ยทุ ธศาสตร์/ กิจกรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
-
5.3) การเพมิ่ มลู ค่าและพฒั นาเกษตร 96,000,000
อินทรยี ์แปรรูปเคล่อื นท่ี การยกระดับ
คุณภาพสถานท่ีผลิตอาหารอนิ ทรยี ใ์ ห้
ไดต้ ามมาตรฐานคณุ ภาพการผลติ
อาหาร จัดต้งั ศนู ย์บรกิ ารแปรรปู
สมุนไพร และผลผลติ เกษตรอินทรยี ์1.
ฟื้นชวี ติ ใหก้ บั เชียงใหม่ดว้ ยเกษตร
อนิ ทรีย์ ถนนอาหารอนิ ทรียเ์ พื่อ
สุขภาพจงั หวดั เชียงใหม่ จัดตัง้ การ
ศูนย์กระจายสนิ คา้ เกษตรอินทรีย์
(Organic Distribution Center)
การถอดบทเรยี นจาก Twin Cities
จากประเทศญป่ี ุ่นและฝรงั่ เศส และ
การสรา้ งต้นแบบดา้ นสง่ เสริมการเพิม่
มูลคา่ สนิ คา้ การเกษตรและการ
ส่งเสริมการตลาด จากบทเรียนสถานี
รมิ ทางและ Antenna Shop ในพื้นท่ี
ภาคเหนอื ตอนบน การส่งเสรมิ และ
พฒั นาศักยภาพโรงแรมและ
ร้านอาหารออแกนกิ ส์ การพัฒนา
ระบบการจาหนา่ ยสินค้าและ
ผลิตภณั ฑ์เครอื ขา่ ยเกษตรอนิ ทรยี ์
การส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรยี ์
39
งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หน่วย
2565 พื้นท่ี (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
0 รวม 2563 - 2565 เปา้ ตน้ กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
สนบั
สนุน
- 96,000,000 √ √ มช.
ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
“ข่วงอนิ ทรยี ์ ขว่ งสุขภาพ”
1.9 โครงการพัฒนากลุม่ เกษตรกร - 9,000,000 -
เข้าสู่การรบั รองมาตรฐานเกษตร
อินทรยี ์ภาคเหนือ (พด.)
1) พฒั นากลมุ่ เกษตรกรเข้าสู่การ 9,000,000
รบั รองมาตรฐานเกษตรอนิ ทรีย์
1.10 โครงการสง่ เสริมการเลย้ี งสตั ว์ - 25,990,000 -
น้าอินทรียใ์ นภาคเหนือตอนบน 8
จงั หวดั
1) สง่ เสรมิ การเลย้ี งสัตว์น้าอนิ ทรยี ์ 25,990,000 -
- 10,000,000
1.11 โครงการบรู ณาการเพาะเลี้ยง
สตั ว์นา้ อนิ ทรยี อ์ ยา่ งยัง่ ยืน เพือ่
ยกระดบั คณุ ภาพสินคา้ สัตวน์ า้
(งานวจิ ยั )
40
งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย
2565
พนื้ ที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เปา้ ตน้ กลาง ปลาย หลกั /
-- กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
สนบั
สนุน
9,000,000 - พด.
39,486,000 - 9,000,000 -√
65,476,000
- 8 จว.
39,486,000 - 65,476,000 ภาค ปม.
- 10,000,000 เหนือ
บน ม.แมโ่ จ้
สนง.
-√ ประมง
- เชียงใ จงั หวดั
เชยี ง
หม่ ใหม่/
ศนู ย์
วิจัย
พัฒนา
เพาะ
เลยี้ ง
สตั ว์น้า
จดื เขต
1
ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
1) งานวจิ ัยการเพาะเลย้ี งสัตวน์ ้า 10,000,000 -
อนิ ทรีย์อย่างยั่งยนื - 122,221,217
1.12 โครงการสง่ เสริมปศสุ ัตว์ 17,762,440
อนิ ทรีย์
1) พฒั นาปศุสตั ว์อนิ ทรยี ์ (ไก่พื้นเมือง
ไก่ไข่ เปด็ ไข่ และ หมดู า)
2) ศูนยป์ ฏิบตั กิ ารตรวจวิเคราะหด์ า้ น 102,753,777
ปศสุ ัตวอ์ นิ ทรยี ,์ ศนู ย์สาธติ และผลติ
อาหารสตั ว์อนิ ทรีย์ (ศูนย์วจิ ยั พัฒนา 1,705,000
อาหารสตั ว์ ลาปาง เชยี งราย)
56,063,700 - -
3) แปรรปู และการตลาดปศสุ ัตว์ 35,770,000
อินทรยี ์ (ศนู ย์วิจัยและพัฒนา
ผลิตภณั ฑป์ ศสุ ัตว์เชยี งใหม)่
1.13 โครงการส่งเสริมเกษตร
อนิ ทรีย์
ถ่ายทอดเทคโนโลยีการจดั การดนิ ท่ี
เหมาะสมและส่งเสรมิ ระบบการ
รับรองแบบมสี ่วนรว่ มใหก้ บั เกษตรกร
ผู้ผลิตเกษตรอนิ ทรยี ใ์ นภาคเหนือ
ตอนบน
41
งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย
2565 พ้นื ท่ี (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เป้า ตน้ กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
สนบั
สนุน
10,000,000 - √
- - 122,221,217 - ปศ.
17,762,440 - 8 จว. √ ปศ.
102,753,777 ภาค ปศ.
เหนือ
บน
- ลาปาง √
1,705,000 - ลาปาง √ ปศ.
เชยี งราย
- - 56,063,700 -
35,770,000 - 8 จว. √ พด.
ภาค
เหนอื
บน
ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
1,200,000
ส่งเสรมิ เกษตรกรใช้สารชวี ภณั ฑ์
ตรวจรบั รองแหล่งผลติ พืชอินทรีย์ 3,805,300
พฒั นาเกษตรอินทรยี ์และตลาดสเี ขยี ว 1,712,400
ส่งเสริมและพฒั นาการเล้ยี งปลาในนา 3,496,800
ข้าวอนิ ทรยี ์
สง่ เสริมเกษตรอนิ ทรีย์ในเขตปฏริ ปู 5,500,800
ทด่ี ิน
อานวยการขับเคลือ่ นการดาเนนิ งาน 4,578,400
เกษตรอนิ ทรียภ์ าคเหนอื ตอนบน
42
งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย
2565 พื้นท่ี (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เปา้ ต้น กลาง ปลาย หลกั /
หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. สนบั
สนนุ
1,200,000 - 8 จว. √ วก.
ภาค
เหนอื
บน
3,805,300 - 8 จว. √ วก.
ภาค
เหนอื
บน
1,712,400 - 8 จว. √ ปศ.
ภาค
เหนอื
บน
3,496,800 - 8 จว. √ กป.
ภาค
เหนอื
บน
5,500,800 - 8 จว. √ ส.ป.ก.
ภาค
เหนอื
บน
4,578,400 - 8 จว. √ สป.กษ.
ภาค
เหนอื
ยทุ ธศาสตร์/ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
3.1 พฒั นาฐาน 2. โครงการพฒั นาสินค้าท่มี ี 17,665,000 482,836,322 -
การผลิตเกษตร ศักยภาพเข้าสรู่ ะบบการผลติ เกษตร -
อนิ ทรีย์ในพน้ื ที่ ปลอดภยั ยกระดบั สเู่ กษตรอนิ ทรยี ์
ภาคเหนือ และเกษตรแปรรูปทสี่ ร้างมลู คา่ เพ่มิ
ตอนบน และ สูง
เกษตรปลอดภยั 2.1 โครงการเกษตรปลอดภัย
ในพนื้ ท่ี
ภาคเหนอื 1) จา้ งเหมาหนว่ ยงานภายนอกตรวจ
ตอนล่าง รบั รองแหล่งผลิตพชื GAP ในเขต
3.6 พัฒนา ภาคเหนือตอนลา่ ง
ช่องทางตลาด 2) เชื่อมโยงเกษตรกรผู้ผลิต/ โรงคดั
ออนไลนแ์ ละ บรรจ/ุ ร้านอาหาร และตลาดสเี ขยี ว
ระบบโลจสิ ติกส์ 2.2 โครงการสง่ เสรมิ เกษตร
สาหรับสนิ คา้ ปลอดภยั
เกษตรจาก
ชุมชน
17,665,000 -
1) ศูนยบ์ รกิ ารอาหารสัตว์ (Feed Center) 17,665,000
43
งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย
2565
พืน้ ท่ี (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เป้า ต้น กลาง ปลาย หลกั /
287,149,752 - กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
สนบั
787,651,074 สนนุ
บน
- 5 กวก.
จังหวัด
(กาแพง
เพชร
พิษณุโลก
สุโขทัย
ตาก
เพชรบูรณ์)
√ กวก.
√ กวก.
- - 17,665,000 - 9 กปศ.
จงั หวัด
ภาค
เหนอื
ตอนล่าง
17,665,000 - √ กปศ.
ยุทธศาสตร/์ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
2) ส่งเสรมิ การนาพืชสมนุ ไพรมาใชใ้ น -
การเลย้ี งปศุสตั ว์
3.1 พัฒนาฐาน 2.3 โครงการพฒั นาสนิ คา้ ท่มี ี - 482,836,322 -
การผลติ เกษตร ศักยภาพเขา้ สรู่ ะบบการผลิตเขา้ สู่
อินทรยี ์ในพื้นที่ เกษตรปลอดภยั เกษตรอินทรยี ์ และ
ภาคเหนอื ตอนบน เกษตรแปรรูปทสี่ ร้างมลู ค่าเพมิ่ สงู
และเกษตร
ปลอดภัยในพน้ื ท่ี (8 กิจกรรมหลกั )
ภาคเหนือ
ตอนลา่ ง
3.2 สนับสนุน
การเชือ่ มโยง
ผลผลติ เกษตรสู่
อุตสาหกรรม
เกษตรแปรรปู ท่ีมี 1) พัฒนาระบบการผลติ ข้าวปลอดภยั - 140,594,337 -
ศกั ยภาพ และ ยกระดับสขู่ า้ วอนิ ทรยี ์ครบวงจร
การนานวัตกรรม
และเทคโนโลยมี า
ใชใ้ นการเพิ่ม
ประสิทธิภาพการ
ผลิต
3.3 สนับสนุน
การวิจยั และ
พัฒนาทาง
44
งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หน่วย
2565 พน้ื ที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
รวม 2563 - 2565 เป้า ต้น กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
-- สนบั
สนุน
√ กปศ.
287,149,752 - 769,986,074 -9 กสก. ปศ.
76,545,817 - 217,140,154
จังหวดั กปม.กสส
. กข.
ภาค กวก.
เหนือ พด.
ตอนลา่ ง สปก.
สป.กษ.
สศก.
วทิ ยาลยั
เกษตรฯ
มหาวทิ ย
าลยั
เทคโนโล
ยลี ้านนา
อตก.
พณ.
- 9 √ √ √ กข. กสส.
จงั หวดั กสก. พด.
ภาค สป.กษ.
กพด.
เหนอื
ตอนลา่ ง กชป.
สปก.กวก
. กสก.
(ศทอ.
พล.)
สศก.
ยทุ ธศาสตร์/ กิจกรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ.
- กษ. นอก กษ.
