The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกี่ยวกับองค์ประกอบของจิตวิทยาและทฤษฎีจิตวิทยาทั้ง 15 บท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ariisara2545, 2022-04-15 04:39:22

จิตวิทยาสำหรับครู

เกี่ยวกับองค์ประกอบของจิตวิทยาและทฤษฎีจิตวิทยาทั้ง 15 บท

48

รูปแบบการจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กพิการ
มีหลักการที่สำคัญคือการเตรียมความพร้อม

การจัดการเรียนการสอน และจัดสภาพแวดล้อมให้
เหมาะสมกับเด็กพิการในแต่ละระดับและแต่ละ
เปดร็กะพเภิกทารแไลดะ้รบับำปบัรดะฟโื้ยนชฟนู์ใสหูง้คสุวดาจมากช่วกยาเรหศึลกือษเพาื่จอนให้
สามารถพัฒนาเต็มที่ตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
โดยจัดแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้

1. รูปแบบการเรียนในชั้นปกติตามเวลา เป็นรูป
แบบการจัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีความ
บกพร่อง หรือผิดปกติน้อยมากเด็กพิการสามารถเข้า
เรียนในชั้นเรียนปกติเช่นเดียวกับเด็กปกติได้ตลอด
เจวำลกาัดทีน่อ้อยูย่ใทนี่สโุรดงเรียน รูปแบบนี้เป็นรูปแบบที่มีข้อ
พิเ2ศ.ษรูปสแำหบรบับกเาด็รกเรทีี่ยมีนคร่ววามมเบป็กนพรูปร่อแงบหบรกือาผริดศึปกกษตาิ
แกไดตา้่รรอัจบยัูด่กใกนาารรรศะึศดกึักบษษทาี่าสใพานิมเสศาภษราใถวนเะรรทีูยีป่มนแีขรบ่้วอบมจนำกีั้กบมัดุ่เงดนใ้็กอหย้ปเทดกี็่กสตุิพดไิเดกท้่าารที่
แต่ละคนจะรับได้

3. รูปแบบเฉพาะความพิการ เป็นรูปแบบการ
จัดการศึกษาพิเศษสำหรับเด็กที่มีความพิการค่อน
ข้างมาก หรือพิการซ้ำซ้อนเป็นรูปแบบที่มีสภาพ
แวดล้อมจำกัดมากที่สุด แบ่งเป็น 4 ระดับได้แก่

3.1 รูปแบบการเรียนการสอนในห้องเรียนพิเศษ
ในโรงเรียนปกติ

3.2 รูปแบบการเรียนในโรงเรียนพิเศษเฉพาะ
ทาง

3.3 รูปแบบการฟื้ นฟูในสมรรถภาพในสถาบัน
เฉพาะทาง

3.4 การบำบัดในโรงพยาบาลหรือบ้าน

49

1. เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น เด็กที่มี
ความบกพร่องทางการเห็น หมายถึงเด็กที่มองไม่
เห็น (ตาบอดสนิท) หรือพอเห็นแสงเลือนรางและมี
ความบกพร่องทางสายตาทั้งสองข้าง โดยมีความ
สามารถในการเห็นได้ไม่ถึงหนึ่งส่วนสองของคน
สายตาปกติ
เด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็น จำแนกได้ 2
ประเภท คือ

1. เด็กตาบอด หมายถึง เด็กที่มองไม่เห็น หรืออาจ
จะมองเห็นบ้างไม่มากนัก แต่ไม่ สามารถใช้สายตา
ให้เป็ นประโยชน์ในการเรียนได้

2. เด็กสายตาเลือนลาง หมายถึง เด็กที่มีความ
บกพร่องทางสายตา สามารถมองเห็นแต่ไม่เท่ากับ
เด็กปกติ

การให้ความช่วยเหลือ
1. หากต้องการจะพูดเรื่องที่เกี่ยวกับเด็กและเด็กที่
อคยนู่2ทอีื.่่ไนนัม่เน่พคด้รววารยะพคูติด้ดอแวง่สาพเดูดดง็กกคัจบวะาเไมขมาส่เงโข้สดาายใรจตใหรหรง้เือดไ็รูกม้ไ่ไคด้ดวไ้ยรมิ่พนหูหดมรผดื่อาน
รทู้สำึก34ใ..หหก้ราาู้วรก่าชค่ควรรูยูเเขใข้้าหา้ไเมดป็ากใแนนลั่้หงว้เอกง้าทีอ่ีม้ ีใเหด้็จกับอมยูื่คอววารงพูทีด่พหนรัืกอหรือ
ที่เท้าแขนเด็กจะนั่งเองได้

50

การเรียนร่วมระหว่างเด็กที่มีความบกพร่อง
ทางการเห็นกับเด็กปกติ

ในการสอนวิชาสามัญทั่วไปเด็กปกติเรียนตาม
หลักสูตรในโรงเรียนนั้น ส่วนใหญ่แล้วเด็กมีความ
บเกืกอพบรเ่ทอ่งาทเดา็กงปกการติเหถ็้นาคสราูใมช้าสืร่อถแเรลียะวนิธรีูก้ไาด้รเเทห่ามหาระือสม
คจบาณกกิพตกศรา่อรางสเรทตียาร์นงวรกูิ้ทจาายรกเาหปศ็นรามะสีสตอายรู์ท่ไศสิมัล่มวป่ผาัศจสึะกทีเ่ษปเ็ดาน็กเกมกาีษครตวสาอรมนและ
ดนตรีเด็กที่มีความบกพร่องทางการเห็นก็สามารถ
เนเีรร้ืที่อยำงนไทรุูม้กไ่ไดเ้นดื้้แอหตหร่ืกาอ็มทใิำไนไดบ้ดหา้นมง้อเารยืย่อคงเชอว่นาามจวมิวชี่าขา้จอพะจคลำระกศอัดึบกทีคษ่เลดาุ็มกวิกทชุลากุ่คมัด
ลายมือ และนาฏศิลป์ เป็นต้น

