The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนพัฒนาการเกษตรภาคเหนือ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by วาริท ชูสกุล, 2020-10-19 00:13:10

แผนพัฒนาการเกษตรภาคเหนือ

แผนพัฒนาการเกษตรภาคเหนือ

แผนพฒั นาการเกษตรภาคเหนอื
พ.ศ. ๒๕๖4 – ๒๕๖๕

คณะทางานขบั เคลอ่ื นแผนงานบูรณาการพฒั นา
พืน้ ท่ีระดบั ภาค กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

(ภาคเหนือ)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กันยายน 2562

สารบัญ หนา้

๑. สภาพทั่วไป ๑
๑.๑ ที่ตงั้ และขนาดพ้นื ที่ ๑
๑.๒ พนื้ ทแ่ี ละลักษณะภูมปิ ระเทศ ๑
๑.๓ ภูมิอากาศ ๑
๑.๔ การใช้ประโยชนท์ ด่ี นิ ๑
๑.๕ ทรพั ยากรธรรมชาติ 2
2
2. โครงสร้างทางเศรษฐกจิ และผลติ ภัณฑม์ วลรวมภาค 3
2.๑ ภาพรวมเศรษฐกิจ 7
2.๒ เศรษฐกจิ รายสาขา 8
2.๓ เศรษฐกิจระดบั ครวั เรอื น 8
8
3. โครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ และการบรกิ ารสาธารณูปโภค 8
3.๑ การคมนาคมขนส่งทางบก 8
3.2 ดา่ นชายแดน 9
3.3 แผนงานพัฒนาโครงสร้างพ้นื ฐานขนาดใหญ่ท่ีอย่รู ะหวา่ งดำเนนิ การ 9
3.4 บริการสาธารณูปโภค 10
11
๔. สถานการณก์ ารผลิตสินคา้ เกษตรที่สาคญั ปี 2561 12
๔.๑ การผลติ ดา้ นพืช 12
๔.๒ การผลิตดา้ นการปศสุ ตั ว์ 12
๔.๓ การผลิตดา้ นการประมง 13
14
5. การวิเคราะหส์ ภาวะแวดล้อม (SWOT Analysis)
5.๑ จดุ แขง็
5.๒ จดุ ออ่ น
5.๓ โอกาส
5.๔ ภัยคุกคาม

3

สารบญั (ตอ่ ) หนา้
15
6. ปญั หาและประเด็นท้าทาย 17
7. แนวคิดและทศิ ทางการพัฒนาภาค 17
17
7.๑ เปา้ หมายเชงิ ยุทธศาสตร์ 17
7.2 วตั ถุประสงค์ 18
7.3 เป้าหมาย 18
7.4 ตวั ชีว้ ดั และคา่ เปา้ หมาย 27
7.5 ยทุ ธศาสตร์การพัฒนา 27
8. แผนงาน/โครงการภายใต้แผนพัฒนาภาคเหนอื
8.1 สรปุ แผนงานโครงการภายใตแ้ ผนพฒั นาพืน้ ท่ีระดับภาค 28

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ภาคเหนือ) 50
8.2 แผนงาน โครงการ ภายใต้แผนบูรณาการพ้ืนทรี่ ะดับภาค (ภาคเหนือ) จาแนกตาม

ยุทธศาสตรแ์ ละแนวทาง (แผนพัฒนาภาคเหนือ)
8.3 รายละเอยี ดโครงการ (Project Idea) แผนงานบูรณาการ

พัฒนาพ้นื ท่รี ะดบั ภาค (ภาคเหนอื )



สว่ นที่ ๑ สภาพทว่ั ไป

1.1 ที่ต้ังและขนาดพ้ืนที่ ภาคเหนือ ประกอบด้วย 17 จังหวัด ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ น่าน พะเยา แพร่
แม่ฮ่องสอน ลาปาง ลาพูน อุตรดิตถ์ สุโขทัย ตาก พิษณุโลก กาแพงเพชร พิจิตร เพชรบูรณ์ นครสวรรค์ และ
อุทัยธานี ดา้ นเหนือมีอาณาเขตตดิ ตอ่ กบั สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ดา้ นตะวนั ออกและด้านเหนือ
มแี ม่น้าโขงเปน็ เสน้ กั้นพรมแดน ด้านตะวันตกติดต่อกบั สหภาพเมยี นมา และด้านทิศใตต้ ิดต่อกบั ภาคกลาง

๑.๒ พ้ืนที่และลักษณะภูมิประเทศ มีพ้ืนท่ีรวม 106.03 ล้านไร่ หรือ ร้อยละ 33 ของประเทศ ภูมิประเทศ
พ้นื ทตี่ อนบนเปน็ ทส่ี งู เปน็ ภเู ขา ป่าไม้ และแหล่งต้นน้าลาธาร พื้นท่ีตอนล่างเป็นภูเขาสูง ทางทิศตะวันตก และ
ทศิ ตะวันออก ตอนกลางเป็นพื้นท่ีราบลุ่มของแมน่ ้าปิง วัง ยม นา่ น สะแกกรัง และปา่ สกั

๑.๓ ภูมิอากาศ ลักษณะภูมิอากาศของภาคเหนือ มีอากาศร้อนช้ืนสลับร้อนแห้งแล้ง แบ่งเป็น ๓ ฤดู คือ
ฤดูร้อน ช่วงเดือน กุมภาพันธ์-พฤษภาคม มีอากาศร้อนและแห้งแล้ง โดยเฉพาะเดือนมีนาคมและเมษายน
จังหวัดที่มีอุณหภูมิสูงสุด คือ อุตรดิตถ์ ฤดูฝน ช่วงเดือนพฤษภาคม–ตุลาคม ได้รับอิทธิพลของลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ มีปริมาณน้าฝนเฉลี่ยปี ๒๕61 เท่ากับ ๑,221 มิลลิเมตร จังหวัดท่ีมีฝนตกมากท่ีสุด
คือ เชียงราย ฝนตกน้อยที่สุด คือ ลาปาง ฤดูหนาว ช่วงเดือน ตุลาคม-กุมภาพันธ์อากาศหนาวเย็น ได้รับ
อทิ ธิพลของลมมรสมุ ตะวันออกเฉียงเหนอื จากประเทศจีน จังหวดั ท่มี ีอุณหภมู ติ า่ สุด คอื จงั หวัดเชียงราย

๑.๔ การใช้ประโยชน์ที่ดิน ในปี ๒๕๖๐ ภาคเหนือ จากพื้นท่ีภาครวม ๑๐๖.๐๓ ล้านไร่ จาแนกเป็นพื้นท่ี
ป่าไม้ ๕๖.๔๙ ล้านไร่ หรือร้อยละ ๕๓.๓ พ้ืนที่ทาการเกษตร ๓๒.๕๐ ล้านไร่ หรือร้อยละ ๓๐.๖ และพ้ืนท่ีใช้
ประโยชน์อ่ืน ๆ ๑๗.๐๓ ลา้ นไร่ หรือรอ้ ยละ ๑๖.๑ ของพื้นที่ภาค

๑.๕ ทรัพยากรธรรมชาติ

๑.๕.๑ ดิน สภาพดินเป็นดินร่วนปนดินเหนียวท่ีเกิดจากตะกอนลาน้า มีความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างสูง
โดยเฉพาะดินบรเิ วณลมุ่ แมน่ ้าต่างๆ เหมาะสมสาหรบั การทานาประมาณ ๑๖.๔ ลา้ นไร่ หรือร้อยละ ๑๕.๕ ของ
พืน้ ท่ภี าค และปลกู พชื ไรป่ ระมาณ ๒๐.๐ ลา้ นไร่ หรือ รอ้ ยละ ๑๘.๙ ของพืน้ ทีภ่ าค

๑.๕.๒ แหล่งนา้ ภาคเหนอื มลี ุ่มน้าขนาดใหญ่ ๘ ลุ่มน้า ได้แก่ ลุ่มน้าปิง ลุ่มน้าวัง ลุ่มน้ายม ลุ่มน้าน่าน
ลุ่มน้าสาละวิน ลุ่มน้ากก ลุ่มน้าป่าสัก และลุ่มน้าสะแกกรัง ลาน้าหลักของภาค ได้แก่ แม่น้าปิง แม่น้าวัง
แม่น้ายม และ แม่น้าน่าน ซึ่งไหลไปบรรจบกันเป็นแม่น้าเจ้าพระยาท่ีจังหวัดนครสวรรค์ รวมทั้งมีแหล่งน้า
ธรรมชาติ ขนาดใหญ่ในพื้นท่ี ได้แก่ กว๊านพะเยา (พะเยา) บึงบอระเพ็ด (นครสวรรค์) และบึงสีไฟ (พิจิตร)
นอกจากนี้ ยังมีแหล่งน้าบาดาลสาคัญในภาคเหนือตอนบน ได้แก่ แอ่งเชียงใหม่และแอ่งลาพูน สาหรับ
ภาคเหนือตอนล่างมีแหล่งน้าบาดาลขนาดใหญ่อยู่บริเวณท่ีราบลุ่มเหนือจังหวัดนครสวรรค์ขึ้นไปถึงจังหวัด
อุตรดิตถ์ คณุ ภาพของ นา้ บาดาลสว่ นใหญ่อยูใ่ นเกณฑท์ บ่ี ริโภคได้

๑.๕.๓ ป่าไม้ ภาคเหนือมีพ้ืนที่ป่าไม้มากท่ีสุดของประเทศ ในปี ๒๕๖๐ ภาคเหนือมีพ้ืนที่ป่าไม้
๕๖.๓๘ ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๕ ของพ้ืนท่ีภาค หรือร้อยละ ๕๕.๒ ของพื้นท่ีป่าไม้ประเทศ ลักษณะเป็น
ป่าดงดิบ ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง โดยเฉพาะจังหวัดในภาคเหนือตอนบน เช่น เชียงใหม่ ตาก และ
แม่ฮอ่ งสอน



สว่ นที่ 2 โครงสรา้ งทางเศรษฐกิจและผลติ ภณั ฑม์ วลรวมภาค

2.๑ ภาพรวมเศรษฐกิจ

2.1.1 เศรษฐกจิ ของภาคเหนือมีขนาดเล็กท่ีสุดของประเทศ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค ณ ราคา
ประจาปี ๒๕60 เท่ากับ ๑,๑82,872 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๗.7 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมประเทศ ซ่ึงมี
สดั สว่ นเล็กลงอย่างต่อเนอ่ื งเมอ่ื เทยี บกบั ปี ๒๕๕6 ท่ีมีสดั ส่วนรอ้ ยละ ๘.7 ของประเทศ

ตารางท่ี ๑ ผลิตภัณฑ์ภาค โครงสร้างเศรษฐกิจ และอตั ราขยายตัวของภาคเหนือ

รายการ ๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙ ๒๕๖๐

มูลค่าผลติ ภัณฑภ์ าค

 มูลคา่ (ล้านบาท) 1,123,905 1,112,844 1,099,323 1,137,351 1,182,872

 สัดส่วนตอ่ ประเทศ (รอ้ ยละ) 8.7 8.4 8.0 7.8 7.7

 อตั ราขยายตวั ท่แี ทจ้ ริง (ร้อยละ) -0.9 -0.2 -0.9 1.3 3.8

มูลค่าผลิตภัณฑภ์ าคต่อหัว

 มลู ค่า (บาท/คน/ปี) 97,253 96,593 95,735 99,391 103,760

 อตั ราการขยายตัว (รอ้ ยละ) 2.4 -0.7 -0.9 3.8 4.4

โครงสร้างการผลิต (รอ้ ยละ)

 ภาคเกษตร 33.0 31.1 27.7 24.5 24.8

- เกษตรกรรม ปา่ ไม้ และประมง 33.0 31.3 27.7 24.5 24.8

 ภาคอตุ สาหกรรม 17.8 18.3 17.7 19.3 18.1

- เหมอื งแร่ฯ 5.2 5.2 4.1 4.1 3.3

- อตุ สาหกรรม 12.6 13.1 13.6 15.2 14.8

 ภาคบรกิ าร 49.2 50.6 54.6 56.2 57.1

- การค้าส่งค้าปลีก 10.8 11.6 12.4 13.1 13.7

- ขนสง่ 1.7 1.9 2.3 2.3 2.4

- อื่น ๆ 36.7 37.1 39.9 40.8 40.9

ทม่ี า : ประมวลจากขอ้ มูลของสานักบัญชปี ระชาชาติ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ

2.๑.2 โครงสร้างเศรษฐกิจขับเคล่ือนโดยภาคบริการและภาคเกษตร ในปี ๒๕60 ภาคบริการมี
สัดส่วนถึงร้อยละ ๕7.1 ส่วนใหญ่เป็นการค้าส่งค้าปลีก การศึกษา และบริการภาครัฐ สาหรับโรงแรมและ
ภัตตาคารมีแนวโน้มขยายตัวสูงสอดคล้องกับการเติบโตของการท่องเท่ียว สาหรับภาคเกษตรมีสัดส่วนร้อยละ
๒๔.8 ของผลิตภัณฑ์ภาค ซึ่งเป็นการผลิตพืชเกือบทั้งหมด ส่วนภาคอุตสาหกรรมมีบทบาทน้อย เพียงร้อยละ
๑8.1 ซึง่ สว่ นใหญ่กว่าร้อยละ ๖5.5 เปน็ อุตสาหกรรมอาหารและเครอื่ งดืม่

2.1.3 เศรษฐกิจภาคเหนือเติบโตต่อเน่ืองแต่ยังต่ากว่าระดับประเทศ ในปี ๒๕60 เศรษฐกิจ
ภาคเหนือขยายตัวร้อยละ 3.8 ขณะที่ประเทศขยายตัวร้อยละ 4.0 เป็นผลจากการหดตัวของ
ภาคอุตสาหกรรม สาขาการทาเหมืองแร่และเหมืองหินที่ลดลงร้อยละ 21.๐ เน่ืองจากยังไม่มีการอนุญาต
ประทานบัตรและอาชญาบัตรใหม่ เพราะขาดความชัดเจนด้านกฎหมายเก่ียวกับการอนุญาตต่าง ๆ หลังจากท่ี
พระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. 2560 มีผลใช้บังคับ ขณะที่ภาคเกษตรและภาคบริการขยายตัวได้ดีทุกสาขา
โดยเฉพาะสาขาเกษตรกรรมฯ สาขาการค้าส่งและค้าปลีก และสาขาการขนส่งฯ ท่ีขยายตัวร้อยละ 10.1 6.3
และ 12.7 ตามลาดับ



โดยปี 2560 จังหวัดเชียงใหม่ มีมูลคา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมจังหวัดมากท่ีสุด รองลงมาจังหวัด
กาแพงเพชร นครสวรรค์ เชียงราย ลาพูน พิษณุโลก เพชรบูรณ์ ลาปาง ตาก สุโขทัย อุตรดิตถ์ พิจิตร พะเยา
น่าน แพร่ อุทัยธานี และแม่ฮ่องสอน ตามลาดับ ส่วนร้อยละอัตราการขยายตัวมูลค่าท่ีแท้จริงของจังหวัด
ในช่วง ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๖๐) พบว่า จังหวัดท่ีมีการขยายตัวได้แก่ จังหวัดลาพูน เชียงใหม่ น่าน
แม่ฮ่องสอน พะเยา เชียงราย ตาก แพร่ เพชรบูรณ์ และกาแพงเพชร ตามลาดับ ส่วนจังหวัดที่หดตัวได้แก่
อุตรดิตถ์ พษิ ณโุ ลก ลาปาง สุโขทยั อุทยั ธานี นครสวรรค์ และพิจิตร

ตารางที่ 2 มลู ค่าผลติ ภณั ฑ์ภาคเหนือและอัตราการขยายตวั อตั ราการขยายตัว
มูลค่าทีแ่ ท้จริง
มลู ค่าผลิตผลิตภัณฑภ์ าค ณ ราคาประจาปี (ลา้ นบาท) (ร้อยละ)

พ้นื ที่ 56-60 2560
2556 2557 2558 2559 2560

ภาคเหนอื 646,718 633,985 629,957 637,841 661,992 2.4 3.8

เชียงราย 51,208 50,326 51,288 52,356 55,079 7.6 5.2

เชยี งใหม่ 120,599 123,598 127,364 132,223 138,506 14.8 4.8

ลาพูน 41,809 46,476 42,301 43,415 48,583 16.2 11.9

ลาปาง 41,727 40,937 40,376 42,007 40,753 -2.3 -3.0

แม่ฮอ่ งสอน 5,950 5,890 6,540 6,489 6,680 12.3 2.9

พะเยา 17,401 16,915 17,331 17,586 18,803 8.1 6.9

แพร่ 16,267 15,897 15,793 16,468 16,757 3.0 1.8

นา่ น 15,636 15,662 16,557 16,968 17,600 12.6 3.7

พิษณโุ ลก 49,130 46,854 46,073 45,865 48,520 -1.2 5.8

ตาก 25,053 25,579 26,649 26,693 25,939 3.5 -2.8

อตุ รดติ ถ์ 22,131 21,168 19,416 19,582 22,027 -0.5 12.5

สุโขทยั 24,680 23,527 22,978 22,001 23,610 -4.3 7.3

เพชรบรู ณ์ 40,041 42,141 41,705 42,808 41,027 2.5 -4.2

นครสวรรค์ 64,907 61,556 59,687 56,195 57,945 -10.7 3.1

กาแพงเพชร 64,798 59,049 60,784 64,280 65,022 0.3 1.2

พิจติ ร 26,857 23,093 20,925 20,180 21,505 -19.9 6.6

อุทัยธานี 16,623 16,215 15,350 14,730 15,677 -5.7 6.4

ท่มี า: ประมวลจากขอ้ มลู ของกองบัญชีประชาชาติ สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ

2.๑.4 รายได้เฉลี่ยต่อประชากรต่ากว่าค่าเฉล่ียของประเทศ ในปี ๒๕60 ผลิตภัณฑ์ภาคต่อหัว
ประชากรของภาคเหนือ (GRP Per capita) เท่ากับ 103,760 บาทต่อคนต่อปี ยังห่างจากระดับประเทศ
เกือบ ๑ เท่า จังหวัดที่มีรายได้เฉล่ียต่อหัวสูงสุด ๓ อันดับแรก ได้แก่ จังหวัดลาพูน (๑91,568 บาท)
กาแพงเพชร (๑42,660 บาท) และเชียงใหม่ (๑๓5,991 บาท) เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรมและพ้ืนที่
เศรษฐกจิ หลักของภาค ขณะที่จงั หวัดน่าน (71,121 บาท) แพร่ (67,057 บาท) และแม่ฮ่องสอน (๖5,448
บาท) มีรายได้เฉลีย่ ตอ่ ประชากรต่าท่สี ุดในภาค

2.2 เศรษฐกจิ รายสาขา
2.๒.๑ ภาคเกษตร
๑) ภาคเกษตรมีบทบาทสาคัญต่อเศรษฐกิจภาคเหนือ ทั้งในด้านเป็นฐานรายได้หลัก



ของประชากรส่วนใหญ่และการจ้างงาน ในปี ๒๕60 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรมีมูลค่า 109,141
ล้านบาท ผลผลิตเกษตรของภาคเหนือส่วนใหญ่เป็นผลิตภัณฑ์จากพืชที่สาคัญ ได้แก่ ข้าว ข้าวโพดเล้ียงสัตว์
และอ้อยโรงงาน ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ซ่ึงเป็นการทาเกษตรแปลงใหญ่ท่ียังมีการใช้สารเคมีสูง สาหรับ
การผลติ พชื ผกั และไม้ผลสว่ นใหญ่อยใู่ นภาคเหนือตอนบน โดยระบบการผลติ ปรบั สู่เกษตรอินทรีย์มากข้ึน ซึ่งยัง
อยู่ในระดับเกษตรอินทรีย์ตามวิถีพื้นบ้าน แต่มีแนวโน้มขยายสู่เชิงพาณิชย์พืชอินทรีย์สาคัญ ได้แก่ กาแฟ และ
ชาอินทรีย์ ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง และ แม่ฮ่องสอน ข้าวอินทรีย์ และข้าวหอมมะลิอินทรีย์
ในจงั หวดั เชยี งราย พะเยา และเชียงใหม่ รวมทั้งพืชผกั และ ผลไม้เมอื งหนาว

