พุทธประวัติ ฉบับสาํ หรบั ยวุ ชน
พุทธทาสภิกขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบบั ภาษาอังกฤษ ของ ภิกษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
พทุ ธประวตั ิสําหรบั ยุวชนเลมนี้ แกไขปรบั ปรงุ ขน้ึ มาจากพทุ ธประวัตติ างประเทศฉบับหนงึ่ ซ่งึ แตง โดย ภิกษุสีลาจาระ (J.F Mc Kechnie)
นักศกึ ษาทางพทุ ธศาสนาท่รี ูจักกนั ดที ว่ั โลกผหู นึ่ง แตงขึน้ ใชสาํ หรบั สอนเด็กในลงั กา เหตุผลทต่ี องแกไขปรบั ปรงุ บางประการนัน้ ไดก ลา วไวใ น
บันทกึ ทา ยเลมของหนงั สือเลมน้ี ทงั้ น้ี เพ่อื เปน การแกไขความขาดแคลนหนังสอื อานสําหรบั ยุวชนชาวพุทธในประเทศไทย ไปเรือ่ ย ๆ เทาที่จะ
ทําได
ทําไมกองตาํ ราของคณะธรรมทานจงึ ไมแตง หนงั สือเลมน้ขี ึ้นใหมเอง โดยไมตอ งอาศัยฉบับทก่ี ลาวนนั้ ขอนเ้ี ปนเพราะรสู ึกเคารพตอ
ความสามารถในการแตง ของผแู ตงคนทกี่ ลาวน้ซี ึ่งทําไวเ ปนอยางดี ถงึ กบั เมื่อไดแ กไ ขสง่ิ บกพรอ งเลก็ ๆ นอย ๆ นนั้ เสียแลวกเ็ ปนหนังสอื ที่
เหมาะสมทสี่ ุด และเกนิ ความสามารถของพวกเราท่ีจะทําไดโ ดยไมเ ห็นตวั อยาง และแมเ ห็นตัวอยา งก็ไมอาจทาํ ไดด กี วา ขาพเจา ขอประกาศ และ
เทอดทนู ความดขี องทานผนู ี้ในกรณนี ้ีไวในท่ีนี้ดวย และพรอมกนั นี้ขออทุ ศิ สว นกศุ ลแหง การแปลและเรยี บเรียงแกไขจนสาํ เรจ็ รปู เปน หนังสอื
เลมน้ขี ้นึ แดทา นภกิ ษุสลี าจาระผลู ว งลบั ไปแลว ดว ยกศุ ลเจตนาทงั้ ส้ิน เพอ่ื บชู าเกยี รติคณุ ของทา นผนู ้ไี วตลอดกาลนาน
ขา พเจา ยอมรบั วาในหนงั สอื เลมนี้มีถอ ยคําสาํ นวนและเน้ือเรือ่ งทีม่ ุง ใหเ กดิ ผลทางอารมณท ํานองนวนิยายปนอยบู า ง แตท ้ังนีเ้ พือ่ เปน ผลดี
ในทางกลอมเกลานสิ ยั ยวุ ชนโดยสวนเดยี ว หาโทษอนั ใดมิได
มเี ร่อื งบางเร่อื งทผ่ี ูอา นอาจฉงน เชนกลาวถงึ การหามศพผานยา นตลาดและเผากนั ในลักษณะงา ย ๆ เชน น้นั เรือ่ งเชน น้ีผูทเ่ี คยไปอินเดีย
มาแลว ยอ มยืนยันไดว า แมกระทงั่ ในบัดน้ีกย็ งั เปนสิง่ หาดไู ด ไมตองกลาวถึงพทุ ธกาลเลย สาํ หรับเร่ืองพระองคลุ ีมารถกู ขวา งบาตรแตกกระจาย
ผูทีไ่ มเ คยทราบวา ครงั้ พทุ ธกาลมกี ารใชบ าตรดินเผากันเปนปรกติ ก็จะคา นวา กลาวพลอย ๆ เพราะวาเคยเหน็ แตบ าตรเหล็ก ฉะนนั้ ขอใหทา น
ผูอา นไดศึกษาในเร่อื งน้นั ๆ ใหพอสมควรเสียกอน กอ นทจ่ี ะวินิจฉัยอะไรโดยผลนุ ผลัน
การจัดหนาหนงั สอื เปน ขอ ๆ และมีเลขกาํ กับขอ นีเ้ ปน ความคดิ ใหม มงุ หวงั ใหเกดิ ความสะดวกในการศึกษาจดจําและอางอิง ซงึ่ จะทาํ ได
ละเอยี ด ลงไปกวา การอานเลขหนา ในการทาํ ปทานกุ รมกไ็ ดอ า งถงึ เลขประจําขอนี้แทนการอา งถงึ เลขหนา
เรอ่ื งทค่ี วรกลา วไวในทีน่ ี้อกี เรื่องหนึง่ กค็ อื ในการทําหนงั สอื เรอ่ื งนี้ทา นอภิปฺุโญภิกฺขไุ ดใหความชว ยเหลอื เปน อยา งมากในการชว ย สอบ
ทานสง่ิ ที่อาจพลงั้ พลาดในการคัดลอกและอ่นื ๆ ตลอดจนการพยายามทําปทานกุ รมทายเลมขน้ึ ดว ยความอตุ สาหะพากเพียร จนสาํ เรจ็ รปู ดงั ที่
เหน็ อยนู ้ี ขอบรรดาผทู ีไ่ ดร ับประโยชนจากการนจ้ี งไดอนโุ มทนาโดยทั่วกัน
ในที่สุด คณะธรรมทานมคี วามหวงั วา หนังสอื เลมนจี้ ักเปนส่ิงท่ชี วยแกปญ หาความขาดแคลนหนังสอื อานสําหรับยวุ ชนชาวพุทธในประเทศ
ไทย ไดบ า งไมมากกน็ อ ย
พุทธทาส อินทปญโญ
ในนามกองตําราคณะธรรมทาน
ไชยา
12 สงิ หาคม 2497
พุทธประวตั ิ ฉบบั สาํ หรับยุวชน
พทุ ธทาสภิกขุ แปลและเรียบเรียงจาก ฉบบั ภาษาอังกฤษ ของ ภิกษุสลี าจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 1 กาํ เนดิ พระสิทธตั ถะ
เมือ่ 2500 ปม าแลว ในดนิ แดนซึง่ บัดน้ีเปน เขตของประเทศเนปาลและของประเทศอินเดีย ตอนทเี่ ปน มณฑลอธู (Oudh)
และมณฑลพหิ ารเหนือ (North Behar) นั้น มีอาณาจกั รนอ ยๆ ของชนเชื้อชาติตางๆ ต้ังอยดู ว ยกนั หลายอาณาจกั ร แตล ะ
อาณาจักรมพี ระราชาของตนๆ เปนผปู กครองบา ง มคี ณะบุคคลท่ีนบั เน่อื งในราชสกลุ เปน ผูปกครองบาง ในบรรดา
อาณาจักรเลก็ ๆ เหลานน้ั มีอาณาจักรหนึง่ ตั้งอยตู รงพนื้ ทท่ี างทิศเหนือของจังหวัดโครักขปรุ ะ (Gorakhapore) ในปจจบุ นั ทาง
ฝงเหนอื ของแมนํ้ารัปตี (Rapti) เปน ดนิ แดนของชนท่มี ีเชอ้ื ชาติ อนั เรยี กกันมาวา พวกศากยะ พระราชาซ่ึงปกครองชนชาติน้ี
ในครง้ั นัน้ มีพระนามวา พระเจาสุทโธทนะ พระเจาสุทโธทนะมีชอื่ สกลุ วา โคตมะ ดงั น้ัน พระองคจงึ ทรงมพี ระนามเต็มวา
สทุ โธทนะโคตมะ นครซึ่งเปนราชธานขี องอาณาจักรและท้ังเปน ท่ีตง้ั แหงราชสาํ นักของพระองคนน้ั มนี ามวา กบิลพสั ดุ
พระเจา สุทโธทนะมีพระอคั รมเหสนี ามวา สริ ิมหามายา เม่อื ทรงอยรู วมกันมาเปน เวลานานดวยความผาสกุ พระเทวีได
ทรงมพี ระครรภ และทรงรูพระองคว าจักถึงเวลาประสตู ิในไมนานนักแลว ไดท ลู ขออนญุ าตจากพระราชสวามี เพ่ือเสด็จไป
เยย่ี มนครอนั เปนท่ีกาํ เนดิ ของพระเทวเี อง อันมีนามวา “ นครเทวทหะ” และต้ังอยไู มหา งไกลกันนกั พระเจา สทุ โธทนะได
โปรดประทานอนญุ าตแกพระมเหสขี องพระองค ดว ยความเต็มพระทยั ไดท รงสงบรุ ษุ ไปตระเตรียมหนทางสาํ หรับการ
เสด็จของพระนาง และใหเ ตรียมทกุ ๆ อยางเพอื่ ใหเ กดิ ความบนั เทิงเรงิ รน่ื ในการเสด็จไปเยย่ี มพระญาติวงศของพระนางเอง
ในครง้ั น้ี ท่ีกึ่งทางระหวางนครกบิลพสั ดกุ ับนครเทวทหะตอ กนั น้ัน มีสวนปา หรือวโนทยานอยูแหงหนง่ึ เรยี กกันวา สวน
ลุมพนิ ี ทน่ี เี้ ปนสถานทซ่ี งึ่ ประชาชนแหง นครทั้งสองไดพ ากันไปเท่ียวเลนในฤดูรอน หาความบนั เทงิ ภายใตร มไมสาละ
ใหญๆ อันมอี ยทู ั่วๆ ไป ในอทุ ยานนน้ั ขณะน้ันเปน วันเพ็ญในเดือนพฤษภาคม ตนสาละใหญๆ เหลา นป้ี กคลมุ ไปดว ยดอก
อันสวยงาม แตโ คนตน จนถึงยอด บนก่ิงยาวๆ ของมันมีหมูนกนานาชนดิ กําลงั รองดว ยสําเนยี งอันไพเราะ ทําใหอากาศออ้ื องึ
ไปดวยเสียงอันจับใจ และตามดอกไมอ ันมอี ยมู ากมายเหลือทจี่ ะคํานวณไดน้ัน ก็เต็มไปดว ยแมลงผึ้งทาํ เสยี งหึ่งๆ และงวน
อยูด ว ยการเกบ็ นํ้าหวานจากดอกไมเหลานั้น
เมอื่ ขบวนเสด็จของพระเทวผี า นมาถึงวโนทยานแหง นี้ พระนางสิรมิ หามายา ทรงมพี ระประสงคจ ะทรงพักเลน ในสวน
นสี้ กั ครหู น่ึง ตามรมเงาอนั เย็นเพราะเปนเวลาเที่ยงวัน ดังน้ันพระเทวจี ึงทรงรับส่ังใหเ ขานําพระองคผา นไปตามระหวางหมู
ไมในอทุ ยานนน้ั แตช ่ัวเวลาอนั ไมน านในขณะท่ีพระเทวีกาํ ลังเสดจ็ ดาํ เนินไปมาโดยทรงเพลิดเพลินอยกู บั ส่งิ สวยงาม และ
เสยี งอันไพเราะในสวนนั่นเอง พระนางทรงเกดิ ความรสู กึ พระองคข้ึนมาอยางกระทนั หันวา จักตองมีการประสูติในสถานที่
น้นั เสียแลว ตอ มาอีกช่ัวเวลาเล็กนอ ย พระนางกไ็ ดประสูติพระโอรส ณ สวนลมุ พินี ภายใตตนสาละ อันเต็มไปดวยหมนู ก
และแมลงผึ้งนั่นเอง สถานท่ีอันเปนที่ต้ังแหงสวนลมุ พนิ ีน้ัน เปนที่รจู กั กนั ไดไมย ากในสมยั น้ี เพราะพระเจา อโศกมหาราช
ซึง่ ครอบครองประเทศอนิ เดีย ในเวลาสามส่ีรอ ยปต อ มาจากสมัยของพระเจาสทุ โธทนะน้นั ไดท รงรบั สั่งใหสรางเสาศิลาอัน
สูงใหญข ึ้นตรงท่ซี ่ึงเปนท่ีประสูติของพระโอรสแหง พระเจาสทุ โธทนะและพระนางสิริมหามายาแหงนครกบิลพัสดุ เพ่อื
เปนเครื่องกําหนดหมายสถานที่อันสําคัญนั้น
ที่เสานั้น พระเจาอโศกมหาราชรับส่ังใหจ ารึกอกั ษร ซงึ่ ยงั คงอานไดอยจู นกระท่ังทุกวนั นี้ มขี อความวา พระองคทรงได
สรางเสานีข้ นึ้ เพ่ือใหชนชนั้ หลังทราบไดถ ึงสถานทีท่ ่ีเคยมีเหตกุ ารณอ ันสําคัญคือ การประสูติของพระพทุ ธองค แมเ วลาจะ
ลวงมา นับแตก าลน้นั มาจนถงึ บัดนี้ 2,000 ปกวาแลวก็ตาม แมเ สาทอนบนจะไดหกั ออกและทอนท่เี หลือจะเคยเอยี งเอนไป
ทางหน่ึงแลวกต็ าม เสานนั้ กย็ ังคงอยูในท่ีซ่ึงพระเจาอโศกรับส่งั ใหสรา งข้นึ นนั่ เอง สบื มาจนถงึ ทุกวนั น้ี พรอมดวยอักษร
จารกึ ทีก่ ลาวแลว มปี ระชาชนจํานวนมากไดไปเยี่ยมและนมัสการสถานทีน่ ้ที กุ ๆป
เม่อื พระนางสริ มิ หามายาไดประสตู พิ ระโอรสในสวนลุมพินีเชน น้นั คนท้ังหลายก็งดการพาพระนางไปสูน ครเทวทหะ
แตไดนํากลบั คืนสนู ครกบลิ พสั ดุ พระเจา สุทโธทนะทรงดีพระทัย และทรงจัดใหพระเทวีและพระโอรสของพระองคไดร ับ
การเอาใจใสเปนอยา งดี บนทวิ เขานอกเมืองกบิลพสั ดุ เปนทอ่ี ยูแ หงฤษีจาํ นวนมาก ในบรรดาฤษีเหลา น้นั มมี หาฤษผี ูสูงอายุ
รูปหนึง่ ช่ือ กาฬเทวลิ เปน ทเี่ คารพนับถอื อยา งสงู ของชาวเมืองกบิลพสั ดุ แมพ ระเจาสทุ โธทนะเอง ก็ทรงมีความเคารพรกั
ใครใ นฤษีรปู น้ีเปนพเิ ศษ ดังนั้น เมอ่ื ฤษผี ูเ ฒาไดทราบวาพระราชาซึ่งเปน มหามิตรของตนไดโอรสประสูติใหมเ ชนนนั้ ก็
ไดมาสรู าชสํานักแหง นครกบิลพัสดุเ พอื่ ดพู ระราชกมุ าร เม่อื ฤษีมาถงึ พระเจาสุทโธทนะไดทรงประสงคจะใหท านอาํ นวย
พรแกพ ระโอรสของพระองค จงึ ไดท รงใหนําพระกุมารมาเพอื่ ทําความเคารพแกพ ระฤษี เมอ่ื พระฤษีไดเ หน็ พระราชกมุ าร
แลว ไดกลาวข้ึนวา "มหาราชเจา ! มันไมใชพระโอรสของพระองคท่คี วรแสดงความเคารพตอ อาตมาเสยี แลว แตม นั เปน
อาตมาเองตา งหากท่คี วรแสดงความเคารพตอ พระโอรสของพระองค อาตมาไดเ ห็นชดั แลววา พระกุมารนีม้ ิใชเ ปนกุมารตาม
ธรรมดา อาตมาไดเหน็ ชดั แลววา เมื่อพระกุมารน้เี จริญวยั เตบิ โตเต็มท่แี ลว จกั เปนศาสดาเอก สอนธรรมอันสูงสุดแกโลก
โดยแนนอนทเี ดียวอาตมาม่ันใจวาพระกุมารน้ีตองเปน ศาสดาอันสงู สดุ ทีโ่ ลกจะพึงม"ี
เม่อื กลา วดงั นี้แลว พระฤษไี ดน ิ่งอึ้งอยขู ณะหน่งึ มใี บหนายิ้มแยมแจม ใส แสดงความปล้มึ อกปล้ึมใจออกมานอกหนา
แตแ ลวน้ําตาไดคอ ยๆ ไหลซึมออกมาทีละนอ ยๆ จนกระทั่งเปน การรอ งไหม นี ้ําตานองทเี ดียว พระราชาไดตรัสถามดว ย
ความตกพระทยั อยา งยงิ่ วา "ทาํ ไมกนั เกิดเรือ่ งอะไรแกพ ระคณุ เจา เลา เมอื่ ตะกี้นพ้ี ระคณุ เจาไดยมิ้ อยู บดั น้ีกลับรอ งไห มี
เหตุการณอะไรรา ยแรงหรอื พระคณุ เจา ไดม องเห็นเหตุรา ยอันใดอันหน่ึงซง่ึ จะเกิดขึ้นแกโอรสของขาพเจาหรือ"
พระฤษีไดท ูลวา "หามิไดเลย มหาราชเจา พระองคอ ยา ไดท รงตกพระทัยเลย ไมมีเหตุรา ยอนั ใดจะมาแผวพานพระโอรส
ของพระองคได เกียรติคณุ ของพระกมุ ารจักรุงโรจน พระกมุ ารจักเปน ผูเรืองอํานาจอันสงู สุด"
พระราชาไดตรสั ถามวา "ถาเชนน้นั ทําไมพระคณุ เจา จึงรอ งไหเลา " พระฤษีไดท ูลวา "อาตมาภาพรอ งไหเพราะเห็นวา
อาตมามีอายมุ ากจนจะตองลว งลับไปในไมชา จักไมมโี อกาสอยูเห็นพระโอรสของพระองคไดต รัสรูเปน พระศาสดาอัน
สงู สดุ ในวันหนา ดกู รมหาราชเจา พระองคจกั ทรงมพี ระชนมายุอยูจนถงึ วันอันนํามาซ่ึงความสขุ อยางยิ่งนั้น ชนเหลาอื่นเปน
อันมากกจ็ กั ไดป ระสพเหตุการณอันนน้ั สว นอาตมาไมมโี อกาสท่ีจะไดป ระสพโชคอนั ใหญห ลวงจึงไมอาจจะอดกลน้ั การ
รองไหไวได"
เมอ่ื พระฤษกี ลา วดังนนั้ แลว ไดลุกข้ึนจากท่ีน่ังทรดุ ตัวลงประคองอัญชลดี วยมือทง้ั สอง แลว นอมตัวลงถวายนมัสการแก
พระกุมารนน้ั พระเจา สทุ โธทนะไดท รงตกตะลึงในคํากลาวและการกระทําของพระฤษี ผนู อมศีรษะอันขาวโพลนไปดว ย
หงอก กมลงทําความเคารพตรงหนา ของทารกนอยๆ แตในทส่ี ุด พระองคก็ไดท รงรูส กึ วา แมพ ระองคเ องก็ควรทรงกระทํา
เชนเดยี วกบั พระฤษีนั้นไดกระทํา ดงั นั้น พระองคจงึ ไดท รงประคองอญั ชลีแลวทรุดพระองคลงถวายบังคมแกพ ระโอรสของ
พระองคเอง ซึ่งยังเปน เพียงทารกอยูเชนเดยี วกับพระฤษนี ้นั
ในประเทศอนิ เดียในครั้งน้ันมธี รรมเนียมวา เม่อื เด็กผูชายเกิดมาไดห าวัน ในวันที่ครบหา น้ันจะตอ งมีการเชอื้ เชิญผูเ ปน
ปราชญม าประชุมกัน เพ่อื ทําพธิ ีสระเกลา แลวขนานนามแกกมุ าร ตามท่ที ป่ี ระชุมแหง นักปราชญเหลานั้นจะเหน็ ควร พระ
เจา สุทโธทนะก็ไดท รงประกอบพธิ ีดังกลาวน้แี กพระโอรสของพระองคต ามธรรมเนยี ม ครัง้ น้นั ท่ปี ระชุมแหง นักปราชญได
เลอื กเฟน แลว ขนานนามใหแ กพ ระโอรสของพระองควา "สิทธัตถะ" แปลวา "ผมู ีความสาํ เรจ็ สมประสงคในทุกสิ่งทกุ อยา ง
ท่ีตนต้ังใจจะทํา" นกั ปราชญเหลานั้นพากันกลาววา เขาไดมองเห็นวา พระกุมารนี้จักไมเ ปน ไปดังเชน กมุ ารท้งั หลายใด ถา
หากวาอยคู รองฆราวาส จักเปน พระราชาในเวลาอันสมควร แลวจกั เปนมหาราชาผจู กั รพรรดใิ นที่สดุ ถาหากวา ไมอยคู รอง
ฆราวาส แตออกบวชเปนนักบวชแลว ก็จกั เปน พระศาสดาชนั้ สูงสุดทํานองเดยี วกัน แตอ ยางไรกต็ าม ยงั มีนักปราชญค น
หนึง่ ในหมปู ราชญเ หลา น้นั ยืนยนั ผิดแปลกออกไปจากนักปราชญทัง้ หลาย ทานผูนี้ไดกลาววา ตามความเหน็ ของทา นแลว
ทานแนใจวา เมอ่ื พระกุมารน้ีเตบิ โตข้ึน จกั ไมเจรญิ รอยตามพระราชบิดาอยา งแนนอน แตจ ักสละราชบลั ลังก และ
ราชอาณาจกั รทุกส่งิ ทุกอยา งไวเบื้องหลงั แลว ประพฤติพรหมจรรยบรรลธุ รรมเปน ศาสดาเอกในโลก
เปนธรรมดาอยูเอง ที่พระราชายอมทรงดีพระทัยเปนอยา งยิง่ วา ประชาชนและนักปราชญร าชบณั ฑติ ท้ังหลายใน
อาณาจักรของพระองค ไดพ ากันหวังวา พระกุมารนอยนี้เม่ือทรงเจรญิ วยั แลว จักเปนมหาบุรุษ แตพ ระองคไมท รงสบาย
พระทัยในขอ ที่วา พระกมุ ารน้จี กั ไมเจรญิ รอยตามพระองคในการครองราชสมบตั ิ แตจกั ออกบวชเปนศาสดาผสู อนศาสนา
ไปเสยี พระองคทรงพระประสงคใหพ ระโอรสของพระองคท รงเปน อยอู ยางชาวโลก และทรงทําอยางท่ีชาวโลกเขาทํากัน
กลา วคอื การสมรสและมีบตุ ร เมือ่ พระองคเองก็ทรงชราภาพมากแลว จกั ไมอ ยูค รองอาณาจกั รไปไดน าน จงึ ทรงประสงคท ่ี
จะเหน็ พระโอรสของพระองคข ้ึนครองบลั ลังก ปกครองประชาราษฎรใหอ ยูเ ยน็ เปน สุขดังท่ีพระองคกระทาํ มาดวยความ
สวสั ดี
พระองคไดทรงราํ พงึ ในใจวา "ตอไปวันหนา ใครจะรูได บางทีลูกของเราจักเปนมหาราชครอบครองอาณาจกั รไม
เพียงแตนครกบิลพัสดุนอ ยๆ นี้เทา น้ัน แตจักครอบครองชมพูทวีปทง้ั หมดทั้งสนิ้ ก็ได" พระเจา สุทโธทนะไดท รงปลอบ
พระองคเองดง่ั น้ี ความคิดเชนนีเ้ อง ไดท าํ ใหพระองคทรงมคี วามหวัง และมีความอมิ่ พระทยั เปนอันมาก พระองคทรงตกลง
พระทัยในการท่ีจะทรงกระทําทุกส่ิงทุกอยางเทาทพ่ี ระองคจะทรงทําได เพ่อื ใหเปนทีแ่ นน อนวาพระสทิ ธัตถะจักอยูครอง
ฆราวาส และจะไมค ิดถึงสิ่งใดอื่นมากไปกวาน้ัน
แตใ นขณะเดยี วกัน พระองคตอ งทรงประสพความหมน หมองพระทยั ดวยเรื่องอ่นื อีกเร่อื งหนง่ึ จําเดิมแตพระนางเจาสิริ
มหามายาไดป ระสูตพิ ระสิทธตั ถะแลว พระเทวีไดป ระชวรและไมอ าจจะกลับมีพระกําลงั เขมแข็งดั่งเดมิ แมว า จะไดรบั ความ
ประคบประหงมอยางสูงสดุ ตามที่พระราชินที งั้ หลายพงึ จะไดร บั มีแพทยอยา งดี มีผูรักษาพยาบาลอยา งดี แตในที่สุด พระ
เทวกี ส็ น้ิ พระชนมชีพในวนั ทสี่ อง นับแตว ันทไี่ ดมีการขนานนาม หรือนบั เปนวนั ที่เจ็ดจากวนั ท่ีพระนางไดป ระสูติ
พระโอรส คนทุกคนไดพ ากันเศราโศกในการสิน้ พระชนมข องพระนาง ผทู ่ีโศกเศรา เปน อยางยงิ่ ก็คอื พระราชสวามขี องพระ
นาง เพราะเหตุท่ีพระนางเปนกลุ สตรีทปี่ ระเสรฐิ สุด เปน พระเทวีทีม่ ีคุณธรรมสูงเหนือสตรแี ละเทวีท้ังหลาย เมื่อเหตุการณ
เปน ไปด่ังนี้ พระราชาจําตอ งทรงประทานพระโอรสกําพรา มารดาองคนี้ ใหอ ยูในความอารักขาของพระเทวีองคหน่งึ ซ่งึ เปน
พระนานาง และมีนามวา มหาปชาบดี พระเทวีพระองคนี้ ไดท รงเอาพระทยั ใสท ะนถุ นอม ราวกบั วาเปนพระโอรสของ
พระองคเ องกป็ านกัน ดวยเหตุนี้พระสิทธัตถะกุมารจงึ ไมเ คยทรงเห็นพระพักตรพระมารดาอนั แทจริงของพระองคเ ลย
พุทธประวัติ ฉบบั สําหรับยุวชน
พทุ ธทาสภิกขุ แปลและเรยี บเรยี งจาก ฉบับภาษาองั กฤษ ของ ภิกษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 2 วัยกมุ าร
ตามท่ีพระฤษผี สู ูงอายแุ ละนักปราชญท้งั หลาย ผไู ดป ระชุมกันวนั ขนานนามของพระสทิ ธัตถะ ไดม คี วามเหน็ พอ งกนั วา พระโอรสของพระ
เจา สทุ โธทนะองคน ้ี มไิ ดเ ปนกมุ ารตามธรรมดานนั้ คํากลาวขอ นี้ไดป รากฏเปนความจริงยง่ิ ขนึ้ ทุกวนั ๆ เมอ่ื ไดรบั การทะนุถนอมจาก พระเจา แม
นา ผรู กั พระกุมารอยา งกะวา เปนพระโอรสของพระองคเ อง มาจนกระทง่ั พระกุมารมีพระชนมายุได 8 พรรษา พระราชาไดป ระทานครูบาอาจารย
เพือ่ ใหการศกึ ษาแกพระกุมารในการอานการเขยี นและวิชาคาํ นวณ โดยอาศยั การแนะนําของครอู าจารยเ หลานี้ พระกมุ ารไดศ กึ ษาวชิ าความรทู กุ
อยา งที่ควรศึกษานน้ั ไดอยา งรวดเร็ว วาโดยทแ่ี ทแลว พระกมุ ารทรงศึกษาไดอยางรวดเร็วและอยา งดยี ิง่ จนเปน ทฉ่ี งนสนเทหข องคนทุกคน
รวมทง้ั ครอู าจารยท งั้ พระราชบดิ าและพระมารดาเลยี้ งดวย เร่อื งใดที่พระองคจกั ตองทรงศกึ ษาเรือ่ งน้นั ไมม ีความยากลําบากแกพ ระองคเ ลย
ไดรับการบอกการแนะนําวิชาอยางใดๆ เพียงครง้ั เดยี ว ก็จาํ ไดท ันทไี มม ลี ืม และลกั ษณะอยางนี้ มีมากเปน พเิ ศษขนาดท่ีเรยี กวาผิดธรรมดา ในการ
เรียนวชิ าคํานวณของพระองค ทกุ ๆ คนเห็นชดั ไดโดยงายวา พระองคทรงมอี ะไรๆ เหนอื คนธรรมดาสามัญมากมายจริงๆ แมพระองคจะทรงมี
อัจฉรยิ ลกั ษณะอนั สงู สดุ ในการศึกษาถึงเพยี งน้ี ทง้ั ยังอยใู นสถานะมกฎุ ราชกุมารผูจ ะครองบัลลังกใ นอนาคตก็ตาม พระองคไมไดทรงละเลยทจี่ ะ
แสดงความเคารพนอบนอมในฐานะเปน ศษิ ยต อ ครบู าอาจารยทั้งหลาย เพราะทรงระลึกสาํ นึกอยวู า โดยอาศัยบรรดาครบู าอาจารยท ้งั มวลนี่เอง