51

อักษรเบลส์
อักษรเบลล์ คือระบบการเขียนหนังสือสำหรับคน
ตช่าอบงอปดระซึก่งอเบป็นด้วกยาจรุรด่ว6มกตลุำ่มแขหอน่งงจุซึด่งนนูนำเมล็ากจๆัดใสนลับ1 ไป
มาเป็นรหัสแทนอักษรตาดีหรือสัญลักษณ์ ทาง
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ โน๊ตดนตรีฯลฯ ลงบน
กระดาษ โดยการอ่านด้วยปลายนิ้วมือ วิธีการเขียนใช้
เครื่องมือเฉพาะเรียก สเลท (Slate) และดินสอ
เ(บStรyลlเuลs่อ)ร์ใ(นBส่rวaนilขleอrง)กราะรบพิบมกพา์รใอช่้าเคนรกื่อางรพเิขมียพน์ เอรักียษกร
เบลล์สำหรับคนตาบอดนี้ได้คิดค้นและประดิษฐ์โดย
หลุยส์ เบลล์ (Louis Braille)

52

2. เด็กที่มีความบกพ
ร่องทางการได้ยิน
กสร็ะาตหม1า.วเาม่ดาร็เงกถด็หไ2กู6ดตห้ึู-ยงต8ิึนห9งไจเมดดะ้ามซไยีิมเรถบ่ะึวง่ดลาับเจซดึะก่็งกใาคสท่รีนเ่ไมคปีดรก้ืก่ยอาิตงนริชจไใ่ะวดน้มยยหีิูรฟนทัีะ่เงดดหีับกหลืวรกอ่ืาอาออไรยูยมู่บ่่้าง
ไ2ด.้ยเิดน็กอหยูู่หระนหววก่าหง0ม-า2ย5ถึเงดเซดิ็เกบทีล่สูญเสียการได้ยินในหู
ข้างที่ดีตั้งแต่ 90 เดซิเบลขึ้นไปไม่สามารถได้ยิน
เสียงพูดดัง อาจรับรู้เสียงบางเสียงได้จากการสั่น
สะเทือน

การให้ความช่วยเหลือ



เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน มีปัญหา
ทางการได้ยิน จึงไม่สามารถได้รับประโยชน์จากการ
ฟัง-การพูดได้อย่างเต็มที่ ต้องใช้การสื่อสารวิธีอื่น
แทนการใช้ภาษาพูด วิธีการสื่อความหมายของเด็กที่
มีความบกพร่องทางการได้ยินอาจแบ่งเป็น 6 วิธี คือ
ทา1ง.กกาารรไพดู้ดยินเหไมม่ามะาสกำนหักรับเด็กที่มีความบกพร่อง

2. ภาษา เหมาะสำหรับเด็กที่สูญเสียการได้ยินมาก
หพูรดือจหึงูหใชน้ภวกาษซึ่างมไืมอ่แสาทมนารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ด้วยการ

3. การใช้ท่าทาง หมายถึง การใช้ท่าทางที่คิดขึ้น
เองมักเป็ นไปตามธรรมชาติโดยไม่ใช้ภาษามือและ
ไม่ใช้น้ำเสียงแต่ใช้สายตาในการรับภาษา

4. การสะกดนิ้วมือ คือการที่บุคคลใช้นิ้วมือเป็นรูป
ต่างๆแทนตัวพยัญชนะ สระ วรรณยุต์ ตลอดจน
สัญลักษณ์ อื่นของภาษาประจำชาติเพื่อสื่อภาษา

53

5. การอ่านริมฝีปาก เป็นวิธีการที่เด็กที่มีความ
บกากรพอ่รา่อนงริทมาฝีงปกาากรจไึงด้เยปิ็นนรสิั่บงแภรากษทาี่พเดู็ดกจทีา่มกีคผู้วอื่านมดังนั้น
ตบั้งกแพต่รค่อำงแทรากงทกี่เารรียไนด้ภยิานษจาะแต้ลอะงเปเ็รนียสนิ่งรูแ้วิรธีกกทาี่รเดอ็่กานต้อง
ใช้ตลอดชีวิต

6. การสื่อสารรวม คือการสื่อสารตั้งแต่สองวิธีขึ้นไป
เพพูืด่อไใดห้้ดผีูย้ิฟ่งังขึเ้นดนาอคกวาจมากหกมาารยพใูดนกกาารรแใสช้ดภงาอษอากมขือองกผาู้ร
แสดงท่าทางประกอบแล้วก็อาจใช้วิธีอ่านริมฝีปาก
การอ่าน การเขียนหรือวิธีอื่นก็ได้
กไดา้รยิเนรีกยับนรเ่ดว็มกประกหติว่างเด็กที่มีความบกพร่องทางการ

3. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา
เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา หมายถึง
เด็กที่มีพัฒนาการด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ ภาษา
และสติปัญญาล่าช้ากว่าเด็กปกติ เมื่อวัดสติปัญญา
โดยใช้แบบทดสอบมาตรฐานแล้วปรากฎว่ามีสติ
ปัญญาต่ำกว่าเด็กปกติโดยทั่วไป
คเดว็กาทมี่มรุีนคแวรางมอบอกกพเป็ร่นอง4ทราะงดสับติคปืัอญญาแบ่งตามระดับ
1. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับน้อย
(สเตชิปาัวญ์ปัญญาญที่าเร5ีย0น-ห7น0ัง)สืเอป็ไนด้เด็กที่มีความบกพร่องทาง
2. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับปาน
กลาง (เชาว์ปัญญา 35-49) เป็นเด็กที่พอฝึกอบรม
ได้
3. เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับ
รุนแรง (เชาว์ปัญญา20-34) เป็นเด็กที่ต้องได้รับการ
ฟื้ นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์และได้รับการดูแล
ที่เหมาะสม

54

4.เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาระดับ
รุนแรงมาก(เชาว์ปัญญาต่ำกว่า 20) เป็นเด็กที่มี
ดค้าวนามต้บองกไพด้รร่อับงกทาารงฟืส้ ตนิฟปัูญสมญรารทีถ่มภีคาวพาทมาจงำกกัาดรเแฉพพทาะย์
และได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด



