว้ ยกลา้ มเน้ือ
เรยี บ 3 ชน้ั ดงั น้ี
1. ชน้ั นอก เป็นกลา้ มเน้ือเรยี บตามแนวยาว
2. ชน้ั กลาง เป็นกลา้ มเน้ือวงตามขวาง
3. ชน้ั ในสดุ เป็นกลา้ มเน้ือในแนวทแยง ลกั ษณะพบั
ไปมา เรยี กวา่ Rugae ช่วยเพม่ิ พ้นื ท่ผี ิวในการยอ่ ย
อาหาร

http://phbuom.50webs.com/GIT/GITHTLM/Stomach1.htm

รูกี (Rugae) เป็ นสว่ นท่ีมีต่อมสรา้ งน้าย่อยประมาณ 35 ลา้ นต่อม เรยี กว่า Gastric gland สรา้ งน้าย่อยของกระเพาะ
อาหารเรียกว่า Gastric Juice ซ่ึงเอนไซมน์ ้ีมีองคป์ ระกอบหลายอย่าง ไดแ้ ก่ กรดเกลอื โปตสั เซียม คลอไรด์ น้าเมือก
(Mucus) และเอนไซมเ์ ปปซิน (Pepsin) เรนนิน (Renin) และลเิ ปส (Lipase) เม่ือสารองคป์ ระกอบเหลา่ น้ีรวมตวั กบั สารอาหาร
จนเหลวและเขา้ กนั ดีคลา้ ยซปุ ขน้ ๆ เรยี กว่า ไคม์ (Chyme) การควบคมุ การหลงั่ น้าย่อยของกระเพาะอาหาร

กลมุ่ เซลลภ์ ายในกระเพาะอาหาร แบง่ เป็น 3 กลมุ่ ดงั น้ี
1. Mucous Epithelial Cell หรอื Mucous Neck Cell ทาหนา้ ท่สี รา้ งน้าเมือกท่ีมีฤทธ์ิเป็ นเบส ฉาบผิวของระเพาะอาหารไม่ให้

เป็นอนั ตราย
2. Parietal Cell หรอื Oxyntic Cell ทาหนา้ ท่สี รา้ งกรดไฮโดรคลอริก (HCl) เขม้ ขน้ เพ่อื ช่วยในการย่อยอาหาร
3. Chief Cell หรอื Zygamatic Cell ทาหนา้ ท่สี รา้ ง Pepsinogen และ Prorennin ซ่งึ เป็น Proenzyme

หนา้ ท่ขี องกระเพาะอาหารเป็ นท่เี กบ็ สะสมอาหาร เป็นอวยั วะยอ่ ยอาหาร ลาเลยี งอาหารเขา้ สูล่ าไสเ้ ลก็ ในอตั ราท่พี อเหมาะ
สรา้ งสาร Intrinsic Factor (IF) ควบคมุ การดูดซมึ วิตามินบี 12 ท่ลี าไสเ้ ลก็ เพ่อื ใชใ้ นกระบวนการสรา้ งเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง

การย่อยอาหารในกระเพาะอาหาร 2 วธิ ี ดงั น้ี
1. การย่อยเชิงกล เม่อื กอ้ นอาหาร (Bolus) จากหลอดอาหารตกถงึ กระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารจะมีการ

เคล่อื นไหวแบบคล่นื คลกุ เคลา้ อาหาร (Tonic Contraction) เพอ่ื ใหอ้ าหารผสมกบั น้าย่อย และมีการหดตวั ของ
กลา้ มเน้ืออยา่ งแรงมากเป็นช่วงๆ (Peristalsis) เพอ่ื ดนั ใหอ้ าหารเคล่อื นลงสูส่ ว่ นลา่ งของกระเพาะอาหาร

