The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกี่ยวกับองค์ประกอบของจิตวิทยาและทฤษฎีจิตวิทยาทั้ง 15 บท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ariisara2545, 2022-04-15 04:39:22

จิตวิทยาสำหรับครู

เกี่ยวกับองค์ประกอบของจิตวิทยาและทฤษฎีจิตวิทยาทั้ง 15 บท

จิสตำวิหทรยับาครู

คำนำ

หนังสือ E-Book เล่มนี้เป็นวิชาจิตวิทยาสำหรับครู
รหัส 600-106 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จัด
ทำเกี่ยวกับเรื่อง จิตวิทยา โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับองค์
ประกอบต่างๆของจิตวิทยาทั้ง 15 เรื่องได้แก่ จิตวิทยา
พัฒนาการของมนุษย์ , จิตวิทยาพฤติกรรมของมนุษย์ ,
จิตวิทยาการเรียนรู้ , จิตวิทยาปัจจัยที่มีผลต่อ
พฤติกรรม , จิตวิทยาความจำของมนุษย์ , จิตวิทยา
ความคิดและเชาวน์ปัญญา , จิตวิทยาการรับรู้ ,
จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้ , จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้
สำหรับเด็กปกติ , จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็ก
พิเศษ , จิตวิทยาแรงจูงใจ , จิตวิทยาการเเนะเเนว ,
จิตวิทยาการให้คำปรึกษา , จิตวิทยาการศึกษาเป็นราย
กรณี และ จิตวิทยาการสร้างเเรงบันดาลใจใฝ่เรียน

ผู้จัดทำคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดทำ หนังสือ
E-Book เล่มนี้จะมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ
ศึกษาทฤษฎีจิตวิทยาเป็นอย่างดี

ผู้จัดทำ
นางสาวอริศรา เนียมนำ

สารบัญ

ความหมายของจิตวิทยา 1-2
จิตวิทยาพัฒนาการของมนุษย์ 3-8
จิตวิทยาพฤติกรรมของมนุษย์ 9-13
จิตวิทยาการเรียนรู้ 14-18
จิตวิทยาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรม 19-23
จิตวิทยาความจำของมนุษย์ 24-29
จิตวิทยาความคิดและเชาวน์ปัญญา 30-33
จิตวิทยาการรับรู้ 34-37
จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้ 38-41
จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปกติ 42-45
จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กพิเศษ 46-57
จิตวิทยาแรงจูงใจ 58-63
จิตวิทยาการเเนะเเนว 64-69
จิตวิทยาการให้คำปรึกษา 70-74
จิตวิทยาการศึกษาเป็นรายกรณี 75-78
จิตวิทยาการสร้างเเรงบันดาลใจใฝ่เรียน 79-86
บรรณานุกรม

ความ
หมายของ
จิตวิทยา

2

จิตวิทยาตรงกับภาษาอังกฤษว่า Psychology ซึ่ง
มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คำ ได้แก่คำว่า
Psyche กับ Logos
จอห์น บี. วัตสัน (John B. watson: 1913) เป็นนัก
จิตวิทยาคนแรกที่ให้คำนิยามเกี่ยวกับจิตวิทยา
ว่า“จิตวิทยาเป็ นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรม
มนุษย์”

มอร์แกน (Morgan: 1971) กล่าวว่า “จิตวิทยา
เป็ นวิลศเาลีส่ยตมร์ทเีจ่ว่มาสด์้ว(ยWพilฤliaติmกรJรaมmขeอ:ง1ม8น9ุษ0ย)์แกลล่ะาสวัตว่วา์ ”
“จิตวิทยาเป็ นวิชาที่ว่าด้วยกิริยาอาการของมนุษย์”
จากคำจำกัดความที่กล่าวมาข้างต้นสรุปความหมาย
ของจิตวิทยาได้ว่า

จิตวิทยา คือ“ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับ
จิตใจ (กระบวนการของจิต) , กระบวนความคิด, และ
พฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์”

คำว่า พฤติกรรม (behavior) หมายถึง การ
สแังสเดกงตอเอห็กนทไาด้ง(รพ่าฤงกติากยรหรมรือภกิารยิยนาอท่กา)ทแาลงะทไี่สม่าสมาามราถรถ
สังเกตเห็นได้(พฤติกรรมภายใน)

บทที่ 1



จิตวิทยา
พัฒนาการของ

มนุษย์

4

ความหมายของพัฒนาการ

พัฒนาการหมายถึงการเพิ่มหรือการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านคุณภาพ เช่น การพัฒนาการ
ตามลำดับของการเคลื่อนไหวของทารกจากการที่
ทารกสามารถคว่ำ ต่อมาสามารถคลาน สามารถยืน
และสามารถเดินได้ เป็นพัฒนาการที่สัมพันธ์ต่อเนื่อง
กันและต้องอาศัยความพร้อมร่วมกันของระบบ
หลายๆ อย่างในร่างกาย เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบ
ประสาท เป็นต้น พัฒนาการเป็นการเจริญเติบโตเพื่อ
นขำบไวปนสกู่กาารรเปมีลวีุ่ยฒินภแาปวละ ท(ี่เMกิaดtขึu้นrตaาtมioวnิถ)ีทาวุงฒขิภองาวะเป็ น
ธรรมชาติ

ทฤษฎี Psychosexual developmental stage
ของฟรอยด์



ซิกมันต์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud) เป็นนัก
จ(ิPตsวyิทcยhoาชaาnวaยlิyวtเiปc็ นTผhู้ทeี่oสrร้yา)งทซึ่ฤงเษป็ฎนีจทิตฤวิษเคฎีรทาาะหง์ด้าน
การพัฒนา Psychosexual โดยเชื่อว่าเพศหรือ
กามารมณ์ (sex) เป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนา
ของมนุษย์ แนวคิดดังกล่าวเกิดจากการสนใจศึกษา
บแลนะเสกั้งาเอกี้นตอผูน้ปใ่ วนยอิโรริยคาปบรทะสที่าสทบดา้วยยทีก่สุาดรให้ผู้ป่ วยนอน

ทฤษฎีพัฒนาการของ อิริคสัน (ERIKSON)

ทารเกป็จนนทถึฤงวษัยฎีชทีร่อาธิอบีราิคยสพันัฒเชืน่อาว่กาาวรัยขแอรงกชีขวิตองตัช้งีวแิตต่เวปั็ยน
วัยที่เป็นรากฐานเบื้องต้น และวัยต่อ ๆ มาก็สร้างจาก
รากฐานนี้ ถ้าหากในวัยทารกเด็กได้รับการดูแลอย่าง
รดเขีอแาบลจะๆะอชบต่ัว้องุย่นแใตหก่้็บเจิดดะ็กชา่ชมว่ยวายใรหดต้เานดเ็บกอุคงมีคคมีลวคตา่วมาางเมชืๆ่ตอั้งถทีืใ่ออจใยทูนี่่รจผอูะ้อบทื่นตำัทีว่อยู่
อะไรเอง

5
พัฒนาการในแต่ละช่วงวัย




















ขั้นที่ 1 ระยะทารก ( Infancy period) อายุ 0-2
ปMี i:stขัr้นuไsวt้ว)าใงนใรจะแยละะขไวม่บไปวี้วแารงกใทจาผู้รอืก่นจ(ะTต้rอuงsพึt่งvพsา
รอักาศแัยลผูะ้อสื่นอในนใกห้าทราดรูแกลพเอบากใับจใสิ่สง่ทเุร้กาดใ้หานม่ๆตลอดจนความ