การให้ความช่วยเหลือ
แต1ก. ตก่าางรกเตันรเียริ่มมจคาวกางม่าพยรๆ้อไมปใหหา้กยิจากกรรมหลากหลาย
2. การจัดนันทนาการเป็นการทำให้เด็กเกิดความ
สนุกสนานผ่อนคลายทำให้เกิดประโยชน์ต่อการ
ไพัปฒในช้าใกนาชีรวใิตหป้เดร็ะกจสำาวมันาไรด้ถรู้กฎกติกาและสามารถนำ
3. การปรับพฤติกรรม เช่น การให้แรงเสริม การ
เป็นแบบอย่างที่ดีการให้รางวัลเป็นต้น เป็นการปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมเด็กที่ไม่พึงประสงค์เป็ น
พฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้
4. การจักศิลปะบำบัด เป็นวิธีการบำบัดสิ่งที่เป็น
จริงที่เกี่ยวกับความคิด เด็กได้มีโอกาสสร้างสรรค์
เนหห้อร็นือยแกด้ลรวะะยสทัมำใผันสสไิ่งด้ทีซ่ึเ่ขงเาปค็ินดกใาห้รเพป็ันฒจนริางกหลร้ืาอมเปเ็นนื้อสิ่เงลท็ีก่มอง

55

4. เด็กที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายหรือ
การเคลื่อนไหว

เด็กที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายหรือการ
เคลื่อนไหว หมายถึง เด็กที่มีความผิดปกติของแขน
ขา หรือลำตัวรวมถึงศรีษะเป็นเด็กที่มีความผิดปกติ
บกพร่องหรือสูญเสียอวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของ
ร่างกายทำให้ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ดีเท่าคนปกติ
แต่ไม่ได้หมายถึงเด็กที่มีความบกพร่องทางการมอง
ดเหว็นงตแลาแะเลดะ็กรทะี่บมีบคกวาารมไบด้กยิพนรเ่ปอ็งนทส่าวงนกหานึร่งไขด้อยิงนร่แางม้กว่าาย
ก็ตาม เด็กที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายหรือ
เคลื่อนไหวสามารถสังเกตได้ดังนี้
1. ร่างกายเติบโตไม่ปกติ เช่น แขนหรือขาไม่เท่า
กันทั้งสองข้าง ลำตัวเล็กผิดปกติอวัยวะ
ผิดรูป เช่น เท้าติด เอวคด หลัง-ลำตัวโค้งงอผิดปกติ
แขนขาด้วน
2. กล้ามเนื้อผิดปกติ เช่น แขน-ขา ลำตัวลีบ ไม่มี
แรงอย่างคนปกติ
3. ไม่สามารถเคลื่อนไหวอวัยวะต่างๆ เช่น ไม่
สามารถเคลื่อนลำตัว แขน-ขา มือหรือเท้า
ได้อย่างคนทั่วไป
4. ไม่สามารถนั่ง ยืนได้ด้วยตนเอง
5. ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ เช่น ไม่
สามารถรับประทานอาหาร อาบน้ำ ถอด-ใส่
เสื้อผ้ได้ด้วยตนเอง

การให้ความช่วยเหลือ
เด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการ
เคลื่อนไหวอาจมีความบกพร่องหลายอย่างในบุคคล
เดียว การฟื้ นฟูสมรรถภาพความพิการจึงจำเป็นต้อง
มีหลายด้านตามสภาพความบกพร่องของเด็กแต่ละ
บุคคลซึ่งการบำบัดฟื้ นฟูต่างๆได้แก่

56

กายภาพบำบัด
เริ่มเปใ็นนดก้าานรฟตื่้านงฟๆูสเมช่นรรกถาภราทพรทงตาังวร่กาางรกนาั่งยตั้งแต่แรก
เอหควรัลืยือ่อวกนะาตไร่าหยืงวนๆททีใ่ถรนูกงลตตัก้ัวอษเงพณืต่่อะอกทไี่รปถูะกตุต้น้อใงห้เเปด็็นกพไื้ดน้เฐคาลืน่อในนไกหาวร

กิจกรรมบำบัด
เป็นการฟื้ นฟูสมรรถภาพทางร่างกายเพื่อเน้นให้
เด็กช่วยเหลือตนเองได้มากที่สุด สามารถ ปรับตัวให้
อเขย้่าากงับปสกภติาสุพขเแชว่นดคล้นอทมั่วไได้ปดีโแดลยะเเนร้็วนทที่ัสกุดษสะกามล้าามรถเนอื้อยู่
ย่อย เช่น การรับประทานหาร การทำความสะอาด
ร่างกาย การแต่งตัวเป็นต้น

อรรถบำบัดหรือการแก้ไขคำพูด
ในส่วนที่เด็กมีความบกพร่องทางการพูดจะต้อง
ฝึกการควบคุมน้ำลาย การกลืน การเคี้ยว
อาหาร ฝึกโดยใช้อุปกรณ์ ประเภทเครื่องเล่นที่เกี่ยว
ดกเวัาบลษกาหหารราืออยออใุปกจอเกสอรียกณ์งเชทเ่นคาิดนรืั่้ออนื่งนดๆนใตห้รเีดช็กนิไดดเ้ปรู่้าว่ากคานรเเรป่าาพกูดรเะมื่อ

ศิลปะบำบัดและดนตรีบำบัด
เป็ นกิจกรรมเสริมเพื่อพัฒนาเด็กที่มีความแตก
ต่างกันในด้านต่างๆให้มีการพัฒนาอย่างเหมาะสม
ตามศักยภาพโดยคำนึงถึงความสนุกสนาน ความ
ต้องการธรรมชาติรวมถึงความจำเป็ นของเด็กเป็ น
รายบุคคล

57

6.เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม
เด็กที่มีปัญหาทางพฤติกรรม หมายถึงเด็กที่แสดง
พฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากทั่วไป และพฤติกรรมที่
แเจบาีล่กยะขคงเอวบางนมผู้นอขีื่้ันสด่งดแ้ผวย้ลยงกขพรอะฤงทตเิดบก็กตร่กรอับมกสทาี่ภรเบเาีร่ีพยยงนแเวรบู้ดขนอลเ้งอป็เมนด็ผกหลเรอืมองา
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในตัวเด็กเอง ซึ่งไม่สามารถ
เพรีฤยตนิกรู้รขรามดไสมัม่เพหัมนธาะภสามพเกมืั่บอเเปพื่รอียนบหเรทืีอยผูบ้ที่กเักบี่ยเดว็กข้อในง มี
วัยเดียวกัน