2. การย่อยทางเคมี โดยใชเ้ อนไซมท์ ่ีสรา้ งข้ึนจากต่อมในกระเพาะอาหาร

น้าย่อยของกระเพาะอาหาร

กระเพาะอาหารจะหลงั่ น้าย่อยออกมาอยู่ภายใตก้ ารควบคุมของเสน้ ประสาทสมองคู่ท่ี 10 (Vagus Nerve) และ
ฮอรโ์ มน Gastrin จากกระเพาะอาหารเองมากระตนุ้ เอนไซมจ์ ากผนังของกระเพาะอาหารบางชนิด เม่ือสรา้ งออกมาใหม่ๆ
ยงั ทาหนา้ ท่ไี ม่ได้ (Inactive Form) จะตอ้ งถกู กระตนุ้ โดยกรดเกลอื (HCl) ในกระเพาะอาหาร ทาใหย้ อ่ ยเปล่ียนสภาพให้
พรอ้ มท่จี ะย่อยอาหารไดด้ งั สมการ (ขณะท่หี ลงั่ ออกมาใหม่ ๆ ยงั ทาหนา้ ท่ไี ม่ได)้

สารและเอนไซมท์ ่เี กย่ี วขอ้ งกบั การยอ่ ยในกระเพาะอาหาร
1. HCl มี pH อยู่ระหว่าง 0.9-2.0
2. Pepsinogen เป็น Proenzyme ตอ้ งไดร้ บั HCl จงึ เปลย่ี นเป็นเพปซิน (Pepsin) สาหรบั ย่อยโปรตีนเป็ นเพปไทด์ ซ่งึ
ประกอบดว้ ยกรดอะมโิ น 4-12 โมเลกลุ
3. Prorennin เป็น Proenzyme ตอ้ งไดร้ บั HCl จงึ เปล่ยี นเป็นเรนนิน (Rennin) สาหรบั ยอ่ ยโปรตนี ในน้านม

4. Lipase สรา้ งข้ึนในปรมิ าณนอ้ ยมาก เพราะสภาพเป็นกรดของกระเพาะอาหาร
5. Gastrin เป็นฮอรโ์ มนท่สี รา้ งจากเซลลใ์ นกระเพาะอาหาร ทาหนา้ ท่กี ระตนุ้ ให้ Parirtal Cell หลงั่ HCl ออกมา

HCl

Pepsinogen ------> Pepsin

Prorenin HCl

------> Rennin

จากน้นั เอนไซม์ pepsin และ rennin จะยอ่ ยโปรตนี ไดด้ งั สมการ

Protein + น้า --P--e-p-s--in---> Peptone + polypeptides
Polypeptides + น้า ---P-e-p--s-i-n--> Peptide
Peptide + น้า ---P--e-p-s--in--> Amino Acid

Rennin ------> Casein (โปรตนี ในน้านม) + น้า ------> Paracasein

การทางานของกระเพาะอาหาร

แบ่งเป็น 3 ระยะ คอื
1. Cephalic Phase เป็นระยะรบั กล่นิ รส หรอื นึกถงึ อาหาร เสน้ ประสาท Vagus จากสมองจะกระตนุ้ ใหก้ ระเพาะเคล่อื นท่ี
และการหลงั่ สาร

2. Gastric Phase เป็นระยะท่กี อ้ นอาหาร (Bolus) เขา้ สูก่ ระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารจะเคล่อื นท่แี ละการหลงั่ ฮอรโ์ มน
Gastrin จากชน้ั มวิ โคซาจากชน้ั ของกระเพาะอาหาร ไปกระตนุ้ ใหก้ ระเพาะอาหารหลงั่ HCl ออกมารวมกบั Pepsinogen
3. Intestinal Phase เป็นระยะท่อี าหาร (Chyme) ออกจากกระเพาะอาหารเขา้ สูล่ าไสเ้ ลก็ สว่ น Duodenum เน้ือเย่อื มวิ โคซา
ของ Duodenum จะหลงั่ ฮอรโ์ มน Secretin ออกมายบั ยง้ั การหลงั่ ฮอรโ์ มน Gastrin

• อาหารจะถูกคลกุ เคลา้ อยู่ในกระเพาะดว้ ยการหดตวั และคลายตวั ของกลา้ มเน้ือท่ีแข็งแรงของกระเพาะ โปรตีนจะถูก
ย่อยในกระเพาะ โดยน้าย่อยเพปซิน ซ่ึงยอ่ ยพนั ธะบางชนิดของเพปไทคเ์ ท่าน้ัน ดงั น้ันโปรตีนท่ถี กู เพปซนิ ย่อยสว่ น
ใหญ่จงึ เป็นพอลเิ พปไทคท์ ่สี น้ั ลง