ขั้นที่ 2 วัยเริ่มต้น ( Toddler period) อายุ 2-3 ปี
: ขั้นที่มีความเป็นอิสระกับความละอายและสงสัย
(Autonomy vs Shame and doubt) ขั้นนี้เด็กเริ่ม
เรียนรู้ที่จะทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง

6

ขั้นที่ 3 ระยะก่อนไปโรงเรียน ( Preschool period)
(ออIยาn่ยาiุtงi3aก-tว6้iาvปงeีข:vวขsาั้นงGมมuีีคiคltวว)าามเมปค็สินัดมรรพะิเัยรนิ่มะธท์กีก่ัเับบด็คกเพวืม่ีาอกมนารทูร้ีส่เึโกรรียผงินเดรรีูย้ น
เพื่อนบ้าน ญาติพี่น้อง มีความอยากรู้อยากเห็น ชอบ
ลองอะไรใหม่ๆ

ขั้นที่ 4 ระยะเข้าโรงเรียน ( School period) อายุ
6-12 ปี : ขั้นเอาการเอางานกับความมีปมด้อย
(Industry vมีsคIวnาfมeคrิiดoแriลtะyพ) รยะายยะานมี้เทด็ำกกเิรจียกนรรรู้ทมี่จด้ะวย
สร้างสรรค์
ตัวเอง

7

periขoั้นdท)ี่อ6ายรุะ2ย0ะ-ต้4น0ขอปีง:วัขยั้นผู้คใหวาญม่ (ใกEลa้ชrิlดyสaนิdทuสltนม
คกรอััะตรบยอลคะับกวนีคษา้เมรรณิ่์ัมวรูข้สมหึอีกกรงืเอาตปทรนลนำ่เาัดองเางปหนลมีก่ยาับวยผู(ก้Iอืnา่นtรไiแmดต้a่งหcงาyากนvสsาแมIลsาะoชรlีaถวิtตบioรnร)ลุ

ปี : ขขัั้้นนกที่า7รอรนะุเยคะรผูา้ใะหห์ญเ่กื้(อกAูลdกuัlบtกpาeรrพioะdว)้าอพาะยวุ ง4แ0ต-่ต6ั0ว
เอง (Generativity vs Self-Absorption) เป็นระยะ
ที่บุคคลหันมาสนใจกับโลกภายนอก ริเริ่มสร้างสรรค์
งานต่างๆ เพื่อสังคม คิดถึงผู้อื่น ไม่โลภหรือเห็นแก่
ได้ฝ่ ายเดียว

8

ขั้นที่ 8 ระยะวัยสูงอายุ ( Aging period) อายุ
ประมาณ 60 ปีขึ้นไป : ขั้นความมั่นคงทางจิตใจกับ
ความสิ้นหวัง (Integrity vs Despair) วัยนี้เป็นวัย
สุขุม รอบคอบ ฉลาด บุคคลจะยอมรับความเป็นจริง
ของชีวิต ระลึกถึงความทรงจำในอดีต หากประสบ
คมีวคาวมามสำมัเ่รน็จคใงนทอาดงีตจิกต็จใะจรู้สึกไว้วางใจผู้อื่นและตนเอง

ในทุกช่วงอายุมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อ
เนื่อง นอกจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย ซึ่ง
เป็นการเปลี่ยนแปลงภายในร่างกายของมนุษย์ การ
ที่อวัยวะมีการเจริญเติบโต มีการพัฒนาโครงสร้าง
และหน้าที่ต่าง ๆ ของอวัยวะเหล่านั้นแล้ว ยังมีปัจจัย
อมื่นนุทษี่มยี์อมิีทคธวิพามลแต่ตอกกตา่ราเงปกัลนี่ยทัน้งแรูปปลร่งางซึ่หงมนี้าผตลาทำคใวหา้ม
รมรผู่ี้าสลคึงกใวกหนา้ึามกบยุคแคิกดตคากลแรตมลม่ีีาพะวงุพฒฤกิฤัตภนิตกทาิัก้รวงรระดใรม้านมทนีแ่ทแกี่ตแต่าลสรกะเดตวจ่งัยราอิญงแอกลเกัตนะิบกบุคาโรคตเลขรีแยอตงน่ลรู้ะสค่งน

บทที่ 2



จิตวิทยา
พฤติกรรมของ

มนุษย์

10

พฤติกรรม หมายถึง กิริยาอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้น
กับมนุษย์หรือที่มนุษย์ได้แสดง หรือปฏิกิริยาที่เกิด
ขึ้นกับมนุษย์เมื่อได้เผชิญกับสิ่งเร้า พฤติกรรมต่าง ๆ
ที่กล่าวมาแล้ว อาจจะจำแนกออกได้เป็น 2 ลักษณะ
คือ

1. พฤติกรรมที่ไม่สามารถควบคุมได้
2. พฤติกรรมที่สามารถควบคุมและจัดระเบียบได้
รูปแบบพฤติกรรมของมนุษย์ แบ่งได้เป็น 2 อย่าง

คือ
1. พฤติกรรมเปิ ดเผยหรือพฤติกรรมภายนอก
(Overt Behavior) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดงออก
เมดาินทกำาใรหห้ผัูว้อเื่รนาสะากมาารรพถูมดอฯงลเหฯ็นได้ สังเกตได้ เช่น การ
2. พฤติกรรมปกปิ ดหรือพฤติกรรมภายใน
(Covert Behavior) เป็นพฤติกรรมที่บุคคลแสดง
รอโแัดบยล้่ยวารู้งตแเรพตืง่่ผอจู้อในื่หนก้ไคว่มาน่บสอุื่คานมครับาลรนรูัถ้้ไนมดจ้อะเงเชป่เ็นหน็นคผู้ไวบดา้อมกสคังหิดเรกืออตแาไรสดมด้ งณ์บกางาร

พฤติกรรมมนุษย์ตามแนวจิตวิทยา



จิตวิทยาเชื่อว่าพฤติกรรมมนุษย์ส่วนใหญ่จะ
ประพฤติปฏิบัติตามแบบแผนของกฏระเบียบหรือวิธี
การ ดังนี้

1. การติดต่อสื่อสาร (COMMUNICATION)
2. การขัดแย้ง (CONFLICT)
3. การแข่งขัน (COMPETITION)
4. การประนีประนอมผลประโยชน์ที่ขัดแย้งกัน
(ACCOMODATION)
5. การผสมผสานกลมกลืนเข้าหากัน
(ASSIMILATION) 6.การร่วมมือสนับสนุนซึ่งกันและ
กัน (COOPERATION)

11

1. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากแรงผลักดันภายในตัว
มนุษย์



1.ความต้องการทางด้านร่างกาย เป็นแรงผลักดันที่
อเพยู่รใกานะารเระป็ตดนัอบแบพรื้สงนนผฐอลาังกนคดทีวั่นสาุทดมี่จตแ้ะอตท่งมำกีใพาหรล้ชัทงีวอาิตำงอรน่ยาาูง่จรกอสูาดงยสุดอัน
ทำให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมออกมานั้น สามารถ
กระท1.ำ1 ไกิดร้ิย2ารสะะดทั้บอนคือ

1.2 พฤติกรรมเจตนา
ระด2ับคสวูงาขมึ้นต้กอวง่ากคาวราทมาตง้อจิงตกใาจรเทป็านงแร่รางงผกลาักยดันที่อยู่ใน

3. ความเชื่อในพระพุทธศาสนา เชื่อว่า แรงผลัก
ดันพฤติกรรมของมนุษย์อันเป็ นผลมาจากแรงผลัก
ดันในตัวมนุษย์นั้น คือ ความอยากซึ่งเรียกว่า ตัณหา
ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3 อย่าง คือ