การให้ความช่วยเหลือ



1. รูปแบบทางจิตวิทยาการศึกษา นักจิตวิทยาเชื่อ
ว่าองค์ประกอบทางชีววิทยา และการอบรมเลี้ยงดู
บขุอคงลผิูก้ปภกาคพรขอองงมีเอดิ็ทกธติพลอลดต่จอนกปาัรญพหัฒาทนาางกอาารรทมาณง์ ล้วนมี
มูลเหตุมาจากพัฒนาการทางบุคลิกภาพที่ดำเนินไป
อย่างไม่ถูกต้องทั้งสิ้น

2. รูปแบบทางจิตวิทยา นักจิตวิทยาได้ค้นพบพบ
กหาลัรกปกราับรเพรีฤยตนิกรู้แรลรมะกนีา้สราปมราับรพถนฤำติมการใรชม้ใขนอกงาเรด็ปกรหับลัก
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้ ตัวอย่างเช่น เด็กอาจ
จะเ3รี.ยรูปนแรู้โบดบยทกาางรนสิัเงวเศกวติทพยฤาตินกักรนริมเวขศอวงิทเดย็กาเปชื่กอตวิ่าเด็ก
เป็นส่วนหนึ่งของสังคม เด็กเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน
และโรงเรียนเป็นส่วนหนึ่งของสังคม พฤติกรรมของ
เด็กควรได้รับการยอมรับจากสังคม ในการช่วยเหลือ
เด็ก ครูควรทำความเข้าใจกับทุกอย่างที่ประกอบขึ้น
เป็นระบบในสังคม ทั้งนี้เพื่อหาทางขจัดสิ่งที่เป็น
สาเหตุให้เด็กมีปัญหาทางพฤติกรรม

บทที่ 11
จิตวิทยา
แรงจูงใจ

59

คำว่า “แรงจูงใจ” (Motivation) มาจากคำกริยา
ในภาษาละตินว่า “Mover”(Kidd, 1973:101) ซึ่งมี
ความหมายตรงกับคำในภาษาอังกฤษว่า “to move”
อันมีความหมายว่า “เป็นสิ่งที่โน้มน้าวหรือมักชักนำ
บุคคลเกิดการกระทำหรือปฏิบัติการ” (To move a
person to a course of action) ดังนั้นแรงจูงใจจึง
ได้รับความสนใจมากในทุกๆวงการ
สำหรับโลเวลล์(Lovell, 1980:109) ให้ความหมาย
ของแรงจูงใจว่า “เป็นกระบวนการที่ชักนำโน้มน้าวให้
บุคคลเกิดความมานะพยายามเพื่อที่จะสนองตอบ
ความต้องการบางประการให้บรรลุผลสำเร็จ”
ไมเคิล คอมแจน (Domjan 1996:199) อธิบายว่า
“การจูงใจเป็ นภาวะในการเพิ่มพฤติกรรมการกระทำ
กิจกรรมของบุคคลโดยบุคคลจงใจกระทำพฤติกรรม
นั้นเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายที่ต้องการ”
แฮนสัน (Hanson, Mark E., 1996: 195) ให้ความ
หกามรากยรขะอทงำแหรงรืจอูงกใาจรวเ่าคล“ื่สอภนาทีพ่ โภดายยมีใชน่อทีง่กทราะงตแุ้นลใะห้มี
พฤติกรรมที่นำไปสู่เป้ าหมาย”

60

ลักษณะของแรงจูงใจ
แรงจูงใจภายใน (Intrinsic motives) แรงจูงใจ
ภายในเป็ นสิ่งผลักดันจากภายในตัวบุคคลซึ่งอาจจะ
เป็นเจตคติ ความคิด ความสนใจ ความตั้งใจ การ
มองเห็นคุณค่า ความพอใจ ความต้องการฯลฯสิ่ง
ต่างๆดังกล่าวนี้มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมค่อนข้างถาวร
เช่น
คครนองบานคทรี่ัวเหเ็ขนาอกง็จค์ะกจางรรัคกือภัสกถดาีตน่อทีอ่ใงหค้์ชกีวาิตรแก่เขาและ
แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic motives) แรงจูงใจ
ภายนอกเป็ นสิ่งผลักดันภายนอกตัวบุคคลที่มา
เกกรียะตรุ้ตนิยใหศ้เชกื่ิอดเพสียฤงติกคำรรชมมอหาจรืจอะยเกป็ยน่อกงารแไรดง้จรูังบใรจานงี้ไวัลม่
คงทนถาวร บุคคลแสดงพฤติกรรมเพื่อตอบสนองสิ่ง
จูงใจดังกล่าวเฉพาะกรณีที่ต้องการสิ่งตอบแทน
เท่านั้น
ทฤษฎีแรงจูงใจ (Theories of Motivation)
1. ทฤษฎีเนื้อหาของการจูงใจ (Content theories
of Motivation)
2. ทฤษฎีกระบวนการ (Process Theories)
3. ทฤษฎีการเสริมแรง (Reinforcement
Theory)

61

ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
(Maslow’s hierarchy of needs theory)



ทฤษฎีมนุษยวิทยา(ทรัพยากรมนุษย์)จะมองว่า
เป็น “มนุษย์ที่ประสงค์จะทำงานให้สำเร็จด้วยตนเอง”
เป็ นทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความต้องการขั้นพื้นฐาน
ของมนุษย์ ซึ่งกำหนดโดยนักจิตวิทยา ชื่อ มาสโลว์
(Abraham Maslow) เป็นทฤษฎีการจูงใจที่มีการ
กล่าวขวัญอย่างแพร่หลาย มาสโลว์มองว่าความ
ต้องการของมนุษย์มีลักษณะเป็นลำดับขั้น จากระดับ
ต่ำสุดไปยังระดับสูงสุด เมื่อความต้องการในระดับ
หนึ่งได้รับการตอบสนองแล้ว มนุษย์ก็จะมีความ
ต้องการอื่นในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
1. ความต้องการทางร่างกาย (Physiological
needs) เป็นความต้องการขั้นพื้นฐานของ
เมอปย็นูนุ่อษตา้ยศน์ัเยพื่อยคารวักามษอาโยูร่รคอดอาเกช่านศอนา้หำดาื่รมเกคารืร่อพงันกุ่งผห่อ่มน ที่