คนเราจึงไดรบั ส่ิงซึง่ มีคา สงู สุด กลา วคอื วิชาความรู พระกมุ ารมปี รกตสิ ภุ าพเรียบรอ ยเปนนสิ ัย ทรงประพฤติตอ ทกุ ๆ คน และโดยเฉพาะตอ ครบู า
อาจารยเ ปน พิเศษ ในการแสดงความสภุ าพออนโยนเคารพนบนอบ
ในทางกาํ ลงั กายก็เหมอื นกัน พระองคทรงประกอบไปดวยคุณสมบตั ิไมน อยกวาคุณสมบตั ใิ นทางจิตและทางมรรยาท ไมต องกลาวถงึ ความ
สภุ าพทางกิริยาอาการ ไมต อ งกลา วถึงขอ ท่พี ระองคเ ปน สภุ าพบรุ ุษเต็มตามความหมายทด่ี ที ีส่ ุดของคาํ ๆ นี้ พระองคย งั เปน ผูที่กลาหาญ ไมครั่น
ครามในการแสดงฝม อื ทางกฬี าสําหรับผชู ายแหง ประเทศของพระองคด ว ย ในฐานะทไ่ี ดรับการอบรมมาอยา งผมู กี ําเนดิ ในวรรณะกษตั ริยคอื
นกั รบ พระองคทรงเปนนักขีม่ า ทีใ่ จเยน็ และหาวหาญ ทง้ั เปน นกั ขบั รถทีส่ ามารถและเช่ยี วชาญมาแตเ ล็ก ในการกฬี าอยา งหลังน้ี เคยแขง ชนะ
คูแขงทีด่ ที ่ีสดุ ในประเทศของพระองค แมกระน้ันเมอ่ื ถงึ คราวเอาจริงเอาจงั ในการท่ีจะชนะการแขง ขัน พระองคกย็ ังมีเมตตากรณุ าตอมา ของ
พระองค ทีเ่ คยชว ยใหพ ระองคม ีชยั ชนะอยเู สมอๆ โดยทรงยอมใหพระองคเ ปน ฝายแพเสีย แทนท่จี ะขบั เคยี่ วมา ใหม ากเกนิ กาํ ลังของมนั ไปเพอื่
เห็นแกค วามชนะถา ยเดยี ว
พระองคใ ชจะทรงปรานีเฉพาะแตม าของพระองคเ ทา นั้นก็หาไม แมส ตั วอนื่ ๆ ทุกชนดิ ก็ไดรบั ความเอือ้ เฟอ และความเมตตากรณุ าอยา ง
เดยี วกนั พระองคเ ปน โอรสของพระเจา แผนดินไมเคยทรงประสพความทุกข ความลําบากอยา งใดเลยก็จรงิ แตน าํ้ พระทัยของพระองคก ย็ ังทรง
หย่ังทราบถงึ จิตใจของสตั วเ หลา อื่น ดว ยความเห็นใจวาสตั วท ้ังหลายยอ มไมป รารถนาความเจบ็ ปวดเชน เดียวกัน ไมวา สตั วน ัน้ ๆ จะเปน สัตว
มนุษยหรือสตั วเ ดรจั ฉาน แมเมอ่ื พระองคย งั เปน กมุ ารเลก็ ๆ อยู กม็ ีลกั ษณะทีแ่ สดงใหเ หน็ วาพระองคทรงหลกี เลย่ี งทุกอยา งทุกทาง ในการที่จะ
กอความทุกขใ หเ กดิ ขึน้ แกส ตั วอ ่ืนอยางมากท่ีสดุ ทีพ่ ระองคจ ะทรงทําได ในท่ที กุ แหงและโอกาส และทรงพยายามทจ่ี ะปลดเปลอ้ื งความทุกขข อง
สัตวท ่ีกําลังไดรับทกุ ขอยูท กุ วิถที าง
คร้ังหนง่ึ เม่ือพระองคเสดจ็ ออกไปเทย่ี วเลนนอกเมอื งกบั พระญาติ ลกู เรยี งพ่ีเรียงนองของพระองคน ามวา เทวทตั ผูซ งึ่ ไดพ าคันศรและลกู ศร
ติดไปดว ย เจาชายเทวทัต ไดยิงหงสซ ง่ึ กาํ ลงั รอนผานมาบนศีรษะตวั หน่งึ ลูกศรถูกปก หงสท าํ ใหมนั ตองถลาตกลงมายงั พ้นื ดิน มแี ผลใหญเตม็ ไป
ดวยความเจบ็ ปวด เจา ชายท้ังสองพระองคตา งก็ว่ิงไปเก็บมัน แตเ จา ชายสิทธตั ถะไปถงึ หงสต ัวนนั้ กอน และไดอ ุม มนั ขนึ้ อยางระมดั ระวงั
พระองคไดทรงชกั ลกู ศรออกจากปก นก ทรงยัดใบไมม ีรสเย็นเขา ไปในบาดแผลเพ่ือใหโลหิตหยุดไหล และทรงลูบประคองไปมาอยา งเบาๆ เพื่อ
บรรเทาความเจ็บและความกลัวของนกน้นั เจาชายเทวทตั รสู ึกขดั เคืองพระทัยเปน อันมาก ในการท่ีพระญาตขิ องพระองคมาแยง เอานกไปเสยี ดัง่
น้ี จึงไดเ รียกรอ งใหพระสทิ ธตั ถะคนื นกใหแ กพระองคใ นฐานะทพ่ี ระองคเ ปน ผูยิงมนั ตกดว ยลูกศรของพระองคเอง อยา งไรก็ตาม เจาชายสิทธัต
ถะไดท รงปฏเิ สธทจ่ี ะมอบนกเจ็บตัวนน้ั ให โดยตรสั ตอบวา ถา นกตาย มันจึงจะเปนของผยู งิ แตเ มอ่ื มันยังมชี วี ติ อยเู ชน นี้ มนั กต็ องเปน ของผทู ี่
พยายามชว ยชีวิตมนั ไว ดงั นัน้ พระองคจงึ ไมมอบให ฝายเจาชายเทวทตั กย็ งั คงยนื กรานวา มนั ตองเปนของพระองคผ ทู ่ียงิ มนั ตกลงมาดว ยน้ํามอื
เอง ในท่สี ดุ เจาชายสทิ ธตั ถะเปน ฝา ยเสนอข้ึนวาขอพพิ าทรายน้ีควรจกั ตอ งนําไปเพอ่ื รบั การพพิ ากษาตัดสินชขี้ าดในทปี่ ระชุมแหง นักปราชญ
ของประเทศ ฝา ยเจา ชายเทวทตั ก็ยินยอม
ณ ทีป่ ระชมุ สาํ หรบั วินจิ ฉยั เรอ่ื งตางๆ ในวันนั้น ไดมีปญ หาเรือ่ งหงสต วั น้ขี ึน้ มกี ารถกเถยี งกนั มา ในทปี่ ระชมุ นน้ั บางทา นมีความเห็นอยา ง
หนงึ่ บางทานมคี วามเหน็ เปน อยางอ่ืน บางทานวา นกควรเปนของพระสิทธตั ถะ บางทา นวา ควรเปน ของเจา ชายเทวทตั โดยมเี หตผุ ลตา งๆ กนั
ไมเปนท่ียตุ ิลงไปได แตใ นท่สี ุดมีบุรษุ ผูห นงึ่ ซ่ึงไมเคยมีใครในที่ประชุมน้ันรจู กั มากอ น ไดล ุกขน้ึ ยืน และกลาววา “โดยแทจ รงิ ชวี ิตตอ งเปนของ
ผทู ี่พยายามจะชว ยชีวิตนนั้ ไว ชีวิตตองไมเ ปน ของผทู พ่ี ยายามแตจะทําลายมนั นกที่กาํ ลังบาดเจบ็ น้ี เม่อื กลา วโดยสทิ ธิอันชอบธรรมแลว ตองตก
เปนของบคุ คลท่พี ยายามชว ยชวี ิตมนั ไวแตฝา ยเดยี ว ดังนน้ั ขอใหน กตวั นี้ตกเปนของผทู ่พี ยายามชว ยเหลอื คอื เจาชายสทิ ธิธัตถะเถิด” ทุกคนในท่ี
ประชุม ลงความเหน็ ดว ยกบั ถอยคาํ อันมีเหตุผลเท่ียงธรรมนี้ การตดั สินกเ็ ปนวา ใหเ จา ชายสทิ ธัตถะเปน ผรู บั เอานกตวั ซงึ่ พระองคไ ดทรงพยายาม
ชว ยชีวิตนั้นไป พระองคท รงเอาพระทยั ใสในนกน้ันอยางเอือ้ เฟอ ท่ีสดุ จนกระท่ังแผลของมันหายสนิท และไดทรงปลอ ยมันสูความเปน อสิ ระ
กลบั ไปยังฝูงของมนั มคี วามสขุ อยใู นสระกลางปาลกึ สบื ไป
พทุ ธประวัติ ฉบับสาํ หรบั ยวุ ชน
พทุ ธทาสภิกขุ แปลและเรียบเรียงจาก ฉบบั ภาษาอังกฤษ ของ ภิกษุสีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 3 ในวยั รนุ
ในประเทศอินเดียแหงโบราณ คนทุกคนทราบดีวาทุกสิง่ ที่มนุษยเ ราพากันตอ งการนัน้ ยอ มสําเรจ็ มาจากพ้ืนดนิ เพราะฉะนนั้ ผซู งึ่ ทาํ หนาท่ี
ไถหวานแผน ดนิ จนกระทงั่ เกิดอาหารอนั เปน ของจาํ เปนสําหรบั มนษุ ยข ้ึนมาไดน ้ัน นับวา เปนบุคคลผูทําสง่ิ ซ่ึงจาํ เปน ท่สี ดุ และมปี ระโยชนท ีส่ ดุ
ใหแกป ระเทศชาตขิ องตน ดวยเหตุนน้ั จึงเกิดมีประเพณเี ปน ประจาํ ปในยคุ น้นั ทีพ่ ระราชาแหง ถิน่ แควน แดนนน้ั ๆ จกั ตองเสด็จสทู องนาดวย
พระองคเอง พรอมทั้งอํามาตยข าราชการของพระองคดว ย พระองคจ ะทรงจบั คนั ไถขน้ึ ไถนาดว ยพระหัตถเ พ่อื เปนตวั อยา งแกปวงประชาราษฎร
ของพระองค ในขอ ท่ีวา งานอนั มีเกยี รตินี้ ไมใ ชส่งิ ท่ีควรรังเกียจหรือละอาย
ณ กรุงกบิลพสั ดุ ในครงั้ น้ีเปนปลายฤดูรอ น อนั เปน ฤดเู ริม่ การทาํ นา พระเจา สทุ โธทนะกไ็ ดเสด็จออกจากนครพรอมดว ยขบวนหลวง เพื่อ
ทรงประกอบพธิ เี รยี กกันวา “รัชชนงั คลมงคล” ประชาชนท้ังนครไดตดิ ตามพระองคไป เพราะเปน พิธใี หญประจําป เพอื่ ดูพระราชาของตน
ประกอบพธิ ีอันสาํ คญั นี้ และมีสวนในการเลยี้ งอันเอิกเกรกิ ทสี่ ุด ซงึ่ เนือ่ งอยูด ว ยกนั แมพระราชากไ็ ดทรงพาพระโอรสองคนอ ยของพระองคไปสู
ทอ งนาคราวน้นั ดว ย แตทรงปลอ ยใหพกั อยูก บั คนเลย้ี งตามลําพงั พระเจาสทุ โธทนะเสด็จไปสทู ที่ ปี่ ระกอบพธิ ไี ถพ้ืนดิน ทรงจบั คันไถซึ่งประดับ
ดว ยทองคํา แลว ทรงเร่มิ ไถพืน้ ดินแหงทอ งนา ถดั ตามมาขา งหลังมหี มอู ํามาตยซงึ่ จับไถอันประดบั เงนิ แลวกถ็ งึ อันดบั ของหมูชาวนาธรรมดาทาํ
การไถตามมา ดว ยไถตามปกติของตนๆ เปนคๆู ลว นแตพลิกเนือ้ ดินดสี นี ้าํ ตาลเหลานน้ั ใหรว นเหมาะสมทจ่ี ะปลูกหวานสบื ไป
ครน้ั ตกมาถึงเวลาเล้ียงดกู นั พวกคนเลยี้ งพระกุมารไดท ยอยกนั มาสูทีเ่ ลยี้ งกันจนหมดส้นิ พากันลมื พระกมุ ารนั้นโดยสิน้ เชิง และไดทง้ิ
พระองคไวใ นทน่ี ัน้ แตพระองคเดียว เมอื่ พระกมุ ารรสู ึกวา พระองคทรงอยูแ ตพ ระองคเดยี วเชนนนั้ ก็ทรงรูส กึ สบายพระทัยเปน อยางยง่ิ โดยเหตุ
พระองคเ ปน เดก็ ฉลาดอยา งยง่ิ นัน่ เอง พระองคม ีพระประสงคท ่จี ะหาเวลาคดิ อยา งเงียบๆ ของพระองคในส่ิงท่ไี ดท รงเหน็ ในวันนี้ ในขณะทเ่ี ขา
กาํ ลังมีการเลย้ี งและรืน่ เรงิ กนั อยางยงิ่ นนั้ ดั่งนัน้ พระองคจ งึ เสดจ็ ดําเนนิ ไปอยางเงียบๆ ตามลาํ พงั จนกระทงั่ ถึงตน หวา ใหญ มใี บตกรม เงาเยน็
สนทิ ตนหนงึ่ แลว ไดประทับนัง่ ลงสาํ รวมจติ ใหวางโปรง จากอารมณทงั้ หลาย
พระองคไ ดเริม่ พิจารณาเปนขอแรกวา ณ ที่น้ี พระราชบดิ าของพระองค พรอมทงั้ อํามาตยแ ละชาวนาทง้ั หลายไดป ระกอบพธิ กี ารไถนา ทกุ
คนกําลังมคี วามรา เริงสนกุ สนานเลย้ี งดกู นั อยา งเต็มท่ี แตสาํ หรับวัวทุกตัวน้นั เลา ดไู มมคี วามสขุ สบายเสยี เลย มันตอ งลากไถอนั หนกั ใหไ ถไป
ตลอดพื้นดนิ อันเหนียว มันตองฉุดลากไถจนมนั หมดแรงเหน่อื ยหอบจนตองหายใจทางปาก ทําใหเ ห็นชดั ทีเดยี ววา ชีวิตน้มี ิใชเปนของ
สนกุ สนานสําหรับมนั เลย แมใ นวนั ทีพ่ วกมนุษยพากนั เลยี้ งดกู นั อยางสนกุ สนานเชนน้ี มนั กย็ ังจาํ ตองทาํ งานหนกั และมกั จะมีอยบู อ ยๆ ทม่ี นั ถูก
ตวาดดวยถอยคําอนั หยาบคาย หรือถงึ กบั ถกู ตีหนกั ๆ เพราะเผอิญมนั ทาํ ไมไ ดตรงตามความตอ งการของเจาของ เจา ชายสิทธตั ถะยังไดพ จิ ารณา
เหน็ ตอ ไปวา แมใ นขณะแหง ความบนั เทิงในวนั ทีร่ าเริงกนั อยอู ยา งยง่ิ นี้ กย็ งั มีสิ่งอนื่ อีกมากที่ไมไดรับความผาสกุ อยา งใดเลยอยเู ปนธรรมดา
ในขณะทพ่ี ระองคประทบั อยูภ ายใตต นหวานั้น พระองคไดทรงสังเกตความเคลือ่ นไหวของนกและของสตั วตา งๆ ตลอดถึงแมลงนานาชนิด
ในบรเิ วณนน้ั พระองคไ ดสงั เกตเห็นกงิ้ กา ตวั หนึง่ วิง่ ออกมาจากซอกใกลๆ พระบาทของพระองค แลว ใชล น้ิ อันรวดเรว็ ของมนั แลบตวดั จบั กิน
มดตัวเลก็ ๆ ซึ่งทาํ งานตามหนา ทข่ี องมันอยอู ยา งแข็งขัน แตชว่ั ขณะเล็กนอยเทานั้น งูตวั หนึ่งไดเ ลื้อยออกมางับเอากงิ้ กาตวั นัน้ แลวกลนื กิน และ
ในขณะท่กี าํ ลังทรงประหลาดใจอยูน ่นั เอง เหยีย่ วตวั หนงึ่ ไดถ ลาลงมาจากทองฟา อยา งรวดเรว็ จับเอางูตวั น้นั ไปฉกี กนิ เปน อาหาร เจาชายสทิ ธตั
ถะทรงพจิ ารณาอยา งลึกซง้ึ ยิ่งขึ้นไป และไดถ ามพระองคเองวา เมื่อสิ่งตางๆ มันเปน ดังน้ีแลว ความสวยงามทัง้ หลายซงึ่ ปรากฏอยใู นชวี ิตน้ี ยอ มมี
ความโสมมโดยประการทงั้ ปวงแฝงอยู ณ เบอ้ื งหลังของมนั มิใชหรือ แมพ ระองคยงั ทรงเยาววัยเชน น้ี และยงั ไมเ คยไดร บั ทุกขท รมานแตอ ยา งใด
เลยก็ตาม เมื่อพระองคไ ดทรงมองดโู ดยรอบๆ พระองค และทรงพิจารณาในสง่ิ น้นั ๆ แลว กท็ รงมคี วามรสู ึกวา ความทกุ ขอ ันใหญห ลวงกําลงั
ครอบงาํ คนและสัตวจ ํานวนมากอยูตลอดเวลา แมว า พระองคเ องจะกําลงั ทรงพระสําราญดอี ยู
เม่ือพระองคทรงรําพึงอยเู ชนนน้ั ทงั้ ท่ียังทรงเยาววยั อยูก็ไดม ีพระหฤทัยดง่ิ ลงสเู หวลึกแหง ความคดิ จนกระทั่งหมดความรูสึกตอสิง่ ทั้งปวง
ทรงหมดความรสู กึ ตอวนั ซง่ึ เขากาํ ลังสนุกสนานเลี้ยงดูกนั อยา งเอกิ เกรกิ หมดความรสู กึ ตอพระบิดา หมดความรูสกึ ตอ พิธไี ถนา และหมด
ความรสู กึ ตอทกุ สิ่งโดยส้นิ เชิง ในขณะน้ีพระองคท รงมีจิตดง่ิ แนว แนเปน สมาธถิ ึงข้นั ที่เรียกกันทวั่ ไปในหมโู ยคีท้งั หลายวา “ปฐมฌาน”
พิธไี ถนาและการเลย้ี งไดสิ้นสุดไปแลว พวกทม่ี ีหนา ทที่ ําการอารกั ขาเจา ชายระลึกข้ึนไดถงึ พระองค ก็รีบกลบั มาสทู ่ีที่เขาไดละทง้ิ พระองค
ไว ครัน้ ไมไ ดพบพระองค ก็พากันตกใจ แยกยายกนั ออกเสาะหาทุกหนทกุ แหง โดยเกรงวา ในไมชาพระราชาก็จะทรงเรยี กหาพระโอรสเพอื่ พา
กลบั คืนวัง ในทส่ี ุดเขาไดพ บพระองคป ระทบั น่ังนิง่ เงียบ ราวกะรูปหินสลกั อยภู ายใตตนหวานน่ั เอง
เจาชายกาํ ลังมพี ระทยั ดิ่งลึกอยูในหวงแหงความคิดของพระองค จนถงึ กบั ไมไ ดยนิ คาํ รองเรยี กของคนเหลานัน้ ในช้ันแรก แตเ ม่อื คนเหลานน้ั
ไดพยายามอยคู รูหนงึ่ ก็สามารถปลกุ ใหท รงตื่นจากสมาธิไดส ําเร็จ และรีบกราบทูลใหพระองคทรงทราบวา พระราชบดิ ากาํ ลงั รับสง่ั ใหหา
เพราะเปนเวลาสมควรท่ีจะกลบั ไปสูว งั แลว ด่งั น้นั พระองคจ งึ ไดทรงลุกและเสดจ็ ไปกับพระหฤทัยของพระองคเตม็ ไปดวยความสงสารตอสรรพ
สัตวซงึ่ มีชวี ิตอยู แตละตวั ๆ ลว นแตร ักชวี ิตของตนๆ เหลือประมาณ และกาํ ลังตอสอู ยูด วยความลาํ บากยากเข็ญ เพอ่ื ประโยชนแ กช วี ิตน่นั เอง
พระเจา สทุ โธทนะ ไดท รงวนุ วายพระทัยในการที่ไดท ราบวา พระโอรสของพระองคท รงเรม่ิ มคี วามคดิ นกึ จรงิ จัง ในปญหาชีวิตและ
ความหมายอนั แทจรงิ ของชวี ิต กอ นเวลาที่ควรจะเปน พระองคท รงหวั่นพระทยั เปน อยางย่งิ วา สิ่งซ่ึงพระฤษผี ูส ูงอายุไดเคยกลา วไวเ มือ่ แรก
ประสูตินั้น บดั น้ีจะเรม่ิ เปนความจรงิ ขน้ึ มาแลว กลาวคอื ความคดิ ของพระโอรสของพระองคไดเ รม่ิ หมนุ ไปในทางธรรมเสียแลว หากความคิด
เหลา น้ไี มร ะงับไป สง่ิ ท่พี ระองคเคยทรงหวน่ั วิตกอยา งย่งิ จักเกดิ ข้นึ โดยแนนอน คอื เจาชายสิทธตั ถะจักละท้งิ บานเรอื นไป และพระองคจ ักไมมี
พระโอรสเปน ผสู ืบบลั ลงั กแ หงประเทศของพระองค
ในขณะน้นั พระองคทรงตกลงพระทยั ทจ่ี ะทําอะไรบางอยาง เพอื่ โนมนาวดวงจิตแหง พระโอรสใหอ อกหางมาเสียจากความคดิ อนั รนุ แรงลกึ ซึ้ง
เชนนน้ั พระองคท รงตัง้ พระทัยในอนั ทจี่ ะกระทําทุกวถิ ีทางทจี่ ะทาํ ได เพือ่ ใหชีวิตในราชสาํ นักเปน ส่งิ ทีน่ ายนิ ดีและเพลดิ เพลนิ แกพระโอรสของ
พระองค จนถงึ กบั พระโอรสจะทรงเลิกละความคดิ ทคี่ นทงั้ หลายเขาไมค ิดกนั นั้นเสยี ได ดวยอาํ นาจแหง ความเพลดิ เพลินนัน้ พระองครับสัง่ แก
พวกชาง ใหสรา งปราสาทอนั สวยงามขนึ้ ถงึ 3 ปราสาทสาํ หรับพระโอรส ปราสาทหลงั ทหี่ น่ึง สรางข้ึนดว ยไมแกนอยางดี ภายในบดุ ว ยไมสดี า
อันมกี ล่ินหอม ภายในปราสาทอันอบอุนสบายหลงั น้ีพระองคทรงพระประสงคใ หพระโอรสประทับอยตู ลอดฤดหู นาว ปราสาทหลังที่สอง สรา ง
ขึ้นดวยหินออ นขัดมันเย็นเฉียบ เพือ่ ใหเหมาะสมและมีความสบายที่จะอาศยั อยูตลอดฤดรู อน อันเปน ฤดทู ท่ี กุ ๆ สิง่ ภายนอกปราสาทนั้น กาํ ลัง
รอ นระออุ ยดู วยแสงแดดอันแผดกลา ปราสาทหลังทส่ี ามสรา งข้ึนดวยอฐิ อยา งดี หลังคามุงดว ยกระเบ้อื งสีเขยี วเพอ่ื กันฝนอันตกหนกั ในฤดมู รสมุ
ในปราสาทหลงั สุดทายนพ้ี ระราชาทรงมงุ หมายใหพ ระโอรสประทับอยูตลอดฤดฝู นใหเ ปนสขุ ปราศจากความรบกวนของความชื้นและความ
เย็นเยือกแหง ละอองฝน
รอบบรเิ วณแหงปราสาทเหลา น้ี พระองครบั สงั่ ใหจัดเปนสวนอันรนื่ รมย ประดบั ดว ยไมร มเงาและไมดอกนานาชนดิ พรอมท้ังสระ อันมนี ํ้า
ถายเทเขาออกได ปลกู บัวทกุ ๆ สใี นสระเหลา น้นั เพื่อวาพระโอรสจะไดอ อกดาํ เนินเท่ยี วหรือขม่ี า เลนไดทกุ คราวทที่ รงพระประสงคแ ละจะไดรับ
อากาศเยน็ อนั บรสิ ทุ ธ์ิ รบั ความรมร่ืนและท้ังความงามของดอกไมทุกทิศทางท่ีพระโอรสจะทอดสายพระเนตร
พทุ ธประวัติ ฉบบั สําหรบั ยวุ ชน
พทุ ธทาสภิกขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบับภาษาอังกฤษ ของ ภิกษุสีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 4 ในวยั หนมุ
ในทีส่ ุด กาลเวลาไดผานไป เจา ชายไดทรงเริม่ ผา นวัยขึ้นมาเปนหนุม แตสิง่ อนั นารื่นรมยเ หลา นั้น กลาวคอื ปราสาทก็ตาม สวนกต็ าม สระนาํ้
ก็ตาม ท่เี ดินทเี่ ลนทขี่ ับมา กต็ าม ขา บริพารอันงามท่ีพระราชาจดั ประทานใหเ ปนอยางดกี ็ตาม กย็ งั คงเปนสงิ่ ทไ่ี มมคี ณุ คา อะไรในการที่จะหยดุ
ความคดิ อันลึกซงึ้ ของเจา ชายไดเ ลย พระราชาไดท รงสังเกตเหน็ ความจริงขอ นี้ พระองคไ ดท รงเหน็ วาทกุ ส่งิ ทกุ อยางทพี่ ระองคจ ดั ขนึ้ เพ่ือยึด
หนวงจิตใจเจา ชาย ใหติดอยใู นความเพลิดเพลนิ นน้ั ไดเปน สง่ิ ที่ลมเหลวไรผ ลโดยสน้ิ เชิง พระองคทรงเรยี กประชมุ อํามาตยท ้งั หลายของ
พระองค แลวรับสง่ั ถามคนเหลา นนั้ วา ยังมอี ะไรวิธีใดอีกบาง ท่พี ระองคจ ะทรงสามารถจัดทาํ เพอื่ อยาใหถ อ ยคําพยากรณข องพระฤษผี สู ูงอายุน้ัน
เกดิ เปนความจรงิ ขนึ้ มา
อาํ มาตยท ้ังหลายไดกราบทูลถวายความคดิ เหน็ ของตนๆ วา ทางทีด่ ีท่ีสุดในการยดึ หนวงจิตใจของเจาชาย อยาใหคิดไปในทางสละโลกน้นั
คือการจัดใหเจาชายไดสมรสกับสตรสี าวท่ีสวยท่ีสุดเสยี พรอมกบั ทลู อธิบายวา ดว ยการทาํ อยา งน้ี เจา ชายจกั พัวพนั อยกู ับพระชายา จนไมมีเวลาที่
จะหวนคิดถงึ ส่ิงอนื่ ใด จนเวลาลว งไปๆ กระทงั่ อยูใ นภาวะเหมาะสมท่ีจะข้ึนครองบลั ลังกตามความประสงคข องพระราชบดิ า ตามแบบอยา งที่
เขากระทาํ กัน พระราชาทรงเห็นชอบวา คาํ แนะนาํ อันนี้เปนคําแนะนําทีด่ ีทสี่ ดุ แตพระองคยงั ไมทรงวางพระทัยในขอ ที่จะเสาะหาสตรสี าวสวย
มาไดอ ยางไร ท่จี ะใหนารักนา เสนหา จนถงึ กับเม่อื สมรสแลว จะทําใหเ จาชายหลงใหลโดยส้นิ เชิง และมชี ีวติ อยโู ดยไมตอ งนึกถึงเรือ่ งอืน่ ใด
นอกไปจากความคดิ ที่จะทําใหสตรีทีร่ ักของตนนนั้ มีความสขุ อยางย่งิ แตอ ยา งเดียว
เมอื่ ไดทรงพนิ จิ พิจารณาอยูครหู นึ่งแลว พระองคกท็ รงพบความคิดอนั แยบคาย พระองคทรงบัญชาใหบ รรดาหญิงทมี่ รี ูปรา งงามท่ีสดุ ทง้ั หมด
ในประเทศของพระองค มาสูนครกบลิ พัสดุ ในวนั ทีไ่ ดกําหนดไว เพอ่ื ใหเ ดนิ ผานพระพกั ตรเ จาชายสิทธัตถะ ใหเจาชายมโี อกาสระบุวา สตรใี ด
เปน ผูที่สวยทส่ี ุดกวา บรรดาสตรีทงั้ หลาย และใหเจา ชายประทานรางวัลเพอ่ื ความงามของสตรผี ูนั้นเปนพเิ ศษ แมสตรอี ื่นทุกคนที่ไดม าแสดงตัว
ในท่ีนนั้ ก็จกั ไดรบั รางวลั อยางใดอยางหนึง่ โดยสมควรแกความงามของตนจากพระหตั ถข องเจา ชายเองเชนเดียวกนั
เมื่อพระเจาสทุ โธทนะทรงมีพระราชบัญชาออกไปดงั น้แี ลว พระองคยงั ไดทรงจดั เตรยี มใหอาํ มาตยผมู ากดว ยปญ ญาของพระองคจาํ นวน