3.1 กามตัณหา คือ ความอยากในสิ่งที่น่าใคร่ น่า
ปรารถนา น่าพอใจ ในรูป รส กลิ่น เสียง และสัมผัส

3.2 ภวตัณหา คือ ความอยากจะเป็นในสิ่งต่างๆ
เช่น เป็นเศรษฐีของประเทศ

3.3 วิภวตัณหา คือ ความอยากพ้นจากสิ่งที่ไม่พึง
ปรารถนาต่างๆ

12

2. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากแรงผลักดันของสิ่ง
แวดล้อม



ความอรเิชสื่โอตนี้เตติ่ลอม(Aาคriวsาtมotคิleด)เชเ่ปน็นนี้กผู้ลทีั่บเริม่มาปมีรอะิทกธาิพศ ลอีก
ในยุคของจอห์น ลอคค์ (John Locke) เบิร์คลีย์
(Berkley) และอีกหลายคนซึ่งเชื่อว่าประสบการณ์
ขกตจิาอรดกะงตทเมัวกำินมดุพษามฤแยา์ตตเแ่ิปกอ็ลน้ยรว่สราทิั่มง้งงทใเีส่ิมด้ทืน่อำล้ตเใว่กอหินด้เคแมมืน่ลอ้าวเมนรแัี้านปตเ่รกตมิ้ะดอนสุกงบษเารยกรี์ยมาเิรนรไียณรดู์้้นภแมรีาูลค้ท้ยีว่วจหจาึะงลมัจงระู้
เแรนียวนทรูา้ แงสลำะหจดรัจบำกปารระแสสบดกงาพรฤณ์ตนิัก้นรเรอมาไใวน้เอพืน่อาเคป็ตนต่อไป
(สิทธิโชค วรานุสันติกุล, 2528 : 2)
3. พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากทั้งแรงผลักดันภายใน

ตัวของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
อัลเบิร์ต แบนดูรา (Aibert Bandura) นัก
จิตวิทยาที่มีชื่อเสียงมากในปัจจุบัน ได้ให้ความ
สำคัญแก่ ลักษณะภายในตัวมนุษย์และสิ่งแวดล้อมว่า
มเป็นนุษตยัว์ กอ่องคใ์หป้เรกะิดกพอบฤภติกายรรใมนตเัขวมาอนุธษิบย์าแยลว่ะาสิพ่งแฤวติดกลร้อรมม
ต่างก็มีอิทธิพลต่อกันและกัน ในลักษณะที่แต่ละองค์
ประกอบต้องสัมพันธ์กันอย่างถ้อยทีถ้อยอาศัยกัน
หมายความว่า ในบางครั้งสิ่งแวดล้อมอาจจะมีส่วนใน
การทำให้เกิดพฤติกรรมได้มากกว่าองค์ประกอบ
ภายในตัวบุคคล

13

ลักษณะความแตกต่างของพฤติกรรมมนุษย์

1. คคววาามมแแตตกกตต่่าางงททาางงอคาวรามมณถ์น(ัดEM(AOPTTIOITNU)DE)
2.
3. ความแตกต่างของความประพฤติ (BEHAVIOUR)
4. คคววาามมแแตตกกตต่่าางงขขอองงคทัวศานมคสตาิม(AารTถT(ITAUBIDLEIT)Y)
5.
6. ความแตกต่างของความต้องการ (NEEDS)
7. คคววาามมแแตตกกตต่่าางงทขอางงสรัสงคนิมยม(S(OTCEASTILS))
8.
9. ความแตกต่างของลักษณะนิสัย (HABIT)

การพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์

สำคักญาดร้าพนัฒต่นางาพๆฤ6ติปกรระรกมามรนคุษือย์ขึ้นอยู่กับปัจจัย
1. กค่าารนิเยรียมน(รVู้ A(LLEUAER)NING)
2.
3. บรรทัดฐานของสังคม (NORMS)
4. ทัศนคติ (ATTITUDE)
5. ความเชื่อ (BELIEF)
6. การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (SOCIAL
INTERSACTION)

บทที่ 3



จิตวิทยา
การเรียนรู้

15

เหกปามลรีา่ยจเยิรตนียถวึแงนิทปจริูย้ตลจางะวิกเไทกปาิยดรอาเขยึรท้ี่นี่ยาใไงนชดถ้ร้ใูาน้นั(ว้นกรPตหา้sอรyรถงือc่เาhเกกยิoิดดทloจจอgาาดyกกคพoกวfฤาารlตมeิฝกึaรูก้รrโฝรnดนมiยnทซีgึ่่)ง
กตปรอฏิะนบบัคตืวิอแนตัลก้งะาใไรจดเ้จรระียับรูน้ผกรลูำ้จปหะรเนกะิดจดัวกไิธษดี์ป้จฏาิบกัขตัิ้นเพตื่ออในหห้รลู้ักลง4มืขอั้น



ทฤษฎีการเรียนรู้ทางด้านจิตวิทยามี 3 กลุ่ม
จิต1วิ.1ทก.1ยลุอ่ามีวทีทา่อนฤยูษ่พใฎนาีกกฟาลุล่รมอเรนฟีีย้ คน(ือIรvู้พanฤตPิกaรvรloมvน,ิย18ม4น9ัก-1936)
นเงัืก่อสนรไีรขวิแทบยบาชคาลวารสัสสิเกซีย(CทlaฤsษsฎicีกaาlรCเรoียnนdiรtู้กioาnรiวnาgง
Theory) หรือ แบบสิ่งเร้า
1.2 จอห์น บี วัตสัน (John B Watson คศ.1878
ค-1ล9า5ส8สิ)คทที่ฤเกษิดฎีขกึ้นารกัเบรียมนนุรษู้กย์ารวางเงื่อนไขแบบ
1.3 เบอร์รัส สกินเนอร์ (Burrhus Skinner)
(ทOฤpษeฎrีaกnารtเCรียoนndรู้iกtาioรnวiาnงgเงืt่อhนeไoขryแ)บบการกระทำ

16

คใหรู้1เขป.้4็อนมเูผพูล้ีใมยห้าเขจก้ทอเ์มทู่(ลาJไแeรลaะนnนักัPกเiรเaรียgียนeนtกเ็)ยปิ็่กงนารผัูรบ้รจขับัด้อขกม้อูาลมรูไเลรดี้ยคมนราูรยกูิ้่ทงี่
เท่านั้

1.15.5ก.1าเกยา่ร(Gจูงaใgจn(eM) ทotฤivษaฎีtกioาnรเรPียhaนsรู้e8) ขั้น
( Ap1.p5r.2ehกeาnรdรัiบnรgู้ตPาhมaเsป้eา)หมายที่ตั้งไว้
( Ac1.q5u.3isกitาioรnปรPุงhแaตs่eง)สิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจำ
1.5.4 ความสามารถในการจำ ( Retention
Phase)
1.5.5 Rคeวcาaมlสl Pาhมaาsรeถ)ในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้
ไปแล้ว (
1.5.6 การนำไปประยุกต์ ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว
( Generalization Phase)
( Pe1r.5f.o7rกmาaรnแcสeดPงhอaอกseพ)ฤติกรรมที่เรียนรู้
( Fe1.e5d.8baกcาkรแPสhดaงsผeล)การเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน

17

คอยวู่2าใม.2นท.ห1กฤลมเุด่ษมาวฎยนิีคีก้ คาพืรอีเอรีอยซนุเรบู้กลลุ่ทมฤปัษญฎญีกาานริยเรมียนนัรกู้อจิยต่าวิงทมียาที่
2.2 Gestalt Psychologist ทฤษฎีการใช้ความ

