The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chadaporn16711, 2021-09-24 05:37:09

การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

การพัฒนาทักษะการอ่านและเขียนคำพื้นฐานภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

การพฒั นาทกั ษะการอา่ นและเขยี นคาพน้ื ฐานภาษาไทย โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะสาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย กิจกรรมการเรยี นรดู้ ว้ ยกลมุ่ รว่ มมอื แบบ STAD
ของนกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ระดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 2

จัดทาโดย
นางชชั ฎาภรณ์ สงิ หศรี
รหสั นกั ศกึ ษา 6380110120
เลขท่ี 30 Section 4

รายงานวจิ ยั นเ้ี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของรายวชิ าวจิ ยั ทางการศกึ ษา
ประจาภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563 หลกั สูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑติ วชิ าชพี ครู

มหาวทิ ยาลัยภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

คำนำ

กำรจดั ทำรำยงำนกำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนและเขยี นคำพื้นฐำนภำษำไทย โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ
สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 2 ปีกำรศึกษำ 2563 ฉบับน้ี
จัดทำขึน้ เพือ่ รำยงำนผลกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรวู้ ชิ ำภำษำไทย เพื่อพัฒนำทกั ษะกำรเรียนกำรอำ่ น
และเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย ซง้ึ ผ้รู ำยงำนไดศ้ ึกษำค้นคว้ำเอกสำรงำนวิจยั ต่ำง ๆ เพอ่ื นำควำมรู้มำใช้
ในกำรพัฒนำกำรเรียนกำรสอนของตนเอง และพฒั นำกำรเรยี นร้ขู องนักเรียน โดยพัฒนำสื่อนวตั กรรมมำใช้
ให้เหมำะสมกบั นกั เรียน โดยยึดผเู้ รียนเปน็ สำคัญ ซ่ึงไดด้ ำเนินกำรพัฒนำใน
ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2563

ขอขอบพระคณุ ผู้เชีย่ วชำญทุกท่ำนที่กรุณำให้ควำมรู้ คำปรกึ ษำ คำแนะนำในกระบวนกำร
พัฒนำกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน จนงำนสำเร็จลุล่วงดว้ ยดี ขอบคุณคณะครู นกั เรียนช้นั
ประถมศกึ ษำปที ่ี 2 ทีเ่ ปน็ กลุ่มเป้ำหมำยในกำรพัฒนำครง้ั นี้ หวังเป็นอยำ่ งยิ่งว่ำ รำยงำนฉบับน้ี
จะเปน็ ประโยชน์อยำ่ งยิ่งต่อผู้ทเี่ ก่ียวข้องกบั กำรจดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยไดอ้ กี ทำงหนง่ึ

ชัชฎำภรณ์ สงิ หศรี


ชอ่ื เรื่อง รำยงำนกำรพัฒนำทกั ษะกำรอำ่ นและเขียนคำพืน้ ฐำนภำษำไทย โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะสำระกำร

เรียนรภู้ ำษำไทย ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 2 ปีกำรศึกษำ 2563

ผวู้ จิ ยั นำงชชั ฎำภรณ์ สงิ หศรี
หนว่ ยงำน โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ สำนกั งำนเขตพ้ืนทกี่ ำรศึกษำประถมศึกษำขอนแก่นเขต 4

บทคดั ยอ่
กำรทำวจิ ยั ในชัน้ เรียน เร่อื ง กำรพัฒนำทักษะกำรอำ่ นและเขยี นคำพื้นฐำนภำษำไทย โดยใช้แบบฝกึ
ทกั ษะสำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษำปีท่ี 2 มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พื่อ 1) เพอ่ื
พฒั นำผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนและควำมสำมำรถในกำรอ่ำนและเขียนคำพนื้ ฐำน ภำษำไทย ของนักเรยี นชนั้
ประถมศึกษำปีที่ 2 2) เพอื่ พฒั นำแบบฝึกทักษะสำระภำษำไทย ใหม้ ีประสทิ ธิภำพตำมเกณฑม์ ำตรฐำน
80/80 กลมุ่ ตัวอย่ำงทีใ่ ชใ้ นกำรศึกษำครง้ั น้ีเป็นนกั เรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 ภำคเรยี นที่ 2 ปีกำรศึกษำ
2563 จำนวน 9 คน ซง่ึ ได้มำโดยกำรเลอื กส่มุ แบบเจำะจง (Purposive Sampling) เคร่อื งมือที่ใช้ในกำร
เกบ็ รวบรวมข้อมลู คือ แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนำทักษะกำรอ่ำนและเขยี นคำพ้นื ฐำน จำนวน 15 แบบฝกึ
และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนแบบปรนัย ชนดิ เลือกตอบ 3 ตวั เลอื ก จำนวน 30 ขอ้ แบบ
แผนกำรทดลองใชแ้ บบกลุ่มเดยี ว (One Group Pre-test Post-test Design) สถิติทีใ่ ช้คอื ค่ำเฉล่ยี คำ่ ร้อย
ละและค่ำส่วนเบ่ียงเบนมำตรฐำน
ผลกำรศกึ ษำค้นคว้ำพบว่ำ
1. กำรพฒั นำทักษะกำรอำ่ นและเขยี นคำพ้ืนฐำนภำษำไทย โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะสำระ
กำรเรียนรู้ภำษำไทย ของนักเรียนชนั้ ประถมศึกษำปีที่ 2 มปี ระสิทธิภำพเท่ำกบั 85.43/86.47
ซึง่ สูงกว่ำเกณฑ์มำตรฐำนทีต่ ัง้ ไว้ คือ 70/70
2. ผลทีเ่ กิดกบั นกั เรยี นหลงั กำรพฒั นำทกั ษะกำรอ่ำนและเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย โดยใชแ้ บบฝกึ
ทกั ษะสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษำปีที่ 2 พบว่ำนักเรยี นมที ักษะกำรอ่ำนและเขียน
ดีขึ้น ซง่ึ สง่ ผลให้นักเรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนด้ำนทักษะกำรอำ่ นและเขียนคำพน้ื ฐำนสูงข้นึ มีคำ่ เฉลยี่ ร้อย
ละ 86.47



กติ ตกิ รรมประกาศ

รำยงำนกำรพฒั นำทกั ษะกำรอ่ำนและเขยี นคำพืน้ ฐำนภำษำไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี 2 สำเรจ็ ลุลว่ งได้ด้วยคณะผเู้ ชย่ี วชำญ นำยสทิ ธิพร เถรวลั ย์
ผู้อำนวยกำรโรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ นำยสมศกั ดิ์ สุธรรมรำช ครชู ำนำญกำรพเิ ศษ นำงระลวิ รรณ
สธุ รรมรำช ครูชำนำญกำรพเิ ศษ โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ สำนักงำนเขตพ้ืนที่กำรศึกษำประถมศึกษำ
ขอนแกน่ เขต 4 ที่กรุณำใหค้ ำปรกึ ษำช่วยเหลอื แนะนำตรวจสอบ แก้ไขข้อบกพรอ่ งต่ำงๆ ผรู้ ำยงำน
ขอขอบพระคุณเป็นอยำ่ งสงู

ขอขอบคุณคณะครู นกั เรยี นโรงเรยี นนำคำพิทยำสรรพ์ ทใ่ี ห้ควำมร่วมมือในกำรเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู ในกำรพัฒนำกำรจัดกำรเรยี นรใู้ นครั้งน้ี

คณุ ค่ำและประโยชนข์ องรำยงำนฉบบั นี้ ผรู้ ำยงำนขอมอบเปน็ เครื่องแสดงควำมกตัญญู ตอ่ บิดำ
มำรดำ ทใี่ หก้ ำรศึกษำ อบรมสั่งสอน ใหม้ สี ติปัญญำและคณุ ธรรมทัง้ หลำย อันเป็นเครื่องมือนำไปสู่
ควำมสำเร็จในชวี ติ ของผู้รำยงำน

ชัชฎำภรณ์ สงิ หศรี



สำรบัญ

เรอ่ื ง หน้ำ

บทคดั ย่อ................................................................................................................................ ก
กติ ตกิ รรมประกำศ................................................................................................................. ข
บทท่ี 1 บทนำ......................................................................................................................... 1
1
1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปญั หำ........................................................... 3
1.2 วตั ถปุ ระสงค์..................................................................................................... 3
1.3 ขอบเขตของกำรศึกษำ....................................................................................... 4
1.4 ตัวแปรท่ีใชใ้ นกำรศึกษำ................................................................................... 4
1.5 นิยำมศัพท์เฉพำะ............................................................................................... 5
ประโยชนท์ ่คี ำดวำ่ จะได้รับ..................................................................................... 5
บทท่ี 2 เอกสำรและงำนวจิ ัยท่เี ก่ียวข้อง 7
2.1 หลักสตู รแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้นื ฐำนพุทธศกั รำช 2551............................... 8
2.2 กำรเรยี นกำรสอนภำษำไทย.............................................................................. 12
2.3 กำรอ่ำน............................................................................................................ 19
2.4 กำรเขยี น........................................................................................................... 22
2.5 แบบฝกึ ทักษะ................................................................................................... 32
2.6 งำนวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง........................................................................................... 36
บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ กำรวิจัย 36
3.1 ประชำกำรและกลุ่มเปำ้ หมำย........................................................................... 36
3.2 เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นกำรศกึ ษำ............................................................................... 37
3.3 แบบแผนกำรทดลองและข้นั ตอนกำรทดลอง.................................................. 38
3.4 กำรสร้ำงและหำคุณภำพของเครือ่ งมอื ............................................................. 40
3.5 กำรวิเครำะห์ข้อมูล........................................................................................... 40
3.6 สถิติทใ่ี ช้ในกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล.......................................................................

บทท่ี 4 ผลกำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู 42
4.1 สญั ลกั ษณ์ท่ีใชใ้ นกำรนำเสนอผลกำรวิเครำะห์ข้อมลู ....................................... 42
4.2 ลำดบั ข้นั ตอนในกำรเสนอผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมูล............................................. 42
4.3 ผลกำรวเิ ครำะห์ข้อมลู ....................................................................................... 42
ตอนที่ 1 กำรหำประสทิ ธิภำพของแบบฝึกทักษะกำรอำ่ นและกำรเขียนสะกดคำ
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ช้ันประถมศึกษำปที ่ี 2 ตำมเกณฑ์ 42
80/80................
ตอนท่ี 2 วิเครำะหห์ ำควำมแตกต่ำงระหว่ำงคะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี นและ 44
หลังเรยี น................................................................................................................
45
บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ................................................................... 45
5.1 วตั ถุประสงค์ของกำรศึกษำ............................................................................... 45
5.2 ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง............................................................................... 45
5.3 เครอ่ื งมือท่ีใช้ในกำรศกึ ษำ............................................................................... 46
5.4 กำรดำเนินกำรศึกษำ......................................................................................... 46
5.5 สรปุ ผลกำรศกึ ษำ............................................................................................. 46
5.6 อภิปรำยผล....................................................................................................... 48
5.7 ข้อเสนอแนะ.................................................................................................... 50
54
บรรณำนุกรม
ภำคผนวก

สำรบญั ตำรำง

ตำรำงที่ 1 เรอื่ ง 37
ตำรำงท่ี 2 หนำ้
ตำรำงท่ี 3 แบบแผนกำรทดลองแบบ One Group Pre-test Post-test 42
ตำรำงที่ 4 Design................. 44
ตำรำงท่ี 5 คะแนนเฉลีย่ และร้อยละ เพ่อื หำประสทิ ธิภำพของแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและ 55
เขยี นคำพ้ืนฐำน ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษำปีท่ี 2........................................ 57
ตำรำงแสดงคะแนนเฉล่ยี และคำ่ รอ้ ยละของคะแนนทดสอบก่อนเรียนและหลัง
เรยี น..........................................................................................................
คะแนนแบบฝกึ ทักษะเรื่องกำรอำ่ นและเขียนคำพืน้ ฐำน ช้ันประถมศกึ ษำ
ปีที่ 2.................................................................................................................
แบบบนั ทกึ คะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น นกั เรียนชั้นประถมศึกษำปที ี่ 2
ปีกำรศกึ ษำ 2563............................................................................................

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ควำมเปน็ มำและควำมสำคญั ของปญั หำ
ภำษำไทยเป็นเอกลักษณ์ของชำติเป็นสมบัติทำงวัฒนธรรมอันก่อให้เกิดควำมเป็นเอกภำพ

และเสรมิ สร้ำงบุคลกิ ภำพของคนในชำติให้มีควำมเปน็ ไทยเปน็ เคร่ืองมอื ในกำรติดต่อสื่อสำรเพื่อสร้ำง
ควำมเขำ้ ใจและควำมสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันทำให้สำมำรถประกอบกิจธุระ กำรงำนและดำรงชวี ิตร่วมกันใน
สังคมประชำธิปไตยได้อย่ำงสันติสุขและเป็นเครื่องมือในกำรแสวงหำควำมรู้ประสบกำรณ์จำกแหล่ง
ข้อมูลสำรสนเทศต่ำง ๆ เพ่ือพัฒนำควำมรู้ กระบวนกำรคิดวิเครำะห์ วิจำรณ์ และสร้ำงสรรค์ ให้ทัน
ต่อกำรเปล่ียนแปลงทำงสงั คมและควำมก้ำวหนำ้ ทำงวทิ ยำศำสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในกำร
พัฒนำอำชีพ ให้มีควำมม่ันคงทำงเศรษฐกิจนอกจำกน้ียังเป็นส่ือแสดงภูมิปัญญำของบรรพบุรุษด้ำน
วัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภำพ เป็นสมบัติล้ำค่ำ ควรแก่กำรเรยี นรู้ อนุรักษ์ และสืบสำนให้คงอยูค่ ู่
ชำติไทยตลอดไป (กระทรวงศึกษำธิกำร, 2551) ดังน้ันกำรจัดกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยจึงมี
ควำมสำคัญมำกที่จะมุ่งเน้นให้ผู้เรียนสำมำรถส่ือสำรได้อย่ำงถูกต้อง ซ่ึงสถำนศึกษำจะต้องกำหนด
หลักสูตรกำรเรียนกำรสอนให้สอดคล้องกับพระรำชบัญญัติกำรวิจัยแห่งชำติ พ.ศ. 2542 และแก้ไข
เพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2545 มำตรำ 24 เรื่อง “กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ให้สถำนศึกษำและ
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องดำเนินกำรจัดเน้ือหำสำระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับควำมสนใจและควำม
ถนัดของผู้เรยี นโดยคำนึงถึงควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบุคคล ตลอดจนกำรฝกึ ทักษะ กระบวนกำรคิด กำร
จัดกำร กำรเผชิญสถำนกำรณ์ กำรประยุกต์ควำมรู้มำใช้เพื่อป้องกนั และแก้ไขปญั หำ และท่ีสำคัญคอื
กำรจัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้จำกประสบกำรณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทำได้ คิดเป็น ทำเป็น รักกำร
อ่ำนและเกดิ กำรใฝ่ รู้อย่ำงตอ่ เน่ือง” (กระทรวงศึกษำธิกำร, 2554) ซึ่งกรอบของหลกั สตู รกำรวิจัยวิชำ
ภำษำไทย น้ัน ได้มีกำรกำหนดเป็นมำตรฐำนกำรเรียนรู้โดยมีองค์ควำมรู้ ทักษะ คุณธรรม จริยธรรม
และค่ำนิยม ที่ประกอบด้วย 5 สำระ คือ 1) กำรอ่ำน 2) กำรเขียน 3) กำรฟัง กำรดู และกำรพูด 4)
หลกั กำรใช้ภำษำ และ 5) วรรณคดแี ละวรรณกรรม และหลกั กำรใช้ภำษำก็เป็นสำระกำรเรยี นรู้ หน่ึงที่
สำคญั ท่ีทำให้ผู้เรียนมคี วำมรู้และควำมเขำ้ ใจธรรมชำติของภำษำไทยไดม้ ำกขึ้น

ดว้ ยควำมสำคญั ดังกล่ำวหลักสตู รแกนกลำงกำรวิจัยขนั้ พนื้ ฐำน พทุ ธศกั รำช 2551 มุ่งพฒั นำ
ผู้เรียนทุกคน ซ่ึงเป็นกำลังของชำติใหเ้ ป็นมนุษย์ท่ีมคี วำมสมดุลทั้งด้ำนรำ่ งกำย ควำมรู้คุณธรรม มีจิต
สำนึกในควำมเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตยอนั มี
พระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีควำมรู้และทักษะพ้ืนฐำน รวมท้ังเจตคติท่ีจำเป็นต่อกำรวิจัยต่อ
กำรประกอบอำชีพและกำรวิจัยตลอดชวี ิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั บนพื้นฐำนควำมเช่ือว่ำทุกคน
สำมำรถเรียนรู้และพัฒนำตนเองได้เต็มตำมศักยภำพ (กระทรวงศึกษำธิกำร, 2551) เด็กไทยทุกคน

2

ควรเรียนรู้และใช้ภำษำไทยได้อยำ่ งถูกต้องทกุ โอกำส ซึ่งกำรเรยี นกำรสอนภำษำไทยเป็นทักษะที่ต้อง
ฝึกฝนจนเกิดควำมชำนำญ ในกำรใชภ้ ำษำเพอื่ กำรสอ่ื สำร กำรอ่ำนและกำรฟงั เปน็ ทกั ษะของกำรรับรู้
เร่ืองรำว ควำมรู้ประสบกำรณ์ ส่วนกำรพูดและกำรเขียนเป็นทักษะของกำรแสดงออกด้วยกำรแสดง
ควำมคดิ เหน็ ควำมรูแ้ ละประสบกำรณ์ กำรเรยี นภำษำไทยจึงต้องเรยี นเพ่ือกำรสอ่ื สำร ให้สำมำรถรบั รู้
ข้อมูลข่ำวสำรได้อย่ำงพินิจพิเครำะห์ สำมำรถนำควำมรู้ ควำมคิดมำเลือกใช้เรียบเรียงคำมำใช้ตำม
หลักภำษำได้ถูกต้องตรงตำมควำมหมำย กำลเทศะและใช้ภำษำได้อย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ ธรรมชำติของ
ภำษำไทยเป็นเร่ืองทักษะจะแยกเน้ือหำสำระของทักษะแต่ละชั้นปีโดยเด็ดขำดไม่ได้จำเป็นจะต้องมี
กระบวนกำรฝกึ ทกั ษะต่ำง ๆ ใหต้ อ่ เนอื่ งกันไป เนอ้ื หำ เช่น กำรอำ่ นและกำรเขียนสะกดคำ กำรอ่ำน
จับใจควำม กำรเลือกใช้คำใหต้ รงตำมควำมหมำย กำรเขียนแสดงควำมรู้สึก ควำมคิดประสบกำรณ์
ควำมต้องกำร จินตนำกำร กำรนำควำมรู้จำกกำรอ่ำนไปใช้ในกำรตัดสินใจ กำรแก้ปัญหำและกำร
ดำเนนิ ชวี ิต จำเปน็ ต้องสอนทกุ ช้นั ในเรอื่ งของทักษะภำษำ และแต่ละชน้ั จะมเี นื้อหำในกำรฝึกทักษะที่
เพ่มิ ควำมซับซอ้ นและยำกมำกข้นึ เชน่ จำนวนคำเพิ่มมำกขึ้น ประโยคที่ใช้ยำวและซบั ซ้อนข้นึ เรื่อง
ท่นี ำมำอ่ำนยำว

กำรสอนภำษำไทยให้บรรลุวัตถุประสงค์และมีประสิทธิภำพนั้น จำเป็นต้องฝึกทักษะต่ำง ๆ
ใหส้ มั พนั ธ์กนั ท้ังกำรรับเข้ำมำ คือ กำรอำ่ นและกำรฟงั กับทักษะกำรถ่ำยทอดออกไป คอื กำรพดู และ
กำรเขียน ในด้ำนกำรเขียน ถือเป็นทักษะท่ียุ่งยำกซับซ้อนและเป็นทักษะถ่ำยทอดที่สำคัญต่อกำร
ส่ือสำรอย่ำงยิ่งจำกข้อมูลสภำพปัญหำ ควำมสำคัญ และหลักกำรดังกล่ำว ควรได้รับกำรแก้ไขอย่ำง
เร่งด่วน โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง ตัวครูผู้สอน ควรจะมีกำรวิจัยหำวิธีปรับปรุงพัฒนำกำรจัดกิจกรรมกำร
เรียนรู้ให้มีประสิทธิภำพ ให้ท้ังควำมรู้ทักษะกำรคิด ควำมสนุกสนำนเพลิดเพลินไปพร้อม ๆ กัน มี
เทคนคิ กำรสอนที่หลำกหลำย ทำให้เกดิ กำรเรียนรู้ เกดิ ควำมแม่นยำ จดจำงำ่ ย และเข้ำใจอย่ำงลึกซึ้ง
จัดระบบเชื่อมโยงควำมคิดต่ำง ๆ เขำ้ ดว้ ยกัน

ผู้ศึกษำได้รับมอบหมำยให้รับผิดชอบในกำรจัดกำรเรียนกำรสอนวิชำภำษำไทยพร้อมท้ังวัด
และประเมนิ ผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรียนของนักเรยี นระดับประถมศกึ ษำปีที่ 2 โรงเรยี นนำคำพิทยำสรรพ์
จังหวัดขอนแก่น พบว่ำในปีกำรศึกษำ 2563 นักเรียนมีปัญหำทำงด้ำนกำรเขียนสะกดคำไม่ถูกต้อง
และอ่ำนไมอ่ อก เมื่อนักเรียนเขียนสะกดคำไมไ่ ดย้ ่อมสง่ ผลใหอ้ ่ำนไม่ออกตำมมำด้วย สง่ิ เหลำ่ นี้เป็น
สำเหตุให้ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรียนต่ำและกำรที่นักเรียนอ่ำนไม่ออกเขียนสะกดคำไม่
ถูกต้องยงั มผี ลกระทบต่อไปในกำรเรียนกำรสอนในกลมุ่ สำระกำรเรียนรอู้ นื่ อีกด้วย

ผู้ศึกษำได้คิดหำแนวทำงแก้ปัญหำดังกล่ำว จึงได้ศึกษำหำนวัตกรรมท้ังเก่ำและใหม่นำมำ
แก้ปัญหำ จึงพบว่ำกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนภำษำไทยโดยใช้แบบฝึกทักษะจะทำให้สำมำรถ
แก้ปัญหำดังกล่ำวได้ผู้รำยงำนจึงได้ศึกษำแนวคิด ทฤษฏีท่ีเก่ียวข้องกับกำรพัฒนำแบบฝึกทักษะเพ่ือ

3

พัฒนำทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียนสะกดคำพื้นฐำนของนักเรียนและพัฒนำกำรเรียนกำรสอน
ภำษำไทยให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึน้

ด้วยเหตุผลดังกล่ำว ผู้ศึกษำจึงมีแนวควำมคิดท่ีจะพัฒนำกำรเขียนคำพ้นื ฐำน กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้ภำษำไทย ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 2 เพ่ือเป็นข้อสนเทศนำไปใช้เป็นแนวทำงในกำร
พัฒนำผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนและควำมพงึ พอใจของนกั เรียนให้กระตือรือร้นต่อกำรเรยี นเพื่อใช้เป็น
แนวทำงในกำรพัฒนำกำรจัดกำรเรยี นรู้ กลมุ่ สำระกำรเรยี นร้ภู ำษำไทย ต่อไป

1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของกำรศึกษำ
1. เพ่ือศึกษำผลกำรใช้แบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้ภำษำไทยในกำรพัฒนำทักษะกำรอ่ำนและ

กำรเขียนคำพ้ืนฐำน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 2 โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ อำเภออุบลรัตน์
จังหวดั ขอนแก่น ให้มีประสิทธิภำพตำมเกณฑ์ 70/70