หนึง่ ไปคอยเฝาดูอยู ณ ท่ีที่สตรีทัง้ หลายเดินผา นพระพักตรเ จาชาย เพ่ือจะไดส งั เกตวาเจา ชายจกั พอพระทยั ในสตรคี นไหนอยา งสงู สดุ แลวให
กําหนดตวั ไววา เปน ผูใ ดมาจากไหน จักไดก ลับไปกราบทลู ใหพระองคทรงทราบในภายหลงั ในทส่ี ุด วันแหง การประกวดความสวยงามกม็ าถึง
บรรดาหญงิ สาวที่งดงามท่ีสุดในประเทศ ไดเ ดินผานพระพักตรเจา ชายโดยลําดบั ทลี ะคนๆ เปน ขบวนแหง ความงามอยา งแพรวพราวทอตาเปน
ที่สดุ แตล ะคนไดร บั พระราชทานรางวัลจากพระหตั ถของเจา ชาย ตามทีเ่ จา ชายทรงเห็นวา ผใู ดควรจะไดรบั เพียงไร สตรเี หลา น้ัน แทนทีจ่ ะรูสึก
รา เริงยินดี ในการท่ีไดม เี กยี รติเขารับของรางวลั จากพระหัตถเ จา ชาย กลบั มแี ตค วามกลวั จนสะทกสะทา น จะกลบั มใี จราเรงิ ได ก็ตอเมอื่ ไดผ า น
พน ไปสหู มูเพ่อื นสาวของตน เปน อยูอ ยางน้ีคนแลวคนเลา มันเปน การชอบดว ยเหตุผลแลว ท่พี วกสตรเี หลา น้นั จะรูสกึ ดงั น้ัน เพราะวา เจาชาย
ของพวกเขาพระองคนี้ ไมเ หมอื นกับบรรดาชายหนมุ อนื่ ๆ ทพี่ วกเขาเคยพบปะมา เจาชายไมไดต ง้ั พระทัยตรวจมองความงามของหญงิ เหลานน้ั
เลย หรอื หากจะกลาวใหต รงความจริงยิ่งไปกวาน้ัน ก็คือวาพระองคไ มไดทรงมคี วามรสู ึกนกึ คดิ ใดๆ ในบรรดาสาวงามเหลาน้นั เลย
พระหัตถข องเจาชายสิทธตั ถะ ไดยืน่ ประทานของรางวลั ใหแกสตรีเหลา น้นั ก็จรงิ แตพ ระหฤทัยนนั้ กําลงั คิดครนุ อยูถ ึงส่ิงอื่นบางสงิ่ โดย
สิ้นเชิง มันเปน สิง่ ซงึ่ ใหญห ลวงกวา เปน จรงิ ยงิ่ กวา ดวงหนาอนั ยิม้ แยม และทา ทางรูปรา งอันเยา ยวนของสาวๆ เหลา นัน้ สตรบี างคนไดพดู วา
ขณะทพ่ี ระองคกาํ ลงั ประทับบนบลั ลงั กเพอื่ ประทานรางวัลอยูน ้ัน เธอรูสึกราวกะวา พระองคเ ปน เพียงเทวรปู องคใ ดองคหน่งึ มากกวาทจ่ี ะเปน
มนษุ ยธรรมดาสามญั
บรรดาอาํ มาตยท ่พี ากนั เฝาสงั เกตการณอ ยตู ามพระราชโองการนัน้ ไดเ กดิ ความรูส กึ หวั่นใจวา พวกเขาทงั้ หลายจะตองกลบั ไปกราบทูล
พระราชาในการไรผลโดยสน้ิ เชงิ แหงแผนการของพระองค เพราะวาเจาชายไมไ ดทรงแสดงความพอใจใดๆ ใหปรากฏ ในบรรดาสตรีงามทีผ่ าน
ไปๆ น้นั แมเ พียงคนเดยี ว สตรีทง้ั หลายกไ็ ดเดนิ ผานไปๆ เกอื บจะถึงคนสดุ ทา ยอยูแลว สิ่งของอนั ไดจดั เปนรางวลั กเ็ กือบจะหมดอยูแ ลว เจาชายก็
ยังคงประทับนิ่ง ไมไหวติง มพี ระหฤทยั เลอื่ นลอยไปในทางอน่ื อยา งเหน็ ไดช ัดวา ไมท รงสนพระทัยในความงามอยางย่งิ ของหมูสตรสี าว ซึง่ แต
ละคนๆ มีความงามอยา งจบั ตาจับใจคนธรรมดาสามัญทุกๆ คนเหลา น้ันเลย
แตในทสี่ ุด ในขณะทสี่ ตรซี ึง่ ทกุ คนคดิ วาเปนคนสุดทายไดเขารับรางวลั ชนิ้ สดุ ทา ยและเดนิ ผานไปแลว ยงั มีสตรีสาวอีกคนหน่ึง ไดเ ดนิ เขา มา
ชากวากาํ หนดดว ยอาการคอ นขา งรีบรอ น ทกุ คนท่เี ฝา ดูอยูใ นท่นี ้ัน ไดส งั เกตเหน็ วา เจาชายไดม อี าการสะดุงนดิ หน่ึง ในเมื่อสตรผี นู ีเ้ ดินมาตรง
พระพกั ตร แมสตรีผนู กี้ ็เหมือนกัน แทนที่จะกม หนา อยางเอียงอายเดนิ ผานเจา ชายไปอยางสตรที ง้ั หลาย กลบั มองพระพกั ตรเ จา ชายอยา งตรงๆ
ยม้ิ แลวถามวา “ยงั มรี างวลั อะไรเหลอื อยสู าํ หรบั หมอมฉันบา ง ” เจา ชายไดท รงย้ิมตอบและตรสั วา “ฉนั เสยี ใจ ทรี่ างวัลไดห มดไปแลว แตเ ธอจง
รบั เอาส่งิ นไ้ี ปเถดิ ” พรอ มกบั ตรสั ดังนั้น ไดท รงปลดพระสังวาลอันงดงามเปน พิเศษจากพระศอของพระองค แลวทรงพนั ใหรอบขอ พระหตั ถ
แหง สตรนี นั้
อาํ มาตยทั้งหลาย เม่ือไดเ ห็นดังน้ัน กพ็ ากันปลาบปลมื้ เปน อยางยิ่ง ครน้ั ไดสบื จนทราบวา กุลสตรีคนสุดทา ยนี้ มนี ามวา ยโสธรา เปนเจา หญงิ
ธดิ าของพระเจา สปุ ปพทุ ธะ ดงั น้ันแลว ก็พากนั รีบกลับไปเฝา พระราชา กราบทูลใหทรงทราบทกุ ประการ ในวันตอมา พระเจา สุทโธทนะไดท รง
จดั สง คนของพระองคไ ปสูส าํ นกั พระเจาสุปปพุทธะ เพ่ือทูลขอพระธิดา อนั มนี ามวายโสธรานน้ั เพื่อการสมรสกบั เจาชายสทิ ธตั ถะ
มีธรรมเนยี มประเพณอี ยอู ยา งหนง่ึ ในบรรดาเจา ศากยะซึ่งเปน เชอื้ ชาติทม่ี คี วามเขม แข็งกลาหาญแหง เชิงเขาหมิ าลัยวา เมอ่ื ชายหนุมคนใด
ประสงคจ ะสมรส ขอแรกเขาจะตอ งแสดงตนเองใหคนทัง้ หลายเห็นวา ตนเปน ผูฉลาดและเช่ียวชาญในการขมี่ า การใชค ันศรแลลูกศร และการ
ใชด าบเชนเดียวกับชายหนุม อืน่ ๆ ดงั นนั้ เจา ชายสทิ ธัตถะ แมท รงเปน รัชทายาทแหงราชบัลลงั กก็ยงั ทรงตองอนุวัติตามธรรมเนียมประเพณีอนั นี้
ดังเชนชายหนมุ ทงั้ หลาย คร้นั ถงึ วันนัด ชายหนมุ ผฉู ลาดและเขมแข็งแหงแควน ศากยะท้งั หมด ก็ไดมาประชุมพรอ มกัน ณ สนามอันเปน ท่ี
ประลองฝมือ ในกรุงกบิลพัสดุ ลว นแตเ ปน นักขีม่ า นกั ยงิ ศร และนกั ฟน ดาบ ทีจ่ ัดเจนดวยกนั ทุกคน ทุกๆ คนไดแสดงฝมือในการขี่มา การใชศ ร
และการฟนดาบ ตามทต่ี นสามารถตอ หนาที่ประชุมของอาํ มาตยและประชาชน
เจา ชายสทิ ธตั ถะทรงขีม่ า ขาวช่อื กณั ฐกะ แสดงความสามารถอาจหาญในการขับข่ี ประกวดกับคนอ่นื ๆ จนเปน ท่ปี รากฏวาพระองคท รงมี
ความสามารถเทา หรือยิ่งกวา คนท่ีสามารถท่ีสุดในประเทศของพระองค ในการยิงศรพระองคทรงสามารถสง ลกู ศรไปไดไ กล และแมน ยาํ กวา คน
หนมุ ท่ถี อื กนั ในเวลานน้ั วายิงศรไดเ กง ทส่ี ดุ ในประเทศนนั้ กลา วคอื เจา ชายเทวทตั ซึ่งเปน ลูกเรียงพ่เี รยี งนอ งของพระองคน ่ันเอง ในการ
ประลองฝมอื ทางการฟน ดาบน้ันเลา พระองคไ ดทรงฟนตน ไมร ุน ๆ ตน หนงึ่ ขาดออกดว ยการฟน เพยี งคร้ังเดยี ว ดวยฝพ ระหตั ถอ ันประณตี และ
เที่ยงจนถงึ กับเม่อื ดาบผานไปแลว ตน ไมกย็ ังคงยืนตน อยู ทําใหผูที่คอยดอู ยูนน้ั คิดไปวา ตน ไมนนั้ ยังไมถกู ตดั จนกระท่งั มีลมโชยมา จงึ ไดคอ ยๆ
ลมไปสูพน้ื ดนิ ทําใหค นทั้งหลายเห็นวา แผลตดั น้นั เกลี้ยงอยางกะรอยมีดตดั เนย ในการประกวดการฟน ดาบคราวนี้ พระองคท รงเปน ผกู ําชยั
ชนะเลศิ ไวได กลาวคอื ทรงชนะพระอนุชาตา งมารดาของพระองคเอง ซ่ึงมพี ระนามวา นนั ทะ อันเปนผูซ่งึ ใครๆ คาดกันวาไมมผี ูใดในประเทศน้ี
จะเอาชนะเจาชายพระองคนี้ ในทางฟน ดาบได
อันดับตอ ไป เปน การประลองฝมือทางการแขงมา โดยอาศยั มา กณั ฐกะสขี าว ฝเทาเร็วของพระองค เจาชายสทิ ธตั ถะสามารถขับขี่ทงิ้ ผูอ ืน่ ทุก
คนไวเบอ้ื งหลังไดโ ดยงายดาย นักแขง ดว ยกันพากนั ไมพ อใจ บางคนพดู แกเ กอ วา “ทพ่ี ระองคทรงชนะไดอยางงายดายเชนนี้ นาจะเปน เพราะมา
ตางหาก ถา เราไดม า ฝเ ทาเรว็ เชน มากัณฐกะมาข่ี เราก็ตองชนะเหมอื นกนั มันดอี ยทู มี่ า ตางหาก หาใชดที ีค่ นข่ีไม อยา งไรๆ เอามาเปลีย่ วสดี าํ ตวั ที่
ไมเ คยยอมใหใครๆ ขึ้นหลงั เลยนั้น มาพสิ ูจนกันที วาใครจะขน้ึ ข่มี ันได หรือนง่ั บนหลงั มนั ไดนานท่ีสุด” ดงั นั้นบรรดาเจา ชายหนมุ ทั้งหลาย จงึ
ไดพ ยายามเตม็ ความสามารถของตน ผลัดกันทลี ะคนๆ ที่จะพยายามจบั มา ตัวน้ันเผนขนึ้ น่งั บนหลงั ของมันใหได ผลปรากฏทกุ พระองค ไดถกู มา
อันลาํ พองและดรุ า ยตวั นัน้ สะบัดใหลมลงมายงั พ้ืนดนิ ทกุ คราวไป กระท่ังเวยี นมาถึงรอบของเจา ชายอรชนุ ซึง่ ถอื กันวา เปนนกั ขี่มาทีเ่ ย่ยี มทส่ี ดุ
ในประเทศมาแลว เจา ชายองคนใี้ ชค วามพยายามเพยี งเลก็ นอ ย กท็ รงสามารถขนึ้ นง่ั บนหลังมนั ได และหวดดว ยแส เพ่ือใหมันว่งิ ไปรอบๆ สนาม
แตในอดึ ใจตอ มา โดยทใี่ ครๆ คาดไมถงึ วามันจะมีฤทธเ์ิ ดชอยางไร มา รา ยตวั นีไ้ ดแ วงศีรษะของมนั มาโดยเรว็ งับเอาขาของเจา ชายอรชนุ ดว ยฟน
อันใหญค มและแข็งกรา วของมัน ดึงกระชากเจาชายใหหลดุ จากหลังแลวเหวย่ี งลงยังพ้ืนดนิ หากวาพนกั งานที่คอยเฝาระวงั เหตุการณอ ยนู ้ัน พวก
หน่ึงไมช วยกันรัง้ แยกมันออกไวท นั และพนักงานอีกพวกหนง่ึ ไมพากันรุมตีทางหลงั ของมันแลว ไมต องสงสยั เลยที่เจาสตั วด รุ า ยตวั น้จี ะไมทํา
อันตรายแกเ จา ชายอรชุนจนกระทัง่ เสียชีวิต
แมมาเปล่ยี วดุรา ยตวั นนั้ จะอาละวาดถงึ เพยี งนนั้ มาแลว กต็ าม รอบถดั ไป ก็จําตอ งเปนรอบของเจาชายสิทธตั ถะทจ่ี ะตองขึ้นข่ี ตามที่ตกลงกนั
ทกุ คนพากนั คิดวาพระองคจะตองเสยี ชวี ติ เพราะแมเจาชายอรชุน ท่ีถอื กนั วาเช่ียวชาญการขม่ี าของประเทศก็ยงั รอดตายไปไดอยางหวุดหวดิ แต
เจาชายสทิ ธัตถะไดท รงดําเนนิ อยา งแชม ชา เปนปรกติ ตรงแนวไปยงั มา ตัวนั้น ทรงวางพระหัตถข างหนึ่งบนคอของมนั และพระหตั ถอ ีกขา งหนึ่ง
ลูบทีจ่ มกู ของมนั พรอ มกบั กลา วคําออนหวานท่หี ูของมนั สองสามคาํ และพระองคไดท รงตบเบาๆ ทีส่ ขี างทั้งสองของมัน การกระทาํ ไดใน
ชนั้ ตนน้ีกท็ าํ ความประหลาดใจใหแ กทกุ ๆ คน ในการที่มา รา ยตวั นัน้ ยอมนงิ่ ใหไมกระดกุ กระดิก และซํา้ ยงั ยนิ ยอมใหเ จาชายขึ้นบนหลงั ขขี่ บั ไป
ขางหนาถอยมาขางหลังไดต ามทพี่ ระองคท รงปรารถนาอีกดวย จงึ เปนท่ีประจักษดว ยกนั ทุกคนในท่ีนัน้ วา มนั ยนิ ยอมทาํ ตามความประสงคของ
เจาชายทุกๆ อยา งโดยสนิ้ เชิง นับวา เปน คร้ังแรกทม่ี ีคนเขาไปใกลม นั ไดอ ยา งนีโ้ ดยไมเ กรงกลวั มนั ทัง้ สามารถบงั คบั ขับขม่ี ัน โดยไมต อ งมกี าร
เฆย่ี นตีอีกดวย แมมา ตัวน้ันกจ็ ักตองรูสึกประหลาดใจเปนอยา งยิ่ง ในการกระทําเชน นน้ั ของเจา ชาย ซงึ่ มันไมเคยไดรับการกระทําอยา งนจี้ ากใคร
ที่ไหนมากอนเลย มันจงึ ยอมใหเจา ชาย ผซู ่ึงไมท รงหวาดกลวั และทั้งไมท รงแสดงความทารุณตอมนั ทรงขน้ึ ข่ีมนั ไดตามความประสงค
ในที่สดุ ทกุ คนไดยอมรับวา เจา ชายสิทธตั ถะไดเปน นกั ขี่มาท่เี ชี่ยวชาญทสี่ ุดของประเทศดวยอกี ประการหนงึ่ และเปนผสู มควรทสี่ ดุ ทีจ่ ะ
เปนพระสวามีของเจา หญงิ ยโสธราผงู ามเลศิ ดว ย ทางฝา ยพระเจาสปุ ปพุทธะ พระบดิ าแหง เจาหญิงยโสธราก็ไดทรงเหน็ พองในขอน้ี ทรงยินยอม
ยกธิดาของพระองคใหเ ปนพระชายาของเจา ชายหนุม ผูซึ่งมีรปู รา งงดงามและแกวนกลา พระองคนี้ดวยความเต็มพระทยั
เจา ชายสิทธตั ถะไดทรงสมรสกับพระนางยโสธราผเู ลอโฉม ในทา มกลางความชื่นชมยินดอี ันใหญหลวงของคนทุกหมูเหลา และไดเสด็จ
พรอ มดวยพระนางไปประทับ ณ ปราสาทอนั สรางใหมและงดงาม ซึง่ พระบิดารับสัง่ ใหสรางขึ้น เพอ่ื คนทั้งคูจ ะไดแ วดลอ มอยดู ว ยความเบิกบาน
บันเทิงทกุ อยา งทุกประการ เต็มตามทค่ี นหนมุ สาวจะพึงบนั เทงิ ได
ในบดั นี้ พระเจาสทุ โธทนะเรม่ิ ทรงดีพระทัยวา พระโอรสของพระองคจกั ไมท รงใฝฝ น ถงึ การสละบัลลงั ก ออกไปผนวชเปน นกั บวชอกี
ตอ ไป แตเพ่อื ใหเ ปนท่แี นน อนยงิ่ ขึ้น วา ความคิดนึกของเจา ชายจะไมน อมไปในทางน้นั โดยเดด็ ขาด พระราชาจึงรบั ส่งั ไมใ หผูใดผูหน่ึงในท่นี ัน้
เอยถงึ สิ่งท่นี ํามาซ่ึงความเศรา สลด เชน ความแก ความเจ็บ หรือความตาย เปน ตน แมแ ตค าํ เดยี ว คนที่หอ มลอ มใกลชดิ อยเู หลานั้น จะตอ ง
พยายามกระทําทกุ อยา งทกุ ทาง ใหร าวกะวา สงิ่ อันไมพ งึ ปรารถนาเหลานั้นมิไดม อี ยใู นโลกนเ้ี ลย
ย่ิงไปกวา นัน้ พระราชาไดร บั ส่งั ใหคนรบั ใชทั้งภายในและภายนอก ท่มี ีลักษณะสอรปู รา งหนาตาไปในทางชราหรอื ออ นเพลยี หรอื เจ็บไขได
ปว ย ปรากฏออกมาเพยี งเลก็ นอย ใหอ อกไปเสียใหพ น จากเขตวังของพระราชโอรส พระองคไ ดท รงจดั จนถงึ กบั วา ในเขตปราสาทและบริเวณ
อุทยานรอบปราสาทของเจาชายนนั้ คนอนื่ จักไมม ผี ูใดเยยี่ มกรายเขา ไปเลย นอกจากหนมุ สาว ซงึ่ มใี บหนาแสดงแววแหงความสขุ ความราเรงิ
และความยิม้ แยมแจมใสเทานน้ั หากเผอญิ มีใครลม เจบ็ ลงในนัน้ จักตอ งชว ยกนั รบี นาํ ออกไปนอกบรเิ วณโดยทนั ที และจะไมย อมใหก ลบั เขามา
อีก จนกวา จะหายและสมบูรณดังเดิม
พระราชาทรงมีพระราชโองการอันเฉียบขาด มิใหใครคนใดคนหนง่ึ ในที่น้นั แสดงอาการหรือนิมิตแหงความออนเพลยี หรอื เศรา ใจออกมา
ตอพระพักตรของเจาชาย ทุกๆ คนที่แวดลอมเจาชายอยู ตอ งแสดงอาการร่ืนเริงบันเทงิ สดชนื่ แจม ใสจนตลอดทงั้ วันทั้งคนื และในยามท่เี ปน เวลา
ปรนนิบตั ิเตนรําขบั กลอมจะตองไมแสดงอาการแหง ความเมอื่ ยลาเหน็ดเหนื่อยออกมาใหปรากฏ โดยสรุปแลว พระเจา สุทโธทนะไดทรง
พยายามจดั ทําทุกสง่ิ ทุกอยาง ไปในทาํ นองที่วาเจาชายจกั ไมส ามารถทราบหรอื แมแ ตเ พียงคาดคะเนได วา ในโลกนี้ไมมีสงิ่ อนื่ ใด นอกไปจากการ
ย้มิ การหัวเราะและเกล่ือนไปดวยความเปนหนุม เปนสาว เต็มไปดวยความชนื่ ชม และเปน สขุ เทา นัน้ เพอื่ ความมงุ หวงั ของพระองคเปน ไป
สมบรู ณตามนั้น พระราชารบั ส่ังใหสรางกาํ แพงสูงๆ ลอ มปราสาทและอทุ ยานของเจา ชายเอาไว และทรงบงั คับอยา งเฉยี บขาดแกผ เู ฝา ประตู
ทง้ั หลาย วาเขาจกั ตอ งไมยอมใหเจา ชายเสด็จออกไปนอกกําแพงนี้ไมว ากรณใี ดๆ โดยวธิ นี ้ที ีพ่ ระเจาสทุ โธทนะไดท รงคดิ วา มันจักเปน ท่นี อนใจ
ได วาเจาชายจกั ไมไ ดพบเหน็ สิ่งใด นอกจากสภาพอันนา รื่นรมยของความเปน หนมุ เปนสาวและความสวยความงาม จักไมไดยนิ เสยี งใดๆ
นอกจากเสยี งแหงความบันเทิงเรงิ ร่นื ของบทเพลงของการหัวเราะ และจักทรงพอพระทัยในการท่จี ะเปนอยูตามทพี่ ระบิดาไดจ ัดสรรประทานให
จกั ไมทรงปรารถนาในการออกบวช และทรงเสาะแสวงหาส่งิ อน่ื ใด ใหม ากไปกวาการเปน อยอู ยา งเจาชาย ผเู ปนพระโอรสหวั แกวหวั แหวนของ
พระบิดาเทา นน้ั
พทุ ธประวตั ิ ฉบบั สาํ หรับยุวชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบบั ภาษาองั กฤษ ของ ภิกษสุ ลี าจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนที่ 5 ความเบ่ือหนาย
แมพระราชาจักไดท รงจดั สรร ใหมีการบํารงุ บาํ เรอแวดลอมพระโอรสของพระองคสกั เพยี งใด และแมวาความทกุ ขยากนานาประการ จะได
ถกู เขาเกยี ดกันออกไป จนไมมที างทีเ่ จา ชายจะรูสึกเปนทกุ ขใจ แมแ ตน ิดหน่ึงก็ตาม เจาชายสิทธตั ถะก็ยงั ทรงไมร สู ึกเปนสขุ ดงั ทีพ่ ระบดิ า
ปรารถนาเอาไว แมแ ตห นอยเดยี ว พระองคอ ยากจะทราบวา อะไรอยูน อกกําแพง ซง่ึ เขาไมย อมใหพ ระองคเ สดจ็ ผานออกไปเลย เพอ่ื ปอ งกนั มใิ ห
พระโอรสมคี วามสนพระทยั ตอสิ่งซ่ึงมอี ยนู อกกําแพง พระราชาไดทรงจดั งานเลย้ี งดแู ละงานรน่ื เริงตางๆ ขน้ึ ทุกชนิด แตก็เปนการไรผลเชน เคย
เจาชายย่งิ ทรงไมพ อพระทัยมากย่ิงขึน้ ในการเปนอยอู ยา งถกู ปดตายเชน นนั้ พระองคทรงประสงคใ ครจะเห็นโลก มากกวาท่มี ันมีอยูภายใน
กาํ แพงของพระองค ทง้ั ๆ ที่การเปน อยูภายในพระราชวังน้นั ก็เตม็ ไปดวยความรน่ื เรงิ เปน ท่สี ดุ แลว พระองคปรารถนาที่จะทราบวา คนทม่ี ิใช
เปนลกู เจาลูกนายนนั้ เขาเปน อยกู นั อยา งไร พระองคไ ดก ราบทลู พระบิดาซ้ําแลว ซ้าํ อีก วา พระองคจ กั ไมม คี วามสขุ ใจไดเลย ถาหากวามิได
ออกไปเหน็ ส่ิงเหลา นนั้ กาลลว งมากระทงั่ วันหนึ่ง อันเปน วนั ซง่ึ พระราชา ไมส ามารถจะทรงทนความรบเรา ของพระโอรสในการที่จะออกไปดู
สงิ่ ตา งๆ ภายนอกกําแพงไดอ ีกตอไปแลว พระองคไ ดต รสั วา “ดีแลว ลูกเอย ! เจาควรจะออกไปเทยี่ วภายนอกวงั และดูประชาชนทั้งหลาย วาเขา
เปน อยูกนั อยา งไร แตตองใหพ อไดเ ตรยี มส่ิงตา งๆ ใหพ อเหมาะแกก ารทล่ี ูกรักคนเดียวของพอ จะไปดูเสยี กอน”
พระราชาไดรับสง่ั ใหแจงขา วแกประชาชนท้งั ปวง เพื่อทราบวา พระโอรสของพระองคจักเสด็จประพาสนครในวันทีก่ าํ หนดให และใหทกุ
บานทกุ เรอื นประดับธงทิวและเครอื่ งหอ ยอนั สวยงาม ตามประตแู ละหนาตา งเปนตน จักตองทาํ ความสะอาดบานเรือนเช็ดถู ทาสีใหม ประดบั
ดอกไมเ หนอื ประตูและหนา ตางและทาํ ทกุ ๆ อยางใหด ูงดงามสดใส สดุ ความสามารถท่จี ะพึงกระทาํ ได พระองคท รงมพี ระราชโองการเดด็ ขาด มิ
ใหผ ูหนึง่ ผูใดทาํ กิจธรุ ะสวนตัวของตน แมเ พียงเล็กนอยกลางถนน คนตาบอด คนงอยเปลย้ี คนเจบ็ ปว ยชนดิ ใดๆ ก็ตาม คนแก คนโรคเร้ือน
เหลา น้ี ตองไมออกมาสูถ นนทุกสายในวนั นนั้ แตจะตอ งเกบ็ ตัวปด ประตูอยใู นเรือน ตลอดเวลาทีเ่ จาชายเสด็จผา นมา คนหนุมแนน คนแข็งแรง
คนมีสขุ ภาพอนามยั คนทีม่ ีแววรา เรงิ เปนสขุ เทา นน้ั ที่จะออกมาทําการเฝา แหนตอ นรบั เจาชายในการเสด็จประพาสนคร ใชแตเ ทา นัน้ พระราช
โองการยงั มอี กี วาในวนั นัน้ ตองไมม ีการหามศพไปสูปา ชาเลยเปน อันขาด ไมว า กรณใี ด ใหเก็บศพรอไวจ นกวา จะถงึ วันรุงข้ึน
ประชาชนไดพ ากันกระทําตามที่พระราชามีพระบรมราชโองการทุกประการ ไดพากันกวาดถนนทุกสายและรดนา้ํ เพ่ือระงับฝนุ ไดท า
บานเรือนดวยสีขาว ประดบั ประดาใหสวยงามดว ยพวงดอกไม และระยาดอกไมแ ขวนหนาประตบู านชอ งของตนๆ เขาไดแขวนแถบผา สีตา งๆ
ตามตนไมส องขา งถนน ทเี่ จาชายจะเสดจ็ ผา นไป โดยสรุปแลว เขาไดพยายามทาํ ทุกอยา งตามท่เี ขาเหน็ วาจะทาํ ใหนครน้ี ปรากฏแกส ายพระเนตร
เจา ชายราวกะวาเปน นครแหงเทพยดาในแดนสวรรค แทนทีจ่ ะเปนโลกมนษุ ย
เม่ือทกุ สิ่งทกุ อยา งพรอมแลว เจาชายสิทธัตถะไดเสดจ็ ออกจากวังประทบั บนราชรถคนั งามของพระองค เสด็จประพาสตามถนนสายตา งๆ
ทอดพระเนตรทุกสง่ิ ทกุ อยางในท่ที กุ แหง ซึ่งลวนแตมีใบหนาอนั ย้มิ แยมแจมใสของประชาชนคอยตอ นรบั อยูโดยท่วั ไป ประชาราษฎรทั้งปวง
ตางกด็ อี กดใี จ ทไ่ี ดเหน็ เจา ชายเสด็จมาในทา มกลางพวกเขา บางคนไดย ืนขน้ึ และเปลงเสียงพรอ มๆ กนั วา “ไชโย ! ความชนะ จงมแี ตเ จาชาย”
บางพวกก็ไดวงิ่ นาํ ไปขา งหนา โรยดอกไมบ นหนทาง ทม่ี า ของพระองคจะลากราชรถผา นไป ฝา ยพระราชาเม่ือไดท รงเห็นวาประชาชนไดทาํ ตาม