เข้าใจ (CognitiveTheory)
การ222ห...ย453ั่งโJPรูค้eia(ทr์IgonเeลsBtอigrรทo์hot(ฤKnษLoeฎehีraพleทัrฒrnฤ,นiษn1า9gฏกี2)กา5าร)รทเการีางยรสนเตรริูี้ปยแันญบรบญู้โคดา้นยพบ

18

3ใน3. ท.ก1ฤลุศ่ษมาฎนสีี้กคตืาอรราเจราียรนย์รบู้กันลุด่มูรมานแุษห่ยงนมิยหมาวินทักยจาิตลัวยิทสยแาตทีน่อฟยู่
อโดร์ยดก(าSรtสaังnเfกoตrหd)รือปกราะรเทเลศียสนหแรบัฐบอเม(Oริbกsาeกrvารaเtรiีoยnนaรู้l
Learning หรือ Modeling)
3.2 Anthony Grasha กับ Sheryl Riechmann
ทฤษฎีการสังเกตจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับ
กคัรบูผเู้พสื่ออนนรแ่วลมะหส้ังอเงกตจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียน

3.3 เลวิน (Lawin) ทฤษฎีสนาม
แแร่วบบ333มบบ...456กรรั่่นSRDววhเoมมaรlbีoมมvยืืemiออนdrกกoรtูJัั้นนแSoเเลlhรรaีีะnยยvsYนนinoaรรููn้้ใแeนlลแSงะลคาhะนaคณเrณะฉaทะพnทฤาทฤษะฤอษฎียษกฎ่ีาฎกาีงรกาเรารเีรยรเียนรียนรู้แนรู้บรู้บ

บทที่ 4
จิตวิทยา

ปัจจัย
ที่มีผลต่อ
พฤติกรรม

20

ปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมมนุษย์ ได้แก่ ปัจจัยทางจิตวิทยา ซึ่งมี
หปทีั่นจร่้จาาังยทีก่ยเ่ปาอ็ยนยจสอืะ่อยแู่กหสลลดาางงยพใปนฤัจกตจิากัยรรรปรัับมจรจตู้ัแ่ยาลทงะาๆตงีคจปิัวตจาวจมิัทยสิยท่งาาเรงจ้าะกท่อำน
จิตวิทยาที่สำคัญประกอบด้วย แรงจูงใจและ การ
เเเรรียงนจูรงู้ใจ
ให้มน"ุแษรยง์จเูกงิดใจพ"ฤคืตอิกเรเรรงมผตลอักบดสันนจอางกอภย่าายงใมีนททีิ่ศททำาใงห้
และเป้ าหมาย ซึ่งจำแนกได้เป็น 2 ประเภท

1.แรงจูงใจทางกาย ที่ทำ ให้มนุษย์แสดง
พฤติกรรมสนอง ความต้องการที่จำ เป็นทางกาย
เช่น หาน้ำ และอาหารมา ดื่มกิน

2. แรงจูงใจทางจิตซึ่งเกี่ยวข้องกับความต้องการ
ทางสังคม เช่น ความต้องการความสำเร็จ เงิน
คำชม อำนาจ เป็นต้น

ปัจจัยที่ทำ ให้เกิดแรงจูงใจในมนุษย์



"ปัจจัยทางชีวภาพ" ได้แก่ ความต้องการจำ เป็นของ
ชีวิต คือ อาหาร น้ำ ความปลอดภัย
"ปัจจัยทางอารมณ์ " เช่น ความตื่นเต้น วิตกกังวล
พก"ปลฤััวจติจโกัยกรทรรธามงรคตักั้วงาเแกมตล่คีเิยอดื้ดอ"เเแฟืป้็ลอนะเปคผัื่จวอาจแัมยผ่ทรูจี้่สกนึกำถึอืงห่นกนใาดดรใฆท่หี่า้ใบผูหุ้คอ้ืค่นคนลมี
กระทำ ในเรื่องที่คิดว่า เหมาะสมและเป็น ไปได้ และ
ตขอามงตคนวอามย่าคงาไดรหวังว่าผู้อื่นจะสนองตอบการกระทำ
"ปัจจัยทางสังคม" เป็นปัจจัยที่กำ หนดพฤติกรรม
ของมนุษย์เพื่อให้สอดคล้องกับสังคม และ เป็นที่
ยอมรับของบุคคลในสังคมนั้นด้วย

21

ทฤษฎีแรงจูงใจ



ทฤษฎีสัญชาติญาน (Instinct Theory)
สัญชาติญานเป็ นพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออก
โชีดวิยตอมัตนโุนษมย์ัตอิาจจึงจมะีไคมว่าแมสดสำงคอัอญกต่มอาคอวยา่ามงอชยัูด่รเอจดนขเอช่งน
ความใกล้ชิดระหว่างชายหญิง ทำ ให้เกิดความ
ต้องการทางเพศได้ เป็นต้น
ทฤษฎีแรงขับ ทฤษฎีแรงขับ (Drive Reduction

Theory)
เป็ นกลไกภายในที่รักษาระบบทางสรีระให้คง
สภาพสมดุลในเรื่องต่างๆ ไว้เพื่อทำ ให้ร่างกายเป็น
ปแรกงตขิหับรือแอบ่ยูง่ใอนอสกภไดา้พเป็โนฮม2ิโปอสระแเตภซทิสค(ือHomeostasis)
- แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) แรงขับที่เกิด
คจาวกามควต้าอมงตก้อารงตก่าารงๆพื้นฐานทางร่างกาย เช่น ความหิว
- แรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) เป็นแรงขับ
ทคี่วเกาิมดขสึั้มนจพาันกธก์เาชื่รอเมรียโยนงรู้กเับช่นกาครนสทนี่เอรงียคนวราู้วม่าตเ้งอินงมกีารอา
หารเเละอื่นๆ

ทฤษฎีการตื่นตัว (Arousal Theory)



มนุษย์จะถูกจูงใจให้กระทำพฤติกรรมบางอย่าง
เเบพืื่่ออครักนษจะาแรสะดวังบหกาากราตืร่นกตรัวะทที่ำพทีอ่ตเื่หนมเตา้นะ เเมชื่่อนตืเ่นมื่เอต้รูน้สึก
เร้าใจมานานระยะหนึ่งจะต้องการพักผ่อน

22

ทฤษฎีสิ่งจูงใจ (Incentive Theory)

ปัจจัยภายนอกหรือสิ่งแวดล้อมที่จูงใจจะดึงดูดให้
แคสนวมุง่งหไาปสิ่หงาที่สิพ่งอนั้ในจเชม่นนุษรยา์กงวรัละทคำำกิยจกกยร่อรมง ตส่ิาทงธๆิพิเเพศื่ษอ
และหลีกเลี่ยงสิ่งที่ไม่พอใจ เช่น ถูกลงโทษ ถูกตำหนิ
เป็ นต้น

การเรียนรู้

พฤติกรรม แกลาระกเราียรนปรรู้เับป็พนกฤรติะกบรวรนมกขาอรงเมปนลีุ่ยษนย์แที่ปเกลิดง
ขึ้นจากประสบการณ์ หรือมีปฏิสัมพันธ์กะบสิ่ง
แวดล้อมพฤติ
สกัมรรพมันกธ์ารระเหรียว่านงรูส้ิท่ีง่เเกริ้ดาเขเึ้ลนะเเมืก่ิอดพผฤลตกิกระรทรมบมีความ

การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกของพาฟลอฟ
(Pavlov)



มนุษย์ถูกวางเงื่อนไขเพื่อให้แสดงพฤติกรรม
นจตะทอถบำูกสวในาหอง้มใงีตนพ่ขอฤสณิต่งิะกเทรีร้่ามรไีมสดิ่้ตงตเอรา้บามอสืรู่นนปทอีอ่งมยูีต่อต่ิอทลสิธอ่งิดพเรเ้ลวาตลท่ั้าองกสาอเงรืง่อกอนรย่ไะาตขงุ้
พร้อมๆ กัน