2. เพื่อเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น จำกกำรเรียนดว้ ย
แบบฝกึ ทกั ษะกำรเรียนรู้ภำษำไทยในกำรพฒั นำทักษะกำรอ่ำนและกำรเขยี นคำพื้นฐำน ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ อำเภออุบลรตั น์ จังหวัดขอนแกน่

3. เพอ่ื หำค่ำดชั นปี ระสทิ ธิผลของแบบฝกึ กำรอ่ำนและกำรเขียนคำพื้นฐำนในแบบฝึก
ทกั ษะกำรเรียนรู้ภำษำไทย ของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 2 โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ อำเภอ
อุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น

4. เพอื่ ศึกษำควำมพงึ พอใจของนกั เรียนช้ันประถมศกึ ษำปีที่ 2 ทม่ี ีตอ่ แบบฝึกทักษะกำร
เรียนรูภ้ ำษำไทยในกำรพฒั นำทกั ษะกำรอำ่ นและกำรเขียนคำพ้นื ฐำน ของนักเรียนช้ันประถมศึกษำ
ปที ่ี 2 โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ อำเภออุบลรตั น์ จังหวัดขอนแกน่

1.3 สมมตฐิ ำนกำรศกึ ษำ
1. กำรวิเครำะหแ์ ละหำประสทิ ธภิ ำพของแผนกำรจดั กำรเรียนรู้ โดยกำรหำ

ประสทิ ธิภำพ E1 และ E2
2 กำรวเิ ครำะห์ข้อมลู จำกแบบทดสอบ วดั ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรยี น ใช้ค่ำสถิติดงั น้ี
2.1 ค่ำเฉลยี่ ( X )
2.2 ค่ำสว่ นเบ่ียงเบนมำตรฐำน (S.D.)
2.3 กำรเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน ด้วยแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและกำร

เขียนคำพื้นฐำนในแบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้ภำษำไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 ก่อนและ
หลงั ทจี่ ดั กำรเรยี นรู้แบบรำยบุคคล โดยกำรทดสอบคำ่ t – test แบบ dependent

4

1.4 ขอบเขตของกำรศกึ ษำ
1. ประชำกรและกลุ่มตวั อย่ำง
กลุ่มเป้ำหมำยท่ีใช้ในกำรศึกษำครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนนำคำวิทยำสรรพ์

อำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2563 จำนวน 9 คน ได้มำโดยเลือก
แบบเจำะจง (Purposive Sampling)

2. เน้ือหำ
เนื้อหำท่ีใช้ใน กำรสร้ำงแบบฝึกทักษะกำรเรียนรูภ้ ำษำไทยในกำรพัฒนำทักษะกำร

อ่ำนและกำรเขียนคำพนื้ ฐำน ของนกั เรียนชน้ั ประถมศึกษำปีที่ 2 โรงเรยี นนำคำวทิ ยำสรรพ์ อำเภอ
อุบลรตั น์ จงั หวัดขอนแกน่ โดยแบง่ ออกเปน็ 9 ชุด ดงั น้ี

1.1 คำสะกดในมำตรำแม่ กก
1.2 เขยี นและอ่ำนจำกคำในมำตรำแม่ กก
1.3 เขยี นตัวสะกดในมำตรำแม่ กน
1.4 คำท่สี ะกดในมำตรำแม่ กน
1.5 คำทข่ี ึ้นต้นดว้ ยอกั ษรนำ
1.6 เลือกคำแล้วเตมิ ในประโยค
1.7 เตมิ คำในประโยค
1.8 เขยี นคำศัพท์จำกคำอำ่ น
1.9 เขียนคำอ่ำนคำควบกลำ้
3. ตัวแปรท่ีใชใ้ นกำรศึกษำ
3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพื้นฐำนในแบบฝึก
ทักษะกำรเรยี นรูภ้ ำษำไทย
3.2 ตวั แปรตำม ไดแ้ ก่

(1) ผลสมั ฤทธ์ิทำงกำรเรียนภำษำไทย กล่มุ สำระกำรเรียนร้ภู ำษำไทย กำร
ใช้แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพ้ืนฐำนในแบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้ภำษำไทย ของนักเรยี น
ชั้นประถมศึกษำปที ี่ 2

(2) ควำมพึงพอใจของนักเรียนที่มตี ่อกำรสอนโดยใชแ้ บบฝึกทักษะกำรอ่ำน
และกำรเขยี นคำพื้นฐำนในแบบฝกึ ทักษะกำรเรยี นรู้ภำษำไทย ของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 2

4. ระยะเวลำ ระยะเวลำในกำรศึกษำ ภำคเรยี นท่ี 2/2563
1.5 นิยำมศพั ทเ์ ฉพำะ

5

1. แบบฝึกทักษะ หมำยถึง นวตั กรรมท่ีผศู้ ึกษำสร้ำงขึ้นเพือ่ ฝึกทกั ษะกำรคิด กำรวิเครำะห์
กำรแก้ปัญหำ และกำรปฏิบัติของผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับจุดประสงค์และเนื้อหำของวิชำ
ภำษำไทย เรอื่ งกำรแต่งคำประพันธ์ แบบฝกึ ประกอบด้วย

1.1 คู่มือครู คำชี้แจงเกี่ยวกับกำรใช้แบบฝึก ส่ิงที่ครูต้องเตรียมก่อนสอน บทบำท
ของครู กำรจดั ช้ันเรยี น

1.2 คมู่ ือนักเรียน ประกอบดว้ ย คำชแ้ี จงสำหรบั นักเรียน
1.3 แผนกำรสอน ประกอบด้วย หัวเรื่อง กำหนดเวลำเรียน เน้ือหำ ควำมคิดรวบ
ยอด จุดประสงค์ กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน และกำรวดั และกำรประเมนิ ผล
1.4 กำรประเมินผล ประกอบดว้ ย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี น
2. กำรสอนโดยใช้แบบฝึก หมำยถึง กำรให้นักเรียนได้เรียนรู้จำกแบบฝึกที่ผู้วิจัยสร้ำงข้ึน
ปฏบิ ตั ดิ ้ำนกำรอ่ำนและกำรเขียนภำษำไทย ช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี 2 จำนวน 9 แบบฝึก
3. ประสิทธภิ ำพ หมำยถึง ควำมสำมำรถที่ทำให้เกิดผลในงำนในท่นี ี้หมำยถึง ประสิทธิภำพ
ของแบบฝึกทักษะทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพื้นฐำนในแบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้ภำษำไทย
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 มีประสิทธิภำพตำมเกณฑ์ที่ตั้งไว้เท่ำกับ 70/70 ซ่ึงมี
ควำมหมำยดงั น้ี
70 ตัวแรก หมำยถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคน จำกกำรทดสอบ
ระหว่ำงเรียน ซ่ึงตอ้ งไม่นอ้ ยกว่ำรอ้ ยละ 70
70 ตัวหลัง หมำยถึง ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคน จำกกำรทำ
แบบทดสอบผลสัมฤทธท์ิ ำงกำรเรียนหลงั เรยี นจบ ซึ่งไดค้ ะแนนเฉลี่ยไมน่ อ้ ยกวำ่ ร้อยละ 70
4. ผลสมั ฤทธ์ิกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพนื้ ฐำนในแบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้ภำษำไทย หมำยถงึ
สำมำรถอ่ำนและเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทยได้ และจำกกำรทำแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียน
หลังจำกกำรเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพ้ืนฐำนในแบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้
ภำษำไทย ช้ันประถมศกึ ษำปีที่ 2
5. ควำมพึงพอใจ หมำยถงึ ควำมรู้สกึ ของนกั เรียน วำ่ แบบฝกึ ทักษะกำรอำ่ นและกำรเขียนคำ
พ้ืนฐำนในแบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 2 ว่ำมีควำมเหมำะสมและมี
คุณลักษณะที่ดีต่อกำรเรียนรู้ของนักเรียนเพียงใด ซ่ึงวัดโดยใช้แบบสอบถำม ซ่ึงเป็นแบบมำตรำส่วน
ประมำณคำ่ 5 ระดบั แบง่ เปน็ เหมำะสม มำกที่สดุ เหมำะสมมำก เหมำะสมปำนกลำง เหมำะสมนอ้ ย
และเหมำะสมน้อยที่สดุ

1.6 ประโยชนท์ ค่ี ำดว่ำจะไดร้ ับ
1. นกั เรียนสำมำรถอำ่ นและเขียนสะกดคำในภำษำไทยได้ดขี น้ึ

6

2. นักเรียนมีพัฒนำกำรทำงกำรเรียนด้ำนกำรอ่ำนและกำรเขียนสะกดคำดีขึ้น ช่วยให้
ผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนกำรสอนสงู ข้ึน

3. นักเรยี นสำมำรถทำแบบฝกึ ทักษะไดต้ ำมเกณฑท์ กี่ ำหนดไว้
4. นักเรยี นสำมำรถนำควำมรู้ทไ่ี ด้จำกกำรเรียนตำมแบบฝึกทักษะ สำมำรถนำไปประยุกต์ใช้
ในชีวติ ประจำวันได้

บทที่ 2
เอกสำรและงำนวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ ง

กำรดำเนินกำรศกึ ษำครง้ั นี้ เพ่ือพฒั นำทกั ษะกำรอำ่ นและกำรเขียนคำพ้นื ฐำนภำษำไทย โดย
ใช้แบบฝึกทักษะ กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์
ผวู้ จิ ยั ไดศ้ กึ ษำเอกสำรวรรณกรรมและงำนวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง ดังต่อไปนี้

1. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พุทธศักรำช 2551 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทยช้ันประถมศึกษำปีท่ี 2

2. กำรเรยี นกำรสอนภำษำไทย
3. กำรอำ่ น

3.1 ควำมหมำยของกำรอ่ำน
3.2 ควำมสำคญั ของกำรอำ่ น
3.3 กำรอำ่ นแจกลกู สะกดคำ
4. กำรเขยี น
4.1 ปญั หำของกำรเขยี น
4.2 ควำมสำคัญของกำรเขยี น
4.3 จุดมุ่งหมำยของกำรเขยี น
5. แบบฝกึ ทกั ษะ
5.1 ควำมหมำยและควำมสำคญั ของแบบฝกึ ทักษะ
5.2 ลักษณะของแบบฝึกทักษะท่ดี ี
5.3 ประโยชนข์ องแบบฝึกทักษะ
5.4 หลกั กำรสร้ำงแบบฝึกทกั ษะ
5.5 สว่ นประกอบของแบบฝึกทกั ษะ
5.6 รูปแบบกำรสรำ้ งแบบฝึกทกั ษะ
5.7 ข้นั ตอนกำรสรำ้ งแบบฝกึ ทักษะ
5.8 แนวคิดหลักกำรทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับแบบฝึกทกั ษะ
6 . งำนวจิ ัยทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
6.1 งำนวิจยั ในประเทศ
6.2 งำนวจิ ัยต่ำงประเทศ
1. หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย

8

ทำไมตอ้ งเรียนภำษำไทย
ภำษำไทยเปน็ เอกลักษณ์ของชำติเป็นสมบตั ทิ ำงวัฒนธรรมอันก่อให้เกดิ ควำมเปน็ เอกภำพ

และเสรมิ สร้ำงบคุ ลกิ ภำพของคนในชำติให้มีควำมเปน็ ไทย เปน็ เครือ่ งมอื ในกำรติดต่อสอ่ื สำรเพ่ือสร้ำง
ควำมเข้ำใจและควำมสัมพนั ธ์ท่ีดีตอ่ กนั ทำใหส้ ำมำรถประกอบกิจธุระ กำรงำน และดำรงชีวิตร่วมกัน
ในสังคมประชำธิปไตยได้อย่ำงสันติสุข และเป็นเครื่องมือในกำรแสวงหำควำมรู้ ประสบกำรณ์จำก
แหล่งข้อมูลสำรสนเทศต่ำงๆ เพื่อพัฒนำควำมรู้พัฒนำกระบวนกำรคิดวิเครำะห์ วิจำรณ์ และ
สร้ำงสรรค์ให้ทันต่อกำรเปล่ียนแปลงทำงสังคมและควำมก้ำวหน้ำทำงวิทยำศำสตร์ เทคโนโลยี
ตลอดจนนำไปใช้ในกำรพัฒนำอำชีพให้มีควำมมั่นคงทำงเศรษฐกิจ นอกจำกน้ียังเป็นส่ือแสดงภูมิ
ปัญญำของบรรพบุรษุ ด้ำนวัฒนธรรม ประเพณี และสุนทรียภำพ เป็นสมบัติล้ำค่ำควรแก่กำรเรียนรู้
อนรุ ักษ์ และสืบสำนให้คงอยู่คู่ชำติไทยตลอดไป เรยี นรอู้ ะไรในภำษำไทย ภำษำไทยเป็นทักษะท่ีต้อง
ฝึกฝนจนเกิดควำมชำนำญในกำรใช้ภำษำเพ่ือกำรส่ือสำร กำรเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ และเพ่ือ
นำไปใช้ในชวี ิตจรงิ

กำรอ่ำน กำรอ่ำนออกเสียงคำ ประโยค กำรอ่ำนบทร้อยแก้ว คำประพันธ์ชนิดต่ำงๆ
กำรอ่ำนในใจเพอื่ สรำ้ งควำมเข้ำใจ และกำรคิดวเิ ครำะห์ สังเครำะหค์ วำมรูจ้ ำกสงิ่ ทอ่ี ่ำน เพอื่ นำไป
ปรับใช้ในชีวติ ประจำวัน

กำรเขียน กำรเขียนสะกดคำตำมอกั ขรวิธี กำรเขียนสือ่ สำรโดยใชถ้ ้อยคำและรปู แบบต่ำงๆ
ของกำรเขียน ซึ่งรวมถึงกำรเขียนเรียงควำม ย่อควำม รำยงำนชนิดต่ำงๆ กำรเขียนตำม
จินตนำกำร วเิ ครำะห์วิจำรณ์ และเขยี นเชิงสร้ำงสรรค์

กำรฟัง กำรดู และกำรพูด กำรฟังและดูอย่ำงมีวิจำรณญำณ กำรพูดแสดงควำมคิดเห็น
ควำมรูส้ กึ พูดลำดบั เรือ่ งรำวตำ่ งๆ อยำ่ งเปน็ เหตุเป็นผล กำรพดู ในโอกำสต่ำงๆ ทั้งเป็นทำงกำร
และไม่เป็นทำงกำร และกำรพดู เพื่อโน้มน้ำวใจ

หลักกำรใช้ภำษำไทย ธรรมชำติและกฎเกณฑ์ของภำษำไทย กำรใช้ภำษำให้ถูกต้อง
เหมำะสมกบั โอกำสและบุคคล กำรแต่งบทประพันธป์ ระเภทตำ่ งๆ และอิทธพิ ลของภำษำต่ำงประเทศ
ในภำษำไทย วรรณคดีและวรรณกรรม วิเครำะห์วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่ือศึกษำข้อมูล
แนวควำมคิด คุณค่ำของงำนประพันธ์ และควำมเพลิดเพลิน กำรเรียนรู้และทำควำมเข้ำใจบทร้อง
เลน่ ของเดก็ เพลงพื้นบ้ำนที่เป็นภูมิปัญญำทม่ี คี ณุ ค่ำของไทย ซง่ึ ได้ถ่ำยทอดควำมรู้สกึ นึกคดิ ค่ำนิยม
ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องรำวของสังคมในอดีต และควำมงดงำมของภำษำ เพ่ือให้เกิดควำม
ซำบซึ้งและภูมใิ จในบรรพบุรษุ ทไ่ี ดส้ ่งั สมสบื ทอดมำจนถงึ ปจั จุบัน

สำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรู้
สำระที่ 1 กำรอ่ำน

9

มำตรฐำน ท 1.1ใช้กระบวนกำรอ่ำนสร้ำงควำมรู้และควำมคิดเพ่ือนำไปใช้ตัดสินใจ
แกป้ ัญหำในกำรดำเนนิ ชีวิตและมนี ิสัยรักกำรอำ่ น

สำระท่ี 2 กำรเขยี น
มำตรฐำน ท 2.1 ใช้กระบวนกำรเขียน เขียนสื่อสำร เขียนเรียงควำม ย่อควำม และเขียน

เรื่องรำวในรูปแบบต่ำงๆ เขียนรำยงำนข้อมูลสำรสนเทศและรำยงำนกำรศึกษำค้นคว้ำอย่ำงมี
ประสิทธภิ ำพ
สำระท่ี 3 กำรฟัง กำรดู และกำรพูด

มำตรฐำน ท 3.1 สำมำรถเลือกฟังและดูอย่ำงมีวิจำรณญำณ และพูดแสดงควำมรู้ ควำมคิด
และ ควำมรูส้ ึกในโอกำสต่ำงๆ อยำ่ งมีวจิ ำรณญำณและสร้ำงสรรค์
สำระที่ 4 หลักกำรใช้ภำษำไทย

มำตรฐำน ท 4.1เข้ำใจธรรมชำติของภำษำและหลักภำษำไทย กำรเปล่ียนแปลงของภำษำ
และพลงั ของภำษำ ภมู ปิ ญั ญำทำงภำษำ และรักษำภำษำไทยไว้เปน็ สมบตั ิของชำติ
สำระท่ี 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม

มำตรฐำน ท 5.1เข้ำใจและแสดงควำมคิดเห็น วิจำรณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่ำง
เหน็ คณุ ค่ำและนำมำประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริง

2. กำรเรยี นกำรสอนภำษำไทย
2.1 แนวกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนภำษำไทย

อมั พร อังศรพี วง (อำ้ งในวิมลรตั น์ สุนทรโรจน์. 2556 ) ไดใ้ หแ้ นวกำรจดั กิจกรรม
กำรเรยี นกำรสอนภำษำไทยไวด้ ังน้ี

1. ฝึกทักษะกำรฟัง พูด อ่ำน และเขียนให้ถูกต้อง คล่องแคล่ว โดยกำรฝึก
ทักษะแต่ละอย่ำงให้แม่นยำแล้วจึงฝึกทักษะท้ัง 5 ให้สัมพันธ์กันและส่งเสริมกำรคิด ตลอดจน
ควำมคดิ สร้ำงสรรค์

2. ฝึกทกั ษะทำงภำษำซ้ำๆ และบ่อยๆ จนเกดิ ควำมชำนำญ และหมั่นฝกึ ฝน
ทบทวนอยเู่ สมอ ครูผู้สอนตอ้ งส่งเสรมิ ให้นกั เรียนฝึกทกั ษะเปน็ รำยบคุ คลอยำ่ งท่ัวถงึ

3. ฝึกให้ผู้เรียนรู้หลักเกณฑ์ทำงภำษำควบคู่ไปกับกำรใช้ภำษำและรู้จัก
วัฒนธรรมทำงภำษำ

4. สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนนำควำมรู้ และทกั ษะทีไ่ ดจ้ ำกกำรเรียนภำษำไทยไปใช้
เปน็ เคร่ืองมอื ส่อื สำรในชีวิตประจำวัน และใช้เปน็ พ้นื ฐำนในกำรเรยี นกล่มุ ประสบกำรณอ์ น่ื ๆ

10

5. ปลูกฝังเจตคติท่ีดีต่อกำรเรียนภำษำไทย โดยสอนให้เห็นคุณค่ำและ
ตระหนักควำมสำคัญของภำษำไทย ท้ังในส่วนที่จำเป็นตอ้ งใช้เพือ่ กำรส่ือสำร และในด้ำนกำรอนรุ กั ษ์
มรดกทำงวัฒนธรรมทีส่ ำคัญของชำติ

6. ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดควำมพึงพอใจควำมงดงำมของภำษำเพื่อให้เกิด
ควำมจรรโลงใจ โดยใช้ธรรมชำติ บทร้อยแก้ว และรอ้ ยกรองทีเ่ หมำะสมกับวยั และระดับชัน้ มำเป็นสื่อ
กำรเรยี นกำรสอน

7. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีนิสัยรักกำรอ่ำน ใฝ่หำควำมรู้จำกแหล่งต่ำง ๆ เพื่อ
ประโยชน์ในกำรดำรงชีวิต

8. สอดแทรกคุณธรรมต่ำงๆ เช่น ควำมมีระเบียบวินัย ควำมขยัน ควำม
อดทน ควำมรบั ผิดชอบ

9. ฝึกให้ผู้เรียนเป็นคนช่ำงสังเกต จดจำ และจดบันทึกสิ่งต่ำง ๆ เพ่ือ
เสริมสร้ำงประสบกำรณ์ทำงภำษำ ได้รับควำมรู้ ควำมเพลิดเพลิน และเป็นกำรใช้เวลำว่ำงให้เป็น
ประโยชน์

10. นำภำษำท่ีใช้ในสังคมแวดล้อมมำเป็นสื่อประกอบกำรเรียนกำรสอน
เพอ่ื ให้สัมพนั ธก์ ับกำรเรยี นและสำมำรถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จรงิ ในชวี ติ ประจำวนั

11. ให้แบบอย่ำงที่ดีแก่นักเรียน โดยเฉพำะเรื่องกำรใช้ภำษำและกำร
สอ่ื สำรของครผู ู้สอน

12. วัดและประเมินผล โดยคำนึงถึงวัย ระดับชั้นและพฒั นำกำรทำงภำษำ
ของนักเรยี น

13. ส่งเสริมให้นักเรียนประเมินผลกำรเรียนภำษำของตน เพ่ือให้นักเรียน
พฒั นำให้ดยี ง่ิ ข้ึนตำมลำดบั

14. ศึกษำ ติดตำมและแก้ไขข้อบกพร่องทำงภำษำของนักเรียนอย่ำง
สมำ่ เสมอและต่อเน่อื ง

15. จัดกำรเรียนกำรสอนให้ผู้เรียนได้เรียนภำษำไทยด้วยควำมสนุกสนำน
นำ่ สนใจ โดยใชโ้ ปรแกรม เพลง รูปแบบกำรสอนอ่ืนๆ และส่ือกำรสอนทห่ี ลำกหลำย เพ่ือให้นกั เรียน
เกิดควำมรกั ในกำรเรียนภำษำไทย

16. จัดทำหนังสือที่เหมำะสมให้ผู้เรยี นอ่ำนมำกๆ หรือส่งเสริมกำรอ่ำน
หนงั สือในห้องสมุด เพื่อให้นักเรียนมคี วำมรกู้ วำ้ งขวำงขึ้น

2.2 หลกั ในกำรเลือกกจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนภำษำไทย

11

กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนมีมำกมำย เรำสำมำรถจัดได้ทุกระยะของกำรเรียนกำร
สอนต้ังแต่ขั้นนำเข้ำสู่บทเรียน ข้ันสอน ข้ันสรุป และข้ันประเมินผล ครูเป็นผู้เลือกกิจกรรมให้
เหมำะสมกบั บทเรยี น โดยยึดหลักดงั นี้