โดยปี 2560 จังหวัดเชียงใหม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดมากที่สุด รองลงมา
จังหวัดเชียงราย นครสวรรค์ เพชรบูรณ์ กาแพงเพชร พิษณุโลก พิจิตร ลาพูน สุโขทัย พะเยา อุตรดิตถ์
อุทัยธานี ตาก น่าน ลาปาง แพร่ และแม่ฮ่องสอน ตามลาดับ ส่วนร้อยละอัตราการขยายตัวของภาคเกษตร
ในช่วง ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๖๐) พบว่า จังหวัดที่มีการขยายตัวได้แก่จังหวัดน่าน ลาพูน ส่วนจังหวัดที่ภาค
เกษตรหดตัวได้แก่ ลาปาง พะเยา แม่ฮ่องสอน อุตรดิตถ์ แพร่ เชียงใหม่ เพชรบูรณ์ ตาก เชียงราย อุทัยธานี
สโุ ขทยั พษิ ณุโลก กาแพงเพชร พจิ ิตร และนครสวรรค์ ตามลาดับ

ตารางท่ี 3 มลู คา่ ผลิตภณั ฑ์มวลรวมภาคเกษตรของภาคเหนือ

หน่วย : ลา้ นบาท/ปี

อัตราการ อตั ราการ

พื้นท่ี 2556 2557 2558 2559 2560 ขยายตัว ขยายตัว
ปี 56 – 60 ปี 2560

(ร้อยละ) (รอ้ ยละ)

ภาคเหนือ 125,358 119,274 106,820 99,168 109,141 -12.9 10.1

เชียงราย 12,192 11,878 11,137 10,486 11,225 -7.9 7.0

เชยี งใหม่ 15,982 16,466 15,070 14,203 14,986 -6.2 5.5

ลาพนู 5,675 6,347 4,404 4,233 5,850 3.1 38.2

ลาปาง 2,860 2,858 2,945 2,836 2,815 -1.6 -0.7

แม่ฮ่องสอน 1,136 1,109 1,167 1,146 1,090 -4.0 -4.9

พะเยา 4,495 4,551 4,172 3,872 4,419 -1.7 14.1

แพร่ 2,165 1,990 2,017 1,925 2,038 -5.9 5.9

นา่ น 3,235 3,401 3,432 3,223 3,441 6.4 6.8

พิษณุโลก 10,603 9,492 8,075 7,668 8,660 -18.3 12.9

ตาก 4,213 4,121 4,147 3,980 3,908 -7.2 -1.8

อตุ รดติ ถ์ 4,499 4,108 3,169 2,950 4,253 -5.5 44.2

สุโขทยั 6,958 6,381 5,392 4,919 5,722 -17.8 16.3

เพชรบรู ณ์ 10,981 10,663 10,177 10,089 10,226 -6.9 1.4

นครสวรรค์ 15,099 13,697 12,421 10,454 11,210 -25.8 7.2

กาแพงเพชร 10,990 9,883 8,826 7,830 8,767 -20.2 12.0

พจิ ติ ร 7,923 6,831 5,767 5,363 5,960 -24.8 11.1

อทุ ยั ธานี 4,957 4,724 4,196 3,686 4,078 -17.7 10.6

ทม่ี า : ประมวลจากข้อมลู ของกองบัญชีประชาชาติ สานกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ



๒) พ้ืนที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร ในปี ๒๕60 มีพื้นที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตร
รวม ๓๒.๕ ล้านไร่ คิดเป็นรอ้ ยละ ๒๑.๘ ของพื้นที่ใช้ประโยชน์ทางการเกษตรท้ังประเทศ โดยพ้ืนท่ีเกษตรของ
ภาคเหนือส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ซ่ึงลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพ้ืนท่ีค่อนข้างราบ
เหมาะสาหรับปลูกข้าวและพืชไร่ มีความเหมาะสมในการทาเกษตรแปลงใหญ่ ขณะท่ีจังหวัดในภาคเหนือ
ตอนบนมพี ้นื ทีเ่ กษตรไมม่ ากเนอ่ื งจากเป็นภเู ขาสูงสลบั ทรี่ าบเชิงเขา และมีขนาดฟาร์มเล็กมากประมาณ ๑๐ ไร่
ตอ่ ครัวเรือน จึงเหมาะกับเกษตรแบบประณีตหรอื เกษตรอนิ ทรีย์

๓) พืน้ ที่ชลประทานเกษตรของภาคเหนือ โดยในปี ๒๕60 มพี ืน้ ทชี่ ลประทาน 8.89 ล้านไร่
คิดเป็นร้อยละ ๒๗.1 ของพ้ืนท่ีชลประทานท้ังประเทศ พื้นที่โครงการชลประทานของภาคเกือบร้อยละ ๗๐
อยู่ในจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง แต่ยังมีสัดส่วนพื้นท่ีชลประทานต่อพ้ืนที่เกษตรค่อนข้างต่าเพียงร้อยละ ๒๗.๓
จึงเป็นข้อจากัดในการบริหารจัดการน้าเพ่ือการเกษตร ทั้งการเก็บกักน้า ในฤดูแล้ง และชะลอน้าในช่วงฤดูฝน
ไม่ใหท้ ว่ มพชื ผลเสยี หาย

2.๒.๒ ภาคอตุ สาหกรรม

๑) อุตสาหกรรมของภาคเหนือมีบทบาทน้อยเม่ือเทียบกับระดับประเทศ ในปี ๒๕60
ผลิตภัณฑ์ภาคอุตสาหกรรม (สาขาอุตสาหกรรมและเหมืองแร่) มีมูลค่า ๒๑3,931 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน
ร้อยละ ๑8.1 ของผลิตภัณฑ์ภาค และมีสัดส่วนเพียงร้อยละ 4.7 ของมูลค่าผลิตภัณฑ์ ภาคอุตสาหกรรมของ
ประเทศ โครงสร้างอุตสาหกรรมหลักประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์อาหารมีสัดส่วนสูงท่ีสุดร้อยละ ๔๙.4 ของสาขา
อุตสาหกรรม รองลงมาเป็นการผลิตเครื่องด่ืม ผลิตภัณฑ์คอมพิวเตอร์ฯ ผลิตภัณฑ์จาก แร่อโลหะ และเคร่ือง
แต่งกาย ตามลาดับ โดยส่วนใหญ่ยังคงพ่ึงพาฐานทรัพยากรธรรมชาติในพื้นท่ี เช่น วัตถุดิบทางการเกษตร
แร่ดินขาว และไม้แปรรูป รวมท้ังอาศัยฝีมือแรงงานเป็นหลัก อุตสาหกรรมในภาคเหนือ ตอนล่าง จังหวัด
กาแพงเพชรและนครสวรรค์ เป็นกลุ่มอาหารและเคร่ืองดื่ม กลุ่มพลังงานชีวภาพ/ชีวมวล โดยเป็นโรงงานขนาด
ใหญ่ และมนี ิคมอุตสาหกรรมทีจ่ งั หวัดพิจิตร สาหรับภาคเหนือตอนบน ในนคิ มอตุ สาหกรรมลาพูนส่วนใหญ่เป็น
กลุ่มชิน้ ส่วนอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ของนักลงทุนญป่ี ุ่นซึง่ ปัจจบุ ันเตม็ พน้ื ท่แี ล้ว และมีโรงงานอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
และอตุ สาหกรรมเบาต่าง ๆ กระจายในจังหวดั เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง โดยเปน็ ผผู้ ลิตขนาดกลางและขนาดยอ่ ม

๒) ภาคเหนือเป็นแหล่งผลิตหัตถอุตสาหกรรมที่สาคัญของประเทศ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มี
อัตลักษณ์ของศิลปวัฒนธรรมภาคเหนือและมีความหลากหลาย อาทิ ผ้าทอ เคร่ืองเงิน เฟอร์นิเจอร์ไม้
ผลิตภัณฑ์ตกแต่งบ้าน เป็นต้น แหล่งผลิตส่วนใหญ่กระจายในจังหวัดภาคเหนือตอนบน โดยมีจังหวัดเชียงใหม่
เป็นแหล่งจาหน่ายหลัก และเป็นเมือง UNESCO’s Creative City Network (สาขา Crafts and Folk Art)
ซง่ึ ปัจจุบันมีการพัฒนายกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ให้มคี ณุ ภาพสงู ขึ้น โดยได้รบั การสนับสนุนจากสถาบันการศึกษา และ
สานกั งานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (TCDC ภาคเหนือ) นอกจากนี้ ตงั้ แต่แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท่ี ๑๐ เป็นต้นมา
ได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ในกลุ่มซอฟต์แวร์ และดิจิทัลคอนเทนต์ซึ่งในช่วงปี ๒๕๕๕-๒๕๕๘
โครงการท่ีได้รับอนุมัติส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมซอฟท์แวร์ และดิจิทัลคอนเทนต์ มีการขยายตัวเฉล่ีย
ของจานวนผู้ประกอบกิจการสูงถึงร้อยละ ๒๙.๔ ต่อปี โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งเป็นเมืองสาหรับ
นักพัฒนางานดิจิทัล (Best City for Digital Nomads) ซ่ึงปัจจุบันมีการพัฒนาธุรกิจ Startup โดยสานักงาน
สง่ เสริมเศรษฐกจิ ดิจิตัล (DEPA ภาคเหนอื ) และมหาวทิ ยาลัยเชยี งใหมไ่ ดใ้ หก้ ารสนบั สนุน



2.๒.๓ การคา้ ชายแดน

๑) ด่านชายแดนภาคเหนือเป็นประตูการค้ากับประเทศเพื่อนบ้าน ทั้งเมียนมา และ
สปป.ลาว และสามารถเชื่อมโยงการค้ากับประเทศจีนตอนใต้ การค้าชายแดนเติบโตอย่างต่อเนื่อง ปี ๒๕๖1
การค้าผ่านด่านศุลกากร (การค้าชายแดนและผ่านแดน) มีมูลค่ารวม ๑61,238.80 ล้านบาท ส่วนใหญ่
เป็นการส่งออกจึงได้ดุลการค้าสูงมาโดยตลอด ในช่วงปี ๒๕๕6-๒๕๖1 มูลค่าการค้าชายแดนภาคเหนือ
ขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ ๑3.0 ต่อปี ตามการค้ากับประเทศเมียนมาจากการเปิดประเทศทาให้มีความต้องการ
สินค้า เพื่ออุปโภคบริโภคสูง และการนาเข้าพลังงานไฟฟ้าที่โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนหงสา ของ สปป.ลาว
ผ่านทาง ด่านทุ่งช้าง อย่างไรก็ตาม ภาคเหนือเป็นเพียงทางผ่านของสินค้าออกสู่ประเทศเพื่อนบ้านและจีน
ตอนใต้ เท่านั้น โดยสินค้าส่วนใหญ่มาจากส่วนกลาง ด่านชายแดนหลัก ได้แก่ ด่านแม่สอด จังหวัดตาก
สัดส่วนร้อยละ 48.4 และด่านในจังหวัดเชียงรายรวมประมาณร้อยละ ๓2.0 ได้แก่ ด่านเชียงของ เชียงแสน
และด่านแม่สาย สินค้าส่งออกที่สาคัญ อาทิ น้ามันเชื้อเพลิง วัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง น้าตาลทราย
เครื่องโทรสารพร้อม อุปกรณ์ สินค้าอุปโภคบริโภค สินค้านาเข้า อาทิ พลังงานไฟฟ้า โคกระบือมีชีวิต
ผลิตภัณฑ์อื่นๆ จากสัตว์ ผักและผลไม้ พืชน้ามัน และสินค้าเกษตร สาหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนใน
ภาคเหนือ มี ๒ แห่ง ได้แก่ อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก และอาเภอแม่สาย เชียงแสน เชียงของ ในจังหวัด
เชียงราย ปัจจุบันอยู่ระหว่างการพัฒนาพ้ืนท่ีอุตสาหกรรมและโครงสร้างพื้นฐาน

๒) โครงสร้างการคา้ ชายแดนจาแนกตามประเทศคู่คา้ ในปี ๒๕๖1 มูลค่าการค้า ส่วนใหญ่
ยังคงเป็นเมียนมา ๙4,831.18 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 58.8 รองลงมาเป็น สปป.ลาว ๔6,๔24.1๙
ล้านบาท ร้อยละ ๒8.8 เป็นอันดับสองสูงกว่าการค้าผ่านแดนกับจีนตอนใต้ เป็นผลมาจากการนาเข้าพลังงาน
ไฟฟ้า และการพัฒนาพื้นที่ในแขวงบ่อแก้วและหลวงนา้ ทา ทาให้ความต้องการสินค้าอุปโภคบริโภคและ วัสดุ
อุปกรณ์ก่อสร้างมากขึ้น ขณะที่การค้าผ่านแดนกับจีนตอนใต้ชะลอตัว โดยมีมูลค่า ๑๙,983.43 ล้านบาท
คิดเป็นร้อยละ ๑๒.4 ส่วนหน่ึงเป็นผลมาจากเศรษฐกิจประเทศจีนอยู่ในภาวะชะลอตัว สาหรับช่องทางการค้า
กับจีนตอนใต้เปล่ียนมาผ่านด่านเชียงของมากขึ้นจากเดิมที่ผ่านทางด่านเชียงแสน โดยในปี ๒๕๖1 การค้ากับ
จีนผ่านด่านเชียงของมีสัดส่วนถึงร้อยละ 82.8 เนื่องจากความสะดวกของการขนส่งตามเส้นทาง R3A
ผ่านสะพานข้ามแม่น้าโขงแห่งที่ ๔ ประกอบกับการขนส่งทางเรือที่ท่าเรือเชียงแสนยังติดปัญหาร่องน้า
ผู้ประกอบการจึงเปลี่ยนมาเป็นการขนส่งสินค้าทางถนน R3A หรือขนส่งทางเรือในแม่น้าโขงแต่ถ่ายสินค้า
ไปยัง ท่าเรือของประเทศลาวเพ่ือหลีกเลี่ยงโขดหินและเกาะแก่ง จากนั้นขนส่งทางบกตามถนน R3A ผ่านทาง
ด่านเชียงของ

2.๒.๔ การทอ่ งเที่ยว

1) การท่องเที่ยวของภาคเหนือโดดเด่นด้านวัฒนธรรมและธรรมชาติ โดยมีจุดแข็งอยู่ที่
สภาพภูมิสังคมซึ่งเป็นภูเขาสูง ทัศนียภาพสวยงาม อากาศเย็นสบาย มีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุ
โดยเฉพาะวัฒนธรรมที่งดงามเป็นเอกลักษณ์ ผู้คนมีความเป็นมิตร รวมท้ังเป็นประตูเช่ือมโยงการท่องเที่ยว
สู่ประเทศเพ่ือนบ้าน และยังมีแหล่งมรดกโลกท้ังด้านประวัติศาสตร์และเชิงนิเวศน์ จึงดึงดูดให้นักท่องเท่ียว
หล่ังไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง และเริ่มขยายตลาดท่องเท่ียวเฉพาะกลุ่มมากข้ึน เช่น MICE การท่องเที่ยว
เพื่อสุขภาพ การท่องเท่ียวชุมชน กีฬา/การผจญภัย พานักระยะยาว และการท่องเท่ียวในกลุ่มประเทศ
อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง โดยมีเชียงใหม่เป็นเมืองท่องเที่ยวหลักท่ีมีชื่อเสียงระดับโลก อย่างไรก็ตาม สภาพ
โดยรวมของทรัพยากรธรรมชาติ และแหล่งท่องเที่ยวหลักมีความเส่ือมโทรม การบริหารจัดการการท่องเท่ียว
และระบบขนส่งสาธารณะยังขาดประสิทธิภาพ และปัญหาหมอกควันท่ีส่งผลกระทบ ต่อการตัดสินใจมา



ทอ่ งเทีย่ ว เป็นประเด็นท่ีท้าทายตอ่ การพัฒนาการท่องเทย่ี วของภาคเหนือ

๒) รายได้จากการท่องเท่ียวมีแนวโน้มขยายตัวสูงกว่าระดับประเทศ ในปี ๒๕๖1
มีนักท่องเท่ียว จานวน ๓5.1๒ ล้านคน คิดเป็นร้อยละ ๑๑.6 ของจานวนนักท่องเท่ียวทั้งประเทศ และมีรายได้
จาก การท่องเที่ยว ๑90,557.96 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 6.9 ของรายได้ท่องเที่ยวทั้งประเทศ รองจาก
กรุงเทพฯ ภาคใต้ และภาคตะวันออก โดยปี ๒๕๕๖-๒๕๖1 รายได้จากการท่องเที่ยวภาคเหนือขยายตัวเฉลี่ย
ร้อยละ ๑0.8 ต่อปีต่ากว่าระดับประเทศท่ีขยายตัวร้อยละ ๑๓.2 แต่จานวนนักท่องเท่ียวเพ่ิมข้ึนเฉลี่ย ร้อยละ
7.5 เทียบเท่ากับระดับประเทศ นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่กว่าร้อยละ 85.3 เป็นชาวไทย และยังเป็น
การท่องเที่ยวกระแสหลัก สาหรับนักท่องเท่ียวต่างชาติร้อยละ 2๑.9 มาจากยุโรปและอเมริกา และร้อยละ
๒7.5 เป็นนกั ท่องเท่ยี วจากจนี ซึ่งขยายตวั สงู มาก

๓) รายได้จากการท่องเที่ยวยังคงกระจุกตัวในเมืองท่องเที่ยวหลักแต่มีแนวโน้มกระจาย
สู่เมืองรองมากข้ึน ในปี ๒๕๖1 จังหวัดที่มีสัดส่วนรายได้จากการท่องเที่ยวมากท่ีสุดส่วนใหญ่เป็น เมือง
ท่องเที่ยวหลัก คือ เชียงใหม่ ร้อยละ ๕๖.7 เชียงราย ร้อยละ ๑5.0 พิษณุโลก ร้อยละ ๔.4 และเพชรบูรณ์
ร้อยละ ๔.๐ อย่างไรก็ตาม พบว่า เมืองท่องเที่ยวรอง เช่น น่าน พิจิตร ลาพูน อุทัยธานี อุตรดิตถ์ นครสวรรค์
กาแพงเพชร พะเยา ลาปาง มีการขยายตัวของรายไดก้ ารทอ่ งเทยี่ วในอัตราทีส่ งู

2.๓ เศรษฐกิจระดับครัวเรือน

2.๓.๑ รายได้เฉลี่ยครัวเรือนของภาคเหนือต่ากว่าระดับประเทศมาก และขยายตัวในอัตรา
ที่ชะลอลง โดยในปี ๒๕๖0 รายได้เฉลี่ยครัวเรือนภาคเหนือ ๑๙,๐๔๖ บาทต่อเดือน ต่ากว่าระดับประเทศ
ท่ี ๒๖,๙๔๖ บาทต่อเดือน จังหวัดท่ีมีรายได้เฉล่ียครัวเรือนสูงที่สุดของภาค คือ จังหวัดลาพูน ๒๔,๔๖๘ บาท
ต่อเดือนต่าสุด คือ จังหวัดเชียงราย ๑๑,๘๐๙ บาทต่อเดือน และพบว่าอัตราการขยายตัวของรายได้เฉล่ีย
ครัวเรอื นชะลอตวั ลง เหลือเฉลี่ยรอ้ ยละ ๑.๗ ตอ่ ปใี นชว่ ง ๒๕๕๔-๒๕๖๐