การวางเงื่อนไขปฎิบัติการของสกินเนอร์
(Skinner)

เป็ นการวางเงื่อนไขที่เกิดจากแรงขับที่ทำให้
เป็นการเกิดพฤติกรรม โดยวางเงื่อนไขระหว่างพฤติ
กรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้ากับผลกรรมของพฤติ
กรรมนั้น พฤติกรรมใดที่ได้รับผลกรร ใดที่ได้รับผล
กรรมเป็ นที่พึงพอใจพฤติกรรมนั้นมีแนวโน้มที่จะ
เกิดขึ้นต่อสิ่งเร้ามากที่สุด

23

การเรียนรู้ด้วยการหยั่งเห็
น (Insight Learning)
การหยั่งเห็นเป็ นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสัตว์ ชั้ น

สูง เนื่องจากมีความซับซ้อนในด้านการคิดและการ
แก้ปัญหาเพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต้องการ ตามทฤษฎี
รหกูปาลรแาตยบอรบูบปทีแส่ตนบออบบงตขสึ่้นนอสออิ่งงยูเแ่กร้ัลบา้วขกไอรดง้ะผบบุลควดคนีทีลก่สสาุดารมจคิะดาเรขป็ถอนกงแรคสะนดทผงูำ้นั้ไนด้
ความฉลาดของสติปัญญาของมนุษย์



การเรียนรู้ทางสังคม (social learning)
สังเกกาตรตเรัวียแนบรูบ้ทลาองกสังเลคียมนเปพ็นฤรตูิปกแรบรมบขกอางรตเรัวียแนบรูบ้ การ
เฉพาะที่ตัวแบบได้รับการเสริมแรงเป็นรางวัล โดยที่
ไเกม็่บจจำำเปไ็วน้ไทีป่จคะิตด้หองรืทอำทดตสาอมบแดบูกบ่อในนกท็ไันด้ทีเชแ่นต่อลูากจจจะมะี
พโ่ดอยแทีม่่พเ่ปอ็นแตม่ัวโแดบยไบม่กรู้าตรัวเรียนรู้และทำ ตาม อย่าง

บทที่ 5
จิตวิทยา
ความจำ
ของมนุษย์

25

ความหมายของความจำ ความจำเป็นที่ที่บุคคลใช้
ปเกฏ็บิสรัมักพษันาขธ์้อกัมบูลโลคกวาภมารยู้ตน่าองกๆ(ทFี่เlaขvาไeดll้,รัMบiจllาeกrก, &ารมี
Mปรilะleสrบ,2ก0า0รณ1์)ใซนึ่งอสด่งีตผลเขใ้าห้ใบจุคสิ่งคตล่าสงาๆมาใรนถปัเจรีจยุบนันรู้จแาลกะ
คาดการณ์ ไปยังอนาคตได้ (Baddeley, 1999;
Galotti, 2008)

ความจำในจิตวิทยา ( memory)
เป็นกระบวนการที่ข้อมูลต่าง ๆ รับการเข้ารหัสการ
เก็บไว้ และการค้นคืนในระยะแรกนี้ข้อมูลจากโลก
ภายนอกมากระทบกับประสาทสัมผัสต่าง ๆ ในรูป
แบบของสิ่งเร้าเชิงเคมีหรือเชิงกายภาพจึงต้องมีการ
เปลี่ยนข้อมูลไปเป็นอีกรูปแบบหนึ่ง ซึ่งก็คือการเข้า
รหัสเพื่อที่จะบันทึกข้อมูลไว้ ในความจำได้ ระยะที่
สองเป็ นการเก็บข้อมูลนั้นไว้ในสภาวะที่สามารถจะ
รักษาไว้ได้เป็นระยะเวลาหนึ่ง ส่วนระยะสุดท้าย
เป็นการค้นคืนข้อมูลที่ได้เก็บเอาไว้ ซึ่งก็คือการ
สืบหาข้อมูลนั้นที่นำไปสู่การสำนึก

26

ความจำ

กิลฟอร์ด (Guilford, 1956) กล่าวว่า ความจำเป็น
รลคัะกวลาษึกมณไสดะา้เหมดีรายือรวนถกำัทนี่หจกนะับ่เวกทย็ีบ่เคกหว็บนา่มเวขยรู้า้นคไั้นวว้าอคมอวรกูา้ไมมว้าสแใาชลม้ไะาสดร้าใถมนดา้ารนถ
ความจำเป็ นความสามารถที่จำเป็ นในกิจกรรมทาง
สมองทุกแขนง

เทอร์สโตน (Turstone, 1958) กล่าวว่า
สมรรถภาพสมองด้านความจำ เป็น สมรรถภาพด้าน
การระลึกได้และการจดจำเหตุการณ์ หรือเรื่องราว
ต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำ

27

ชวาล แพรัตกุล (2514) กล่าวว่า คุณลักษณะนี้คือ
ความสามารถของสมองใน การบันทึกเรื่องราวต่างๆ
รวมทั้งที่มีสติระลึกจนสามารถถ่ายทอดออกมาได้
อย่างถูกต้อง

ทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม

บลูม (Bloom.1976) เป็นนักการศึกษาชาวอเมริกัน
เชื่อว่า การเรียน การสอนที่จะประสบความสำ เร็จและ
มกใิีหจป้กชรัดระรสเิจมทนกธแิาภนร่านเพรอียนนัน้นเรผพูวื้่สมออใทัน้หง้จผวูะั้ดสต้ปออนรงะกกเำำมิหหนนนผดดลจไแุดดล้มถะุู่งกจหัตด้มอางย
และ บลูมได้ แบ่งประเภทของพฤติกรรมโดยอาศัย
ทเร่กาิฤดงษกกฎาาีกยรเาแรรียลเรนะียดรู้้นาในนรู้แจิ3ตละใด้จจาิตนวคิทือยดา้าพนื้นสตฐิปาัญนวญ่าามดนุ้าษนย์จะ

28

จุดประสงค์ที่สำคัญของการเรียนการสอน คือ เพื่อ
ให้บุคคลเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมไปในทางที่พึง
ประสงค์ พฤติกรรมเหล่านี้จำแนกและจัดลำดับออก
3เป็หนมหวมดวดดัหงนมีู้่และระดับตามความยากง่าย แบ่งเป็น

1. พฤติกรรมพุทธิพิสัย (COGNITIVE
DปปััญญOMญหAาาแIจNับด)่เกงปอ็านอรกเพรเีฤยป็ตนนิกรู้6ทรรารมงะดดท้ัาบานงดคดั้งวานานี้มสคมิดองคแวาลมะ รสู้กติารแก้
1.1 คคววาามมรเู้ข(้าKใNจO(WCOLMEDPGREEH) ENSION)
1.2
1.3 การนำไปใช้ (APPLICATION)
1.4 การวิเคราะห์ (ANALYSIS)
1.5 การสังเคราะห์ (SYNTHESIS)
1.6 การประเมินค่า (EVALUATION)

2. พฤติกรรมจิตพิสัย (Affective Domain)
ทพัศฤนติคกตริรคมวดา้ามนเจชืิ่ตอใคจวคา่มานสิยนมใจคแวลามะ รคูุ้สณึกธครวรามมซจะาบซึ้ง
ประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดับ ได้แก่