1. เลอื กใหเ้ หมำะสมกับจดุ ประสงคข์ องบทเรียน
2. เลือกให้เหมำะสมกับผเู้ รยี น เช่น ควำมยุง่ ยำก ระดับควำมรู้
3. เลือกโดยพิจำรณำควำมสำมำรถของผู้สอนดว้ ย เชน่ ครูท่รี ้องเพลงไมเ่ กง่
กจ็ ะใชเ้ ครอ่ื งบนั ทกึ เสยี งแทน
4. เลอื กโดยพจิ ำรณำสภำพแวดลอ้ มในกำรเรยี นกำรสอน เช่น ถ้ำห้องเรียน
แคบ กำรจัดใหเ้ ลน่ เกมแข่งขันก็อำจจะเกิดเสยี งดังไปรบกวนห้องอนื่ และกำรเคลื่อนไหวก็ไม่สะดวก
ครูใช้กจิ กรรมอืน่ แทน หรอื พำนกั เรียนไปสนำมหญ้ำแทน
5. เลอื กกิจกรรมให้ควำมสนุกสนำน ปฏิบตั งิ ่ำย ไมซ่ ับซอ้ น และยืดหยนุ่ ได้
6. เลือกกจิ กรรมท่ใี ห้แนวคดิ ริเรมิ่ สรำ้ งสรรค์และทกุ คนมีสว่ นร่วม
นิหัสลัง เจยำมำ( 2554) ได้อธิบำยถึงกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนเป็นกำรจดั
กิจกรรมกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยในระดับประถมศึกษำควรคำนึงถึงจุ ดประสงค์ควำมพร้อมของ
ผู้เรียนควรให้ผู้เรียนมีพัฒนำกำรท้ัง 4 ทักษะ คือ ฟัง พูด อ่ำน เขียน และมีกำรฝึกฝนทำงภำษำ มี
กำรบูรณำกำรสอนกับวิชำอืน่ ๆ ตำมควำมเหมำะสม เปิดโอกำสให้นกั เรยี นร่วมกจิ กรรมกำรเรียนกำร
สอนมำกที่สุด เน้นให้ผู้เรียนรู้จักคิดตัดสินใจเอง รู้จักแก้ปัญหำด้วยตนเองอยู่เสมอ ควรใช้กำรสอน
หลำยๆ วิธี นอกจำกน้ีครูควรสอดแทรกคุณธรรม และให้รู้จักกำรทำงำนร่วมกับคนอ่ืนได้อย่ำงมี
ประสิทธิภำพ กำรเรียนกำรสอนนอกจำกจะมีควำมสำคัญในตัวมันเองแล้วยังเป็นปจั จัยสำคัญที่ชว่ ย
ให้ผู้เรียนสำมำรถเรียนวชิ ำอ่ืนๆ ได้อีก ดังนั้นกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยจึงไมน่ ่ำจำกดั อย่เู ฉพำะใน
ชวั่ โมงภำษำไทยเท่ำนั้น ซ่ึงกำรสอนภำษำไทยควรยึดหลักดงั น้ี
ด้ำนตัวผู้สอน ควรสอนให้สอดคล้องกับธรรมชำติของผู้เรียน ผู้สอนควรเป็น
แบบอย่ำงทด่ี ีในกำรใช้ภำษำในกำรทำกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนควรสอนเรือ่ งใกล้ตัวผู้เรียนและสอน
ให้สัมพนั ธก์ ับวชิ ำอ่ืนๆ นอกจำกน้แี ลว้ ควรมกี ำรประเมินผลเปน็ ระยะ เพ่ือผเู้ รียนจะได้ทรำบ
ควำมกำ้ วหน้ำทำงกำรเรียนของตัวเอง
ดำ้ นผู้เรียน ควรมคี วำมพรอ้ มในกำรเรยี นมีกำรศึกษำคน้ คว้ำดว้ ยตนเอง และมกี ำร
ฝึกฝนอยู่เสมอ
ด้ำนสอ่ื กำรเรียนกำรสอน ควรมีกำรใช้ส่อื กำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรยี นรูค้ ำ
2.3 สื่อกำรเรียนกำรสอนภำษำไทย
ส่ือกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยมีควำมสำคัญต่อกำรเรียนกำรสอนมำก เพรำะส่ือ
เป็นตัวกลำงท่ีจะช่วยให้กำรสื่อสำรระหว่ำงครูกับนักเรยี นให้เข้ำใจตรงกัน และนกั เรยี นก็สำมำรถทำ

12

ควำมเข้ำใจกับบทเรยี นได้งำ่ ยขน้ึ ทำใหน้ กั เรยี นมคี วำมสนใจบทเรยี นมำกกว่ำกำรสอนทม่ี ีแต่ครู
อธบิ ำยเพยี งอย่ำงเดียว ส่อื กำรเรียนกำรสอนจะช่วยนำควำมมีประสิทธภิ ำพมำสูก่ ำรเรียนกำรสอน
และนำควำมสำเรจ็ มำสวู่ ตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ้งั ไว้

สื่อกำรสอน หมำยถึง วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีกำร และกิจกรรมต่ำงๆ ที่
ครูผู้สอนใช้ถ่ำยทอดควำมรู้และประมวลประสบกำรณ์ไปสู่ผู้เรียนอย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อให้บรรลุ
ตำมจุดประสงคท์ ่ีต้งั ไว้ พอจำแนกสอ่ื กำรสอนออกเป็น 3 ประเภทดังน้ี

1. สื่อประเภทวัสดุ (Materials) หรือบำงทีเรียกว่ำส่ือประเภทเบำ
(Software) หมำยถงึ ส่อื ท่เี ก็บควำมรู้อยู่ในตวั เอง ซึง่ จำแนกยอ่ ยออกเป็น 2 ลกั ษณะ คอื

ก. สื่อประเภทท่ีสำมำรถถ่ำยทอดควำมรู้ได้ด้วยตนเองไม่
จำเป็นต้องอำศยั อปุ กรณอ์ นื่ ช่วย เช่น แผนท่ี ลกู โลก รูปภำพ หนุ่ จำลอง ฯลฯ

ข. วัสดุท่ีไม่สำมำรถถ่ำยทอดควำมรไู้ ดโ้ ดยตัวเองจำเป็นต้องอำศยั
อุปกรณ์อน่ื ช่วย เช่น แผน่ เสียง ฟิล์มภำพยนตร์ สไลด์ ฯลฯ

2. ส่ือประเภทอุปกรณ์หรือเคร่ืองมือ (Equipment) หมำยถึง ส่วนท่ีเป็น
ตัวกลำงหรือตัวผ่ำนทำให้ข้อมูลหรือควำมรทู้ ่ีบันทึกไวใ้ นวัสดุ สำมำรถถ่ำยทอดออกมำให้เห็นหรือได้
ยนิ เช่น เครอื่ งฉำยแผน่ ภำพโปร่งใส เครื่องฉำยสไลด์ เคร่ืองฉำยภำพยนตร์ เคร่ืองรบั โทรทศั น์ เครอ่ื ง
เลน่ แผน่ เสยี ง เปน็ ต้น

3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีกำร (Techniques or methods) หมำยถึง
สื่อท่ีมีลักษณะเป็นแนวคิดหรือรูปแบบขั้นตอนในกำรเรียนกำรสอน โดยสำมำรถนำส่ือวัสดุและ
อุปกรณ์มำช่วยในกำรสอนได้ เช่น เกมและสถำนกำรณ์จำลอง กำรสอนแบบจุลภำค กำรสำธิต เป็น
ตน้

สื่อกำรเรียนกำรสอนภำษำไทยมหี ลำยชนิด ซึ่งจะขอกล่ำวดงั น้ี
1. เกมต่ำงๆ กำรเล่นเป็นส่ิงท่ีเด็กๆ ชอบเป็นชีวิตจิตใจอยู่แล้ว ผู้สอน

สำมำรถพลกิ แพลงกำรเล่นแบบต่ำงๆ ของเด็กมำใช้เสรมิ ทกั ษะทำงภำษำของเด็กได้มำกมำย เช่น กำร
เลน่ เกมกระซิบฝึกทักษะกำรฟัง กำรเล่นทกั ทำยฝึกทกั ษะกำรพูด นอกจำกน้ียงั มเี กมอีกมำกมำยที่
ผสู้ อนจะประยกุ ตใ์ หเ้ หมำะสมกับเน้อื หำที่จะสอน เกมตำ่ งๆ สำมำรถใชไ้ ดท้ กุ ขัน้ ตอนของกำรสอน ไม่
วำ่ จะเป็นขั้นนำเขำ้ สู่บทเรียน ข้ันสอน ข้นั สรุปบทเรยี น กำรเล่นเกมในแต่ละคร้ังผู้สอนควรบอก
จุดมุ่งหมำยให้ผ้เู รยี นทรำบแนช่ ดั ว่ำฝึกทกั ษะใด กำหนดกติกำ และเวลำในกำรเล่นให้แน่นอน กำรเลน่
เกมทั้งท่ีไมต่ อ้ งใช้วัสดอุ ุปกรณ์และต้องใช้ เกมท่ีตอ้ งใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ ผู้สอนตอ้ งเตรียมไว้ล่วงหน้ำ หรอื
ให้ผู้เรียนเตรยี ม และเก็บให้อยู่ในสภำพเรียบร้อยเม่ือเล่นเสร็จ ตัวอย่ำงเกมต่ำงๆ เช่น เกมบิงโก แข่ง
เครอื่ งบนิ ตกปลำ ต่อบัตรคำ จ่ำยตลำด เกมกระซบิ เรียงคำ ยีส่ บิ คำถำม ฯลฯ

13

2. บัตรคำ เป็นส่ือกำรเรียนกำรสอนท่ีใช้ฝึกทักษะด้ำนกำรอ่ำนและกำร
เขียนได้ดีเป็นส่ือที่ผู้สอนนิยมใช้กันมำก เพรำะใช้ประกอบกำรเรียนกำรสอนได้หลำยลักษณะ เช่น
สอนคัดลำยมือ สอนคำใหม่ สอนคำยำก สอนอ่ำนออกเสียง สอนอำ่ นในใจ เลน่ เกมเสริมทกั ษะตำ่ งๆ
3. ปริศนำคำทำย เป็นกำรเล่นของคนไทยมำแต่โบรำณนิยมเล่นกันในหมู่เด็กและผู้ใหญ่ กำรทำย
ปัญหำน้ันฝึกทักษะหลำยด้ำน ท้ังกำรฟัง กำรพูด กำรคิด ไหวพริบในกำรแก้ปัญหำ จินตนำกำร กำร
แสดงออกทำงภำษำ ปรศิ นำคำทำย มีกำรจัดหมวดหม่ไู ว้หลำยหมวดหมู่ เช่น ประเภทสตั ว์ ของใช้ พืช
เป็นตน้

4. เทปบันทึกเสียง เป็นส่ือกำรเรียนกำรสอนท่ีโรงเรียนจัดหำมำไว้ให้
ครูผู้สอน เพรำะใช้ง่ำย เคล่ือนย้ำยได้สะดวก รำคำไม่แพง ครูใช้เทปบันทึกเสียงประกอบกำรสอน
ภำษำไทย โดยใช้สอนอ่ำนทำนองเสนำะ สัมภำษณ์ บนั ทกึ ขำ่ ว นิทำน เปน็ ต้น

5. แผ่นป้ำยสำลี เหมำะสำหรับใช้เป็นส่ือกำรสอนในระดับช้ันเด็กเล็ก ช้ัน
ประถมศึกษำ แต่ก็อำจนำไปใช้ในระดับช้ันมธั ยมหรืออุดมศึกษำก็ได้ แผ่นป้ำยสำลีสำมำรถใช้ติดบัตร
คำ บตั รภำพหรือรูปภำพได้ แต่เรำต้องยอมรบั ว่ำบัตรคำ หรอื บัตรภำพท่ตี ิดบนป้ำยสำลีน้ัน อำจจะไม่
มั่นคง อำจรว่ งหล่นได้

6. สไลด์ประกอบเสียง นำมำใช้งำ่ ยและสำมำรถนำมำเรียนแบบเอกตั บุคคล
หรือประกอบกำรเรียนกำรสอนเป็นกลุ่ม สไลด์ประกอบเสียงชุดใดท่ีจัดทำอย่ำงดีก็จะให้คุณค่ำต่อ
กระบวนกำรเรียนรอู้ ยำ่ งมำก

7. กระเปำ๋ ผนัง เปน็ แผ่นไมบ้ ำงๆ ท่ีเป็นรูปส่เี หลี่ยมผนื ผ้ำ ขนำดเท่ำกบั แผ่น
ปำ้ ยผ้ำสำลีใช้กระดำษแขง็ ทำเป็นร่องหรือกระเป๋ำขนำดใหญพ่ อทจี่ ะเสยี บบัตรคำได้ วธิ ีใชก้ ระเป๋ำผนัง
ก็จะใชค้ ล้ำยกบั แผน่ ปำ้ ยผนังสำลี คอื ใช้กบั บัตรคำ บัตรขอ้ ควำม บัตรภำพ

8. สถำนกำรณ์จำลอง เปรียบเหมือนนำมธรรมของชีวิตจรงิ หรือกำรทำให้
สภำพแวดล้อมหรอื กระบวนกำรของชวี ิตจริงใหง้ ่ำยขน้ึ โดยท่วั ไปสถำนกำรณ์จำลองจะเป็นกำรแสดง
บทบำททีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั บคุ คลหรือส่งิ แวดลอ้ มทส่ี มมุตขิ นึ้ เช่น อำชีพต่ำงๆ ควำมเป็นอยู่ ฯลฯ

3. กำรอำ่ น
ก ำ ร อ่ ำ น เ ป็ น ทั ก ษ ะ ท ำ ง ภ ำ ษ ำ ที่ ส ำ คั ญ แ ล ะ จ ำ เ ป็ น ม ำ ก ใ น ก ำ ร ด ำ ร ง ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย์ ใ น

ชีวิตประจำวันตอ้ งอำศัยกำรอ่ำนจึงจะสำมำรถเข้ำใจและสอื่ ควำมหมำยได้อยำ่ งมปี ระสิทธิภำพ
3.1 ควำมหมำยของกำรอำ่ น
นิรันดร์ สุขปรีดี.2552 ให้ควำมหมำยของกำรอ่ำนว่ำ กำรอ่ำนคือ กำรเข้ำใจ

ควำมหมำยของตัวละคร หรอื สัญลักษณ์ ซ่งึ จะตอ้ งอำศยั ควำมสำมำรถในกำรแปลควำม กำรตีควำม
กำรขยำยควำม กำรจับใจควำมสำคัญและกำรสรปุ ควำม

14

เรวดี อำษำนำม.2557 ได้ให้ควำมหมำยของกำรอ่ำน ดังน้ี กำรอ่ำน หมำยถงึ
กระบวนกำรในกำรแบ่งควำมหมำยของตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ท่ีมีกำรจดบันทึกอย่ำงมีเหตุผลและ
เข้ำใจควำมหมำยของสง่ิ ท่ีอำ่ น ตลอดจนกำรพิจำรณำเลือกควำมหมำยท่ีดีที่สดุ ขน้ึ ไปใช้เป็นประโยชน์
ด้วย จะเห็นได้ว่ำกำรอ่ำนไม่ใช่กำรรับเอำควำมคิดจำกหนังสือที่อ่ำนเฉยๆ ผู้อ่ำนไม่ใช่ผู้รับแต่เป็น
ผกู้ ระทำ สรุปไดว้ ำ่ เปน็ ผู้ใช้ควำมคิดไตรต่ รองเรอื่ งรำวที่ตนเองอ่ำนเสยี กอ่ น แลว้ จึงรบั เอำใจควำมของ
เรื่องทีต่ นอำ่ นไปเกบ็ ไว้หรือนำไปใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ตอ่ ไป ดังนั้นหวั ใจ
ของกำรอ่ำนจงึ อยทู่ ี่กำรเข้ำใจควำมหมำยของคำ

กำรอ่ำนในโรงเรยี นประถมที่ปรำกฏก็คือ กำรทีค่ รใู ห้นักเรียนคนหน่ึงอำ่ นประโยค
หรือขอ้ ควำมนำแล้วใหค้ นอื่นๆ อำ่ นตำม ผู้อ่ำนนำต้งั ใจอำ่ นให้เสียงดงั ไดย้ ินท่ัวทั้งชัน้ เพือ่ เพ่ือนจะอ่ำน
ตำมได้ถูก ผู้อ่ำนตำมมีหน้ำท่ีอ่ำนอย่ำงเดียว ตำอำจจะมองส่ิงต่ำง รอบตัวหูฟัง เพ่ือนคุย ฯลฯ อ่ำน
แล้วจำไม่ได้และไม่รคู้ วำมหมำยของข้อควำมที่อ่ำน ถ้ำวิเครำะห์ตำมควำมหมำยข้ำงต้นแล้ว ลักษณะ
แบบนยี้ ังไม่เรยี กวำ่ อ่ำนได้อยำ่ งสมบูรณ์

กำรทค่ี นเรำจะอ่ำนหนังสือได้เร็วหรือช้ำนั้น องค์ประกอบอย่ำงหนึ่งของกำรอ่ำนคือ
กำรเคลอ่ื นไหวสำยตำในกำรอ่ำนและควำมเข้ำใจควำมหมำยอย่ำงถ่องแท้ ในกำรอ่ำนจะต้องมีกำรฝึก
อยเู่ สมอและถูกต้องตำมวธิ กี ำรด้วย

ควำมเขำ้ ใจควำมหมำยของกำรอำ่ นมีควำมหมำยต่ำงๆ กนั เม่อื เอย่ ถึงกำรอ่ำนตอ้ งมี
ควำมเข้ำใจมำเกี่ยวข้องคือ เข้ำใจในถ้อยคำท่ีอ่ำน เช่น ถ้ำมีเด็กเห็นคำว่ำ กำ แล้วเปล่งเสียงว่ำกำ ก็
เขำ้ ใจว่ำเปน็ กำรอำ่ น เชน่ นีเ้ ป็นกำรเข้ำใจท่ไี ม่ถูกต้อง เพรำะเดก็ อำจไม่เข้ำใจ กำ ท่ีเปลง่ เสยี งออกมำ
นั้น หมำยถึง นกชนิดหนึ่งที่มีสีดำ ร้อง กำ กำ กำ หรืออำจหมำยถึง กำท่ีใช้ในกำรต้มน้ำ หรืออำจไม่
เข้ำใจทง้ั สองควำมหมำยก็ได้ เมอ่ื เปน็ เชน่ นี้ จงึ ยงั ไมเ่ รียกวำ่ กำรอำ่ น แต่เป็นเพียงกำรเปล่งเสียงเท่ำนั้น
ดังน้ันสิ่งที่นกั เรยี นควรเข้ำใจกับควำมหมำยของกำรอ่ำน ถ้ำเป็นกำรอ่ำนที่ต้องเข้ำใจควำมหมำยของ
คำ ซ่งึ จะทำให้นักเรยี นสำมำรถอำ่ นเร่ืองและสรปุ เรือ่ งให้ถูกตอ้ ง

ประทปี วำทิกทินกร.2552 ไดใ้ หค้ วำมหมำยของกำรอำ่ น คือ กำรรบั รูข้ ้อควำมใน
ขอ้ เขียนของตนเอง และของผู้อืน่ รวมทงั้ กำรรับรูเ้ ครอ่ื งหมำยสื่อสำรต่ำงๆ เช่น เคร่อื งหมำยจรำจร
และเครื่องหมำยทีแ่ สดงในแผนภูมติ ่ำงๆ

สนุ นั ทำ ม่นั เศรษฐวิทย์ (2553) ได้ให้ควำมหมำยของกำรอำ่ นว่ำ กำรอ่ำนเปน็ ลำดับ
ขั้นท่ีเกี่ยวข้องกบั กำรทำควำมเข้ำใจควำมหมำยของคำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อควำมและเรอ่ื งรำวของ
สำรทผ่ี ูอ้ น่ื สำมำรถบอกควำมหมำยได้

วรรณี โสมประยูร. (2552) ได้ให้ควำมหมำยของกำรอ่ำนว่ำ กำรอ่ำนเป็น
กระบวนกำรทำงสมองที่ใช้สำยตำสัมผัสตัวอกั ษรหรอื สิ่งพิมพ์อื่นๆ รับรู้และเข้ำใจควำมหมำยของคำ

15

หรือสัญลักษณ์โดยแปลออกเป็นควำมหมำยท่ีใช้ส่ือควำมคิดและควำมรู้ระหว่ำงผู้เขียนกับผู้อ่ำนให้
เขำ้ ใจตรงกนั และผอู้ ่ำนสำมำรถนำควำมหมำยน้ันๆ ไปใชป้ ระโยชน์ได้

ฉวีวรรณ คหู ำภินนั ท์. (2553) ไดใ้ ห้ควำมหมำยของกำรอำ่ นคือควำมเข้ำใจใน
สญั ลักษณ์เครอ่ื งหมำย รูปภำพ ตวั อักษร คำและขอ้ ควำมที่พิมพ์หรือเขยี นขึน้ มำ

รำชบณั ฑิตยสถำน.2556 ได้ใหค้ วำมหมำยของกำรอ่ำนไว้ว่ำ หมำยถงึ กำรอำ่ นตำม
ตัวหนังสือ กำรออกเสียงตำมตัวหนังสือ กำรดูหรือเข้ำใจควำมจำกหนังสือ สังเกตหรือพิจำรณำดู
เพอ่ื ให้เขำ้ ใจ กำรคิด กำรนับ

ฉวีลักษณ์ บญุ กำญจน.2557 ไดใ้ หค้ วำมหมำยของกำรอ่ำน คือ กำรบรโิ ภคคำท่ีถูก
เขียนออกมำเปน็ ตัวหนังสอื หรือสัญลักษณ์ โดยมกี ระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ทเ่ี ร่ิมจำก “แสง” ทีถ่ กู
สะท้อนมำจำกตัวหนังสือ ผ่ำนเลนส์นัยน์ตำและประสำทตำ เข้ำสู่เซลสมองไปเป็นควำมคิด (Idea)
ควำมรับรู้ (Perception) และควำมจำ ท้ังระยะสั้นและระยะยำว

วมิ ลรตั น์ สนุ ทรโรจน์ (2556) ไดใ้ ห้ควำมหมำยของกำรอ่ำนไวห้ ลำยส่วน ดงั นี้
- ส่วนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะของกระบวนกำร หมำยถึง ลำดับข้ันท่ี

เก่ียวข้องกับกำรทำควำมเข้ำใจควำมหมำยของคำ กลุ่มคำ ประโยค ข้อควำมและเรื่องรำวข่ำวสำรท่ี
ผ้อู ่ำนสำมำรถบอกควำมหมำยได้

- ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยำพัฒนำกำร หมำยถึง กำรสอนอ่ำนจะต้อง
เข้ำใจหลักจิตวิทยำพัฒนำกำรทำงภำษำของเด็กแต่ละวัย จัดสื่อกำรสอนให้สอดคล้องกับควำม
ต้องกำรและควำมสนใจของเดก็

- สว่ นทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั ภำษำศำสตร์ หมำยถึง กำรสอนอำ่ นจะตอ้ งเข้ำใจเสียง
ฐำนท่ีเกิดเสียงของพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เข้ำใจหลักภำษำและกำรใช้ภำษำ เพื่อนำหลักกำร
เหลำ่ นั้นมำสอนอ่ำนและเข้ำใจควำมหมำยได้ถูกต้อง

- ส่วนท่ีเกี่ยวข้องกับจิตวทิ ยำทำงกำรศึกษำ หมำยถึง กำรนำหลักจิตวิทยำ
มำใช้ทำงกำรศึกษำ เช่น ควำมพร้อมของกำรอ่ำน ควำมสนใจ แรงจูงใจ กำรเสริมแรง และทฤษฎีที่
เกี่ยวขอ้ ง เพ่ือใช้เปน็ พืน้ ฐำนในกำรพจิ ำรณำกำรจัดกจิ กรรมกำรอ่ำน

- ส่วนที่เก่ียวข้องกับวิชำกำรศึกษำ หมำยถึง กำรรู้จักเลือกวิธีสอนอ่ำนท่ี
เหมำะสมกับวัย และระดับควำมสำมำรถในกำรอ่ำนของนักเรียน ทั้งน้ีให้เป็นไปตำมขั้นพัฒนำกำร
เพื่อให้นกั เรียนประสบควำมสำเร็จในกำรอ่ำน

- ส่วนที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยำด้ำนกำรจำและกำรลืม หมำยถึง กำรท่ีผู้อ่ำน
สำมำรถจำเร่ืองและเกบ็ ไวใ้ นสมอง ถ้ำมีโอกำสเล่ำใหผ้ ู้อ่ืนฟงั ก็สำมำรถเล่ำได้ถกู ต้อง แต่กำรทีผ่ ูอ้ ำ่ นจะ
จำขอ้ ควำมที่อ่ำนได้กจ็ ะต้องเขำ้ ใจควำมหมำยของคำรหู้ นำ้ ทีข่ องคำ อีกทัง้ สำมำรถแยกพยญั ชนะ สระ