2.๓.๒ หนี้สินเฉลี่ยครัวเรือนของภาคเหนือต่ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ แต่มีแนวโน้มขยายตัว
ในปี ๒๕๖๐ ภาคเหนือมีหนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน ๑๖๗,๙๕๒ บาท ต่ากว่าของประเทศท่ี ๑๗๘,๙๙๔ บาท
จงั หวดั ทมี่ ีหนี้สนิ เฉล่ียตอ่ ครัวเรอื นสูงทีส่ ุดของภาค คอื จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ๒๗๓,๒๑๒ บาท รองลงมาคือ จังหวัด
อุทัยธานี ๒๖๓,๗๕๕ บาท ต่าสุดในภาคคอื จังหวัดเชียงราย ๓๐,๖๐๘ บาท แม้ว่าหน้ีสินเฉลี่ยต่อครัวเรือนของ
ภาคยังคอ่ นข้างตา่ แต่มีอตั ราการขยายตวั เฉลี่ยเพมิ่ ขน้ึ เฉลยี่ รอ้ ยละ ๕.๖ ต่อปีในช่วง ๒๕๕๔-๒๕๖๐

2.3.3 สัดส่วนคนจนลดลงมาก แต่ยังคงสูงกว่าระดับประเทศ การกระจายรายได้มีแนวโน้มดีขึ้น
สดั ส่วนคนจนของภาคลดลงจากร้อยละ ๑๗.๔ ในปี ๒๕๕๕ เปน็ ร้อยละ ๙.๘ ในปี ๒๕๖๐ สูงกว่าสัดส่วนคนจน
ของประเทศทม่ี ีอตั ราร้อยละ ๘.๙ โดยจังหวัดแมฮ่ ่องสอน มีสัดส่วนคนจนสูงสุด ร้อยละ ๓๓.๓ รองลงมา ได้แก่
จังหวัดตาก ร้อยละ ๒๗.๒ และจังหวัดน่าน ร้อยละ ๑๗.๙ ส่วนการกระจายรายได้ของภาคมีแนวโน้มดีข้ึน
โดยสมั ประสิทธิ์การกระจายรายไดป้ รบั จาก ๐.๔๔ ในปี ๒๕๕๔ เป็น ๐.๔๑ ในปี ๒๕๖๐



ส่วนที่ 3 โครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ และการบรกิ ารสาธารณูปโภค

3.๑ การคมนาคมขนส่งทางบก

3.๑.๑ โครงข่ายถนน เช่ือมโยงกับโครงข่ายหลักของประเทศและเชื่อมโยงสู่ประเทศเพ่ือนบ้าน สปป.
ลาว เมียนมา และสามารถเชือ่ มโยงไปยงั จีนตอนใต้

๑) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑ (ถนนพหลโยธิน) เริ่มต้นท่ีกรุงเทพมหานคร ส้ินสุด ที่
ดา่ นพรมแดนแมส่ าย อ.แม่สาย จงั หวัดเชยี งราย เช่อื มโยงกับประเทศเมยี นมาท่ีท่าข้ีเหล็ก เป็นระยะทาง ท้ังสิ้น
๙๙๔.๗๕ กิโลเมตร และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๑ (สายอินทร์บุรี–เชียงใหม่) เป็นทางหลวง แผ่นดินสาย
หลักแนวเหนือ–ใต้ เชื่อมการคมนาคมระหว่างจังหวัดในภาคกลางกับจังหวัดในภาคเหนือระยะทาง ๕๔๕.๗๘
กิโลเมตร

๒) เส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ (North-South Economic Corridor :
NSEC) หรือเส้นทาง R3A เช่ือมโยงระหว่างคุนหมิง จีนตอนใต้ มายังเมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว สปป.ลาว
เข้าสู่ ประเทศไทยผ่านสะพานมิตรภาพไทย-ลาว แห่งที่ ๔ (เชียงของ-ห้วยทราย) ที่ อ.เชียงของ จ.เชียงราย
ผา่ น ทางหลวงหมายเลข ๑ ลงสภู่ าคกลางและภาคใต้ เชื่อมไปถงึ มาเลเซยี และสิงคโปร์

๓) เส้นทางแนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor :
EWEC) หรือเส้นทาง R2 เชื่อมโยง ๔ ประเทศ ได้แก่ เมียนมา ไทย ลาว และเวียดนาม โดยเชื่อมโยงจาก
เมียนมา ผ่านสะพานมิตรภาพไทย-เมียนมา แห่งที่ ๑ สู่อาเภอแม่สอด จังหวัดตาก-พิษณุโลก-เพชรบูรณ์ เข้าสู่
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข ๑๒ (ชัยภูมิ ขอนแก่น มหาสารคาม กาฬสินธุ์
มุกดาหาร) และเช่ือมสู่ สปป.ลาว ผ่านสะพานมิตรภาพแห่งท่ี ๒ (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) เป็นเส้นทาง
เชื่อมโยงการคา้ การลงทนุ ภายใตก้ รอบความรว่ มมือกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคล่มุ นา้ โขง (GMS)

3.๑.๒ รถไฟ มีเส้นทางรถไฟกรุงเทพฯ - เชียงใหม่ สามารถเชื่อมโยงสู่ทางรถไฟสายตะวันออก
เฉยี งเหนือท่ีสถานรี ถไฟชมุ ทางบา้ นภาชี จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

3.๑.3 สนามบิน มี ๑๒ แห่ง เป็นสนามบินนานาชาติ ๒ แห่ง คือ ท่าอากาศยานนานาชาติเชียงใหม่
และท่าอากาศยานนานาชาติแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย และสนามบินในประเทศ ๑๐ แห่ง ได้แก่ ลาปาง
แม่ฮอ่ งสอน น่าน พษิ ณโุ ลก สโุ ขทยั แพร่ แม่สอด ตาก เพชรบรู ณ์ และปาย

3.2 ด่านชายแดน ภาคเหนือมี ๘ ด่านถาวร ๒๑ จุดผ่อนปรนที่เป็นจุดเช่ือมโยงการค้าชายแดนกับประเทศ
เพอื่ นบา้ น

3.3 แผนงานพฒั นาโครงสร้างพ้ืนฐานขนาดใหญท่ ่อี ยูร่ ะหวา่ งดาเนินการ ได้แก่ รถไฟทางคู่ ช่วงปากน้าโพ -
เด่นชัย ช่วงเด่นชัย - เชียงใหม่ และ ช่วงเด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ รวมถึงรถไฟความเร็วสูง กรุงเทพ –
เชียงใหม่ และสนามบินนานาชาติเชยี งใหมแ่ หง่ ที่ ๒ อยู่ระหวา่ งเสนอโครงการ

3.4 บรกิ ารสาธารณูปโภค

3.4.๑ ไฟฟ้า มีระบบสายส่งเชื่อมโยงกับระบบสายส่งของประเทศและมีโรงงานและเขื่อนผลิต
กระแสไฟฟ้าท่ีสาคัญ ได้แก่ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ (ลาปาง) โรงไฟฟ้าลานกระบือ (กาแพงเพชร) เขื่อนสิริกิติ์
(อตุ รดิตถ)์ เข่อื นภูมพิ ล (ตาก) และเขื่อนแม่งดั สมบูรณชล (เชยี งใหม่)

3.4.๒ ประปา ภาคเหนือประปา มีระบบบริการประปาครอบคลุมพ้ืนท่ีเขตเมือง ในพ้ืนท่ี
ความรับผิดชอบ ของสานักงานประปาเขต ๙ (เชียงใหม่) และ สานักงานประปาเขต ๑๐ (นครสวรรค์)
นอกจากน้มี ีระบบประปา ของ อปท. และประปาหมู่บา้ น



สว่ นที่ 4 สถานการณ์การผลิตสนิ คา้ เกษตรที่สาคญั ปี 2561

4.1 การผลติ ด้านพชื

4.1.1 ข้าวนาปี ภาคเหนือ 17 จังหวัด (เชียงราย พะเยา ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน ตาก
กาแพงเพชร สุโขทัย แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ พิษณุโลก พิจิตร นครสวรรค์ อุทัยธานี และเพชรบูรณ์) มีเนื้อที่
เพาะปลูก 13,380,147 ไร่ เพ่ิมขึ้น 51,718 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.39 เน่ืองจากภาครัฐมีนโยบายช่วยเหลือ
เกษตรกร อาทิ โครงการสินเชื่อชะลอการขายข้าวเปลือกนาปีและการช่วยเหลือค่าเก็บเก่ียวและปรับปรุง
คุณภาพข้าว โครงการสินเช่ือเพื่อรวบรวมข้าวและสร้างมูลค่าเพิ่มโดยสถาบันเกษตรกร และ โครงการชดเชย
ดอกเบี้ยให้ผู้ประกอบการค้าข้าวในการเก็บสต็อก ส่วนผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 581 กิโลกรัม เพิ่มขึ้น 2 กิโลกรัม
คิดเป็นร้อยละ 0.34 มีปริมาณผลผลิตโดยรวม 7,606,065 ตัน เพิ่มข้ึน 396,555 ตัน คิดเป็นร้อยละ
5.21

4.1.2 ข้าวโพดเล้ียงสัตว์ ภาคเหนือเป็นแหล่งปลูกข้าวโพดเล้ียงสัตว์สาคัญของประเทศ (เชียงราย
เพชรบูรณ์ น่าน และตาก) มีเน้ือท่ีเพาะปลูก 4,594,772 ไร่ เพิ่มขึ้น 75,385 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.64
เน่ืองจากราคาที่เกษตรกรขายได้มีแนวโน้มสูงขึ้น จึงจูงใจให้เกษตรกรขยายเนื้อที่เพาะปลูก ประกอบกับมี
โครงการสานพลงั ประชารฐั เพื่อสนับสนุนการปลูกข้าวโพดหลังฤดูทานา ส่วนผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 744 กิโลกรัม
เพ่ิมข้ึน 11 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 1.48 มีปริมาณผลผลิตโดยรวม 3,408,632 ตัน เพิ่มข้ึน 107,870
ตัน คิดเป็นร้อยละ 3.16 เนื่องจากปริมาณน้าฝนเพียงพอต่อการเจริญเติบโต และไม่กระทบแล้งในช่วงออก
ดอก

4.1.3 มันสาปะหลังโรงงาน ภาคเหนือปลูกมันสาปะหลังโรงงานใน 16 จังหวัด (ยกเว้นจังหวัด
แม่ฮ่องสอน) มีเน้ือที่เพาะปลูก 1,928,746 ไร่ ลดลง 56,203 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 2.91 เน่ืองจากราคา
หัวมันสาปะหลังท่ีเกษตรกรขายได้ตกต่าลงต่อเนื่อง ส่งผลให้เกษตรกรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชอ่ืนท่ีได้
ผลตอบแทนที่ดีกว่าส่วนผลผลิตต่อไร่เฉลี่ย 3,412 กิโลกรัม เพิ่มขึ้น 55 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 1.62
เน่ืองจากสภาพอากาศท่ีเอ้ืออานวยต่อการเจริญเติบโต มีปริมาณผลผลิตโดยรวม 6,480,715 ตัน ลดลง
71,527 ตนั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.10

4.1.4 อ้อยโรงงาน ภาคเหนือมีเน้ือท่ีเพาะปลูก 3,369,904 ไร่ เพิ่มข้ึนร้อยละ 9.7 และเนื้อที่เก็บ
เก่ียว 2,935,064 ไร่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 3.82 เน่ืองจากมีนโยบายภาครัฐส่งเสริมให้ปลูกอ้อยโรงงานทดแทน
พ้นื ท่นี าขา้ วที่ไมเ่ หมาะสม และเพ่มิ พนื้ ทีอ่ อ้ ยโรงงานท้งั ประเทศเปน็ 16 ลา้ นไร่ ในปี 2569 ประกอบกับราคา
อยู่ในเกณฑ์ท่ีดีจูงใจให้เกษตรกรขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกเพิ่มขึ้น ทาให้มีปริมาณผลผลิตโดยรวม 34,847,477
ตัน เพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 28.85

4.1.5 ไม้ผล
ลาไย ภาคเหนือมีพื้นที่ปลูกลาไย 13 จังหวัด (เชียงราย พะเยา ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่

แม่ฮ่องสอน ตาก กาแพงเพชร สุโขทัย แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ และพิษณุโลก) โดยปี ๒๕61 มีเนื้อที่ยืนต้น
879,207 ไร่ เพิ่มขึ้นเล็กน้อยคิดเป็นร้อยละ 0.92 เน้ือที่ให้ผล 853,105 ไร่ เพิ่มข้ึนร้อยละ 1.30 และ
ผลผลิตตอ่ ไร่เฉล่ีย 800 กิโลกรัม เพิ่มข้ึนร้อยละ 7.67 เน่ืองจากลาไยที่ปลูกเมื่อปี 2558 เร่ิมให้ผลผลิตในปี
2561 เปน็ ปแี รก ส่งผลให้ผลผลติ ตอ่ ไร่เพม่ิ ข้นึ ทาให้มปี รมิ าณผลผลติ โดยรวม 682,849 ตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ
9.12 โดยผลผลติ จะออกกระจุกตัวสงู สุดชว่ งเดอื นสงิ หาคม และเดอื นธันวาคม

๑๐

ลิ้นจี่ ภาคเหนือมีจังหวัดที่ปลูกลิ้นจี่ 8 จังหวัด (เชียงราย พะเยา ลาปาง เชียงใหม่
แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน และเพชรบูรณ์) โดยปี ๒๕61 มีเน้ือที่ยืนต้น 101,314 ไร่ ลดลงร้อยละ 8.49
เนือ่ งจากเกษตรกรโค่นต้นลนิ้ จแ่ี ละปรับเปล่ียนไปปลูกพืชอื่น เช่น มะม่วง ส้มเขียวหวาน ลาไย สาหรับผลผลิต
ต่อไร่เพ่ิมข้ึน เน่ืองจากสภาพภูมิอากาศในช่วงติดดอกหนาวเย็นต่อเนื่องทาให้ต้นลิ้นจี่ออกดอกมาก อีกท้ังในปี
2560 มฝี นตกสมา่ เสมอส่งผลให้ตน้ ลนิ้ จ่สี มบูรณ์ เน้ือท่ใี หผ้ ล 100,163 ไร่ ลดลงรอ้ ยละ 8.61 ส่วนผลผลิต
ตอ่ ไร่เฉล่ีย ๒๗๙ กิโลกรัม เพิ่มข้ึน ร้อยละ 3.66 มีปริมาณผลผลิตโดยรวม 42,585 ตัน ลดลงร้อยละ 5.33
สาหรับการกระจายตัวของผลผลิตที่จะออกสู่ตลาด เร่ิมตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม ถึง เดือนกรกฎาคม โดยจะ
ออกกระจกุ ตวั สงู สดุ ในช่วงเดือนพฤษภาคมถึงเดือนมถิ ุนายน

ส้มเขียวหวาน ภาคเหนือมีพ้ืนที่ปลูกส้มเขียวหวาน 11 จังหวัด (เชียงราย เชียงใหม่
แมฮ่ ่องสอน ตาก กาแพงเพชร สโุ ขทยั แพร่ น่าน พจิ ิตร นครสวรรค์ และเพชรบูรณ์) เนื้อท่ียืนต้น 96,724 ไร่
เพิ่มขึน้ 1,284 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.33 เน้ือที่ให้ผล 90,448 ไร่ เพ่ิมข้ึน 9,805 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 10.84
เนื่องจากเน้ือที่ปลูกใหม่ปี 2558 เร่ิมให้ผลผลิตได้ในปี 2561 เป็นปีแรก โดยเกษตรกรขยายเน้ือท่ีปลูก
เนื่องจากเกษตรกรสามารถหาวิธีควบคุมโรคแมลง หรอื โรคกรนี น่ิง (Greening Disease) ท่ีระบาดในสวนส้มมา
ตลอดกว่า 10 ปี ส่งผลให้เกษตรรายย่อยเริ่มหันกลับมาฟื้นฟูสวนส้มอีกคร้ัง ส่วนผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 2,041
กโิ ลกรัม เพ่ิมขึ้น 55 กิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 2.69 เน่ืองจากสภาพอากาศเอ้ืออานวย ปริมาณน้าฝนเพียงพอ
ต่อการเจริญเติบโต ประกอบกับราคาส้มอยู่ในเกณฑ์ดี ส่งผลให้เกษตรกรดูแลรักษาเป็นอย่างดี และปริมาณ
ผลผลติ โดยรวม 184,597 ตนั เพมิ่ ขนึ้ 24,439 ตนั คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.24

4.1.6 พชื หัว
กระเทียม ปี ๒๕61 ภาคเหนือมีเน้ือท่ีเพาะปลูก 84,982 ไร่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 19.82

เนื่องจากราคากระเทียมท่ีเกษตรขายได้ในปี 2560 อยู่ในเกณฑ์จูงใจให้เกษตรกรปลูกเพ่ิมขึ้น ผลผลิตต่อไร่
เฉล่ีย 1,060 กิโลกรัม เพ่ิมขึ้นร้อยละ 9.71 เน่ืองจากสภาพอากาศเอื้ออานวยต่อการเจริญเติบโตของต้น
กระเทียม ส่งผลให้ผลผลิตโดยรวมเพิ่มข้ึนช่วงเดือนเก็บเกี่ยวต้ังแต่ เดือนธันวาคม 2560 ไปถึงเดือนเมษายน
2561 โดยท่ีผลผลิตกระจุกตัวช่วงเดือนมีนาคม 2561 ทาให้มีปริมาณผลผลิตโดยรวม 90,237 ตัน เพิ่มขึ้น
รอ้ ยละ 31.44

หอมแดง ปี ๒๕61 ภาคเหนือมีเนื้อที่เพาะปลูก 39,668 ไร่ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 18.90 เพ่ิมขึ้น
เน่ืองจากราคาหอมแดงที่เกษตรขายได้ในปี 2560 อยู่ในเกณฑ์ดี รวมท้ังปี 2561 สภาพอากาศเอ้ืออานวย
ปริมาณน้าเพียงพอต่อการเพาะปลูก เกษตรกรที่พักแปลงเพาะปลูกจึงกลับมาปลูกใหม่ และเกษตรกรบางส่วน
ปลูกเพิ่มในพื้นท่ีว่างเปล่า ผลผลิตต่อไร่เฉล่ีย 1,966 กิโลกรัม เพ่ิมขึ้นร้อยละ 12.28 เน่ืองจากสภาพอากาศ
เอ้อื อานวย ปริมาณน้าเพียงพอต่อการเจริญเตบิ โตของต้นหอมแดง ส่งผลให้ผลผลิตโดยรวมเพ่ิมข้ึน ช่วงเดือนท่ี
เก็บเกี่ยวผลผลิตกระจกุ ตัวอยู่ในชว่ งเดอื นมกราคมถงึ เดอื นมนี าคม 2561

4.2 การผลติ ด้านการปศสุ ตั ว์

4.2.1 ไก่เนื้อ ปี 2561 ภาคเหนือมีปริมาณการผลิต 132,330,151 ตัว เพ่ิมขึ้นร้อยละ 3.43
จากปี 2560 เนือ่ งจากระบบการควบคมุ เขตปลอดโรคสตั ว์ปีกมปี ระสิทธภิ าพทาให้ผลผลิตไกเ่ น้ือของไทยได้รับ
ความเชอ่ื มัน่ จากตลาดโลกอย่างต่อเน่ืองทาให้เกิดลงทุนและส่งเสริมการเลี้ยงไก่เนื้อเพิ่มข้ึน จังหวัดนครสวรรค์
เป็นแหล่งเลี้ยงไก่เนื้ออนั ดับหนึง่ ของภาคเหนือ (สัดส่วน ร้อยละ 28.60) มีปริมาณการผลิต 40.719 ล้านตัว
ลดลงเล็กน้อย รองลงมาจังหวัดเชียงใหม่ (สัดส่วน ร้อยละ 12.73) มีปริมาณการผลิต 18.121 ล้านตัว
มีปริมาณการผลิตเพ่ิมขึ้น ร้อยละ 5.85 จังหวัดเพชรบูรณ์ (สัดส่วน ร้อยละ 12.16) มีปริมาณการผลิต