62

2. ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง
(Security or safety needs) เมื่อมนุษย์สามารถ
ตจะอเบพิ่สมนคอวงาคมวตา้อมงตก้อางรกใานรรทะาดังบร่ทาี่งสูกงาขึย้นไต่ดอ้แไลป้วเมช่นนุษย์ก็
ความต้องการความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ความต้องการความมั่นคงในชีวิตและหน้าที่การงาน

3. ความต้องการความผูกพันหรือการยอมรับ
(ความต้องการทางสังคม) (Affiliation or
Acceptance needs) เป็นความต้องการเป็นส่วน
หนึ่งของสังคม ซึ่งเป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์
เช่น ความต้องการให้และได้รับซึ่งความรัก ความ
ตรอื้ั่บนองกเกปา็ารนรยตเ้อปน็มนรสับ่วนกหานรึ่ตง้ของอกงหารมูไ่คด้ณรับะ คคววาามมชตื่้นอชงกมาจราไกดผู้้

4. ความต้องการการยกย่อง (Esteem needs)
หรือ ความภาคภูมิใจในตนเอง เป็นความ
ต้องการการได้รับการยกย่อง นับถือ และสถานะจาก
สังคม เช่น ความต้องการได้รับความเคารพนับถือ
ความต้องการมีความรู้ความสามารถ เป็นต้น
5. ความต้องการความสำเร็จในชีวิต (Self-
actualization) เป็นความต้องการสูงสุดของแต่
ละบุคคล เช่น ความต้องการที่จะทำทุกสิ่งทุกอย่างได้
สำเร็จ ความต้องการทำทุกอย่างเพื่อตอบสนองความ
ต้องการของตนเอง เป็นต้น

63

จากทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
สามารถแบ่งความต้องการออกได้เป็น 2 ระดับ
1. ความต้องการในระดับต่ำ (Lower order
needs) ประกอบด้วยความต้องการทางร่างกาย
ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง และความ
ต้องการความผูกพันหรือการยอมรับ
2. ความต้องการในระดับสูง (Higher order
needs) ประกอบด้วย ความต้องการการ
ยกย่องและความต้องการความสำเร็จในชีวิต

บทที่ 12
จิตวิทยา
การเเนะเเนว

65

พฤจิตติกวิรทรยมาเทปั้็งนนีว้ิเชพืา่อทีพ่มุ่ยงาศึกกรษณ์าแถึลงสะคาเวหบตคุุขมอพงกฤาติรกเกริรดม
ของมนุษย์ให้ เกิดขึ้นตามแนวทางที่ต้องการโดยการ
จเอปึงา็นยศ่ัอตยัมวคพสวาายมมารากู้รแรถลณ์เะขก้บาุฏคใเจคกตลณนทีฑ่เ์มอีงคต่แวาลางมะๆบรุู้คทที่คไางลด้ดอรื้่านวนบทัร้จงิวตมวิไทวย้ า
สามารถ ปรับปรุงตัวเองให้เหมาะสมกับสภาพการณ์
ทวตจีิ่ชนาเปามส็จนาจิตุมอดวยามิูุทร่่เงมถยืห่คอามแตว้าบลอยะงคุทนตีม่ิำตดพ้ไอตป่ฤงอใกติชสาก้ัมใรรนพรดงัมังนานขนธั์้อนกกงับบาุตรคบนแุคคเพลอคทงทีล่หมยอื์ีร่นคืธอุวรผตูา้กอลมืิ่จนอรูได้ใดน้
และ อุตสาหกรรมย่อมจะทำให้การดำเนินงานบรรลุ
เป้ าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การแนะแนว คือ จิตวิทยาประยุกต์แขนงหนึ่งที่ว่า
ดไ้ดว้ยโกดายรกพรัะฒบนวานคกนาใรหที้่รูส้จ่ังกเชสื่อริมตนใหเ้อบงุคหครลือไพึด่้งมีตบนทเอบงาท
เสตา็มมทาี่รใถนจกัดากราเรรียกันบรูช้ีเวิพตื่อขทอี่งจตะพนัอฒยน่าางศฉักลยาดภาพ และ

66

ข้อแตกต่างของ “การแนะแนว” กับ “การแนะนำ ”

การแนะแนว คือ การช่วยให้เขาสามารถช่วยเหลือ
ปเแตทัันวญ่าเะหอนแั้งานนดเ้วอผวูเง้ยรพตัีบตยาับวมงขรแิอคกตง่วาแเารขนมแาะนสเแอมะนงัแควนอรทวยใ่าจาจงะงเหเตปร็็มืนอศชผีูั้้ชกต่ัอยดงภสิทนาาพใงจใผูแห้้ก้
โดยกราับรแคนำะปนรำึกคษือาแกลา้วรทใำห้ตเขาามทเปำ็ตนาแมนใวนทสาิ่งงทอี่าเชจื่ไอมว่่าไดดี้
คิดเอง โดยการชี้แจงให้ทำหรือปฏิบัติ เช่น แนะนําให้
ทำ ความดีแนะนําในการใช้ยา เป็นต้น

จุดมุ่งหมาย

ชสีาวิมเตพืกา่อราถใรหตเ้บรัดุียคสนิคนอลใารจูช้จีัพแกกต้สปนัาญเมอหางรารถู้รจูป้ัจกัรกโับลเลตกือแนกวไดแด้ลลอ้อะย่วมาางงเแหผมนาะ
ชสีมวิตสทีา่มมีคารวถามพัสฒุขนคาวตานมเสต็ำมเศร็ัจกแยลภะเาปพ็ นอปันรนะโำยไชปนส์ู่การมี

หน้าที่

การจัดกิจกรรมและการประสานงานกับครูที่
ปดูแรึกลสษ่งาเปสรริะมจแำลชัะ้นพัผฒู้ปนกาคบุรคอลิงกแภลาะพนัแกลจิะตสุวขิทภยาาพเจพืิต่อ
ของนักเรียน รวมทั้งการแนะแนวและให้บริการ
ข้อมูลเกี่ยวกับสาขาวิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะทางด้าน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำ หรับนักเรียนและ ผู้
ปกครองจะใช้ในการตัดสินใจเลือกสาขาวิชาที่จะ
ศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ และการประสาน