การเกษตรท้ัง 2) พฒั นาระบบการผลิต/แหลง่ บริการ - 97,569,667 -
ระบบ สง่ เสริม การท่องเที่ยวนิเวศน์เกษตรพืชผัก
การใช้ปจั จัยการ ปลอดภยั ยกระดับสู่พืชผักอินทรีย์ครบ 110,950,418 -
ผลติ และ วงจร
เทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมกับ 3) เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตไม้ผล
สภาพพื้นที่ คุ ณ ภ า พ ค ร บ ว ง จ ร พั ฒ น า สู่ ก า ร
3.4 สร้างและ ทอ่ งเที่ยวนิเวศน์เกษตร (มะม่วง มะขาม
พฒั นาเกษตรกร
รุน่ ใหมใ่ ห้เป็น หวาน มะม่วงหิมพานต์ กล้วยหอมทอง
เกษตรกร กล้วยตานีเพือ่ ผลติ ใบตอง อะโวคาโด แมคคา
อจั ฉริยะ (Smart เดเมยี ทุเรยี น ส้มเขียวหวาน ส้มโอ สับปะรด
Farmer) มะปราง มะยงชิด ส้มเขียวหวาน เงาะ
3.6 พฒั นา ลองกอง ลาไย กาแฟ ละมุด)
ช่องทางตลาด
ออนไลน์และ
ระบบโลจสิ ติกส์
สาหรับสินค้า
เกษตรจากชมุ ชน
3.6 พฒั นาแหลง่
นา้ เพื่อการเกษตร
อย่างเปน็ ระบบ
เครอื ข่ายท่ี
เช่อื มโยง เพือ่
45
งบประมาณ หว่ งโซค่ ณุ คา่ หน่วย
พ้ืนท่ี (Value-chain) งาน
2565 รวม 2563 - 2565 เปา้ ต้น กลาง ปลาย หลกั /
หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. กษ. นอก กษ. สนบั
สนุน
29,450,067 - 127,019,734 - พษิ ณโุ ลก √ √ √ กสส.
สโุ ขทยั กสก.
ตาก สป.กษ.
อุตรดิตถ์ กวก.พด.
เพชรบรู ณ์ พด ศูนย์
พจิ ิตร สง่ เสริมฯ
กาแพงเพ
(กสก.)
ชร ชป.
กสก.
(ศทอ.
พล) สศก.
มทร.
ล้านนา
ตาก
อตก.
พณ.
62,730,968 - 173,681,386 - พษิ ณุโลก √ √ √ กสก.
สโุ ขทัย สป.กษ.
ตาก วทิ ยาลยั
อุตรดิตถ์ เกษตร
เพชรบรู ณ์ และ
พิจติ ร เทคโนโล
อทุ ัยธานี
ยีตาก
พด.
กวก.
กสก.
(ศทอ.
พล.)
ยทุ ธศาสตร/์ กจิ กรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง
กษ. กษ. นอก กษ.
แกไ้ ขปัญหาการ 4) พฒั นามาตรฐานการผลติ และสร้าง - 4,091,500 -
ขาดแคลนนา้ ของ มลู คา่ เพม่ิ ผลติ ภณั ฑไ์ ก่พ้ืนเมอื งเพอื่
เกษตรกรในพ้ืนท่ี การแข่งขนั ดา้ นการตลาด - 105,466,400 -
นอกเขต
ชลประทาน 5) พฒั นาคุณภาพโคเนอื้ และ
ผลติ ภณั ฑ์
6) พัฒนาศกั ยภาพการผลติ สตั วน์ า้ ใน - 7,869,000 -
ระบบรูปแบบมาตรฐาน GAP
46
งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย
พนื้ ที่ (Value-chain) งาน
2565 รวม 2563 - 2565 เป้า ต้น กลาง ปลาย หลกั /
หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. กษ. นอก กษ. สนบั
สนนุ
4,091,500 - 8,183,000 - 9 √ √ √ กปศ./
จงั หวัด ปศข/
ภาค ปศจ
เหนือ
ตอนล่าง
92,504,400 - 197,970,800 - ตาก √ √ √ กปศ./
สโุ ขทัย ปศข/
ปศจ
เทคโน
โลยีราช
มงคล
ล้านนา
ตาก
ศูนยว์ ิจยั
บารุง
พนั ธ์สุ ัตว์
ตาก
ปศ จ.
ตาก
7,869,000 - 15,738,000 - 9 √ √ √ กปม.
จังหวัด
ภาค
เหนือ
ตอนลา่ ง
ยทุ ธศาสตร์/ กิจกรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ.
- กษ. นอก กษ.
7) ส่งเสริมและพฒั นาการเลย้ี งปลาใน 1,395,000 -
นาขา้ วอนิ ทรียใ์ นพ้ืนทภ่ี าคเหนอื
ตอนลา่ ง
8) พัฒนาระบบการผลติ เกษตร - 14,900,000 -
ปลอดภัย "เกษตรทฤษฎใี หม่ (5 -
ประสาน สบื สานเกษตรทฤษฎใี หม่ -
-
ถวายในหลวง)"
-
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 5 อนุรกั ษแ์ ละฟนื้ ฟปู ่าตน้ น้าใหค้ งความ 1,306,073,800 4,026,610,780
-
สมบูรณ์ จดั ระบบบริหารจดั การนา้ อย่างเหมาะสมและ -
เชอื่ มโยงพน้ื ทเี่ กษตรใหท้ ัว่ ถึง ป้องกนั และแก้ไขปญั หา
มลพษิ หมอกควนั อยา่ งยัง่ ยืน
3. โครงการบริหารจัดการ 1,306,073,800 3,886,410,000
ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
3.1 การบริหารจดั การ 1,306,073,800 3,886,410,000
ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม
1) ฟื้นฟู อนุรกั ษป์ า่ ต้นน้า 1,306,073,800 3,886,410,000
4. โครงการแกไ้ ขปัญหาหมอกควนั - 140,200,780
และไฟป่าภาคการเกษตร - 55,500,000
4.1 โครงการปรับเปล่ียนพื้นทท่ี า
การเกษตรเพ่ือลดการปลกู พืช
เชงิ เด่ียว
47
งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หน่วย
พ้นื ท่ี (Value-chain) งาน
2565 รวม 2563 - 2565 เปา้ ต้น กลาง ปลาย หลกั /
กษ. นอก กษ. หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. 1,953,000 สนบั
สนนุ
558,000 - 9 √ √ √ กปม.
จงั หวัด
ภาค
เหนอื
ตอนล่าง
13,400,000 - 28,300,000 - พษิ ณโุ ลก √ √ √ สป.กษ.
สโุ ขทยั
ตาก
5,052,333,000 - 10,385,017,580 -
5,052,333,000 - 10,244,816,800 - ชป
5,052,333,000 - 10,244,816,800
5,052,333,000 - 10,244,816,800 - พด.
- 140,200,780 กว.กสส.
- - 55,500,000 - 17 √ สป.กษ.
- จังหวดั สปก.พณ.
สธ.ทส.อว
-
-
ยทุ ธศาสตร์/ กิจกรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ. กษ. นอก กษ.
1) การจัดทานาข้นั บนั ได/ระบบสง่ นา้ 55,500,000
ให้กับเกษตรกรทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ
แกป้ ญั หาหมอกควันและไฟปา่ ภาค
การเกษตร
4.2 โครงการสาธิตและถา่ ยทอดองค์ - 33,221,450 -
-
ความรูเ้ พ่ือใช้เศษวสั ดุการเผา -
-
1) การสง่ เสรมิ การไถกลบและการ - 15,000,000
-
ผลิตปยุ๋ อินทรยี ์ เพื่อปอ้ งกนั หมอกและ
ควนั ไฟในพน้ื ทเี่ กษตรภาคเหนอื
2) การสร้างความตระหนักให้ชุมชนใน - 3,221,450
การปลอดการเผา และลดพน้ื ทก่ี ารเผา
ดว้ ยการปลูกไม้ผลไมย้ ืน
3) การจดั การองค์ความรกู้ ารใช้ - 15,000,000
ประโยชน์พืช-อาหารและสมนุ ไพร
พืน้ บ้านตามแนวพระราชดารใิ นการ
อนุรักษแ์ ละฟื้นฟูทรัพยากรปา่ ไมโ้ ดย
ชุมชน(การจดั การป่าชมุ ชนเพื่อลด
ปัญหาหมอกควนั ไฟปา่ (พร.)
4.3 โครงการเพ่ือสร้างศูนย์การเรียนรดู้ ้าน - 51,479,330
การจัดการวสั ดุเกษตรทดแทนการเผาและ
ต้นแบบชมุ ชนเกษตรปลอดการเผา
48
งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หน่วย
2565
พน้ื ที่ (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ. หลกั /
รวม 2563 - 2565 เปา้ ตน้ กลาง ปลาย
-- หมาย ทาง ทาง ทาง สนบั
กษ. นอก กษ. สนนุ
55,500,000 - ชม.มส. √
ชร.
พร.นน.
ตก.
1,100
ไร่
33,221,450 -
- - 15,000,000 - 9 จว. √
18,000
ไร่
- - 3,221,450 - ชม. √
ลพ.
มส.
- - 15,000,000 - พร. √
30
ชุมชน
- - 51,479,330 -
ยทุ ธศาสตร์/ กิจกรรมโครงการ 2563 2564
แนวทาง กษ.
- กษ. นอก กษ.
1) โครงการแกไ้ ขปัญหาหมอกควนั - 5,342,430 -
และไฟปา่ ภาคการเกษตร (13 อาเภอ
/810 ราย/4,550 ไร่) - 6,000,000 -
2) ตงั้ ศูนยเ์ รยี นรู้เพื่อแปรรปู /เพมิ่ - 12,111,900 -
มลู ค่าจากวสั ดเุ หลือใช้จากการเกษตร
ทดแทนการเผา (9 อาเภอ /9 ชมุ ชน) - 8,025,000 -
3) การสร้างชมุ ชนเพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ วสั ดุ 20,000,000 -
เหลือใช้จากการเกษตรทดแทนการเผา
(เครอ่ื งผลติ กอ้ นชวี มวล 15 เคร่อื ง)
4) ชมุ ชนตน้ แบบในการเปลยี่ นวสั ดุ
เหลือใช้จากการเกษตร เปน็ เงินสรา้ ง
รายได้ให้เกษตร (9 อาเภอ /9 ชมุ ชน)
5) สร้างชมุ ชนเกษตรกรรมย่งั ยนื ใน
พ้ืนทส่ี ูง โดยสง่ เสรมิ ขยายผลเกษตร
อนิ ทรียใ์ นรปู แบบวนเกษตรและ
เกษตรผสมผสาน (8 อาเภอ /8
ชุมชน)
49
งบประมาณ ห่วงโซค่ ณุ คา่ หนว่ ย
2565 พืน้ ท่ี (Value-chain) งาน
กษ. นอก กษ.