๑๑

17.303 ล้านตัว ลดลงเล็กน้อย และจังหวัดพิษณุโลก (สัดส่วน ร้อยละ 10.73) มีปริมาณการผลิต 5.265
ล้านตัว

4.2.2 ไก่ไข่ ปี 2561 ภาคเหนือมีไก่ไข่จานวน 8,684,674 ตัว ปริมาณการผลิตไข่ไก่
2,324,560,203 ฟอง เพ่ิมข้ึนร้อยละ 0.24 ในสัดส่วนเดียวกันจากปี 2560 เนื่องจากนโยบายการรักษา
เสถยี รภาพราคาไข่ไกม่ ีความรว่ มมอื บรหิ ารจดั การแม่ไกไ่ ขย่ ืนกรงให้สอดรับกับความต้องการของตลาดทาให้ทิศ
ทางการเพิ่มปริมาณผลิตไข่ไก่เพิ่มข้ึนตามปริมาณการปลดแม่ไก่ไข่ จังหวัดแหล่งผลิตสาคัญ โดยปี 2561
จังหวัดเชียงใหม่เป็นแหล่งเลี้ยงไก่ไข่อันดับหนึ่งของภาคเหนือ (สัดส่วน ร้อยละ 34.72) มีปริมาณการผลิต
2.938 ล้านตัว ผลิตไข่ไก่ 806.987 ล้านฟอง ปริมาณไข่ไก่เพ่ิมข้ึนจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 4.69 รองลงมา
จังหวัดนครสวรรค์ (สัดส่วน ร้อยละ 11.45) มีปริมาณการผลิต 0.896 ล้านตัว ผลิตไข่ไก่ 266.105 ล้าน
ฟอง ปริมาณไข่ไก่ลดลงร้อยละ 7.98 จังหวัดอุตรดิตถ์ (สัดส่วน ร้อยละ 10.97) มีปริมาณการผลิต 0.760
ล้านตัว ผลิตไข่ไก่ 255.026 ล้านฟอง ปริมาณไข่ไก่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยร้อยละ 0.65 และจังหวัดเชียงราย
(สัดส่วน ร้อยละ 10.17) มีปริมาณการผลิต 1.046 ล้านตัว ผลิตไข่ไก่ 236.402 ล้านฟอง ปริมาณไข่ไก่
เพิม่ ข้นึ เลก็ นอ้ ยรอ้ ยละ 0.76

4.2.3 สุกร ปี 2561 ภาคเหนือมีปริมาณการผลิต 2,329,928 ตัว เพิ่มข้ึนร้อยละ 6.82 จากปี
2560 เน่ืองจากเกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการรายใหญ่ซึ่งสามารถบริหารจัดการและมีการพัฒนา
รวมท้ังปรับปรุงมาตรฐานฟาร์มอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีการควบคุมและป้องกันโรคติต่อได้ ส่งผลให้อัตรา
การรอดสูง โดยจังหวัดเชียงใหม่เป็นแหล่งเล้ียงสุกรอันดับหน่ึงของภาคเหนือ (สัดส่วน ร้อยละ 14.77 )
มีปริมาณการผลิต 344,228 ตัว มีปริมาณการผลิตเพ่ิมขึ้นร้อยละ 11.52 รองลงมาจังหวัดกาแพงเพชร
(สัดส่วน ร้อยละ 13.47) มีปริมาณการผลิต 313,919 ตัว มีปริมาณการผลิตเพ่ิมข้ึนร้อยละ 3.59 จังหวัด
พิษณุโลก (สัดส่วน ร้อยละ 12.57) มีปริมาณการผลิต 292,805 ตัว มีปริมาณการผลิตเพิ่มข้ึนร้อยละ
10.00 และจงั หวัดนครสวรรค์ (สดั สว่ น รอ้ ยละ 9.02) มปี ริมาณการผลิต 210,188 ตัว มีปริมาณการผลิต
เพิม่ ข้นึ ร้อยละ 8.87

4.2.4 โคเน้ือ ปี 2561 ภาคเหนือมีปริมาณการผลิต 50,852 ตัว เพ่ิมขึ้นร้อยละ 16.28 จากปี
2560 เนื่องจากความต้องการของตลาดยังคงต้องการบริโภคเน้ือโค จังหวัดพิษณุโลกเป็นแหล่งเล้ียงโคเนื้อ
อนั ดับหนึ่งของภาคเหนอื (สัดสว่ น รอ้ ยละ 23.19) มปี ริมาณการผลิต 11,794 ตัว มีปริมาณการผลิตเพ่ิมขึ้น
ร้อยละ 25.03 รองลงมาจังหวัดนครสวรรค์ (สัดส่วน ร้อยละ 23.09) มีปริมาณการผลิต 11,740 ตัว
มีปริมาณการผลิตเพ่ิมขึ้นร้อยละ 24.46 จังหวัดเพชรบูรณ์ (สัดส่วน ร้อยละ 21.86) มีปริมาณการผลิต
11,117 ตัว มีปริมาณการผลิตเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.07 และจังหวัดอุตรดิตถ์ (สัดส่วน ร้อยละ 17.75)
มีปรมิ าณการผลติ 9,028 ตัว มีปริมาณการผลิตเพ่มิ ข้ึนร้อยละ 29.69

4.3 การผลติ ด้านการประมง
ปี 2560 ภาคเหนอื มีผลผลติ การเล้ยี งสตั วน์ ้าจดื รวมทง้ั หมด 90,052 ตนั โดยจงั หวดั นครสวรรค์เป็น

แหล่งเลี้ยงอันดับ 1 ของภาคเหนือ มีปริมาณผลผลิต 18,485 ตัน (สัดส่วน ร้อยละ 20.53) รองลงมา
จังหวัดเชียงราย มีปริมาณผลผลิต 12,621 ตัน (สัดส่วน ร้อยละ 14.02) จังหวัดพิจิตรมีปริมาณผลผลิต
8,619 ตัน (สัดส่วน ร้อยละ 9.57) และจังหวัดพิษณุโลก มีปริมาณผลผลิต 8,036 ตัน (สัดส่วน ร้อยละ
8.92)

๑๒

สว่ นที่ 5 การวิเคราะห์สภาวะแวดลอ้ ม (SWOT Analysis)

5.๑ จดุ แข็ง (Strength)
5.๑.๑ ภาคเหนือมีความพร้อมต่อการพัฒนาเช่ือมโยงด้านการค้าและบริการกับนานาชาติ และ

กลุ่มประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง โดยมีโครงข่ายคมนาคมเช่ือมโยงพ้ืนท่ีเศรษฐกิจภาคกลางของประเทศ
และเส้นทางตามแนว North - South Economic Corridor (จีนตอนใต้ เมียนมา ลาว ไทย) และ East -
West Economic Corridor (เวียดนาม กัมพูชา ลาว ไทย เมียนมา) และมีเมืองสาคัญที่เป็นฐานการพัฒนาท่ี
เชอื่ มโยงกบั นานาชาติ อาทิ เชยี งใหม่ เชยี งราย และตาก

5.1.2 สินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปของภาคเหนือมีความหลากหลาย โดยในพ้ืนที่ภาคเหนือ
ตอนล่างมีศักยภาพในด้านผลิตภัณฑ์อาหาร โดยเฉพาะข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว บรรจุภัณฑ์ ชีวภาพ
ตลอดจนอุตสาหกรรมพลังงานชีวภาพ เช่น เอทานอลจากกากน้าตาล พลังงานไฟฟ้าจากแกลบ อุตสาหกรรม
อาหารสัตว์ เน่ืองจากเป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญของประเทศ และสามารถนาเข้าวัตถุดิบ เกษตรจาก
ประเทศเพ่ือนบ้าน ส่วนภาคเหนือตอนบนมีศักยภาพในการพัฒนาด้านเกษตรประณีต เกษตรอินทรีย์
โดยเฉพาะพืชผักและดอกไม้เมืองหนาวสาหรับตลาดเฉพาะท่ีมีกาลังซื้อสูง และพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร ที่มี
มลู ค่าเพ่มิ สงู อาทิ อาหารเสรมิ สขุ ภาพ Functional Food และผลติ ภัณฑ์เวชสาอางต่าง ๆ เป็นตน้

5.1.3 ภาคเหนือเป็นฐานการผลิตหัตถอุตสาหกรรมเชิงสร้างสรรค์โดยใช้ฐานความรู้ ด้าน
เทคโนโลยีศิลปวัฒนธรรมและการออกแบบร่วมสมัยเพ่ือตอบสนองต่อกระแสความต้องการของตลาด อาทิ
ของตกแต่งบ้าน ของที่ระลึก และสินค้าหัตถกรรม ท่ีมีศักยภาพในการพัฒนาสร้างมูลค่าเพิ่มสู่งานหัตถศิลป์
โดยเฉพาะในพน้ื ที่กลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน

5.1.4 เป็นฐานทรัพยากรด้านการท่องเที่ยวท่ีหลากหลาย รายได้จากการท่องเท่ียวเป็นรายได้
สาคัญของภาค ภาคเหนือมีแหล่งท่องเที่ยวหลากหลายท่ีสามารถพัฒนาเชื่อมโยงการท่องเที่ยวภายในภาค
และเชื่อมโยงกับกลุ่มประเทศลุ่มน้าโขง โดยเฉพาะการจัดกลุ่มการท่องเที่ยว (Cluster) อาทิ ท่องเท่ียวเชิง
ประวตั ศิ าสตร์ เชิงวฒั นธรรมและวิถชี ีวิตชุมชน เชิงนเิ วศน์ และเชงิ สขุ ภาพ

5.1.5 สภาพภูมิเศรษฐกิจ - สังคมเอื้อต่อการพัฒนาภาคธุรกิจบริการ จากความพร้อมด้านบริการ
พื้นฐานของเมือง โครงสร้างพื้นฐานของธุรกิจบริการ สภาพแวดล้อมทางสังคม วัฒนธรรม โดยเฉพาะลักษณะ
ของคนท้องถ่ินภาคเหนือที่เอ้ือต่องานบริการ ทาให้ภาคเหนือมีศักยภาพสาหรับภาคธุรกิจ บริการ อาทิ ศูนย์
การประชุมนานาชาติ สานักงานตัวแทนในภูมิภาค งานแสดงสินค้า บริการทางการศึกษา ธุรกิจบริการสุขภาพ
และทางการแพทย์ และธรุ กิจด้านบริการ Logistics เป็นต้น

สรุปได้ว่า ทางด้านภาคเกษตรของภาคเหนือมีจุดแข็งทางด้านความพร้อมต่อการพัฒนาเช่ือมโยงด้าน
การค้าและบริการกับนานาชาติ สินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมีความหลากหลาย เป็นฐานการผลิตหัตถ
อุตสาหกรรมเชิงสรา้ งสรรค์ มีฐานทรัพยากรด้านการท่องเท่ยี ว และสภาพภูมิเศรษฐกิจ-สังคมเอ้ือต่อการพัฒนา
ภาคธรุ กจิ บรกิ าร

5.2 จุดอ่อน (Weakness)
5.2.1 ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมลง และประสบปัญหาหมอกควัน มีการบุกรุกและตัดไม้

ทาลายป่าเพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูกอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลกระทบกับพื้นท่ีป่าต้นน้า ความสมดุลของระบบ
นิเวศ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ก่อให้เกิดปัญหาการชะล้างหน้าดินในพ้ืนท่ีลาดชัน อุทกภัย
ภยั แลง้ นอกจากนัน้ ยังมปี ญั หาหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็กเกินมาตรฐาน ซึ่งเป็นผลมาจาก การเผาป่า
การเผาในท่ีโล่ง และการเผาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดารงชีวิต ของประชาชน

๑๓

ภาวะเศรษฐกิจและการทอ่ งเท่ียว
5.2.2 การขยายตัวของพื้นท่ีเมือง ชุมชน และอุตสาหกรรมท่ีขาดการบริหารจัดการท่ีมี

ประสิทธภิ าพ สง่ ผลกระทบโดยตรงต่อการจัดการส่งิ แวดลอ้ มเมือง โดยเฉพาะการกาจัดขยะมูลฝอยและน้าเสีย
จากชุมชนและอุตสาหกรรม การให้บริการขนส่งมวลชนสาธารณะที่ไม่สามารถให้บริการได้อย่างทั่วถึง
การบดบังทัศนียภาพ หรือรุกล้าโบราณสถานที่ควรค่าแก่การอนุรักษ์ ทาให้เกิดมลภาวะต่างๆ การสิ้นเปลือง
พลังงาน ปัญหาความปลอดภัย รวมถึงการเติบโตของชุมชนท่ีรุกล้าพื้นท่ีเกษตรกรรมอันอุดมสมบูรณ์ และตัด
ทอนระบบโครงขา่ ยชลประทานเพื่อการเกษตร นาไปส่กู ารสญู เสียพ้นื ที่เกษตรกรรมของภาค และสร้างมลภาวะ
ตอ่ ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร

5.2.3 ภาคเหนอื มีข้อจากัดด้านแรงงานทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การเปล่ียนแปลงโครงสร้าง
ประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ส่งผลให้สัดส่วนประชากรวัยแรงงานลดลง แรงงานส่วนใหญ่มีความรู้ระดับ
ประถมศึกษา ขาดความรแู้ ละทักษะทส่ี นบั สนุนการพฒั นาตามศกั ยภาพและโอกาสของภาค ท่ีสาคัญคือ ความรู้
และทักษะในด้านภาษาเพ่ือการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการต่างๆ เทคโนโลยีทางการแพทย์ เทคโนโลยี ดิจิตอล
เครอ่ื งทุ่นแรงที่ใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมตามภมู ิสงั คม

5.2.4 การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประชากรผู้สูงอายุภาคเหนือมีสัดส่วนสูงข้ึน เป็นผลให้ภาระพึ่งพิง
สูงขึ้น การเตรียมความพร้อมของรัฐเพ่ือรองรับสังคมผู้สูงอายุยังมีน้อย แม้ว่าในระดับชุมชน ปัจจุบันจะมี
ความตื่นตัวและเข้ามามีบทบาทในการจัดสวัสดิการและการดูแลผู้สูงอายุเพ่ิมมากขึ้นในรูปของชมรมผู้สูงอายุ
แต่โดยท่ัวไปแล้วยงั มจี ดุ อ่อนด้านความตระหนักถงึ ปญั หาและการเตรียมตัวในระยะยาว

5.2.5 หนี้สินครัวเรือนเกษตรของภาคสูงกว่าประเทศ จานวนหน้ีสินของครัวเรือนเกษตรเฉล่ียของ
ภาคเหนือสูงกว่าจานวนหนี้สินครัวเรือนเกษตรเฉล่ียระดับประเทศ ส่วนใหญ่เป็นหน้ีสินจากการกู้ยืมระยะยาว
(5 ปีข้ึนไป) จากธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) เพื่อซื้อปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ที่ดินการเกษตร ทรัพย์สินอ่ืนๆ นอกการเกษตร การลงทุนเครื่องจักรอุปกรณ์ และใช้จ่ายเพ่ืออุปโภคบริโภค
ในครวั เรือน

สรุปได้ว่า ทางด้านภาคเกษตรของภาคเหนือมีจุดอ่อนทางด้านทรัพยากรธรรมชาติเส่ือมโทรมลง
ประสบปัญหาหมอกควัน การขยายตัวของพ้ืนท่ีเมือง ชุมชน และอุตสาหกรรมที่ขาดการบริหารจัดการที่มี
ประสทิ ธิภาพ มขี อ้ จากัดดา้ นแรงงานทง้ั เชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ และการเข้าสู่สงั คมผสู้ ูงอายุ

5.3 โอกาส (Opportunity)
5.3.1 การเช่ือมโยงโครงข่ายเส้นทางคมนาคม ส่งผลให้เกิดโอกาสในการขยายตลาดการค้า

การท่องเที่ยว และบริการการศึกษานานาชาติ ธุรกิจบริการสุขภาพและการแพทย์ จากการเช่ือมโยง
โครงข่ายการคมนาคมตามเส้นทาง R3A ผ่าน สปป.ลาว สู่จีนตอนใต้ ทาให้ภาคเหนือเป็นประตูเช่ือมโยง
การขนส่งสินค้าและนักท่องเที่ยวท่ีคาดว่าจะมีปริมาณเพิ่มขึ้น และมีโอกาสในการขยายธุรกิจบริการด้านต่างๆ
อาทิ การบริการทางการแพทย์ การศึกษา การประชุมและแสดงสินค้านานาชาติ และการจัดต้ังสานักงาน
ตัวแทนในภูมภิ าค โดยเฉพาะทจ่ี งั หวดั เชยี งใหม่

5.3.2 นโยบายภาครัฐในการจัดตั้งเขตพัฒนาเศรษฐกิจพเิ ศษ ในพน้ื ทภ่ี าคเหนือ 2 แห่ง คือ จังหวัด
ตาก และจังหวัดเชียงราย การดาเนินการจัดต้ังเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษดังกล่าว ช่วยส่งเสริมและอานวย
ความสะดวกด้านการค้าการลงทนุ สนบั สนนุ การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน เช่ือมโยงกิจกรรมทาง เศรษฐกิจของ
ภาคเหนอื กับประเทศเพ่ือนบ้าน

5.3.3 ยุทธศาสตร์ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ท่ีกาหนดแนวทางการพัฒนาด้าน Digital
Contents และกาหนดให้จังหวัดเชียงใหม่เป็นพื้นที่นาร่องในแผนปฏิบัติการวาระแห่งชาติ การพัฒนาเมือง

๑๔

อัจฉริยะ (Smart city) ซ่ึงจะส่งผลให้ภาคเหนือเป็นฐานการพัฒนาในด้านเทคโนโลยีดิจิตอล อุตสาหกรรม
ซอฟต์แวร์ และเป็นแหล่งสรา้ งสรรค์อุตสาหกรรมภาพยนตรท์ ใ่ี ชเ้ ทคโนโลยีดิจิตอลเป็นองค์ประกอบสาคัญ เช่น
การต์ นู /ภาพยนตร์ Animation การตัดต่อภาพยนตร์ เกมส์คอมพวิ เตอร์ และส่ือการเรยี นร้ตู า่ งๆ

5.3.4 ภาคเหนอื ไดป้ ระโยชน์จากการใช้ข้อตกลงการผลิตสินค้าเกษตร (Contract Farming) กับ
ประเทศเพ่ือนบ้าน ในการผลิตวัตถุดิบการเกษตรบริเวณชายแดนและนาเข้ามาแปรรูปในประเทศ เพ่ือสร้าง
มูลคา่ เพม่ิ และลดการใช้ฐานทรัพยากรของภาค

5.3.5 ตลาดการท่องเท่ียวขยายตัว จากการเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวภายในกลุ่มประเทศ GMS
ซึ่งมีความโดดเด่นด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมประเพณีและธรรมชาติท่ีคล้ายคลึงกัน สามารถพัฒนาเป็น
เส้นทางการท่องเที่ยวที่หลากหลายร่วมกันและดึงดูดนักท่องเที่ยวจากประเทศจีนและนานาชาติ นอกจากน้ัน
แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติของภาคที่มีเป็นจานวนมากยังสามารถพัฒนาเป็นสถานที่ท่องเที่ยว และการ
พกั ผ่อนระยะยาวสาหรบั ผูส้ งู อายุ