• ส่วนเรนนิน ช่วยเปล่ยี นเคซีน (Casein) ซ่ึงเป็ นโปรตีนในน้านมแลว้ รวมกบั แคลเซียมทาใหม้ ีลกั ษณะเป็ นล่มิ ๆ
จากน้นั จะถกู เพปซนิ ย่อยตอ่ ไป

• ในกระเพาะอาหาร น้ายอ่ ยลเิ พสไม่สามารถทางานได้ เน่ืองจากมีสภาพเป็นกรด

โดยปกติอาหารจะอยู่ในกระเพาะอาหารนาน 30 นาทีถงึ 3 ชวั่ โมง ซ่ึงข้ึนอยู่กบั ชนิดของอาหาร กระเพาะอาหารกม็ ีการดูด
ซึมอาหารบางชนิดได้ แต่ปรมิ าณนอ้ ยมาก เช่น น้า แร่ธาตุ น้าตาลโมเลกลุ เด่ียว แต่กระเพาะอาหารดูดซึมแอลกอฮอลไ์ ดด้ ี
อาหารโปรตีน เช่น เน้ือววั ย่อยยากกว่าเน้ือปลา ในการปรุงอาหารเพ่ือใหย้ ่อยงา่ ย อาจใชก้ ารหมกั หรือใส่สารบางอย่างลงไป
ในเน้ือสตั วเ์ หลา่ น้ัน เช่น ยางมะละกอ หรอื สบั ปะรด

ลาไสเ้ ลก็ (small intestine)

• ลาไสเ้ ลก็ (Small Intestine) เป็นสว่ นท่ยี าวท่สี ดุ ของทางเดนิ อาหาร ตอ่ มาจากกระเพาะอาหาร มีความยาวประมาณ
7-8 เมตร ขดไปมาในช่องทอ้ ง ผนงั ดา้ นในของลาไสเ้ ลก็ มลี กั ษณะเป็ นลอนตามขวาง มีสว่ นย่นื เลก็ ๆมากมายเป็ นต่มุ
เรยี กว่า วิลลสั (Villus พหพู จน์เรยี กว่า Villi) เพ่อื เพม่ิ พ้นื ท่ผี ิวในการดูดซึมสารอาหารท่ยี อ่ ยแลว้ ไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

http://www.edoctoronline.com/medical-atlas.asp?c=4&id=22144

โครงสรา้ งภายนอกของลาไสเ้ ลก็

แบ่งเป็น 3 สว่ น คอื
1. ดูโอดีนมั (Duodenum) เป็ นลาไสเ้ ลก็ สว่ นตน้ ยาวประมาณ 25-30 เซนตเิ มตร รูปร่างเป็ นตวั ยู อยู่ต่อจากกระเพาะอาหาร

เป็ นบรเิ วณท่มี ีสารเคมีหลายชนิด เช่น Pancreatic Juice เป็ นน้าย่อยท่สี รา้ งจากตบั ออ่ น, น้าดี (Bile) สรา้ งจากตบั ,
Intestinal Juice เป็นน้ายอ่ ยท่สี รา้ งจากกผนงั ลาไสเ้ ลก็ ของดูโอดีนัม จดั เป็นสว่ นท่มี ีการยอ่ ยอาหารเกดิ ข้ึนมากท่สี ุด

2. เจจูนมั (Jejunum) เป็ นสว่ นท่ตี ่อจาก Duodenum ยาวประมาณ 2 ใน 5 หรือประมาณ 3-4 เมตร เป็ นสว่ นท่มี ีการดูดซึม
อาหารมากท่สี ดุ

3. ไอเลยี ม (Ileum) เป็ นลาไสเ้ ลก็ สว่ นสดุ ทา้ ย ปลายสุดของ Ileum ต่อกบั ลาไสใ้ หญ่มีขนาดเลก็ และยาวท่สี ุดประมาณ 4.3
เมตร