-- รวม 2563 - 2565 เปา้ ต้น กลาง ปลาย หลกั /
หมาย ทาง ทาง ทาง
กษ. นอก กษ. สนบั
สนุน
5,342,430 - ลป. √
- - 6,000,000 - พย. √
- - 12,111,900 - นน. √
- - 8,025,000 - ตก. √
- - 20,000,000 - ชร. √
50
8.3 รายละเอียดโครงการ (Project idea) แผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นที่ระดับภาค กระทรวงเกษตร
และสหกรณ์ (ภาคเหนอื )
ภาคเหนือมีแผนงานบูรณาการพัฒนาพื้นท่ีระดับภาค (ภาคเหนือ) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ปี 2564 - 2565 ดังนี้
8.3.1 รายละเอียดโครงการส่งเสริมและพัฒนาเกษตรอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่มูลค่าในพื้นท่ี ภาคเหนือ
ตอนบน
1. ชือ่ โครงการ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาเกษตรอนิ ทรยี ต์ ลอดห่วงโซม่ ูลคา่ ในพ้นื ท่ภี าคเหนือตอนบน
2. หลักการและเหตผุ ล
ตาม ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี พ.ศ.2561-2580) วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง
ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
ภาคเกษตร ได้แก่ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 : ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน กาหนดแนวทางการพัฒนา
เกษตรสู่การสร้างมูลค่าเพ่ิม เน้นเกษตรคุณภาพสูงและขับเคล่ือนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ให้ความสาคัญ
กับการเพม่ิ ผลติ ภาพการผลติ ทงั้ เชิงปรมิ าณและมูลค่าและความหลากหลายของสินค้าเกษตร เพ่ือให้เกษตรกรมี
รายไดส้ งู ขึน้ โดยแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ในยุทธศาสตรท์ ่ี 9 : การพัฒนาภาค เมือง
และพื้นที่เศรษฐกิจ ได้กาหนดยุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนาภาคเหนือ โดยมีเป้าหมาย “พัฒนาเป็น
ฐานเศรษฐกจิ สรา้ งสรรคม์ ูลค่าสงู เช่ือมโยงเศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง” ประกอบกับ
แผนพัฒนาภาคเหนือ ยุทธศาสตร์ที่ 3 : ยกระดับเป็นฐานการผลติ เกษตรอินทรยี ์และเกษตรปลอดภัย เช่ือมโยง
สู่อุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปท่ีสร้างมูลค่าสูง พัฒนาภาคเหนือตอนบนเป็นฐานผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์
ในขณะที่ยุทธศาสตร์เกษตรอินทรีย์แห่งชาติ 2560-2564 ได้กาหนดยุทธศาสตร์ 4 ด้าน ได้แก่ 1.ส่งเสริม
การวิจัย การสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ และนวัตกรรมเกษตรอินทรีย์ 2.พัฒนาการผลิตสินค้าและบริการ
เกษตรอินทรีย์ 3.พัฒนาการตลาดและบริการและการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 4.การขับเคลื่อนเกษตร
อนิ ทรีย์
ภาคเหนือตอนบนเป็นแหล่งผลิตที่อยู่ต้นน้าลาธาร มีภูมิประเทศ ภูมิอากาศท่ีสามารถผลิตสินค้า
อาหารที่หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นข้าว พืชไร่ ไม้ผล พืชผัก ปศุสัตว์และประมง แต่ก็ยังมีการใช้สารเคมีในการ
ผลติ เกนิ ความเหมาะสม ทั้งนี้ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน มหาวิทยาลัยในพ้ืนท่ี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และเครือข่ายภาคประชาสังคมได้มีการขับเคล่ือนเกษตรอินทรีย์มาเป็นเวลาพอสมควรแล้วแต่ยังมีข้อจากัดใน
เรื่องการบูรณาการการทางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ อีกทั้งข้อจากัดด้านงบประมาณของแต่ละหน่วยงาน จึง
ทาให้เกษตรอินทรีย์ไม่สามารถเติบโตได้เท่าท่ีควร ดังน้ันการกาหนดยุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนาภาคเหนือ
โดยให้ภาคเหนือตอนบนเป็นฐานการผลิตเกษตรอินทรีย์ จึงเป็นส่วนสาคัญท่ีจะทาให้การขับเคล่ือนเกษตร
อินทรีย์เปน็ ไปอยา่ งมีระบบและบรรลเุ ปา้ หมายไดร้ วดเรว็ ข้ึน
ปจั จุบันสินคา้ เกษตรอินทรียข์ องภาคเหนือตอนบนยังไม่มีความหลากหลายท่ีจะตอบสนองต่อผู้บริโภค
ส่วนใหญ่ยังเป็นการขายสินค้าขั้นปฐม การตลาดจึงยังคงอยู่ในวงจากัด ในขณะที่รูปแบบการบริโภคของ
ผู้บริโภคยุคใหม่ต้องการสินค้าท่ีมีคุณภาพ มีมาตรฐานการรับรองที่ม่ันใจได้ และสินค้าที่พร้อมรับประทาน
(Ready to eat) ดังนน้ั การขบั เคลื่อนเกษตรอินทรีย์ในระยะต่อไปจึงควรให้ความสาคัญในเรื่องดังกล่าว โดยใช้
การบูรณาการในทุกภาคส่วนให้มีการเชื่อมโยงอย่างครบวงจรตั้งแต่ฐานการผลิต (ต้นทาง) การแปรรูป/เพ่ิม
51
มูลค่า (กลางทาง) การจัดการด้านการตลาด (ปลายทาง) ดังน้ันการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก
แผนพัฒนาภาคจะช่วยให้การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ภาคเหนือตอนบนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสทิ ธผิ ล ทั้งในรูปแบบการพฒั นาเกษตรอนิ ทรีย์รายสินค้าและเกษตรอินทรีย์วิถีชุมชน เพ่ือทาให้เกษตรกรมี
รายได้ สุขภาพ ความสามารถในการพ่ึงพาตนเองที่ดีข้ึน ระบบนิเวศทางการเกษตรคืนสู่ความสมดุล ตลอดจน
ประชาชนได้บริโภคอาหารทมี่ ีคุณภาพ สะอาดและปลอดภยั
3. วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ
1. เพ่ือสง่ เสริมและพฒั นาการผลติ การแปรรปู และกระจายองค์ความรู้เกษตรอนิ ทรยี ล์ งสู่พน้ื ท่ี
ภาคเหนือตอนบน
2. เพอื่ สรา้ งต้นแบบเกษตรอินทรยี ์รายสินคา้ และเกษตรอินทรีย์วถิ ีชุมชน ต้งั แตต่ น้ ทาง-กลางทาง-
ปลายทาง นาไปสแู่ รงบันดาลใจสาหรับผู้ที่ต้องการปรบั เปล่ยี นเขา้ สูร่ ะบบเกษตรอินทรยี ต์ ่อไป
4. เป้าหมายและตวั ชว้ี ัดความสาเร็จของโครงการ
1. เกษตรอนิ ทรียต์ ้นแบบแตล่ ะสาขา อยา่ งนอ้ ยสาขาละ 1 จุด และเกษตรอนิ ทรียว์ ถิ ีชุมชน อย่างน้อย
160 ชมุ ชน
2. เกษตรกรท่ีเขา้ สู่การปรบั เปลย่ี นเข้าส่รู ะบบเกษตรอนิ ทรยี ์ และผ่านมาตรฐาน ในปที ่ี 1 ไมต่ า่ กว่า
ร้อยละ 70 ใน 8 จงั หวดั ภาคเหนอื
3. ชนดิ สนิ คา้ เกษตรอินทรียเ์ พ่มิ ขน้ึ จานวน 7 ชนดิ
4. สนิ คา้ และผลิตภณั ฑเ์ กษตรอินทรียท์ ่ีสามารถเพิ่มมูลค่าไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จานวนไม่ต่ากว่า 3
ชนดิ
5. ความเชื่อมโยงกับทศิ ทางการพัฒนาภาค
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 ยกระดบั ฐานการผลติ เกษตรอนิ ทรีย์ และเกษตรปลอดภยั สู่อุตสาหกรรมเกษตรแปร
รูปท่สี รา้ งมลู ค่าเพิ่มสงู
6. กิจกรรมทส่ี าคัญของโครงการ
กิจกรรมพฒั นาเพ่มิ ศักยภาพด่านสนิ ค้าเกษตร
1. ปรบั กระบวนทศั น์เข้าส่รู ะบบเกษตรอนิ ทร์
2. ถ่ายทอดองคค์ วามร้ใู นการผลิต แกก่ ารเกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรเป้าหมาย
3. สนบั สนุนปัจจยั การผลติ ทจ่ี าเป็นแกก่ ารผลติ แบบเกษตรอนิ ทรยี ์
4. สนบั สนุนการจัดตงั้ ฟารม์ ตน้ แบบเกษตรอินทรียใ์ นแต่ละสาขา
5. สนบั สนุนระบบและการตรวจรบั รองมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
6. สนบั สนนุ เกษตรกรสู่ผู้ประกอบการแปรรูปอาหารอินทรีย์ระดับต้น (Micro SMEs Start up)
และระดับกลาง
7. เช่ือมโยงเครือข่ายผู้ผลิต ผู้แปรรูป ตลาด และนาเสนอนวัตกรรม/ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จาก
เกษตรอนิ ทรยี ์
8. ติดตามประสานการดาเนินงานเกษตรอนิ ทรียใ์ นภาคเหนือตอนบน
52
7. หน่วยงานที่รับผดิ ชอบ
หน่วยงาน : กรมพัฒนาทด่ี ิน (หนว่ ยงานหลกั : เกษตรอินทรีย์รายสนิ คา้ ) สา้ นกั งานเกษตรและสหกรณ์
จงั หวดั (หน่วยงานหลัก: เกษตรอินทรยี ์วิถชี มุ ชน)
หน่วยงานบรู ณาการ : สว่ นราชการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ใน 8 จงั หวดั /สว่ นราชการอื่นๆ ที่
เก่ียวข้อง (พณ. สธ. ท่องเที่ยว ฯลฯ)/องค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.)/ภาคเอกชน/ภาคประชาสังคม/
มหาวิทยาลัยและสถานศึกษาในพนื้ ที่/สื่อสารมวลชน
8. ระยะเวลาในการดาเนินงาน
ปี 2564 -2565
9. งบประมาณ
งบประมาณ ปี 2564-2565 รวมทงั้ สิ้น 1,034.450 .ลา้ นบาท
- งบประมาณปี 2564 จานวน 856.583 บาท
- งบประมาณปี 2565 จานวน 177.867 บาท
10. แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ
1. เตรยี มความพร้อมผู้ผลิต ผแู้ ปรรูป สนิ ค้าเกษตรอินทรีย์
2. ถา่ ยทอดเทคโนโลยี นวตั กรรมและสนบั สนนุ ปัจจัยการผลิตทจ่ี าเป็นในการผลิตเกษตรอินทรีย์
3. ยกระดับการสร้างมูลคา่ เพิ่มในสินคา้ และผลิตภณั ฑ์เกษตรอินทรีย์