67

เป้ าหมาย
เพื่อดำเนินการสนับสนุนและประสานงานกับครูที่
จปิตรึวกิทษยาปา รใะนจกำาชั้รนดูคแรลูปส่งรเะสจรำิมวิชแาละผูพ้ปัฒกคนราอบุงคแลิลกะภนาักพ
และสุขภาพจิตของ นักเรียน รวมถึงการแนะแนวและ
ใปหก้ขค้อรมอูงลจเกะี่ใยชว้ใกนับกสาารขตาัดวิสชินาตใ่จาเงลืๆอกเพสื่าอขนาักวิเชราียทีน่จแะละผู้
ศึกษาต่อได้อย่างมีประสิทธิภาพ

หลักการของการแนะแนว
โอก12.า. มยสุึ่งทดี่พบจัุะฒคบคนรลารเบลปุุ็คจนุดคศสูลูนงใยสหุ์้ดกเจลราิญง งยออกมงราับมใทุนกศดั้กาดนิ์ศแรลี ะให้
ยอมรับในความต้องการ และความแตกต่างระหว่าง
บุคคลเปิ ดโอกาสให้ทุกคนได้เลือกตามความถนัด
และความสนใจ
ตน3เอ. มงุ่งนใำหต้บนุคเอคงลแรู้จลักะมตีคนวเอางมชมั่่วนยคตงนไเมอ่ยงอปมกใคห้รสิอ่งงใด
ชักจูงไปในทางเสียหาย
เลือ4ก. ตมุั่ดงใสิหน้บใุจคแคกล้ปฉัญลาหดาอรู้ยจ่ัากงใรชอ้ปบัญคญอบาแสวงหาความรู้
ไป5ใน. มขุ่งณแะกเ้ดปัียญวหกัานระยะยาวใช้วิธีป้ องกันพัฒนาบุคคล

6. การพัฒนาบุคคลต้องคำนึงถึงอิทธิพลของ
ครอบครัว สังคม และสิ่งแวดล้อมต่างๆ ทางด้านวัตถุ
และจิตใจ

68

การคัดกรองนักเรียน

ต่ากงๆลุ่มโดปยกทติาคืงอโรนงักเรเรียียนนต้ทีอ่ไงด้กราับรกป้าอรงกวิัเนคแรลาะะแห์กข้้ไอขมูล
ผลกใลุห่ม้กเาสี่รยเงกิดคืปอัญนัหกาเรตี่ยานงๆที่เป็นกลุ่ม ล่อแหลมอาจส่ง

69

การคัดกรองนักเรียน

ตากมลสุ่มภมาีพปัญกาหราณ์คตื่อางนักเชเ่รนียปนัญที่หมีาปัดญ้าหยาคดร้าอนบตค่ารงัวๆ
แตกแยก ปัญหาด้านยาเสพติด

ควกามลุ่มอัจพฉิเรศิยษะ คือ นักเรียนที่มีความสามารถ พิเศษ มี
ต้องส่งเสริมให้ความสามารถ พิเศษ
เหล่านั้นเป็นที่ประจักษ์ อย่างเต็มศักยภาพ

บทที่ 13



จิตวิทยา
การให้คำ
ปรึกษา

71

การให้คำปรึกษาเป็ นกระบวนการใหความช่วย
เหลือติดต่อส่ื

72

ทักษะการให้คำปรึกษา
1. ทักษะการใส่ใจ

2. ทักษะการนำ

3. ทักษะการถาม
4. ทักษะการเงียบ

73

ทักษะการให้คำปรึกษา
5. ทักษะการซ้ำความ

6. ทักษะการให้กำลังใจ

7. ทักษะการสรุปความ
8. ทักษะการให้คำแนะนำ

9. ทักษะการชี้ผลตามมา

74

วัตถุประสงค์ของการให้คำปรึกษา
1. สังเกตตนเองและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดการ
เรีย2น. ปรู้รแับลเะปเขลี้่ายในจพในฤตตินกเรอรงมแใลนสิ่ทงแางวทดี่ลเ้หอมมาะสมโดย
ใช้ศักยภาพของตนในการเลือกและค้นหาวิธีที่เหมาะ
สม
3. ลดระดับความเครียด และความไม่สบายใจที่
เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
4. พัฒนาทักษะทางสังคม ทักษะการตัดสินใจและ
ทักษะการจัดการกับปัญหาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่ง
ขึ้น

บทที่ 14



จิตวิทยา
การศึกษาเป็น

รายกรณี

76

การศึกษารายกรณี หมายถึง กระบวนการศึกษา
รายละเอียดเกี่ยวกับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือหลาย
คนเป็ นระยะเวลาต่อเนื่องกันไปในระยะเวลาหนึ่งโดย
ใช้เครื่องมือ เทคนิค หรือวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้มา
ซึ่งรายละเอียดของข้อมูลแล้วนำข้อมูลเหล่านั้นมา
ขวิเอคงรพาะฤหต์ิเกพืร่อรทมำตคลวอาดมจเนข้ขา้ใอจเสสนภอาแพนผูะ้ถทูีก่เปศ็ึนกแษนา วสทาาเหง ตุ
กปัาญรหใาห้ความช่วยเหลือกรณีที่ผู้ศึกษากำลังประสบ

วัตถุประสงค์ของการศึกษารายกรณี
1. เพื่อทำความเข้าใจนักเรียนอย่างละเอียดลึกซึ้ง
เกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกมา
ช่ว2ย.เเหพืล่ืออกนัากรเวริีนยิจนฉทััย้งใทนาองันด้จาะนเกป็านรปป้รอะงโกยันชปน์ัตญ่อหกาาทีร่อาจ
จะเกิดขึ้น
3. เพื่อสืบค้นหานักเรียนที่มีลักษณะพิเศษบาง
ประการ เพื่อที่ทางโรงเรียนจะได้ให้การส่งเสริม
พัฒนาได้อย่างเหมาะสม
4. เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดความเข้าใจตนเองใน
ทุก ๆ ด้าน ได้อย่างชัดแจ้ง
5. เพื่อการติดตามผลของการใช้เครื่องมือ เทคนิค
หรือวิธีการต่าง ๆ อันจะเป็นแนวทางในการปรับปรุง
แก้ไขได้ในโอกาสต่อไป