12..กกาารรรตับอรบู้ สนอง
3.การเกิดค่านิยม
4.การจัดระบบ
5.บุคลิกภาพ

3. พฤติกรรมทักษะพิสัย (Psychomotor
Domain) พฤติกรรมด้านกล้ามเนื้อประสาท
พฤติกรรมที่บ่งถึงความสามารถในการปฏิบัติงานได้
อย่างคล่องแคล่วชำ ชำนาญ ประกอบด้วย 5 ขั้น ดังนี้

29

12..กการระรทับำรูต้ ามแบบ
3.การหาความถูกต้อง
54..กกาารรกกรระะททำำอไยด่า้องยต่่าองเเนืป่็อนงธหรลรังมจชากาตติัดสินใจ

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง

ทฤษฎีความจำสองกระบวนการ (Two – Process
Theory of Memory) ทฤษฎีนี้สร้างขึ้นโดย แอตคิน
สัน และ ชิฟฟริน (Atkinson and Shiffrin) ในปี
ค.ศ. 1968 กล่าวถึงความจำระยะสั้นหรือความจำทันที
ทันใดและความจำระยะยาวว่าความจำที่สามารถจำ
ได้เป็ นตอนๆ

ทฤษฎีการสลายตัว (Decay Theory)

เป็นทฤษฎีการลืม กล่าวว่า การลืมเกิดขึ้นเพราะ
การละเลยในการทบทวนหรือไม่นำสิ่งที่จะจำไว้ออก
มาใช้เป็นประจำ การละเลยจะทำให้ความจำค่อยๆ
สลายตัวไปเองในที่สุด ทฤษฎีการสลายตัวนี้น่าจะเป็น
จริงในความจำระยะสั้น เพราะในความจำระยะสั้น
หากเรามิได้จดจ่อหรือสนใจทบทวนในสิ่งที่ต้องการ
จะจำเพียงชั่วครูสิ่งนั้นจะหายไปจากความทรงจำ
ทันที

บทที่ 6
จิตวิทยา
ความคิด

และ
เชาวน์ปัญญา

31

ความหมายของเชาวน์ปัญญา
เชาวน์ปัญญา หมายถึง ความฉลาด ความสามารถ
ในการทำความเข้าใจสิ่งต่างๆ ความสามารถในการ
แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังศักยภาพ
ในการเรียรีนรู้จากประสบการณ์
ความสามารถทางเชาวน์ปัญญาของ มนุษย์แบ่ง

ออกเป็น 3 ลักษณะ



1.ความสามารถที่เกี่ยวข้องกับเรื่อรื่งความคิด
สัญลักษณ์ การสร้างความสัมพันธ์ความคิดรวบ ยอด
และความสามารถในทำความเข้าใจกฎเกณฑ์ ต่างๆ

2.ความสามารถในการแก้ปัญหาซึ่งจะเน้นในเรื่อง
ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสภาพการณ์ ใหม่
ได้อย่างเหมาะสม

3.ความสามารถในเรื่อรื่งต่างๆ เช่น ความสามารถ
ทางด้านภาษา สัญลักษณ์ ความสามารถทาง
คณิตศาสตร์ ความสามารถทางด้านมิติสัมพันธ์

ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาวน์ปัญญา



นักจิตวิทยาที่ศึกษาในเรื่องพัฒนาการทางเชาวน์
ปัญญาที่สาคัญ คือ เพียเจท์ (Piaget) และบรูนเนอร์
(Bruner) บรูนเนอร์ (1966) ได้ศึกษาพัฒนาการทาง
เชาวน์ปัญญา และได้สรุปลักษณะที่สาคัญ ดังนี้

32

พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาจะเพิ่มความอิสระต่อ
สิ่งเร้ามากขึ้น โดยในวัยวัเด็กจะมีความสามารถใน
กวขึัผ้นาู้ใรเขหตาอญจ่บะเสมม่ีนืคออเวดงา็ตกม่อแสสติา่่งมลเะรา้คราอถนยใม่ีนาทงกักมาีษขรีสะดใรจ้นาางกกคัาดวรกาใวมช่้าภสวั่มาใษพนัานวมัยธ์ารกะ
หว่าว่งสิ่งเร้าและการตอบสนองได้อย่างถูกต้อง
พัฒนาการทางเชาวน์ปัญญาจะเพิ่มขึ้นตาม
พพถ้ัาอฒเนเดข็ากากไกา็มไ่รมมขี่คสอางวรกาถมรจะสบะาทมวานานกราถายรทคราับางดดรู้้คแานะลเะภนเากห็ษบราืสออะรยสืต่า้มังงขเส้พอมีมยูมลงุติ
ฐานต่ประสบการณ์ ใหม่ๆ ได้

ส่วนเพียเจท์ได้อธิบายถึงพัฒนาการทางเชาวน์
ปัญญา โดยแบ่งพัฒนาการออกเป็น 4 ขั้น คือ

1. ขั้นการใช้สัมผัสและกล้ามเนื้อ (Sensory –
Motor Stage)

2. ขั้นเริ่ม
ริ่ต้นคิด (Preoperational Stage)

3. ขั้นความคิดเชิงรูปธรรม (Concrete
Operational Stage)

4. ขั้นความคิดเชิงนามธรรม (Formal
Operational Stage)

สิ่งมีอิทธิพลต่อเชาวน์ปัญญา
1. พันธุกรรมเป็นตัวพื้นฐานระดับความสามารถ
ทางเชาวน์ปัญญา และ มีผลในการกาหนดระดับ
เชาวน์ปัญญา
พัฒ2.นสิา่งกแาวรดทลา้องมเชเาป็วนน์ตปััวญส่งญเสาขริมองริมหนรุือษรยื์ขแัดสขดวงาคงวต่าอม
สัมพันธ์ระหว่าว่งคะแนนเชาวน์ปัญญาและพันธุกรรม
กับส่ิงแวดล้อม

33

สรุป
เชาวน์ปัญญามีความสาคัญและมีผลต่อความสาเร็จ
ปทัญางญด้าาเนป็ตน่าองงๆค์ปขรอะงกมอนบุษเยด์ีกย็จวทรีิ่งจระิอทยำู่แใตห่้มมิในุชษ่ ยว่์าปเชระาสวบน์
ปคัวจาจัมยสปารเะรก็จอเบพอืร่นาๆะคอีวกามมาสกำมเรา็จยขทอั้งงมปันจุจษัยย์ดข้ึา้นนอร่ยาู่กงักบาย
กแเหรืลาม่อระางครูยเ้จชวทักีาา่ตมตวั้้นอสง์งปเาปักม้ญาาาญหรรไมถาดขใา้ออยนยงก่ตบาัาุ้งงครคถเูคลวกืลาอตม้มกิอใเหงดชเวิ่นหัเงพทืมว่ัสอาารใงะ้าชสเ้พงเมื่ปแอ็รกไเงคาปจรูรสืงูศ่่อเึใปกงจ้มษาือา
ในการตัดสินความฉลาดมากน้อยของคนเพียงอย่าง
เดียวเท่านั้น

บทที่ 7



จิตวิทยา
การรับรู้

35

กากรแารปรลับครูว้ า(มPsหyมcาhยolจoาgกyกoาfรสleัมaผrัสniโnดgย) เหริ่มมาตั้ยงถแึงต่
การมีสิ่งเร้ามา กระทบกับอวัยวะรับสัมผัสทั้งห้า และ
ส่งกระแสประสาท ไปยังสมอง เพื่อการแปลความ



องค์ประกอบสำคสัญำคขัอญง4กาปรรเระียกราีรนรู้มีองค์ประกอบ

1. แรงขับขัน เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัว
บรุะคบคบลปเรป็ะนสคาทวาสมัมพสัรผ้ัอสมแทลี่ะจกะเลร้าียมนเรนูื้้ขอองบุคคลทั้งสมอง