4. สรา้ งตน้ แบบการผลิตระบบเกษตรอนิ ทรียร์ ายสาขา/รายชุมชน
5. สร้างผู้ตรวจเพ่อื ตรวจรับรองแหลง่ ผลติ และห้องปฏิบัติการเพ่ือตรวจวิเคราะห์สารพิษตกค้าง
6. จัดทาระบบเครือข่ายเกษตรอินทรีย์ต้ังแตต่ ้นทาง-กลางทาง-ปลายทาง และเผยแพรป่ ระชาสัมพันธ์
นวตั กรรม สนิ ค้า และผลิตภัณฑ์เกษตรอนิ ทรยี ใ์ หม่ๆ ท่ีเกิดข้นึ
7. ประสานงาน ตดิ ตาม ประเมนิ ผลเกษตรอนิ ทรยี ์ภาคเหนือตอนบน
11. ผลผลิต (Output)
1. เกษตรกรทีเ่ ข้าร่วมโครงการได้รบั การส่งเสรมิ /ถ่ายทอดเทคโนโลยี/ได้รบั ปจั จยั การผลิต
2. พน้ื ที่ ชนิดสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์แปรรปู จากสนิ คา้ เกษตรอินทรยี ์แบบใหมเ่ พมิ่ ขึน้
3. ต้นแบบการผลิต การตลาดเกษตรอินทรยี ์รายสาขา รายสินค้า รายชมุ ชน
12. ผลผลติ ท่ีคาดว่าจะไดร้ ับ (Outcome)
1. ไดน้ าความรทู้ ไี่ ด้จากการถ่ายทอดเทคโนโลยีฯไปทาการผลิต/แปรรูปสนิ ค้าเกษตรอินทรยี เ์ พ่ือสรา้ ง
มลู ค่าเพ่ิม
2. ศูนย์ต้นแบบเกษตรอินทรีย์รายสาขาสามารถขยายผลไปสเู่ กษตรกรรายใหม่
3. การตลาดสินคา้ เกษตรอินทรีย์คล่องตัวมากข้นึ
13. ผลสัมฤทธ์ิ (Impact)
1. รายได้ของเกษตรกรดขี น้ึ
2. สุขภาพของผผู้ ลิตและผ้บู ริโภคดขี ึน้
3. เกษตรกรสามารถลดการพึ่งพาปัจจัยตา่ งๆจากภายนอก สามารถพ่ึงพาตนเองไดม้ ากข้ึน
53
4. สภาพแวดล้อมของพน้ื ท่ีเกษตรกรรมโดยรวมดีขึ้น
5. นาสูเ่ กษตรกรรมทย่ี ง่ั ยนื
8.3.2 รายละเอียดโครงการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟปา่ ภาคการเกษตร
1. ช่ือโครงการ โครงการแก้ไขปญั หาหมอกควันและไฟป่าภาคการเกษตร
2. ความสาคัญของโครงการ หลกั การและเหตุผล
ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ประสบปัญหามลพิษจากหมอกควันมาหลายปี ทั้งจากไฟป่าและ
การเผาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เช่น เศษวัสดุเหลือใช้จากข้าว ข้าวโพด ฯลฯ ส่งผลต่อสุขภาพอนามัย
ส่ิงแวดล้อม และการท่องเท่ียว เป็นอย่างมาก ทิศทางการพัฒนาภาคเหนือ จึงให้ความสาคัญใน ยุทธศาสตร์ที่
5 "การอนุรักษ์และฟื้นฟูป่าต้นน้าให้คงความสมบูรณ์ จัดระบบบริหารจัดการน้าอย่างเหมาะสมและเชื่อมโยง
พืนท่ีเกษตรให้ทั่วถึง ป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษหมอกควันอย่างย่ังยืน" ในระยะท่ีผ่านมาการแก้ปัญหา
หมอกควันทางภาคเหนือ ยังไม่ประสบผลสาเร็จเท่าที่ควร ทั้งน้ีเนื่องจากการขาดความรู้ ความเข้าใจ การ
ตระหนักในผลเสียของการเผา ตลอดจนถึงการนาเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาแปรรูปให้เกิดประโยชน์มี
น้อยมาก ดังนั้นเพ่ือให้การแก้ปัญหาหมอกควันได้ผลรวดเร็วขึ้น จึงควรมีการขับเคล่ือนอย่างเป็นระบบต้ังแต่
ต้นนา้ กลางน้า ปลายน้า
พื้นท่ีต้นน้าเดิมเกษตรกรทาการเกษตรในลักษณะการปลูกพืชเชิงเดี่ยว จึงทาการเผาตอซังเพื่อเพ่ือ
ความรวดเร็วในการเตรียมดินสาหรับการเพาะปลูกในรอบต่อไป ส่งผลต่อมลพิษทางหมอกคัน แนวทางการ
แก้ปัญหาความควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการทาการเกษตรโดยลดการทาการเกษตรแบบพืชเชิงเด่ียวมาทา
การเกษตรแบบผสมผสาน/ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น กลางน้าสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดองค์ความรู้โดยนา
เทคโนโลยี และนวัตกรรม ใช้วัสดุเหลือใช้จากการเกษตรนาไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบอื่นๆ เช่น การทาฟาง
อัดก้อน การนาไปเพาะเห็ด รวมถึงนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาสร้างมูลค่าเพ่ิม ในส่วนของปลายน้า
สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาชุมชน สร้างต้นแบบให้สามารถถ่ายทอดลงสู่ชุมชนในการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์
ใหม่ๆ ท่ีจะสามารถสร้างรายได้ให้เกษตรกรและพัฒนาเป็นชุมชุนต้นแบบ ลด ละเลิก การเผา กระจายลงสู่
ชุมชนอย่างท่ัวถึง ซ่ึงจะทาให้เกษตรกรและชุมชนมีรายได้และคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนโดยสามารถเลิกการเผาได้
อยา่ งถาวร
3.วตั ถุประสงคข์ องโครงการ
1. เพื่อลดการปลูกพืชเชงิ เดี่ยวและปรบั เปลีย่ นมาทาการเกษตรแบบผสมผสาน
2. เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ในการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาสร้าง
มลู ค่าเพม่ิ
3. เพือ่ สร้างต้นแบบชุมชนเกษตรปลอดการเผา
4. เป้าหมายและตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ของโครงการ
1. จุด Hot spot และปญั หาหมอกควนั ลดลงอย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 30
2. จานวนวันทม่ี ีค่า PM (10) ไม่เกิน 15 วัน
3. เกษตรกรสามารถสร้างรายได้จากการนาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรมาใช้ประโยชน์ โดยมีรายได้
เพิม่ ขึ้นรอ้ ยละ 20
54
5.ความเชอ่ื มโยงกับทิศทางการพัฒนาภาค
ยุทธศาสตร์ท่ี 5 อนุรกั ษแ์ ละฟ้นื ฟูปา่ ตน้ น้าใหค้ งความสมบรู ณ์ จัดระบบบริหารจดั การนา้ อย่าง
เหมาะสมและเช่อื มโยงพืน้ ที่เกษตรให้ทั่วถึง ป้องกนั และแก้ไขปญั หามลพิษหมอกควนั อยา่ งยั่งยืน
6.กจิ กรรมทสี่ าคญั ของโครงการ
กิจกรรมหลักท่ี 1 การจัดทานาข้ันบันได/ระบบส่งน้าให้กับเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการแก้ปัญหา
หมอกควันและไฟป่าภาคการเกษตร
- จัดประชุมช้ีแจงแนวทางการดาเนินงาน
- จัดประชุมกลมุ่ เกษตรกรทเี่ ขา้ รว่ มโครงการ
- จัดเวทีชแ้ี จงการปรับเปลย่ี นพ้ืนที่ด้วยการจัดทาระบบนาข้นั บันได/ระบบส่งน้า
- ออกแบบระบบนาขน้ั บันได/ระบบส่งน้า
- จัดทาระบบนาขน้ั บนั ได/ระบบสง่ นา้
- สนบั สนุนเมล็ดพันธ์แุ ละพนั ธไ์ มผ้ ล/ไม้ยนื ต้น
- ส่งเสริมให้เกษตรกรทาการเกษตรแบบผสมผสาน และลดการเผาด้วยการจัดทาปุ๋ยหมักติดตามและ
ประเมนิ ผล
กจิ กรรมหลักท่ี 2 โครงการสง่ เสรมิ การไถกลบและการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เพื่อป้องกันหมอกและควันไฟ
ในพื้นท่ีเกษตรภาคเหนอื
- กจิ กรรมไถกลบตอซงั เพื่อป้องกนั หมอกควนั ในพื้นท่เี กษตร
- คดั เลอื กพืน้ ท่เี ป้าหมาย และวางแผนการดาเนนิ งาน
- ประชาสัมพันธ์โครงการฯ
- รบั สมัครและคดั เลอื กเกษตรกรผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการ
- ประชมุ ชี้แจง และอบรมให้ความรผู้ ลเสยี จากการเผาวัสดทุ างการเกษตร
- จดั กิจกรรมรณรงคไ์ ถกลบในแปลงสาธติ
- เกบ็ พกิ ัดจุดไถกลบในพ้ืนท่ี
- เกบ็ ตัวอย่างดินก่อนและหลังไถกลบ
- ดาเนินการจดั ทาแบบสารวจในพืน้ ท่ีเกษตร
- ตดิ ตามและเฝา้ ระวังจุดความรอ้ นในพืน้ ที่
- กจิ กรรมจดั ทาปุ๋ยหมกั จากวสั ดทุ างการเกษตร
- จัดทาปุ๋ยหมักจากวัสดทุ างการเกษตร
กิจกรรมหลักท่ี 3 การสร้างความตระหนักให้ชุมชนในการปลอดการเผา และลดพื้นท่ีการเผาด้วยการ
ปลูกไม้ผลไม้ยนื ต้น
- สร้างการรับรู้เรื่องเกี่ยวกับผลเสียของการเผาเศษวัสดุการเกษตรและกระตุ้นจิตสานึกในการลด ละ
เลกิ การเผา
- สนบั สนุนการปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมจากการปลูกพชื เชงิ เด่ยี วเป็นการปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น
55
- ส่งเสรมิ และถ่ายทอดเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการนาวัสดเุ หลือใชท้ างการเกษตรมาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์ เช่น การนาฟางขา้ วมาทาก้อนเหด็ กระดาษ การทาถา่ นซากซงั ข้าวโพด การทาอาหารหมัก
โค การทาปุ๋ยหมกั ถา่ นชีวมวล อาหารสตั ว์ การผลติ ป๋ยุ อินทรีย์ เปน็ ตน้
- ตดิ ตามและประเมนิ ผล
กิจกรรมหลักท่ี 4 การจัดการองค์ความรู้การใช้ประโยชน์พืช-อาหารและสมุนไพรพื้นบ้านตามแนว
พระราชดาริในการอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้โดยชุมชน (การจัดการป่าชุมชนเพื่อลดปัญหาหมอก
ควันไฟปา่ จังหวดั แพร่
กจิ กรรมย่อยที่ 1 สร้างและพัฒนาทีมการจัดการความรู้ด้านพืชอาหาร-สมุนไพร ท้ังในส่วนของ
กรอบคิดการทางานร่วมกัน การเชื่อมโยงกับระบบการจัดการที่ดินและทรัพยากรโดยชุมชนจังหวัดแพร่ และ
ภาคีเครอื ข่ายภายในจงั หวดั เง่อื นไขข้อตกลงร่วม และแผนการพัฒนางาน พฒั นาทมี รว่ มกัน
กิจกรรมย่อยท่ี 2 พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศในการจัดการความรู้การพัฒนาแหล่งอนุรักษ์