กระบวนการย่อยอาหารในลาไสเ้ ลก็

มี 2 วธี ี ดงั น้ี
1. การย่อยเชิงกล

- การหดตวั เป็นจงั หวะ (Rhythmic Segmentation) เป็นการหดตวั ท่ชี ่วยใหอ้ าหารผสมคลกุ เคลา้ กบั น้ายอ่ ย หรอื ช่วยไล่
อาหารใหเ้ คล่อื นท่ีไปยงั ทางเดินอาหารสว่ นถดั ไป อาจมีจงั หวะเรว็ 15-20 ครง้ั /นาที หรอื ชา้ 2-3 ครง้ั /นาที

- เพอรสิ ตลั ซิส (Peristalsis)เป็นการหดตวั ของกลา้ มเน้ือทางเดินอาหารเป็ นช่วง ๆ ตดิ ตอ่ กนั การเคล่อื นไหวแบบน้ีจะช่วย
ผลกั อาหาร หรอื บบี ไลอ่ าหารใหเ้ คล่อื นท่ีต่อการย่อยทางเคมี (Chemical Digestion) บรเิ วณดูโอดีนมั จะมีน้าย่อยจาก
แหลง่ ต่าง ๆ มาช่วยย่อย

2. การย่อยเชิงเคมี

1. สารและเอนไซมจ์ ากตบั ออ่ น
2. น้าดจี ากตบั
3. สารและเอนไซมจ์ ากลาไสเ้ ลก็ (Intestinal Juices)

น้ายอ่ ยของตบั ออ่ น (Pancreatic Juice) เป็นเอนไซมท์ ่ี มีสภาพเป็นเบส ประกอบดว้ ย
• โซเดียมไฮโดรเจนคารบ์ อเนต (NaHCO3) มฤี ทธ์ิเป็ นเบส ช่วยเปล่ยี นอาหาร (Chyme) ท่ีมีฤทธเ์ ป็ นกรดจากกระเพาะอาหาร
ใหเ้ ป็นกลางหรอื เบสออ่ น

• เอนไซมอ์ ะไมเลส (Amylase) ทาหนา้ ท่ยี ่อยแป้ ง ไกลโคเจน หรอื เดกซท์ รนิ ใหแ้ ตกตวั เป็นมอลโทส

• เอนไซมไ์ ลเพส หรอื สติปซิน (Lipase or Steapsin) ทาหนา้ ท่ยี ่อยไขมนั ใหเ้ ป็ นกรดไขมนั และกลเี ซอรอล และทางานไดด้ ี
ท่ี pH 8.0

• ทริปซิโนเจน (Trypsinogen) ตอ้ งอาศยั เอนเทอโรไคเนส (Enterokinase) จากผนังลาไสเ้ ล็กเปล่ียนเป็ นทริปซิน
(Trypsin) กอ่ น จงึ จะทาหนา้ ท่ยี อ่ ยโปรตนี ได้

• ไคโมทริปซิโนเจน (Cyhmotrypsinogen) ตอ้ งอาศยั ทรปิ ซนิ เปล่ยี นเป็ นไคโมทริปซิน (Chymotrypsin) กอ่ น จงึ จะทา
หนา้ ท่ยี ่อยโปรตีนได้

• โพรคารบ์ อกซิเพปทิเดส (Procarboxypeptiddase) ตอ้ งอาศยั ทรปิ ซิน หรือ เอนเทอโรไคเนส ตวั ใดตวั หน่ึงเปล่ียนเป็ น
คารบ์ อกซเิ พปทเิ ดส (Carboxypeptidase) ก่อนจงึ ทาหนา้ ท่ยี ่อยโปรตนี ซ่งึ จะย่อยตรงปลายสดุ ดา้ นหมู่คารบ์ อกซลิ เท่าน้นั

น้าดีจากตบั

น้าดี (Bile) สรา้ งจากตบั (Liver) แลว้ ถูกนาไปเกบ็ ไวท้ ่ถี งุ น้าดี (Gall Bladder) ไม่ถอื ว่าเป็ นเอนไซม์ เพราะจะเปล่ยี น
สภาพไปจากเดิม เม่อื ปฏกิ ริ ยิ าส้นิ สดุ ลงแลว้ มสี ว่ นประกอบ 3 สว่ นคือ