สรุปได้วา่ ทางด้านภาคเกษตรของภาคเหนือมโี อกาสจากการเช่ือมโยงโครงขา่ ยเส้นทางคมนาคม ส่งผล
ใหเ้ กดิ โอกาสในการขยายตลาดการค้า การทอ่ งเท่ียว และบริการการศึกษานานาชาติ ธุรกิจบริการสุขภาพและ
การแพทย์ นโยบายภาครฐั ในการจดั ต้งั เขตพัฒนาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ยทุ ธศาสตรด์ ิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คม
- ได้ประโยชน์จากการใช้ข้อตกลงการผลิตสินค้าเกษตร กับประเทศเพ่ือนบ้าน และตลาดการท่องเที่ยว
ขยายตัว

5.4 ภัยคกุ คาม (Threat)
5.4.1 การเปิดเสรีทางการค้าและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคต่างๆ โดยเฉพาะ GMS

และประชาคมอาเซียน (AEC) ส่งผลต่อโอกาสการขยายการค้าการลงทุนของภาค ขณะเดียวกันก่อให้เกิด
ความเส่ยี งหลายด้านเน่อื งจากจะมกี ารเคลื่อนยา้ ยสินค้า บรกิ าร และบุคคลระหว่างประเทศสมาชิกที่สะดวกขึ้น
ดังนั้น หากไม่มีการพัฒนาบุคลากรในภาคให้เกิดการตื่นตัว สามารถแข่งขันได้ในตลาดสากลและการป้องกัน
ปัญหาท่ีจะเกดิ ขน้ึ ยอ่ มสง่ ผลกระทบทางลบท้งั ในเชิงเศรษฐกิจและสงั คม

5.4.2 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศส่งผลต่อการผลิตภาคเกษตร การเปล่ียนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศก่อให้เกิดปัญหาต่อการเกษตร โดยทาให้ปริมาณผลผลิตทางการเกษตรลดลง ส่งผลให้เกิด
ความไม่มน่ั คงดา้ นอาหาร และรายได้ของเกษตรกร

5.4.3 ภัยธรรมชาติมีแนวโน้มรุนแรงข้ึน ภาคเหนือประสบปัญหาอุทกภัย ภัยแล้ง การพังทลาย
ของดิน หมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็ก และแผ่นดินไหวเป็นประจา และมีแนวโน้มรุนแรงขึ้น สาเหตุมา
จากปัจจัยภายในท่ีมีการรุกพ้ืนที่ป่าซึ่งเป็นพ้ืนท่ีลาดชันเพ่ือขยายพ้ืนท่ีเพาะปลูกและการเผาป่า รวมถึงสภาพ
อากาศท่มี ีความแปรปรวน ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกจิ และคุณภาพชวี ิตของประชาชน

สรุปได้วา่ ทางด้านภาคเกษตรของภาคเหนอื มีภัยคกุ คามดา้ นความเสยี่ งจากการเปิดเสรีทางการค้าและ
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคต่างๆ โดยเฉพาะ GMS และAEC การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ส่งผลตอ่ การผลิตภาคเกษตร และภัยธรรมชาตมิ แี นวโนม้ รนุ แรงข้นึ

๑๕

ส่วนท่ี 6 ปญั หาและประเด็นทา้ ทาย

6.1 ภาพรวมภาคเหนือ

6.1 เป็นแหล่งท่องเท่ียวเป้าหมายระดับสากล มีทุนทางวัฒนธรรมและทรัพยากรธรรมชาติโดดเด่น
แต่พืน้ ที่ท่องเทยี่ วค่อนขา้ งกระจุกตวั

6.2 มีฐานภูมิปัญญาท้องถ่ินที่มีอัตลักษณ์ และมีองค์ความรู้/เทคโนโลยี/นวัตกรรม
ของสถาบนั การศกึ ษาจานวนมาก แตย่ ังไม่สามารถนามาใชป้ ระโยชน์เชิงพาณิชยไ์ ดอ้ ย่างคุ้มค่า

6.3 ยังไม่สามารถใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงเศรษฐกิจกับอนุภูมิภาคต่างๆ ได้อย่างเต็มที่
ผู้ประกอบการในพื้นที่ส่วนใหญ่ยังไม่มีส่วนร่วมในห่วงโซ่การผลิต/การค้าในอนุภูมิภาค และสินค้าส่งออก
ชายแดนส่วนใหญม่ าจากนอกภาค จึงไมส่ ร้างมูลค่าเพม่ิ และรายได้ให้กับภาค

6.4 โครงสร้างพื้นฐานของเมืองศูนย์กลางยังไม่สมบูรณ์ โดยเฉพาะระบบขนส่งสาธารณะและ
สนามบิน

6.5 พื้นที่เกษตรส่วนใหญ่อยู่นอกเขตชลประทาน การบริหารจัดการน้าในพ้ืนท่ีเกษตรยังไม่ท่ัวถึง
การทาการเกษตรส่วนใหญ่ยังเปน็ เกษตรเคมี สินค้าเกษตรยังเป็นข้ันปฐมภมู ิและแปรรปู ขัน้ ตน้

6.6 ประชาชนสว่ นใหญ่ยังยากจน สัดส่วนคนจนของภาคสูงกว่าระดับประเทศ และด้อยโอกาสในการ
เขา้ ถงึ บรกิ ารภาครัฐ

6.7 ประชากรสูงอายุมีสัดส่วนสูงที่สุดในประเทศ ขณะท่ีขาดแคลนแรงงานทั้งเชิงปริมาณและ
คุณภาพ

6.8 พ้ืนท่ีป่าต้นน้าบางส่วนมีสภาพเส่ือมโทรม มีปัญหาบุกรุกและใช้ประโยชน์พ้ืนที่ป่าผิดประเภท
และยังคงเผชญิ ปญั หามลพษิ หมอกควนั รุนแรง

6.2 ด้านการเกษตรภาคเหนือ

จากการเคร่ืองมือที่นามาใช้ในกระบวนการวิเคราะห์PESTEL (Political / Economics /Social /
Traditional/ Environmental/ Law) Benchmarking BCG SWOT Analysis วเิ คราะห์ได้ว่า

Positioning ภาพรวมภาคเหนือ คือ การผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ สินค้าเกษตรแปรรูปมูลค่า
สูงเชงิ อัตลักษณ์ และการทอ่ งเท่ียวอารยธรรมล้านนาเช่ือมโยงนวัตวิถี เมื่อพิจารณาจาแนกตามกลุ่มจังหวัด ได้
ดงั น้ี

6.2.1 Positioning ภาคเหนือตอนบน 1 คือ เน้นการพัฒนาเมืองทอ่ งเทยี่ วสสู่ ากล (เชิงอารยธรรม)
Food Valley (เกษตรอินทรีย์) Green City (พื้นท่ีป่าไม้) Northern Land (การค้าชายแดน, สนามบิน
นานาชาติ ฯลฯ) และHealth and Wellness (ศนู ย์กลางท่องเที่ยวเชงิ สขุ ภาพ)

6.2.2 Positioning ภาคเหนือตอนบน 2 คือ เน้นพัฒนาศูนย์กลางการผลิตและกระจายสินค้า
(การค้าชายแดน /OTOP) ศูนยก์ ลางเมอื งทอ่ งเทีย่ วอารยธรรม “ล้านนา” (การท่องเที่ยวเชิงอัตลักษณ์) สินค้า
เกษตรคณุ ภาพดีและปลอดภัย (เกษตรกรรม/เกษตรปลอดภยั /ปา่ เศรษฐกจิ )

6.2.3 Positioning ภาคเหนือตอนล่าง 1 คือ เน้นผลิตข้าว แปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร พัฒนาการ
ท่องเท่ียว (เชิงนิเวศ เชงิ ประวัติศาสตร์ วฒั นธรรม) และสง่ เสริมการค้าชายแดน อตุ สาหกรรม และ Logistic

6.2.4 Positioning ภาคเหนือตอนล่าง 2 คือ เน้นการผลิตเกษตรปลอดภัย ข้าว อ้อย
มันสาปะหลัง (เชงิ เกษตร เชงิ นิเวศ) การท่องเทย่ี วธรรมชาติ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมทไ่ี ด้มาตรฐาน

๑๖

สาหรบั ปญั หาและประเดน็ ท้าทายด้านการเกษตรภาคเหนอื จาแนกเปน็ 4 ดา้ น ดงั น้ี
6.2.1 ด้านสขุ ภาวะ
เป็นแหลง่ เทย่ี วระดับสากล มีทนุ วฒั นธรรม ทรพั ยากรธรรมชาติโดดเด่น แต่พื้นที่กระจุกตัวระบบ

การขนส่งสาธารณะ อีกทั้งสนามบินหลายแห่งยังไม่สมบูรณ์ และพื้นท่ีเกษตรมากกว่า 60% ยังอยู่นอกเขต
ชลประทาน

6.2.2 ด้านระบบนิเวศน์
พ้ืนที่ป่าต้นน้าเสื่อมโทรม พบการบุกรุก มีการใช้ประโยชน์ป่าไม้ผิดประเภท เกิดไฟฟ้า เกษตรกร

หลายพื้นทีย่ งั คงนิยมเผาตอซัง เผาออ้ ยก่อนเก็บเก่ยี ว เกิดมลพิษ หมอกควัน และสถานการณ์รนุ แรงช่วงแล้ง
6.2.3 ด้านเศรษฐกจิ
ยังไม่ใช้ประโยชน์จากการเช่ือมโยงเศรษฐกิจกับอนุภาคต่างๆ อย่างเต็มท่ี และสัดส่วนหน้ีสิน

ครวั เรือนเฉลี่ยภาคเหนอื สงู กว่าประเทศ

6.2.4 ด้านสงั คม
มีอัตลกั ษณ์ มภี ูมปิ ญั ญา มอี งค์ความรู้ด้านเทคโนโลยี และนวัตกรรมจากสถาบันการศึกษาในพื้นท่ี

แต่ไม่นามาใช้ประโยชน์มากนัก มีสัดส่วนประชากรสูงวัยมากท่ีสุดในประเทศ และขาดแคลนแรงงานทั้งด้าน
ปริมาณ/คณุ ภาพ

๑๗

ส่วนท่ี 7 แนวคดิ และทศิ ทางการพัฒนาภาคเหนือ

แนวคดิ และทิศทางการพฒั นาภาพรวมภาคเหนอื

ภาคเหนือมีทุนทางสังคมและวัฒนธรรมประเพณีท่ีมีอัตลักษณ์โดดเด่น ท่ีมีการฟื้นฟู สืบสานและ
สร้างสรรค์พัฒนาสู่การผลิตสินค้าและบริการ โดยเฉพาะเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีบริการสุขภาพและผลิตภัณฑ์
หัตถกรรมที่มีช่ือเสียงระดับสากล พ้ืนท่ีเกษตรของภาคเหนือมีขนาดเล็กเหมาะสมต่อการปรับระบบการผลิต
เพ่ือสร้างคุณค่าตามแนวทางเกษตรอินทรีย์ นอกจากน้ี ทาเลท่ีต้ังของภาคเหนือมีศักยภาพในการขยายการค้า
การลงทุนและบริการเช่ือมโยงเศรษฐกิจกับประเทศเพ่ือนบ้านในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง และสามารถ
ขยายไปสู่จีนตอนใต้และกลุ่มประเทศเอเชียใต้ตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ และ ตะวันออก-ตะวันตก
รวมถึงเป็น พ้ืนท่ีป่าต้น น้าที่สาคัญ ของประเทศ ดังนั้น การพัฒนาภาคเหนือสู่ความ “มั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน”
จาเป็นจะต้องนาศักยภาพทางภูมิสังคมประกอบกับปัจจัยสนับสนุนด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน และองค์ความรู้
ของสถาบันการศึกษาและองค์กรในพ้ืนท่ี มาใช้ในการต่อยอดการผลิตและบริการท่ีมีศักยภาพและโอกาสเพ่ือ
สรา้ งมลู ค่าสงู ตามแนวทางเศรษฐกจิ สร้างสรรค์ รวมท้ังการใช้ประโยชน์จากการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน
ในการเสรมิ สรา้ งขีดความสามารถของธุรกิจท้องถ่นิ เพื่อขยายฐานเศรษฐกิจของภาค

7.1 เป้าหมายเชงิ ยทุ ธศาสตร์ : พฒั นาเป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง เช่ือมโยงเศรษฐกิจกับ
ประเทศในกลมุ่ อนภุ มู ภิ าคล่มุ แม่นา้ โขง

7.2 วัตถปุ ระสงค์
1) เพื่อยกระดับการผลิตและการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่สินค้าและบริการ โดยใช้ความรู้

เทคโนโลยี นวัตกรรม และภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ทม่ี อี ตั ลกั ษณ์
2) เพอ่ื เช่อื มโยงห่วงโซค่ ุณค่าของระบบเศรษฐกิจภาคเข้ากบั ระบบเศรษฐกิจของประเทศและ

ภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3) เพื่อดูแลช่วยเหลือคนจนและผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี พึ่งพาตนเอง พ่ึงพาครอบครัว

และพง่ึ พากนั ในชุมชนได้
4) เพ่ือแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ได้แก่ การบริหารจัดการน้า

ป่าต้นนา้ และปญั หาหมอกควนั

7.3 เปา้ หมาย
1) อัตราการเจรญิ เติบโตทางเศรษฐกจิ ของภาคเหนือขยายตัวเพม่ิ ข้ึน
2) สัมประสทิ ธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini Coefficient) ในการกระจายรายได้ภาคเหนอื ลดลง

๑๘

7.4 ตัวชี้วัดและค่าเปา้ หมาย

คา่ เป้าหมาย

ตวั ชว้ี ัด ค่าฐาน ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ 2562-
2565

อตั ราการเจริญ 639,691 เพ่มิ ขึน้ เพม่ิ ขนึ้ ไม่ เพม่ิ ขึ้น ไม่ เพิ่มขน้ึ ไม่ เพ่มิ ขน้ึ ไม่

เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ล้านบาท ไมต่ า่ กวา่ ตา่ กว่า ต่ากว่า ต่ากวา่ ต่ากวา่

ของภาคเหนือ (มูลคา่ CVM ร้อยละ 3.0 รอ้ ยละ 3.0 รอ้ ยละ 3.0 ร้อยละ 3.0 รอ้ ยละ 3.0

ปี 2559)

สัมประสทิ ธค์ิ วามไม่ 0.417 ลดลงตา่ กว่า ลดลงต่ากวา่ ลดลงต่ากวา่ ลดลงต่ากวา่ ลดลงต่ากว่า

เสมอภาค (Gini (ปี ๒๕๖๐) 0.417 0.417 0.417 0.417 0.417

Coefficient) ในการ

กระจายรายได้

ภาคเหนอื

7.5 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา

๑) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาการท่องเท่ียวและธุรกิจบริการต่อเนื่องให้มีคุณภาพ สามารถ
สร้างมูลค่าเพ่ิมอย่างยั่งยืน และกระจายประโยชน์อย่างท่ัวถึง รวมท้ังต่อยอดการผลิตสินค้าและบริการที่มี
ศักยภาพสูงด้วยภูมปิ ัญญาและนวัตกรรม

ตวั ชี้วัดและค่าเป้าหมาย

ตวั ชวี้ ัด คา่ ฐาน ค่าเปา้ หมาย 2562-
ปี ๒๕๕๙ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ 2565
รายไดก้ าร
ทอ่ งเทยี่ ว ๑๕๘,๗๗๑ เพ่มิ ขึ้น เพม่ิ ขน้ึ เพิม่ ขึ้น เพ่มิ ขน้ึ เพ่ิมขึ้น
ภาคเหนอื
ลา้ นบาท ไมต่ ่ากวา่ ไมต่ า่ กว่า ไมต่ ่ากวา่ ไมต่ า่ กว่า ไม่ตา่ กว่า

รอ้ ยละ ๑๒.๐ ร้อยละ ๑๒.๐ รอ้ ยละ ๑๒.๐ ร้อยละ ๑๒.๐ รอ้ ยละ ๑๒.๐

แนวทางการพัฒนา

1) พัฒนากลุ่มท่องเที่ยวท่ีมีศักยภาพตามแนวทางการท่องเท่ียวเชิงสร้างสรรค์ ได้แก่ (1)
กลุ่มท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนาและกลุ่มชาติพันธุ์ ในพ้ืนท่ีจังหวัดเชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แม่ฮ่องสอน
เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน (2) กลุ่มท่องเท่ียวมรดกโลก (ทางประวัติศาสตร์) ในพ้ืนที่จังหวัดสุโขทัย และ
กาแพงเพชร (3) กลุ่มท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน น่าน เพชรบูรณ์
อุทัยธานี (4) กลุ่มท่องเท่ียวที่มีเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ MICE ในจังหวัดเชียงใหม่ ท่องเท่ียวเชิงผจญภัย/กีฬา
เพ่ือการพักผ่อน/เชิงสุขภาพ และการพานักระยะยาว ในจังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน น่าน โดยมีแนวทาง
ดาเนินการดังน้ี

๑๙

(1) พัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเท่ียว ปรับปรุงโครงสร้างพ้ืนฐานและสิ่งอานวย
ความสะดวกทีม่ มี าตรฐานและสอดคล้องกับความต้องการของกล่มุ เปา้ หมาย

(2) พัฒนาปัจจยั แวดล้อมให้เอ้ือตอ่ การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อนามาพัฒนาต่อ
ยอดสินค้าและบริการด้านการท่องเท่ียว อาทิ การวิจัย การพัฒนานวัตกรรม การออกแบบ การสื่อสาร
ตลอดจนส่งเสริมการจดทะเบียน การคุ้มครอง การใช้ทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อสนับสนุน การพัฒนาต่อยอด
ไปสู่การท่องเท่ยี วเชงิ สรา้ งสรรค์

(3) สนับสนุน Community Based Tourism/Local Tourism เพื่อกระจาย
ประโยชน์ จากการท่องเทีย่ วส่ชู ุมชน รวมทงั้ ให้ความสาคญั กบั การฟน้ื ฟสู ืบสานวฒั นธรรมและภูมปิ ัญญาท้องถิ่น
และนามาประยุกต์สรา้ งสรรคส์ นิ ค้าและบรกิ ารท่องเท่ียวที่มีอัตลักษณ์เพ่ือสร้างมลู ค่าเพิ่ม

(4) สนับสนุนการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเท่ียวท้ังระหว่างแหล่งท่องเที่ยวในภาค
เช่ือมโยงกับประเทศเพ่ือนบ้าน อาทิ เส้นทางสายวัฒนธรรม เส้นทางท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลก และส่งเสริม
กจิ กรรมท่องเท่ียวแนวใหมเ่ พอื่ สรา้ งรายได้ตลอดปี

(5) เสรมิ สรา้ งขีดความสามารถในการแขง่ ขันของธรุ กิจท่องเที่ยวและบรกิ ารต่อเน่ืองทั้ง
ระบบ ส่งเสริมการตลาดทงั้ การรกั ษาฐานเดิมและขยายไปสู่ตลาดกลุ่มใหม่ที่มีศักยภาพ รวมทั้ง การสร้างตลาด
ในรูปแบบ e-tourism

(6) รักษาอัตลักษณ์ของเมือง โดยให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ สืบสานประเพณี
วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมพ้ืนบ้าน และเมืองเก่า การส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน และการสร้าง“แบรนด์”
หรือเอกลักษณ์ของเมือง รวมทั้งพัฒนาสภาพแวดล้อมเมืองศูนย์กลางของจังหวัด และเมืองท่องเท่ียวให้เป็น
เมอื งนา่ อยูเ่ พ่อื สนับสนนุ การพฒั นาเมืองใหม้ ีคุณคา่ เอื้อต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสงั คมอยา่ งมสี มดุล

2) พฒั นาต่อยอดอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมายทมี่ ีศักยภาพสูง ได้แก่ กลุ่มอาหารและ
สินค้าเพื่อสุขภาพ กลุ่มบริการทางการแพทย์และสุขภาพ และกลุ่มผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์ โดยให้จังหวัด
เชียงใหม่เปน็ ศูนย์กลางและขยายสพู่ น้ื ท่ีเครอื ข่ายที่มีศักยภาพ โดยมแี นวทางดาเนินการดังนี้