พระประสงคข องพระองคอยางเครงครดั เชนนัน้ ก็ทรงเบิกบานพระทัยเปนอยา งย่งิ และทรงดํารวิ า การท่ีเจา ชายไดเทย่ี วดูนครและไดเห็นแตส่ิง
สวยงามรืน่ เริงบันเทงิ เสียบางเชนน้ี จกั รูสึกพอพระทัย และจักระงบั ความคดิ อันวิตถารนั้นเสยี ไดโ ดยเดด็ ขาดเปนแน แตในที่สุด แผนการที่
พระราชาไดทรงวางไวเ ปนอยางดนี น้ั ไดเ กิดลม เหลวขึน้ อยา งไมน า จะเปนได ไดมชี ายชราคนหน่งึ มีผมขาวเต็มทง้ั ศรี ษะ มีแตผ า ข้รี วิ้ พนั กายอยาง
กระทอ นกระแทน เดนิ โขยกเขยกออกมาจากบานหลังหนึ่งขางถนน โดยไมทนั ที่จะมผี ูใดเห็นและหามเสีย ใบหนาของแกเตม็ ไปดว ยจุดกระและ
รอยยน นัยนต าแฉะและฝาฟาง ในปากไมม ฟี นแมแ ตซ เี่ ดยี ว เรือนรา งคอมงอจนตอ งใชมอื ท้งั สองอนั มีแตห นังหุม กระดูกยนั ไมเ ทาไวเ พ่ือไมใ ห
ลม แกสูพ ยายามพยงุ กายเดนิ ไปตามถนน อยา งไมเอาใจใสตอ ฝงู ชนอ่ืนใด เทา กเ็ ดนิ ปดเปเ ปะปะไปพรอ มกบั เสยี งพึมพาํ อยางอิดโรย ขาดเปน
หว งๆ ออกมาจากปากอันซดี ของแก แกกาํ ลงั เทย่ี วรองวอนขออาหารกินจากประชาชนทผี่ านไป ดวยความหวิ โหยถงึ ขนาดที่วา หากไมไ ด
รบั ประทานอาหารสิ่งใดในวนั นี้แลว แกจกั ตอ งถึงแกชวี ิต
ทุกๆ คนในท่ีนน้ั มีความข้ึงเคยี ดตาแกนี้เปนอันมาก ในการบงั อาจออกมาสูทองถนนในวนั ทเ่ี จา ชายเสดจ็ ประพาสนครเปนครั้งแรก เชนน้ี
ทงั้ พระราชาก็ไดมพี ระราชโองการหา มคนเชน นี้ มใิ หแสดงตวั ในทามกลางถนนในวนั นน้ั ไวด ว ยแลว ผคู นเหลานนั้ ไดพากันพยายามรบี รุมขับ
ตอ นตาแกค นน้ี ใหกลบั เขา ไปยงั บานของแกเสีย กอนแตที่เจาชายจะทอดพระเนตรเห็น แตการกระทาํ ของคนเหลาน้ี เปน ไปไมท ันทว งที เจา ชาย
สิทธตั ถะไดทอดพระเนตรเหน็ คนแกค นนนั้ เสยี กอนแลว พระองคท รงสะดุงในการเหน็ ภาพคนแกค นน้ัน ซ่ึงทรงรูสกึ วา เปนการยากทจี่ ะกลาวได
วาเหมอื นกบั ภาพของอะไร พระองคไดร ับส่งั ถามนายฉนั นะ สารถีคนโปรดของพระองคซงึ่ นง่ั อยขู างๆ วา “นัน่ อะไรกัน ฉันนะ ! มนั ตองไมใช
คนแนๆ ทําไมมนั จงึ โคง งอมากเชนนน้ั เลา ทาํ ไมไมเ หยยี ดหลงั ใหตรงๆ เหมือนแกและฉันน้ี ทําไมตองสัน่ เท้ิมอยา งน้ัน ทาํ ไมผมของเขา จึง
ขาวโพลนอยา งประหลาดไมเหมอื นผมของเราๆ ตาของเขาเปน อะไรไป ฟน ของเขาอยทู ี่ไหน คนบางคนเกิดมากม็ าเปน อยา งนเี้ ลยหรอื บอก
ฉนั ทเี ถดิ ฉนั นะ ! วามันหมายความวาอยางไรกนั
นายฉนั นะไดกราบทูลถวายแกเ จาชายของตนวา “ทลู กระหมอ ม บคุ คลท่ีเปนเชน น้ีเรยี กกันวา คนแกหงอ ม เขาไมไดเปนเชน นี้มาแตก าํ เนดิ
เขาเกดิ มาสูโลกน้ี เชน เดียวกบั คนท้งั หลายอ่นื ในครัง้ แรก เขาก็เปนหนุมรา งกายตรง ผึง่ ผายและแขง็ แรง มผี มดําสนิท และดวงตาอนั แจม ใส แต
เมือ่ เขามชี วี ติ อยูใ นโลกนน้ี านเขา เขากเ็ ปนด่ังน้ี ทูลกระหมอมอยา ไปเอาพระทยั ใสกับเขาเลย น่นั มันเร่อื งของคนแกช ราตา งหาก”
“หมายความวา อะไรกนั ฉนั นะ !” เจา ชายไดตรสั ถามตอไป “หมายความวา นเ่ี ปน ของธรรมดาอยา งน้นั หรอื เธอยนื ยนั ถึงกบั วา ทกุ คนท่อี ยู
ในโลกน้ีนานเขาแลว จกั ตองเปน เชนน้ันหรือ ตองไมใชแนๆ ฉันไมเ คยเห็นอยางนีม้ ากอ นเลย ความแกห งอม นั่นอะไรกัน ”
“ทูลกระหมอม ทุกๆ คนในโลกเม่อื มชี วี ิตนานเขา แลว จกั ตอ งเปน เหมือนบคุ คลคนนี้โดยไมมีทางหลกี เลีย่ งเลย”
“ทุกคนเทยี วหรอื ฉันนะ ! เธอดว ย ฉันดวย พอ ของฉนั ดว ย ชายาของฉนั ดวย เราทกุ คนจักตองเหมอื นคนคนน้ี ! จักตองโคง งอและสั่นเทิ้ม
จักตองใชไ มย นั กายเอาไวเ มือ่ ตองการจะเคลือ่ นไหวแทนท่ีจะยืนไดตรงๆ เหมอื นนายคนน้ีดังนนั้ หรือ ”
“เปน ดงั นั้นแน ทูลกระหมอม ทกุ ๆ คนในโลกเมือ่ มชี ีวติ อยูนานเขา แลว จกั ตอ งเปนเหมือนบุคคลคนนี้ มันเปน ส่ิงทป่ี องกนั หลีกหนเี สียไมได
น่ีคอื ความชรา”
เจา ชายสทิ ธตั ถะรับสัง่ ใหน ายฉนั นะขับรถกลับวงั ในทนั ที พระองคไ มมแี กใ จที่จะประพาสนครอกี ตอไปในวนั นัน้ พระองคหมด
ความสามารถที่จะรูส ึกบนั เทิงเรงิ รื่นในการไดเห็นภาพแหงความหวั เราะรา เรงิ บันเทิงอันมากมายของประชาชน ในทา มกลางสิง่ ทตี่ บแตงไวอยาง
งดงามทั่วๆ เมือง ทรงประสงคแ ตจะอยเู ดยี่ วลําพังแตพ ระองคเดียว เพอื่ คิดตปี ญ หาอนั เนื่องกบั ส่งิ ที่นาหวาดเสียว ทพี่ ระองคไ ดทรงประสพเปน
ครง้ั แรกน้ี บัดน้ี พระองคผ ูซ งึ่ เปนเจาชายและเปน ทายาทแหงราชบัลลังก พรอมท้ังทกุ ๆ คน ทพ่ี ระองคท รงรกั ใครน้ัน ในวันหน่งึ จักตองหมด
กาํ ลัง จกั สญู สิ้นความรา เรงิ แหง ชวี ติ โดยประการทง้ั ปวง เพราะจกั ตองเขาถงึ ความชรา และท้งั ไมม ีทางที่จะปลดเปลือ้ งปองกนั ได ไมม ยี กเวน วา
จะเปนใครผูใ ดมาแตไหน ไมวาคนมั่งมีหรอื คนยากจน ไมวาคนเรืองอํานาจหรอื คนไรว าสนา ลวนแตจ ะตองเปนอยางเดียวกัน
เมอื่ พระองคเ สด็จกลบั ถงึ พระราชวังแลว แมว าคนปรนนิบตั จิ ะไดจดั สรรอาหารเครื่องตน อยา งดีมาถวาย พระองคก็ไมอาจจะเสวย เพราะ
ความคิดตา งๆ ไดก ลมุ รมุ อยูในพระทัยอยางไมรูสรา ง วาวนั หนง่ึ จะตอ งเขาถึงความชรา แมเมอื่ อาหารเหลานัน้ ไดถูกนาํ กลับไปแลว และมีสตรี
นักฟอน นักขับจะไดเขา มาถวายความบันเทิงแกพ ระองคด ว ยการฟอ นและขบั กลอ มก็ตาม พระองคไ มส ามารถทจ่ี ะทอดพระเนตรเหน็ หรอื ได
ยินเสยี เพลงแหงการขบั รอ งเหลา นนั้ เพราะความคดิ ไดก ลุมรมุ อยใู นพระหฤทัยตลอดเวลา วา ในวนั หนึ่ง พวกหญิงท้ังหมดนี้ก็จะตองเขาถงึ ความ
ชรา ทกุ ๆ คนจะตองเปน ดงั น้นั ไมมที างยกเวน แมแตค นท่ีสวยที่สดุ และรอ งเพลงไพเราะทส่ี ดุ !
ตอ มาอกี เลก็ นอ ย พระองคร บั สัง่ ใหคนเหลานน้ั กลับออกไป แลว ทรงเอนกายลงพกั ผอ น แตก ็ไมสามารถจะทรงหลบั ลงได ทรงต่ืนพระเนตร
แจว อยูตลอดราตรี ทรงครุนคดิ แตเ ร่อื งทพ่ี ระองคและพระชายา อนั เปนทรี่ ักยง่ิ ของพระองค จกั ตองเปนไปในอนาคตวา วันหนึ่งจะเขาถงึ ความ
ชราดวยกนั ท้ังคู จักมผี มหงอกขาวเตม็ ศรี ษะ จักมหี นา เห่ยี วยนนา ขยะแขยง จกั ไรฟ นในปาก และจกั นาสะอิดสะเอยี นเหมอื นบุคคลทพี่ ระองคไ ด
ทรงเหน็ มาในตอนกลางวนั วันน้ี แลวทง้ั สองคนกจ็ ักไมส ามารถทาํ ความบันเทิงเริงรืน่ อะไรๆ ใหแกกันและกนั ไดอีกสืบไป
เม่ือทรงคิดมาถึงตอนน้ี พระองคเ รม่ิ ทรงฉงนพระทัยวา จกั ไมม ใี ครสักคนหนึ่ง ในบรรดาคนจาํ นวนมากมายในโลกนี้ ไดเคยตั้งใจคน ใหพ บ
วิธที ่จี ะหนีออกไปเสียใหพ นจากสงิ่ อันรายกาจ กลาวคอื ความชราน้ีบา งเลยหรอื ยิ่งไปกวาน้ัน พระองคเร่มิ ทรงสงสัยวา หากพระองคจ กั ทรง
พยายามแลว พยายามอีกใหเ ต็มความสามารถ หยดุ การกระทําอยางอ่นื เสียท้ังสน้ิ ใชค วามคดิ และกําลังทง้ั หมด คดิ และกระทาํ แตส ่งิ ๆ เดยี วนแ้ี ลว
จกั ไมส ามารถพบวิธีท่ีจะกอ ใหเกดิ คุณประโยชนแ กพระองคเ อง แกพ ระนางยโสธรา แกพ ระบดิ า และแกคนทุกคนในโลกบางเลยหรือ
ไดมผี ูกราบทลู ใหพ ระราชาทรงทราบถงึ เรอ่ื งราวท่เี กิดข้นึ ในทองถนนนน้ั ทุกประการ และพระองคทรงเสียพระทัยเปนอยางยิ่ง แมพ ระราชา
กไ็ มส ามารถบรรทมหลับไดตลอดราตรนี ัน้ ไดท รงเรมิ่ คิดหาวธิ ีอนื่ ๆ ในการที่จะโนมนาวพระหฤทยั ของเจาชายมาเสยี จากความคดิ ชนดิ ทถ่ี าไม
หยดุ คดิ แลว จะตองทาํ ใหเจาชายสละโลกออกผนวชเปนฤษีหรือนักบวชผูเรรอ นโดยไมต อ งสงสัย
พระราชาไดทรงแสวงหาสิ่งเพลดิ เพลนิ สนุกสนานอยา งอนื่ มาบํารงุ บาํ เรอแกพ ระโอรสของพระองคอ ีกมากอยาง แตทุกๆ อยางก็ไรผ ลดังท่ี
เคยเปนมา เจาชายหนมุ ไมทรงแยแสไยดใี นสง่ิ เหลานั้น กลับทรงวงิ วอนพระบิดา ขอใหทรงอนญุ าตใหพระองคเ สด็จประพาสนครอีกครั้งหนึ่ง
ตามลาํ พัง โดยไมตองใหมีใครทราบ เพื่อพระองคจะไดท รงเหน็ ส่ิงตา งๆ ดังเชนท่ีเปน อยูทุกๆ วัน อยางทใ่ี ครเขาเห็นกนั อยตู ามปรกติ ทแี รก
พระราชาไมทรงปรารถนาที่จะประทานพระอนุญาต เพราะพระองคทรงหวน่ั กลัวยิง่ ข้นึ วาเจาชายสิทธัตถะออกไปอกี ครัง้ นี้ ไดเห็นความเปน อยู
ตามปรกตขิ องผคู น ซ่ึงไมม ีโอกาสกําเนดิ เปนลูกเศรษฐลี กู กษัตริยต องทํามาหากนิ อยางทีเ่ หง่ือไหลตกลงมาจากคิว้ ตลอดเวลาเขา แลว คาํ ทํานาย
ของพระฤษีผสู ูงอายุนั้นจกั ตอ งเปน ความจรงิ ขึ้นโดยแนน อน เจาชายสทิ ธัตถะกจ็ ักไมม โี อกาสครองราชยบ ัลลงั กสบื แทนพระองคส บื ไป
แตอยา งไรก็ตาม พระองคท รงทราบดอี กี วา พระโอรสของพระองคจักไมท รงมีความสุขไดเ ลย หากวา ไมไ ดอ อกไปทอดพระเนตรเห็นส่งิ
ตางๆ ทีท่ รงพระประสงค ดว ยความรกั และสงสารแหง นา้ํ พระทัยของพระราชาผูเ ปนบิดาอนั มตี อบุตร แมจะเกดิ ผลขึน้ เปน ประการใดก็ตามที
พระองคท ้ังๆ ท่ไี มป รารถนาก็จาํ ตองทรงอนุญาตใหเจาชายเสดจ็ ประพาสนครไดต ามประสงค ดังนน้ั เจา ชายสทิ ธตั ถะจึงไดม โี อกาสเสดจ็ ออก
จากกําแพง ซ่ึงเขามงุ หมายจะกีดกันมิใหพระองคทรงประสพสิ่งอนั ไมพงึ ปรารถนานน้ั ไดอ ีกคร้งั หนึ่ง
ในครั้งน้ี พระองคไ ดเ สดจ็ ดาํ เนินดวยพระบาท แทนการเสด็จดว ยราชรถ ทรงแตง พระองคดว ยเครอ่ื งแตงกายอยา งคนหนมุ ที่มเี ชือ้ สกลุ ดี
และไมม ใี ครตามเสด็จ นอกจากนายฉนั นะซึ่งก็ไดแ ตงกายใหผดิ แปลกไปจากท่ีเคยแตง เพอื่ คนอืน่ จกั ไมท ราบไดวา นายฉันนะนัน่ คอื ใคร และ
เปนทางใหไ มรจู กั พระองคต อไปอกี ดว ย
คร้งั น้ี ไมม กี ลมุ ชนท่ชี มุ นมุ กนั อยู เพ่อื คอยเฝา ถวายพระพร ไมมีการประดับท่ีงามระยา ไปดว ยพวงดอกไม ไมมีธงทวิ หลายสีทอพระเนตร
เจา ชายดั่งในกาลคร้ังกอน แตเ ปนเพยี งภาพแหง ส่ิงตา งๆ ท่ปี รากฏอยตู ามธรรมดาแหง นคร อนั เตม็ ไปดว ยพลเมอื งซงึ่ สาละวนอยกู บั กจิ การงาน
นานาชนิด อันเกย่ี วกบั อาชพี เพอื่ ใหไ ดม าซึ่งอาหาร ตามทางทผ่ี านไปมีชางเหลก็ กําลงั ตีเหลก็ ทว่ี าอยูบนทัง่ ดว ยคอ นใหญเ พื่อทาํ เปนเครอื่ งไถ
เคยี ว หรือลอ เกวยี นและสิ่งอน่ื ๆ ขางถนน อันเปน ท่ตี ้งั บา นเรือนของคนม่ังมี มีชางเพชรพลอย และชา งทองกําลังทาํ และจําหนายเครอื่ งเพชร
พลอย ทองเงนิ รูปพรรณนานาชนิด ถนนบางสายเตม็ ไปดว ยรา นรวงของคนยอ มผาซึ่งกาํ ลงั ตากผา สสี ดตา งๆ กนั บางแหงเต็มไปดว ยรา นทาํ ขนม
มีชางทําขนมกําลงั ปรุง และบา งกก็ าํ ลังขายใหผูค นท่ีมายนื คอยซ้ือเพื่อตอ งการบรโิ ภคทันทที ่ปี รุงเสร็จใหมๆ
ในขณะน้ี พระหฤทัยของพระองคท รงสนุกสนานเพลดิ เพลินไปดว ยภาพแหงคนทงั้ หลาย ซึ่งกาํ ลังประกอบกจิ ของตนๆ อยอู ยา งขยันขนั แขง็
ไมม วี แ่ี ววแหง ความออ นเพลีย เปน ที่เบิกบานพระทยั อยู แตใ นทส่ี ุด ก็ยังมีส่ิงบางสงิ่ ซึ่งเกิดข้ึนอยางกะทันหนั มาทาํ ลายความบนั เทงิ เรงิ รน่ื ที่เกดิ
จากการไดพ บเหน็ สิ่งนาสนใจตา งๆ ในวนั น้ันเสยี จนหมดสนิ้ ถงึ กับทาํ ใหพ ระองคตอ งรบี เสด็จกลับสูวงั เปนครัง้ ทสี่ องดวยพระทยั อันหดหูเตม็
ไปดวยความเศรา สลดเปน อยา งยงิ่ ขณะท่ีพระองคเ สด็จไปตามถนนสายตางๆ อยูน ั้น พระองคท รงไดยนิ เสยี งรํ่ารอ ง เหมือนกบั เสยี งขอความ
ชว ยเหลอื ของใครบางคน อยูทางเบือ้ งหลังในระยะอนั ไมส ูจะหา งนัก พระองคสา ยพระเนตรเพอื่ ดูใหเ ห็นวา เปน เรอื่ งอะไรกัน ไดท รงเหน็ ชายคน
หนึง่ กําลังนอนบดิ ตวั ไปมาอยกู ลางฝนุ ดว ยทาทางอนั ประหลาด ตามหนา ตามตาและตามเนอ้ื ตวั เตม็ ไปดวยจุดสีมว งอันนาขยะแขยง นยั นตา
กลอกไปกลอกมา เมอื่ พยายามจะลกุ ยนื ตอ งอดั ใจเบง กําลังทงั้ หมดเพ่อื พยุงตวั ขึน้ และทุกคราวทเี่ ขาลกุ ขึน้ มา พอสกั วาจะยนื ตรง ก็กลับลม ฟาด
อยางท้ิงตัวลงไปอกี โดยแรง
ดว ยความเมตตากรณุ าอันเปนพระนสิ ยั ของเจา ชาย พระองคไดทรงวิ่งตรงไปยังชายคนนนั้ ในทนั ที และพยุงเขาใหลุกข้ึนนั่ง ใหศ รี ษะพาดอยู
กับเขา ของพระองค และเมอ่ื ทรงชว ยกระทําใหเ ขารูสึกคอ ยสบายข้ึนบา งแลว กต็ รัสถามเขาวากําลังเจ็บปวดท่ตี รงไหน และทําไมจงึ ยืนไมไ ด ชาย
คนนนั้ พยายามทจ่ี ะพูดแตไมสามารถท่ีจะพูดออกมา เขาไมม ีกาํ ลงั ลมมากพอทจ่ี ะพดู ใหเ ปน เสียงได จึงไดถ อดใจอยไู มม า เม่ือนายฉนั นะได
สาวเทา ตามเขามาถงึ พระองค เจา ชายรีบตรัสถามวา “ฉนั นะ บอกฉันทวี าทําไมชายคนนจี้ ึงเปนอยา งนี้ การหายใจของเขาเปนอยา งไรไป ทําไม
เขาจงึ ไมต อบคาํ ถามของฉนั ”
นายฉนั นะไดรอ งขน้ึ อยางตกใจวา “ทลู กระหมอมอยา ไปจบั ตอ งบุคคลเชน นี้ เขาเปนคนปวย โลหิตของเขาเปน พิษ เขากาํ ลงั เปน กาฬโรค มนั
กาํ ลงั เผาผลาญเขาอยูภายใน จนกระท่ังแมจ ะหายใจก็ทาํ ไดด ว ยความยากลําบาก และในที่สุดลมหายใจของเขากจ็ ะตองเหือดหายไป”
เจา ชายไดต รสั ถามตอ ไปวา “คนอนื่ ๆ ก็เปนอยา งนกี้ นั ดว ยหรอื ฉนั เองกอ็ าจเปน อยางน้ีดว ยหรือ ”
“ทลู กระหมอมก็อาจเปนไดเ หมือนกนั ถาหากไปแตะตอ งคนเชน น้นั อยา งใกลชิด ขอพระองคจ งวางเขาเสยี เถดิ อยาไปจับตอ งเขาเลย เพราะ
กาฬโรคของเขาอาจจะติดตอมายงั พระองคได และแลวพระองคจ ักตอ งเปน เหมอื นเขา”
“ยังมีส่งิ รายๆ อันอื่นเหมอื นเชนนอ้ี กี ไหม นอกจากกาฬโรคน้ี ฉนั นะ ”
“ยังมอี ยางอ่นื อกี พะยะคะ ! ยงั มีอกี มากมายหลายชนดิ ลว นแตท าํ ความทกุ ขท รมานใหอยา งเดียวกนั ”
“แลวไมมใี ครแกไขมนั ไดหรือ ความเจบ็ ไขเ ชน น้มี าสมู นษุ ยโ ดยท่มี นษุ ยไ มอาจเอาชนะมันไดเลยหรือ ประหลาดเสียแลว ละ !”
“มันเปนอยางนน้ั เอง ทูลกระหมอ ม ไมมีใครทราบไดวา วนั ไหนเขาอาจเจบ็ ไขขน้ึ มนั อาจจะเกดิ ขนึ้ ไดแ กคนทกุ คนและทกุ เวลา ”
“ทุกคนเทียวหรอื ฉนั นะ แกพวกเจา นายทง้ั หลายดว ยหรอื แกฉ นั ดว ยหรอื ”
“เปนดั่งนั้น พะยะคะ มนั อาจเกดิ ขึน้ ได แมแ กทลู กระหมอ มเอง”
“ถา ดังนนั้ คนทกุ คนในโลกก็ตอ งมีแตความหวาดกลวั กนั อยูตลอดเวลาละซี เพราะวา ไมม ใี ครรวู าตัวเอง คืนน้ีเขา นอนแลว รุงขนึ้ อาจจะ
กลายเปน คนเจบ็ ปว ยเหมือนคนๆ นี้ ดงั น้นั หรอื ฉนั นะ ”
“มันเปนดงั น้นั จรงิ ๆ ทลู กระหมอม ไมมีใครในโลกทจี่ ะรูได วาวันไหนเขาจะลม เจบ็ ลง และเมอื่ ทรมานถึงทส่ี ุดแลวก็ตาย”
“ตาย คาํ อะไรกัน แปลกเหมือนกัน ฉนั นะ! ตายคืออะไร”
“ทลู กระหมอ มทอดพระเนตรไปดนู ัน่ ซี พะยะคะ ”
เจาชายทรงทอดพระเนตรไปทางทีน่ ายฉันนะชี้ และไดท รงเหน็ หมูคนไมก ค่ี นกลมุ หนึ่ง กาํ ลังเดนิ รอ งไหมาตามถนน และเบ้อื งหลงั คน
เหลาน้ี มีคนสี่คนหามบคุ คลซ่งึ นอนนง่ิ แข็งทื่อคนหนึง่ มาบนแผนไมกระดาน คนทน่ี อนบนนน้ั แกม ยุบปากอา อยางนาเกลียด ไมพ ดู ไมจาวาอะไร
แมค นหามจะเขยาอยา งแรง หรอื คนหามสะดดุ พลาดเพลงไป ก็ไมอ อกปากบนวา แตอยา งใด
เจา ชายทรงหยุดประทับดคู นหมนู ัน้ ขณะท่เี ขากาํ ลังผา นพระองคไป ทรงฉงนพระทัยวา ทาํ ไมตองพากันรองไห และทาํ ไมคนทีน่ อนอยูบ น
แผน ไมกระดานจงึ ไมขอรอ งใหคนหามมคี วามระมัดระวงั ขึน้ สักหนอ ย และพระองคท รงประหลาดพระทยั ยิง่ ขน้ึ ในเมือ่ คนกลมุ น้นั เดนิ ไปได
อีกหนอยเดยี ว เขาก็พากันวางคนน้นั ลงบนกองฟนท่กี องไว และจุดไฟขึ้นจนกระทงั่ ลุกโพลงเปน กองไฟกองใหญ นา สยดสยอง แตกระนน้ั คน
ทถ่ี กู เผา ก็ยังคงนอนนิ่งเงยี บอยู แมไฟจะไดไหมลามถงึ ศรี ษะและเทาของเขาแลว ก็ตาม
เจาชายไดตรสั ถามนายฉันนะ ดว ยเสยี งอันสนั่ เครอื วา “นี่มนั อยา งไรกนั ฉนั นะ ! ทําไมคนน้นั จงึ นอนน่งิ ใหเ ขาเผาอยางน้นั เลา ”
“ทลู กระหมอม คนๆ นนั้ เปนคนตายแลว เขามีเทา แตไมอ าจวง่ิ ไดอ ีกแลว เขามีตา แตไมอ าจดอู ะไรไดอีกแลว เขามหี ู แตไมอาจไดย ินเสียง
อะไรไดอ ีกแลว เขาไมอาจมีความรูสกึ ในส่ิงใดสงิ่ หนงึ่ อกี ตอ ไป ไมวาจะเปนความรอน ความหนาว ไมว า ไฟหรอื หิมะ เขาหมดความรูส กึ ทุก
อยา งแลว เขาตายแลว”
“ตายหรือ ฉันนะ ! ความตาย หมายถึงส่ิงน้ีหรอื และฉนั ซ่ึงเปนลูกพระเจา แผน ดนิ ก็จะตอ งตายเหมอื นชายคนนด้ี ว ยหรอื พอของฉัน ยโส
ธรา และทุกๆ คนทีฉ่ ันรจู กั พวกเราเหลา นท้ี กุ คน ในวันหนงึ่ จักนอนตายเหมอื นคนยากจน ท่กี าํ ลังนอนอยบู นกองฟนนดี้ ว ยหรือ ”
“พะยะคะ ทลู กระหมอม ทกุ คนที่มีชีวติ จกั ตอ งตายลงในวนั หนงึ่ โดยไมม ที างใดจะปองกนั ได ไมม ีส่ิงใดที่จะอยไู ดอ ยางเที่ยงแทคงทน ไมม ี
ใครสามารถตา นทานปดปอ งการมาของความตาย”
เจาชายทรงตะลงึ นงิ่ อง้ึ มไิ ดตรัสอะไรออกมาอกี ตอไป พระองคท รงรสู ึกวา การทไี่ มม หี นทางรอดพนจากความตายอนั รา ยกาจ ซ่ึงครอบงํา
คนทุกคนอยูน ้ี เปน สงิ่ ท่นี าสยดสยอง แมพ ระราชา แมพระโอรสของพระราชากย็ ังไมพน จากอาํ นาจของความตาย พระองคเสด็จกลับวังอยา ง
เงียบกรบิ ตรงไปสูหอ งทปี่ ระทับของพระองคบ นปราสาท ประทบั นงั่ ราํ พึงอยพู ระองคเ ดยี ว ชวั่ โมงแลวชั่วโมงอีก ในสงิ่ ซึง่ พระองคไ ดทรงไป
พบเหน็ มา
ในทส่ี ดุ พระองคไดต รัสแกพระองคเองวา “มันเปน สงิ่ ท่นี า หวาดเสยี วทท่ี ุกคนในโลกตอ งตายลง ไมวนั ใดกว็ นั หนึง่ ทั้งไมมที างปองกนั มัน
ไดเลย ฉันนะเขาวา อยา งนั้น ! แตโ อ ! มนั ตองมีหนทางรอดอยา งใดอยางหนงึ่ อยูสําหรบั ส่ิงนี้ ! ฉันตอ งคนหาหนทางรอดน้นั ใหพบจนได ! ฉันจะ
คนหาทางรอดสําหรับฉนั เองดว ย สาํ หรับบดิ าของฉัน สาํ หรับยโสธรา และสําหรบั คนอื่นๆ ทุกคนดวย ! หนทางซึ่งฉันจะไมต องตกอยูใตอาํ นาจ
ของสงิ่ นาเกลยี ดนากลัว คือความแก ความเจบ็ ไข และความตายเหลานี้ ฉันจกั ตองหาใหพ บใหจนได !”