- เกลอื น้าดี (Bile Salt) มหี นา้ ท่ตี ใี หไ้ ขมนั (Fat) แตกตวั เป็นหยดเลก็ ๆ ไขมนั ท่ถี กู ตใี หแ้ ตกตวั เป็ นหยดเลก็ ๆ เรยี กว่า
อมี ลั ชนั่ (Emulsion) จากน้นั จงึ ถกู Lipase ย่อยต่อใหเ้ ป็นกรดไขมนั และกลเี ซอรอล

- โคเรสเตอรอล (Cholesterol) ถา้ มมี ากๆ จะทาใหเ้ กดิ น่ิวในถงุ น้าดี เกดิ การอดุ ตนั ท่ที ่อน้าดี เกดิ โรคดซี ่าน (Janudice)
มีผลทาใหก้ ารย่อยอาหารประเภทไขมนั บกพรอ่ ง

- รงควตั ถนุ ้าดี (Bile Pigment) เกดิ จากการสลายตวั ของฮโี มโกลลนิ (Hemoglobin) โดยตบั เป็นแหลง่ ทาลายและกาจดั
Hemoglobin ออกจากเซลลเ์ มด็ เลอื ดแดงท่ีหมดอายุ โดยเกบ็ รวมเขา้ ไวเ้ ป็นรงควตั ถใุ นน้าดี (Bile Pigment) ช่ือ บริ ริ ูบนิ
(Bilirubin) จงึ ทาใหน้ ้าดีมีสเี หลอื หรอื เขียวออ่ น และจะถกู เปลย่ี นเป็นสเี หลอื งแกมน้าตาล โดยแบคทีเรียในลาไสใ้ หญ่
และเป็นสใี สเม่ือปนในอจุ จาระ

สารและเอนไซมจ์ ากลาไสเ้ ลก็ (Intestinal Juices)

เป็นเอนไซมท์ ่สี รา้ งมาจากผนงั ของลาไสเ้ ลก็ เอง ประกอบดว้ ยเอนไซมห์ ลายชนิด ดงั น้ี
• เอนเทอโรไคเนส ช่วยเปลย่ี นทรปิ ซิโนเจน และโพรคารบ์ อกซเิ พปทเิ ดสจากตบั ออ่ น ใหเ้ ป็นทรปิ ซนิ และคารบ์ อกซเิ พปทเิ ดส
• เอนไซมย์ อ่ ยคารโ์ บไฮเดรต ไดแ้ ก่ อะไมเลสส (Amylase) มอลเทส (Maltase) ซูเครส (Sucrase) และ แลก็ เทส (Lactase)
• เพปซิเดส (Pepsidase) มหี ลายชนิด เช่น

– อะมโิ นเพปซิเดส (Aminopepsidase) ซ่งึ ช่วยย่อยเพปไทดใ์ หเ้ ป็ นกรดอะมิโนและเพปไทดข์ นาดสน้ั ลง
– ไดเพปซิเดส (Dipepsidase) ซ่งึ ช่วยย่อยเพปไทดใ์ หเ้ ป็ นกรดอะมิโน
• เอนไซมไ์ ลเพส ช่วยยอ่ ยไขมนั ใหเ้ ป็ นกรดไขขมนั และกลเี ซอรอล

การดูดซึม (Absorption) เป็นกระบวนการนาสารอาหารโมเลกลุ เด่ยี วท่ผี ่านการย่อยแลว้ ซ่งึ ไดแ้ ก่ กลโู คส กรดอะมโิ น กรด
ไขมนั และกลเี ซอรอล ผ่านผนงั ลาไสเ้ ลก็ เขา้ สูก่ ระแสเลอื ด เพ่อื ลาเลยี งไปสูส่ ว่ นตา่ งๆ ทวั่ รา่ งกาย

การดูดซมึ สารอาหารของลาไสเ้ ลก็

• เป็นบรเิ วณท่มี กี ารย่อยอาหารเกดิ ข้ึนอย่างสมบูรณ์
• ผนงั ชน้ั ในพบั ไปมา และมีป่มุ ย่นื ออกมา เเรยี กว่าวลิ ลสั (Villus) เรยี งเป็นแถวคลา้ ยน้ิวมอื จานวนมาก และแต่ละวิลลสั