(1) สนบั สนุนสถาบนั การศึกษาในการพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรม และส่งเสริมการ
นามาใชเ้ ชงิ พาณชิ ย์ ตามแนวคดิ การสร้าง Food Valley เพือ่ สร้างมลู คา่ เพ่มิ สินคา้ และบริการ ให้ตอบสนองต่อ
ตลาดเป้าหมายเฉพาะ อาทิ กลุม่ สินคา้ เพ่ือสขุ ภาพผู้สงู อายุ กลมุ่ อาหารเสริมสขุ ภาพและความงาม

(2) ขยายเครือข่ายการพัฒนาธุรกิจบริการทางการแพทย์และสุขภาพให้มีความ
หลากหลายสอดคล้องกับตลาดเป้าหมาย โดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ มุ่งสู่การเป็น
Medical & Wellness Hub ระดับอนภุ มู ภิ าค

(3) สนับสนุนการพัฒนาเชียงใหม่เป็น Creative City พร้อมทั้งสนับสนุนการวิจัยและ
พัฒนาเพื่อสร้างนวัตกรรมผนวกกับความโดดเด่นของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพ่ือสร้างมูลค่าเพิ่มให้
สินค้ามีความแตกต่างโดดเด่นสามารถตอบสนองต่อตลาดเป้าหมายเฉพาะ อาทิ สินค้า Life Style สินค้า
หัตถกรรม และของทรี่ ะลกึ ต่าง ๆ ทีเ่ นน้ คณุ ภาพท้ังการออกแบบและการใช้งาน

๒๐

(4) เสริมสร้างความเข้มแข็งของกลุ่มธุรกิจ ขยายเครือข่ายเพ่ือให้เกิดพลัง ในการ
ขับเคลอื่ นและพฒั นาขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของธรุ กจิ ตลอด Value Chain

(5) เพ่มิ ศกั ยภาพผู้ประกอบการกลุ่มอุตสาหกรรมและบริการเป้าหมาย กลุ่มเศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ กลุ่มวสิ าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และวิสาหกิจชุมชน ในการดาเนินธุรกิจด้วยเทคโนโลยีและ
นวตั กรรมดิจทิ ัล

๒) ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ใช้โอกาสจากเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเช่ือมโยงกับอนุภูมิภาค GMS
BIMSTEC และ AEC เพื่อขยายฐานเศรษฐกิจของภาค

ตวั ชว้ี ดั และค่าเปา้ หมาย

ตวั ชี้วดั ค่าฐาน คา่ เป้าหมาย 2562-
ปี ๒๕๕๙ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ 2565
มลู ค่าการคา้
ชายแดน ๑๕๒,๐๔๘ ขยายตัว ขยายตัว ขยายตวั ขยายตวั ขยายตวั
ภาคเหนือ
อตั ราการขยายตวั ล้านบาท ไมต่ ่ากวา่ ไมต่ ่ากว่า ไมต่ ่ากวา่ ไม่ต่ากว่า ไมต่ ่ากว่า
ของการผลิตสาขา
อุตสาหกรรม รอ้ ยละ ๑๕.๐ รอ้ ยละ ๑๕.๐ ร้อยละ ๑๕.๐ ร้อยละ ๑๕.๐ ร้อยละ ๑๕.๐
ภาคเหนอื
๑๑๖,๓๗๓ เพ่มิ ข้ึน เพม่ิ ขึ้น เพิ่มข้ึน เพิม่ ข้ึน เพิ่มข้นึ

ลา้ นบาท ไมต่ ่ากวา่ ไมต่ ่ากว่า ไมต่ า่ กว่า ไม่ต่ากว่า ไมต่ ่ากวา่

(มลู คา่ CVM ร้อยละ ๔.๐ ร้อยละ ๔.๐ รอ้ ยละ ๔.๐ รอ้ ยละ ๔.๐ ร้อยละ ๔.๐

ปี ๒๕๕๙)

แนวทางการพัฒนา

1) เสริมศักยภาพของโครงสร้างพ้ืนฐาน และวางผังเมืองท้ังเมืองหลักและเมืองชายแดน
ให้สอดคล้องและสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ พัฒนาโครงข่ายเส้นทางและระบบ
ขนส่งย่อยท่ีเชื่อมต่อกับระบบหลักของประเทศและอนุภูมิภาคตามแนวระเบียงเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ และแนว
ตะวันออก-ตะวันตก โดยครอบคลุมพื้นที่ตามแนวเส้นทางทางหลวงหมายเลข 12 พัฒนาเป็นเส้นทางการ
ท่องเท่ยี ว (Tourism Corridor) และเสน้ ทางทางหลวงหมายเลข 225 พัฒนาเป็นเส้นทางการขนส่ง (Logistic
Corridor) รวมท้ังพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านขนส่งและสิ่งอานวยความสะดวก ซึ่งจะรองรับการเป็นพื้นที่
เศรษฐกิจสาคัญเชอื่ มโยงอนภุ ูมิภาค GMS BIMSTEC และ AEC

2) พัฒนาเชียงใหม่เป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจ ให้มีศักยภาพในการดาเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจเทียบเท่าเมืองขนาดใหญ่ในระดับนานาชาติและมีความน่าอยู่ โครงสร้างพื้นฐานและระบบขนส่ง
มวลชนขนาดใหญ่ และส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล จัดทาแผนการใช้ประโยชน์ท่ีดินของ
ศนู ยเ์ ศรษฐกิจ แหลง่ ทอ่ี ยู่อาศยั และพ้ืนท่ีเฉพาะในเมือง เช่น เขตอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พื้นท่ีอนุรักษ์มรดกทาง
วัฒนธรรม และพื้นท่ีเปิดโล่งตามหลักการจัดทาแผนผังภูมินิเวศ โดยเฉพาะเร่งรัดการดาเนินงานตาม
ผลการศึกษาเก่ียวกับระบบขนส่งสาธารณะของ สนข. โดยพิจารณา ขยายขีดความสามารถของระบบ

๒๑

ท่าอากาศยาน พัฒนาเครือขา่ ยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารท่ีมีประสิทธิภาพสูงเพ่ือรองรับสังคมดิจิทัล
พัฒนาระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเพื่อการพฒั นาเมืองอยา่ งย่งั ยืน

3) พฒั นาเมอื งสถานีขนส่งระบบรางท่ีนครสวรรค์ แพร่ (อาเภอเด่นชัย) เชียงราย (อาเภอ
เชียงของ) และเมืองในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดน ได้แก่ อาเภอแม่สอด อาเภอแม่สาย อาเภอเชียงแสน
อาเภอเชียงของ โดยจัดทาแผนแม่บทพ้ืนท่ีและแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินตามความเหมาะสมของการใช้พ้ืนท่ี
ของแต่ละเมือง พัฒนาโครงข่ายคมนาคมขนส่งและระบบโลจิสติกส์ให้ท่ัวถึงสามารถเชื่อมโยงกับพ้ืนที่โดยรอบ
และประเทศเพอื่ นบ้าน รวมทัง้ สง่ เสริมกจิ กรรมเศรษฐกจิ ทเ่ี หมาะสมกบั พนื้ ที่

4) พัฒนาผู้ประกอบการและบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะฝีมือ เข้าถึงข้อมูล กฎระเบียบ
การดาเนินธุรกิจ ในธุรกิจระดับภูมิภาค และสากล รวมถึงเง่ือนไขทางด้านสิ่งแวดล้อมและมนุษยธรรมท่ีถูก
นามาเป็นขอ้ กีดกันทางการคา้ รวมท้งั สนับสนุนให้องค์กรภาคธรุ กิจเอกชนที่มคี วามเข้มแข็งร่วมพัฒนาเครือข่าย
กับธุรกจิ ทอ้ งถ่ินท่ีมศี ักยภาพ เพ่อื ยกระดับขดี ความสามารถให้เขา้ สู่ Supply Chain ของธุรกจิ ใหญ่ได้

5) พัฒนาสินค้าที่มีศักยภาพสามารถแข่งขันได้ รวมท้ังสินค้าท่ีตอบสนองตลาด ในกลุ่ม
ประเทศเพ่ือนบ้าน และ AEC โดยให้ความสาคัญกับการใช้ประโยชน์ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบอย่าง
การเก้ือกูลกัน บนความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนท้ังไทยและเพ่ือนบ้าน ซ่ึงจะสอดรับกับการเป็น
เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษของพื้นทีอ่ าเภอแม่สอด จังหวดั ตาก และจังหวัดเชยี งราย

3) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดภัยเช่ือมโยง
สอู่ ตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู ท่สี ร้างมลู คา่ เพม่ิ สูง

ตวั ชี้วัดและค่าเป้าหมาย

ตัวช้ีวัด คา่ ฐาน ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ คา่ เปา้ หมาย ๒๕๖๕ 2562-
ปี ๒๕๕๙ 2565
อัตราการ เพมิ่ ขึ้น เพิ่มขน้ึ ๒๕๖๔ เพ่มิ ขึ้น
ขยายตัวการผลิต ๙๙,๗๒๐ ไม่ตา่ กว่า ไมต่ ่ากว่า ไม่ตา่ กวา่ เพิ่มข้นึ
ภาคเกษตร ลา้ นบาท รอ้ ยละ ๔.๐ ร้อยละ ๔.๐ เพิม่ ข้นึ ร้อยละ ๔.๐ ไม่ตา่ กว่า
ภาคเหนือ (มลู ค่า CVM ไม่ตา่ กว่า รอ้ ยละ ๔.๐
ปี ๒๕๕๙) ร้อยละ ๔.๐

แนวทางการพัฒนา
1) พัฒนาฐานการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ในพ้ืนที่ภาคเหนือตอนบน และเกษตร
ปลอดภัยในพ้ืนที่ภาคเหนือตอนล่าง โดยสนับสนุนการทาเกษตรย่ังยืนอย่างครบวงจร เกษตรปลอดภัยเกษตร
อินทรีย์ สนับสนุนการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่ายเกษตรกรเพื่อพัฒนาทั้งด้านการผลิตและการตลาดอย่างมี
ประสิทธิภาพให้ความรู้กบั เกษตรกรในการใชส้ ารอินทรียแ์ ทนสารเคมี เฝา้ ระวงั ผลกระทบจากการใช้สารเคมีที่มี
ต่อดินและน้า ส่งเสริมช่องทางการกระจายผลผลิต สร้างพฤติกรรมและค่านิยมการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพ

๒๒

สนับสนุนการตรวจสอบคุณ ภาพผลผลิต และการตรวจสอบย้อนกลับอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างความม่ันใจให้
ผ้บู รโิ ภค

2) สนับสนุนการเช่ือมโยงผลผลิตเกษตรสู่ อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปที่มีศักยภาพได้แก่
(๑) การแปรรูปพืชผัก ผลไม้ สมุน ไพร (ไพล คาวตอง ยอ มะขามป้อม คาฝอย) ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย
ลาปาง ลาพนู (๒) การแปรรปู ขา้ ว พชื ไร่ พชื พลงั งาน ในจังหวัดพิจิตร กาแพงเพชร นครสวรรค์ โดยสนับสนุน
การพัฒนาสินค้าเกษตรตลอดห่วงโซ่คุณค่า ส่งเสริมการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ท่ีตอบสนองความต้องการของตลาดเฉพาะ และสนับสนุนการนา
ผลผลิตและวสั ดุเหลอื ใชท้ างการเกษตรจากพชื และสตั วม์ าผลิตพลงั งานทดแทน

3) พัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพอย่างบูรณาการตลอดห่วงโซ่คุณค่า และเชื่อมโยงกับ
อุตสาหกรรมเกษตรชีวภาพ อุตสาหกรรมแปรรูป อาหาร และแปรรูปชีวมวล ในจังหวัดนครสวรรค์ และ
กาแพงเพชร โดยสนบั สนนุ การนาผลผลติ และวัสดุเหลือ ใช้ทางการเกษตรจากพืชและสัตว์ พัฒนาเป็นพลังงาน
ทดแทน สนับสนุนการพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ในการนาพืช/วัสดุชีวภาพ มาใช้ประโยชน์ตลอดห่วงโซ่
คณุ คา่ อาทิ ใช้ประโยชน์ในการเป็นอาหารสัตว์ แปรรูปเพ่ือเป็นสินค้า นากากมาใช้ในการผลิตพลังงานชีวมวล
เป็นการเพิ่มมูลค่าผลผลิตการเกษตรท่ีได้ประโยชน์สูงสุดและช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมการวิจัยและ
พัฒนา ตลอดจนพัฒนาคลัสเตอรอ์ ตุ สาหกรรมชีวภาพในพนื้ ทที่ เี่ หมาะสม

4) สนับสนนุ การวิจยั และพัฒนาทางการเกษตรทั้งระบบ สง่ เสริมการใช้ปัจจัยการผลิตและ
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพ้ืนที่ รวมทั้งเสริม สร้างความรู้ การให้ข้อมูลเพ่ือการตัดสินใจการผลิตแก่
เกษตรกร เช่นการโซนน่ิงพื้นท่ีปลูกพืช การเกษตรแปลงใหญ่ซึ่งเป็นการบริหารจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์
สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพและใหผ้ ลตอบแทนทเี่ หมาะสม เพื่อเพิ่มประสทิ ธิภาพและลดต้นทุนการผลิต

5) สร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็นเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer) ที่มีขีด
ความสามารถในการแข่งขัน โดยยกระดับให้เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการเกษตรบนฐานทรัพยากรชีวภาพ และ
ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้งพัฒนาศักยภาพเกษตรกรในการเข้าถึงองค์ความรู้ด้านการผลิตและการตลาดการใช้
ประโยชนจ์ ากขอ้ มลู แหล่งเงินทุน และเทคโนโลยี

6) พัฒนาช่องทางตลาดออนไลน์ และระบบโลจิสติกส์สาหรับสินค้าเกษตรจากชุมชน
พัฒนานวัตกรรมสาหรับการสร้างระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตรจากชุมชน เพ่ือส่งเสริมการขายสินค้าเกษตร
ออนไลนโ์ ดยเกษตรกร

7) พัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตรอย่างเป็นระบบเครือข่ายที่เช่ือมโยงเพ่ือใช้ประโยชน์ได้
อย่างเหมาะสมและเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนาแหล่งเก็บกักน้านอกเขตพ้ืนท่ีชลประทานเพ่ือเพิ่ม
ประสิทธิภาพการกักเก็บน้าไว้ใช้ในพื้นท่ีเกษตรกรรม แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าของเกษตรกรในพ้ืนที่นอก
เขตชลประทาน

๒๓

4) ยุทธศาสตร์ท่ี ๔ พัฒนาคุณภาพชีวิตและแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาระบบดูแล
ผสู้ งู อายุอยา่ งมีส่วนร่วมของครอบครวั และชุมชน ยกระดับทกั ษะฝมี ือแรงงานภาคบริการ

ตวั ช้ีวัดและค่าเปา้ หมาย

ตวั ช้ีวดั ค่าฐาน ๒๕๖๒ ค่าเปา้ หมาย ๒๕๖๕ 2562-2565
ปี ๒๕๕๙
สดั สว่ นคนจน ไมเ่ กิน ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ไมเ่ กิน ไมเ่ กิน
ภาคเหนอื รอ้ ยละ รอ้ ยละ ๘.๐ รอ้ ยละ ๘.๐ รอ้ ยละ ๘.๐
สัดส่วนผสู้ งู อายทุ ่ี ๙.๘๓ ไมเ่ กิน ไม่เกนิ
เข้าถึงบริการดแู ล ร้อยละ เพิม่ ขน้ึ รอ้ ยละ ๘.๐ ร้อยละ ๘.๐ เพม่ิ ขึ้น เพมิ่ ขึน้
ผสู้ ูงอายุระยะยาว ๐.๖๗ ไม่ต่ากว่า ไมต่ ่ากวา่ ไมต่ า่ กว่า
(Long Term ร้อยละ ๕.๐ เพ่ิมข้นึ เพ่มิ ขนึ้ ร้อยละ ๕.๐ ร้อยละ ๕.๐
Care) ไมต่ า่ กว่า ไม่ต่ากวา่
ภาคเหนอื รอ้ ยละ ๕.๐ ร้อยละ ๕.๐

แนวทางการพฒั นา

1) ส่งเสริมการสร้างรายได้และการมีงานทาของผู้สูงอายุและผู้มีรายได้น้อย โดย
ดาเนินการในรูปของกลุ่มอาชีพและกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ส่งเสริมการนาภูมิปัญญาผู้สูงอายุไปใช้ในการพัฒนา
วิสาหกิจชุมชน เพื่อให้มีรายได้และได้พัฒนาศักยภาพของตัวเองอย่างต่อเน่ือง สามารถพึ่งพาตนเองได้และมี
คุณภาพชีวติ ดีขึ้น

2) พฒั นายกระดับรายได้และคุณภาพชวี ิตของประชาชนในพน้ื ทีท่ ม่ี ีข้อจากัด ทางกายภาพ
และมปี ญั หาความยากจน ตามแนวทางแมฮ่ ่องสอนโมเดล

3) พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพ่ึงพิง โดยการ มีส่วน
ร่วมของชุมชนและการบูรณาการจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อรองรับการเพิ่มข้ึนของผู้สูงอายุ ท่ีไม่สามารถ
ดแู ลตนเองได้ รวมทง้ั แก้ปัญหาการขาดแคลนผู้ดูแลผู้สูงอายุ ตลอดจนสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
การจัดบริการดา้ นสวัสดกิ ารใหก้ บั ผูส้ งู อายุและผดู้ อ้ ยโอกาสในชุมชน

4) พัฒนาแรงงานให้มีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพตรงตามความต้องการของ
ตลาดแรงงาน ควบคู่ไปกับการยกระดับทักษะฝีมือให้สูงข้ึน สอดคล้องกับโครงสร้างการผลิตและบริการ บน
ฐานความรแู้ ละเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์

5) สร้างความเข้มแข็งและสร้างสภาพแวดล้อมในการพัฒนาให้กับสถาบันครอบครัวและ
ชมุ ชน เพื่อให้ชุมชนเข้ามามบี ทบาทในการพัฒนาคนทุกช่วงวัย ตลอดจนการจัดสวัสดิการชุมชนได้ อย่างย่ังยืน
และเปน็ โครงขา่ ยการคมุ้ ครองทางสังคมให้กับผู้สงู อายุและผดู้ ้อยโอกาสในชุมชน

๒๔

5) ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ อนุรักษ์และฟ้ืนฟูป่าต้นน้าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้า
อยา่ งเหมาะสมและเช่ือมโยงพ้ืนที่เกษตรใหท้ ั่วถึงป้องกันและแก้ไขปัญหามลพษิ หมอกควนั อยา่ งยั่งยืน

ตวั ชีว้ ัดและคา่ เปา้ หมาย

ตวั ช้วี ัด ค่าฐาน ค่าเป้าหมาย
ปี ๒๕๕๙ ๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ 2562-2565
สดั สว่ นพื้นทปี่ ่า
ไมต้ ่อพ้ืนที่ รอ้ ยละ ไม่ตา่ กวา่ ไม่ตา่ กวา่ ไมต่ ่ากว่า ไม่ต่ากวา่ ไมต่ า่ กว่า
ภาคเหนอื ๕๒.๕ รอ้ ยละ ๕๘.๐ รอ้ ยละ ๕๘.๐ รอ้ ยละ ๕๘.๐ รอ้ ยละ ๕๘.๐ ร้อยละ ๕๘.๐
จา่ นวนวันที่มคี า่
ฝ่นุ ละอองขนาด ของพนื้ ท่ภี าค ของพืน้ ท่ีภาค ของพน้ื ทภ่ี าค ของพื้นทภี่ าค ของพนื้ ท่ภี าค
เล็ก (PM๑๐) ๓๘ วนั ไม่เกนิ ไม่เกิน ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไม่เกิน
เกินมาตรฐาน
ของภาคเหนือ ๑๕ วัน ๑๕ วนั ๑๕ วัน ๑๕ วนั ๑๕ วนั