16

ตัวสะกด และวรรณยกุ ต์ ออกจำกกนั ได้ อีกประกำรหนึ่งกำรท่ีผู้อำ่ นจะจำเร่ืองได้มำกหรือน้อยนั้นยัง
ขนึ้ อยู่กับควำมสนใจของผ้อู ำ่ นท่ีมตี อ่ เรื่องน้ันอีกด้วย

สรุปควำมหมำยของกำรอ่ำน หมำยถึง กำรเข้ำใจควำมหมำยของคำ
ประโยค ข้อควำม และเรื่องท่ีอ่ำน และเรื่องที่อ่ำนมีควำมสำคัญต่อประเทศชำติและพัฒนำตนเองให้
ก้ำวหน้ำ ผู้ท่ีอ่ำนมำกนอกจำกได้รับควำมรู้อย่ำงกวำงขว้ำงแล้ว ยังทำให้ผ่อนคลำยควำมเครียด ซ่ึง
เปน็ ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจำกกำรอำ่ นนั่นเอง

สรุปได้ว่ำ กำรอ่ำนเป็นกระบวนกำรทำงสมองท่ีต้องใช้สำยตำสัมผัส
ตัวหนังสือหรือส่ิงพิมพ์อ่ืนๆ รับรู้และเข้ำใจควำมหมำยของคำ ที่ใช้ส่ือควำมคิด ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ
ระหวำ่ งผ้เู ขียนกบั ผูอ้ ำ่ น ให้เขำ้ ใจตรงกนั และผูอ้ ำ่ นสำมำรถนำเอำควำมหมำยน้ันๆ ไปใชป้ ระโยชน์ได้

3.2 ควำมสำคญั ของกำรอำ่ น
เรนุกำนต์ พงศ์พสิ ทุ ธกิ ลุ (2552) ไดอ้ ธิบำยถึงควำมสำคญั ของกำรอ่ำนหนังสือมีผล

ต่อผู้อ่ำน 2 ประกำร คือ ประกำรแรก อ่ำนแล้วได้ “อรรถ” ประกำรที่สอง อ่ำนแล้วได้ “รส” ถ้ำ
ผู้อ่ำนสำนึกอยู่ตลอดเวลำถึงผลสำคัญของสองประกำรน้ี ย่อมจะได้รับประโยชน์อย่ำงเต็มที่จำก
หนังสือตรงตำมเจตนำรมณ์ของผู้เขียนเสมอ กำรอ่ำนมีควำมสำคัญต่อทุกคนทุกเพศทุกวัยและทุก
สำขำอำชีพ ซง่ึ พอสรุปได้ดงั นี้

3.2.1 กำรอ่ำนเป็นเครื่องมือท่ีสำคัญยิ่งในกำรศึกษำเล่ำเรียนทุกระดับ
ผู้เรียนจำเป็นต้องอำศัยทักษะกำรอ่ำนทำควำมเข้ำใจเน้ือหำสำระของวิชำกำรต่ำงๆ เพ่ือให้ตนเอง
ไดร้ บั ควำมรแู้ ละประสบกำรณ์ตำมท่ีต้องกำร

3.2.2 ในชีวิตประจำวันโดยทั่วไป คนเรำต้องอำศัยกำรอ่ำนติดต่อสื่อสำร
เพื่อทำควำมเข้ำใจกับบุคคลอ่ืนร่วมไปกับทักษะกำรฟัง กำรพูด กำรเขียน ท้ังในด้ำนภำรกิจส่วนตัว
และกำรประกอบอำชพี กำรงำนต่ำงๆ ในสงั คม

3.2.3 กำรอ่ำนสำมำรถช่วยใหบ้ ุคคลสำมำรถนำควำมรแู้ ละประสบกำรณ์
จำกส่ิงที่อ่ำนไปปรบั ปรุง และพัฒนำอำชีพหรอื ธุรกจิ กำรงำนท่ีตัวเองกระทำอย่ใู ห้เจริญก้ำวหน้ำและ
ประสบควำมสำเรจ็ ไดใ้ นท่สี ุด

3.2.4 กำรอ่ำนสำมำรถสนองควำมต้องกำรพนื้ ฐำนของบุคคลในด้ำนตำ่ งๆ
ได้เป็นอย่ำงดี เช่น ช่วยให้ควำมม่ันคงปลอดภัย ช่วยให้ได้รับประสบกำรณ์ใหม่ ช่วยให้เป็นที่ยอมรับ
ของสังคม ชว่ ยให้มีเกียรตยิ ศและชือ่ เสยี ง ฯลฯ

3.2.5 กำรอ่ำนท้ังหลำยจะส่งเสริมให้บุคคลได้ขยำยควำมรู้และ
ประสบกำรณ์เพิ่มข้ึนอย่ำงลึกซ้ึงและกวำ้ งขวำง ทำให้เป็นผู้รอบรู้ เกิดควำมม่ันใจในกำรพูดปรำศรัย
กำรบรรยำยหรืออภปิ รำยปัญหำต่ำงๆ นบั ว่ำเป็นกำรเพ่ิมบุคลกิ ภำพและควำมนำ่ เช่ือถือให้แกต่ ัวเอง

17

3.2.6 กำรอ่ำนหนังสอื หรอื สงิ่ พิมพห์ ลำยชนิดนบั วำ่ เปน็ กิจกรรมนันทนำกำร
ทน่ี ำ่ สนใจมำก เช่น อ่ำนหนงั สอื พมิ พ์ นติ ยสำร วำรสำร นวนิยำย กำรต์ ูน ฯลฯ เป็นกำรช่วยให้บุคคล
รูจ้ ักใช้เวลำว่ำงให้เกดิ ประโยชน์ และเกิดควำมเพลิดเพลินสนกุ สนำนได้เป็นอย่ำงดี

3.2.7 กำรอ่ำนเรื่องรำวต่ำงๆ ในอดีต เช่น อ่ำนศิลำจำรึก ประวัติศำสตร์
เอกสำรสำคัญ วรรณคดี ฯลฯ จะช่วยให้อนุชนรุ่นหลังรู้จักอนุรักษ์มรดกทำงวัฒนธรรมของคนไทย
เอำไว้และสำมำรถพฒั นำให้เจริญรุง่ เรืองต่อไปได้

สรุปควำมสำคัญของกำรอ่ำนว่ำเป็นเคร่ืองมือที่สำคัญยิ่งในกำรแสวงหำ
ควำมรู้ กำรเรียนรู้ และพฒั นำสติปญั ญำของคนในสังคม พัฒนำไปส่สู ง่ิ ท่ดี ที ีส่ ุดในชวี ติ

องค์ประกอบในกำรอำ่ น อำจจะสรุปได้ดังนี้
1. องค์ประกอบทำงด้ำนร่ำงกำย
1.1 สำยตำ
1.2 ปำก
1.3 หู
2. องคป์ ระกอบทำงดำ้ นจติ ใจ
2.1 ควำมตอ้ งกำร
2.2 ควำมสนใจ
2.3 ควำมศรัทธำ
3. องคป์ ระกอบทำงด้ำนสติปัญญำ
3.1 ควำมสำมำรถในกำรรับรู้
3.2 ควำมสำมำรถในกำรนำประสบกำรณเ์ ดมิ ไปใช้
3.3 ควำมสำมำรถในกำรใช้ภำษำให้ถูกต้อง
3.4 ควำมสำมำรถในกำรเรยี น
4. องค์ประกอบทำงประสบกำรณพ์ น้ื ฐำน
5. องคป์ ระกอบทำงวฒุ ิภำวะ อำรมณ์ แรงจูงใจและบคุ ลิกภำพ
6. องค์ประกอบทำงสง่ิ แวดล้อม

มผี ู้ให้ควำมสำคัญของกำรอ่ำนไว้หลำยทำ่ น ดงั นี้
อรอุมำ อินฟลู ำ( 2551) ไดอ้ ธบิ ำยควำมสำคัญของกำรอำ่ นว่ำกำรอ่ำนเปน็ เคร่ืองมือ

สำคัญในกำรแสวงหำควำมรู้ กำรรู้และใช้วิธีอ่ำนที่ถูกต้อง จึงเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับผู้อ่ำนทุกคน กำร
รจู้ กั ฝกึ ฝนอำ่ นอย่ำงสม่ำเสมอ จะช่วยให้ผอู้ ่ำนมีพนื้ ฐำนในกำรอ่ำนท่ีดี ทัง้ จะชว่ ยให้เกิดควำมชำนำญ
และควำมรู้กวำ้ งขวำงด้วย ดังน้ันกำรท่ีนกั เรียนจะเป็นผู้อ่ำนที่ดีจึงขึ้นอยู่กับสภำพแวดล้อมที่ครเู ป็นผู้

18

จัดเตรียมให้ อีกทั้งยังต้องผสมผสำนกับควำมสนใจของผู้อ่ำน เพ่ือเป็นแรงจูงใจท่ีช่วยให้นักเรียนได้
อำ่ นอย่ำงสม่ำเสมอ

ฉวีวรรณ คูหำภินันท์ (2553 : 2) ได้อธิบำยควำมสำคัญของกำรอ่ำนว่ำ กำรอ่ำนมี
ควำมสำคัญต่อชีวิตมนุษย์ ช่วยให้เกิดกำรเรียนรู้ตลอดชีวิตและช่วยสนองควำมอยำกรู้อยำกเห็นอัน
เป็นธรรมชำติของมนุษยไ์ ด้ทุกเรื่อง ซ่งึ มีอยูใ่ นทรพั ยำกรสำรนิเทศทุกประกำรโดยเฉพำะควำมอยำกรู้
ขอ้ มลู ขำ่ วสำรตำ่ งๆ

3.3 กำรอ่ำนแจกลูกสะกดคำ
วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์ (2552 : 97-99) ได้อธิบำยควำมหมำยของกำรแจกลูกมี

ควำมหมำย 2 นัย คอื
นัยแรก หมำยถึง กำรแจกลูกในมำตรำตัวสะกดแม่ ก กำ กง กน กม เกย

เกอว กก กด และกบ กำรแจกลูกจะเรม่ิ ต้นกำรสอนใหจ้ ำ และออกเสียงพยัญชนะและสระให้ได้ก่อน
จำกนนั้ จะเรม่ิ แจกลูกในมำตรำแม่ ก กำ จะใชก้ ำรสะกดคำไปทลี ะคำไล่ไปตำมลำดบั ของสระ แล้ว
จึงอ่ำนโดยไม่สะกดคำ จึงเรียกว่ำแจกลูกสะกดคำ แล้วอ่ำนคำในมำตรำตัวสะกดทุกมำตรำจนคล่อง
จำกนั้นจะอ่ำนเปน็ เร่ืองเพ่อื ประยุกตห์ ลกั กำรอำ่ นนำไปสกู่ ำรอ่ำนคำท่เี ปน็ เรอ่ื งอยำ่ งหลำกหลำย

นัยสอง หมำยถึง กำรเทียบเสียง เป็นกำรแจกลูกวิธีหน่ึง เม่ือนักเรียนอ่ำน
คำได้แล้ว ใหน้ ำรปู คำมำแจกลกู โดยกำรเปล่ียนพยัญชนะตน้ หรือพยัญชนะทำ้ ย เช่น บ้ำน สตู รของคำ
คือ ให้เปลยี่ นพยัญชนะตน้ เชน่ ก้ำน ปำ้ น ร้ำน ลำ้ น ค้ำน เปน็ ต้น หลกั กำรเทียบเสยี ง มดี ังนี้

1. อำ่ นสระเสยี งยำวกอ่ นสระเสียงสน้ั
2. นำคำที่มคี วำมหมำยมำสอนก่อน
3. เปลย่ี นพยญั ชนะทเ่ี ปน็ พยัญชนะตน้ และพยัญชนะเสียงท้ำย
4. นำคำที่อำ่ นมำจดั ทำแผนภมู กิ ำรอำ่ น เช่น

กำ มำ พำ ลำ ยำ คำ้ มำ้ ช้ำ
ลำ้ น้ำ บ้ำน ก้ำน ป้ำน ร้ำน ค้ำน
วิธีอ่ำนจะไม่สะกดคำให้อ่ำนเป็นคำตำมสูตรของคำ เช่น อ่ำน กำ สูตร
ของคำ คือ -ำ นำพยญั ชนะมำเตมิ และอ่ำนเปน็ คำ เช่น ยำ ทำ หำ นำ ตำ อำ
กำรสอนแบบกำรแจกลูกสำหรับนักเรียนแรกอ่ำน (ชั้น ป.1 และ ป. 2) มี
หลักกำรสอนดังนี้
1. เริ่มจำกสระท่งี ำ่ ยที่สุดคือ สระ -ำ
2. ใชแ้ ผนผงั ควำมคิดแจกลูก โดยเลือกคำทมี่ ีควำมหมำยกอ่ น
3. ผ้เู รยี นอำ่ นออกเสยี งคำและทำควำมเขำ้ ใจควำมหมำย
4. นำคำจำกแผนผังควำมคิดมำแต่งประโยค

19

5. อ่ำนประโยคท่แี ต่ง
6. เขยี นประโยคที่แต่ง
สรุป กำรแจกลูก ในรูปแบบเช่นน้ี สำมำรถท่ีจะแจกต่อไปได้อีก เช่น แจก
สระ เ- แ- โ- ไ- ใ- เ-ำ ฯลฯ และนำมำแตง่ ประโยคโดยกำรบูรณำกำรกับคำท่ีประสมกบั สระอ่ืน
ซ่ึงจะชว่ ยให้นักเรยี นเกิดกำรเรยี นรู้ และสำมำรถนำไปแตง่ ประโยคท่ียำกและซับซอ้ นขน้ึ ได้ เพรำะเปน็
กำรเรียนจำกเรื่องท่งี ่ำยไปส่เู ร่ืองท่ยี ำก
และยังไดใ้ หค้ วำมหมำยของกำรสะกดคำ ดังน้ี กำรสะกดคำ หมำยถงึ กำร
อ่ำนโดยนำเสียงพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์ และตัวสะกดมำประสมเป็นคำอ่ำน กำรอ่ำนสะกดมำ
ประสมเป็นคำอ่ำน กำรอ่ำนสะกดคำจะต้องให้นักเรียนสังเกตรูปคำพร้อมกับกำรอ่ำน กำรสอนอ่ำน
สะกดคำพร้อมกับกำรเขียน ครตู อ้ งให้อำ่ นสะกดคำแล้วเขียนคำไปพรอ้ มกนั กำรสอนสะกดคำโดยกำร
นำคำท่ีมีควำมหมำยมำสอนก่อน เมื่อสะกดคำจนจำได้แล้วจึงแจกคำ เพรำะกำรสะกดคำจะเป็น
เครื่องมือกำรอ่ำนคำใหม่โดยเร่ิมจำกคำง่ำยๆ แล้วบอกทิศทำงกำรออกเสียงแล้วแจกคำโดยเปล่ียน
พยญั ชนะต้น
เรวดี อำษำนำม (2556 : 83 - 84 ) ได้อธิบำยถึงกำรอ่ำนสำหรับเด็กท่ียังไม่เรียน
หนงั สือ ให้สำมำรถอ่ำนและถำ่ ยทอดควำมรู้สึกนกึ คิดหรือคำพูดออกมำเปน็ ตัวหนังสอื นบั ตง้ั แต่เร่ิมมี
กำรสอนหนังสือไทยจนถงึ ปจั จุบนั ได้กล่ำวถงึ กำรอำ่ นแบบแจกลูกสะกดคำ ดงั น้ี คือกำรสอนที่ถือว่ำ
คำประกอบด้วยรูปและเสยี งของพยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ตวั สะกด ฯลฯ เวลำสอนอ่ำนแทนทจ่ี ะ
อ่ำนเปน็ คำๆ มคี วำมหมำยเลยทีเ่ ดียว ก็ต้องไล่พยัญชนะสระ ฯลฯ ให้ออกเสียงได้ถูกต้องเป็น
คำ ๆ อีกทีหน่ึง เป็นกำรช่วยให้อ่ำนคำได้ เพรำะผู้อ่ำนรู้จัก พยัญชนะ สระ ตัวสะกด แล้วช่วยพำไป
เช่น จำน นักเรียนสะกดคำว่ำ จอ -ำ - จำ - จำ - นอ – จำน
หรอื จ -ำ - น - จำน

บำ้ น นักเรยี นสะกดคำว่ำ บ -ำ - บำ
บำ - น - บำน

หรอื บำน - ้ - บ้ำน
วิธีนี้ช่วยให้เด็กรู้จักหลักเกณฑ์ของกำรเรียงลำดับตัวอักษรภำยในคำหน่ึงๆ เพ่ือจะได้ออกเสียงได้
ชัดเจน และเขยี นคำน้นั ไดถ้ กู ต้อง

กรมวชิ ำกำร (2556 : 133 - 134) ได้อธิบำยกำรอ่ำนแจกลกู และกำรสะกดคำ
เป็นกระบวนกำรขั้นพื้นฐำนของกำรนำเสียงพยัญชนะต้น สระ วรรณยุกต์และตัวสะกด มำประสม
เสียงกัน ทำให้ออกเสียงคำต่ำงๆ ที่มีควำมหมำยในภำษำไทย กำรแจกลูกและสะกดคำบำงครั้งรวม
เรียกว่ำกำรแจกลูกสะกดคำจะดำเนินไปด้วยกนั อย่ำงประสมกลมกลืน เพ่ือให้นักเรียนได้หลักเกณฑ์
ทำงภำษำท้ังกำรอำ่ นและกำรเขียนไปพรอ้ มกัน และยงั ได้กล่ำวถึงควำมสำคญั ของกำรแจกลกู สะกดคำ

20

เปน็ เรื่องที่จำเปน็ มำกสำหรบั ผู้เริ่มเรียน หำกครไู ม่ไดส้ อนกำรแจกลกู สะกดคำแกน่ ักเรียนในระยะเริ่ม
เรียนกำรอ่ำน นักเรียนจะขำดหลักเกณฑ์กำรประสมคำ ทำให้เมื่ออ่ำนหนังสือมำกข้ึนจะสับสน อ่ำน
หนังสือไม่ออก เขียนหนังสือผิดซ่ึงเป็นปัญหำมำกของเด็กนักเรียนไทยในปัจจุบัน ผลจำกกำรอ่ำนไม่
ออกเขียนไม่ได้ ย่อมสง่ ผลกระทบตอ่ กำรเรยี นวชิ ำอนื่ ๆ ด้วย

กำรอ่ำนเป็นสิ่งที่มีควำมสำคัญต่อทุกคนที่จำเป็นอย่ำงย่ิงท่ีต้องนำไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน สมควร น้อยเสนำ (2551 : 21 - 22) ได้สรุปควำมสำคัญของกำรอ่ำน ดังน้ี
ควำมสำคัญของกำรอ่ำนจะเป็นสิ่งที่ช่วยมนุษย์ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่ำงมีควำมสุขน้ัน มี 4
ประกำร คอื

1. ช่วยในกำรเรียนรู้
2. เสริมสร้ำงประสบกำรณ์ใหม่ๆ
3. ช่วยใหเ้ กิดควำมเพลิดเพลนิ
4. องค์ประกอบพ้นื ฐำน
ผู้อ่ำนจะประสบควำมสำเร็จทำงกำรอ่ำนมำกหรือน้อยข้ึนอยู่กับส่ิงต่อไปนี้ วุฒิภำวะ อำยุ เพศ
ประสบกำรณ์ สมรรถวิสัย ควำมบกพรอ่ งทำงร่ำงกำย และกำรจงู ใจ
4. กำรเขียน
กำรสอนเขียนในระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ 1-6 มีจุดมุ่งหมำยเพ่ือให้มีทักษะในกำรเขียน
เขียนได้ถูกต้องสวยงำม ส่ือควำมหมำยได้ สำมำรถคิดลำดับเหตุกำรณ์เกยี่ วกับเร่ืองท่ีเขียน มีนิสัยท่ีดี
ในกำรเขียน รกั กำรเขียนและนำกำรเขยี นไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ติ ประจำวนั
สำนกั วชิ ำกำรและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ (2550 : ภำคผนวก 2/8) ได้ให้ควำมหมำย
กำรเขียนว่ำหมำยถึง กำรสื่อสำรด้วยตัวอักษรเพ่ือถ่ำยทอดควำมรู้ ควำมคิด อำรมณ์ ควำมรู้สึก
ประสบกำรณ์ ข่ำวสำรและจิตนำกำร โดยกำรใช้ภำษำท่ีถูกต้องเหมำะสมตำมหลักกำรใช้ภำษำและ
ตรงตำมเจตนำของผเู้ ขยี น
อรอุมำ อินฟูลำ (2551 : 139) ให้ควำมหมำยของกำรเขียนว่ำเป็นเคร่ืองมือกำร
ถ่ำยทอดควำมรู้สึกนึกคิดและควำมต้องกำรของบุคคลออกมำเป็นสัญลักษณ์หรือตัวอักษร เพ่ือสื่อ
ควำมหมำยใหผ้ ู้อ่ืนได้เขำ้ ใจได้ เพรำะกำรเขยี นเป็นทักษะกำรส่งออกตำมหลักของภำษำศลิ ป์
จำกควำมหมำยของกำรเขียนดังกล่ำว ทำให้มองเห็นควำมสำคัญของกำรเขยี นว่ำมีควำมจำเป็นอยำ่ ง
ยง่ิ
ตอ่ กำรสื่อสำรในชีวติ ประจำวัน เชน่ นักเรียนใช้กำรเขียนบนั ทึกควำมรู้ ทำแบบฝึกหดั และตอบข้อสอบ
บุคคลท่วั ไปใช้กำรเขียนเพ่ือเขียนจดหมำย ทำสัญญำ พินยั กรรม กำรคำ้ ประกนั เปน็ ต้น
กำรสะกดคำเป็นสำขำหน่งึ ของกำรเขียนและเปน็ ทักษะท่ีสำคัญทำงภำษำท่มี อี ิทธิพล
ต่อกำรใชภ้ ำษำของมนษุ ย์ซง่ึ ไพทลู ย์ มลู ดี (2553 : 25) ไดอ้ ธิบำยควำมหมำยของกำรเขยี นสะกดคำ

21

คือกำรจัดเรียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ ให้เป็นคำท่ีมีควำมหมำย และถูกต้องตำมพจนำนุกรม
ฉบับรำชบัณฑิตสถำน และสำมำรถนำคำดงั กลำ่ วไปใช้ในกำรสอ่ื สำรในชีวติ ประจำวันได้

เรวดี อำษำนำม (2556 : 22) ได้ให้ควำมหมำยของกำรเขียน คือกระบวนกำรคิดที่
ถำ่ ยทอดออกมำเป็นลำยลักษณอ์ กั ษรและถูกต้องตำมหลักเกณฑท์ ำงภำษำสำมำรถสือ่ สำรกันได้

กำรเขียนสะกดคำมีควำมสำคัญต่อกำรดำรงชีวิตประจำวัน และควำมเป็นอยู่ของ
บุคคลในปัจจุบัน เพรำะกำรเขียนสะกดคำท่ีถูกจะช่วยให้ผู้เขียน อ่ำนและเขียนหนังสือได้ถูกต้อง ส่ือ
ควำมหมำยได้แจ่มชัดและมีควำมมน่ั ใจในกำรเขียนทำใหผ้ ลงำนที่เขยี นมีคุณค่ำเพ่มิ ขนึ้ นอกจำกนย้ี งั
อำจจะเปน็ ตัวบง่ ชถี้ งึ คณุ ภำพกำรศึกษำของบคุ คลน้ันอกี ด้วย

4.1 ปัญหำของกำรเขยี น
กำรเขียนสะกดคำ เป็นปัญหำที่สำคัญของนักเรียนและครูสอนภำษำไทยเป็นอย่ำง