2. สิ่งเร้า เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์
ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทำให้บุคคลมีฏิกิริยาหรือรื
พฤติกรรมตอบสนองออกมาในสภาพการเรียน
การสอน

3. การตอบสนอง เป็นปฏิกิริยาหรือพฤติกรรม
ตจ่าากงๆสิ่งทเี่รแ้าสทดั้งงสอ่วอนกทมี่สาัเงมเื่กอตมีเบหุ็คนคไลด้ไแดล้ระับส่วรนักทาี่รไกม่ระตุ้น
สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว คำพูด
กา4รค.กิดารกเาสรริรมับแรรัรูง้ เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคล
อสิ่ันงเมรี้าผกลับในกการาตรเอพิบ่มสพนอลังงเใพหิ่้มเกขิึด้นการเชื่อ โยงระหว่าง

36

ลปำรดะับกอขั้บนดข้วอยงกขั้นารตเอรียนนพื้รูน้ ใฐนานกทรี่ะสบำวคนัญก3ารขเั้รนียขัน้ตรอู้จนะ
1. ประสบการณ์ ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาท

แจรผปิับะลวร้ใ2หวะรูห้.สอน้ขคบัาัย้งุูนว่คดทาตป้ค่วสมอรยัลมะเไกไขสปผ้ัดนาัา้สกใรทท็ทัคัจบั้ร้งืงอัรบหสูหิต้้แน้ลรีูาคั้ลหงซสึวะจ่่ลงวตา่าาไนมกอนดีใบหบ้้จแุหมสคะกญเน่าค่ป็ยทตอลีน่งเาเไปเปต็ดส็่ห้นนอูมรืหสัทจบิีอ่่งมลเรนููัเข้กกปร้ช้า่การอใลติาะ้งจ่นสราปกใงบ็แรคนกืลๆะอตะาูรทีณ่ ์
ประสบการณ์ นั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือ
จิตขึ้นของบุคคลเพราะสมองจะเกิดสัญสัญาณ และมี
ความทรงจำขึ้น ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้ว่า "ความ
เข้า3ใ. จค"วใานมกนาึกรคเิรดียคนวรู้ามนึกคิดถือว่าเป็ นขั้นสุดท้าย
ขไดอ้งกกล่าารวเวร่าียคนวราู้มซึน่ึงกเปค็ิดนทกี่รมีะปบรวะนสิกทาธริภที่าเพกิดนัข้นึ้นนัใ้ตน้อสงมเปอ็ นง
ความนึกคิดที่สามารถจัดจัระเบียบประสบการณ์ เดิม
กับประสบการณ์ ใหม่ที่ได้รับให้เข้ากันได้

37

ประโยชน์ของจิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิยาการศึกษามีประโยชน์สำหรับบุคคลทุกวัย
แไมน่ะเฉแพนวาะศคึกรูษผู้าสนอิเนทเศช่กน์ หผัู้วบหรัหิหนร้ิาาหรกน่าวรยศงึกานษตา่านงักๆ รวม
ทั้ง1บ.ิชด่วายมใหา้รคดรูาเขผู้า้ปใจกธครรรอมงชใานติด้คานวาต่มาเงจๆริญต่อเตไิบปโนีต้ ของ
สเคดอว็กนาแมไลดต้้ะออสยงา่กามงาาเรหรคถมวนาาำะมคสสมวนาแมใลจรู้ะขทีส่อไองดด้เมดค็กาล้จอัแดงตกก่ลัาบะรธวเัรยรียรมนกชาารติ
2.ช่วยให้ครูสามารถเตรียมบทเรียน วิธีสอน จัด
กิจกรรมตลอด จนใช้วิธีการสัดและประเมินผลการ
ศึกษาได้สอดคล้องกับวัย ซึ่งเป็นการช่วยให้จัดการ
เรียนการสอนมีประสิทธิภาพ
3.ช่วยให้ครูสามารถจัดจักิจกรรมได้อย่าง
สนุกสนานด้วยบรรยากาศของความเข้าใจ การให้
ความร่วมมือและให้การยอมรับซึ่งกันและกัน

บทที่ 8
จิตวิทยา
การจัดการ
เรียนรู้

39

กเรวแจิิ็ปิิ็ญาตปไก

40

จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้แบ่งเป็น 3 กลุ่ม

1. พุทธิพิสัย หมายถึง การเรียนรู้ในด้านความรู้
ความเข้าใจ
2. จิตพิสัย หมายถึง การเรียนรู้ด้านทัศนคติ
ค่านิยม ความซาบซึ้ง
งกปาารน3ระกเส. รทงาียัครก์นเใษรรนูีย้ะมกพนาิากสปรัยาเรรระีหยสยุมอนกนราตู้์ยผูใ้ถสชึ้องเนพกืจ่าอำรใเเหรป้ี็ยผนู้นเรตรีู้ย้เอกนีง่ยบนวำรกรทับลุฤจปุษดฏฎิบีัติ

ทฤษฎีการเรียนรู้ทางกด้ลุา่มนจิตวิทยามีทั้งหมด 3

จิต1วิ.1ทก.1ยลุอ่ามีวทีทา่อนฤยูษ่พใฎนาีกกฟาลุล่รมอเรนฟีีย้ คน(ือIรvู้พanฤตPิกaรvรloมvน,ิย18ม4น9ัก-1936)
เนงัืก่อสนรไีรขวิแทบยบาชคาลวารสัสสิเกซียหรทือฤแษบฎีบกาสิ่รงเเรร้ียานรู้การวาง

1.2 จอห์น บี วัตสัน ( John B Watson คศ. 1878
-ค1ล9า5ส8สิ)คทที่ฤเกษิดฎีขกึ้นารกัเบรียมนนุรษู้กย์ารวางเงื่อนไขแบบ

1.3 เบอร์รัส สกินเนอร์ ( Burrhus Skinner)
ทคครรฤููเยษิป่1็งฎ.น4ใีกหผูเ้้าใพขร้ีหอเย้รขมเีู้ยอจลนทมม์ูรลูา(้กแกJาลเeรทะ่วaนาาัnไกงรเเPรงืiนี่ยaอักนนgเeไเรปtขี็ย)นแนกผบู้การบ็ัรบยิกจ่งขัดา้รอรกับมกาูขลรร้อะเรมทีูยำลนไรดู้้ที่
มากเท่านั้น

41

รใจูู้สหงิ้่ใง1เก.จท1115ีิใ่...ด555สนกคอ...213กาวดเกากากคยรมา่าาลเร้(รรจรอจรีปำGูยงงับรนaรใุกรงะูจรgัู้บตแ้ยnกตาคะe่ามสงวั)้รนสาเิทค่ปมงแ้าฤทาลตีดั่หษ้ระงหัรมบฎใีะวจการัูยง้ยไาขะวรทย้ีอเ่เตปรงาั็้ีวผยงนู้ไเนครวรี้วูย้ผา8ูน้มเเรขปัจี้ย็นำนนแเจพรืะ่งอรับ
1.5.4ความสามารถในการจำ
1.5.5 ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้
ไปแล้ว
1.5.6 การนำ ไปประยุกต์ ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไป
แล้ว
เปรรียะน11สิ..ไท55ด..ธ้78ิรภับกกาาทาพรรรแสแาูสงสบดดผงงลผอเอลร็กวกจพาะรฤทเรตำีิยกในรหร้รูม้กมีผลทีัลบ่เดรไีียแปนลยัะรงู้ ผู้เรียน ผู้
1.6 ธอร์นไดค ทฤษฎีการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
กับการตอบสนอง