แนวทางการพัฒนา

1) อนุรักษ์และฟื้นฟูระบบนิเวศและป่าไม้ในพื้นท่ีป่าต้นน้าในพื้นท่ี ๘ จังหวัดภาคเหนือ
ตอนบน โดยเฉพาะ จังหวัดน่าน โดยให้ความสาคัญกับการฟ้ืนฟูป่าต้นน้าที่เส่ือมโทรมให้มีความอุดมสมบูรณ์
เพ่ือให้เป็นฐานทรัพยากรท่ีมั่นคงและเป็นแหล่งดูดซับน้าฝนและเพ่ิมปริมาณน้าต้นทุนใ นแต่ละลุ่มน้าควบคู่ไป
กบั การปอ้ งกนั แก้ไขปัญหาการบุกรุกทาลายพนื้ ท่ีปา่ ตลอดจนสง่ เสรมิ การปลูกป่าเพอ่ื เพ่มิ พื้นทป่ี า่ ต้นน้า

2) พัฒนาการจัดการน้าเชิงลุ่มน้าท้ังระบบในลุ่มน้าหลักของภาค ได้แก่ ลุ่มน้าปิง วัง ยม
และน่าน และพัฒนาแหล่งกักเก็บน้าธรรมชาติขนาดใหญ่ที่สาคัญ ได้แก่ บึงบอระเพ็ด จังหวัดนครสวรรค์
บึงสีไฟ จังหวัดพิจิตร และกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา เพ่ือให้เกิดความสมดุลท้ังในด้านการจัดหา การใช้ และ
อนรุ กั ษ์

3) แก้ไขปัญหาหมอกควันในพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนบนและจังหวัดตาก โดยส่งเสริมการ
ปรบั เปลี่ยนการทาการเกษตรจากการปลกู พชื เชิงเด่ียวไปสู่การปลกู พชื ในระบบวนเกษตรสนับสนุนการวิจัยและ
พัฒนาเทคโนโลยีและระบบจัดการพื้นท่ีเกษตรท่ีเหมาะสมส่งเสริมให้นาเศษวัสดุทางการเกษตรไปใช้ประโยชน์
เพ่ือลดการเผาวัสดุทางการเกษตรและส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคเอกชนประชาชนและ
องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ในการป้องกนั แก้ไขปัญหาหมอกควนั

7.2 แนวคดิ และทศิ ทางการพัฒนาด้านการเกษตรภาคเหนอื
7.2.1 เป้าหมายการพัฒนาด้านการเกษตร (ภาคเหนอื )
1) จานวนพ้ืนที่เกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดภัยเพิ่มข้ึน โดยให้พ้ืนท่ีเกษตรอินทรีย์เพ่ิมข้ึน

35,801 ไร่ และเกษตรปลอดภยั เพิ่มขึน้ 115,994 ไร่
2) จานวนเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าอินทรีย์ และเกษตรปลอดภัยเพ่ิมข้ึน โดยให้เกษตรกรผู้ผลิต

สินค้าอินทรีย์เพ่ิมข้ึน 5,667 ราย และเกษตรปลอดภัยเพ่ิมขึ้น 23,554 ราย (พืช 12,000 ราย/ปศุสัตว์
6,360 ราย/ประมง 5,194 ราย)

๒๕

3) จานวนสินค้าเกษตรอินทรีย์ และเกษตรปลอดภยั เพมิ่ ขึ้น โดยให้สนิ คา้ เกษตรอินทรีย์เพิ่มขึ้น
ใน 9 ชนิดสนิ คา้ และสินค้าปลอดภัย 16 ชนดิ (พืช 13 ชนดิ ปศุสัตว์ 2 ชนิด และประมง 1 ชนดิ )

4) จานวนสถาบันเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรเพิ่มข้ึน โดยให้กลุ่มเกษตรกร
ผผู้ ลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ เพมิ่ ขึน้ 160 กลุ่ม และสนิ ค้าเกษตรปลอดภัย เพ่ิมข้ึน 480 กลุ่ม (พืช 220 กลุ่ม/
ปศสุ ัตว์ 260 กลุม่

7.2.2 ตวั ชวี้ ดั การพัฒนาด้านการเกษตร (ภาคเหนือ)
1) จานวนพื้นทไ่ี ด้รบั การส่งเสริมพฒั นาต่อยอด อินทรีย์เพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 70 และเกษตรปลอดภัย

เพิ่มข้ึนร้อยละ 80 โดยจานวนเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ได้รับการพัฒนาศักยภาพไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ 70 และเกษตรปลอดภยั ไดร้ บั การพฒั นา ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80

2) สินคา้ เกษตรไดร้ บั การสร้างมูลคา่ เพมิ่ ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 10
3) จานวนกลุ่มเกษตรกรอินทรีย์ได้รับการพัฒนาศักยภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 70/ปลอดภัย
ร้อยละ 80
7.2.3 ประเด็นยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภายใตแ้ ผนพัฒนาด้านการเกษตร (ภาคเหนือ)
1) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ส่งเสริมการวิจัย สร้างฐานข้อมูล และเผยแพร่งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับ
เกษตรอินทรยี ์ เกษตรปลอดภัย และเกษตรแปรรูปมลู คา่ สงู
ประกอบด้วย 4 กลยทุ ธ์ คือ
กลยทุ ธท์ ่ี 1 ส่งเสริมการศกึ ษาวิจัยด้านเกษตรอนิ ทรยี ์ เกษตรปลอดภัย และเกษตรแปรรปู
กลยทุ ธ์ท่ี 2 จดั ทาฐานข้อมลู Big Data
กลยทุ ธท์ ี่ 3 สร้างความรู้ ความเข้าใจเร่ืองเกษตรอนิ ทรีย์ เกษตรปลอดภัยแก่เกษตรกร/สถาบันเกษตรกร/
ผทู้ ่ีเกีย่ วขอ้ ง
กลยทุ ธท์ ี่ 4 สง่ เสริมการเผยแพรง่ านวจิ ยั ดา้ นเกษตรอินทรยี ์ เกษตรปลอดภยั เกษตรแปรรูปมูลค่าสูงไปใช้
ประโยชน์ตอ่ ยอด

2) ยุทธศาสตร์ที่ 2 ส่งเสริมองค์ความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย
เกษตรแปรรปู มูลคา่ สงู
ประกอบด้วย 3 กลยทุ ธ์ คอื

กลยุทธท์ ี่ 1 ส่งเสริมการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภัย เกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
ใหแ้ ก่ผูผ้ ลติ และผู้มีส่วนเกีย่ วข้องตลอดหว่ งโซอ่ ุปทาน

กลยุทธ์ที่ 2 สรา้ งการรบั รแู้ ละพัฒนาเกษตรกรผ้ผู ลิต
กลยุทธท์ ี่ 3 บรหิ ารจัดการองคค์ วามร้ใู หเ้ ขา้ ถึงได้งา่ ย

3) ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 พฒั นาศักยภาพการผลิตสนิ ค้าเกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดภยั เกษตรแปรรูป
มลู คา่ สูง
ประกอบด้วย 5 กลยทุ ธ์ คือ

กลยุทธ์ที่ 1 สนับสนนุ ปจั จัยการผลติ ใหแ้ ก่เกษตรกรเพื่อให้พ่ึงพาตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื
กลยุทธ์ที่ 2 สร้างกลไกและเครือข่ายการขับเคลื่อนการพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ เกษตร
ปลอดภยั ใหม้ ากข้ึน
กลยุทธ์ท่ี 3 บรหิ ารจดั การโครงสรา้ งพน้ื ฐานท่ีเออื้ ต่อการผลิตอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๒๖

กลยุทธท์ ่ี 4 สง่ เสรมิ การรวมกลมุ่ เชอ่ื มโยงเครือข่ายระหว่างผผู้ ลติ
กลยุทธ์ท่ี 5 สร้างเกษตรกรรนุ่ ใหมใ่ หเ้ ขา้ สูร่ ะบบเกษตรอนิ ทรยี ์ เกษตรปลอดภัยใหม้ ากขึน้
4) ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสรมิ พัฒนาตลาด เพ่ิมขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
ประกอบด้วย 2 กลยทุ ธ์ คือ
กลยุทธ์ท่ี 1 ยกระดับ และสร้างมูลค่าสินค้า โดยผลักดันการผลิตภายใต้ระบบการรับรองมาตรฐานเกษตร
อินทรีย์ เกษตรปลอดภยั
กลยทุ ธท์ ่ี 2 สง่ เสริมและพฒั นาตลาดสินคา้ เกษตรอินทรยี ์ เกษตรปลอดภัย

๒๗

ส่วนที่ 8 แผนงาน/โครงการภายใตแ้ ผนพฒั นาภาคเหนือ

8.1 แผนงาน โครงการ ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์และแนวทาง ภาพรวมภาคเหนือ

การจัดทาแผนงานโครงการภายใต้แผนบูรณาการพัฒนาพ้ืนที่ระดับภาค (ภาคเหนือ) กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ เกี่ยวขอ้ งกบั ประเด็นยทุ ธศาสตรใ์ นแผนพัฒนาภาคเหนือ 2 ยุทธศาสตร์ ได้แก่

8.1.1 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสู่
อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ีสร้างมูลค่าเพ่ิมสูง ซ่ึงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์รับผิดชอบหลักในตัวช้ีวัด
และคา่ เปา้ หมาย ประกอบด้วย 7 แนวทาง ได้แก่

1) แนวทางท่ี 1 พัฒนาฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ในพ้ืนที่ภาคเหนือตอนบนและเกษตร
ปลอดภัยในพ้ืนท่ีภาคเหนือตอนล่างโดยสนับสนุนการทาเกษตรย่ังยืนอย่างครบวงจร สนับสนุนการรวมกลุ่ม
และสรา้ งเครอื ข่ายเกษตรกรเพื่อพฒั นาด้านการผลิตและการตลาด ให้ความรู้กับเกษตรกรในการใช้สารอินทรีย์
แทนสารเคมี ส่งเสริมช่องทางการกระจายผลผลิต สร้างค่านิยมการบริโภคอาหารเพ่ือสุขภาพ สนับสนุนการ
ตรวจสอบคณุ ภาพผลผลติ และการตรวจสอบย้อนกลับอยา่ งเป็นระบบ

2) แนวทางท่ี 2 สนับสนุนการเช่ือมโยงผลผลติ เกษตรสู่อตุ สาหกรรมเกษตรแปรรูปที่มีศักยภาพ
ได้แก่ การแปรรูปพชื ผกั ผลไม้ และสมุนไพร การแปรรปู ขา้ ว พืชไร่ พืชพลังงาน โดยสนับสนุนการพัฒนาสินค้า
เกษตรตลอดห่วงโซ่คุณค่า ส่งเสริมการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต
พัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ตอบสนองความต้องการตลาดเฉพาะ สนับสนุนการนาผลผลิตและวัสดุเหลือใช้ทาง
การเกษตรจากพชื และสตั ว์มาผลติ พลงั งานทดแทน

3) แนวทางท่ี 3 พัฒนาอุตสาหกรรมชีวภาพอย่างบูรณาการตลอดห่วงโซ่คุณค่า และเชื่อมโยง
กับอุตสาหกรรมเกษตรชีวภาพ อุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร และแปรรูปชีวมวล โดยสนับสนุนการนาผลผลิต
และวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรจากพืชและสัตว์พัฒนาเป็นพลังงานทดแทนสนับสนุนกา รพัฒนาและเผยแพร่
องค์ความรู้ในการนาพืช/วัสดุชีวภาพมาใช้ประโยชน์ตลอดห่วงโซ่คุณค่าเป็นการเพ่ิมมูลค่าผลผลิตการเกษตรท่ี
ได้ประโยชนส์ งู สดุ และช่วยลดปญั หาสิง่ แวดลอ้ มสง่ เสริมการวจิ ยั และพฒั นา

4) แนวทางท่ี 4 สนบั สนนุ การวิจัยและพฒั นาทางการเกษตรทั้งระบบ ส่งเสริมการใช้ปัจจัยการ
ผลิตและเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ รวมทั้งเสริมสร้างความรู้ การให้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจการผลิต
แกเ่ กษตรกรเช่น การโซนน่งิ พ้นื ทีป่ ลกู พืชการเกษตรแปลงใหญ่

5) แนวทางที่ 5 สร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ให้เป็นเกษตรกรอัจฉริยะ (Smart Farmer)
โดยยกระดับให้เกษตรกรเป็นผู้ประกอบการเกษตรบนฐานทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถ่ิน พัฒนา
เกษตรกรในการเขา้ ถงึ องคค์ วามรู้ด้านการผลิตและการตลาด

6) แนวทางที่ 6 พัฒนาช่องทางตลาดออนไลน์และระบบโลจิสติกส์สาหรับสินค้าเกษตรจาก
ชุมชน พัฒนานวัตกรรมสาหรับการสร้างระบบโลจิสติกส์สินค้าเกษตรจากชุมชน เพ่ือส่งเสริมการขายสินค้า
เกษตรออนไลน์โดยเกษตรกร

7) แนวทางที่ 7 พัฒนาแหล่งน้าเพ่ือการเกษตรอย่างเป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมโยง พัฒนา
แหล่งเก็บกักน้านอกเขตพ้ืนท่ีชลประทานเพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการกักเก็บน้าไว้ใช้ในพ้ืนท่ีเกษตรกรรมแก้ไข
ปญั หาการขาดแคลนนา้ ของเกษตรกรในพนื้ ทน่ี อกเขตชลประทาน

๒๘

8.1.2 ยุทธศาสตร์ท่ี 5 อนุรักษ์และฟ้ืนฟูป่าต้นน้าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้า
อย่างเหมาะสมและเชื่อมโยงพ้ืนที่เกษตรให้ทั่วถึงป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันอย่างยั่งยืน
ซ่ึงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มแี นวทางทีเ่ กยี่ วข้อง 2 แนวทาง ไดแ้ ก่

1) แนวทางท่ี 2 พัฒนาการจัดการน้าเชิงลุ่มน้าท้ังระบบในลุ่มน้าหลักของภาค ได้แก่ ลุ่มน้าปิง
วัง ยม และน่าน และพัฒนาแหล่งกักเก็บน้าธรรมชาติขนาดใหญ่ที่สาคัญ ได้แก่ บึงบอระเพ็ด จังหวัด
นครสวรรค์ บึงสีไฟ จังหวัดพิจิตร และกว๊านพะเยา จังหวัดพะเยา เพ่ือให้เกิดความสมดุลท้ังในด้านการจัดหา
การใช้ และอนรุ ักษ์

2) แนวทางที่ 3 แก้ไขปัญหาหมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนและจังหวัดตาก โดยส่งเสริม
การปรับเปลย่ี นการทาการเกษตรจากการปลกู พชื เชงิ เดี่ยวไปสกู่ ารปลูกพืชในระบบวนเกษตรสนับสนุนการวิจัย
และพัฒนาเทคโนโลยีและระบบจัดการพ้ืนท่ีเกษตรท่ีเหมาะสมส่งเสริมให้นาเศษวัสดุทางการเกษตรไปใช้
ประโยชน์เพื่อลดการเผาวัสดุทางการเกษตรและส่งเสริมกระบว นการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคเอกชน
ประชาชนและองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในการปอ้ งกันแกไ้ ขปญั หาหมอกควนั

8.2 แผนงาน โครงการ ภายใต้แผนบูรณาการพื้นท่ีระดับภาค (ภาคเหนือ) จาแนกตามยุทธศาสตร์และ
แนวทาง (แผนพัฒนาภาคเหนอื )

8.2.1 แผนงาน โครงการท่ดี าเนนิ การในพนื้ ท่ีภาคเหนอื ตอนบน ปงี บประมาณ 2564 -2565
เสนอ 3 ชดุ โครงการ ได้แก่

1) โครงการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่มูลค่าในพื้นท่ีภาคเหนือตอนบน
(ภายใตย้ ุทธศาสตร์ท่ี 3 ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรม
เกษตรแปรรูปท่ีสร้างมูลค่าเพิ่มสูง ) จาแนกเป็น 13 แผนงาน 41 กิจกรรมหลัก และ 199 กิจกรรมย่อย
งบประมาณ 463,274,457 บาท (ปี2564) และ 137,531,890 บาท (ปี 2565)

2) โครงการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่าภาคการเกษตร (ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 5
อนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้าอย่างเหมาะสมและเชื่อมโยงพ้ืนที่
เกษตรให้ท่ัวถึง ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันอย่างย่ังยืน) จาแนกเป็น 9 กิจกรรมหลัก 43
กิจกรรมยอ่ ย งบประมาณ 140,200,780 บาท (ปี 2564)

3) โครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ภายใต้ยุทธศาสตร์ท่ี 5)
งบประมาณ 1,306,073,800บาท (ปี 2563) งบประมาณ 3,886,410,000 บาท (ปี 2564)
5,052,333,000 บาท (ปี 2565) *ดาเนินการในพนื้ ที่ภาคเหนือ 17 จงั หวัด

8.2.2 แผนงาน โครงการ ทด่ี าเนนิ การในพ้นื ที่ภาคเหนือตอนล่าง ปี 2563 - 2565 เสนอ 2 ชุด
โครงการ

1) โครงการพัฒนาสินค้าที่มีศักยภาพเข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรปลอดภัยยกระดับสู่เกษตร
อินทรีย์ และเกษตรแปรรูปท่ีสร้างมูลค่าเพิ่มสูง 9 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง (ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 3
ยกระดับเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์และเกษตรปลอดภัย เชื่อมโยงสู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ีสร้าง
มลู คา่ เพ่ิมสูง) งบประมาณรวมทง้ั สน้ิ 787,651,074 บาท

(ปี 2563 จานวน 1 แผนงาน 2 กิจกรรมย่อย งบประมาณ 17,665,000 บาท) (ปี 2564
– 2565 จานวน 4 แผนงาน 8 กิจกรรมหลัก 84 กิจกรรมย่อย งบประมาณ (ปี 2564) 482,836,322
บาท (ปี 2565) 287,149,752 บาท

๒๙

2) โครงการบริหารจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 17 จังหวัดภาคเหนือ (ภายใต้
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 อนุรักษ์และฟ้ืนฟูป่าต้นน้าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้าอย่างเหมาะสมและ
เชื่อมโยงพื้นที่เกษตรให้ท่วั ถึง)

งบประมาณรวมทั้งส้ิน 10,244,816,800 บาท (ปี 2563) 1,306,073,800 บาท (ปี 2564)
3,886,410,000 บาท (ปี 2565) 5,052,333,000 บาท

สาหรับแผนงานโครงการภายใต้แผนพัฒนาพื้นท่ีระดับภาค (ภาคเหนือ) กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ ปี 2563 - 2565 ประกอบดว้ ย โครงการ กิจกรรม งบประมาณ พ้ืนท่ีเป้าหมาย ความสอดคล้องใน
หว่ งโซ่คณุ คา่ โดยมีหนว่ ยงานร่วมบูรณาการ ท้งั เปน็ หนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบหลกั และสนบั สนุน ดงั นี้

แผนงานโครงการภายใตแ้ ผนบรู ณาการพ้นื ที่ระดับ

ยทุ ธศาสตร/์ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.