ในโอกาสตอ มา เมื่อเจาชายกาํ ลังทรงมาเลนในอุทยานภายนอกวงั พระองคไดท รงพบบรุ ุษผหู นึ่ง หมผา กาสาวพัสตรส เี หลืองของบรรพชิต
พระองคไดทรงจองสงั เกตนักบวชผูน ั้นอยา งลกึ ซึง้ จนทรงหยงั่ ทราบถงึ ภายในใจของบคุ คลคนน้ี วากําลงั เต็มไปดว ยความสงบสขุ อยา งเยน็ เยอื ก
พระองคจ ึงไดต รสั ถามนายฉันนะ ถงึ ความประพฤติเปนไปในชวี ิตของบุคคลประเภทนี้
นายฉันนะไดก ราบทลู แกพระองควา “บคุ คลผนู ี้ เปนบคุ คลประเภททเ่ี รียกกันวา “ผูสละโลก” เพอื่ แสวงหาสงิ่ ดบั ทุกขท รมานของโลก”
เจาชายมคี วามปลาบปลืม้ ในคาํ ๆ น้ีเปน อนั มาก เลยประทบั นงั่ นงิ่ ๆ อยู ณ ทีแ่ หง หนึง่ ในอุทยานนนั้ ดว ยความสขุ ใจจนตลอดวัน ตลอดเวลานน้ั
ทรงนอมจิตของพระองคไปสกู ารออกจากบานเรอื นข้นึ มาไดเอง
ขณะทพี่ ระองคประทับนัง่ ราํ พึงแกพ ระองคเ องผเู ดยี วอยเู ชนนน้ั ไดมผี มู ากราบทูลวา พระชายาของพระองคไดป ระสูติพระโอรสพระองค
หนึง่ งดงามมาก แตพระองคมิไดท รงแสดงอาการดพี ระทัยแตอยา งใด กลบั ทรงพลงั้ พระโอษฐอ อกไปเบาๆ ดวยพระทัยอนั เหมอ ลอยวา “บว ง
เกดิ ข้ึนแกฉ ันแลว ! บวงเกิดขึ้นแกฉันแลว !” ดังน้ี ดวยเหตทุ พี่ ระองคไดต รสั ดงั นใ้ี นวันนน้ั จึงเปน ที่ขนานพระนาม คนท้งั หลายไดข นานพระ
นามของพระโอรสของพระองคว า “บวง” (ราหลุ ะ)
พุทธประวัติ ฉบบั สาํ หรับยวุ ชน
พุทธทาสภิกขุ แปลและเรียบเรยี งจาก ฉบบั ภาษาอังกฤษ ของ ภกิ ษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนที่ 6 การสละโลก
นบั ต้ังแตเ จา ชายราหุลกําเนิดแลวเปน ตนมา พระเจาสทุ โธทนะทรงรูสกึ วา ไมมีความจาํ เปนอยางใดอกี ตอ ไป ในการทจี่ ะกักขังเจาชายสทิ ธัต
ถะไวในความบนั เทิงเริงร่นื พระองคท รงอนญุ าตใหเ สด็จออกประพาสทีต่ า งๆ ในพระนคร ไดตามความปรารถนา เจาชายจงึ เสดจ็ ประพาสทวั่ ๆ
ไป ในพระนครอยเู นอื งๆ ทรงไดท อดพระเนตรเหน็ ส่ิงตางๆ และทรงใครค รวญทกุ ๆ ส่งิ ท่พี ระองคท รงประสพ และทรงพยายามตง้ั พระทัยใน
อันทจ่ี ะตอ งจดั ตองทําตอส่งิ น้นั ๆ ตามทพ่ี ระองคทรงเหน็
วันหนึง่ เม่ือพระสทิ ธัตถะเสดจ็ กลับจากการประพาสนคร กอนทจี่ ะถงึ ที่ประทบั ของพระองค พระองคไดเสด็จผา นหนา ตาํ หนกั อนั เปนที่
ประทบั ของบรรดาเจาหญงิ ทง้ั หลาย เจา หญิงองคหนงึ่ พระนามวา กสี าโคตมี บังเอญิ ประทบั อยทู ่หี นา บัญชร ไดท รงเหน็ เจาชายเสด็จมา ความ
สงา งามและความสภุ าพละเอยี ดออนของเจาชายไดเ ปน ทปี่ ระทับพระทยั เจาหญิงองคนี้ จนถงึ กับพล้ังพระโอษฐออกมาวา “เย็นเหลอื เกิน ! สขุ
เหลือเกิน ! อม่ิ ใจเหลือเกิน ! ถาหากใครไดเปน แมก ด็ ี ไดเปนพอก็ดี ไดเ ปนเมียกด็ ี ของเจาชายหนมุ รปู งามพระองคน ”้ี
เสยี งพลัง้ พระโอษฐโดยไมรูส ึกตวั ของเจาหญงิ กีสาโคตมี ดังจนกระทั่งไดยนิ ไปถึงโสตของเจา ชายทุกๆ คํา แตขณะน้ันพระองคเฝา พะวงขบ
คดิ แตเ รือ่ งเพศบรรพชติ และการออกบวช จึงเมอื่ ทรงไดยนิ ดงั นนั้ เขา กก็ ลับจบั เอาความไปเสยี อกี ทางหนึ่ง ทรงรําพงึ ตอ พระองคเ องตอไปวา “แน
แลว แมก็ตาม พอก็ตาม เมียกต็ าม ถา ไดล ูกหรือไดผ วั เชนวานั้น จักตอ งมีความเยน็ ความสขุ และความอิ่มใจแนแ ท แตว าอะไรกนั เลา ทเี่ ปน ความ
เย็น ความสขุ และความอม่ิ ใจอันแทจรงิ ” พระหฤทยั ของเจาชายในขณะนี้ สูงพนไปจากความยินดอี ยา งวิสยั โลกเสียแลว ดวยเหตุท่ีส่งิ ตางๆ ท่ี
พระองคไ ดท รงประสพมากอนหนานไี้ ดเ ต็มแนนอยใู นพระหฤทัยของพระองคต ลอดเวลา ไมม ีชอ งทางท่จี ะใหคิดไปในทาํ นองอื่นไดอ ีก
พระองคตรสั แกพ ระองคเ องวา “ความสขุ ทจี่ ริงแทจ ะมมี าได กต็ อ เมอื่ ความไขแ หง ราคะ โทสะ และโมหะ ไดถ กู เยียวยารักษาใหห ายแลวโดย
สิ้นเชิง เมือ่ ไฟแหง มานะ ทฏิ ฐิ และกเิ ลสทั้งหลาย ดบั ไปหมดแลว เมอ่ื นัน้ แหละ ความเยน็ ความสขุ และความอิม่ ใจอันจรงิ แทจ กั มีมา นั่นแหละ
คอื สิ่งทฉี่ นั และคนอ่ืนทกุ คนอยากจะได นัน่ แหละ คือส่งิ ทฉ่ี นั ตอ งออกไปแสวงหาในบัดน้ี ฉนั ไมอาจทนอยูดวยความเพลิดเพลินในวงั นี้อีก
ตอไป ฉันจะตอ งออกไปบัดนี้แลว ฉันจะแสวงและจะแสวงเรื่อยไป จนกวาจะพบสิ่งซ่ึงเปนความสขุ อนั แทจรงิ อันจักทาํ ใหฉันและทุกคนได
ขนึ้ อยูเ หนอื อาํ นาจของความแก ความเจ็บ ความตาย เจา หญงิ ผนู ไ้ี ดบอกบทเรียนอยางดีใหแกฉ นั แลว เธอเปน ครูทด่ี ที ีส่ ดุ แกฉันอยา งไมม ีปญ หา
ฉันตอ งสง คาบชู าครไู ปถวายเธอ”
ตรสั ดงั นัน้ แลว พระองคไ ดทรงปลดสรอ ยไขม กุ ซึง่ พระองคก ําลงั ทรงสวมอยขู ณะนั้นจากพระศอ สง ไปถวายเจา หญงิ กีสาโคตมีเปนธรรม
บรรณาการ เจา หญิงองคน้ันทรงรบั สรอยจากบรุ ุษเดินขาวของเจาชาย แลวตรัสคําขอบพระคณุ อยา งย่ิงฝากไปยังเจา ชาย และทรงเขา ใจเอาเองวา
การประทานสรอยนั้นเปน การแสดงความรักของเจา ชายอันใครจ ะไดนางเปน พระชายา แตพระหฤทัยของเจา ชายอยูในสภาพทห่ี า งไกลจากเร่อื ง
ชนดิ น้นั ซง่ึ พระบิดาและพระชายาของพระองคไดท รงทราบอยเู ปน อยา งดี ทุกๆ คนทีเ่ กี่ยวขอ งอยูกับเจา ชาย ไดทรงสังเกตเห็นชัดวา ในระยะ
หลงั น้ี เจา ชายไดเปล่ียนแปลงไปโดยส้นิ เชิง นบั แตว นั เสดจ็ กลับจากการประพาสนคร พระองคท รงเครง ขรมึ และคดิ หนักย่ิงกวา ท่เี คยเปน มาแลว
แตพระบดิ าของพระองคก ็ไมสามารถปลอ ยใหเ ปนไปตามเหตุการณ โดยไมท รงพยายามเปน ครงั้ สุดทา ย ดงั นนั้ พระองคจ ึงรับสัง่ ใหห าหญงิ ระบาํ
และนกั ขบั รอ งทฉ่ี ลาดทส่ี ุด งามหยดยอ ยที่สดุ ในประเทศของพระองคม าประจาํ ณ ปราสาทของเจา ชาย สตรเี หลานน้ั ไดท าํ การรองราํ ถวาย
เจา ชายสทิ ธตั ถะตามพระราชโองการของพระราชาอยางไพเราะและงดงามทสี่ ดุ และดวยทาทางท่ีย่ัวเยา ทีส่ ุด ดว ยความหวงั ทจี่ ะใหเจาชายเกิด
ความพอใจและเพลดิ เพลินใหจนได
ในชน้ั แรกๆ เจาชายกท็ รงทอดพระเนตรและยอมฟง พอไมใหเปน ทข่ี ดั เคืองพระทัยของบดิ า แตพ ระเนตรของพระองคท รงเผยอขนึ้ ดสู ิ่ง
สวยงามย่วั ยวนเหลา นน้ั ไดเ พียงครง่ึ เดยี ว เพราะพระหฤทยั ของพระองคไ ปหมกมนุ อยเู สียกับสงิ่ อื่นบางส่งิ อยา งไมม เี วลาสรา ง พระองคทรง
คดิ ถึงสงิ่ นั้นราวกะวา มันเปน เพยี งสงิ่ เดียวท่ีคมุ คา ในการคดิ คือ ปญ หาท่ีวา ทําอยา งไรพระองคแ ละคนท้งั หลายจกั พน จากความแก ความเจบ็ ไข
และความตายไดโ ดยส้นิ เชงิ
ในทส่ี ุด พระองคท รงออ นเพลยี เนื่องจากการคิดมาก และไมม ีเวลาหยดุ จงึ ท้ังๆ ทอ่ี ยูในทา มกลางความครน้ื เครงแหงดนตรีและระบาํ ย่ัวยวน
พระองคไ ดทรงหลับไป เพราะมนั ไมม กี าํ ลงั พอทจ่ี ะครอบงํา ทาํ พระหฤทยั ของพระองคใหรสู ึกเพลดิ เพลินไดแตอยา งใด หญิงนกั รองและนาง
ระบาํ เหลาน้ันก็สังเกตไดว า ผซู ึง่ เขาทง้ั หลายพากันราํ ถวายน้นั มีความสนพระทัยนอ ยเกินไปจนถงึ กบั หลับไปเสยี เชน นี้ จึงพากนั หยดุ การรองราํ
ชวนกันนอกพักท่ีตรงน้นั เพือ่ การพักผอ น รอคอยจนกวาเจา ชายจะทรงต่นื ขน้ึ มาใหม จะไดร อ งราํ ถวายตอไป แตห ญิงเหลา น้นั กเ็ ชน เดียวกบั
เจา ชาย คอื พอไดเอนกายลง ก็มอยหลับไปเพราะความออ นเพลีย โดยไมทนั รสู กึ ตัว ทงั้ ที่ดวงไฟยงั ลุกสวา งไสวอยทู ัว่ หอ ง สักครตู อ มา เจาชายได
ทรงตนื่ บรรทม ซึง่ มีเพยี งงีบเดยี ว แลวทรงเหลียวไปรอบๆ ดว ยความประหลาดพระทยั ทงั้ ขยะแขยงในส่ิงซ่ึงพระองคไ ดท อดพระเนตรเห็นใน
ขณะนนั้ หญิงทกุ คนท่ถี ือกันวา งามทีส่ ดุ หยดยอยที่สดุ ในประเทศนนั้ บัดนี้ไดน อนระกะอยทู ัว่ ไปตามพน้ื หอ ง ดว ยอากัปกิรยิ าอันนาขยะแขยง
ดว ยทาทางอันไมค ดิ วา จะเปนไปไดถ ึงเพยี งนั้น ลางนางนอนเชน เดยี วกับหมู โดยท่ัวๆ ไป ลางนางนอนปากอา ลางนางนอนนํ้าลายไหลจากมุม
ปากลงเลอะเครือ่ งแตงตัว ลางนางกําลงั กัดเขย้ี วทัง้ กาํ ลังหลับ ดรู าวกับปศาจกาํ ลังโกรธ แตละคนๆ นา เกลียดนาสะอดิ สะเอียน จนถึงกับเจาชาย
ทรงประหลาดพระทยั วา กอนหนานพ้ี ระองคท รงรสู ึกพอพระทัยในคนทัง้ หลายนไ้ี ดอ ยา งไรกัน
ภาพแหงสตรีทั้งหลายเหลา นี้ ซ่ึงครัง้ หนึง่ พระองคเ คยทรงรูสึกวา นา รกั นั้น บดั นี้ไดเปลีย่ นแปลงเปนสิง่ ทน่ี า เกลยี ดนา กลวั ไปจนหมดสิ้น
และเปนสง่ิ สดุ ทายในฐานะเปนสงิ่ ทีน่ า ขยะแขยงทีส่ ุด ที่เขา ไปมอี ยูใ นพระหฤทยั ของพระองคนบั แตเ วลาทีไ่ ดท รงมพี ระชนมช ีพมา
บดั น้ี พระหฤทัยของพระองคท รงปกแนว ท่จี ะทรงสลดั สงิ่ รบกวนใจเหลานไ้ี วเบ้อื งหลัง แลว เสด็จออกแสวงหาสิง่ อนั เปนความสุขแทจรงิ
ซ่งึ สามารถระงบั ส่งิ รายทั้งหลายเหลา นไ้ี ดโ ดยทันที พระองคท รงลุกขึ้นอยางเงียบกรบิ โดยไมท ําใหห ญิงคนใดต่ืนข้ึน ลอบเสด็จออกมานอกหอ ง
น้นั แลวรับสัง่ ใหนายฉนั นะเตรียมผูกมา กณั ฐกะสขี าวตวั โปรดของพระองคในบดั นัน้ เพ่ือพระองคจ ะเสดจ็ ทางไกล
ขณะท่ีนายฉันนะออกไปเตรียมผกู มาอยนู น้ั เจาชายสทิ ธตั ถะทรงดํารวิ า พระองคควรเสดจ็ ไปดพู ระโอรสเพ่งิ ประสูติของพระองคเ สียสกั
ครัง้ หน่ึงกอนแตท่ีจะออกไป ดงั นั้น พระองคจ ึงไดเ สดจ็ ไปยังหอ งเปนทีบ่ รรทมของพระชายาและพระโอรส เมอื่ เสดจ็ ไปถงึ ก็ไดท รงเหน็ วา พระ
ชายากาํ ลังบรรทมหลับ วางพระหตั ถกกพระโอรสของพระองคไวอยา งแนบสนิท พระองคทรงรําพงึ วา “ถาเราจักยกพระหัตถข องพระเทวขี ้ึน
พระนางก็จะต่ืนบรรทม ถาพระนางตื่นบรรทมก็จกั ทรงขดั ขวางการออกไปของเรา เราตอ งไปบดั นแี้ ลว เมื่อใดเราไดพ บสงิ่ ซ่ึงเราแสวงหาแลว จงึ
คอยกลบั มาเย่ียมลกู นอ ยและแมของเขา” ดังนี้ เจา ชายไดเ สดจ็ ออกจากพระตําหนกั อยางเงียบกรบิ จนไมมผี ูใดตนื่ ข้ึนเห็นเหตุการณในทามกลาง
ความสงัดเงยี บแหงเที่ยงคืนนนั้ พระองคทรงข้ึนประทบั บนหลงั มา กัณฐกะซึง่ เปนมาแสนรู รจู กั ระมดั ระวังไมสง เสยี งดังอยา งเดยี วกนั พระองคมี
นายฉันนะจับหางมา กัณฐกะ ไดเสดจ็ ไปสปู ระตูนครและทรงผา นออกไปไดโดยไมมใี ครขดั ขวาง พลางขบั มาหนหี างจากบุคคลท้ังหลาย ซ่ึงทุก
คนก็ยงั พากันมีความจงรกั ภกั ดีในพระองคอ ยู
เม่อื พระองคเ สดจ็ ไปไดหนอยหนง่ึ กท็ รงชักมาใหเหลียวกลบั ประทบั นิ่งทอดพระเนตรยอนมาเปนครงั้ สดุ ทายสนู ครกบลิ พสั ดุ ในทามกลาง
แหงแสงจนั ทรซง่ึ บดั นผี้ ูค นกําลังพากนั หลบั สนิทสงบเงียบ ในขณะท่เี จา ชายแหง นครของมนั เองกําลังจะเสดจ็ จากไปอยางไมอ าจจะทราบไดวา
เมอ่ื ไรจะไดกลบั มาเห็นอีก นครน้เี ปนนครของพระบิดาของพระองคเอง ท้งั ยงั เปน นครซึ่งมพี ระชายาอันสดุ ท่ีรักและพระโอรสหัวแกวหวั แหวน
ของพระองคป ระทบั อยใู นนัน้ ดวย แมกระน้นั ก็ยังไมสามารถหนวงเหนีย่ วทําใหพ ระองคท รงทอแทพระทยั ในความแนวแนแ หง การเสดจ็ ออก
แมแตห นอยเดยี ว ความคดิ ทจ่ี ะเสด็จกลับเขา นครมิไดเ กดิ ขึ้นในพระทยั ของพระองคเ ลย พระหฤทัยนน้ั ยงั คงแนวแนป กดิ่งในการเสด็จออกอยูท กุ
ประการ พลางทรงชักมากลับและทรงควบขับมาไปตามทพี่ ระองคทรงประสงค กระทัง่ ลุถึงฝง แมน้าํ อนั มนี ามวา อโนมา ณ ท่ีนน้ั เอง พระองคไ ด
เสด็จลงจากหลงั มา ประทบั ยนื บนหาดทราย ใชพ ระหัตถทง้ั สองเปลอ้ื งเคร่อื งประดับท้ังหมดออกจากพระองค ยื่นสง ใหแกน ายฉนั นะ พรอมกับ
ตรัสวา “นฉี่ ันนะ จงเอาเครือ่ งประดับเหลานีข้ องเรา พรอ มทั้งมากณั ฐกะกลบั ไปบานเมอื ง บัดน้เี ปน เวลาทเี่ ราสละโลกแลว”
นายฉันนะไดร อ งวา “ทลู กระหมอมสุดที่รัก อยาไดเ สด็จไปแตพ ระองคเ ดยี วดังน้เี ลย จงโปรดใหข าพระองคไดไ ปดว ยอีกคนหนงึ่ เถิด” แม
นายฉนั นะจะไดวิงวอนครงั้ แลว ครง้ั เลา เพ่ือขอตามเสดจ็ ไปทกุ แหง ท่พี ระองคจะเสด็จตามไปกต็ าม เจา ชายก็ยังทรงยนื ยนั ปฏิเสธไมยอมใหไ ปกบั
พระองคอ ยนู ั่นเอง
พระองคไดตรสั แกนายฉันนะวา “มันยังไมใชเ วลาทจ่ี ะสละโลกสาํ หรับเธอ ฉันนะ ! เธอจงกลับไปบา นเมืองเสยี เดี๋ยวน้ี จงทลู พระบดิ าพระมารดา
ดว ยวา ฉันยงั ปลอดภัยอย”ู พระองคไ ดท รงบงั คับใหน ายฉนั นะนําเคร่อื งประดบั และมา กัณฐกะกลับไปดว ยอาการอนั เฉียบขาดด่งั นี้
นายฉนั นะ ไมส ามารถจะฝา ฝนพระบญั ชาแหง เจานายของตนได ดังนัน้ ท้ังๆที่มีหวั ใจอนั เหย่ี วแหง และร่ําไหอยูตลอดเวลา เขาก็จาํ ตองกา ว
ยา งกลับไป ไปตามถนนสูนคร เขาจงู มา กณั ฐกะพรอ มทง้ั นาํ เครื่องประดับของเจา ชายกลับไปถงึ นคร แจง ขา วแกคนท้งั หลายวา เจา ชายซึง่ เปน
เจา นายสุดทีร่ ัก อนั พวกเขาไดพ ากนั ทะนถุ นอมมาจนถึงทีส่ ดุ น้ัน บดั นี้ไดสละพระชนกชนนี พระชายาและพระโอรส รวมทงั้ อาณาจกั รไว
เบื้องหลัง เสดจ็ ไปเปนนกั บวชผูไรบานเรือนโดยประการทั้งปวงแลว
เจาชายสิทธัตถะโคตมะ แหงศากยวงศ ผูทรงมีพระชนมายุ 29 ป ยงั ทรงอยใู นวัยหนุม มผี มอันดําสนทิ ประกอบไปดว ยพละกาํ ลังของคน
หนมุ ไดเสดจ็ ออกจากเรอื นสูความเปน ผไู มม เี รือน เพอื่ ทรงแสวงหาหนทางท่จี ะทําใหพระองคแ ละคนทั้งปวงประสพชยั ชนะ อยูเหนอื ความเจบ็
ไข ความทกุ ขโศกและความยากเข็ญทั้งปวงดวยอาการอยางน้ี
พุทธประวตั ิ ฉบบั สาํ หรับยวุ ชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรียบเรยี งจาก ฉบับภาษาองั กฤษ ของ ภิกษุสีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 7 พระมหากรุณาธิคณุ
เม่ือไดประทบั อยู ณ ปาริมแมน ้าํ ที่พระองคไดเ สดจ็ จากนายฉนั นะน้ัน ชั่วขณะหน่ึงแลว เจา ชายสทิ ธัตถะซ่งึ บดั น้อี ยใู นสภาพแหง นักบวช
ผกู ระทําภกิ ขาจาร ไดเ สดจ็ มงุ หนาสูท ิศใตตรงไปยังประเทศมคธ พระองคเ สดจ็ ถงึ ราชธานีชอ่ื นครราชคฤห อันเปน ที่ประทบั ของพระเจาพิม
พิสาร ราชาแหง ประเทศนั้น ในพระนครน้นั พระสิทธตั ถะทรงถอื ภาชนะขออาหารเสด็จไปตามทอ งถนนเพื่อการภกิ ขาจารเยีย่ งนักบวชทั้งหลาย
แตอยางไรก็ตาม พระองคป รากฏแกส ายตาของประชาชนวา มไิ ดเปน เชนนกั บวชตามธรรมดาเลย ประชาชนตา งสงั เกตเห็นวาพระองคม ลี กั ษณะ
ผดิ จากนกั บวชธรรมดาหลายประการ ดงั นนั้ กพ็ ากันหาอาหารที่ดีที่สดุ อันจะพึงมมี าถวายและใสล งในบาตรของพระองค
เมอ่ื พระองคทรงรบั อาหารไดพ อสมควรแลว กเ็ สด็จออกจากนคร ไปสูท ่ีอนั สมควรแหงหน่ึง ประทับนงั่ เพ่ือเตรียมฉนั อาหารตามท่ไี ดรบั มา
แตทานท้งั หลายจงคิดดเู ถิด วาอาหารท่ีไดมาในวนั นั้น จะปรากฏในความรสู ึกของพระองคอยา งไร พระองคมีกําเนิดเปน เจาชาย ทรงประสพแต
พระกระยาหารอันประณีตทีส่ ุด มีผูปรนนิบตั ิใหเ สวยดว ยอาการทปี่ ระเลาประโลมใหเปน ทพี่ ึงพอใจท่สี ดุ ไมทรงเคยประสพอาหารช้นั เลว ท้งั ได
ระคนกนั ในภาชนะอันเดยี วเชนนม้ี ากอนเลย ลําไสของพระองคเร่มิ กระอักกระอวนราวกะจะทันออกมาจากพระโอษฐ ในเม่อื ไดทรงกม ลงดใู น
บาตรอนั เตม็ ไปดว ยอาหารนานาชนดิ นานาพรรณ คละปนกนั จนไมทราบวา อะไรเปน อะไร พระองคไมทรงสามารถบังคบั พระองคเ องใหเ สวย
อาหารเชน นไ้ี ด ท้ังทรงนกึ ใครจะขวางทง้ิ ไปเสียโดยไมเ สวยอะไรเสยี เลยจะดกี วา
แตใ นที่สดุ พระองคทรงยับย้ังความคดิ เชนนนั้ ไวไ ด พระองคไ ดทรงคดิ และรําพงึ กบั พระองคเองดังตอไปนี้ “สิทธตั ถะ เธอกําเนดิ ในราช
สาํ นกั แหงขัตตยิ วงศอันใหญยิ่ง มอี าหารทุกๆ ชนิด ลว นแตเ ปนอยา งดีสําหรบั กินไดต ามปรารถนา ขาวก็อยางดี แกงกับกอ็ ยางดีและเหลือเฟอ แต
แทนทเ่ี ธอจะอยกู นิ อาหารเชนนน้ั ในวงั เธอกลบั ต้งั ใจอยางเดด็ เด่ียวเพ่อื ออกมาเปน นกั บวชไรบ านเรอื น มชี วี ติ อยดู ว ยอาหารของคนขอทาน
ตามทค่ี นใจบุญเขาจะบริจาคให แมในบัดน้เี ธอก็ยังยืนยนั ความเปนอยางน้นั อยู วา เธอเปนนักบวชท่ีไรบ านเรือน แลว บดั น้เี ลา เธอกําลงั จะขวา ง
ท้ิงอาหารนีเ้ ชน นน้ั หรอื เธอกาํ ลงั ไมประสงคจะกินอาหารชนิดท่เี ปนของนักบวชผไู รบ า นเรอื น ตามทีเ่ ขาใหม าอยา งไร เธอคิดวา การทาํ เชนน้นั
เปนการสมควรแลว หรอื ”
พระสทิ ธตั ถะทรงใหโ อวาทแกพ ระองคเอง พรอ มทงั้ เหตุผลนานาประการ เพอ่ื ปรบั ปรงุ พระหฤทัยใหเ หมาะสมแกการท่ีจะตองเปน อยูดวย
อาหารของคนขอทาน ตามธรรมเนียมของนักบวชทงั้ หลาย ในทส่ี ดุ แหงการตอ สูกนั ในภายในจติ ใจครงั้ นี้ พระองคเ ปน ฝา ยชนะความกระดา งถอื
ตวั ทรงหมดความรังเกยี จในอาหารอันวางอยูเฉพาะพระพกั ตร แลวทรงเร่ิมเสวยอาหารนั้น โดยปราศจากอาการอนั กระสบั กระสายแกประการ
ใด และไมตองทรงลําบากพระทัยในการทจี่ ะตองฉันอาหารเชนนนั้ อีกสบื ไป
ในคร้ังน้นั ประชาชนชาวเมืองราชคฤหไดพ ากันโจษจันถึงนกั บวชแปลกหนา ซึ่งเขามาบณิ ฑบาตในนครเมอื่ เชา น้ี วา มีลักษณะผิดแปลกจาก