และการจดั การใชป้ ระโยชน์พชื อาหารและสมนุ ไพรในการจดั การท่ดี นิ และทรพั ยากรโดยชุมชนจังหวัดแพร่ ตาม
ศาสตร์พระราชา(แพรโ่ มเดล) ในการจัดการความรู้สกู่ ารขยายผล
กิจกรรมย่อยท่ี 3 สนับสนุนให้เกิดการนาเอาชุดความรู้ไปขยายผลต่อกลุ่มเป้าหมาย ผ่านกลไก
การนาความร้สู ู่การขยายผล (Change Agent) จานวน 20 ชุมชน
กิจกรรมหลกั ที่ 5 โครงการแก้ไขปญั หาหมอกควันและไฟป่าภาคการเกษตร จงั หวดั ลาปาง
- สร้างชุมชนเกษตรปลอดการเผาเพื่อเป็นต้นแบบในการถ่ายทอดความรู้ปรับเปล่ียนการผลิตจากพืช
เชงิ เดยี่ วเป็นการปลกู ไม้ผล/ไมย้ ืนตน้
- สนบั สนุนตน้ พันธุ์ไมผ้ ล/ไมย้ นื ต้นเพื่อสนบั สนนุ ในการปรับเปลย่ี นพฤติกรรมการปลกู พชื
- ส่งเสริมและถา่ ยทอดเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการนาวัสดุเหลอื ใช้ทางการเกษตรมาประยุกต์ใช้ให้เกิด
ประโยชน์
- รณรงค์ให้ความรู้การดูแลสุขภาพจากภาวะหมอกควันและลดการเผาเพื่อสุขภาพคนลาปาง 13
อาเภอ
กจิ กรรมหลักท่ี 6 ตงั้ ศูนยเ์ รียนรูเ้ พ่อื แปรรูป/เพิ่มมูลค่าจากวัสดุเหลือใชจ้ ากการเกษตรทดแทนการเผา
กิจกรรมย่อยท่ี 1 จัดตั้งต้ังศูนย์เรียนรู้เพ่ือแปรรูป/เพ่ิมมูลค่าจากวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร
ทดแทนการเผา โดยใช้ ศพก. เปน็ ตวั ขบั เคล่ือน
- สรา้ งเครือข่ายชมุ ชนเกษตรกรทาการเกษตรปลอดการเผาตน้ แบบเช่อื มโยงระดบั ตาบล
กจิ กรรมย่อยท่ี 2 สรา้ งเครอื ข่ายชุมชนเกษตรปลอดการเผา
- จดั งานวนั รณรงค์ลดการเผาในท้องถิ่น เพอ่ื ให้ความรแู้ ละรณรงค์ตระหนักถึงปัญหาหมอกควัน
ถา่ ยทอดเผยแพร่ความรู้ การใช้ประโยชน์ การจดั การวสั ดเุ หลือใช้ทางการเกษตร และนวัตกรรมการ
สร้างมูลค่าเพิ่มจากวัสดุเหลือใช้ จัดทาเป็นศูนย์เรียนรู้การจัดการวัสดุการเกษตรทดแทนการเผา ในทุกอาเภอ
โดยใช้ ศพก. ขบั เคล่ือน
กิจกรรมหลักที่ 7 การสรา้ งชมุ ชนเพือ่ เพมิ่ มลู คา่ วัสดเุ หลือใช้จากการเกษตรทดแทนการเผา
กิจกรรมยอ่ ยท่ี 1 การบริหารจัดการเศษวัสดุทางการเกษตรทดแทนการเผาด้วยการสร้างอาชีพ
การเพาะเหด็
56
กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 2 ลดการเผาเปลอื กขา้ วโพดดว้ ยการเปลย่ี นเปน็ อาหารโค
กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 3 การสร้างเคร่อื งผลติ ก้อนเชื้อเพลิงชีวมวลต้นแบบให้กับกลุ่มเกษตรกร จานวน
15 เครื่อง
กิจกรรมย่อยท่ี 4 การวจิ ยั และนวัตกรรมเพือ่ สรา้ งมูลคา่ เพม่ิ วสั ดุเหลือใช้ทางการเกษตร
กจิ กรรมหลักท่ี 8 ชมุ ชนต้นแบบในการเปลย่ี นวัสดุเหลอื ใชจ้ ากการเกษตร เป็นเงนิ สรา้ งรายไดใ้ หเ้ กษตร
กิจกรรมย่อยที่ 1 การรวมกลุ่มเกษตรกรในแต่ละอาเภอเพื่อนาวัสดุที่เหลือใช้จากการเกษตรมา
แลกเงนิ
กิจกรรมย่อยที่ 2 การสร้างเครื่องผลิตก้อนเชื้อเพลิงชีวมวลต้นแบบให้กับกลุ่มเกษตรกร จานวน
9 เคร่ือง
กิจกรรมย่อยที่ 3 การสง่ เสรมิ เปลยี่ นวสั ดุเหลือใช้จากการเกษตรมาสรา้ งรายได้ใหเ้ กษตรกร
กิจกรรมหลักท่ี 9 สร้างชุมชนเกษตรกรรมย่ังยืนในพื้นท่ีสูง โดยส่งเสริมขยายผลเกษตรอินทรีย์ใน
รูปแบบวนเกษตรและเกษตรผสมผสาน
กิจกรรมย่อยที่ 1 จัดเวทีชุมชนเพื่อทาข้อมูลทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และ
อ่นื ๆ ร่วมกนั
กิจกรรมย่อยที่ 2 พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ของชุมชนให้เป็นศูนย์กลางข้อมูลและการแก้ไขปัญหา
ร่วมกนั ระหวา่ งชมุ ชน ภาครฐั และภาครี ่วมทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
กิจกรรมย่อยที่ 3 ศกึ ษาวจิ ยั เพือ่ พฒั นาผลิตภัณฑ์ของชุมชนให้มีความเป็นอัตลักษณ์ สร้างคุณค่า
ผลติ ภัณฑ์ใหเ้ หมาะสมตอบสนองตอ่ ตลาด และมีมลู คา่ สูง
กิจกรรมย่อยท่ี 4 สนับสนุนปัจจัยการผลิต รวมถึงเคร่ืองจักร หรือเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมต่อ
ชมุ ชน ตง้ั แตก่ ารผลิต จนถงึ การแปรรูป และยกระดบั สูเ่ ชิงพาณชิ ย์
กิจกรรมยอ่ ยที่ 5 พัฒนาส่กู ารรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์ที่เหมาะสมกับชุมชน และเชื่อมโยง
กับตลาดให้กวา้ งขวางมากข้นึ
7.หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ
หน่วยงานด้าเนินการหลัก : กรมพัฒนาท่ีดิน กรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร เกษตรและ
สหกรณจ์ ังหวัด
หน่วยงานสนับสนุน : สานักงานปฏิรูปที่ดินเพ่ือเกษตรกรรม สานักงานสาธารณสุข องค์การบริหาร
สว่ นจงั หวดั พาณชิ จงั หวดั สานักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม มหาวทิ ยาลัยในพนื้ ท่ที ี่เก่ยี วขอ้ ง
8.ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน
ต้ังแต่ เดอื นตลุ าคม ปี 2563 ถึง เดือนกนั ยายน ปี 2564
9. งบประมาณ
รวมทั้งหมด 139,700,780บาท
กจิ กรรมหลกั ที่ 1 55,500,000 บาท
กจิ กรรมหลกั ท่ี 2 15,000,000 บาท
57
กิจกรรมหลักที่ 3 3,221,450 บาท แยกเป็น 629,500 บาท (ลาพูน) 1,291,950
บาท (แมฮ่ อ่ งสอน) 1,300,000 บาท (เชียงใหม)่
กิจกรรมหลักท่ี 4 15,000,000 บาท
กิจกรรมหลักที่ 5 5,342,430 บาท
กิจกรรมหลักท่ี 6 6,000,000 บาท
กจิ กรรมหลักที่ 7 12,111,900 บาท
กิจกรรมหลักที่ 8 8,025,000 บาท
กจิ กรรมหลกั ท่ี 9 20,000,000 บาท
10. แผนปฏบิ ตั งิ านและแผนการใชจ้ ่ายเงิน
-
11. ผลผลติ (Output)
1. นาข้นั บันไดและการทาการเกษตรแบบผสมผสาน
2. ผลผลติ จากวสั ดุเหลือใชท้ างการเกษตรมาแปรรูปและเพ่มิ มลู ค่าเพิม่
3. ตน้ แบบชุมชนเกษตรปลอดการเผา
12.ผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั (Outcome)
1. ลดปญั หาการเกิดหมอกควันในภาคการเกษตร
2. เกษตรกรมคี วามรูค้ วามเข้าใจและจติ สานึกเกี่ยวกับการเผาในพืน้ ที่การเกษตร
3. เกษตรกรมคี ุณภาพชวี ิต และสขุ ภาพชีวติ ทดี่ ขี ้ึน
13. ผลสัมฤทธ์ิ (Impact)
1. พน้ื ท่ภี าคเหนือตอนบน มีคา่ มลพิษทางอากาศอยู่ในระดบั ปกติ
2. เพิ่มรายได้ให้เกษตรกร จากการนาเศษวสั ดุเหลือใชม้ าประยุกต์ใช้ก่อใหเ้ กิดผลติ ภณั ฑ์และการต่อ
ยอดเชิงธุรกจิ
3. ลดผลกระทบท่เี คยเกิดขึ้นจากปัญหาหมอกควัน (รายได้/จานวนนักท่องเทย่ี ว)
8.3.3 รายละเอยี ดโครงการโครงการพฒั นาสินค้าท่มี ีศกั ยภาพเข้าสู่ระบบการผลิตเกษตรปลอดภัยยกระดับ
ส่เู กษตรอินทรีย์ และเกษตรแปรรูปที่สรา้ งมูลค่าเพิ่มสูง
1. ชือ่ โครงการ โครงการพัฒนาสินค้าทม่ี ศี ักยภาพเขา้ สรู่ ะบบการผลิตเกษตรปลอดภัยยกระดับสู่เกษตรอินทรีย์
และเกษตรแปรรปู ทสี่ รา้ งมูลค่าเพ่มิ สงู
2. ความสาคญั ของโครงการ / หลักการและเหตผุ ล
ในพื้นที่ภาคเหนือโดยเฉพาะจังหวัดในกลุ่มภาคเหนือตอนล่างท้ัง ๙ จังหวัด เป็นแหล่งผลิตสินค้า
เกษตรโดดเด่น มีอัตลักษณ์ และมีความสาคัญต่อภาคเศรษฐกิจของกลุ่มจังหวัด ภาค และประเทศ ในหลาย
กล่มุ ชนิดสนิ คา้ เช่น กลมุ่ สนิ คา้ พชื (ข้าว พืชผัก ไมผ้ ล : มะมว่ ง มะขามหวาน มะม่วงหิมพานต์ กล้วยหอมทอง
กล้วยตานีเพ่ือผลิตใบตอง อะโวคาโด แมคคาเดเมีย ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ สับปะรด มะปราง มะยงชิด
58
ส้มเขียวหวาน เงาะ ลองกอง ลาไย กาแฟ ละมุด) กลุ่มสินค้าปศุสัตว์ (ไก่พื้นเมือง โคเนื้อ) และกลุ่มสินค้า
ประมง ไดแ้ ก่ ปลานา้ จดื (ปลานิล ปลาเบญจพรรณ) ซ่ึงในพืน้ ทขี่ องจังหวัดในกลุ่มภาคเหนือตอนล่างมีศักยภาพ
ในการดาเนินการท้ังดา้ นการผลิต โดยท่ีผ่านมาเกษตรกรได้ดาเนินการปรับเปล่ียนการผลิตเข้าสู่ระบบการผลิต
ภายใต้มาตรฐาน GAP ในบางชนิดสินค้า และบางพ้ืนที่ แต่ยังไม่ครอบคลุมพื้นท่ีกลุ่มจังหวัดในพื้นท่ีภาคเหนือ
ตอนล่าง เนื่องจากขอ้ จากัดหลายประการ
ความเร่งดว่ น : (ระบรุ ะดบั ความจาเปน็ เรง่ ด่วน)
การพัฒนาระบบการผลิตสินค้าเกษตร ในกลุ่มชนิดสินค้าพืช ได้แก่ ข้าว พืชผัก ไม้ผล มะม่วง มะขาม
หวาน มะม่วงหิมพานต์ กล้วยหอมทอง กล้วยตานีเพื่อผลิตใบตอง อะโวคาโด แมคคาเดเมีย ทุเรียน
สม้ เขียวหวาน ส้มโอ สับปะรด มะปราง มะยงชิด ส้มเขยี วหวาน เงาะ ลองกอง ลาไย กาแฟ ละมุด) กลุ่มสินค้า
ปศุสตั ว์ (ไก่พืน้ เมือง โคเนื้อ) และกลมุ่ สินค้าประมง (ปลาน้าจืด) ในพื้นท่ีจังหวัดเหนือตอนล่าง โดยการส่งเสริม
การต่อยอดการผลิต การพัฒนาด้านการบริหารจัดการกลุ่มเพ่ือสร้างความเข้มแข็งของสถาบันเกษตรกร และ