มำกและจำกกำรศกึ ษำพบวำ่ สำเหตขุ องกำรเขียนสะกดคำผดิ มี ดงั นี้
กรรณิกำร์ พวงเกษม (2553 : 31-33) ไดอ้ ธบิ ำยถึงปัญหำในกำรสอนเขียนมีหลำย

ลกั ษณะดงั น้ี
1. กำรเขยี นพยญั ชนะ สระและคำไม่ได้ มักเปน็ นักเรียนท่เี รมิ่ ต้นเรยี นได้แก่

ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ 1
2. กำรสะกดคำผิด เช่น วำงวรรณยุกต์ไม่ถูกท่ี คำพ้องเสียง เขียนคำที่ใช้

ตัวสะกดไม่ตรงมำตรำตัวสะกดผิด เขียนคำที่มีตัวกำรันต์ผิด คำที่สระเสียงสั้นและเสียงยำวเขียน
สลบั กนั เขยี นคำควบกล้ำผิด เขียนพยญั ชนะบำงตวั ในคำเบยี ดกนั บำงตวั ห่ำงออกไป และเขยี นคำ
ท่มี ำจำกภำษำตำ่ งประเทศผิด

3. เวน้ วรรคตอนย่อหนำ้ ไม่ถกู ตอ้ ง
4. ใช้คำไม่เหมำะสม นำภำษำพูดมำใชเ้ ปน็ ภำษำเขียน
5. เขยี นคำทีใ่ ชอ้ ักษรยอ่ ไม่ถูกตอ้ ง
6. ลำดับควำมคดิ ในกำรเขยี นไม่ได้
7. ลำยมอื อำ่ นยำก
8. ไมม่ ีควำมคิดในกำรเขยี น
จำกปัญหำที่กล่ำวมำข้ำงต้น จะเห็นได้วำ่ ปัญหำท่ีสำคัญของกำรเขียนสะกดคำผิดขึ้นอยู่กบั ครผู ู้สอน
ตวั นกั เรยี นเองและวธิ กี ำรสอนของครู ดงั นัน้ ผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งจึงควรตระหนกั ถงึ ปัญหำเหลำ่ นน้ั เป็นสำคัญ
เชน (Shane. 1961 : 71) ให้ควำมเห็นว่ำสำเหตุกำรเขียนสะกดคำผิด มีปัญหำ
หลำยทำงและแบง่ ไดเ้ ป็น 2 สำเหตุ คือ ปัญหำโดยทัว่ ไป ซึ่งเก่ียวกบั นักเรียนไมพ่ ฒั นำควำมสำมำรถ

22

ของตนเอง มีควำมสนใจน้อยและปัญหำเฉพำะบุคคลนั้นเกี่ยวกับควำมบกพร่องทำงสำยตำ
ควำมสำมำรถในกำรอ่ำนออกเสียง ควำมสำมำรถทำงสมอง และใชภ้ ำษำ 2 ภำษำในขณะเดียวกนั

พิทซ์เจรัลด์ (Fitzgerald. 1964 : 245) กล่ำวถึงสำเหตุท่ีทำให้นกั เรียนมีปญั หำ
ในกำรเขียนสะกดคำผิดว่ำ มีสำเหตุมำจำกนักเรียนไม่สนใจต่อกำรสะกดคำและวิธีสอนของครูไม่มี
ประสทิ ธิภำพ เชน่ ครไู มเ่ ตรียมกำรสอน นักเรยี นไมไ่ ด้รบั กำรสอนสะกดคำทถี่ กู ต้อง ไม่รู้ วธิ กี ำรสะกด
คำ

จำกกำรศึกษำเอกสำรและงำนวิจัยเกี่ยวกับกำรเขียนสะกดคำผิดเกิดจำกหลำย
สำเหตุ สรปุ ได้ ดงั น้ี

1. ควำมบกพร่องจำกสภำพร่ำงกำยของนักเรียน เช่น สุขภำพไม่สมบูรณ์ มีควำม
บกพร่องด้ำนกำรได้ยนิ กำรพดู และสำยตำ

2. นักเรยี นขำดกำรสงั เกต ไม่พจิ ำรณำถึงหลกั เกณฑ์กำรเขยี นใหร้ อบคอบ
3. นกั เรยี นพบเหน็ คำท่เี ขียนผิดบอ่ ยจำกสื่อมวลชนตำ่ ง ๆ
4. วุฒิภำวะและสมองของนกั เรียน
5. นกั เรยี นเขยี นสะกดคำโดยเทียบเสียงกบั ภำษำถน่ิ ทำให้เขยี นสะกดผดิ
6. นักเรียนไม่รู้หลักภำษำไทย ไม่ทรำบควำมหมำยของคำ
7. ครูขำดควำมเอำใจใส่ในกำรตรวจงำนเขียนของนกั เรียน เมอ่ื พบคำผิดไมแ่ กไ้ ขให้
8. ครูไม่ตระหนักถึงควำมสำคัญในกำรสอนให้นักเรียนเขียนสะกดคำ จึงทำให้
นักเรียนไม่ได้รับแรงจงู ใจในกำรฝึกเขียนสะกดคำ

4.2 ควำมสำคัญของกำรสอนเขยี น
กำรเขียนนับว่ำเป็นส่ิงจำเป็นอย่ำงย่ิงในกำรส่ือควำมหมำย อย่ำงหนึ่งของมนุษย์

สำมำรถตรวจสอบไดแ้ ละคงทนถำวร ซง่ึ มีนกั กำรศึกษำไดใ้ หค้ วำมสำคญั ของกำรเขียนไวด้ ังนี้
เรวดี อำษำนำม (2557 : 151) ไดส้ รปุ ควำมสำคญั ของกำรเขียนไว้ ดงั นี้ คอื เด็กท่ีมี

ควำมสำมำรถในกำรอ่ำนและประสบควำมสำเรจ็ ในกำรเขยี นมำก จะมีจนิ ตนำกำรในกำรใช้ภำษำได้ดี
เพรำะได้มโี อกำสเรียนรแู้ นวทำงกำรใช้คำต่ำงๆ จำกสำนวนภำษำในหนงั สือต่ำงๆท่ีอ่ำนพบ โดยปกติ
ครูมักสอนให้เด็กอ่ำนได้ก่อนจึงให้เขียนคำที่ตนอ่ำนได้แต่ทักษะในกำรเขียนเป็นทักษะที่สลับซับซอ้ น
กวำ่ ทักษะอนื่ เด็กจึงจำเป็นตอ้ งมีควำมพร้อมโดยฝึกทักษะกำรฟงั กำรพดู และกำรอ่ำนไดก้ ่อนแลว้ จึง
เร่ิมทักษะกำรเขียน ในระดับช้ันประถมศึกษำปีท่ี 1-2 มุ่งเน้นทักษะพ้ืนฐำนในกำรเขียนและย่ัวยุให้
เขยี นดว้ ยควำมสนุกสนำน ไม่เบือ่ โดยจดั กจิ กรรมต่ำงๆ ให้ฝึกจำกง่ำยไปหำยำกและให้สมั พนั ธ์กับกำร
พูดและอ่ำน

4.3 จุดมุ่งหมำยของกำรเขยี น

23

วรรณี โสมประยูร (วิมลรัตน์ สุนทรโรจน์. 2551 : 103 ) ได้อธิบำย จุดมุ่งหมำย
กำรสอนภำษำไทย ดงั น้ี

1. เพื่อคัดลำยมือหรือเขียนให้ถูกต้องตำมลักษณะตัวอักษรให้เปน็ ระเบยี บ
ชัดเจนหรือ เขำ้ ใจงำ่ ย

2. เพื่อเปน็ กำรฝกึ ทกั ษะกำรเขยี นให้พฒั นำงอกงำมขน้ึ ตำมควรแก่วัย
3. เพ่อื ใหก้ ำรเขียนสะกดคำถกู ต้องตำมอกั ขรวิธี เขยี นวรรคตอนถูกต้อง
4. เพือ่ ใหร้ จู้ กั ภำษำเขียนที่ดี มีคุณภำพเหมำะสมกับบคุ คลและโอกำส
5. เพื่อให้สำมำรถรวบรวมและลำดับควำมคิด แล้วจดบันทึก สรุปและย่อ
ใจควำมเรอื่ งทีอ่ ำ่ นหรอื ฟังได้
6. เพ่ือให้สำมำรถสังเกตจดจำและเลือกเฟ้นถ้อยคำหรือสำนวนโวหำรให้
ถกู ตอ้ ง
7. เพอื่ ให้มที กั ษะกำรเขยี นประเภทต่ำงๆ
8. เพ่อื เป็นกำรใช้เวลำวำ่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์
9. เพื่อให้เห็นควำมสำคัญและคุณค่ำของกำรเขียนว่ำมีประโยชน์ต่อกำร
ประกอบอำชีพกำรศึกษำหำควำมรู้และอน่ื ๆ

5. แบบฝึกทักษะ
5.1 ควำมหมำยและควำมสำคัญของแบบฝกึ ทักษะ

ถวัลย์ มำศจรัลและคณะ (2550 : 18) ได้สรุปควำมสำคัญของแบบฝึกทักษะว่ำ
แบบฝึกทักษะ หมำยถึงนวัตกรรมที่ใช้พัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ท่ีให้นักเรียนเกิดกำรเรียนรู้ได้อย่ำง
เหมำะสมมคี วำมหลำกหลำย และปรมิ ำณเพียงพอท่ีสำมำรถตรวจสอบและพฒั นำทักษะกระบวนกำร
คิด กระบวรกำรเรียนรู้ สำมำรถนำนักเรียนสู่กำรสรุปควำมสำคัญต่อผู้เรียนไม่น้อย ในกำรที่จะช่วย
สง่ เสรมิ สรำ้ งทักษะให้กบั ผู้เรียนได้เกิดกำรเรียนรู้และเข้ำใจไดเ้ ร็วขน้ึ ชัดเจนขนึ้ กว้ำงขวำงข้นึ ทำให้
กำรสอนของครูและกำรเรียนของนักเรียนประสบผลสำเรจ็ อย่ำงมปี ระสทิ ธิภำพ

ไพทูลย์ มูลดี (2556 : 48) ได้สรุปควำมหมำยของแบบฝึกทักษะ คือชุดฝึกกำร
เรียนรู้ท่ีครูสรำ้ งขึ้นให้นกั เรียนได้ทบทวนเนื้อหำท่ีเรยี นรมู้ ำแล้วเพ่ือสร้ำงควำมรคู้ วำมเข้ำใจ และช่วย
เพิ่มทักษะควำมชำนำญและฝึกกระบวนกำรคิดให้มำกขึ้น ทั้งยังมีประโยชน์ในกำรลดภำระกำรสอน
ให้กับครู อีกทั้งพัฒนำควำมสำมำรถของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนสำมำรถมองเห็นควำมก้ำวหน้ำจำก
ผลกำรเรียนรขู้ องตนเองได้

ดวงมณี กันทะยอม (2551 : 26) ไดส้ รปุ ควำมสำคญั ของแบบฝึกวำ่ แบบฝกึ ทักษะ
หมำยถึง เคร่อื งมอื ที่ใช้ฝึกทักษะเพ่ือใหน้ ักเรียนได้ปฏบิ ัติจรงิ และทำซำ้ ๆ อยำ่ งต่อเน่ืองเป็นกำรเสริม

24

ให้เกิดทักษะที่ถูกต้อง เป็นส่วนสำคัญในกำรเรียนกำรสอน เพรำะถ้ำขำดแบบฝึกทักษะเพือ่ ใช้ในกำร

ฝกึ ฝนทักษะควำมรู้ตำ่ งๆ หลังจำกเรยี นไปแล้ว เด็กก็อำจจะลมื เลือนควำมรูท้ ี่เรียนไปได้ ซ่งึ อำจส่งผล

ให้นักเรยี นไมม่ ปี ระสิทธภิ ำพเท่ำท่คี วร

อนงค์พันธุ์ ใบสุขันธ์ (2551 : 33) ได้สรุปถึงควำมหมำยของแบบฝึกทักษะ

หมำยถึง ส่ือกำรเรยี นกำรสอนที่ครูสร้ำงข้ึนเพ่อื ใช้ฝกึ ทักษะผู้เรียนหลงั กำรเรียนจบ งำนกิจกรรมหรือ

ประสบกำรณ์ที่ครูจัดให้นักเรียนได้ฝึกหัดกระทำ เพ่ือทบทวนฝึกฝนเน้ือหำควำมรู้ต่ำงๆ ท่ีได้เรียนไป

แล้วให้เกิดควำมจำ จนสำมำรถปฏิบัติได้ด้วยควำมชำนำญ และให้ผู้เรียนสำมำรถนำไปใช้ใน

ชีวติ ประจำวนั ได้

กิตยิ ำพร เนื้ออ่อน (2552 : 155) ไดส้ รปุ ควำมหมำยและควำมสำคญั ของแบบฝึกได้

ว่ำ แบบฝึก คอื แบบฝกึ หัด หมำยถงึ สอ่ื กำรเรยี นกำรสอนประเภทหนง่ึ ท่ฝี กึ ใหน้ ักเรยี นปฏิบัติด้วย

ควำมสนใจ สนกุ สนำน ทำเกิดควำมร้คู วำมเขำ้ ใจ มพี ัฒนำกำรทำงภำษำดีข้ึน เพื่อให้มีทกั ษะเพิ่มข้ึน

หลังจำกท่ีได้เรียนรู้เรื่องน้ันๆ มำบ้ำงแล้ว โดยแบบฝึกต้องมีทิศทำงตรงตำมจุดประสงค์ ประกอบ

กจิ กรรมทน่ี ่ำสนใจและสนกุ สนำน

ภพ เลำหไพบูลย์ (2552 : 225) ได้สรุปควำมหมำยของแบบฝึกทักษะไวว้ ่ำ แบบ

ฝึก-ทักษะหมำยถึง สื่อท่ีสร้ำงข้ึนเพือ่ เสริมสร้ำงทักษะให้แก่นักเรยี น มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดทีม่ ี

กจิ กรรมใหน้ กั เรียนทำโดยมีกำรทบทวนส่ิงที่เรียนผำ่ นมำแล้วจำกบทเรียน ให้เกิดควำมเข้ำใจและ

เป็นกำรฝึกทักษะ และแก้ไขในจุดบกพร่องเพื่อให้นักเรียนได้มีควำมสำมำรถและศักยภำพยิ่งขึ้น

เขำ้ ใจบทเรยี นดขี ้ึน

หยำดนภำ ยัพรำษฎร์ (2552 : 30) กล่ำวถึงแบบฝึกทักษะว่ำ หมำยถงึ

แบบฝึกหัด หรือชุดฝึกท่ีครูจักให้นัดเรียน เพ่ือให้มีทักษะเพิม่ ข้นึ หลังจำกที่ไดเ้ รียนรู้เร่ืองนนั้ ๆ

ประสบกำรณ์ที่ครูผู้สอนจัดให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติเพื่อทบทวนควำมรู้ท่ีเรียนมำแล้วนำมำปรับ

ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวัน

ผู้รำยงำนได้ศึกษำควำมหมำยและควำมสำคัญของแบบฝึกทักษะแล้วพอสรุปได้ว่ำ

แบบฝึกทักษะ หมำยถึง ชุดฝึกทักษะที่ครูสร้ำงขึ้นให้นักเรียนได้ทบทวนเนื้อหำท่ีเรียนรู้มำแล้วเพอ่ื

สร้ำงควำมเข้ำใจ และช่วยเพิ่มทักษะควำมชำนำญและฝึกกระบวนกำรคิดให้มำกขึ้น ทำให้ครูทรำบ

ควำมเข้ำใจของนกั เรียนที่มีต่อบทเรียน ฝกึ ใหเ้ ดก็ มีควำมเชอื่ มัน่ และสำมำรถประเมนิ ผลของตนเองได้

ทง้ั ยงั มีประโยชนช์ ว่ ยลดภำระกำรสอนของครู และยังชว่ ยพัฒนำตำมควำมแตกตำ่ ง

5.2 ลักษณะของแบบฝกึ ท่ดี ี

แบบฝึกเป็นเครื่องมือท่ีสำคัญท่ีจะช่วยเสริมสร้ำงทักษะให้แก่ผู้เรียน กำรสร้ำงแบบ

ฝกึ ใหม้ ีประสทิ ธิภำพจงึ จำเป็นจะต้องศกึ ษำองค์ประกอบและลกั ษณะของแบบฝกึ เพือ่ ใช้ใหเ้ หมำะสม

กบั ระดับควำมสำมำรถของนกั เรยี น

25

สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทำ สุนทรประเสริฐ (2550 : 60 -61) ได้สรุปลักษณะ
ของแบบฝกึ ทีด่ ีควรคำนึงถึงหลักจิตวทิ ยำกำรเรยี นรู้ผู้เรียนได้ศกึ ษำดว้ ยตนเอง ควำมครอบคลุม ควำม
สอดคลอ้ งกับเนอื้ หำ รูปแบบนำ่ สนใจ และคำสัง่ ชดั เจน และได้สรปุ ลักษณะของแบบฝกึ ไวด้ ังนี้

1. ใชห้ ลักจิตวทิ ยำ
2. สำนวนภำษำไทย
3. ใหค้ วำมหมำยต่อชีวิต
4. คิดไดเ้ ร็วและสนุก
5. ปลุกควำมนำ่ สนใจ
6. เหมำะสมกบั วัยและควำมสำมำรถ
7. อำจศึกษำไดด้ ้วยตนเอง
และได้แนะนำให้ผู้สร้ำงแบบฝึกให้ยดึ ลักษณะของแบบฝึกไวด้ งั น้ี
1. แบบฝึกหัดทด่ี ีควรมีควำมชดั เจนทง้ั คำสง่ั และวิธที ำคำส่ังหรอื ตัวอย่ำงวิธที ำที่ใช้ไม่
ควรยำวเกินไป เพรำะจะทำใหเ้ ข้ำใจยำก ควรปรบั ให้ง่ำยเหมำะสมกบั ผใู้ ช้ทั้งนเ้ี พือ่ ใหน้ กั เรียนสำมำรถ
ศึกษำดว้ ยตนเองได้ถำ้ ต้องกำร
2. แบบฝึกหัดที่ดีควรมีควำมหมำยต่อผู้เรียนและตรงตำมจุดมุ่งหมำยของกำรฝึก
ลงทุนน้อยใช้ได้นำนๆ และทนั สมัยอยเู่ สมอ
3. ภำษำและภำพที่ใช้ในแบบฝึกหัดควรเหมำะสมกับวัยและพ้ืนฐำนควำมรู้ของ
ผเู้ รียน
4. แบบฝึกหัดท่ีดีควรแยกฝึกเป็นเรื่องๆ แต่ละเรื่องไม่ควรยำวเกินไปแต่ควรมี
กิจกรรมหลำยรูปแบบ เพ่ือเร้ำให้นักเรียนเกิดควำมสนใจและไม่น่ำเบื่อหน่ำยในกำรทำ และเพื่อฝึก
ทักษะใดทกั ษะหน่ึงจนเกดิ ควำมชำนำญ
5. แบบฝึกหัดท่ีดีควรมีท้ังแบบกำหนดให้โดยเสรี กำรเลือกใช้คำ ข้อควำมหรือ
รูปภำพในแบบฝึกหัด ควรเป็นสิ่งท่ีนักเรียนคุ้นเคยและตรงกับควำมในใจของนักเรียนเพ่ือว่ำ
แบบฝึกหัดทสี่ รำ้ งขึน้ จะไดก้ ่อให้เกดิ ควำมเพลิดเพลนิ และพอใจแกผ่ ู้ใช้ ซึง่ ตรงกับหลกั กำรเรียนรไู้ ด้เร็ว
ในกำรกระทำทก่ี อ่ ให้เกิดควำมพงึ พอใจ
6. แบบฝึกหดั ทีด่ ีควรเปดิ โอกำสให้ผเู้ รยี น ได้ศกึ ษำด้วยตนเองให้รูจ้ ักคน้ คว้ำรวบรวม
สิ่งทพ่ี บเหน็ บอ่ ยๆ หรือทีต่ นเองเคยใช้จะทำให้นกั เรียนสนใจเรือ่ งนน้ั ๆ มำกยิง่ ขึ้นและจะรู้จักควำมร้ใู น
ชีวิตประจำวันอย่ำงถูกต้อง มีหลักเกณฑ์และมองเห็นว่ำสิ่งท่ีเขำได้ฝึกฝนน้ันมีควำมหมำยต่อเขำ
ตลอดไป
7. แบบฝึกหัดท่ีดีควรจะสนองควำมแตกต่ำงระหว่ำงบุคคล ผู้เรียนแต่ละคนจะมี
ควำมแตกต่ำงกนั หลำยๆดำ้ น เชน่ ควำมตอ้ งกำร ควำมสนใจ ควำมพรอ้ ม ระดบั สติปัญญำและ

26

ประสบกำรณ์ ฯลฯ ฉะน้นั กำรทำแบบฝึกหดั แต่ละเรือ่ ง ควรจดั ทำใหม้ ำกพอและมีทุกระดับ ตั้งแต่งำ่ ย
ปำนกลำง จนถึงระดับค่อนข้ำงยำก เพื่อว่ำท้ังเด็กเก่ง กลำง และอ่อนจะได้เลือกทำได้ตำม
ควำมสำมำรถ ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหเ้ ดก็ ทกุ คนประสบควำมสำเรจ็ ในกำรทำแบบฝึกหัด

8. แบบฝึกหัดที่ดีควรสำมำรถเร้ำควำมสนใจของนักเรียนได้ต้ังแต่หน้ำปกไปจนถึง
หนำ้ สดุ ทำ้ ย

9. แบบฝึกหัดท่ีดีควรได้รับกำรปรับปรุงไปคู่กับหนังสือแบบเรียนอยู่เสมอและควร
ใชไ้ ด้ดที ง้ั ในและนอกบทเรยี น

10. แบบฝึกหัดท่ีดีควรเป็นแบบที่สำมำรถประเมิน และจำแนกควำมเจริญงอกงำม
ของเดก็ ได้ดว้ ย

ศุภรณ์ ภูวัด (2553 : 21) ได้เสนอลักษณะท่ีดีของแบบฝึก หมำยถึง แบบฝึกที่
เรียงลำดับจำกง่ำยไปหำยำก มีรูปภำพประกอบ มีรูปแบบน่ำสนใจ หลำกหลำยรูปแบบ โดยอำศัย
หลักจิตวิทยำในกำรจัดกิจกรรมหรือจัดแบบฝึกให้สนุก ใช้ภำษำเหมำะสมกับวัย และ ระดับชั้นของ
นักเรียน มีคำสั่ง คำชี้แจงสั้น ชัดเจน เข้ำใจง่ำย มีตัวอย่ำงประกอบ มีกำรจัดกิจกรรม กำรฝึกที่เร้ำ
ควำมสนใจ และแบบฝึกนัน้ ควรทนั สมยั อยู่เสมอ

สมศรี อภัย (2553 : 21) ได้อธิบำยถึงลักษณะของแบบฝึกท่ีดี คือ ควรมีควำม
หลำกหลำยรูปแบบ เพื่อไม่ให้เกิดควำมเบ่ือหน่ำย และต้องมีลักษณะที่เร้ำ ยั่วยุ จูงใจ ได้ให้คิด
พิจำรณำ ได้ศึกษำค้นคว้ำจนเกิดควำมรู้ ควำมเข้ำใจทักษะ แบบฝึกควรมีภำพดึงดูดควำมสนใจ
เหมำะสมกับวยั ของผู้เรยี นตรงกับจุดประสงค์กำรเรียนรู้ มีเน้อื หำพอเหมำะ

ถวัลย์ มำศจรสั และคณะ (2550 : 20) ได้อธบิ ำยถึงลกั ษณะของแบบฝกึ หัดและ
แบบฝกึ ทกั ษะทีด่ ไี วว้ ำ่ ดังนี้