นกั บวชตามปรกติอยางไมอาจจะเทยี บกนั ได ในความสงางามและความมลี กั ษณะสงู สง ขา วอนั นไ้ี ดแ พรสะพดั ไปจนกระท่ังถงึ วงั หลวง ทราบถงึ
พระเจา พมิ พสิ าร จนถึงกบั พระองคไ ดท รงสง ราชบรุ ุษออกตดิ ตามเพอื่ ใหท ราบวา นักบวชผแู ปลกประหลาดนค้ี ือใครกัน
โดยเวลาไมมากนกั ราชบุรุษผสู ือ่ ขาวเหลา นน้ั ก็สามารถทราบเรอ่ื งราวอนั เกยี่ วกับพระสิทธัตถะไดครบถวน และพากนั กลบั มากราบทูลให
พระราชาของตนทราบวา นกั บวชผนู ั้นคอื พระโอรสองคใ หญข องพระราชาแหงชนชาวศากยะ ทัง้ เปนทายาทผจู ะตอ งสืบราชบลั ลงั กอ ีกดวย แต
พระองคทรงสละสง่ิ ทงั้ ปวงออกบวชเปนภิกษุ เพื่อเสาะแสวงหาหนทางอนั จะทําใหคนเราพน จากความครอบงําของความแกช รา ความเจบ็ ไข
และความตาย
เม่ือราชบรุ ุษกราบทลู ดงั นนั้ พระเจา พมิ พิสารไดทรงสดบั ดว ยความตนื่ เตนอยางใหญหลวง พระองคไ มเคยทรงทราบมาแกก อนวา มนี กั บวช
ผใู ดเคยออกบวชเพอื่ เสาะแสวงหาส่ิงอนั แปลกประหลาดเหนอื กฎธรรมดาเชนนั้น แตเ ม่ือฟงดูกร็ สู ึกวา เปน การกระทาํ ทน่ี า เคารพบูชาอยา งยง่ิ
เปนการเหมาะสมแกเจาชายชาติชาตรแี ทจริง และทั้งเปนสิ่งท่อี าจจะเปน ไปไดว าจกั นํามาซ่งึ ความสําเรจ็
พระองคไ ดเสดจ็ ไปทูลขอรอ งใหพ ระสิทธตั ถะประทับอยูในเขตนครของพระองค โดยพระองคจ ักเปน ผูถวายอาหารบณิ ฑบาตและสิ่งอน่ื ๆ
อันจกั เปนเคร่อื งอํานวยความสะดวก และนาํ มาซ่ึงความสาํ เร็จในสิง่ ที่พระองคท รงประสงคไ ดโ ดยงา ย แตพ ระสทิ ธัตถะทรงปฏิเสธ โดยตรัสวา
พระองคไ มอาจประทับอยู ณ ทใ่ี ดที่หน่ึง แตแ หงเดยี ว ตลอดเวลาทย่ี งั ไมท รงประสพสง่ิ ที่พระองคทรงประสงค เมอื่ เปน ดัง่ นน้ั พระราชาไดทรง
ขอรอ งใหพระองคท รงรบั คาํ วา เมอ่ื บรรลุถึงสง่ิ ซ่งึ ทรงประสงคแลว จกั เสดจ็ มาสูน ครของพระองคกอ น เพ่อื โปรดใหพ ระองคและประชาชนๆ
ไดท ราบถงึ สงิ่ นั้นดว ยเปน พวกแรก
พระสทิ ธัตถะไดเสด็จจากนครราชคฤหตรงไปยังชนบทอันเตม็ ไปดวยทวิ เขาเปน ท่ีอยูแหง ฤษแี ลมนุ ี นักบวชนานาชนิด ซึ่งพระองคท รงหวงั
วา บุคคลเหลา น้จี กั สามารถชว ยใหพระองคไ ดท รงศกึ ษา และทราบถึงความจรงิ เร่ืองชวี ติ ความจริงเรอื่ งความตาย ตลอดถงึ ส่ิงชวั่ รา ย กลา วคือ
ความทกุ ขทรมาน อันเนือ่ งกนั อยกู บั ชวี ติ น้นั เพื่อหาหนทางกาํ จัดเสยี โดยสนิ้ เชิง
ขณะทีพ่ ระองคเสดจ็ ไปตามหนทาง ไดทรงเหน็ ฝุน ฟงุ ตลบฟา ลงมาจากภูเขา พรอมท้งั เสียงกบี สัตวจํานวนมากกระทบกบั พ้นื ดิน ครั้งเสด็จ
ใกลเ ขา ไป กท็ อดพระเนตรเหน็ แพะและแกะฝูงใหญ ออกมาจากกลุมฝุน อนั ฟุงขนึ้ ดุจเมฆนั้น ฝงู สัตวท ี่นา สงสารนน้ั กําลังถูกขับตอนไปทางใน
เมือง ตอนทายๆ ปลายฝงู อันยาวยืดนนั้ มีลูกแกะออนตัวหนึง่ ขาเจ็บเปนแผล มเี ลอื ดไหลโซม ตองพยายามโขยกเขยกเดนิ ไปตามฝงู ดว ยความ
เจบ็ ปวดอันทรมาน
เมอื่ พระสิทธัตถะทอดพระเนตรเห็นลกู แกะตัวน้ี และทงั้ ทรงสังเกตเห็นแกะทเ่ี ปน แมของมนั กาํ ลังเดินวกวน พะวงหนา พะวงหลงั เพราะมี
ลูกเลก็ ท่จี ะตองหว งหลายตัว พระหฤทัยของพระองคก็เต็มอัดอยดู วยความกรณุ า พระองคท รงอุมลกู แกะแลวเดนิ ตามฝงู แกะไปขา งหลงั พลาง
ตรสั วา “สัตวท ่นี า สงสารเอย ฉนั กําลงั จะไปหาพวกฤษีบนภเู ขา แตม นั กเ็ ปน ความดเี ทากันในการทฉ่ี ันจะชวยบรรเทาความทกุ ขข องเจา หรือใน
การที่ฉนั จะไปน่งั สวดมนตภาวนากบั บรรดาฤษเี หลา น้นั บนภเู ขา”
เมือ่ พระองคท รงทอดพระเนตรเห็นหมคู นเล้ยี งแกะซง่ึ เดินตามขา งหลัง ก็ตรัสถามวา เขาจะตอนฝงู แกะเหลา นไ้ี ปทางไหน และทาํ ไมเขาจงึ
ตอนแกะเหลาน้ใี นเวลาเทยี่ งวนั เชน นี้ แทนท่ีจะตอนมนั กลับจากท่เี ล้ียงในเวลาเย็น คนเหลา นัน้ ไดกราบทลู พระองควาเขาตองทาํ ตามคาํ สง่ั ซึง่ ส่ัง
ใหน าํ แพะและแกะอยางละรอยตวั ไปสภู ายในนครตอนกลางวันเสียแตเ นิ่น เพื่อใหเ ปนการพรักพรอ มทีจ่ ะประกอบการบูชามหายัญของ
พระราชาในตอนคาํ่ พระองคตรสั วา “ฉันจะไปกบั พวกทา นดวย” แลว พระองคก ็เสดจ็ ตามฝงู แกะน้นั ไป ทรงอมุ ลกู แกะตัวนอ ยนั้นไวใ นออม
พระหัตถตลอดทาง” (*เรอื่ งฝงู แกะนี้ ไมม ีในพุทธประวตั ิอยางไทย)
เมอ่ื พระองคเ สดจ็ มาถงึ ริมทา น้ําแหงหนึง่ มผี หู ญงิ คนหน่งึ เดนิ ตรงมาหาพระองค ทําความเคารพอยางนอบนอมแลวไดกลา วกะพระองคว า
“ขาแตพ ระเปน เจา สูงสดุ พระองคโปรดเมตตาแกดิฉัน จงโปรดบอกใหทราบเถดิ วา เมล็ดพันธผุ ักกาด ทส่ี ามารถแกความตายไดน้นั ดฉิ ันจักหา
ไดจ ากท่ไี หน ” เม่ือสตรีผูนนั้ ไดเ หน็ อาการสนเทหข องพระองค จึงไดกลาวตอ ไปอีกวา “พระเปน เจา ไดล มื เสยี แลวหรือ เม่ือวานน้ี ดฉิ นั ไดน าํ ลูก
ชายเล็กๆ ซงึ่ เจ็บหนักจวนจะตาย มาใหพ ระเปนเจาดูทีใ่ นเมือง และไดถ ามถงึ ยา ทจ่ี ะปองกนั ไมใ หต ายเพราะดิฉนั มีลูกคนเดียว พระเปนเจา ได
ตอบวา มียาซึ่งอาจชวยชวี ติ เขาไวได ถา ดฉิ นั อาจหาเมลด็ ผกั กาดดาํ มาหนึ่งโกละ จากเรือนซ่ึงไมเ คยมีใครตายเลย !”
พระสทิ ธัตถะไดตรัสถามดว ยนํ้าเสยี งอนั ออนโยน และพระพักตรอ นั ยม้ิ แยมวา “กเ็ ธอหาเมลด็ ผักกาดนั้นไดม าแลวหรือยังเลา นองหญิง ”
หญงิ น้ันไดก ราบทูลดวยนํ้าเสยี งอนั เศรา ทส่ี ดุ วา “หาไมไดเลย พระเปน เจา ดิฉันเที่ยวหาเมลด็ พนั ธุผ ักกาดอยา งทีว่ า นั้นไมได แมดฉิ ันจะเทย่ี ว
เสาะหาไปทกุ บานทุกเรอื นแลว และทกุ ๆ คนเขาก็พากันเตม็ ใจจะให แตพอดิฉันบอกเขาวา ฉนั ตอ งการแตเ มล็ดผกั กาดทีม่ ีอยูในเรอื นซึ่งยงั ไมเคย
มคี นตายมากอ น เขาจะพากันกลา ววาดฉิ ันพูดเรื่องทน่ี า พิลกึ กกึ กอื เกินไป เพราะบา นเรือนของคนเหลานน้ั ลว นแตมคี นตายในเรอื นทง้ั นนั้ บาง
เรือนยังเคยตายกันมากกวาคนหนง่ึ บางคนบอกวา เคยมที าสตาย บางคนวา บดิ าตาย บางคนวาแมตาย บางคนวาลูกชายตาย บางคนวา ลกู หญงิ ตาย
ทุกๆ บาน ทกุ ๆ เรือน ไมใครกใ็ ครไดต ายไปแลวทั้งน้ัน ดิฉันจงึ ไมแ สวงหาเมลด็ พนั ธุผ กั กาดดังกลา วน้ันไดจ ากที่ใดเลย ดฉิ นั จักหาเมลด็ ผักกาด
ชนิดนนั้ มาแตไหน กอนแตทีล่ กู ชายเพียงคนเดยี วของดิฉนั นี้จกั ตายไป จักไมม บี านใด บา งหรือทไ่ี มมใี ครเคยตายเลย ”
พระสทิ ธัตถะไดต รัสตอบแกห ญงิ น้นั ซ่งึ บัดนีไ้ ดเริม่ รอ งไหส ะอึกสะอนื้ วา “เธอไดก ลา วเองแลว มใิ ชห รอื วา ไมมีบานเรือนหลงั ใดทีไ่ มเ คยมี
ใครตายเลย เธอไดพ บความจรงิ อันนี้แลว ดว ยตนเอง บดั น้ี เธอไดท ราบแลววา ความทุกขเ ชน นี้ มใิ ชเปน ความทกุ ขทเ่ี กิดขึน้ แกเ ธอเฉพาะแตผูเดยี ว
ในโลกนี้ บัดนี้ เธอไดทราบดวยตนเองแลววา คนท้ังโลกกร็ อ งไหเพราะเหตุอยางเดียวกนั กับเธอเต็มไปหมด จงกลบั ไปบาน แลว จัดการฝง ศพลูก
ของเธอทตี่ ายแลวเสยี เถิดนองหญงิ เอย สว นฉันนจ้ี กั ไปเสาะแสวงหาส่งิ ซ่งึ จักระงับความโศกของเธอ และของคนทั้งหลาย หากพบแลว ฉนั จะ
กลบั มาอีก และจะมาบอกเลาส่งิ นั้นใหเธอทราบ”
พระสทิ ธตั ถะไดเสดจ็ ตามฝูงแกะ ซ่งึ กาํ ลงั กาวเขาไปใกลความตายเขา ทกุ ทีนนั้ กระท่ังถงึ นคร แลว เสดจ็ ตอไปจนกระทัง่ ถึงวงั หลวง อนั เปน
ท่ซี ึง่ จะมกี ารบูชายญั ณ ทน่ี ้ัน พระราชาประทับยืนอยกู ับหมนู ักบวช ซึง่ กาํ ลังสวดบทมนตสรรเสรญิ คุณเทพเจาทง้ั หลายอยู ในขณะนั้นไฟบน
แทน บูชายญั ไดตดิ ขน้ึ แลว นกั บวชเหลา น้นั ก็พรอมทจี่ ะทาํ การบูชายญั ดว ยฝูงสตั วทีเ่ พ่งิ มาถงึ ขณะทห่ี วั หนานักบวชกําลังยกมีด เง้ือข้ึนเพือ่ จะตดั
ศีรษะแพะที่ถูกนําเขา มาเปน ตวั แรก พระสทิ ธัตถะไดทรงกาวเขาตรงหนา และหยุดย้งั การกระทาํ ของเขาไว
พระสิทธัตถะไดต รสั แกพ ระเจาพิมพสิ ารวา “อยาเลย มหาราช อยาใหผบู ชู ายญั เหลา น้พี รา ชีวิตสตั วทนี่ าสงสารเหลานั้นเลย” พอตรสั เชน นั้น
แลว กอ นทใ่ี ครๆ จะทราบวา พระองคจ ะทาํ อะไรตอไป พระองคไดทรงรีบแกเ ชอื กหญา ทเ่ี ขาใชผ กู แพะตวั นนั้ ออก และปลอยใหม นั กลับไปหา
ฝงู ของมนั ไมมีใครในทน่ี นั้ แมแ ตพระราชาเอง หรือแมแ ตหวั หนา นักบวชผูทําพิธบี ูชายัญนน้ั ไดทันเกิดความรสู กึ ทจี่ ะขัดขวางพระองค ในขณะ
ทพี่ ระองคท รงปลอยสตั วตัวนน้ั ใหเปนอสิ ระ ท้งั นี้ เปน เพราะพระองคท รงมีทา สงา งามและสูงสง ครอบงําความรสู กึ ของคนท้งั หลายในขณะนั้น
เสียส้ิน
พระองคไ ดต รัสแกพ ระราชาและนักบวช ผูประกอบพิธีบูชายัญ ตลอดถงึ ประชาชน ทไ่ี ดพากันมาดกู ารบูชายญั น้ันใหท ราบถงึ ขอท่ีชวี ิตนี้
เปนของท่นี าอศั จรรยเพยี งไร คอื การทใี่ ครๆ ทาํ ลายมันได แตเม่ือทาํ ลายลงไปแลว ใครก็ไมอาจสรา งมันใหกลับขึ้นมาได พระองคไดต รัสแกค น
ที่ลอ มรอบอยใู นทนี่ ัน้ วา ทุกตวั สัตวซ ึ่งมีชวี ิต ยอ มรักชีวติ ยอ มกลวั ตอความตายเชน เดยี วกับมนษุ ย แลว ทาํ ไม มนษุ ยจ ะมาใชกําลงั ที่ตนมีเหนือ
สัตวผเู ปน เพื่อนเกิด แก เจบ็ ตาย ดวยกันน้ัน ใหเ ปนไปในทางปลนเอาชวี ิต ซง่ึ เปนที่รักของมัน ซ่งึ นาอศั จรรยด ังกลาวแลว น้ัน ไปเสียเลา
พระองคตรัสตอไปวา ถา มนุษยปรารถนาจะไดรบั ความเมตตากรณุ าแลว ก็ควรแสดงความเมตตากรุณาออกไป ถามนุษยเ ปนผูล างผลาญชวี ติ
เขาก็จะถูกลา งผลาญชวี ติ เปนการตอบแทนตามกฎความจริงซึ่งครองโลก พระองคไดต รสั ถามเขาเหลา นัน้ วา พระเปน เจา พวกไหนกนั ที่
เพลดิ เพลินในโลหติ และแสวงหาความยนิ ดีจากโลหิต ตองเปน พระเจาชนดิ ทไี่ มดเี ปน แนแ ท ผูท ี่แสวงหาความเพลิดเพลนิ จากความทกุ ขยาก
และชวี ิตของผอู น่ื นนั้ ควรจะเปน ปศ าจราย มากกวาเปน พระเปน เจามใิ ชหรือ
พระองคไ ดทรงสรุปวา ถา คนเราปรารถนาจะไดรับความสขุ ดว ยตนเองในอนาคตแลว กต็ อ งไมท ําความทุกขใ หเ กิดแกส ตั วอ่นื แมท ี่ตํ่าตอ ย
เพียงไร ผทู ่หี วานพชื พนั ธุแ หง ความทุกขยากเศรา โศกทรมานลงไปแลว ไมต อ งสงสยั เลย จักตอ งไดเก็บเกีย่ วผลอนั เกิดขึ้นในทํานองเดยี วกนั
พระสิทธตั ถะไดต รัสแกพระราชาและนักบวช ผูประกอบการบูชายญั ตลอดถึงประชาชนชาวนครราชคฤหเ หลา น้ัน ดว ยถอยคําเหลานี้ และดว ย
ลกั ษณาการอนั สุภาพออนโยน เต็มไปดวยความกรณุ าอยา งแทจริง แตก็ทรงไวซึง่ อาํ นาจและกําลังอนั เขม แขง็ ถงึ กบั เปล่ยี นจติ ใจของพระราชา
และนักบวชเหลา นัน้ ไดโดยส้ินเชงิ
จาํ เดมิ แตน ั้นมา พระราชาไดทรงประกาศพระราชโองการตลอดราชอาณาจกั รของพระองค หา มมิใหผูใดประกอบการบูชายญั ดวยสตั วมี
ชวี ิตอีกตอไป ใหประกอบแตการบชู ายัญดว ยส่ิงทีไ่ มตอ งมีการลางผลาญสตั วท ีม่ ชี ีวิต เชน ดอกไม ผลไม ขนมหวาน และส่งิ อ่นื ๆ ซึง่ ไมต อ งมี
การฆา ฟนทําลายชวี ติ เลย พระเจา พมิ พสิ าร ไดทรงขอรอ งตอพระสิทธัตถะอกี คร้งั หนึ่ง เพอ่ื ใหป ระทบั อยใู นอาณาจกั รของพระองค และสัง่ สอน
ชนท้ังหลายใหมคี วามเมตตาปรานีตอสัตวที่มีชีวติ สืบไป พระสทิ ธัตถะไดท รงตอบขอบพระทยั ในความหวงั ดีของพระราชา แตเ น่อื งจาก
พระองคยงั ไมไ ดท รงประสบสิ่งซ่งึ พระองคก ําลังทรงแสวงหา พระองคไมส ามารถจะหยุดอยู ณ ที่ใดทหี่ น่ึง จกั ทองเที่ยวตอ ไปในท่ที ุกหนทุก
แหง ในบรรดาชนผมู ีวิชาความรูเ ปน นกั ปราชญ
พทุ ธประวตั ิ ฉบบั สาํ หรับยุวชน
พุทธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบบั ภาษาอังกฤษ ของ ภิกษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนที่ 8 ความพยายามกอนตรัสรู
ในประเทศอนิ เดียสมัยนนั้ กม็ ีศาสดาผสู อนลัทธติ างๆ ในทางศาสนาใหแ กศ ษิ ยของตนๆ มากมายหลายลทั ธิหลายสาํ นัก เชน เดยี วกบั ในสมยั
นี้ในบรรดาเจาลทั ธเิ หลาน้ี มีศาสดาคนหนง่ึ มนี ามวา อาฬาระ กาลามะ พระสทิ ธัตถะไดเสด็จไปสํานักของศาสดาผูน้ี เพ่อื ศกึ ษาในลัทธิของทาน
พระองคไดท รงศกึ ษาอยกู บั ทา นอาฬาระ กาลามะ ดวยความพากเพียรพยายามจนสามารถเรียนรูและกระทําไดท กุ ๆ อยา งเหมือนดังท่ีอาจารยรู
และกระทาํ ได
ทานอาฬาระ กาลามะ มีความพอใจในพระองคและในความสามารถของพระองค จนถงึ กบั วนั หนงึ่ ไดกลา วแกพ ระองคว า “บัดนี้ ทา นรู
ทกุ ๆ สง่ิ ทีข่ าพเจารู ทานสามารถสั่งสอนลัทธนิ ีไ้ ดเ ชน เดยี วกับที่ขาพเจา สอน ขาพเจา เห็นอยา งใด ทา นเหน็ อยา งน้ัน ทา นเห็นอยางใด ขา พเจาเหน็
อยา งนน้ั ในระหวา งเราท้งั สอง ไมมีความแตกตา งกันเลย จงอยทู ่ีนด่ี วยกนั ชว ยกันสั่งสอนศษิ ยส บื ไปเถิด”
พระองคไ ดตรสั ถามวา “ทานอาจารยไ มม สี ง่ิ ใดทสี่ อนขาพเจา ไดอ ีกแลว หรือ ทา นอาจารยไ มสามารถสอนวธิ ีที่จะทาํ ใหม ีอาํ นาจเหนอื ความ
เปน อยู ความเจบ็ ไข และความตายเสยี แลว หรอื ” ทานอาจารยอาฬาระ กาลามะ ไดต อบวา “ไมม เี ลย ขาพเจา ไมท ราบวธิ ีการทําใหอยเู หนืออาํ นาจ
ของความเปนอยู และความตาย แลว จะสามารถสอนทา นไดอ ยางไรกัน ขาพเจาไมเช่อื วา มีผูใดในโลกน้ี มีความรูใ นขอน้นั ”
ทา นอาฬาระ กาลามะ มีความรูเ ทาที่ทา นไดสอนพระสิทธัตถะไปจนส้นิ เชงิ แลว คอื วิธกี ระทาํ จิตใหข น้ึ ถงึ ขนั้ ท่ีสงบเงยี บ จนไมมคี วามรูสกึ
วา มีสิ่งใดๆ อยูใ นโลกน้ีหรือโลกไหน แลวมคี วามพอใจอยูในความสงบอนั น้ัน แตนีห่ าใชเ ปนวิธีท่จี ะชวยมนษุ ยใหพน ไปจากการท่ตี อ งวนเวยี น
อยูในความเกดิ ความแก ความเจ็บ และความตายไดไม ยงั จะตอ งวนเวยี นอยใู นความทุกขเ หลา นี้ตอ ไป ไมม ที ส่ี ้ินสุด ด่ังน้ันพระสทิ ธัตถะจงึ ไม
ทรงพอพระทยั ในลทั ธนิ ี้ ไดเ สด็จทองเทย่ี วไปตามท่ตี า งๆ เพือ่ ทรงเสาะแสวงหาบุคคลทีส่ ามารถสอนใหพระองคไ ดท ราบส่งิ ที่สงู ย่ิงไปกวา ท่ี
ทา นอาฬาระ กาลามะไดสอนใหสบื ไป
ในลําดับตอมา พระองคไ ดทราบขา วเจาลทั ธชิ อ่ื อทุ กะ รามบุตร วา เปนผมู คี วามรแู ละคุณวเิ ศษในทางจติ อนั สูงยิ่ง พระองคไ ดเ สดจ็ ไปสู
สาํ นักของทา นอุทกะ รามบตุ รผนู ้ี และไดเ ขา เปนศษิ ยศึกษาและปฏบิ ตั ิ ดวยความพากเพยี รอยางแรงกลา จนกระทั่งมคี วามรแู ละความสามารถใน
การกระทําเชนเดยี วกับอาจารยข องพระองคในทสี่ ุด ทา นอทุ กะ รามบตุ ร กเ็ ชน เดยวกบั ทานอาฬาระ กาลามะ คือมีความพอใจในความเฉลียว
ฉลาด และความสามารถของพระสิทธตั ถะอยา งแรง จนถึงกับออกปากชกั ชวนใหอยชู วยส่งั สอนศิษยร วมกนั สบื ไป
พระสทิ ธัตถะไดท รงยอนถามทา นอทุ กะ รามบตุ ร เชน เดียวกับทีไ่ ดทรงถามทานอาฬาระ กาลามะ และกไ็ ดร ับคําตอบอยางเดียวกนั พระ
สิทธัตถะไมท รงพอพระทัยในลัทธิ ซง่ึ สอนใหไ ดผ ลอยา งสูง เพียงแตท าํ จติ ใหม คี วามสงบ ถึงขนาดท่ีไมม คี วามรูส กึ ตอสง่ิ ท้งั ปวง จนถึงกบั จะ
เรยี กวา มชี วี ิตอยูก็ไมใ ช ตายแลวก็ไมใช ของทา นอาจารยผ นู ้ี จงึ ไดท รงลาจากสํานกั นนั้ ไป และทรงตั้งพระทยั วา จักเลิกการเสาะแสวงหาวชิ า
ความรูจ ากสาํ นักเจาลัทธติ า งๆ แตจกั ทรงหาเอาตามลําพังสตปิ ญ ญาและความเพียรของพระองคเ อง
ในประเทศอนิ เดียในสมยั นั้น ก็เหมือนกับประเทศอนิ เดยี ในสมัยน้ี ในการทม่ี ีนกั บวชจํานวนมาก สละบา นเรอื นออกไปบวช โดยพากันคิด
วา การอดอาหารและการทรมานกายโดยวธิ ตี า งๆ น้ัน จกั ทาํ ใหตนไดร ับความสุขในเทวโลกตลอดกาลนาน เขาเหลานน้ั เชื่อวา เม่ือไดร ับความ
ทุกขใ นโลกนม้ี ากเพยี งใด กย็ ิ่งมีความสขุ ในโลกหนามากข้นึ เพียงน้นั เขาเหลานนั้ มคี วามเชื่อเชน น้แี ละปฏบิ ตั สิ บื ๆ ตามกันมาอยา งเครง ครดั
จนกระท่ังถึงทุกวนั นี้
ผบู ําเพญ็ พรตเหลาน้นั บางพวกไดลดจาํ นวนอาหารทีต่ นบริโภคลงวันละเลก็ วันละนอ ย ทกุ วัน จนกระทั่งแทบไมบรโิ ภคอะไรเลย มีรา งกาย
เหลือแตห นังหมุ กระดกู บางพวกปฏิบัติวธิ กี ารยืนดว ยขาขา งเดยี ว จนขาขา งหนง่ึ ลบี ตายไป บางพวกยนื ยกมอื ขา งหน่งึ ขน้ึ ชี้ไปบนอากาศ
ตลอดเวลาจนกระทั่งแขนลบี ตายไป เพราะไมม ีโลหติ ขึ้นไปหลอ เลย้ี งอยา งเพียงพอ บางพวกกาํ มอื แนนเสมอตลอดเวลาไมย อมคลาย จนกระทั่ง
เล็บมืองอก ทะลุฝา มือไปโผลท างหลังมือ บางพวกนอนบนหนามหรือบนแผนกระดาน ซงึ่ เต็มไปดวยเหล็กแหลม ทีป่ ลายตัง้ ชันขึ้นขา งบน ดัง่ น้ี
เปน ตน
พระสทิ ธตั ถะไดทรงกระทําการทรมานพระองค โดยวธิ ตี างๆ โดยทรงหวังวาจกั ไดพบสง่ิ ซงึ่ พระองคท รงประสงค โดยไมท รงคาํ นึงถึงความ
เจบ็ ปวดอันจะเกดิ ขนึ้ แมจะมากมายเพยี งใด เม่ือพระองคไ มไ ดท รงประสพผลดไี ปกวา คนเหลานนั้ พระองคทรงดาํ ริสบื ไปวา หากไดป ระพฤติ
ตบะทรมานรางกายใหม ากขึ้น จนเพยี งพอแลว คงจะประสพความรูท่ีพระองคทรงประสงคโ ดยแนน อน