พัฒนาเกษตรกร/สถาบันเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบการผลิตภายใต้มาตรฐานสากล เป็นโอกาสในการสร้าง/
ยกระดับสินค้าเกษตรให้ได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิต (เกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรีย์ ) เพ่ือเพ่ิมขีด
ความสามารถในการแข่งขัน สามารถสร้างรายได้ และความมั่นคงให้แก่ครัวเรือนเกษตรกร ตอบสนองต่อ
ยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ระดับภาค (ภาคเหนือ) และยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและ
สามารถแข่งขนั ได้อย่างย่ังยืนตามแผนพัฒนาการเกษตรภายใตแ้ ผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒
3. วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ
1. เพือ่ ส่งเสริม พฒั นาการผลติ และการแปรรปู กลมุ่ ชนดิ สนิ ค้าพืช ได้แก่ ข้าว พืชผัก ไม้ผล : มะมว่ ง
มะขามหวาน มะม่วงหิมพานต์ กล้วยหอมทอง กล้วยตานีเพื่อผลิตใบตอง อะโวคาโด แมคคาเดเมีย ทุเรียน
ส้มเขยี วหวาน สม้ โอ สบั ปะรด มะปราง มะยงชิด ส้มเขียวหวาน เงาะ ลองกอง ลาไย กาแฟ ละมุด) กลุ่มชนิด
สินคา้ ปศสุ ัตว์ (โคเนอ้ื ไกพ่ ืน้ เมอื ง) กลุม่ ชนิดสินค้าประมง (ปลาน้าจืด) เข้าสู่ระบบการผลิตที่มีมาตรฐานรับรอง
การผลิต GAP ยกระดับสู่เกษตรอินทรีย์ เพ่ือเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างรายได้ และความมั่นคง
ใหแ้ กเ่ กษตรกร และตอบสนองความต้องการของผบู้ ริโภคทเี่ พ่ิมมากข้นึ
2. เพอ่ื ยกระดบั อตุ สาหกรรมแปรรปู โดยนาเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาประยุกตใ์ ช้ในการสรา้ ง
มลู ค่าเพิ่มใหก้ ับผลิตภณั ฑเ์ กษตรแปรรปู มูลค่าสูงท่ีมมี าตรฐานการรับรองเกษตรปลอดภัย ในกลุ่มชนิดสินค้าพืช
ปศสุ ตั ว์ และประมง
3. เพ่อื สร้างโอกาสทางการแข่งขันทางการตลาด และเพมิ่ มูลค่าให้กบั สนิ คา้ เกษตร ในกลุม่ ชนดิ สนิ คา้
พืช ปศสุ ตั ว์ และประมง
4. เป้าหมายและตัวช้วี ัดความสาเร็จของโครงการ
กลุ่มเปา้ หมาย : กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิต กลุ่มชนิดสินคา้ พืช ไดแ้ ก่ ข้าว พชื ผัก ไม้ผล ปศุสัตว์ (ไกพ่ ้ืนเมือง
โคเน้อื )และกลมุ่ ชนดิ สินคา้ ประมง (ปลานา้ จดื )
ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี : ประชาชนในภมู ภิ าคและภมู ิภาคขา้ งเคยี งได้บรโิ ภคอาหารที่เป็นผลผลติ สินคา้
เกษตรทมี่ คี วามปลอดภัยผา่ นการรบั รองมาตรฐานเกษตรปลอดภัย (GAP) เกษตรอนิ ทรยี ์ จากเกษตรกรในพื้นท่ี
ภาคเหนือตอนล่าง เกษตรกรได้รับการส่งเสริมพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร ด้านพืช ด้านปศุสัตว์ ด้านประมง
ในระบบมาตรฐานการผลติ เกษตรปลอดภัย GAP และเกษตรอนิ ทรีย์
59
ตัวชีว้ ดั
1. จานวนเกษตรกรไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพ ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80
2. จานวนพน้ื ทไ่ี ด้รบั การสง่ เสรมิ พฒั นาตอ่ ยอด ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 80
3. สนิ ค้าเกษตรได้รับการสรา้ งมูลค่าเพมิ่ ไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 10
4. มแี หล่งทอ่ งเทย่ี วตามเส้นทางเกษตรปลอดภยั หรอื นเิ วศน์เกษตรในพ้นื ทไี่ มน้ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 5
5. ความเช่ือมโยงกับทศิ ทางการพฒั นาภาค
แผนระดบั ท่ี 1 : ยุทธศาสตร์ชาติ กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี :
ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) เพ่ือยกระดบั การพฒั นาบรรลุตามวสิ ยั ทัศน์
“ประเทศไทยมคี วามมน่ั คง มั่งคงั่ ย่งั ยนื เป็นประเทศพฒั นาแล้ว ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง”
แผนระดบั ที่ 2 : แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ : กาหนดจากยทุ ธศาสตร์ 6 ดา้ น
ภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 กาหนดเป็นแนวทางท่ีแสดงให้เห็นความสอดคล้อง
และการตอบสนองต่อเป้าหมายท่ีต้องบรรลุในระยะ 5 ปี ท่ีจะเป็นการวางพ้ืนฐานท่ีสามารถสานต่อการพัฒนา
ในประเด็นสาคัญของประเทศในระยะตอ่ ไป
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
(พ.ศ. 2560-2564) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ภาคเกษตรก้าวไกลด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ตลาดนาการผลิต
ชวี ติ เกษตรกรมคี ุณภาพ ทรัพยากรการเกษตรมีความสมดุลและยั่งยืน (5 ยุทธศาสตร์ 23 แนวทางการพัฒนา)
โดยโครงการท่นี าเสนอนส้ี อดรบั กับ 4 ยุทธศาสตร์
ยทุ ธศาสตร์กล่มุ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง โครงการทนี่ าเสนอน้สี อดรบั กบั ประเด็นการพฒั นา
ของยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 และ 2 โดยยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1
“ยกระดับอตุ สาหกรรมเกษตรอัจฉริยะครบวงจร เน้นการใช้นวัตกรรมในการผลิต เพื่อเพ่ิมขีดความสามารถใน
การแข่งขัน และพัฒนาเป็นสนิ ค้าส่งออก เพ่ิมมูลคา่ การคา้ ชายแดน”
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 “ยกระดับสินค้าเกษตรปลอดภัย และ
อตุ สาหกรรมเกษตรอจั ฉริยะแบบครบวงจรดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมทีไ่ ดม้ าตรฐานเพ่ือเพ่ิมความสามารถใน
การแขง่ ขันท้ังในประเทศและต่างประเทศ”
6. กิจกรรมทีส่ าคัญของโครงการ
1 ชุดโครงการ 4 แผนงานหลัก 8 กิจกรรมหลัก 84 กจิ กรรมยอ่ ย ดงั นี้
กิจกรรมหลักท่ี ๑ พัฒนาระบบการผลิตข้าวปลอดภัยยกระดับสู่ข้าวอินทรีย์ ครบวงจร (16
กิจกรรมย่อย)
- ต้นทาง
1. พัฒนาระบบฐานข้อมลู สารสนเทศเพ่อื บรหิ ารจดั การด้านการผลิต(ต้นทุนการผลิต)
การตลาด(ปริมาณการบรโิ ภค ความตอ้ งการตลาด/ราคา)
2. สรา้ งระบบฐานขอ้ มลู ด้านเทคโนโลยี นวตั กรรมสือ่ ทีเ่ ข้าถึงไดง้ ่ายตอบสนองผ้มู ีสว่ น
เก่ยี วข้องภาคเกษตร
60
3. ส่งเสริมการเพ่ิมพืน้ ทีก่ ารผลติ ขา้ ว GAP เขา้ สู่ระบบการผลติ วิสาหกจิ ชมุ ชนแปลงใหญ่
4. สนับสนนุ องค์ความรเู้ พอื่ สร้างความเข้มแขง็ กลมุ่ ตามรูปแบบ กระบวนการสหกรณ์
5. ส่งเสรมิ ระบบบริหารจดั การฟารม์ เพ่อื เพ่ิมประสิทธภิ าพการผลติ (การเตรยี มพน้ื ท่ีปลูก/
การปรับปรงุ บารุงดนิ )
6. ส่งเสริมการวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยีนวตั กรรมด้านการผลิต (เพ่ิมประสิทธิภาพการผลติ /สาย
พันธขุ์ า้ วทีเ่ หมาะสม/การกาจดั สารตกคา้ งในผลผลติ )
7. สง่ เสรมิ การเพ่มิ พ้ืนท่ีการผลติ ขา้ วอินทรีย์สาหรับข้าวตลาดเฉพาะ (พันธุ์ กข.๔๓)
- กลางทาง
8. สง่ เสรมิ การนาผลงานวจิ ัยด้านเทคโนโลยีนวตั กรรม ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ทางดา้ นการผลิต
การแปรรปู มาประยกุ ตใ์ ช้
9. เพิ่มประสิทธภิ าพการตรวจรับรองมาตรฐานข้าว
10. สนับสนนุ อปุ กรณแ์ ปรรูป และบรรจุภัณฑก์ ารผลติ ขา้ วเพอ่ื เพ่ิมมลู คา่
11. สนบั สนุนการนาระบบเกษตรวสั ดเุ หลือใช้ (Zero Waste) มาปฏบิ ัติ
12. พัฒนาศกั ยภาพกลุ่มเกษตรกร GAP อนิ ทรีย์ ทางดา้ น IT และการตลาด เพื่อสนับสนนุ
การดาเนนิ ธุรกิจในรูปแบบวิสาหกิจ
- ปลายทาง
13. สร้างเครือข่ายความร่วมมือ สง่ เสริมการเชอื่ มโยงการตลาด และเพม่ิ ชอ่ งทางการ
จาหน่ายขา้ วปลอดภัย และขา้ วอนิ ทรยี ์ ในตลาดเฉพาะ
14. ขยายตลาดสนิ คา้ เกษตรแปรรปู โดยใช้โอกาสของการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจกบั ประเทศ
เพือ่ นบ้าน/กลุม่ อาเซยี น
15. ตดิ ตามประเมนิ ผลโครงการการสง่ เสรมิ การผลติ การตลาด ข้าวปลอดภัย ข้าวอนิ ทรยี ์
ครบวงจร
16. พฒั นาศกั ยภาพผู้ผลติ ขา้ วอินทรยี ์สกู่ ารเป็นผปู้ ระกอบการสนิ คา้ เกษตรอินทรียร์ ายใหม่
(New Entry) เนน้ การทาตลาด กบั ผูบ้ รโิ ภคโดยตรง (Consumer Marketing)
กจิ กรรมหลกั ที่ 2 พัฒนาระบบการผลิต/แหล่งท่องเที่ยวนเิ วศน์เกษตรพืชผักปลอดภยั ยกระดับสู่
พืชผกั อินทรยี ์ครบวงจร (14 กจิ กรรมยอ่ ย)
- ต้นทาง
1.พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศเพอ่ื บรหิ ารจัดการด้านการผลติ (ตน้ ทนุ การผลติ )
การตลาด(ปริมาณการบริโภค ความต้องการตลาด ราคา)
2.สนบั สนนุ องคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั การผลิตพชื ผกั GAP และอนิ ทรยี ์ และข้ันตอนการตรวจ