77

ความมุ่งหมายของการศึกษารายกรณี
ที่ผิ1ด. เปพืร่อกสตืิบซคึ่้งนทหาางสโารเงหเรตีุยทีน่ทจำะใไหด้้ผใู้หเร้คียวนามมีพช่วฤยติเกหรลืรอม
และแก้ไขได้อย่างถูกต้อง

2. เพื่อสืบค้นรูปแบบของพัฒนาการของนักเรียน
ทั้งในด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ สังคม และ
จิตใจ
ได้3ดี.ขึ้เนพื่อช่วยให้ผู้ปกครองเข้าใจในตัวเด็กของตน

4. เพื่อช่วยให้ครูเข้าใจนักเรียนได้อย่างละเอียด
ลึกซึ้ง และถูกต้อง



การเลือกนักเรียนเพื่อทำรายกรณี ครูควรเลือก

นักเรียนเพื่อทำการศึกษารายกรณี สามารถ
จำแนกได้ดังนี้

1. นักเรียนที่ประสบผลสำเร็จในด้านการเรียนดี
เยี่ยม

2. นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษบางอย่าง เช่น
ศิลปะ ดนตรีฯลฯ

3. นักเรียนที่มีปัญหามาก
4. นักเรียนที่มีความทะเยอทะยานมีกำลังใจเข้ม
แข็งที่จะเอาชนะอุปสรรค
5. นักเรียนที่เรียนอ่อนไม่สมารถที่จะทำงานใน
ระด6ับ. นทีัก่เรเรียียนนอทยีู่่มไีดพ้ ฤติกรรมดีเด่นสมควรเอาเป็น
ตัวอย่าง
7. นักเรียนที่มีพฤติกรรมปรกติธรรมดาทั่ว ๆ ไป

78

สรุป
การศึกษารายกรณี เป็นกระบวนการศึกษาราย
ละเอียดเกี่ยวกับบุคคลโดยใช้เครื่องมือ เทคนิค หรือ
วิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งรายละเอียดของข้อมูล
แล้วนำข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์เพื่อทำความเข้าใจ
พสภฤาติพกผรู้ถรูมกทศีึ่กแสษดางเอพือ่อกทมำาคสวาามเหเตขุ้าขใอจงเพกี่ยฤตวิกกับรรม เพื่อ
การวินิจฉัยในอันจะเป็ นประโยชน์ต่อการช่วยเหลือ
นักเรียนและการช่วยส่งเสริมและพัฒนาความ
สในามคาวราถมตป่ากงคๆรแองลขะชอ่วงยตในหไ้ผดู้้ปดีขกึ้นครองเข้าใจนักเรียน

บทที่ 15



จิตวิทยา
การสร้างเเรง

บันดาลใจ
ใฝ่เรียน

80

แรงบันดาลใจคือ



แรงบันดาลใจ หมายถึง พลังที่เราทุกคนใช้ในการ
ผลักดันตนเองไม่ว่าจะเป็ นจากความคิดหรือการกระ
ทำเพื่อให้เราเดินไปถึงเป้ าหมายที่ตั้งไว้ได้สำเร็จ

วิธีสร้างแรงบันดาลใจในการเรียน

สูง1จ. ะรคับิดข่ถาึงวหสลาัรกดกีๆารเข"้ขามยาะเใขน้าชี-วิตขเยหะลอ่าอผกู้ม"ีแเปร็นงจพูิงเใศจษ
แทนที่จะรับข่าวสารลบๆ ละครน้ำเน่าในทีวี หรือ เรื่อง
คราววาอมันคสิดลใดนหแดง่หบู่ใวนกเฟหรสือบุ๊แครเงขบาันจะดเาลืลอใกจเดปิีดๆรับข้อมูล

81

2. การเขียนเป้ าหมาย การเขียนเป้ าหมาย คือ
หนทางที่ดีที่สุดในการพัฒนาวิธีการคิดทั้งเป้ าหมาย
สเรขะมียย่ำนะเสสมั้นัมนอรลเะงพยืไ่อะปกเปแล็นลางกะ ารจรัะบปยตระาัยบมาโอวฟเงหกจ้ัลอส่างทิผเูศพ้ม่ทีงแามรังนงคจอูวงยา่ใามจงคสูิงดจะ
เตเพตือื่ออกนมยุ่้งดำ้สไวู่เปยป้ยขา้ัองหจคมิตวาาใยมต้ไสผด่ำา้อนนึยกจ่ิาตงสชำัดนเึกจนแเลหะมืทอี่นสำเปค็ันญกมาันร
บสัมว3กพ.ันสเหรธ้์ลาก่งาับเผูค้คมุรีณืแอรภข่งาาจยพูงคใขวจอาสงูมงคสนรัูม้ดทีีพ่วเ่ัาคน้าคธุ์เณกชื่ัอบภมกาโลพุย่มชงีควเิขนตาทนีัจ่้นคะิใดช้
เไวดล้ าแสล่วะนมใีแหตญ่่คกำับพูคดนทีท่ีใ่เหค้้กาำจะลัสงาใมจารถเรียนรู้เพิ่มเติม

82

4. กระดาษโน้ตเขียนข้อความคิดดีๆ นี่เป็นอีกวิธีใน
แต่ละวัน ที่จะรักษาความคิดในแง่บวกเอาไว้การสละ
เวลาในช่วงเช้า เพื่อลงมือเขียนโน้ตข้อความสั้นๆ ที่
บอกถึงความคิดบวก หรือ ถ้อยคำสร้างแรงบันดาลใจ
แปะไว้ในที่ที่คุณสามารถเห็นได้บ่อยที่สุด
มีแ5ร.งปจูงรัใบจคสูำงที่จใะชร้ใะนวังกกาารรพูใดช้สคิ่งำทพีู่นด่าเสป็นนใอจย่คาืงอดีเเหดีล่าผู้
พราะเขาเชื่ อว่ามันส่งผลต่อความคิดเป็ นอย่างมากที่
ความ คิดมีผลต่อคำพูด และ คำพูดก็ส่งผลต่อความ
คิด หลักการคือ เลี่ยงใช้คำพูดในแง่ลบ และ
พยายามตรวจสอบตัวเองอยู่เสมอ