ขอ ความตอ ไปน้ี เปนการกลา วถงึ การกระทาํ ของพระองคใ นครั้งนั้น ซงึ่ พระองคทรงนํามาตรสั เลาแกพระมหาเถระช่ือสารีบตุ ร ผเู ปนอคั ร
สาวกของพระองคใ นภายหลัง
“ดูกอนสารีบตุ ร เราไดป ระพฤตกิ ารกล้ันลมหายใจ จนกระทัง่ เกิดเสยี งบนั ลือลัน่ ในหขู องเรา และมคี วามเจบ็ ปวดเกดิ ขึ้นในศรี ษะราวกะวา
ถูกแทงดว ยดาบหรือถูกหวดบนศรี ษะดวยแสหนัง ตามเน้อื ตัวน้นั เลารสู กึ เจบ็ เหมอื นคนเอามีดคมมาแลเ ถือเนือ้ หนงั เราทั่วทั้งตวั หรือเหมอื นกับ
ถกู จบั โยนลงไปในกลุมถา นเพลิง
ดูกอนสารีบุตร ตอ มา เราไดประพฤติในความเปนอยโู ดดเดยี่ ว กลางคืนระหวางวันดบั และวันเพ็ญ เราไดเ ทยี่ วไปผูเดยี วในทเี่ ปลยี่ ว อนั เปน ท่ี
ฝง ศพ ตามระหวางตน ไมใหญๆ เราอยทู ่ีน่ันตลอดคนื มีขนลกุ ชนั ไปทัง้ ตัว ทุกคราวทใี่ บไมหลน ลงมา เพราะลมพัดหรือนกบินมาจับตนไม หรอื
เมือ่ กวางหรอื สตั วอน่ื ว่ิงผานมาเรากก็ ลัวจนตวั ส่นั เพราะไมร ูว าในความมืดนัน้ มอี ะไร แตเ ราไมวงิ่ หนี เราไดบังคบั ตวั เราใหทนอยูท่ีนั่น ใหผจญ
กับความกลัว และความสะดุงทเี่ ราไดรบั จนกระทง่ั เราชนะความกลวั น้ัน
ดูกอนสารบี ตุ ร เราไดประพฤติการอดอาหารเปนลําดับๆ ไป เราบริโภคอาหารวันหนง่ึ เพยี งคร้งั เดียว แลว บริโภคสองวนั ตอครั้งหน่งึ แลว
สามวนั ตอ ครง้ั หนึ่ง ดงั น้ี เปนลําดบั ไป จนกระทัง่ 15 วัน จึงบรโิ ภคอาหารคร้ังหน่ึง บางคราวเราบรโิ ภคแตห ญา บางคราวบรโิ ภคแตรากหญา
แหง บางคราวบริโภคแตผลไมป า รากไม ผกั ปา เห็ด เมล็ดหญา ปา และมีบางคราวบรโิ ภคสงิ่ ตา งๆ เทา ทจ่ี ะควา มาไดจ ากพนื้ ดินรอบๆ ตัวตรงท่ี
เรานัง่ น้ัน เราปกปด รางกายของเราดวยเศษผา ที่เขาท้ิงตามปาชา หรือกองขยะมลู ฝอย บางคราวปกปด รางกายดว ยหนงั สัตวท ีต่ ายเองตามทุงนา
บางคราวก็ปด ดว ยแผน หญา ถักดว ยพวงขนนก ซึง่ เราพบเร่ยี ราดอยใู นทีน่ ้นั ๆ
ดกู อนสารบี ตุ ร เราอยผู ูเ ดียวในปาเปล่ยี ว ไมพบเห็นมนษุ ยเ ปนเดือนๆ ในฤดูหนาวในเวลาดกึ หนาวจัดเราออกมาอยเู สียกลางทแ่ี จง ไมผิงไฟ
ถงึ เวลากลางวันมีแสงแดด เราหมกตวั อยูในปาไม ท่เี ยน็ เยอื ก คร้นั ถงึ ฤดูรอนในเวลากลางวนั ที่รอ นเปรย้ี ง เราน่งั อยกู ลางแดดตลอดวนั ครั้นถงึ
เวลากลางคืน เราอยูใ นพมุ ไมทรี่ กทบึ
ดกู อนสารบี ตุ ร เราไดป ระพฤติวธิ ที เ่ี รยี กกันวา “ทําความบรสิ ุทธด์ิ วยอาหาร” เราไมบริโภคอะไรเลย นอกจากถั่ว ครนั้ ถงึ สมัยอื่น เราไม
บรโิ ภคอะไรเลย นอกจากเมลด็ พนั ธุผกั กาด ครง้ั ถงึ สมัยอ่นื อีก ไมบรโิ ภคอะไรเลย นอกจากขาวและเราลดปรมิ าณลงทกุ วนั จนกระทงั่ เหลอื วนั
หนึง่ บรโิ ภคถั่วเพยี งเม็ดหนง่ึ หรือเมลด็ พนั ธุผกั กาดเม็ดหนงึ่ หรือขาวเมล็ดหน่งึ ตอ วนั
ดูกอ นสารบี ุตร เมอ่ื เราบริโภคอาหารนอยเชนน้ี รา งกายของเรากผ็ อมและออ นระทวยอยา งนา กลวั ขาของเรามีลกั ษณะอยางตนออ ตะโพกที่
นงั่ ทบั ของเรามีสณั ฐานด่งั เทา อฐู กระดกู สันหลงั ของเราโปนขน้ึ เหมือนเสนเชอื ก สีขา งของเรา มซี ่โี ครงโผลข ้ึนเปนซๆี่ เหมือนกลอนเรือน ที่ถูก
ทิง้ ราง ตาของเราลึกอยูในเบา ตา เหมือนดวงดาวทป่ี รากฏอยใู นกนบออนั ลกึ หนงั ศรี ษะของเราเห่ยี วยนเหมอื นนา้ํ เตาออนตดั ทิง้ ไวกลางแดด เมอ่ื
เราลบู แขนหรือลูบขาของเราดว ยฝา มอื เพอื่ ใหเ กิดความสบายบาง ขนกห็ ลดุ ขึน้ ทง้ั รากตดิ ไปกบั ฝา มือทลี่ ูบน้ัน
ดกู อนสารีบุตร แมเ ราไดร ับความทุกขอ ันแสบเผ็ดเห็นปานน้ี เรากย็ ังไมไ ดรับความรทู ่ีเราปรารถนา เพราะความรแู จง เห็นจริงนัน้ ไมอาจ
เกิดขนึ้ ไดจากการประพฤติเชนน้ัน ตรงกนั ขาม อาจจะเกดิ จากการพนิ จิ พิจารณาในภายใน และจากการสละเสียซงึ่ การประพฤตอิ ยา งชาวโลกท้ัง
ปวง” ดังนี้
พระสทิ ธัตถะ ทรงทรมานกายโดยทํานองน้ี เกอื บตลอดเวลาประมาณ 6 ป เทา ท่ีทรงทองเทยี่ วไปมาตามทีต่ า งๆ โดยทรงดาํ ริวา เม่ือทรง
กระทาํ อยางพอเพยี งแลว จักไดต รสั รใู นตอนสดุ ทา ย พระองคไดเวยี นมาประทับอยูในดนิ แดนของแควน มคธอกี ณ สถานทอี่ นั เงยี บสงดั ในดงไม
ไผแหง หนึ่งใกลๆ แมน ํ้าซง่ึ มนี าํ้ ใสเยน็ สนทิ ไหลอยูเสมอ มที า ขนึ้ ลงโดยสะดวก มหี มบู านสําหรับภิกขาจารไดโดยงาย และไมไ กลนัก พระองค
ทรงพอพระทยั วา “สถานที่น้เี ปน ท่เี หมาะสมอยางยงิ่ แลว สําหรับนกั บวชเชน เราอยอู าศัยเพือ่ การทาํ ความเพยี ร เราจะอยูอาศยั ในสถานทีน่ ีล้ ะ” ด่งั
นี้
พระสทิ ธตั ถะ ไดทรงถอื เอาสถานทซี่ ่ึงเรยี กวา ตาํ บลอุรุเวลา เปน ท่อี ยปู ระจําของพระองค ทรงบาํ เพ็ญภาวนาและตบะกรรมอ่นื ๆ อยา ง
เครง ครดั ใตตน ไมในถนิ่ น้นั โดยทรงแนพระทยั วา การทาํ เชน นัน้ จกั รูส ิง่ ซ่ึงเปน ความจริงอนั พระองคตองประสงค
ในครัง้ น้นั มผี เู ลื่อมใสในการกระทําอยางเครง ครดั ของพระองคจ าํ นวนหนง่ึ ไดพ ากันมาเฝา ปรนนิบัตพิ ระองค คนเหลา นมี้ ีจาํ นวนหาคน
ดวยกนั เรยี กวา คณะปญจวัคคีย ไดค อยเฝา รบั ใชพระองค ในบางประการ โดยเขาเหลานน้ั เช่อื วา ผทู บ่ี ําเพญ็ ตบะกรรมอยางกลาเชนพระสิทธัต
ถะนี้ตองไมใ ชคนธรรมดา เขาเชอื่ อยา งแนนอนวา นกั บวชผมู ีความอดทนและเสยี สละเชนนี้ ตองประสพผลสําเรจ็ ในสิง่ ทตี่ นประสงคโดย
แนนอน และเมอ่ื ประสพผลสําเรจ็ แลวจักสง่ั สอนสงิ่ ซ่ึงไดรูน้ัน แกผ เู ปนศษิ ยท้งั หลาย
วนั หนึง่ เหตุการณไดบังเอิญเปน จนถึงกบั วา เมื่อพระสิทธตั ถะประทับนัง่ อยแู ตผ เู ดียวใตต น ไมแ หงหนึ่ง มรี า งกายออ นเพลยี เพราะการอด
อาหารและการทรมาน นัง่ บาํ เพ็ญภาวนานานเกินไป พระองคไดล มลงนอนสลบแนน ง่ิ อยู ณ พนื้ ดนิ ไมไหวตงิ หมดกาํ ลงั จนถงึ กบั ไมส ามารถจะ
ฟน คนื ชีวิตได โดยลําพงั พระองคเ อง
แตเปน โชคดี ที่เด็กเลยี้ งแพะในถน่ิ นนั้ คนหนง่ึ ไดบังเอญิ เดินมาพบพระองคบ รรทมสลบอยูในท่ีน้ัน และเดาเอาวา พระองคกําลังจะสิน้ ชีวิต
เพราะการอดอาหาร โดยทคี่ นทงั้ หลายในถน่ิ น้นั รูกันอยูท ัว่ ไปวา พระอรยิ เจา ผนู ้ไี ดเ วน จากอาหารมาหลายวันแลว ดงั นน้ั เดก็ เลี้ยงแพะคนนน้ั
ไดว งิ่ ไปทีฝ่ ูงแพะของตน นาํ แพะนมตัวหนึ่งมาสทู ี่ที่พระองคล ม สลบอยู ไดร ีดนมแพะใหตกจากเตานมโดยตรง หยดลงตรงพระโอษฐข อง
พระองค ซึง่ เผยออยเู ล็กนอ ย เพราะเขาไมก ลา แตะตอ งเนอ้ื ตัวของผทู ่ีใครๆ ถือกนั วา เปนพระอริยเจา โดยเหตุทเ่ี ขาเปน เพยี งเดก็ เลยี้ งแพะ
ในเวลาไมน านนกั นํ้านมนนั้ ก็ไดแสดงผลตามหนา ที่ของมนั แกพ ระสิทธัตถะ ซง่ึ อยูในลักษณะมีชวี ติ เหลืออยเู พยี งนิดเดยี ว ในขณะนั้น
ตอมาอกี ครูหน่งึ พระองคทรงสามารถลุกนงั่ และรสู ึกมคี วามสบายขึ้นกวา เวลาท่ีแลว มา พระองคเ ริ่มรสู ึกวา เพราะเหตใุ ดจงึ ไดทรงสลบไป และ
เพราะเหตุใดในบดั น้ี จึงมีความรสู ึกสดชื่นท้งั กายและใจข้ึนมาได พระองคท รงระลกึ ไดเปนลําดบั ๆ ดงั ตอไปน้ี
“โธเอย เราโงม าเสียแลว อยา งมากมาย เราไดสละภรรยาและครอบครวั สละเหยา เรอื นและทกุ ๆ สง่ิ เราออกบวช เปนนักบวชไรบ า นเรอื น
เพราะประสงคจะรสู จั จธรรม อันเก่ียวกับชวี ิตของมนษุ ยเรา และใหรูวธิ ที จ่ี ะตอ งปฏิบัติ เพือ่ ลผุ ลอนั เกีย่ วกบั ชีวติ ใหดีท่สี ุด แตในการท่ีจะให
ไดรบั ความรูอ นั ลึกซึง้ ยากท่ีจะรไู ดเ ชน น้ี เราควรจะมีสมองและจติ ใจท่ีเขม แขง็ ใหมากที่สดุ ที่จะมากได เพอ่ื เราจะสามารถคดิ และเจรญิ ภาวนา
อยางแนวแนแ ละเขม แขง็ แตใ นที่สุดเรากลบั ไปทําใหร างกายนอ้ี อ นเพลยี ทุพพลภาพไปดวยการอดอาหาร และดว ยการปฏิบตั ิอยา งตงึ เครยี ดอืน่ ๆ
ดังทีเ่ ราปฏบิ ตั ิมาแลว กค็ นเราจกั มจี ิตใจอันเขมแขง็ สดชน่ื ในรา งกายที่ออ นเพลยี ระสาํ่ ระสายไรส ขุ ภาพไดอ ยา งไรกนั !”
“พทุ โธเ อย เราโงอ ยา งเหลือเกนิ ทีไ่ ดไปทรมานตวั เองใหอ อนเพลียในขณะที่ตอ งการกําลงั ท่ีเราอาจจะมีไดใ นการปฏิบตั ิกิจอันสงู สุด ซง่ึ เรา
ไดเสียสละทกุ ส่ิงทกุ อยา งออกมาเพอ่ื ปฏบิ ตั ิ ! ตอ น้ไี ป เราจักบริโภคอาหารทุกชนดิ ตามท่รี า งกายนี้ตองการ เพ่อื กลับคืนไปสูป รกติภาพ เราจกั ไม
บรโิ ภคมากเกนิ ควร เพราะจะทําใหม ึนชาและงว งซมึ ซ่งึ จะทําใหเ ราไมส ามารถบาํ เพญ็ ภาวนาไดพ อเหมาะ เราจักบรโิ ภคแตพอใหเกดิ กําลังกายที่
เหมาะสมเพ่อื วา เราจักมีจิตอนั ใสกระจา ง ซง่ึ ในทส่ี ดุ เราอาจจะไดรูสจั จธรรมทีเ่ ราประสงค” ดั่งนี้
เมือ่ ทรงดํารเิ ชน น้นั พระองคไดท รงเหลยี วไปทางเดก็ เลีย้ งแพะ ซ่ึงบดั นี้กําลังคุกเขา อยขู า งๆ พระองค และตรัสขอใหเขานาํ นมแพะมาใหแ ก
พระองคอกี ชามหนึ่ง เพราะปรากฏวา การบริโภคนมน้นั เปนผลดีแกพระองคมาก เด็กเลย้ี งแพะไดตอบวา “ขาแตพระเปนเจา ขา พเจา ไมสามารถ
ทําเชน นัน้ ได ขาพเจา เปนเพยี งเด็กเลย้ี งแพะตระกูลตาํ่ พระองคเ ปน พระอริยเจาเปนผปู ระเสรฐิ หากขา พเจาสมั ผัสพระองคด ว ยสงิ่ ใดทีข่ า พเจาเคย
จับตองแลว มันจกั เกิดเปนบาปแกขา พเจาอยางใหญหลวง”
พระสทิ ธตั ถะไดตอบวา “พอ หนเู อย เราไมไดขอสงิ่ ซงึ่ เก่ียวกบั ชาตหิ รอื ตระกลู เราขอแตน ม มันไมม ีความแตกตางอยา งแทจริงอะไรกนั เลย
ในระหวางเราทัง้ สอง แมวา เธอเปน เดก็ เลี้ยงแพะและเราเปน ฤษี ในสายเลือดของเราท้งั สอง ตา งก็มเี ลอื ดไหลอยอู ยา งเดยี วกนั ถา มโี จรเอาดาบมา
ตดั รา งกายเราทงั้ สอง เลอื ดกจ็ ะไหลออกมาเปนสีแดงอยา งเดยี วกนั คนเราน้ถี า ทําดีกเ็ ปน คนดีและประเสรฐิ ถาทําเลวกเ็ ปน คนเลวและไม
ประเสรฐิ น่ันแหละคือชาตแิ ละตระกลู อนั แทจ ริง เธอไดท ําสง่ิ ที่ดี โดยการใหน มแกฉันในขณะทกี่ ําลังรอแร จวนจะขาดใจตายเพราะอดอาหาร
เพราะฉะนั้นเธอจึงเปนผทู ่ีมชี าติและตระกูลดีพอแลว สาํ หรบั จะใหน มแกฉ ันสกั ชามหนงึ่ ”
เด็กเล้ียงแพะคนนั้น ดใี จจนบอกไมถ กู ในถอยคาํ อันแปลกประหลาดและนา ชุมช่ืนใจของพระมหาฤษีช้ันพเิ ศษ ซง่ึ แทนท่ีจะโบกมอื บอกให
เขาหลีกหางออกไป เพราะเขาเปนเดก็ เลีย้ งแพะตระกูลตํา่ แตก ลับตองการจะไดน มจากเขา และทั้งยินดที ี่จะดม่ื จากชามอนั เปนภาชนะใชส อย
ประจําตวั ของเขาดว ย เขาจึงไดว่ิงออกไปนาํ นมแพะเต็มชาม กลับมาถวายแกพ ระองคด ว ยความรา เรงิ ยนิ ดี ในขอ ทวี่ า พระองคไดตรสั วา เขาเปนผู
ทม่ี ชี าติและตระกลู ดอี ยางเพยี งพอ สาํ หรบั การทถี่ วายนมแกพระองค เขาไดร ับชามเปลา กลับ และไดก ม ศรี ษะนมสั การขอพร แลว กว็ ง่ิ กลับไปสู
ฝูงแพะของตนดวยความสขุ ใจอยางหาทีเ่ ปรียบมิได* (*เรอ่ื งเดก็ เลยี้ งแพะถวายนมอยางน้ี ไมมีในพุทธประวตั อิ ยางไทย มีแตในพุทธประวตั อิ ยาง
ตา งประเทศ สวนในพุทธประวัตอิ ยางไทย มขี อความกลา ววา เทวดาบางองคไ ดน าํ อาหารอันเปน ทิพยมาแทรกเขาตามขมุ ขนของพระองค จน
กลบั มพี ระกําลงั อยา งเดิม)
เม่อื พระสิทธัตถะ กลบั มีพระกาํ ลังอยางเดิมโดยการเสวยนมเชนน้ีแลว ไดป ระทับที่โคนตนไม เจริญภาวนาตอ ไปเปน ผลดีกวาทแ่ี ลว มา เมื่อ
พระองคไ ดประทับนัง่ อยู ณ ทีน่ ั้น พอตะวันตกลับขอบฟา ไป ไดท รงสดบั เสยี งเพลงของหญิงนกั รองหมหู นึง่ ซง่ึ เปน นักรองและนักระบาํ อาชพี
เดนิ ผานมาทางน้ัน เพอ่ื เขาไปประกอบอาชพี ในเมอื ง และเมื่อหญิงเหลาน้นั ผานมาใกลพระองค กพ็ อดีกับท่ีหญิงเหลาน้นั ไดรองเพลงขน้ึ อันมี
เนื้อความวา
“เม่อื สายพณิ ของเราหยอนเกดิ ไป ยอ มสง เสยี งไมน าฟง และเมือ่ ตึงเกินไป ก็ขาดและไมอ าจดงั ไดอ กี เพราะฉะนน้ั เพอื่ ผลอนั ดีทส่ี ุด ใครๆ
ไมค วรขึงสายพณิ ใหหยอ นหรอื ตึงเกินไป แตค วรขึงใหพอเหมาะ มักจกั สง เสยี งอันไพเราะโดยแทจ รงิ ” ดั่งน*ี้ (*พุทธประวตั อิ ยางไทย กลา ววา
พระอนิ ทรลงมาดดี พิณใหฟง แทนทจี่ ะเปนหญงิ รอ งเพลงเชนน)้ี
เม่อื พระองคไ ดท รงสดับบทเพลงของหญิงเหลาน้นั ก็ทรงรสู ึกขนึ้ ในพระทยั วา “บทเพลงของหญงิ เหลา นี้ ชางถูกแท หญิงเหลา นสี้ อนอะไรๆ
ใหแกเ รามากทเี ดยี ว ทีแ่ ลว มาเราขึงสายพิณแหงชวี ติ ของเราตึงเกินไปอยางนา สงั เวช มันตึงเกนิ จนจวนจะขาดลงอยางไมมีเหลือ ถา ในวันนี้ไมได
รับความชว ยเหลอื จากเด็กเลย้ี งแพะนนั้ แลว เราก็คงตายไปแลว แลว อะไรเลา ทเี่ ปนผลแหงการแสวงหาสจั จธรรมของเราทง้ั ที ! เร่อื งก็จบลงทีน่ ี่
และบัดนี้ แลวสงิ่ ซึง่ ฉันและมนษุ ยทั้งหลาย จะพึงไดร ับจากการเสาะแสวงของฉนั กม็ าพลอยลม เหลวลงอยางนาเศรา เพราะความเขา ใจผดิ ใน
เรือ่ งอาหารน้ีนิดเดยี ว วิธปี ฏิบัตอิ ยางทารณุ ตอรางกายเชน นี้ มิใชว ธิ อี ันถกู ตองสาํ หรับการคน หาสัจจธรรมเลย จําเดมิ แตน ี้ไป ฉันจักเลิกปฏบิ ตั ิตอ
รางกายอยางทารณุ เสยี โดยเด็ดขาด แตจะปฏบิ ัติอยา งเอาใจใสระมดั ระวังใหเ หมาะสมทส่ี ุด ทีจ่ ะพึงกระทําได”
ตอ จากนั้น พระสิทธตั ถะไดท รงออกบณิ ฑบาตทกุ เวลาเชา ทรงบรโิ ภคอาหารตามแตจะไดมาทกุ ๆ วัน พระองคกลบั ทรงมีพระกําลังอยาง
เดิม มพี ระฉวีวรรณผุดผอ งเปนสีทอง ดุจเดยี วกบั เมื่อยังประทับอยูในพระราชวังของพระองคในกาลกอน แมพ ระองคจะไดทรงมองเห็นอยางชดั
แจง วา การทรมานกายอยางเครงเครยี ดของพระองคน ั้น มผี ลทํานองเดยี วกบั การพยายามผกู อากาศใหเปนปม หรือเชน เดยี วกับการนําทรายมาฟน
ใหเ ปน เชือก โดยไมมผี ิดกนั เลยดง่ั นีก้ ต็ าม สว นบุรุษหา คน มิไดมคี วามคดิ หรือรสู กึ เชนเดียวกับพระองคแตอยางใด คนท้ังหา น้นั ยงั คงมคี วาม
ยึดถือเชน เดยี วกับคนอ่ืนๆ อยูนัน่ เองวา วธิ ที ่ีจะตรสั รูส ัจจธรรมในศาสนานนั้ ตองสาํ เรจ็ มาแตการทรมานรา งกายแตว ิธีเดยี วเทา นัน้
เมื่อคนทีห่ า นน้ั เหน็ วา บคุ คลซง่ึ ตนเคยยกยองเปนอาจารยไดเลิกละการอดอาหาร และการทรมานกายโดยวิธีตางๆ มาบริโภคอาหารบาํ รงุ
รา งกายตามปรกติธรรมดาเชน นน้ั ก็พากันกลาวแกก นั และกันวา “อา ! พระสมณะโคตรมะศากยบตุ รนก้ี ลายเปน คนมักมากไปเสยี แลว เลกิ ละการ
ตอ สูแ ละความพากเพียร กลับไปสชู ีวติ แหง ความบันเทิงเริงรื่นเสียแลว” ด่งั น้คี นทั้งหาไดพ ากันละท้งิ พระองค เพราะแนใจเสียแลว วา ไมมี
ประโยชนอ นั ใดในการทีจ่ ะอยูอาศยั กบั อาจารยผูเลิกละความเพยี รโดยประการตา งๆ คอื การทรมานกายเสียเชน น้ี
คนท้งั หา เชือ่ อยางแนนแฟน วา นักบวชท่ีไมทรมานกายนัน้ ยอมไมมีทางที่จะตรสั รูธรรมอนั สงู สุดในทางศาสนาเลย คนทง้ั หานี้ ไดม คี วาม
หลงผิดเพียงไร ไดปฏิบตั ิอยางเขลาทสี่ ดุ เพียงไร ไดป รากฏเปน ความจริงออกมาในเวลาอันไมน านเลย บดั น้ี อาจารยข องเขา ซ่งึ ทีแ่ ทห าไดห มนุ
ไปจากทางแหง สจั จธรรมแตป ระการใดไมน ั้น ไดเปน ผซู ง่ึ กาํ ลงั กาวมาถงึ จดุ แหงความสําเร็จ ในการทจี่ ะบรรลุส่ิงซง่ึ พระองคทรงประสงคอยา ง
แนน อนแลว
พุทธประวัติ ฉบับสาํ หรบั ยุวชน
พทุ ธทาสภิกขุ แปลและเรียบเรยี งจาก ฉบับภาษาอังกฤษ ของ ภิกษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 9 ประสพความสําเรจ็
ในวันหนง่ึ ตอ มา มสี ตรผี หู นง่ึ นามวา สชุ าดา ผูอาศยั อยใู นถ่ินนนั้ ไดน ําขาวอยางดี ซึง่ หุงขึน้ ดว ยนมทไ่ี ดค ัดเลอื กเปน อยางดีทีส่ ดุ มาถวาย
พระองคถ ึงท่ีทพี่ ระองคป ระทับอยู เมอื่ ไดถวายอาหารน้แี กพระองคแลว กุลสตรีน้ันไดก ลา วแกพระองคว า “ขอใหพระองคจ งทรงประสพ
ความสาํ เรจ็ ในส่ิงซง่ึ พระองคทรงประสงค เชนเดยี วกบั ทด่ี ิฉนั ไดประสพความสาํ เรจ็ ในส่งิ ซึง่ ดฉิ นั ประสงคแลว เถดิ เจาขา” ดงั่ น้ี พระองคไมท รง
ปฏเิ สธการถวายทานของสตรผี ูน้ี ทรงรับและฉันในขณะนั้นเอง ดวยความพอพระทยั และดว ยความรสู กึ ในคณุ ประโยชนท่ใี หเ กิดกาํ ลังกาย
กาํ ลังใจ แกพระองคเปน อยา งย่ิง ตอจากน้นั พระองคไ ดเ สดจ็ ไปสูต นไมตนหนึง่ ซง่ึ เปนอนสุ าวรยี แ หง การตรัสรูของพระองค มาจนกระทั่งทุก
วันนี้ อันเราเรียกกันวา ตนโพธ์ิ หรือไมแ หง การตรสั รู คาํ กลาวของกุลสตรชี ่ือ สุชาดา ยงั คงกองอยูในพระโสตของพระองควา “ขอพระเปน เจา
จงประสพความสําเรจ็ ดังที่ดิฉนั ไดป ระสพความสาํ เรจ็ เถดิ เจาขา” ดงั นจ้ี นกระทั่งพระองคไดเ สด็จเขาไปสโู คนไมน นั้
ณ บดั นี้ พระองคไ ดประทบั นั่งลงที่โคนตนไมน้ัน ทางทศิ ตะวนั ออกอนั เกลีย่ ดวยหญา 8 ฟอน ทีค่ นตัดหญา ช่ือ โสตถิยะ ถวายแกพ ระองค
และไดท รงอธษิ ฐานจิตกําหนดพระทัยตอ พระองคเ องวา แมเ ลือดในกายจะแหงไป แมเ นอ้ื จะหมดไป ไมมีอะไรเหลืออยู นอกจากหนัง เอ็น และ