2. ทฤษฎีการเรียอนยรูู่้ใกนลุ่กมลปุ่ัมญนีญ้ คาือนิยมนักจิตวิทยาที่

2.1 เดวิค พี ออซุเบล ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมี
ความหมาย
2.2 เกสตัลท์ Gestalt Psychologist 1912 ทฤษฎี
การใช้ความเข้าใจ
2.3 โคท์เลอร์ ( Kohler, 1925) การเรียนรู้โดยการ
หยั2่ง.4รู้ เจโรม บรูเนอร์ Jero Brooner ทฤษฏีการ
เรีย2น.5รู้แเพบียบเคจ้นต์พPบiaget ทฤษฎีพัฒนาการทางสติ
ปัญญา

บทที่ 9



จิตวิทยา
การจัดการ
เรียนรู้สำหรับ
เด็กปกติ

43

ทำไมต้องจัดจัการศึกษาแบบรวม

1.กฎหมายกำหนดให้จัดการศึกษาให้ประชาชนทุก
คนอย่างเสมอภาคกัน
ทัด2เ.ทสีิทยมธิสก่ัวนนบุคคลในการได้รับการศึกษาย่อม
3.การศึกษแบบรวม เป็ นการศึกษาที่เน้นผู้เรียน
เป็ นสำ คัญ
4.เป็ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ตรงตาม
วัตถุประสงค์ของนโยบาย และเป้ าหมายของชาติ

เรียนรวมหมายถึงอะไร



จำเกป็านรพจิัดเศกษารไศดึ้กรัษบาโใอหก้ผาู้สเรเีขย้านเทรีี่ยมีนคใวนาสมถต้าอนงศกึการษา
เดียวกันกับ เด็กทั่วไปโดยมีส่วนร่วมในกิจกรรม การ
เกราียรนดรำู้รงชีวิต อย่างไม่มีข้อจำกัด และ อุปสรรคใด ๆ
ตพิาเศมษศัทกี่ยจะภสาาพมขารอถงผเูร้เียรียนนไดที้่มีความต้องการจำเป็

44

ลักษณะของการจัดจัการศึกษาแบบเรียนรวม
รวมควจาะมต้แอตงถกือต่หางลัจกากการรูปดัแงบนี้บการจัดการศึกษาแบบ

1. เด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกัน
2. เด็กทุกคนเข้าเรียนในโรงเรียนพร้อมกัน
3. โรงเรียนจะต้องปรับสภาพแวดล้อมในการเรียน
สรู้ทะุด4กว.ดโก้ารแนงลเเรพะืีคย่อวนใาจหมะ้สตช้่าอวมยงาใเรหหถ้ลบืสอรอติก่นาาเงรด็ๆกสื่ไอทดส้าิท่งงุกกอำคานรนศวึยกคษวาาใมห้
แก่เด็กที่มีความต้องการจำเป็ นนอกเหนือจากเด็ก
ปกติทุกคน
5. โรงเรียนสามารถจัดการศึกษาได้หลายรูปแบบ
ในโรงเรียนปกติทั่วไปโดยจัดให้มีสภาพแวดล้อมที่มี
ขีดจำกัดน้อยที่สุด

รูปแบบการจัดจัการเรียนรวม
1. ชั้นเรียนปกติเต็มวัน จัดเด็กที่มีความต้องการ
พิเศษเข้าเรียนร่วมกับเด็กปกติและเหมือนกับเด็ก
ปกติทุกประการ ยึดชั้นเรียนประจำชั้นครูประจำชั้น
ดูแล
2. ชั้นเรียนปกติเต็มวันและมีครู การศึกษาพิเศษ
ให้คำ ปรึกษาเหมือนข้อ 1 แต่มีครูการศึกษาพิเศษ
คอยช่วยเหลือครูประจำชั้นในฐานะครูที่ปรึกษา ไม่
ทำการสอนโดยตรงแต่ให้คำแนะนำแก่ครูประจำชั้น
ช่วยทุกอย่าง จัดหาสื่อ ประเมินผลพัฒนาการ
3. ชั้นเรียนปกติเต็มวันและบริการครูเดินสอนเป็น
คกวารามจัดดูกแาลรขเรอียงคนรตูปารมะปจกำชตั้ินใแนตห่้ไอดง้เรรับียบนรปิกกาตริอด้ยาู่นในการ
สอนเสริม (จากครู เดินสอน) โรงเรียน และ ประมาณ
3เด-ิน4สคอนน)โดยต้องไปสอนตามโรงเรียนต่างๆ (เรียกว่า

45

4. ชั้นเรียนปกติเต็มวัน และ บริการสอนเสริม
เป็นการ เรียนตามปกติและได้รับบริการสอนเสริม
จากครูการ ศึกษาพิเศษบางวิชาตามความต้องการ
ของเด็กใน ห้องสอนเสริมวิชาการ (Resource
Room)
บา5งว. ิชชั้ านเจรัดียชัน้ นพเิรเีศยษนใพินเโศรษงโเรดียยนรปวมกปติรแะเลภะทเรขียอนงรเ่ดว็กม
พเพปิิ็เเนศศผษษู้ดไเูขแว้้าลเปเแ็รนีลยกะนสลุร่อ่มวนมหแ้ใอทนงบเชัด้นทียุเกวรีวกยิัชนนาปมมีกีคบตริูากกงับาวริเชดศาึ็กกใปหษ้กเาดพต็ิิกเศษ

6. ชั้นเรียนพิเศษในโรงเรียนปกติ เป็นการจัดเด็ก
พเริีเยศนษพทิีเ่มศีคษวตาลมอพดิเกวาลราค่โอดนยขม้าีคงมรูกาการเรศีึยกนษอายพู่ิใเนศชัษ้นสอน
ทุกวิชา ซึ่งเด็กจะได้รับโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมไปกับ
เด็กปกติในโรงเรียน

เทคนิคการสอนในชั้นเรียนรวม



1. ต้องปรับเปลี่ยนหลักสูตรช้ั

บทที่ 10



จิตวิทยา
การจัดการ
เรียนรู้สำหรับ
เด็กพิเศษ

47

การศึกษาพิเศษ (Special Education) หมายถึง
การศึกษาที่ตัดให้แก่เด็กที่มีความต้องการพิเศษ
(children with special needs) ทางการศึกษาแตก
ต่างไปจากเด็กปกติเนื่องจากมีความจากมีความผิด
ปกติทางร่างกาย อารมณ์ พฤติกรรม หรือ สติปัญญา
ซอึ่ยง่ตา้งอเงหกมาาระกสามรแดูลแะลไเปด็้รนับพิปเศระษโยเพชื่นอ์ใจหา้กเดก็กาไรดศ้ึเกรษียอนยรู่้าง
เต็มที่ การจัดการศึกษาให้อก่เด็กกลุ่มนี้ จึงต้อง
ดำเนิน
มกีาเทรสคอนนิคโมดีเยทคครูนทิีค่ไวดิ้ธรีกับากราสรอฝนึกทีฝ่แนตมกาตเ่ปา็งนไพปิเจศาษกเด็ก
ปกติ การจัดเนื้อหาของหลักสูตร กิจกรรมการเรียน
การสอน อุปกรณ์ การสอนและวิธีการประเมินผลที่
เหมาะสมกับสภาพและความสามารถของแต่ละ
บุคคล เพื่อพัฒนาให้เกิดศักยภาพสูงสุด และ การ
จัดการศึกษาพิเศษนี้ อาจจักเป็นสถานศึกษาเฉพาะ
สำหรับ
เด็กที่มีความผิดปกติในระดับรุนแรง หรือ จัดการ
ศึกษาในโรงเรียนปกติในรูปแบบการเรียนร่วม
สำหรับเด็กที่มีระดับความผิดปกติไม่รุนแรงมาก


Click to View FlipBook Version