รบั รองมาตรฐาน GAP และอินทรยี ์ PGS
3.สง่ เสรมิ ระบบบรหิ ารจัดการฟารม์ (โครงสรา้ งพื้นฐานทเ่ี หมาะสม) เพอื่ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ
การผลิต (การเตรียมพื้นที่ปลูก/ การปรบั ปรุงบารงุ ดนิ )
4.สง่ เสรมิ การเพ่มิ พื้นท่กี ารผลิตผักปลอดภัย/ผักอินทรีย์
๕. สง่ เสริม สนบั สนุนปัจจยั การผลิต นา้ หมัก สารเร่ง สารชวี ภัณฑ์ ป้องกันกาจดั โรคแมลง
6. สง่ เสรมิ การวจิ ัย พัฒนาเทคโนโลยีนวตั กรรมด้านการผลิต (เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิต/
สายพนั ธข์ุ ้าวทีเ่ หมาะสม/การกาจัดสารตกค้างในผลผลิต)
7. สง่ เสริมและสนบั สนุนการผลิตเมล็ดพนั ธุ์พชื ผักอนิ ทรยี ์
61
8. ส่งเสริมให้มีแหล่งบริการองค์ความรู้และเทคโนโลยีนวัตกรรมด้านกระบวนการผลิต/
เสน้ ทางการท่องเทย่ี วเชิงนิเวศน์เกษตรปลอดภัย/อนิ ทรีย์
9. การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพืชผัก และบริการด้านการเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิต และ
ปัจจัยการผลิต สารชีวภัณฑ์ แก่ผู้ผลิตพืชตามาตรฐานGAP อินทรีย์/ การตรวจรับรอง GAP การท่องเที่ยว
นเิ วศน์เกษตร
- กลางทาง
10.สง่ เสรมิ สนบั สนุน กระบวนการผลิตพชื ผักมาตรฐานGAP อินทรยี ข์ องเกษตรกรรายย่อย
ให้เข้าสกู่ ระบวนการผลติ แบบกลมุ่ และการสรา้ งเครือขา่ ย
11. สนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร ผู้ผลิตพืชผักมาตรฐาน
GAP อินทรยี ์ / การตรวจรบั รอง GAP/ เพม่ิ ศักยภาพผนู้ า
12.การจดั ตงั้ ศนู ย์รวบรวม คัดแยก คัดบรรจุ และแปรรูปผลิตภณั ฑ์ผักปลอดภยั
- ปลายทาง
13. ส่งเสริมการเชือ่ มโยงการตลาด และเพิ่มช่องทางการจาหน่ายพชื ผกั ปลอดภยั และพืชผกั
อินทรีย์ ในตลาดเฉพาะ (Niche Market) และ Modern Trade และสนับสนุนการสร้างแบรนด์/อัตลักษณ์
พชื ผกั อนิ ทรีย์ในระดบั พื้นที่
๑4. พัฒนาศักยภาพผู้ผลิตพืชผักอินทรยี ส์ ู่การเปน็ ผปู้ ระกอบการสนิ คา้ เกษตรอนิ ทรียร์ ายใหม่
กิจกรรมหลกั ที่ 3 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพการผลิตไมผ้ ล (มะมว่ ง มะขามหวาน มะม่วงหิมพานต์ กล้วยหอม
ทอง กล้วยตานีเพื่อผลิตใบตอง อะโวคาโด แมคคาเดเมีย ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ สับปะรด มะปราง
มะยงชิด ส้มเขียวหวาน เงาะ ลองกอง ลาไย กาแฟ ละมุด) คุณภาพครบวงจรพัฒนาสู่การท่องเที่ยว
นิเวศน์เกษตร (30 กิจกรรมยอ่ ย)
- ตน้ ทาง
1. พฒั นาระบบฐานข้อมลู สารสนเทศเพือ่ บริหารจดั การด้านการผลิต(ต้นทุนการผลิต)
การตลาด(ปริมาณการบริโภค ความตอ้ งการตลาด ราคา)
2. สง่ เสริมการเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยื่อกล้วยหอมทอง (พฒั นาศนู ยร์ วบรวม/ขยายพันธ์ุ) ขยายพันธุ์
มะมว่ งหลากหลายสายพนั ธ์ุ
3. ส่งเสรมิ การผลิตตามมาตรฐาน GAP
4. ยกระดับการผลติ มะม่วงโชคอนันต์ มะม่วงน้าดอกไม้ จากมาตรฐาน GAP เป็นเกษตร
อินทรีย์
5. ส่งเสรมิ การเพมิ่ พน้ื ทผี่ ลิตมะมว่ งโชคอนันต์(สุโขทยั ) มะม่วงนา้ ดอกไม้สที อง(เพชรบรู ณ์)
มาตรฐาน GAP
6. ส่งเสรมิ การผลิตไมผ้ ลสายพันธ์ุท่ีดแี ละเหมาะสมตามมาตรฐาน GAP
7. ส่งเสริมการผลติ ไม้ผลในพ้นื ทเ่ี ปา้ หมาย ตามศกั ยภาพความเหมาะสมของดิน (Zoning by
Agri-Map)
8. สง่ เสริมระบบบริหารจดั การฟารม์ (โครงสร้างพื้นฐานที่เหมาะสม) เพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพการ
ผลิต (การเตรยี มพน้ื ท่ปี ลกู / การปรับปรุงบารงุ ดิน) จนถงึ กระบวนการหลงั เก็บเก่ียว ภายใต้มาตรฐาน GAP
9. ถา่ ยทอดองคค์ วามรดู้ ้านการผลิต
62
10. จดั ทาแปลงสาธติ ไมผ้ ลเพ่ือพัฒนาสายพันธุ์ เทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการผลิตสู่มาตรฐาน
ตามระบบ GAP/อนิ ทรีย์
11. พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อบริหารจดั การดา้ นการผลติ การตลาด
12. สง่ เสรมิ การผลติ เพ่ิมพื้นท่ผี ลิตมะขามหวาน GAP เช่ือมโยงแหล่งทอ่ งเที่ยวสาคญั ตาม
นวตั วิถขี องเพชรบูรณ์
13. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กระบวนการผลติ มะม่วงมาตรฐาน GAP/อนิ ทรียข์ องเกษตรกรรายยอ่ ย
เขา้ ส่กู ระบวนการผลติ แบบกล่มุ (พัฒนาการรวมกลุม่ )
14. ส่งเสรมิ การควบคุมศตั รูพชื โดยวิธผี สมผสานสู่การปลกู พชื ปลอดภัยอย่างย่งั ยืน (มะมว่ ง-
พษิ ณุโลก)
15. การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการผลิตมะขามหวานเพชรบรู ณ์
16. ส่งเสริมให้มีแหล่งบริการองค์ความรู้และเทคโนโลยีนวัตกรรมกระบวนการผลิต/จัดทา
แปลงต้นแบบการผลิตไม้ผล GAP/อินทรีย์/เส้นทางการท่องเที่ยวนิเวศน์เกษตรปลอดภัยท่ีเชื่อมโยงแหล่ง
ทอ่ งเที่ยวสาคญั
17. การถ่ายทอดเทคโนโลยีกระบวนการผลิตด้านการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ปัจจัยการ
ผลิต สารชีวภัณฑ์ การตรวจรับรอง GAP ให้แก่ผู้ผลิตไม้ผลตามมาตรฐาน GAP/อินทรีย์ และบริการการ
ท่องเทย่ี วนเิ วศนเ์ กษตรปลอดภัย
- กลางทาง
18. พฒั นาต่อยอดงานวจิ ัยดา้ นเทคโนโลยีและนวัตกรรมดา้ นการแปรรูปผลิตภณั ฑท์ าง
การเกษตร
19. สนับสนุนการนาเทคโนโลยี นวตั กรรม ดา้ นกระบวนการจดั การผลผลติ หลังการเกบ็ เกยี่ ว
(ชะลออาย)ุ มาประยุกต์ใช้
20. ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยใี นการบนั ทกึ ข้อมูลดา้ นการผลติ ของเกษตรกรผา่ นระบบ
ออนไลน์
21. เพมิ่ ประสิทธิภาพการตรวจรบั รองมาตรฐาน GAP
22. พฒั นาการแปรรปู สนิ ค้าตกเกรด / บรรจภุ ณั ฑ์แปรรูปผลผลติ
23. สง่ เสรมิ ความรรู้ ะบบการรับรองโรงงานผลติ สินคา้ เกษตร (GMP)
24. เสริมสรา้ งเครือข่ายการรวมกล่มุ ในรูปกลมุ่ และการบรหิ ารจัดการกลุม่
25. สร้างโรงคัดแยกผลผลิตมะมว่ งปลอดภยั เพ่ือการสง่ ออก
26. สร้างระบบ และตรวจรับรองมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ PGS ภาคเหนอื
- ปลายทาง
27. พฒั นาตลาดสนิ ค้าเฉพาะ(มาตรฐานGAP อนิ ทรยี ์) พฒั นาบรรจภุ ัณฑ์เชือ่ มโยงอตั ลักษณ์
เพือ่ สรา้ งมลู ค่าเพ่ิมใหส้ ินคา้ และสรา้ งแบรนด์ไม้ผลอตั ลกั ษณ์
28. เชือ่ มโยงตลาด และส่งเสริมการเพ่มิ ชอ่ งทางการตลาดสนิ ค้าเกษตรปลอดภยั มาตรฐาน
GAP เกษตรอนิ ทรีย์ อาทิ ตลาดออนไลน์ ตลาดสินค้าเฉพาะ ฯลฯ
29. เพิ่มช่องทางการประชาสมั พันธ์สินค้ามาตรฐาน GAP อินทรีย์
30. การสนับสนุน และบูรณาการ
กิจกรรมหลักที่ 4 พัฒนามาตรฐานการผลิตและสร้างมูลค่าเพ่ิมผลิตภัณฑ์ ไก่พ้ืนเมืองเพื่อการ
แขง่ ขันด้านการตลาด (4 กจิ กรรมย่อย)
63
- ตน้ ทาง
1. ส่งเสริมการเล้ียงไกพ่ น้ื เมอื งในระบบมาตรฐานฟาร์ม (GFM) ไกพ่ ื้นเมอื งแบบปล่อยอสิ ระ
2. ส่งเสรมิ การปลกู พชื อาหารสตั ว์สาหรบั การเลย้ี งไกพ่ นื้ เมืองในระบบมาตรฐานไก่พน้ื เมือง
แบบอิสระ
3. พัฒนาความเขม้ แข็งของกลุ่มเกษตรกร
- กลางทาง
4. ยกระดบั มาตรฐานผลิตภัณฑ์ไกพ่ ืน้ เมือง เพือ่ การแข่งขันด้านการตลาดอาหารปลอดภยั
กิจกรรมหลักท่ี 5 พัฒนาคุณภาพโคเนื้อ ผลิตภัณฑ์ และโครงสร้างพ้ืนฐานการผลิตโคเน้ือ (12
กิจกรรมยอ่ ย)
- ตน้ ทาง
1. พัฒนาระบบฐานข้อมลู สารสนเทศเพ่อื บรหิ ารจดั การดา้ นการผลติ (ต้นทนุ การผลติ )
การตลาด (ปริมาณการบริโภค ความตอ้ งการตลาด ราคา)
2. การศกึ ษา วจิ ยั ตลาดและความต้องการของผบู้ ริโภคเพือ่ สง่ เสรมิ การผลิตโคเน้อื คุณภาพ
3. การศกึ ษาวิจัยเพอื่ พัฒนาพนั ธุโ์ คและอาหารทเี่ หมาะสมในพน้ื ที่จังหวดั ตาก
4. จัดต้ังศูนยบ์ รกิ ารอาหารสตั ว์ สง่ เสริมการผลิตอาหารสตั ว์ครบสว่ น (TMR) และติดตามให้
คาแนะนาเกษตรกร
5. โครงการหนว่ ยปฏบิ ตั กิ ารเคล่ือนท่เี ร็วเพอ่ื การเฝ้าระวงั ควบคุม ปอ้ งกนั สอบสวนโรค
ระบาดสัตว์
6. โครงการจดั ตงั้ หน่วยบรกิ ารหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารเคลื่อนที่ (Mobile lab)
7. โครงการพฒั นาศักยภาพห้องปฏิบตั กิ ารตรวจวินิจฉยั โรคสตั วเ์ พื่อรองรับการผลิตสินคา้
ปศสุ ัตว์
8. โครงการสารวจและแก้ไขปัญหาการใช้สารเร่งเน้ือแดงในโคเนอื้ เพื่อพฒั นาเขา้ สรู่ ะบบการ
ผลิตเกษตรปลอดภยั
- กลางทาง
9. การจัดประกวดโคเนื้อระดบั จงั หวัด/กล่มุ จงั หวัด (มหกรรมประกวดสตั วเ์ มอื งตาก)