1. จุดประสงค์
1.1 จดุ ประสงค์ชัดเจน
1.2 สอดคล้องกับกำรพัฒนำทักษะตำมสำระกำรเรียนรู้ และกระบวนกำร

เรียนรขู้ องกล่มุ สำระกำรเรียนรู้
2. เน้ือหำ
2.1 ถกู ต้องตำมหลักวชิ ำ
2.2 ใชภ้ ำษำเหมำะสม
2.3 มคี ำอธบิ ำยและคำสง่ั ทีช่ ัดเจน งำ่ ยตอ่ กำรปฏบิ ตั ิตำม
2.4 สำมำรถพัฒนำทักษะกำรเรียนรู้ นำผู้เรียนสู่กำรสรุปควำมคิดรวบยอด

และหลักกำรสำคัญของกลุม่ สำระกำรเรยี นรู้

27

2.5 เป็นไปตำมลำดับขั้นตอนกำรเรียนรู้สอดคล้องกับวิธีกำรเรียนรู้ และ
ควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งบุคคล

2.6 มีคำถำมและกิจกรรมที่ท้ำทำยส่งเสริมทักษะกระบวนกำรเรียนรู้ของ
ธรรมชำตวิ ิชำ

2.7 มีกลยุทธ์กำรนำเสนอและกำรต้ังคำถำมที่ชัดเจน น่ำสนใจปฏิบัติได้
สำมำรถใหข้ ้อมูลย้อนกลับเพอื่ ปรบั ปรงุ กำรเรียนไดอ้ ยำ่ งต่อเนอื่ ง

ผู้รำยงำนพอสรุปลักษณะของแบบฝึกที่ดีได้ว่ำ แบบฝึกท่ีดีและมีประสิทธิภำพ ช่วยทำให้
นักเรยี นประสบควำมสำเรจ็ ในกำรฝึกทกั ษะได้เป็นอย่ำงดี และแบบฝึกทดี่ ีเปรียบเสมือนผ้ชู ว่ ยท่ีสำคัญ
ของครู ทำให้ครูลดภำระกำรสอนลงได้ ทำให้ผเู้ รยี นพฒั นำควำมสำมำรถของตนเพื่อควำมมัน่ ใจในกำร
เรยี นได้เปน็ อย่ำงดี ดงั น้นั ครยู ังจำเปน็ ต้องศึกษำเทคนิควธิ ีกำร ขนั้ ตอนในกำรฝกึ ทักษะต่ำงๆ มี
ประสทิ ธิภำพที่สุด อันสง่ ผลให้ผู้เรียนมกี ำรพัฒนำทักษะตำ่ งๆ ได้อยำ่ งเต็มทแี่ ละแบบฝกึ ท่ดี นี ั้นจะต้อง
คำนึงถึงองค์ประกอบหลำยๆด้ำน ตรงตำมเน้ือหำ เหมำะสมกับวัย เวลำ ควำมสำมำรถ ควำมสนใจ
และสภำพปัญหำของผ้เู รียน

5.3 ประโยชน์ของแบบฝกึ ทกั ษะ
ธรี ำภรณ์ ทรงประศำสน์ (2551 : 17) ไดอ้ ธิบำยประโยชนข์ องแบบฝึกไว้ดังน้ี คอื

แบบฝึกมีควำมสำคัญ และจำเป็นต่อกำรเรียนทักษะทำงภำษำมำก เพรำะจะช่วยให้ผู้เรียนเข้ำใจใน
บทเรยี นไดด้ ีขึ้นสำมำรถจดจำเนอื้ หำในบทเรียนและคำศพั ท์ต่ำงๆ ไดค้ งทน ทำใหเ้ กดิ ควำมสนุกสนำน
ในขณะเรียนทรำบควำมก้ำวหน้ำของตนเอง สำมำรถนำแบบฝึกมำทบทวนเนื้อหำเดิมด้วยตนเองได้
นำมำวัดผลกำรเรียนหลังจำกที่เรียนแล้ว ตลอดจนสำมำรถทรำบข้อบกพร่องของนักเรียนและนำไป
ปรับปรุงแก้ไขได้ทันท่วงที ซึ่งจะมีผลทำให้ครูประหยัดเวลำ ค่ำใช้จ่ำยและลดภำระได้มำก และยังให้
นักเรียนนำภำษำไปใช้ส่ือสำรไดอ้ ยำ่ งมปี ระสิทธภิ ำพด้วย

ถวัลย์ มำศจรัส และคณะ (2550 : 21) ได้อธิบำยถึงประโยชน์ของแบบฝึกหัด
และแบบฝึกทกั ษะเป็นสื่อกำรเรียนรู้ ท่ีม่งุ เนน้ ในเร่อื งของกำรแก้ปัญหำ และกำรพัฒนำในกำรจัดกำร
เรียนรใู้ นหน่วยกำรเรยี นรูแ้ ละสำมำรถเรยี นรไู้ ด้ โดยสรุปได้ดงั นี้

1. เปน็ สอ่ื กำรเรยี นรู้ เพ่อื พฒั นำกำรเรียนรูใ้ หแ้ กผ่ เู้ รียน
2. ผ้เู รยี นมีสอื่ สำหรบั ฝึกทกั ษะด้ำนกำรอำ่ น กำรคิด กำรคิดวเิ ครำะห์ และกำรเขียน
3. เปน็ ส่ือกำรเรยี นรู้สำหรบั กำรแกป้ ญั หำในกำรเรียนรู้ของผเู้ รยี น
4. พฒั นำควำมรู้ ทกั ษะ และเจตคตดิ ้ำนตำ่ งๆ ของผู้เรียน
จำกประโยชน์ของแบบฝึกที่กล่ำวมำ สรุปได้ว่ำ แบบฝึกที่ดีและมีประสิทธิภำพช่วยทำให้
นกั เรียนประสบผลสำเร็จ ในกำรฝึกทกั ษะไดเ้ ป็นอย่ำงดี

28

สมศรี อภัย (2553 : 21) ได้สรุปประโยชน์ของแบบฝึกทักษะไว้ว่ำเป็นเคร่ืองมือ
กำรเรยี นรู้นักเรียนไดร้ บั ประสบกำรณต์ รงจำกกำรลงมอื ปฏิบัติดว้ ยตนเองอย่ำงเต็มควำมสำรถของแต่
ละบคุ คลกอ่ ใหเ้ กดิ ควำมชำนำญในกำรแกไ้ ขปัญหำท้งั เปน็ เคร่ืองประเมินผลกำรสอนของครู
ของแบบฝึกทักษะไดด้ ังนี้

1. ทำให้เข้ำใจบทเรียนดขี ้ึน เพรำะเปน็ เครอ่ื งอำนวยประโยชน์ในกำรเรยี นรู้
2. ทำใหค้ รทู รำบควำมเข้ำใจของนกั เรียนทีม่ ตี ่อบทเรียน
3. ฝกึ ใหเ้ ด็กมีควำมเชอื่ มน่ั และสำมำรถประเมนิ ผลของตนเองได้
4. ฝกึ ให้เดก็ ทำงำนตำมลำพงั โดยมีควำมรบั ผิดชอบในงำนที่ได้รับมอบหมำย
5. ชว่ ยลดภำระครู
6. ช่วยให้เดก็ ฝกึ ฝนได้อยำ่ งเต็มที่
7. ชว่ ยพฒั นำตำมควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งบคุ คล
8. ช่วยเสริมใหท้ กั ษะคงทน ซง่ึ ลกั ษณะกำรฝกึ เพอ่ื ชว่ ยให้เกิดผลดงั กล่ำวนนั้ ไดแ้ ก่

8.1 ฝึกทนั ทีหลงั จำกทเ่ี ดก็ ได้เรยี นรูใ้ นเรื่องนัน้ ๆ
8.2 ฝกึ ซำ้ หลำยๆครง้ั
8.3 เน้นเฉพำะในเรื่องทผ่ี ดิ
9. เปน็ เครอ่ื งมือวัดผลกำรเรยี นหลังจำกจบบทเรยี นในแต่ละครงั้
10. ใช้เป็นแนวทำงเพ่ือทบทวนด้วยตนเอง
11. ช่วยให้ครมู องเห็นจดุ เด่นหรอื ปัญหำต่ำงๆของเดก็ ได้ชัดเจน
12. ประหยดั คำ่ ใชจ้ ่ำยแรงงำนและเวลำของครู
ผู้รำยงำน ได้ศึกษำค้นคว้ำเก่ียวกับประโยชน์ของแบบฝึกทักษะแล้ว พอสรุปได้ว่ำแบบฝึกมี
ควำมสำคัญ และจำเป็นต่อกำรเรียนทักษะทำงภำษำมำก เพรำะจะช่วยให้ผู้เรียนเข้ำใจบทเรียนได้ดี
ข้ึน สำมำรถจดจำเน้ือหำในบทเรียนและคำศัพท์ต่ำงๆ ได้คงทน ทำให้เกิดควำมสนุกสนำน ในขณะ
เรียนทรำบควำมก้ำวหน้ำของตนเอง และครูมองเห็นจุดเด่นหรือปัญหำต่ำงๆ ของเด็กได้ชัดเจน
สำมำรถนำแบบฝึกทักษะมำทบทวนเนื้อหำเดิมด้วยตนเอง ตลอดจนสำมำรถทรำบข้อบกพร่องของ
นกั เรยี นและนำไปปรบั ปรุงไดท้ ันทว่ งที ซึ่งจะมีผลทำใหค้ รปู ระหยัดเวลำ ประหยดั คำ่ ใช้จำ่ ย

5.4 หลกั กำรสร้ำงแบบฝึก
ถวลั ย์ มำศจรสั และคณะ (2550 : 19) ได้สรุปหลกั กำรสรำ้ งแบบฝึกทกั ษะดังนี้
1. ควำมใกล้ชิด คือ ถ้ำใช้ส่ิงเร้ำและกำรตอบสนองเกิดขึ้นในเวลำใกล้เคียงกันจะ

สร้ำงควำมพอใจให้กบั ผเู้ รยี น
2. กำรฝกึ คือ กำรให้นักเรยี นไดท้ ำซำ้ ๆ เพอื่ ช่วยสรำ้ งควำมรู้ ควำมเข้ำใจท่ีแมน่ ยำ

29

3. กฎแหง่ ผล คอื กำรทผี่ ้เู รยี นไดท้ รำบผลกำรทำงำนของตนด้วยกำรเฉลยคำตอบจะ
ชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นทรำบข้อบกพร่องเพ่ือปรบั ปรงุ แกไ้ ขและเป็นกำรสรำ้ งควำมพอใจแก่ผเู้ รยี น

4. กำรจูงใจ คือ กำรสร้ำงแบบฝึกเรียงลำดับ จำกแบบฝึกง่ำยและส้ันไปสู่แบบฝึก
เรื่องทีย่ ำกและยำวข้ึน ควรมภี ำพประกอบและมีหลำยรส หลำยรปู แบบ

สวุ ิทย์ มลู คำ และสนุ ันทำ สุนทรประเสรฐิ (2550 : 54) ได้สรุปหลักในกำรสร้ำง
แบบฝึกว่ำต้องมีกำรกำหนดเงื่อนไขที่จะช่วยให้ผู้เรียนทุกคนสำมำรถผ่ำนลำดับขั้นตอนของทุกหนว่ ย
กำรเรียนได้ ถ้ำนักเรียนได้เรยี นตำมอัตรำกำรเรยี นของตนก็จะทำให้นักเรยี นประสบควำมสำเรจ็ มำก
ขึ้น

สรุปได้ว่ำกำรสร้ำงแบบฝึกทักษะควรคำนึงถึงตัวผู้เรยี นเปน็ หลัก โดยมีจุดมุ่งหมำยที่แน่นอน
ว่ำจะฝึกเร่ืองใด ด้ำนใด ควรจัดหำเน้ือหำให้สอดคล้องวับจุดประสงค์ เนื้อหำไม่ยำกเกินไปและมี
รูปแบบหลำกหลำยท่ีน่ำสนใจ ท้ำทำยให้ผู้เรียนมีควำมอยำกเรียนรู้ อยำกเห็น อยำกทดลองทำสิ่ง
ใหมๆ่

5.5 สว่ นประกอบของแบบฝกึ
สุวทิ ย์ มลู คำ และสนุ นั ทำ สุนทรประเสรฐิ (2550 : 54) ได้กำหนดส่วนประกอบ

ของแบบฝึกทกั ษะได้ดังน้ี
1. คูม่ ือกำรใช้แบบฝึก เป็นเอกสำรสำคญั ประกอบกำรใชแ้ บบฝกึ วำ่ ใช้เพ่ืออะไรและ

มวี ิธใี ชอ้ ยำ่ งไร เชน่ ใชเ้ ป็นงำนฝึกทำ้ ยบทเรยี น ใช้เปน็ กำรบำ้ น หรือใชส้ อนซ่อมเสริมประกอบดว้ ย
- ส่วนประกอบของแบบฝึก จะระบวุ ำ่ ในแบบฝึกชุดนี้ มีแบบฝกึ ทั้งหมดก่ีชุด

อะไรบ้ำง และมีส่วนประกอบอื่นๆ หรอื ไม่ เชน่ แบบทดสอบ หรอื แบบบนั ทกึ ผลกำรประเมนิ
- สิ่งที่ครูหรือนกั เรยี นต้องเตรยี ม (ถ้ำมี) จะเป็นกำรบอกให้ครหู รอื นกั เรยี น

เตรยี มตัวใหพ้ รอ้ มล่วงหน้ำก่อนเรยี น
- จุดประสงคใ์ นกำรใช้แบบฝึก
- ขั้นตอนในกำรใช้ บอกข้อตำมลำดับกำรใช้ และอำจเขียนในรูปแบบของ

แนวกำรสอนหรอื แผนกำรสอนจะชดั เจนยิ่งข้ึน
- เฉลยแบบฝึกในแต่ละชดุ

2. แบบฝึก เป็นส่ือท่ีสร้ำงขึ้นเพ่ือให้ผู้เรียนฝึกทักษะ เพื่อให้เกิดกำรเรียนรู้ท่ีถำวร
ควรมีองคป์ ระกอบ ดงั น้ี

- ชอื่ ชดุ ฝกึ ในแตล่ ะชดุ ย่อย
- จดุ ประสงค์
- คำส่ัง
- ตวั อย่ำง

30

- ชุดฝึก
- ภำพประกอบ
- ข้อทดสอบก่อนและหลังเรียน
- แบบประเมินบนั ทึกผลกำรใช้
5.6 รปู แบบกำรสร้ำงแบบฝึก
สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทำ สุนทรประเสริฐ (2550 : 62 - 64) ได้เสนอแนะ
รูปแบบกำรสร้ำงแบบฝึก โดยอธิบำยวำ่ กำรสร้ำงแบบฝึกรูปแบบก็เป็นสิ่งสำคัญในกำรท่ีจะจูงใจให้
ผเู้ รยี นไดท้ ดลองปฏิบัติแบบฝึกจงึ ควรมรี ูปแบบท่ีหลำกหลำย มิใชใ่ ชแ้ บบเดียวจะเกิดควำมจำเจน่ำ
เบือ่ หนำ่ ย ไม่ทำ้ ทำยให้อยำกรูอ้ ยำกลองจึงขอเสนอรูปแบบท่ีเป็นหลกั ใหญไ่ วก้ อ่ น ส่วนผูส้ ร้ำงจะนำไป
ประยุกต์ใช้ ปรบั เปล่ยี นรปู แบบอ่ืนๆ กแ็ ล้วแต่เทคนิคของแต่ละคน ซ่งึ จะเรยี งลำดับจำกง่ำยไปหำยำก
ดังนี้
1. แบบถูกผิด เป็นแบบฝึกท่ีเป็นประโยคบอกเล่ำ ให้ผู้เรียนอ่ำนแล้วใส่เคร่ืองหมำย
ถกู หรือผิดตำมดุลยพินจิ ของผู้เรยี น
2. แบบจับคู่ เป็นแบบฝึกที่ประกอบด้วยตัวคำถำมหรือตัวปัญหำ ซ่ึงเป็นตัวยืนไว้ใน
สดมภ์ซ้ำยมือ โดยมีท่ีว่ำงไว้หน้ำข้อเพือ่ ให้ผู้เรียนเลือกหำคำตอบท่ีกำหนดไว้ในสดมภ์ขวำมือมำจับคู่
กบั คำถำมให้สอดคล้องกนั โดยใชห้ มำยเลขหรือรหัสคำตอบไปวำงไว้ที่ว่ำงหนำ้ ข้อควำมหรอื จะใช้กำร
โยงเส้นก็ได้
3. แบบเติมคำหรือเติมข้อควำม เป็นแบบฝึกท่ีมีข้อควำมไว้ให้ แต่จะเว้นช่องว่ำงไว้
ให้ผู้เรียนเติมคำหรือข้อควำมที่ขำดหำยไป ซึ่งคำหรือข้อควำมที่นำมำเติมอำจให้เติมอย่ำงอิสระหรือ
กำหนดตวั เลือกใหเ้ ติมก็ได้
4. แบบหมำยตัวเลือก เป็นแบบฝึกเชิงแบบทดสอบ โดยจะมี 2 ส่วน คือส่วนท่ีเป็น
คำถำม ซ่ึงจะตอ้ งเปน็ ประโยคคำถำมที่สมบรู ณ์ ชดั เจนไมค่ ลมุ เครือ ส่วนที่ 2 เปน็ ตัวเลือก คอื คำตอบ
ซ่งึ อำจจะมี 3-5 ตวั เลอื กกไ็ ด้ ตัวเลือกท้ังหมดจะมตี วั เลือกที่ถูกที่สดุ เพียงตัวเลือกเดียวสว่ นที่เหลือเป็น
ตวั ลวง
5. แบบอัตนัย คือควำมเรียงเป็นแบบฝึกที่ตัวคำถำม ผู้เรียนต้องเขียนบรรยำยตอบ
อย่ำงเสรีตำมควำมรูค้ วำมสำมำรถ โดยไมจ่ ำกัดคำตอบ แต่กำจดั คำตอบ แต่จำกดั ในเร่ืองเวลำ อำจใช้
คำถำมในรปู ทัว่ ๆ ไป หรอื เป็นคำสงั่ ใหเ้ ขยี นเรื่องรำวตำ่ งๆ ก็ได้

5.7 ขัน้ ตอนกำรสรำ้ งแบบฝึก

31

สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทำ สุนทรประเสริฐ (2550 : 65) ได้เสนอแนะกำรสร้ำง
แบบฝึกว่ำ ข้ันตอนกำรสร้ำงแบบฝึก จะคล้ำยคลึงกับกำรสร้ำงนวัตกรรมทำงกำรศึกษำประเภทอื่นๆ
ซึ่งมรี ำยละเอียดดังนี้

1. วเิ ครำะห์ปัญหำและสำเหตจุ ำกกำรจดั กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอน เชน่
- ปญั หำทเ่ี กิดขน้ึ ในขณะทำกำรสอน
- ปญั หำกำรผ่ำนจุดประสงคข์ องนกั เรียน
- ผลจำกกำรสงั เกตพฤตกิ รรมทีไ่ ม่พงึ ประสงค์
- ผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรียน

2. ศึกษำรำยละเอียดในหลักสตู ร เพื่อวิเครำะหเ์ นอื้ หำ จุดประสงค์และกิจกรรม
3. พิจำรณำแนวทำงแก้ปัญหำที่เกิดขึ้นจำกข้อ 1 โดยกำรสร้ำงแบบฝึก และเลือก
เนอื้ หำในสว่ นท่ีจะสรำ้ งแบบฝกึ น้ัน วำ่ จะทำเรื่องใดบำ้ ง กำหนดเปน็ โครงเร่ืองไว้
4. ศกึ ษำรูปแบบของกำรสรำ้ งแบบฝกึ จำกเอกสำรตัวอย่ำง
5. ออกแบบชุดฝึกแต่ละชุดใหม้ ีรปู แบบทหี่ ลำกหลำยน่ำสนใจ
6. ลงมือสร้ำงแบบฝึกในแต่ละชุด พร้อมทั้งข้อทดสอบก่อนและหลังเรียนให้
สอดคล้องกับเนอื้ หำและจุดประสงค์กำรเรยี นรู้
7. ส่งใหผ้ ู้เช่ยี วชำญตรวจสอบ
8. นำไปทดลองใช้ แล้วบนั ทึกผลเพอ่ื นำมำปรับปรงุ แก้ไขส่วนทบ่ี กพรอ่ ง
9. ปรับปรุงจนมีประสิทธภิ ำพตำมเกณฑ์ทตี่ ัง้ ไว้
10. นำไปใชจ้ รงิ และเผยแพรต่ ่อไป
ถวัลย์ มำศจรสั และคณะ (2550 : 21) ไดอ้ ธบิ ำยขั้นตอนกำรสรำ้ งแบบฝึกทกั ษะ ดงั น้ี
1. ศกึ ษำเนอ้ื หำสำระสำหรบั กำรจดั ทำแบบฝกึ หัด แบบฝกึ ทักษะ
2. วิเครำะหเ์ น้ือหำสำระโดยละเอยี ดเพ่อื กำหนดจุดประสงค์ในกำรจดั ทำ
3. ออกแบบกำรจดั ทำแบบฝกึ หดั แบบฝึกทกั ษะตำมจุดประสงค์
4. สรำ้ งแบบฝึกหัด และแบบฝกึ ทักษะและสว่ นประกอบอน่ื ๆ เชน่

4.1 แบบทดสอบกอ่ นฝกึ
4.2 บตั รคำสงั่
4.3 ขน้ั ตอนกิจกรรมทีผ่ ู้เรียนต้องปฏิบัติ
4.4 แบบทดสอบหลังฝึก
5. นำแบบฝึกหัด แบบฝกึ ทกั ษะไปใช้ในกำรจดั กิจกรรมกำรเรยี นรู้
6. ปรับปรงุ พัฒนำใหส้ มบรู ณ์

32

5.8 แนวคิดหลกั กำรท่ีเกี่ยวขอ้ งกับแบบฝกึ ทักษะ
อกนิษฐ์ กรไกร (2551 : 17) ได้ดำเนินกำรสร้ำงแบบฝึกทกั ษะ ยดึ หลกั ให้นกั เรียนได้
เรียนรดู้ ้วยตนเองตำมศกั ยภำพของแต่ละบุคคล ในควำมคำดหวงั ต้องกำรใหเ้ ดก็ ท่ีใช้แบบฝึกทักษะมี
พฤตกิ รรม ดงั นี้

1. Active Responding ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกำรเรียนอย่ำงกระฉับกระเฉง ไม่
ว่ำจะเป็นคิดในใจหรือแสดงออกมำด้วยกำรพูดหรอื เขียน นักเรียนอำจเขียนรูปภำพเติมคำแตง่
ประโยคหรือหำคำตอบในใจ

2. Minimal Error ในกำรเรียนแต่ละครั้งเรำหวังวำ่ นักเรียนจะตอบคำถำมได้
ถูกตอ้ งเสมอ แต่ในกรณีทน่ี ักเรียนตอบคำถำมผิด นักเรยี นควรมโี อกำสฝกึ ฝนและเรยี นรู้ในส่ิงทเ่ี ขำทำ
ผิดเพ่อื ไปสู่คำตอบทถ่ี ูกตอ้ งต่อไป

3. Knowledge of Results เม่อื นกั เรยี นสำมำรถตอบถูกตอ้ งเขำควรไดร้ ับเสริมแรง
ถำ้ นกั เรยี นตอบผิดเขำควรไดร้ บั กำรชีแ้ จง และให้โอกำสท่จี ะแก้ไขใหถ้ ูกต้องเชน่ เดยี วกบั ประสบกำรณ์
ท่ีเป็นควำมสำเรจ็ สำหรับมนุษย์แลว้ เพยี งไดร้ ู้ว่ำทำอะไรสำเร็จก็ถือเปน็ กำรเสริมแรงในตวั เอง