จะมีไมโครวิลลสั (Microvillus) ย่นื ออกมาอกี มากมาย เพอ่ื เพม่ิ พ้นื ท่ผี ิวสาหรบั ดูดซมึ สารอาหาร
• ท่ผี นงั ของวิลลสั ประกอบดว้ ยเสน้ เลอื ดฝอยยสานกนั เป็ นร่างแห เพ่อื รบั สารอาหารโมเลกลุ เด่ียวพวกกลโู คสและกรดอะ

มโิ น สว่ นแกนกลางของวลิ ลสั จะมเี สน้ น้าเหลอื งฝอย (Lacteal) เพ่อื รบั สารอาหารพวกกรดไขมนั และกลเี ซอรอล

ลาไสใ้ หญ่ (large intestine)

มีความยาวประมาณ 1.5 เมตร ประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ ดงั น้ี

1. ซกี มั (Caecum) ตดิ กบั Ileum ตอนปลาย จะมไี สต้ ่งิ (Vermiform Appendix) อยู่
2. โคลอน (Colon) เป็นรูปตวั ยูควา่ มคี วามยาวมากท่สี ุด แบง่ เป็น 4 สว่ น คอื

2.1 โคลอนสว่ นข้ึน (Ascending Colon) มคี วามยาวประมาณ 20 cm.
2.2 โคลอนสว่ นขวาง (Transverse Colon) มีความยาวประมาณ 50 cm.
2.3 โคลอนสว่ นลง (Descending Colon) มคี วามยาวประมาณ 30 cm.
2.4 โคลอนสว่ นปลาย (Sigmoid Colon)
3. ไสต้ รง (Rectum) เป็นสว่ นท่ตี อ่ จาก Sigmoid Colon มีความยาวประมาณ 12-15 เซนตเิ มตร ปกตจิ ะเป็นสว่ นท่วี ่างเสมอ ถา้
กากอาหารลงมาในไสต้ รงจะกระตนุ้ ใหล้ าไสใ้ หญ่หดตวั ขบั กากอาหารออกทางทวารหนัก
4. ท่อทวารหนกั (anal canal) เป็นสว่ นปลายลา่ ง ของลาไสใ้ หญ่ ยาวประมาณ 1-1.5 น้ิว มีช่องเปิดออกสูภ่ ายนอกเรยี กว่า ปาก
ทวารหนกั (anus) ท่ปี ากทวารหนกั จะมกี ลา้ มเน้ือหมุ้ ลอ้ มเป็ นวงอยูโ่ ดยรอบ 2 วง วงในเรยี กว่า หรู ูดชน้ั ใน (internal
sphincter) วงนอกเรยี กว่าหรู ูดชน้ั นอก (external sphincter) กลา้ มเน้ือเหลา่ น้ีมีหนา้ ท่สี าหรบั เปิ ดใหอ้ จุ จาระผ่านออกไปแลว้
ปิ ดอย่างเดมิ

anal canal

หนา้ ท่ขี องลาไสใ้ หญ่

1. ช่วยย่อยอาหารเพยี งเลก็ นอ้ ย
2. ถา่ ยระบายกากอาหาร (Wastse product) ออกจากร่างกาย
3. ดูดซึมน้าและอเิ ลก็ โทรไลตจ์ ากอาหารท่ีถูกย่อยแลว้ เช่น โซเดียม และเกลอื แร่อน่ื ๆ ท่ีเหลอื อยู่ในกากอาหาร รวมทง้ั
วิตามินบางอย่างท่ีสรา้ งจากแบคทีเรีย ซ่ึงอาศยั อยู่ในลาไสใ้ หญ่ ไดแ้ ก่ วิตามินบี 12 วิตามิน เค ดว้ ยเหตุน้ีจึงเป็ นหนทาง
สาหรบั ใหน้ ้า อาหารและยาแกผ่ ูร้ บั บรกิ ารทางทวารหนกั ได้
4. ทาหนา้ ท่เี กบ็ อจุ จาระไวจ้ นกว่าจะถงึ เวลาอนั สมควรท่จี ะถ่ายออกนอกรา่ งกาย


Click to View FlipBook Version