10. การยกระดับมาตรฐานผลติ ภัณฑด์ ว้ ยการแปรรูป การสรา้ งเครอื่ งหมายการค้า
11. การพฒั นากระบวนการผลติ สรู่ ะบบมาตรฐานฟารม์ และสง่ เสริมการจัดต้งั โรงฆา่ สตั ว์มาตรฐาน GMP
- ปลายทาง
12. เพ่ิมชอ่ งทางการประชาสมั พนั ธ์การบริโภคสนิ ค้า GAP
กิจกรรมหลกั ท่ี 6 พัฒนาระบบการผลติ และการตลาดปลาน้าจืดปลอดภัย (GAP) (2 กิจกรรมย่อย)
1. พัฒนาศกั ยภาพการผลิตสตั วน์ ้าในระบบรปู แบบมาตรฐาน GAP
- สารวจและคัดเลือกเกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการ
- ถา่ ยทอดองค์ความรใู้ นการผลติ สนิ คา้ สตั ว์น้าตามมาตรฐาน GAP แก่เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกร
- สนบั สนนุ ปัจจัยการผลิตทจี่ าเป็นในการสง่ เสรมิ พัฒนาเกษตรกร
- ตดิ ตาม ให้แนะนาการผลติ สินคา้ สัตวน์ ้าตามมาตรฐาน GAPแกเ่ กษตรกร/กลุ่มเกษตรกร
- ติดตามและประเมนิ ผล
64
2. ตรวจรบั รองมาตรฐาน GAP
- คัดเลอื กเกษตรกรท่ีมคี วามพร้อมเพอ่ื ยื่นขอใบรบั รอง (ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 70)
- สนับสนุนระบบและการตรวจรบั รองมาตรฐาน
- สนบั สนุนการจดั ตัง้ ฟารม์ ต้นแบบ (จังหวัดละ 2 แหง่ )
- สนบั สนนุ การเช่ือมโยงเครือขา่ ยผู้ผลติ ผู้แปรรปู ตลาด
- สนับสนนุ การสรา้ งนวตั กรรม/ผลิตภณั ฑใ์ หม่ๆจากสนิ ค้าสัตวน์ า้ เกษตรปลอดภัย
- ตดิ ตามและประเมินผล
กจิ กรรมหลกั ที่ 7 ส่งเสรมิ และพัฒนาการเล้ียงปลาในนาขา้ วอนิ ทรีย์ (2 กิจกรรมย่อย)
1. สง่ เสรมิ และพัฒนาการเลย้ี งปลาในนาข้าวอนิ ทรีย์ในพนื้ ท่ภี าคเหนือตอนลา่ ง (9 จงั หวดั )
- สารวจและคดั เลอื กเกษตรกรเขา้ รว่ มโครงการ
- ปรับปรุงแปลงนาหรือบ่อใหเ้ หมาะสมกบั การเลย้ี งปลา
- อบรมเกษตรกรดา้ นการเลย้ี งสัตวน์ ้าตามมาตรฐานเกษตรอินทรยี ์และศึกษาดูงานนอกสถานท่ี
จานวน 1 แห่ง
- สนับสนนุ ปัจจัยการผลติ
- ติดตามและประเมินผลโครงการ
2. ตรวจรบั รองมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์ภาคเหนอื ตอนลา่ ง (9 จงั หวดั )
- ย่นื คาขอใบรบั รองมาตรฐานเกษตรอนิ ทรยี ์
- รับคาขอ ตรวจประเมิน และให้การรับรอง
- ถอดองคค์ วามร้เู กษตรกรตน้ แบบเกษตรอนิ ทรียด์ า้ นการเลีย้ งสัตวน์ ้า
- รายงานผลผลิต ปัญหา อปุ สรรค และสรปุ ผลโครงการฯ
กิจกรรมหลักท่ี 8 พัฒนาระบบการผลิตเกษตรปลอดภัย "เกษตรทฤษฎีใหม่ (5 ประสาน สืบสาน
เกษตรทฤษฎใี หม่ถวายในหลวง)" (5 กิจกรรมย่อย)
1. พัฒนาระบบนา้ ในการทาการเกษตร
2. สนบั สนนุ การปรบั เปล่ยี นพนื้ ท่ีเพอื่ ปลูกพชื ปลอดภัย
3. ส่งเสรมิ การปลกู พชื เศรษฐกจิ ตามแนวเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. การรวมกลุม่ และสรา้ งความเข้มแข็งให้กบั กลมุ่ เกษตรกร
5. การปรับปรงุ พัฒนาแปลงให้แก่เกษตรกรท่เี ข้าร่วมโครงการ
7. หนว่ ยงานรับผิดชอบ
หน่วยงาน : สานักงานเกษตรจังหวัด สานักงานปศุสัตว์จังหวัด สานักงานประมงจังหวัด สหกรณ์
จังหวัด สถานีพัฒนาท่ีดิน ชลประทานจังหวัด สานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัด ศูนย์ส่งเสริม
เทคโนโลยกี ารเกษตรดา้ นอารกั ขาพชื ศนู ย์วิจยั ข้าว สานกั วจิ ัยและพฒั นาการเกษตรเขตท่ี 2 ศูนย์เมล็ดพันธ์ุ
ขา้ ว ศูนยว์ จิ ยั และบารุงพันธส์ุ ัตว์ ศนู ย์อาหารสัตว์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาตาก อตก.(อต.)
พาณิชย์จังหวัด (ตก.) วิทยาลัยการเกษตร (ตก.) สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรที่ 2 และ 12
8. ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน
ตลุ าคม 25๖๓ – กันยายน 25๖5
65
9. งบประมาณ
769,986,074 บาท (ปี 2564 จานวนเงิน 482,836,322 บาท
ปี 2565 จานวนเงนิ 287,149,752 บาท)
10. แผนปฏบิ ตั ิงานและแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ
-
11. ผลผลติ (output)
กิจกรรมหลักท่ี 1 ข้าว GAP ยกระดับสู่ข้าวอินทรีย์ พ้ืนpที่เพาะปลูกข้าวที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน
จานวนเกษตรกร 17,903 ราย, 74 กลุ่ม, พ้ืนท่ี 317,502 ไร่
กิจกรรมหลกั ท่ี 2 พชื ผักปลอดภัยยกระดบั ส่พู ชื ผักอินทรยี /์ ศนู ย์บริการองคค์ วามรู้และการ
ท่องเที่ยวนิเวศน์เกษตร พ้ืนท่ีเพาะปลูกพืชผักท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย และได้รับการพัฒนาสู่เกษตร
อินทรีย์ จานวนเกษตรกร 4,104 ราย, 18 กลุ่ม, พื้นที่ 11,881 ไร่ และมีเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
เกษตรปลอดภัยท่ีเชอ่ื มโยงแหลง่ ทอ่ งเท่ียวสาคญั 8 เส้นทาง
กิจกรรมหลักที่ 3 ไม้ผลปลอดภัยยกระดับสู่อินทรีย์/ศูนย์บริการองค์ความรู้และการท่องเท่ียว
นิเวศน์เกษตร พื้นที่เพาะปลูกไม้ผล ท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐานปลอดภัย ผ่านการตรวจรับรองเกษตรปลอดภัย
GAP จานวนเกษตรกร 16,468 ราย, 38 กลุ่ม พ้ืนที่ 150,876 ไร่ และมีเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์
เกษตรปลอดภยั ท่ีเชื่อมโยงแหลง่ ท่องเทย่ี วสาคัญ 32 เสน้ ทาง
กจิ กรรมหลักท่ี 4 ไก่พ้ืนเมืองและผลิตภัณฑ์ พัฒนาและสร้างมูลค่าเพ่ิมผลิตภัณฑ์ไก่พื้นเมืองเพื่อการ
แขง่ ขันดา้ นการตลาด จานวนเกษตรกร 5,400 ราย, 180 กลมุ่
กิจกรรมหลักท่ี 5 โคเน้ือและโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาคุณภาพการผลิตโคเน้ือ (40 กลุ่ม 400
ราย) โรงฆ่าสัตว์มาตรฐาน (3 แห่ง) ฟาร์มมาตรฐาน (5 แห่ง) ศูนย์บริการอาหารสัตว์ Feed Center (4 แห่ง
400 ราย) หนว่ ยปฏิบตั ิการ/หนว่ ยบรกิ ารตรวจเคล่อื นท่เี รว็
กิจกรรมหลักท่ี 6 ปลานา้ จืด GAP พฒั นาระบบการผลิต และการตลาดปลาน้าจืด GAP เกษตรกร
4,402 ราย
กิจกรรมหลกั ที่ 7 ปลาอินทรีย์ ส่งเสริมและพัฒนาการเลยี้ งปลาในนาข้าวอนิ ทรีย์ เกษตรกร 792 ราย
กจิ กรรมหลกั ที่ 8 เกษตรทฤษฎีใหม่ ปรับเปลี่ยนพ้ืนท่ีเพ่ือปลูกพืชปลอดภัย/พืชเศรษฐกิจตามแนว
เศรษฐกจิ พอเพียง เกษตรกร 1,900 ราย
12. ผลลพั ธ์ (Outcome)
1. เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการผลิต การแปรรูปเพ่ิมมูลค่า และการ
เช่อื มโยงตลาดสนิ คา้ เกษตรตลอดหว่ งโซ่
2. เพ่ิมพื้นทกี่ ารผลติ สินคา้ เกษตรปลอดภยั สาหรับผบู้ รโิ ภค
3. สามารถสร้างมลู ค่าเพมิ่ ใหแ้ ก่สนิ ค้าเกษตร และเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางการตลาด
4. มีแหล่งท่องเทีย่ วและแหลง่ เรียนรู้เชิงนเิ วศนเ์ กษตรปลอดภยั เพ่มิ ข้นึ
13. ผลสมั ฤทธิ์ (Impact)
ผลกระทบเชงิ บวก
66
1. การผลิตสนิ ค้าเกษตร กล่มุ ชนดิ สนิ ค้าพืช (ข้าว พืชผัก ไม้ผล มะม่วง มะขามหวาน มะม่วงหิม
พานต์ กล้วยหอมทอง กล้วยตานีเพื่อผลิตใบตอง อะโวคาโด แมคคาเดเมีย ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ
สับปะรด มะปราง มะยงชิด ส้มเขียวหวาน เงาะ ลองกอง ลาไย กาแฟ ละมุด) กลุ่มชนิดสินค้าปศุสัตว์
(ไก่พ้ืนเมือง โคเน้ือ) และกลุ่มชนิดสินค้าประมง (ปลาน้าจืด) มีคุณภาพ มีมาตรฐานด้านการผลิตรองรับ
สนบั สนนุ อุตสาหกรรมแปรรูปเปน็ สินคา้ คุณภาพ มลู ค่าสูง สร้างรายไดท้ มี่ ่ันคง ย่งั ยนื ใหแ้ กเ่ กษตรกร
๒. สินค้าเกษตร กลุ่มชนิดสินค้าพืช ได้แก่ ข้าว พืชผัก ไม้ผล (มะม่วง มะขามหวาน มะม่วงหิม
พานต์ กล้วยหอมทอง กล้วยตานีเพื่อผลิตใบตอง อะโวคาโด แมคคาเดเมีย ทุเรียน ส้มเขียวหวาน ส้มโอ
สับปะรด มะปราง มะยงชิด ส้มเขียวหวาน เงาะ ลองกอง ลาไย กาแฟ ละมุด) กลุ่มชนิดสินค้าปศุสัตว์
(ไก่พ้ืนเมือง โคเนื้อ) และกลุ่มชนิดสินค้าประมง (ปลาน้าจืด) ของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง มีช่องทาง
การตลาดเพ่ิมข้ึน สร้างความแตกต่างด้านราคากับสินค้าเกษตรท่ัวไป สร้างอานาจต่อรองสินค้า ซึ่งเป็นการ
เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขนั ดา้ นการตลาด
๓. ภาคเหนือตอนล่างมีแหล่งท่องเท่ียวและแหล่งเรียนรู้ระบบการผลิตนิเวศน์เกษตรปลอดภัย
ไว้สาหรับบริการนักท่องเที่ยวท่ัวไป เกษตรกรที่สนใจผลิตสินค้าปลอดภัย และผู้บริโภคท่ีหันมาสนใจเรื่องการ
ดูแลสุขภาพ ซ่ึงสามารถสร้างอาชพี และเพ่มิ รายไดใ้ หแ้ ก่เกษตรกรได้เปน็ อย่างดี
4. เศรษฐกิจภายในจังหวัดในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง 9 จังหวัด มีการขยายตัว และมีการ
กระจายรายไดใ้ นชมุ ชนมากยง่ิ ขน้ึ
ผลกระทบเชิงลบ : - ไมม่ ี –