4. Small Step กำรเรียนจะต้องเปิดโอกำสให้นักเรียนได้เรียนรู้ไปทีละน้อยด้วย
ตนเอง โดยใหค้ วำมรู้ตำมลำดบั ขั้นและเปิดโอกำสให้ผ้เู รียนใคร่ครวญตำมซึ่งจะเปน็ ผลดีต่อกำรเรียนรู้
ของเดก็ อย่ำงมำก แมท้ ี่เรยี นออ่ นก็จะสำมำรถเรียนได้

สุวิทย์ มูลคำ และสุนันทำ สุนทรประเสริฐ (2550 : 54 - 55) ได้อธิบำยแนวคิดและ
หลักกำรสร้ำงแบบฝึกว่ำ กำรศึกษำในเรือ่ งจิตวิทยำกำรเรียนรู้ เปน็ สงิ่ ทีผ่ ู้สร้ำงแบบฝกึ มิควร
ละเลย เพรำะกำรเรียนรู้จะเกิดขน้ึ ได้ตอ้ งขึน้ อยู่กับปรำกฏกำรณ์ของจิตและพฤตกิ รรมท่ีตอบสนอง
นำนำประกำร โดยอำศัยกระบวนกำรทีเ่ หมำะสมและเป็นวธิ ีท่ดี ีที่สดุ กำรศกึ ษำทฤษฎีกำรเรียนรู้จำก
ข้อมูลที่นักจิตวิทยำได้ทำกำรค้นพบ และทดลองไว้แล้ว สำหรับกำรสร้ำงแบบฝึกในส่วนที่มี
ควำมสัมพันธ์กนั ดังนี้

1. ทฤษฎีกำรลองถูกลองผิดของธอร์นไดค์ ซึ่งได้สรุปเป็นกฎเกณฑ์กำรเรียนรู้ 3
ประกำร คอื

1.1 กฎควำมพร้อม หมำยถึง กำรเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อบุคคลพร้อมท่ีจะ
กระทำ

1.2 กฎผลท่ีไดร้ บั หมำยถงึ กำรเรยี นรู้ทีเ่ กิดข้นึ เพรำะบคุ คลกระทำซ้ำงำ่ ย
1.3 กฎกำรฝึกหัด หมำยถึง กำรฝึกหัดให้บุคคลทำกิจกรรมต่ำงๆ นั้น ผู้ฝึก
จะตอ้ งควบคุมและจดั สภำพกำรให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของตนเอง บคุ คลจะถกู กำหนดลักษณะ
พฤติกรรมที่แสดงออก

33

ดังนั้น ผู้สร้ำงแบบฝึกจึงจะต้องกำหนดกิจกรรมตลอดจนคำสั่งต่ำงๆ ใบแบบฝึกให้ผู้ฝึกได้
แสดงพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ทผ่ี สู้ ร้ำงต้องกำร

2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซ่ึงมีควำมเช่ือว่ำ สำมำรถควบคุมบุคคลให้
ทำตำมควำมประสงคห์ รอื แนวทำงทกี่ ำหนดโดยไม่ตอ้ งคำนงึ ถึงควำมรู้สกึ ทำงด้ำนจิตใจของบุคคลผู้น้ัน
ว่ำจะรู้สึกนึกคิดอย่ำงไร เขำจึงได้ทดลองและสรุปว่ำบุคคลสำมำรถเรียนรู้ด้วยกำรกระทำโดยมีกำร
เสริมแรงเป็นตัวกำร เปน็ บุคคลตอบสนองกำรเร้ำของส่งิ เร้ำควบค่กู ันในช่วงเวลำที่เหมำะสม สงิ่ เรำ้ นั้น
จะรักษำระดับหรือเพม่ิ กำรตอบสนองให้เข้มขึ้น

3. วิธีกำรสอนของกำเย่ ซึ่งมีควำมเห็นว่ำกำรเรียนรู้มีลำดับข้ัน และผู้เรียนจะต้อง
เรียนรเู้ นอ้ื หำทง่ี ำ่ ยไปหำยำก กำรสรำ้ งแบบฝกึ จงึ ควรคำนึงถึงกำรฝกึ ตำมลำดบั จำกง่ำยไปหำยำก

4. แนวคิดของบลูม ซึ่งกล่ำวถึงธรรมชำติของผู้เรยี นแต่ละคนว่ำมีควำมแตกต่ำงกนั
ผู้เรียนสำมำรถเรยี นรเู้ นื้อหำในหน่วยย่อยต่ำงๆ ได้โดยใชเ้ วลำเรียนท่ีแตกต่ำงกนั

6. งำนวจิ ยั ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง
6 .1 งำนวจิ ยั ในประเทศ

สวุ ิทย์ มูลคำ และสนุ ันทำ สนุ ทรประเสริฐ (2550 : บทคดั ยอ่ ) ไดท้ ำกำรพัฒนำ
แบบ[ฝึกภำษำไทย เร่ือง กำรเขียนสะกดคำไม่ตรงมำตรำตัวสะกด แม่กน แม่กด แม่กบ ช้ัน
ประถมศึกษำปีที่ 3 ผลกำรทดลองพบว่ำ แบบฝึกทักษะภำษำไทยมีประสิทธิภำพ 84.02/80.26
ผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรียนภำษำไทยหลังเรียนสงู กว่ำกอ่ นเรียน อยำ่ งมีนัยสำคัญทำงสถิติทร่ี ะดับ .01

ถวัลย์ มำศจรัส และคณะ (2550 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษำกำรสร้ำงแบบฝึกทักษะกำรเขียน
สะกดคำของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 2 พบว่ำ แบบฝึกทักษะกำรเขียนสะกดคำมีประสิทธิภำพ
ตำมเกณฑ์มำตรฐำน 87.74/82.11 และมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรยี นสูงขน้ึ อย่ำงมีนัยสำคัญทำงสถิตทิ ่ี
ระดับ .01

มนทิรำ ภักดีณรงค์ (2550 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษำเกี่ยวกับกำรสร้ำงแบบฝึกกิจกรรม
ขั้นตอนที่ 5 ที่มีประสิทธิภำพและควำมคงทนในกำรเรยี นรู้ เร่ือง ยังไม่สำยเกนิ ไป วิชำภำษำไทยชนั้
ประถมศึกษำปีท่ี 2 โดยกำรสอนแบบมุ่งประสบกำรณ์ภำษำ ผลกำรศึกษำพบว่ำ แบบฝึกทักษะมี
ประสิทธิภำพตำมเกณฑ์มำตรฐำน 80/80 และคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่ำก่อนเรียน อย่ำงมี
นัยสำคญั ทำงสถติ ิทรี่ ะดบั .01

วิเศษ แปวไธสง (2553 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษำกำรพัฒนำแผนกำรจัดกำรเรียนร้แู ละแบบฝึก
ทกั ษะประกอบกำรเรียน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทยแบบมุ่งประสบกำรณ์ทำงภำษำ เร่ือง ลูกอ๊
อดหำแม่ ช้ันประถมศึกษำปีที่ 2 โรงเรียนสำมัคคีคุรุรำษฎร์บำรุง สำนักงำนเขตพ้ืนที่
กำรศึกษำบรุ รี มั ย์เขต 4 ผลกำรศึกษำค้นคว้ำพบว่ำ แผนกำรเรียนรู้มีประสิทธิภำพตำมเกณฑ์ 80.

34

85/85.05 ซ่ึงสูงกว่ำเกณฑ์ท่ีต้ังไว้ แบบฝึกทักษะมีคุณภำพอยู่ในระดับเหมำะสมมำกที่สุด มีคะแนน
เฉล่ียหลงั เรยี นสงู กว่ำก่อนเรียนอย่ำงมีนยั สำคญั ทำงสถติ ริ ะดบั .05

ผลกำรศึกษำงำนวิจัยในประเทศแสดงให้เห็นควำมสำคัญของกำรจัดกิจกรรมกำรพฒั นำกำร
อ่ำนและกำรเขียนสะกดคำ เพรำะแบบฝึกทักษะเป็นสิ่งสำคัญในกำรพัฒนำกำรเรียนรู้ ทำให้กำรจัด
กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอนประสบควำมสำเรจ็ ตำมจุดม่งุ หมำยของหลักสูตรอย่ำงมปี ระสทิ ธภิ ำพ

เบ็ญจวรรณ เสำวโค (2553) ได้ศึกษำกำรพัฒนำแบบฝึกทักษะภำษำไทย เร่ือง กำรเขียน
สะกดคำตำมมำตรำตวั สะกดโดย ใชก้ จิ กรรมกำรเรยี นรแู้ บบรว่ มมอื เทคนิค STAD สำ หรับนักเรยี นชั้น
ประถมศึกษำปีที่ 1 ผลกำรวิจัย พบว่ำ ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลังเรียนสูงกว่ำ ก่อนเรียนอย่ำงมี
นัยสำคญั ทำงสถติ ิท่รี ะดบั .01

ไพรวรรณ ศรีกุลำ (2554) ได้ทำกำรวิจัย เรื่อง กำรพัฒนำแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและ กำร
เขียนสะกดคำ สำ หรับนักเรียนชั้นประถมศึกษำ ปีท่ี 1 ผลกำรวิจัยพบว่ำ ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน
หลงั เรยี นสงู กว่ำก่อนเรยี นอยำ่ งมีนยั สำคญั ทำง สถติ ิทีร่ ะดับ .01

ไพรวรรณ ศรีกลุ ำ. (2554). กำรพัฒนำแบบฝึกทักษะ กำรอำ่ นและกำรเขียนสะกดคำ สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1. วิทยำนิพนธ์ค.ม. (หลักสูตรและกำรสอน). บุรีรัมย์: บัณฑิตวิทยำลัย
มหำวิทยำลยั รำชภฏั บุรรี ัมย์
มณฑำ จันทรไ์ ข.่ (2554). ผลกำรใช้แบบฝกึ ทักษะกำรอ่ำนและกำรเขยี นคำควบกล้ำสำหรับ นักเรยี น
ช้ันประถมศึกษำปีที่ 4. วิทยำนิพนธ์ค.ม. (หลักสูตรและกำรสอน). บุรีรัมย์: บัณฑิตวิทยำลัย
มหำวิทยำลัยรำชภัฏบุรรี ัมย.์

โสภิต พันธ์วิริยะกุล (2552) ได้ศึกษำกำรพฒั นำควำมสำมำรถดำ้ นกำรอ่ำนและกำรเขียนใน
แม่ ก. กำ ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกำรจัดกิจกรรมด้วยกลุ่มรว่ มมือแบบ
STAD ผลกำรศึกษำค้นคว้ำ พบว่ำ แผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ภำษำไทย เร่ือง กำรพัฒนำ
ควำมสำมำรถด้ำนกำรอ่ำนและเขียนในแม่ ก กำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะ
ประกอบกำรจัดกจิ กรรมดว้ ยกลุ่มรว่ มมอื แบบ STAD มีประสิทธภิ ำพ 85.00/82.25

เทียมจันทร์ ไสยวรรณ (2552) ได้ศึกษำผลกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ภำษำไทย เรื่อง กำร
อ่ำน กำรเขียนสะกดคำที่ประสมด้วยสระ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่ม
ร่วมมือแบบ STAD ผลกำรศกึ ษำพบวำ่ แผนกำรจัดกำรเรียนรภู้ ำษำไทย เร่ือง กำรอ่ำนกำรเขียนสะกด
คำท่ีประสมด้วยสระ ชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 โดยใช้แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมอื แบบ STAD มี
ประสิทธิภำพเท่ำกบั 91.79/84.22

เสง่ยี ม โกฏริ ักษ์ (2552) ไดศ้ ึกษำผลกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรโู้ ดยใช้แบบฝึกทกั ษะประกอบ
กลุ่มร่วมมือแบบ STAD เรื่อง กำรอ่ำนและกำรเขียนสะกดคำในมำตรำแม่ ก กำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1 ผลกำรศึกษำพบว่ำ ประสิทธิภำพของแผนกำรจัดกำรเรยี นรโู้ ดยใช้

35

แบบฝึกทักษะประกอบกลุ่มร่วมมือแบบ STAD เร่ือง กำรอ่ำนและกำรเขียนสะกดคำในมำตรำแม่ ก
กำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทยช้ันประถมศึกษำปีที่ 1 ที่ผู้ศึกษำสร้ำงขึ้น มีประสิทธิภำพเท่ำกับ
90.61/86.18 ซ่งึ เปน็ ไปตำมเกณฑ์ 80/80 ทตี่ ง้ั ไว้

จินตนำ ระวงษ์โคตร (2553) ได้ศึกษำผลกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ภำษำไทย เร่ือง คำยำก
ชั้นประถมศึกษำปีท่ี 1 โดยใช้แบบฝึกทักษะ ผลกำรศึกษำ พบว่ำ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ภำษำไทย
เร่อื ง คำยำก ชน้ั ประถมศึกษำปที ี่ 1 โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะ มคี ำ่ ดชั นีประสทิ ธผิ ลเทำ่ กบั 0.6952

กฤษณำพร สำยคำวงศ์ (2553) ได้ศึกษำกำรพัฒนำแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ กลุ่มสำระกำร
เรียนรู้ภำษำไทย เร่ือง คำท่ีสะกดไม่ตรงตำมมำตรำ ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 3 โดยประยกุ ต์ใช้ทฤษฎีพหุ
ปัญญำ พบวำ่ แผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทย เรือ่ งคำท่ีสะกดไมต่ รงตำมมำตรำ
ช้ันประถมศึกษำปีที่ 2 โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพหุปัญญำ นักเรียนมีควำมพึงพอใจต่อกำรเรียนด้วย
กิจกรรมกำรเรียนรู้ เร่ืองคำที่สะกดไม่ตรงตำมมำตรำ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีพหุปัญญำ อยู่ในระดับ
มำก

สวัสดิ์ สุขโสม (2551) ได้ทำกำรวิจัยเก่ียวกับ กำรพัฒนำกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้โดยใช้
แบบฝึกทักษะ เร่ือง กำรอ่ำนและกำรเขียนสะกดคำไม่ตรงมำตรำตัวสะกด กลุ่มสำระกำรเรียนรู้
ภำษำไทยช้ันประถมศึกษำปีท่ี 2 ผลกำรศึกษำพบว่ำ กำรจัดกิจกรรม กำรเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ
เรื่อง กำรอ่ำนและกำรเขียนคำที่สะกดไม่ตรงมำตรำตัวสะกด กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้น
ประถมศึกษำปีท่ี 2 นักเรียนมคี ะแนนเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนหลังเรียนสูงกว่ำก่อนเรียนอยำ่ งมี
นยั สำคญั ทำงสถิตทิ ร่ี ะดับ .01

ปนัฎดำ บุญเสนำะ (2551) ได้ศึกษำกำรพัฒนำกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้กำรเขียนเชิง
สร้ำงสรรค์โดยใช้แบบฝึกทักษะกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทยช้ันประถมศึกษำปีที่ 3 ผลกำรศึกษำ
พบว่ำ นักเรียนช้ันประถมศึกษำปีที่ 3 ท่ีจัดกำรเรียนรู้กำรเขียนเชิงสร้ำงสรรค์มีผลสัมฤทธ์ิทำงกำร
เรียนหลังเรยี นเพม่ิ ขนึ้ จำกก่อนเรยี นอยำ่ งมีนยั สำคญั ทำงสถิติท่รี ะดบั .01
วงเดือน เป็ดทอง (2550) ไดว้ จิ ยั และสรำ้ งแผนกำรจัดกำรเรียนรู้โดยใชแ้ บบฝกึ กำรอ่ำนและกำรเขียน
คำควบกล้ำ มีควำมมุ่งหมำยเพ่อื พัฒนำแผนกำรจัดกจิ กรรมกำรเรียนรโู้ ดยใช้แบบฝึกทักษะกำรอ่ำน
และกำรเขยี นคำควบกล้ำชนั้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 2 พบว่ำวำ่ นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษำปีท่ี 2 ที่ไดร้ ับกำร
สอนดว้ ยแบบฝึกทักษะมคี วำมร้ดู ้ำนกำรอ่ำนและกำรเขียนคำควบกลำ้ สูงกวำ่ นักเรียนทไ่ี ด้รบั กำรสอน
ตำมคมู่ อื ของกรมวิชำกำร อยำ่ งมนี ัยสำคัญทำงสถิติทรี่ ะดบั .01

รังศิยำ ทองงำม (2552) ได้ศึกษำผลกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ภำษำไทยตำมแนวคิดสมอง
เป็นฐำนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง กำรอ่ำนและกำรเขียนคำท่ีประสมสระลดรูปและเปลี่ยนรูปช้ัน
ประถมศึกษำปีท่ี 1 ผลกำรศึกษำพบว่ำ แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักกำรเรียนรู้ภำษำไทยตำม
แนวคิดสมองเป็นฐำนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เรื่อง กำรอ่ำนและกำรเขียนคำที่ประสมสระลดรูปและ

36

เปลี่ยนรูป ช้ันประถมศึกษำปีท่ี 1 มีค่ำดัชนีประสิทธิผลของแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ภำษำไทยตำม
แนวคิดสมองเป็นฐำนโดยใช้แบบฝึกทักษะ เร่ืองกำรอ่ำนและกำรเขียนคำท่ีประสมสระลดรูปและ
เปลยี่ นรปู ช้นั ประถมศกึ ษำปที ี่ 1 มีค่ำเทำ่ กบั 0.6267

บังอร บำรมีช่วย (2550) ได้พัฒนำแผนกำรเรียนรูแ้ ละแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและกำรเขยี น
สะกดคำ กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ช้ันประถมศึกษำปีที่ 2 นักเรียนมคี วำมพึงพอใจต่อแผนกำร
เรยี นรู้และแบบฝกึ ทักษะภำษำไทย เร่ืองกำรอ่ำนและกำรเขียนสะกดคำอย่ใู นระดับมำก

สรุปได้ว่ำ จำกกำรวิจัยงำนวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง พบว่ำ หลังจำกกำรใช้แบบฝึกทักษะด้ำน ต่ำงๆ
เพ่ือใช้ในกำรเรียนกำรสอนนั้น ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ผู้ศึกษำจึงมีควำม
สนใจท่ีจะศึกษำผลกำรใช้แบบฝึกทักษะด้ำนกำรกำรอ่ำนและเขียนคำพื้นฐำนภำษำไทย ช้ัน
ประถมศกึ ษำปที ี่ 2 โรงเรียนนำคำวทิ ยำสรรพ์ อำเภออบุ ลรัตน์ จงั หวัดขอนแก่น เพ่ือเพมิ่ ประสิทธภิ ำพ
กำรเรียนกำรสอนวิชำภำษำไทย และเพื่อเพิ่มผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรยี นวิชำภำษำไทยให้สงู ขึน้

6 .2 งำนวิจัยต่ำงประเทศ
กำร์เซีย (Garcia. 1998 : 3459-A) ได้ศึกษำเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ิในกำรอำ่ นเขียน
สะกดคำจำกรูปแบบกำรสอนสะกดคำ 2 รูปแบบ คือ กำรสอนสะกดคำแบบใหน้ ักเรียนฝึกเองกับกำร
สะกดคำตำมหนังสือ โดยครูแต่ละกลุ่มจะสอนโดยใช้โปรแกรมกำรสอนอ่ำนเหมือนกัน และกำรสอน
เขียนทุกวันตำมเวลำที่กำหนดไว้ กำรสอบใช้กำรสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ผลกำรศึกษำพบว่ำ
กำรสอนสะกดคำแบบให้นกั เรยี นฝึกเองมผี ลดีกว่ำกำรสอนสะกดคำตำมตำรำในดำ้ นกำรอ่ำนคำศพั ท์
และกำรวเิ ครำะห์คำศพั ท์ นกั เรียนท้งั สองกลุ่มมคี วำมแตกตำ่ งกนั ในเรื่องจำนวนคำศพั ทท์ ใี่ ช้ในระดับท่ี
สูงกว่ำประถมหนึ่ง ควำมยำวของประโยคและจำนวนหน่วยคำนอกจำกนี้นักเรียนสะกดคำโดย
นกั เรียนคดิ เอง มกี ำรอ่ำนทบทวน กำรเขยี นคำ วิเครำะหค์ ำท่ีใช้ ตลอดจนมกี ำรช่วยเหลือหรือซักถำม
เพื่อน เพ่อื ช่วยในกำรสะกดคำบอ่ ยคร้งั มำกกว่ำนักเรยี นอกี กลุ่มหนง่ึ และนักเรียนท่ีเรียนสะกดคำจำก
ตำรำใช้พจนำนุกรมบ่อยครัง้ มำกกวำ่ นกั เรยี นอีกกล่มุ
เบำชำร์ด (Bouchard. 2002 : Web Site) ได้ศึกษำควำมรู้เร่ืองคำของนักเรียน ชั้น
ประถมศกึ ษำปีที่ 3 จำกควำมผดิ พลำดในกำรอ่ำนกับกำรสะกดคำแมว้ ่ำเขำมีควำมพยำยำมอย่ำงมำก
ระหว่ำงระหว่ำงกำรอ่ำนและกำรสะกดคำแต่กำรปฏิบัติงำนกำรอำ่ นและกำรสะกดคำของนักเรียนก็
มักจะยังแสดงให้เห็นควำมแตกต่ำงอย่ำงมีนัยสำคัญในควำมถูกต้องและควำมผิดพลำดของคำ กำร
วิจัยครั้งน้ีได้ศึกษำกำรสะกดคำตำมควำมรู้เร่ืองคำเชิงพัฒนำใน 4 ด้ำน ผลกำรวิเครำะห์พบว่ำกำร
ปฏิบัติงำนกำรอำ่ นของนกั เรยี นดีกว่ำกำรปฏิบัติงำนกำรสะกดคำอย่ำงมีนัยสำคัญและพบว่ำมีผลของ
รำยงำนอยำ่ งมีนัยสำคัญต่อระดับควำมรเู้ รอื่ งของคำของนักเรียน ควำมผดิ พลำดดำ้ นกำรอ่ำนและกำร
เขยี นสะกดคำของนกั เรยี นต่อไปพบว่ำ ควำมผดิ พลำดเกีย่ วข้องกบั ลกั ษณะทำงอักขรวิธีทเี่ หมอื นกันใน

37

ทุกงำนในท่ีสุด จำกกำรศกึ ษำกำรให้คะแนนผลสัมฤทธ์ิทำงกำรสะกดคำและควำมรู้เรื่องคำของทักษะ
ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี 3 ของครพู บวำ่ กำรใหค้ ะแนนมีควำมสัมพันธ์อย่ำงมีนยั สำคัญกับกำรปฏิบัติจริง
ของนักเรียนในผลสัมฤทธิ์ทำงกำรสะกดคำและควำมรู้เรื่องคำ แตก่ ็ยงั ไม่เพียงพอสำหรบั กำรตัดสินใจ
ในกำรสอน

จำกกำรศึกษำค้นคว้ำงำนวิจัยที่เก่ียวข้องที่กล่ำวมำข้ำงต้น ทำให้ทรำบว่ำควำมสำมำรถใน
กำรอ่ำนและกำรเขียนของนักเรียน เกิดจำกวิธีสอนของครูและสื่อกำรเรียนกำรสอนที่ช่วยให้นักเรียน
เกิดกำรเรียนรู้ได้ดียิ่งขึ้น ผู้รำยงำนได้ศึกษำค้นคว้ำเพ่ือพัฒนำแบบฝึกทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียน
สะกดคำ ใหน้ กั เรียนได้ฝกึ ทักษะกำรอำ่ นและกำรเขยี นให้มีประสิทธภิ ำพย่ิงขน้ึ

7 กรอบแนวคดิ ในกำรศึกษำ

กำรศกึ ษำเรอ่ื ง ผลของกำรใชแ้ บบฝึกทักษะกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ในกำรพฒั นำทกั ษะกำร

อ่ำนและกำรเขียนคำพื้นฐำน ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษำปที ี่ 2 ผู้ศึกษำมีกรอบแนวคิดในกำรศึกษำ