รวมภาคเหนอื 1,379,802,500 4,972,721,559 393,308,850

ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 ยกระดบั เป็นฐานการผลิตเกษตร 73,728,700 946,110,779 393,308,85

อินทรยี ์และเกษตรปลอดภยั เช่อื มโยงส่อู ตุ สาหกรรม

เกษตรแปรรปู ที่สร้างมลู คา่ เพม่ิ สงู

3.1 พัฒนาฐาน 1.โครงการสง่ เสริมและพฒั นาเกษตร 56,063,700 463,274,457 393,308,85

การผลติ เกษตร อนิ ทรยี ์ตลอดหว่ งโซม่ ลู คา่ ในพื้นที่

อินทรีย์ในพื้นท่ี ภาคเหนอื ตอนบน

ภาคเหนอื 1.1 โครงการส่งเสรมิ เกษตรอนิ ทรีย์ - 22,581,550 40,000,000

ตอนบนและ วิถคี นเมอื ง 360 องศาจงั หวัด
เกษตรปลอดภัย แม่ฮ่องสอน
ในพืน้ ที่ 1) ขบั เคล่อื นสถาบันตรวจสอบ
ภาคเหนอื 40,000,000

คณุ ภาพอาหารและสินค้าเกษตรระดับ
ตอนลา่ งโดย สากล จังหวัดแม่ฮ่องสอน
สนับสนนุ การทา 2) สง่ เสรมิ เกษตรอินทรียจ์ ังหวัด
เกษตรย่ังยืน แมฮ่ อ่ งสอน 22,581,550

อย่างครบวงจร 1.2 โครงการส่งเสรมิ เกษตรอนิ ทรยี ์ - 760,000 -
สนับสนนุ การ วิถีคนเมอื ง 360 องศาจังหวัดลาพูน
รวมกลมุ่ และ 1) สง่ เสรมิ เกษตรอินทรียใ์ นโรงเรยี น
สรา้ งเครอื ขา่ ย 2) ส่งเสรมิ กระเทียมปลอดภัยเพอ่ื 200,000
เกษตรกรเพอ่ื เตรยี มการสู่การพฒั นากระเทยี ม
พัฒนาด้านการ อนิ ทรยี ์ 420,000

30

บภาค (ภาคเหนือ) ในช่วงปี พ.ศ. 2563-2565

งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หน่วย

2565 พน้ื ที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เป้า ต้น กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง สนบั

สนุน

0 5,477,014,642 40,335,200 11,829,538,701 433,644,050

50 424,681,642 40,335,200 1,444,521,121 433,644,050

50 137,531,890 40,335,200 656,870,047 433,644,050

0 35,404,500 - 57,986,050 40,000,000 แม่ฮ่อง

0 สอน √ ม.ราช
ภฎั มส.
- 40,000,000
สป.กษ./
35,404,500 - 57,986,050 -√ กข.

900,000 1,660,000 - ลาพูน สป.กษ.
กสส.
200,000 400,000 -√
420,000 840,000 -√

ยทุ ธศาสตร์/ กิจกรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.

ผลติ และ 3) สง่ เสรมิ การผลติ ข้าวอนิ ทรีย์ 140,000

การตลาดให้ (ตอ่ ยอดกลุม่ เดิม)

ความรู้กบั 1.3 โครงการสง่ เสรมิ เกษตรอินทรีย์ - 6,394,000 -
เกษตรกรในการ วิถคี นเมือง 360 องศาจงั หวดั
ใช้สารอินทรีย์ พะเยา
แทนสารเคมี 1) ส่งเสรมิ การใชส้ ารอินทรยี ์(ผลติ
สง่ เสรมิ ชอ่ งทาง จดั หาเมล็ดพนั ธุ์ ปยุ๋ หมกั ปรับปรงุ 1,894,000

การกระจาย พืน้ ทีด่ ินกรด)
ผลผลติ สร้าง 2) ส่งเสริมการแปรรูปข้าวอินทรยี เ์ พื่อ
ค่านยิ มการ เพ่มิ มลู คา่ 4,000,000

บริโภคอาหาร 3) ประสานอานวยการขบั เคล่ือน 500,000
เพ่ือสขุ ภาพ เกษตรอินทรีย์
สนับสนนุ การ 1.4 โครงการสง่ เสรมิ เกษตรอินทรยี ์ - 84,120,000
ตรวจสอบ -

วถิ คี นเมือง 360 องศาจังหวัด
คุณภาพผลผลติ เชยี งราย
และการ
1) ส่งเสริมการปลกู กาแฟในระบบวน 22,950,000
ตรวจสอบ
ยอ้ นกลับอยา่ ง เกษตร 1,000,000
เป็นระบบ
2) สนับสนุนการขอรับรองมาตรฐาน
เกษตรอินทรยี ร์ ะดับสากล(USDA &

EU)

3) สรา้ งศนู ยบ์ รหิ ารจัดการกาแฟ 53,970,000

อินทรีย์คุณภาพ

4) ศกึ ษาวิจัยเพอ่ื พฒั นาโครงการ 2,000,000

31

งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย

2565 พน้ื ที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
280,000 รวม 2563 - 2565 เปา้ ตน้ กลาง ปลาย หลกั /
หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. สนบั
สนนุ

420,000 - √ กข.

6,394,000 - 12,788,000 - พะเยา

1,894,000 3,788,000 - √ พด.

4,000,000 8,000,000 - √ กข.

500,000 1,000,000 - √ สป.กษ.

30,150,000 - 114,270,000 - เชียง

ราย

22,950,000 45,900,000 - √ สป.กษ
1,000,000 2,000,000 - .

2,000,000 53,970,000 - √ สป.กษ
4,000,000 - .

√ สป.กษ
.

√ สปก.

ยทุ ธศาสตร์/ กิจกรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.

5) อานวยการและประสานงาน 4,200,000

1.5 โครงการส่งเสรมิ เกษตรอนิ ทรยี ์ - 14,453,150 60,105,850
วถิ คี นเมือง 360 องศาจังหวัดน่าน

1) พฒั นาศกั ยภาพการผลิตสินค้า 60,105,850
เกษตร

2) ส่งเสริมการผลิตขา้ วและข้าวสาลี 3,867,000

อินทรยี ์ของชุมชนเกษตรกรอาเภอบอ่

เกลือ จังหวัดนา่ น

3) สง่ เสรมิ เกษตรอนิ ทรยี ์ในเขต สปก. 739,200

4) สง่ เสรมิ การผลิตผกั พนื้ บา้ น และ 3,120,000

สมุนไพรอนิ ทรยี ์

5) ทัศนศกึ ษาดูงานตน้ แบบเกษตร 1,856,300

อนิ ทรยี ์

6) ประสานงานอานวยการโครงการ 542,650

7) มหกรรมสินคา้ เกษตรอนิ ทรยี ์ 4,328,000

1.6 โครงการส่งเสรมิ เกษตรอนิ ทรีย์ - 15,981,540 3,367,800

วิถีคนเมือง 360 องศาจงั หวดั

ลาปาง

1) โครงการหม่บู ้านเกษตรอนิ ทรยี ์ - 11,965,240 3,367,800

1.1) เรยี นรเู้ กษตรอินทรยี ์ ยโสธร 1,681,000

โมเดล

32

งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย

พนื้ ที่ (Value-chain) งาน

2565 รวม 2563 - 2565 เป้า ตน้ กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. สนบั
สนุน

4,200,000 8,400,000 - √ สป.กษ
0 13,113,150
- 27,566,300 60,105,850 น่าน

0 - 60,105,850 √ เทคโน
2,487,000 โลยีราช
6,354,000 - √ มงคล
ล้านนา

กข.

739,200 1,478,400 - √ สปก.
3,160,000 6,280,000 - √ กสส.

1,856,300 3,712,600 - √ สป.กษ.

542,650 1,085,300 - √ สป.กษ.
4,328,000 √ สป.กษ.
0 12,084,240 8,656,000 -

- 28,065,780 3,367,800 ลาปาง

0 12,084,240 - 24,049,480 3,367,800

1,681,000 - √ สป.กษ.

ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.

1.2) ส่งเสรมิ และพัฒนาขา้ วอนิ ทรยี ์ 4,226,920

1.3) สง่ เสรมิ การทาเกษตรอนิ ทรยี ์ 1,573,520
(พืชผกั )

1.4) ส่งเสรมิ การทาการเกษตรแบบ 4,483,800
อินทรยี ์ 1,790,800

1.5) เฝ้าระวงั ผลกระทบทางสขุ ภาพ
จากสารเคมี

1.6) ชมุ ชนเกษตรอนิ ทรียท์ ตี่ ลาดนา 1,577,000
การผลิตรกั ษาสุขภาพและสงิ่ แวดลอ้ ม

2) โครงการพฒั นาเกษตรอินทรียว์ ิถี - 4,016,300
ลาปาง

33

งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หน่วย
2565
พนื้ ท่ี (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
6,026,920 รวม 2563 - 2565 เป้า ตน้ กลาง ปลาย หลกั /
หมาย ทาง ทาง ทาง
1,573,520 กษ. นอก กษ. สนบั
สนุน
4,483,800
10,253,840 - อ.แจ้ห่ม √ กข.

อ.เถนิ

อ.งาว

อ.เมือง

ปาน

อ.แม่

พริก

3,147,040 - 8 กสส.

อาเภอ

9

หมบู่ ้าน

8,967,600 - √ กสส.

0 - 1,790,800 5 √ สธ.
0 - อาเภอ สธ.
4,016,300 6
- หมบู่ ้าน

1,577,000 ทุก √
อาเภอ
15
หม่บู ้าน

-

ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
1,197,700
2.1) สง่ เสรมิ พัฒนาการผลติ สบั ปะรด
อนิ ทรยี ์

2.2) ส่งเสรมิ การปลกู โกโกอ้ นิ ทรยี ์ 1,392,900

2.3) พัฒนาศักยภาพการผลติ 256,700

กระเทยี มพนั ธด์ุ สี ูอ่ ินทรยี ์

2.4) ติดตามประเมินผลโครงการ 1,169,000

1.7 โครงการส่งเสรมิ เกษตรอนิ ทรยี ์ - 148,733,000 -

วถิ ีคนเมือง 360 องศาจงั หวดั แพร่

1) เพิ่มประสทิ ธภิ าพการผลิตและ 112,283,000

ยกระดบั มาตรสินคา้ และผลติ ภณั ฑ์

เกษตรอินทรีย์

2) เสริมสร้างและยกระดับความ 20,100,000

เขม้ แขง็ ใหเ้ กษตรกรและพัฒนา

สถาบันเกษตรกรในการรองรบั ระบบ

การจัดการเกษตรอนิ ทรีย์

3) พฒั นาระบบมาตรฐานเกษตร 16,350,000

อนิ ทรียใ์ นการบรหิ ารจัดการทรัพยากร

การเกษตรและส่ิงแวดล้อมอยา่ งสมดลุ

และย่งั ยืน

1.8 โครงการส่งเสรมิ เกษตรอินทรีย์ - 3,040,000 289,835,20

วถิ คี นเมือง 360 องศาจงั หวัด

เชยี งใหม่

34

งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย

2565 พ้ืนที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เปา้ ต้น กลาง ปลาย หลกั /
หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. สนบั
สนุน

1,197,700 - อ.เมือง √ กสส.

อ.แจห้ ม่

ลาปาง

1,392,900 - √ กสส.
256,700 -
√ กสส.

1,169,000 - √ กสส.

- - 148,733,000 - อ.วงั ช้นิ
จ.แพร่

112,283,000 - √ สป.กษ.

ม.แมโ่ จ้

20,100,000 - √ สป.กษ.

ม.แม่โจ้

16,350,000 - √ สป.กษ.

ม.แมโ่ จ้

00 - 40,335,200 3,040,000 330,170,400เชียงใหม่

ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ.
- กษ. นอก กษ.

1) การส่งเสรมิ และพัฒนาการผลติ - 3,040,000 -
ข้าวอินทรยี ์ จงั หวัดเชยี งใหม่ : 1
อาเภอ 1 วิถขี ้าวอินทรีย์

1.1) กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนากลุ่ม 1,165,000
ขา้ วอนิ ทรยี ต์ ้นแบบ กิจกรรมกิจกรรม
ฝึกอบรมและถ่ายทอดองคค์ วามรกู้ าร 1,875,000
ผลิตขา้ วอินทรีย์
- 31,535,200
1.2) กจิ กรรมการตรวจสอบและ
รับรองการผลิตขา้ วอินทรีย์

1.3) กิจกรรมพฒั นาการแปรรูปเพือ่
เพม่ิ มลู ค่าข้าวอนิ ทรีย์กจิ กรรม
ประชาสมั พนั ธ์และการเชอ่ื มโยงตลาด

2) โครงการมหานครวถิ เี กษตรอินทรยี ์
เชยี งใหม่

2.1) กิจกรรมการจัดทาฐานขอ้ มลู 1,216,000
และวจิ ัย 2,867,800

2.2) กจิ กรรมสรา้ งและหรอื พัฒนา
กลมุ่ องค์กร และ เครอื ข่ายการ ผลิต
เกษตร อินทรีย์ สรา้ งและหรอื พฒั นา
กลุ่ม องค์กร และ เครอื ข่ายการผลิต

35

งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หน่วย
งาน
2565 พ้นื ที่ (Value-chain) หลกั /
กษ. นอก กษ. สนบั
-- รวม 2563 - 2565 เปา้ ตน้ กลาง ปลาย สนนุ
หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. กข.

3,040,000 - 25 กข.
อาเภอ
1,165,000 - จ.เชียง
ใหม่



1,875,000 - √ กข.
- - √ กข.

0 - 25,535,200 - 57,070,400 25 ม.แมโ่ จ้

อาเภอ ม.แมโ่ จ้
ม.แม่โจ้
จ.เชยี ง

ใหม่

0 1,216,000 - 2,432,000 √

0 2,867,800 - 5,735,600 √

ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.

เกษตร อนิ ทรียใ์ ห้เข้มแขง็ ให้เขม้ แข็ง 1,050,000

2.3) กจิ กรรมการพฒั นากลไกการ 2,240,000
รับรอง มาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี แ์ บบมี
ส่วนรว่ มและ ศนู ยเ์ ผ้าระวังและ 1,896,000
ตรวจสอบการปนเปอ้ื นสารพิษใน
ผลผลติ เกษตรอินทรียแ์ ละอาหาร 2,240,000
อนิ ทรยี ใ์ นระดับ 1,980,000
14,820,000
2.4) กจิ กรรมสนับสนนุ กลไกการ
ขบั เคลอ่ื นและการจดั ทาแผนพัฒนา
ดา้ นเกษตรอินทรยี ์และอาหาร
ปลอดภยั ทั้งระดบั อาเภอ และระดบั
จังหวดั

2.5) กจิ กรรมการผลิตสอ่ื เผยแพร่
รณรงค์โมเดลการพัฒนาดา้ นเกษตร
อนิ ทรยี ์ และอาหารปลอดภยั สู่
สาธารณชน วงกว้าง

2.6) กจิ กรรมการตดิ ตามและ
ประเมนิ ผลโครงการ

2.7) การบรหิ ารโครงการ

2.8)กิจกรรมการจดั ตง้ั หนว่ ยรวบรวม
และ จัดส่งผลผลิตกลางระดบั อาเภอ
และจงั หวดั “หน่วยจดั การกลาง”

36

งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย
2565
พื้นที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เป้า ต้น กลาง ปลาย หลกั /
0 1,050,000 กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
สนบั
สนุน

- 2,100,000 √ ม.แมโ่ จ้

0 2,240,000 - 4,480,000 √ ม.แม่โจ้

0 1,896,000 - 3,792,000 ม.แม่โจ้

0 2,240,000 - 4,480,000 √ ม.แม่โจ้

0 1,980,000 - 3,960,000 √ ม.แมโ่ จ้

0 8,820,000 - 23,640,000 √ ม.แม่โจ้

ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
-
2.9) การสรา้ งความตระหนักรู้ ดา้ น 3,225,400
เกษตรอนิ ทรยี ์ และอาหารปลอดภัย -
แก่ ผูบ้ รโิ ภคในระดบั อาเภอและ - 72,600,000
จังหวัด
40,000,000
3) โครงการยกระดับกระเทยี ม
ออรแ์ กนิคด้วยเศรษฐกิจหมนุ เวยี น 26,800,000
เพอ่ื สร้างมลู ค่าและ มาตรฐานการ
ส่งออก (กลมุ่ ภาคเหนือตอนบน 1) 5,800,000
- 24,200,000
3.1) การวจิ ัย ฐานขอ้ มลู การแปรรูป
กระเทียม การใชป้ ระโยชน์ กระเทยี ม
ท้ังตน้ ไม่มขี ยะ เน้นการเพิม่ มูลคา่
การสรา้ งแบรนด์ มมี าตรฐานมงุ่ สู่
organic

3.2) พฒั นาศักยภาพพนื้ ทปี่ ลกู
กระเทียม มาตรฐานและระบบ
ตรวจสอบรบั รองเพื่อเปลี่ยนผ่านเปน็
กระเทียมออรแ์ กนิค

3.3) การตลาด ส่ือประชาสมั พันธ์
สนิ ค้าเกษตรอนิ ทรีย์

4) โครงการพัฒนาพ้นื ที่ตน้ แบบ
เกษตรอินทรยี ์ เครอื ขา่ ยพลเมอื ง
พัฒนาเกษตรสารภี (สารภี โมเดล)

37

งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย

2565 พื้นที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
0 3,225,400 รวม 2563 - 2565 เปา้ ต้น กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
สนบั
สนุน

- 6,450,800 √ ม.แม่โจ้

0- - - 72,600,000 เชียงใหม่ ม.แมโ่ จ้

0 - 40,000,000 √ ม.แมโ่ จ้

0 - 26,800,000 √ ม.แม่โจ้

0 - 5,800,000 √ ม.แมโ่ จ้

0 - 14,800,000 - 39,000,000 อ.สารภี ม.แม่โจ้

จ.เชียง

ใหม่

ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.

4.1) พัฒนาศกั ยภาพพื้นทีต่ ้นแบบ - 11,000,000
เกษตรอินทรยี ค์ รวั เรือนสารภี 11,000,000
2,200,000
4.2) กจิ กรรมการแปรรปู สินค้า - 161,500,00
เกษตรอนิ ทรยี ม์ ูลคา่ สงู
10,000,000
4.3) กจิ กรรมการตลาด สื่อ
ประชาสมั พนั ธ์ สินค้าเกษตรอินทรยี ์ 55,500,000

5) โครงการเชยี งใหม่เมอื งสวรรค์
ผลติ ภณั ฑ์เกษตรอินทรยี ์ (พนื้ ท่ี
เป้าหมายจังหวัดเชยี งใหม่)

5.1) การพฒั นาแพลตฟอรม์
สารสนเทศด้านเกษตรอินทรียโ์ ดยใช้
เทคโนโลยี big data และ
ปัญญาประดษิ ฐ์

5.2) การส่งเสรมิ เกษตรกรคเู่ ทยี บ
เมอื งเกษตรอินทรยี ์ โรงเรยี นเกษตร
อินทรียต์ น้ แบบ ตามโมเดล
อุตสาหกรรมขน้ั ท่ี 6 ของญี่ปุ่น การ
ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมเกษตรกรจาก
เกษตรเคมีเป็นเกษตรอินทรยี ์ เขต
พนื้ ที่ 25 อาเภอ จงั หวดั เชียงใหม่
และพัฒนาความรแู้ ละศกั ยภาพ
เกษตรกรในการผลิตผลติ ภณั ฑ์เกษตร
อนิ ทรยี ์

38

งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย

2565 พ้นื ที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
0 1,000,000 รวม 2563 - 2565 เป้า ตน้ กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
สนบั
สนนุ

- 12,000,000 √ ม.แมโ่ จ้

0 11,500,000 - 22,500,000 √ ม.แม่โจ้

0 2,300,000 - 4,500,000 √ ม.แม่โจ้

00 - - - 161,500,000 มช.

0 - 10,000,000 √ มช.

0 - 55,500,000 √ มช.


Click to View FlipBook Version