83

6. คิดเกี่ยวกับความคิดของตัวเราเอง มนุษย์เป็น
สัตว์ชนิดเดียวที่สามารถคิดเกี่ยวกับความคิดตัวเอง
ได้คุณจะไม่มีทางเห็นแมวตัวไหนนอนคิดถึงชีวิต
แจูงลใะจคสูวงาจมะคคิิดดเทกีี่่จยะวสก่งับผคลวกัาบมตคัวิดมัขนอเงอตงัไวเดอ้เงหสลำ่ารผูว้มจีมแัรนง
ปรับจูนมัน และทบทวนมัน

7. มีตัวอย่างที่ดีเราอาจจะเลือกพี่ๆ สักคนเอาเป็น
แบบอย่างในการเรียน เช่น มีพี่คนนึงในโรงเรียนทั้ง
เรียนเก่ง เล่นกีฬาก็เก่ง เราก็สามารถนำสิ่งเหล่านั้น
มาเป็นแบบอย่าง และ กำ ลังใจให้ตัวเองว่าเราก็ทำ
เไอด้งแอีบกบทราุ่นงหพี่นทึี่ง่เราชอบนำเอามาเป็ นแรงผลักดันให้ตัว

84

8. นึกถึงตัวเองในอนาคต ถึงแม้ในตอนนี้จะมีงาน
กองท่วมหัวแค่ไหนหรือท้อแค่ไหน ขอให้นึกถึงวันที่
เราเรียนจบและมีหน้าที่การงานทำที่ดี มีรายได้
สามารถดูแลตัวเองได้และเลี้ยงดูครอบครัวได้
เวล9า.ใวนาแงแต่ผลนะวหันรใือหจ้ัใดชต้เาวรลาางกเับวลสิ่างในัห้น้ตๆัวไเดอ้งอยจ่ัาดงแเบก่ิง
ประโยชน์สูงสุด เช่น แบ่งเวลาอ่านหนังสือกี่ชั่วโมง
แบ่งให้สามารถทำอะไรได้หลาย ๆ อย่างจะได้ไม่
เครียดจนเกินไป

85

10. ทำในสิ่งที่เราชอบ การทำอะไรก็ตามยิ่งเป็นสิ่ง
ที่เราชอบยิ่งได้ทำยิ่งมีความสุข เพราะเป็นสิ่งที่เรา
เยิอ่งงเกป็็ชนอสิ่บงทอี่ยดู่ีแต่ลอ้วตัยวิ่เงรเารเาอคง้นพบสิ่งที่เราชอบเร็วเท่าไร

11. มองหาจุดแข็งในตัวเอง ลองมองที่ตัวเราเองว่า
เรามีจุดเเข็ง หรือ ข้อดีตรงไหน เช่น ชอบในสิ่งที่
เรียนในเรื่องใด ถนัดในสิ่งไหน และ สิ่งที่เราไม่ชอบ
ใเรหา้ไก็ดต้้อต้งอมงคาินดั่งเสคิมดอหวา่าจุไดมบ่มกีใพครร่อไงด้อเผยื่่อาทงี่ทจี่ะตฝั่วาเมอังนคไิดป
เราก็ต้อลงมือทำให้ดีที่สุด

86

สรุป



เราจมิตีกวิาทรยผาลกักาดรันสตร้ัาวงเอบังนใดนากลาใรจใใชฝ้่ชเีรวิีตยนหรคือือทจำะคทวำาใมห้ผัน
หรืือ มองหาจัดแข็งของตัวเองเพื่อที่จะได้มองตัวเอง
มีข้อดีอะไรบ้าง และการทำตามความฝันตัวเอง เช่น
การตามศิลปิ นที่ชอบ การเรียนร้องเพลง การตั้งใจ
เครนียในนหคนรังอสบือคตราัวมขบอุคงเครลาตจัิวตอวยิท่ายงาทีก่ดาี รเชส่นร้ารุง่นบพันี่ ดหาลรือใจ
ใฝ่ เรียนเป็ นจิตวิทยาที่สำคัญอีกบทหนึ่ง

บรรณนุกรรม

“จิตวิทยาการแนะแนว.” ครูเชียงราย, 13 Dec.
2012,https://www.kruchiangrai.net/2012/12
/13/%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95
%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E
0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%
B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8
%99%E0%B8%B0%E0%B9%81%E0%B8%99
%E0%B8%A7/.

จิตวิทยาการเรียนรู้ - จิตวิทยาสำหรับครู (502 204)
รศ.มัณฑรา ธรรมบุศย์. Google Sites. (n.d.).
Retrieved April 15, 2022, from
https://sites.google.com/site/psychologybkf
1/home/citwithya-kar-reiyn-ru

ประเภทของความจำของมนุษย์ / จิตวิทยาความรู้
ความเข้าใจ. จิตวิทยาปรัชญาและความคิดเกี่ยวกับชีวิต.
(n.d.). Retrieved April 15, 2022, from
https://th.sainteanastasie.org/articles/psicol
oga-cognitiva/tipos-de-memoria-
humana.html

บรรณนุกรรม

พฤติกรรมมนุษย์. โนวาบิซส์. (n.d.). Retrieved April 15,
2022, from
https://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/.ht
m

“แรงจูงใจ Motives การจูงใจ Motivation.” โนวาบิซส์,
https://www.novabizz.com/NovaAce/
Motives.htm.

Baanjomyut.com,https://www.baanjom
yut.com/library_2/extension1/concepts_of_develo
pmental_psychology/01.html.
GotoKnow. (n.d.). Retrieved April 15, 2022, from
https://www.gotoknow.org/posts/
359457

Psychechula. (2018, December 21). จิตวิทยาการ
ปรึกษา. Smarter Life by Psychology. Retrieved April
15, 2022, from
https://smarterlifebypsychology.com/2017/11/20/
%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8
%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0
%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3
%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B6%E0%B8
%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2/


Click to View FlipBook Version