ดังภำพท่ี 7.1

ตัวแปรตน้ ตวั แปรตำม

แบบฝึกทกั ษะกำรอ่ำนและกำร 1. ผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรียนของนกั เรยี น กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้
เขียนคำพน้ื ฐำนในแบบฝกึ ทกั ษะ ภำษำไทย กำรใชแ้ บบฝึกทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียนคำ
กำรเรยี นรู้ภำษำไทย พน้ื ฐำนในแบบฝกึ ทกั ษะกำรเรียนรู้ภำษำไทย สำหรับ
นกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษำปีท่ี 2
2. ควำมพึงพอใจของนักเรียนท่ีมตี ่อกำรสอนโดยใช้แบบฝกึ
ทกั ษะกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพน้ื ฐำนในแบบฝึกทกั ษะกำร
เรยี นรู้ภำษำไทย สำหรับนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษำปีท่ี 2

ภำพท่ี 7.1 กรอบแนวคดิ ในกำรศกึ ษำ

บทท่ี 3
วธิ ดี ำเนนิ กำรศกึ ษำ

กำรศกึ ษำผลกำรใช้แบบฝึกทักษะกำรเรียนรู้ภำษำไทยในกำรพฒั นำทักษะกำรอำ่ นและกำร
เขียนคำพน้ื ฐำนภำษำไทย ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษำปที ่ี 2 โรงเรยี นนำคำพิทยำสรรพ์ อำเภอ
อุบลรตั น์ จงั หวดั ขอนแก่น ผู้ศึกษำไดน้ ำเสนอวิธีกำรดำเนนิ กำรศึกษำ ดังน้ี

3.1 ประชำกรและกลมุ่ ตวั อย่ำง
3.2 แบบแผนกำรศึกษำ
3.3 วธิ ีกำรดำเนินกำรทดลอง
3.4 เคร่อื งมอื ที่ใช้ในกำรศกึ ษำ
3.5 กำรสร้ำงและหำประสทิ ธภิ ำพเครื่องมือ
3.6 กำรเก็บรวบรวมข้อมูล
3.7. กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู
3.8. สถติ ิท่ีใช้ในกำรวเิ ครำะหข์ อ้ มลู

3.1 ประชำกรและกลมุ่ ตวั อยำ่ ง
กลุ่มเป้ำหมำย ชน้ั ประถมศกึ ษำปที ี่ 2 โรงเรยี นนำคำพิทยำสรรพ์ อำเภออุบลรัตน์ จงั หวัด

ขอนแก่น 1 ห้องเรียน จำนวน 9 คน ภำคเรียนที่ 2/2563 โดยวธิ ีเลอื กแบบเจำะจง (Purposive
Sampling)

3.2 แบบแผนกำรศกึ ษำ
กำรศึกษำคร้งั นี้ ใช้แบบแผนกำรวิจัยแบบกลมุ่ เดียวมีกำรทดสอบกอ่ นและทดสอบหลงั

กำรทดลอง (One group pretest - posttest design)

T1 X T2

สญั ลักษณ์ที่ใช้ในแบบแผนกำรวจิ ัย

T1 คือ ทดสอบกอ่ นกำรทดลอง

X คอื กำรเรียนด้วยแบบฝกึ ควำมเข้ำใจในกำรอ่ำนภำษำไทย

T2 คอื ทดสอบหลงั กำรทดลอง

3.3 วธิ กี ำรดำเนนิ กำรทดลอง

ในกำรทดลอง และกำรเก็บรวบรวมข้อมลู ผู้ศกึ ษำดำเนินตำมขนั้ ตอนดงั ต่อไปน้ี

39

1. ผู้ศึกษำดำเนินกำรทดสอบก่อนเรียน (pretest) ด้วยแบบทดสอบที่ผู้ศึกษำสร้ำงข้ึนกับ
นักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษำปีที่ 2 โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์ อำเภออุบลรัตน์ จังหวดั ขอนแก่น

2. ผู้ศึกษำดำเนินกำรจัดกำรเรยี นรู้โดยแบบฝึกทักษะ ตำมแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่ผู้ศึกษำ
สร้ำงขึ้นจำนวน 10 แผนเป็นระยะเวลำ 10 ช่ัวโมง ได้ทำกำรทดลองสอนภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ
2563 โดยมขี ั้นตอนกำรจดั กำรเรียนรโู้ ดยแบบฝกึ ทักษะดงั น้ี

1) ขั้นเตรียมเนื้อหำ : เป็นขั้นที่ครูและนักเรียนร่วมกนั แบ่งเนื้อหำออกเป็นหัวข้อย่อย ๆ
เพอ่ื ทำกำรศกึ ษำ

2) ขั้นกำรศึกษำเน้ือหำ : เป็นข้ันตอนท่ีนักเรียนแต่ละคนจะได้ศึกษำเน้อื หำท่ีให้ศึกษำ
เพื่อเสนอควำมรู้และสรุปควำมรู้ที่ได้ให้กับเพ่ือนในห้อง ได้เกิดกำรเรียนรู้ร่วมกันอย่ำงชัดเจนทุกคน
และทำแบบฝึกทกั ษะ

3) ขัน้ ทดสอบควำมรู้ : เปน็ ขัน้ ตอนทที่ กุ คนตอ้ งทำกำรทดสอบและนำมำหำค่ำเฉล่ียของ
แตล่ ะคน

3. ผู้ศกึ ษำดำเนนิ กำรทดสอบหลงั เรยี น (posttest) ด้วยแบบทดสอบผลกำรเรยี นรทู้ ่ผี ู้ศึกษำ
สรำ้ งขน้ึ ซ่ึงเป็นข้อสอบฉบับเดยี วกบั ขอ้ สอบท่ีทำกำรทดสอบก่อนเรียน จำนวน 10 ข้อ

4. ผ้ศู กึ ษำใหน้ ักเรยี นทำแบบสอบถำมควำมพงึ พอใจที่มีตอ่ วธิ กี ำรจัดกำรเรยี นรู้ โดยใชแ้ บบ
ฝกึ ทักษะ

5. นำคะแนนที่ได้จำกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน และผลจำกกำรตอบ
แบบสอบถำมควำมพงึ พอใจมำวเิ ครำะห์ข้อมลู

6. ผู้ศึกษำทำกำรทดสอบนักเรยี นท่ีเปน็ กลุ่มตัวอยำ่ งก่อนกำรทดลองสอนด้วยแบบทดสอบ
วัดผลสมั ฤทธ์ทิ ำงกำรเรียนวิชำภำษำไทย

7. ผศู้ ึกษำนำผลจำกกำรทดสอบมำตรวจ และบนั ทกึ คะแนน เพือ่ นำไปทำกำรรวเิ ครำะห์
กำรวิเครำะห์ข้อมลู วเิ ครำะหข์ ้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS โดยมีกำรวเิ ครำะหข์ ้อมูลดังต่อไปน้ี

1) เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำภำษำไทยกอ่ นเรียนและหลังเรยี นของ
นกั เรยี นกลุ่มทีไ่ ด้รบั กำรสอนโดยกำรจัดกิจกรรมกำรเรยี นกำรสอนโดยใช้แบบฝึกทกั ษะ โดยวิเครำะห์
ควำมแตกต่ำงของคำ่ มัชฌิมเลขคณิตจำกกำรทดสอบคำ่ ที

2) เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นวชิ ำภำษำไทยของนักเรียนกล่มุ ทไี่ ดร้ บั กำร
สอนโดยใช้แบบฝึกทักษะโดยพิจำรณำจำกผลกำรทดสอบควำมแตกต่ำงของค่ำมัชฌิมเลขคณิตของ
ผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียนวิชำภำษำไทย ภำคเรียนที่ 2 ปีกำรศึกษำ 2563 ผลปรำกฏว่ำแตกต่ำงกันจึง
วิเครำะห์ ควำมแตกต่ำงของค่ำมัชฌิมเลขคณิตของผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนวิชำภำษำไทยทำงกำร
เรียนวชิ ำภำษำไทยหลังเรยี นโดยกำรทดสอบค่ำที

40

3.4 เครอื่ งมอื ทใี่ ชใ้ นกำรศกึ ษำ
1. แผนกำรจัดกำรเรยี นรูก้ ลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ภำษำไทยในกำรพฒั นำทกั ษะกำรอ่ำนและกำร

เขยี นคำพน้ื ฐำนภำษำไทย ชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 2 ท่จี ดั กำรเรยี นรู้โดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ จำนวน 15
แบบฝึก และ 15 แผนกำรเรยี นรู้ โดยสอนครั้งละ 1 ชวั่ โมง รวม 15 ชว่ั โมง

2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี นก่อนเรียนและหลังเรยี น จำกกำรเรยี นดว้ ย
แบบฝึกทกั ษะกำรอำ่ นและกำรเขียนคำพ้นื ฐำนในแบบฝึกทักษะกำรเรยี นรู้ภำษำไทย

3. แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษำปีท่ี 2 ทม่ี ตี อ่ วธิ กี ำรจดั กำรเรียนรู้
รำยบคุ คล โดยใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะ จำนวน 1 ฉบับ ดังน้ี

ตอนท่ี 1 แบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 2 ที่มีต่อวิธีกำร
จัดกำรเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกทักษะ เป็นแบบสอบถำมแบบมำตรำส่วนประมำณค่ำ (rating scale) มี
5 ระดับ คือ พึงพอใจมำกที่สุด พึงพอใจมำก พึงพอใจปำนกลำง พึงพอใจน้อย และ ไม่พึงพอใจ
จำนวน 10 ข้อ ซ่ึงถำมใน 3 ประเด็น คือ 1) บรรยำกำศในกำรเรียนรู้ 2) กิจกรรมกำรเรียนรู้ และ
3) ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จำกกิจกรรมกำรเรยี นรู้

4. แบบฝกึ ทกั ษะซ่ึงได้จำกกำรวิเครำะห์เนอ้ื หำกลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทยในกำรพัฒนำ
ทักษะกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย ช้ันประถมศึกษำปีที่ 2 โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์
อำเภออุบลรัตน์ จงั หวดั ขอนแก่น

3.5 กำรสรำ้ งและหำประสิทธภิ ำพของเครอ่ื งมอื
1. แบบฝกึ เพ่อื พฒั นำควำมเขำ้ ใจในกำรอ่ำนและเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย ของนักเรยี นช้นั

ประถมศึกษำปีท่ี 3 ผรู้ ำยงำนไดด้ ำเนินกำรตำมข้ันตอนดงั น้ี
1.1 กำหนดจุดมงุ่ หมำยในกำรสรำ้ งแบบฝกึ สำหรบั ฝกึ ควำมเข้ำใจในกำรอำ่ นเขียนคำ

พนื้ ฐำนในภำษำไทย
1.2 ศกึ ษำเอกสำรและงำนวิจัยท่เี ก่ยี วข้อง ดังน้ี ศกึ ษำหลกั สูตรกำรวิจยั ขน้ั พ้ืนฐำน

พทุ ธศกั รำช 2551 หลักสูตรสถำนศึกษำ กลุม่ สำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย คมู่ อื ครูกลมุ่ สำระกำร
เรยี นรู้ภำษำไทย ช้นั ประถมศกึ ษำปที ่ี 2 เก่ยี วกับผลกำรเรยี นรทู้ ่คี ำดหวงั เนื้อหำ กิจกรรมกำร
เรียนรู้ สือ่ กำรวดั และประเมนิ ผล ศกึ ษำหลกั กำร ทฤษฎี เอกสำรและงำนวจิ ัยที่เกี่ยวขอ้ งกบั กำร
จัดกำรเรยี นรู้กลุ่มสำระกำรเรียนรูภ้ ำษำไทย ศึกษำหลักกำร แนวคดิ และจิตวิทยำที่เก่ยี วกับกำร
สร้ำงแบบฝึก

1.3 กำหนดนิยำมเชิงปฏิบัติกำรของแบบฝึกควำมเข้ำใจในกำรอ่ำนเขียนคำพื้นฐำน
ภำษำไทย

41

1.4 สร้ำงแบบฝึกควำมเข้ำใจในกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษำปีที่ 2 โดยคำนึงถึงควำมสำมำรถ และเหมำะสมกับวัยของนักเรียน จำนวน
15 แบบฝึก

1.5 นำแบบฝึกทีส่ รำ้ งข้ึนไปใหผ้ ู้เชยี่ วชำญพิจำรณำควำมเทย่ี งตรงของเนื้อหำ โดยหำค่ำ
ดัชนีควำมสอดคล้อง IOC พิจำรณำค่ำดัชนีควำมสอดคล้องตั้งแต่ 0.50 ข้ึนไป นำมำปรับปรงุ และ
แกไ้ ขตำมคำแนะนำของ

1.6 นำแบบฝึกท่ีผ่ำนกำรพิจำรณำจำกผู้เชี่ยวชำญแล้ว ไปหำประสิทธิภำพโดย
ดำเนนิ กำรตำมลำดบั ข้นั ตอน ดงั นี้

ครงั้ ท่ี 1 ทดสอบแบบหนึ่งตอ่ หน่งึ (One To One Testing) โดยนำแบบฝกึ ควำม
เข้ำใจในกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย ไปทดลองใช้กับนักเรียนชันประถมศึกษำปีท่ี 3
โรงเรียนบ้ำนชำด ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่ำงจำนวน 3 คน โดยแบ่งออกเป็นนักเรียนเก่ง นักเรียนปำน
กลำง และนักเรียนอ่อน เพ่ือดูข้อบกพร่องของแบบฝึก ในด้ำนควำมยำกง่ำย ภำษำ รูปภำพ
ควำมหมำยและควำมเหมำะสมของกิจกรรม ในคร้ังที่ 1 นี้ผู้รำยงำนได้รวบรวมข้อมูลเพื่อแก้ไข
ปรับปรุง โดยกำรจดบันทกึ ปญั หำหรือข้อซกั ถำมทีน่ กั เรยี นถำมระหว่ำงกำรใชแ้ บบฝกึ

คร้ังที่ 2 ทดสอบกลุ่มเล็ก (Small Group Testing) โดยทดลองใช้แบบฝึกควำม
เข้ำใจในกำรอ่ำนและกำรเขยี นภำษำไทย กบั นักเรยี นช้ันประถมศึกษำปีที่ 3 โรงเรยี นบ้ำนห้วยทรำย
ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่ำงจำนวน 9 คน โดยแบ่งออกเป็นนกั เรียนเก่ง 3 คน นักเรียนปำนกลำง 3 คน
และนักเรียนอ่อน 3 คน ในกำรทดลองคร้ังที่ 2 นี้มีจุดประสงค์เพื่อต้องกำรปรับปรุงแก้ไข
ขอ้ บกพร่องของแบบฝกึ และเพอ่ื ดูควำมเหมำะสมของกำรใชเ้ วลำในแต่ละกจิ กรรมและดูพัฒนำกำร
จำกกำรใช้แบบฝกึ และนำปัญหำมำปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขนึ้

ครั้งที่ 3 ทดลองภำคสนำม (Field Testing) ทดลองกับนักเรียนชั้นประถมศึกษำปีท่ี
2 โรงเรียนบำ้ นหว้ ย จำนวน 6 คน เพอื่ หำประสทิ ธิภำพตำมเกณฑ์ 70/70

2. แบบทดสอบวัดควำมเข้ำใจในกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย ผู้รำยงำนได้
ดำเนนิ กำรตำมขน้ั ตอนดังนี้

2.1 กำหนดจุดมงุ่ หมำยในกำรสร้ำงแบบทดสอบ
2.2 ศึกษำหลักกำรวัดและประเมินผลอิงมำตรฐำนกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรกำรวิจัยขั้น
พน้ื ฐำน พทุ ธศักรำช 2551 กลุ่มสำระกำรเรียนรภู้ ำษำไทย ศึกษำหลักกำรและทฤษฎี วธิ กี ำรสรำ้ ง
เคร่อื งมอื วัดผลทำงกำรวจิ ัย
2.3 สร้ำงแบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ 3 ตัวเลือก ให้สอดคล้องกับเนื้อหำสำระ
และตวั ชวี้ ัด

42

2.4 นำแบบทดสอบท่ีสร้ำงข้ึนให้ผู้เช่ียวชำญจำนวน 3 ท่ำน ตรวจสอบควำมถูกต้อง
และควำมเหมำะสม

2.5 จดั พิมพ์แบบทดสอบฉบับจรงิ เพอ่ื นำไปทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรียนกับนักเรียนกลุ่ม
ตัวอยำ่ งตอ่ ไป

3. กำรสร้ำงและกำรหำคณุ ภำพของแบบสอบถำมควำมพงึ พอใจต่อกำรเรียนกำรสอนโดย
ใช้แบบฝกึ ทกั ษะดำ้ นกำรอำ่ นและกำรเขยี นคำพนื้ ฐำนภำษำไทย สำหรบั ช้ันประถมศึกษำปที ี่ 2
ดำเนนิ ตำมขั้นตอนดงั นี้

3.1 กำรสรำ้ งแบบสอบถำมควำมพึงพอใจตอ่ กำรเรยี นกำรสอน
3.1.1 ศกึ ษำวธิ ีกำรสรำ้ งแบบวดั หรือแบบสอบถำม เปน็ มำตรำสว่ นประมำณคำ่

(Rating Scale) 5 ระดับ คือ มำกท่ีสดุ มำก ปำนกลำง นอ้ ย และน้อยท่ีสดุ
3.1.2 กำหนดข้อคำถำมท่ีเกี่ยวข้องกับควำมพึงพอใจต่อกำรเรียนโดยใช้แบบฝึก

ทักษะด้ำนกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพื้นฐำนภำษำไทย จำนวน 10 ข้อ โดยสร้ำงเป็นแบบมำตรำส่วน
ประมำณค่ำ 5 ระดบั คือ 5, 4, 3, 2 และ 1 โดยมเี กณฑ์กำรใหค้ ะแนนดังนี้

5 หมำยถงึ พึงพอใจมำกที่สดุ
4 หมำยถึง พงึ พอใจมำก
3 หมำยถึง พงึ พอใจปำนกลำง
2 หมำยถงึ พึงพอใจนอ้ ย
1 หมำยถึง พึงพอใจนอ้ ยที่สุด
3.2 กำรหำคุณภำพของแบบสอบถำมควำมพึงพอใจต่อกำรเรยี นกำรสอน

3.2.1 นำแบบสอบถำมควำมพึงพอใจท่ีได้ให้ผู้เชี่ยวชำญพิจำรณำควำมเหมำะสม
ควำมตรงตำมเน้ือหำ พฤติกรรมท่ีต้องกำรวัด ตลอดจนควำมถูกต้องของกำรใช้ภำษำ จำนวน 3 คน
โดยกำหนดใหค้ ะแนนดงั น้ี

+1 หมำยถงึ ข้อคำถำมมสี อดคลอ้ งกับจุดมุง่ หมำยกำรเรียนรู้
0 หมำยถึง ไมแ่ น่ใจวำ่ คำถำมมีสอดคลอ้ งกบั จุดมุ่งหมำยกำรเรียนรู้
-1 หมำยถงึ ขอ้ คำถำมข้อไม่สอดคล้องกับจดุ ม่งุ หมำยกำรเรียนรู้

3.2.2 นำผลกำรประเมินมำทำกำรวเิ ครำะห์ คำ่ ดัชนีควำมสอดคล้องของ
แบบสอบถำมกบั จดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ โดยใชส้ ตู ร IOC (ล้วนและองั คณำ สำยยศ. 2543: 248 -
249) โดยเลอื กแบบสอบถำมขอ้ ท่ีมคี ่ำ IOC ตงั้ แต่ 0.50 ถงึ 1.00 ถือเปน็ ข้อคำถำมท่ีอยู่ในเกณฑท์ ี่มี
ควำมเที่ยงตรงเชงิ เนื้อหำที่ใช้ได้ ซ่ึงค่ำท่ีไดอ้ ย่รู ะหว่ำง 0.66-1.00

3.2.3 นำแบบสอบถำมควำมพึงพอใจต่อกำรเรียนกำรสอนโดยใชแ้ บบฝึกทกั ษะ

43

ด้ำนกำรอ่ำนและกำรเขียนคำพ้ืนฐำนภำษำไทย ไปทดลองใช้กับนักเรียนช้ันประถมศึกษำปีท่ี 2
โรงเรียนนำคำพิทยำสรรพ์

3.6 กำรเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
กำรเก็บรวบรวมข้อมูลผู้ศึกษำดำเนินกำรเก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยตนเอง โรงเรียนนำคำ

พิทยำสรรพ์ อำเภออบุ ลรัตน์ จังหวดั ขอนแกน่ กบั นกั เรยี นช้ันประถมศึกษำปีที่ 2 โดยดำเนนิ กำรตำม
ขั้นตอน ดงั นี้

1. ผู้ศึกษำปฐมนิเทศนักเรียนกลุ่มเป้ำหมำยเพอ่ื ทำควำมเข้ำใจถึงแบบฝึกทักษะ จุดประสงค์
ในกำรเรียนและวธิ กี ำร ประเมินผลกำรจัดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้

2. ทดสอบก่อนเรียน( Pre test) กลุ่มเป้ำหมำยทดสอบ ก่อนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
ตลอดจนวิเครำะหห์ ำประสทิ ธิภำพของเครือ่ งมอื และเกบ็ คะแนนทีไ่ ด้จำกกำร ทดสอบกอ่ นเรียน

3. ดำเนินกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ตำมแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ จำนวน 15 แผน แผนละ 1
ช่วั โมง ในภำคเรียนท่ี 2 ปี กำรศกึ ษำ 2563

4. ทดสอบหลังเรียน (Post test) ผู้ศึกษำนำแบบทดสอบ หลังเรียนไปทดสอบเพ่ือวัด
ควำมสำมำรถในกำรอำ่ นและกำรเขยี นคำพ้นื ฐำน โดยใช้แบบฝกึ ทกั ษะจำนวน 15 แบบฝกึ ทกั ษะ

5. ผู้ศึกษำนำแบบสอบถำมควำมพึงพอใจของนักเรียนท่ีต่อกำรเรียนรู้กำรกำรอ่ำนและกำร
เขียนคำพ้ืนฐำน โดยใชแ้ บบสอบถำมควำมพงึ พอใจ จำนวน 10 ขอ้

3.7 กำรวเิ ครำะหข์ ้อมลู
ในกำรวิเครำะหข์ ้อมลู ผศู้ กึ ษำไดด้ ำเนินกำรดังรำยละเอยี ดต่อไปน้ี
1. ลำดับขน้ั กำรวิเครำะห์ข้อมลู ศึกษำไดด้ ำเนนิ กำรดงั รำยละเอยี ดตอ่ ไปน้ี
1.1 กำรวิเครำะหข์ ้อมลู แบบฝกึ ทกั ษะ
1) กำรวิเครำะห์คุณภำพของแบบทดสอบ จำกค่ำควำมยำกงำ่ ย ค่ำอำนำจจำแนก

ค่ำควำมเช่ือมน่ั และค่ำดชั นคี วำมสอดคล้องระหวำ่ งแบบทดสอบกบั จดุ ประสงคก์ ำรเรยี นรู้
2) วิเครำะห์ประสิทธิภำพของแบบฝึกทักษะ ตำมเกณฑ์มำตรฐำน 70/70 โดยใช้

สตู ร E1 E2
1.2 วิเครำะห์เปรยี บเทยี บควำมแตกตำ่ งระหวำ่ งคะแนนทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรียน

เพือ่ ศึกษำผลสมั ฤทธิ์ทำงกำรเรยี นของนักเรยี นจำกแบบฝึกทกั ษะ โดยใช้สตู รกำรสดสอบคำ่ ที
(t – test Dependent)

1.3 วิเครำะห์หำค่ำเฉลี่ยควำมคิดเห็นของนกั เรียนที่มีต่อแบบฝึกทักษะ โดยใช้สูตร X
และ S.D


Click to View FlipBook Version