กระดูกกต็ ามที จักไมย อมลุกจากท่นี งั่ นี้ จนกวา จะไดพบสง่ิ ซง่ึ ทรงแสวง ลถุ งึ จดุ ปลายทางท่ีทรงประสงค กลา วคอื ทรงพบวธิ ีท่จี ะทาํ ใหพระองค
เองและมนุษยทงั้ ปวง หลุดพนจากความทกุ ข เปน ผูไมตองเกดิ และตาย อยางซํา้ แลว ซาํ้ อกี ในลักษณะที่เบื่อหนายอกี ตอไป กลาวโดยสรุปแลว ก็
คือพระองคทรงประทับนงั่ ณ โคนตนโพธ์ิ โดยต้ังพระทัยแนว แนวา ถาไมล ถุ งึ สภาพทีเ่ รยี กวา “นพิ พาน” แลว จักไมยอมลุกจากทีน่ ้ันโดยไมท รง
คาํ นงึ ถึงวา จกั มีเหตกุ ารณอันใดเกิดขน้ึ
การอธิษฐานจิตเชน น้ี เปน ส่ิงท่ีกระทําไดแ สนยาก ยงั ไมเ คยมใี ครในโลกของเราแหง สมยั นี้ เคยทําการอธษิ ฐานเชนนั้น ในประเทศอนิ เดยี ใน
สมัยน้นั มีนกั บวชจํานวนมากซึง่ ไดพยายามบาํ เพ็ญตบะทรมานรา งกายและทําความเพยี รทางจติ อยางแขง็ กลา ตลอดเวลาเปนปๆ เพอื่ ใหบ รรลถุ ึง
ส่ิงซึ่งเขาเหลา นนั้ เหน็ วาเปน สิง่ ซง่ึ ดีท่ีสดุ หรอื สูงทีส่ ดุ แตส ิง่ ซง่ึ เขาไดร ับเหลา นน้ั เปนความสขุ ชนดิ ชั่วคราว ไมย ัง่ ยนื ตลอดกาล ยังไมเปน
ความสขุ ที่สามารถทนทานตอความเปลย่ี นแปลงของกาลเวลาได เม่ือกําลงั แหง ความเพียรทีก่ ระทําใหเขาเหลาน้ันไดประสพสขุ ในสวรรคเส่อื ม
สนิ้ ลง เขาเหลา นนั้ ก็ตอ งละจากโลกอนั เปน ที่พอใจน้นั กลับมาสูโลกชั้นต่ํา อนั เตม็ ไปดวยสงิ่ ซง่ึ ไมต รงตามความประสงคอ ีกตอ ไป
ถาจะเปรียบความขอ นี้ กเ็ หมอื นกับบคุ คลคนหนง่ึ เร่ิมสะสมเงนิ ทองไวใ นหีบเปน อันมาก แลว กเ็ รม่ิ ใชสอย ไมน านนักกจ็ ักหมดส้นิ ไป เหลือ
แตห ีบเปลาซึง่ จะทําใหเขาตองทาํ การสะสมใหมอ กี ตอ ไป ขอ นีเ้ ปนฉันใด นกั บวชท่ไี ดประสพความสขุ อันไมถาวร เม่อื ความสุขนั้นสิน้ ไปแลว
เขากจ็ กั ตอ งทนความยากลําบากบําเพญ็ ตบะกรรมใหม สืบตอไปอีกอยางไมม ีทส่ี น้ิ สุดฉันเดียวกัน
การเปนอยางนี้ ทาํ ใหเขาตองวนเวยี นไปมา อยใู นระหวางการเกิดในโลกสวรรคกับการเกดิ ในโลกแผนดนิ นี้อยา งไมมีทส่ี นิ้ สดุ ลงไดเ ลย การ
กระทาํ ในทาํ นองน้ี มีความยากลาํ บากดจุ ดังการกล้ิงครกอยา งหนกั ข้นึ ภูเขา ซง่ึ มนั มแี ตจ ะกล้งิ กลับลงมาสตู ีนเขาเสยี รา่ํ ไป ซึ่งทาํ ใหเ ขาตอ งระดม
กาํ ลงั กลิ้งใหมอยา งซาํ้ และซํ้าอกี โดยไมม ีท่ีส้ินสดุ
สว นสิง่ ซ่งึ พระสทิ ธัตถะทรงประสงคในทีน่ น้ี นั้ คือวชิ ชาท่จี ะทาํ ใหพ ระองคและมนุษยท้งั หลาย ไมจําตองทนทรมานในทาํ นองกลิง้ ครกขึ้น
เขาเชนน้ัน พระองคท รงแสวงหาส่ิงซึง่ มคี วามเทย่ี งแทถ าวร อนั จักไมกลบั เสอื่ มสน้ิ หรอื ตกต่าํ อีก ซง่ึ เมือ่ ใครไดป ระสพแลวเพียงครง้ั เดียวกไ็ ม
ตองพยายามทําเพ่ือใหไ ดใ หมอี กี ตอไป ณ โคนตนโพธ์ิ แหงตําบลอรุ เุ วลานนั้ พระองคทรงตง้ั พระทยั อธษิ ฐานจิต ทําความเพยี รเพอ่ื ใหประสพส่งิ
ซ่ึงเทีย่ งแทถาวรสิ่งนเ้ี อง หากไมป ระสพกจ็ ักยอมใหร า งกายพินาศทําลายไปในท่ีตรงนั้น ไมย อมเขยื้อนแมแ ตหนอยเดียว
ณ บัดน้ี พระสทิ ธัตถะไดทรงตั้งพระทยั ระดมกําลังจิตของพระองคต อ สกู ับธรรมชาติฝา ยตํ่า และยกจิตของพระองคใหขึ้นสงู เหนอื สิ่งซึ่ง
เปน เพียงความสขุ ชว่ั คราวไมเ ท่ียงแทถาวร ซงึ่ พระองคเคยทรงผา นมาแลว แตหนหลงั อยางมากมาย พระองคทรงประสงคที่จะสลัดความคิดอยา ง
โลกๆ เสียใหส้ินเชิง เพื่อปก ใจคน หาความจริงในขอท่วี า ความทกุ ขท ้ังปวงเกดิ ขน้ึ มาไดอยา งไร
แตแ ทนทจี่ ติ ของพระองคจ กั คิดไปในทํานองนน้ั อยางเดยี ว มนั ไดห วนคดิ กลบั ไปกลับมา ถึงความสุขสบายในหนหลงั มนั ไดน ําภาพแหง
ความเพลิดเพลินบนั เทงิ เรงิ รืน่ อยใู นทา มกลางการบํารุงบําเรอทพ่ี ระองคเ คยทรงไดร บั ในพระราชวังแหงพระบดิ าของพระองค มาปรากฏ ณ ท่ี
ดวงตาในภายในของพระองคอ ยา งเดน ชัดอยูบ อ ยๆ
ความจําหมายไดปรากฏขนึ้ เปน ภาพอันชดั แจง ภาพในใจของพระองคเ ปน ภาพหองบรรทมอนั สวยงาม ซง่ึ พระองคเ คยประทับ เปนภาพแหง
ลานในอทุ ยานอันสดช่นื เปนภาพแหงสระบวั ซ่ึงงามจบั ใจ เปนภาพแหง คนผูป รนนบิ ตั ิรบั ใชพ ระองคท ุกวิถีทาง โดยไมม ีขอขัดของ และไดทรง
มองเห็นภาพแหง พระชายา ผงู ามเลิศ ภาพแหงโอรสองคนอยๆ องคเ ดียวของพระองค ซง่ึ มีรปู โฉมงดงามและมีลกั ษณะอันแสดงวา จักเปนโอรส
ท่นี ํามาซง่ึ ความภาคภมู ิใจอยางใหญห ลวง แกบ ุคคลผูเปน บดิ าในกาลขางหนา และพระองคยงั ไดทรงเหน็ ภาพแหงพระบดิ าของพระองคอ กี ดว ย
วา บัดนี้เขาสวู ยั ชรามีพระเกศาหงอก เพราะเขา ถงึ ปจ ฉมิ วยั และกาํ ลงั ทรงระทมทุกขอ ยู เพราะพระโอรสองคใ หญม ิไดทรงอยเู คยี งขางพระองค
ในการชว ยกันปกครองบานเมืองและรบั ชวงการครองราชยสมบตั ิ ในเม่อื พระองคทรงชรามากเกนิ กวาทจี่ ะทรงทําการปกครองไดสืบไป
พระสทิ ธตั ถะโคตมะไดทรงเหน็ ภาพแหง ส่ิงท้งั หลายดงั กลาวน้ี ดว ยพระเนตรในภายใน ในทา มกลางความสงดั เงยี บและไดท าํ ใหเ กิด
ความคิดชนดิ ซ่งึ พระองคไ มท รงประสงคเปน อยางยิง่ แตมันกเ็ กดิ ขน้ึ จนไดวา
“สทิ ธตั ถะ ! ถาทานจกั อยูครองเหยา เรือนเหมือนคนทงั้ หลายอื่น ทานก็จักเปนพระราชาผูสงู ศกั ด์ิ มอี ํานาจมาก มีเกยี รตคิ ุณอันใหญหลวง แต
ทา นไดหลีกหนอี อกมา โดยสละประชาชนและสิ่งมีคาสูงสุดทกุ อยา งไวเบอ้ื งหลัง ออกมาแสวงหาส่งิ ซงึ่ ไมม ใี ครเคยคดิ ถงึ มนั เลย นอกจากทานผู
เดยี ว และทง้ั เปนสง่ิ ซึง่ บางทไี มส ามารถจะหาพบได และยงิ่ ไปกวานน้ั บางทจี กั เปน สงิ่ ซ่ึงมิไดมอี ยูเลย ! ทานรไู ดอ ยางไร วา ทา นมิไดเปนคนโง
หรือบา ในการท่ีสละสง่ิ ตา งๆ ซง่ึ เปนของทมี่ ตี ัวมตี นจรงิ ๆ และกไ็ ดเ คยรูรสเปน ความสขุ แนแ กใจตนเองมาแลวจรงิ ๆ ไปหลงแสวงหาสิ่งบางส่งิ
ซ่ึงทานเองก็ยังไมส ามารถรไู ดวามนั เปนส่ิงทม่ี ีอยูจริงหรือหาไม
สทิ ธัตถะเอย ถา ทานตอ งการทจ่ี ะละทงิ้ ของประเสริฐในโลก ไปแสวงหาสงิ่ ซ่งึ ทา นคดิ วา เปน สง่ิ ทีด่ ีกวาน้นั ไปอีกจรงิ ๆ แลว ทาํ ไมทานจึงไม
พยายามแสวงหาโดยวิธที ี่นกั บวชอื่นๆ เขาแสวงหากันดวยการอดอาหารและการทรมานกาย หรอื ดว ยการวธิ ที ีป่ ระกอบการบูชายญั ดังเชน คนใจ
บญุ สนุ ทานทัง้ หลายเขากระทาํ กนั อยูทว่ั ไป ทานเหน็ วธิ ีของคนอื่นผิดหมด ถูกอยูแตว ธิ ีของทานคนเดยี วเทานัน้ หรอื และอยา งไรกต็ าม ทาํ ไม
ทานจงึ ไมส ามารถพอใจในความสุขเทาทที่ านควรจะพอใจ แมจะไมถาวรเหมือนท่ที า นตอ งการก็ตาม
สทิ ธัตถะเอย ชีวติ นเ้ี ปนของสัน้ นดิ เดยี ว ทุกคนตองตายในไมช า ถงึ ทานเองก็จักตอ งตายในไมช าน้ีแลวเหมอื นกนั ทาํ ไมทา นจงึ ไมใ ชเ วลาท่ี
เหลอื เพยี งเล็กนอยนเี้ สวยความสุขเทาทอ่ี าจจะมีไดเสยี กอนแตท่ีความตายจะมาถงึ ซ่งึ ทานจะไมอาจเสวยความสขุ อยา งใดไดอกี ตอ ไป
แลว ความรกั กม็ ี ช่ือเสียงก็มี ความสูงศักดิก์ ็มี การบชู าสรรเสริญกม็ ี ทกุ ๆ อยา งพอสกั วา ทา นตอ งการ มันก็มที ุกอยา ง เปน ชิ้นเปน อัน เปน ตวั เปน
ตน ซ่ึงทานสามารถลบู คลาํ สมั ผสั บรโิ ภคมันได ไมใชเ ปน เพยี งความฝน หรือภาพมายาอยา งวิมานในอากาศเลย ทาํ ไมทานจึงมากระทําการ
ทรมานตัวเองใหตกระกาํ ลําบากอยูในปาเปลยี่ ว เพ่อื เสาะหาสิง่ ซงึ่ ไมเคยมีใครหาเชน น้เี ลา ”
ความรูสกึ ดังกลา วนี้ ไดเ กิดขึ้นในภายในพระหฤทยั ของพระสทิ ธตั ถะในคนื วันท่พี ระองคประทบั นง่ั ภายใตตน โพธ์ิ เพอื่ แสวงหาวิธขี า ม
ออกไปใหพ นจากความเกิด ตาย มันไดล อหลอกพระองค ดวยการทําใหรําลกึ ถงึ ความเพลดิ เพลนิ นานาชนิดซึ่งพระองคท รงสลัดไวเบอ้ื งหลงั
ดวยการทําความลงั เลวา พระองคจ กั ทรงมีความสามารถในการแสวงหาใหพ บสิ่งซงึ่ พระองคท รงประสงคน ีห้ รอื หาไม และดวยความไมแน
พระทยั วา การเสาะแสวงหาทง้ั นี้เปนไปอยา งถูกทางแลวหรอื ยงั แตพ ระองคไ มท รงยอมใหพระองคหมุนกลบั จากส่งิ ซ่งึ ทรงมงุ หมาย ยิ่งไปกวา
นัน้ เมื่อสง่ิ เหลานีม้ าลอหลอกพระองคม ากยิ่งขึน้ เพยี งใด พระองคย ่ิงทรงบังคบั พระทัยของพระองคใ หม ุงไปตามจดุ หมายเดมิ ยิ่งข้ึนเพยี งน้นั
พระองคทรงรอ งขน้ึ วา “มารเอย กลับไปเถดิ ! เรารแู ลว ละวาเจา คือใคร เจาคือปศ าจราย ซ่งึ ลวงคนใหเลกิ ละจากทุกๆ สง่ิ ซึง่ เปน ความดี
ความงาม ความใหญย ิ่ง และความประเสรฐิ เจาอยา พยายามหมนุ เราใหกลับจากสิง่ ซึ่งเราไดออกมาแสวงหาใหลําบากอีกตอ ไปเลย ! มารเอย จิต
ของเราปกแนนเสียแลว เราตอ งนงั่ ทน่ี ่ี จนกวาจะไดรบั ส่งิ ทเ่ี ราประสงค แมวา เราจักตองนั่งจนกระทัง่ เลอื ดและเนื้อเหอื ดแหง ไป ไมมีอะไร
เหลอื อยูน อกจากหนงั กับกระดกู กต็ ามที”
ณ ทนี่ ้ัน พระสิทธตั ถะไดป ระทบั นั่งและทรงดาํ เนนิ การตอ สู และทรงพยายามบากบ่ันทําการปลุกปล้ําดวยกาํ ลังพระหฤทยั ทงั้ หมด เพ่ือให
ทรงพบส่งิ ซงึ่ สามารถขจัดความทุกขโ ศกของสรรพสตั ว และทรงพยายามแสวงสง่ิ ซงึ่ สามารถตัดรากเหงาของสิ่งชัว่ รา ยทง้ั ปวง ในโลกนีใ้ หส ูญ
สิน้ เด็ดขาดไป แลวนาํ มาซง่ึ ส่ิงทีด่ ีงามเปน ความสงบสุข อนั ไมรจู ักสน้ิ สญู หรือเปล่ียนแปลงเปน อนนั ตกาล ตัง้ อยูเหนือความแปรปรวนโดย
ส้นิ เชิง การพิจารณาคดิ คน ใหท ราบถึงการเกิดข้นึ ของความทกุ ข และความดบั ลงของความทกุ ขต ามลําดบั ทงั้ ขน้ึ และลงเชน นั้น โดยละเอยี ด
เชน น้ี เรยี กวา การพิจารณา ปฏจิ จสมุปบาท
พระองคท รงประสพความสําเรจ็ เม่ือพระองคทรงแนว แนอยใู นสมาธจิ ิต ทรงปด เปาความคดิ อันช่ัวรา ยทงั้ หลายท่เี ขา มารบกวนพระทัย และ
ลอ หลอกพระองคใ หไ หลหลงออกไปไดโ ดยส้นิ เชงิ แลว พระหฤทยั ของพระองคสงบรํางับเหมือนนาํ้ ในสระ ในเวลาทค่ี ลน่ื ลมสงบ ทา มกลาง
ความเงยี บสงัด ความช่วั รา ยที่รบกวนพระองคด วยการระลกึ ถงึ ความสขุ ในหนหลังไดส ูญสนิ้ ไปโดยสิ้นเชงิ ความสงสัยลังเลในสิ่งซ่ึงพระองค
ทรงแสวงและวธิ ีซง่ึ พระองคท รงกระทาํ การแสวง ก็มิไดเ กิดขน้ึ อกี ตอไป
ในทามกลางความเปนสมาธิ อนั แนวแนสงบเงยี บแหง พระหฤทยั ของพระองค ซึง่ บดั น้ีไดร วมกาํ ลงั พงุ ไปสสู ่งิ ท่ีมุงหมายเพยี งจุดเดียว และมี
อานภุ าพแหงจติ ซง่ึ ประกอบดว ยกําลงั อันมหาศาล ซง่ึ บดั นี้ไดร วมกําลงั พงุ ไปเพ่ือทําลายอวชิ ชาอยา งเดยี วแลว ณ ที่น้นั ซ่ึงพระองคไ ดป ระทบั นั่ง
ณ โคนตน โพธต์ิ นนน้ั เอง พระสิทธัตถะโคตมะ ผูสมณะศากยบุตร ไดต รสั รูเปน พระสัมมาสมั พุทธเจาพระนามวา พระโคตมะพทุ ธะ ผูซ่ึงไดนํา
แสงสวา งแหง สจั จธรรมมาสูช าวโลกทั้งปวงแหง ยุคน้ี ซึ่งกาํ ลังมชี วี ิตอยใู นโลกน้ี ณ บัดน้ที กุ ถวนหนา
ณ บดั น้ี พระองคทรงมีความสวางไสวแจม แจง ตรงกันขามจากชนทั้งหลายอืน่ ซ่ึงความแจม แจงของเขา ก็คอื ความงมอยใู นที่มืดชนดิ ใดชนดิ
หนึ่ง บัดนี้ พระองคท รงตื่นจากหลบั ตรงกนั ขามจากความตื่นของคนเหลา อนื่ ซงึ่ ความต่นื ของเขาเปนเพยี งอาการของการละเมอเพอฝน บดั น้ี
พระองคท รงประกอบไปดวยความรอู ันตา งจากความรขู องชนเหลาอน่ื ซึง่ ท่ีแทค วามรขู องชนเหลานนั้ เปน เพียงความงมงายชนดิ ใดชนิดหนึง่
เทานัน้
นบั แตกาลนี้ พระองคไ ดท รงรูแ จงแทงตลอด ในความหมายอันแทจรงิ ของชีวิตอยางทัว่ ถงึ ตั้งแตม ลู รากขึน้ ไปทเี ดียว บัดนี้ พระองคไ ดทรง
ทราบวา ทาํ ไมมนษุ ยเราจึงตอ งเกดิ แลวเกดิ เลา ตายแลว ตายเลา อยูร า่ํ ไปและทรงทราบวา ทําอยา งไรมนุษยเ หลา น้ันจักทาํ ความทนทรมานเพราะ
การเกดิ และการตายนใ้ี หส้ินสดุ ลงได
สงิ่ แรกท่สี ดุ ซึ่งพระองคไ ดทรงเหน็ อยา งชัดแจง ดวยญาณอนั คมกลาของพระองค ณ ทปี่ ระทบั ภายใตต นโพธ์ใิ นคนื น้นี ั้น ก็คอื ลําดับอนั ยาว
ยืดแหงการเกิดและการตายของพระองค ตลอดกปั ปตลอดกัลปเ ปนอันมากวาไดเ คยทรงเกดิ เปนสัตวม ีรปู กายตา งๆ กนั มาแลว ทุกชนดิ ไดเ คยมี
ชีวติ ตา งๆ กันมาแลวครบทุกแบบ ท้งั อยา งตํ่าและอยางสูง ทั้งอยางเลวและอยา งประเสรฐิ ท้ังอยางหยาบและอยา งปราณตี จนกระท่งั การเกิดคร้งั
สุดทา ยไดท รงมกี าํ เนิดเปนพระโอรสของพระเจาสุทโธทนะและพระนางสิริมหามายานี้ ความเหน็ แจงในขอ นี้ เรียกชอ่ื วา ปพุ เพนวิ าสานสุ สติ
ญาณ
พระองคไ ดท รงเพง พจิ ารณาดวยญาณอันแรงกลาตอไปอีก ก็ไดทรงทราบถงึ ขอที่สตั วท ้ังหลาย ไดเกดิ มาแลว ตายไป และไปกาํ เนดิ ในทอี่ ่ืน
อกี ตามแตก รรมท่ีตนไดกระทาํ ไว โดยลกั ษณะอยางไร พระองคไ ดท รงเหน็ ชัดซ่งึ คนบางจําพวก ไดเ กิดเปน คนมคี วามสขุ เพราะกรรมทต่ี นทาํ ไว
นั้นเปน กรรมดี และคนบางพวกเกดิ มามีความทุกข เพราะกรรมทีต่ นทําไวนนั้ เปน กรรมชว่ั พระองคไ ดท รงเห็นชดั วาท้งั หมดนี้ เปน เพราะกรรม
ของสตั วน ัน้ ๆเอง หาใชสง่ิ อ่นื ใดไม ทีท่ ําใหเกิดเปน สุขหรอื เปน ทกุ ข ในโลกนแี้ ละโลกอ่นื ทุกๆ โลก ความเห็นแจง ในลักษณะเชน น้ีเรยี กวา
จตุ ูปปาตญาณ
และในท่ีสดุ สงิ่ สุดทายและใหญย่ิงท่ีพระองคไ ดทรงประสพ ในคนื อนั สําคัญนนั้ คอื พระองคไ ดทรงทราบและไดท รงเห็นอยา งชดั แจง
ปราศจากความสงสัยอยา งสิน้ เชิง วา มนั ไมเ ปนการถกู ตองปลอดภัยแตอยางใด ในการท่ีมนษุ ยเราจกั ปลอยชีวติ น้ี ใหเปนไปตามความ
เปล่ียนแปลงของโลกอยา งไมมีทสี่ น้ิ สดุ และวาไมเปนความดีแตอยางใด ในการทีม่ นุษยเราจําตองเปนผซู ่ึงประเด๋ยี วสุขประเด๋ียวทกุ ข ข้ึนๆ ลงๆ
เหมือนเรอื ลํานอยๆ ลอยไปในทะเลอันมคี ลน่ื ลม
พระองคไดทรงทราบวา เหตซุ ง่ึ ทาํ ใหคนเราเกดิ มา เพ่ือกระโจนข้ึนกระโจนลง ไปตามคลื่นแหงความเปล่ียนแปลงในโลกนี้นนั้ เปน เพราะ
คนเหลา น้นั หลงรักและหลงตดิ ในความสุขอนั เปนมายา ซง่ึ เกิดขน้ึ เลก็ ๆ นอ ยๆ เปนครัง้ เปน คราวในโลกนี้ พระองคไดทรงเห็นวา สรรพสตั วต ดิ
อยูในบว งของการเรยี นเกิดในโลกนเ้ี หมือนเน้อื ตดิ บว ง เพราะมนั ละโมบในเหยือ่ เล็กๆ นอยๆ ทเ่ี ขาวางไวล อ มัน และพระองคไดท รงทราบอีกวา
ถา คนเราไมป ระสงคจะตดิ อยใู นบว งของการเกิดเชนนีแ้ ลว ก็มหี นทางทางเดียวเทาน้นั กลา วคือการดบั เสยี ซง่ึ ความตะกลามตอ ความเพลดิ เพลนิ
ทกุ ๆ อยางทเี่ ขาไดพ บไดเ หน็ และไมป ลอยตวั ใหตกจมลงไปในสง่ิ ซึ่งยวั่ ยวน และไมปลอ ยใจใหท ะเยอทะยานไปตามส่งิ ทโ่ี ลกนีม้ ีไวย วั่ มนุษย
และตอจากนั้น พระองคไ ดท รงทราบถงึ หนทางซ่งึ เมอ่ื บคุ คลใดไดป ฏิบตั ิตามถงึ ท่ีสุดแลว จะสามารถทาํ ตนใหห ลีกหา งจากความ
ทะเยอทะยานและความหมกจมอยใู นอารมณแ หง ความย่ัวยวนเหลานั้นได เพราะเขาจะไดพ บและพอใจในสง่ิ ซึง่ ดกี วาและสูงกวา ซึง่ หลังจากนนั้
แลว เขาจกั ไมห มุนกลับมาพอใจในโลกทม่ี ีเพยี งส่ิงย่วั ยวน และเปนโลกแหงความเปลีย่ นแปลง ความทุกขทรมานและความสขุ ทเ่ี ปน มายา
เชนน้นั อีก แตจะสามารถลุถึงความสุขอนั จรงิ แทแ ละถาวร กลา วคือ พระนพิ พาน มรรคหรอื หนทาง อันน้ี พระองคท รงเรยี กวา “ทางอนั
ประเสรฐิ ประกอบดว ยองคแปด” เพราะเปนหนทางท่ดี าํ เนินโดยบุคคลผูมีความมงุ หมายและความปรารถนาตอสิ่งทปี่ ระเสรฐิ และเปนหนทางที่
ประกอบอยูดว ยสว นประกอบแปดประการ ความเหน็ ในส่ิงท้งั สคี่ ือ ความทุกข มลู เหตขุ องความทุกข การดับมูลเหตุของความทุกข และวิธีดับมี
องคแปด เหลานร้ี วมเรยี กวา อาสวักขยญาณ
สว นประกอบประการท่ีหนึ่ง ของหนทางอนั ประเสริฐประกอบไปดวย องคแปดประการ ซ่งึ จกั ดาํ เนินไปใหพ น จากสิ่งชั่วรา ยทุกชนดิ ตามท่ี
พระองคทรงสอนนน้ั เรยี กวา “สมั มาทฏิ ฐิ” คือความเหน็ หรอื เขาใจอันถูกตอง ความเหน็ อนั ถกู ตอ งนห้ี มายถึงเห็นทกุ ส่งิ ๆ ในโลกน้ี แมก ระทง่ั
ความเปนอยขู องผนู ้นั เองวา เปน สงิ่ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงอยเู สมอ ไมมีความเปนแกน สารและความถาวรทแ่ี ทจ ริง และมีแตจะนาํ ไปสูค วามทกุ ขทรมาน
อยางเดยี ว ถา หากเราไปหลงติดพนั มนั อยา งใกลชดิ ความเห็นอันถกู ตอ งนี้ ยังหมายความไปถึงการเห็นวา การทําความดียอ มนําไปสูความสขุ
และการทําความชว่ั ยอมนาํ ไปสูค วามทกุ ขเ สมอไป ทัง้ ในโลกน้ีและโลกอน่ื
สว นประกอบประการทีส่ อง ของหนทางอันประกอบดวยองคแปดประการนนั้ เรยี กวา “สมั มาสงั กัปปะ” คือความมุงหมายอันถกู ตอ ง ความ
มงุ หมายอนั ถกู ตองน้ี หมายถึงเมอื่ ไดเหน็ สิ่งตางๆ ทกุ สง่ิ ในโลกนีว้ า เปนอยางไรโดยแทจ รงิ แลว ก็ถอยหางออกมาเสยี จากการเขาไปมวั เมาคลกุ
คลีอยา งหลงใหลในส่งิ เหลา นัน้ ความมงุ หมายอนั ถูกตองนย้ี งั หมายถึงความไมมุง จะทํารายเบยี ดเบียนสตั วท้ังหลาย ซง่ึ ลว นแตกาํ ลงั หลงใหลอยู
ในโลกนจี้ นไดรบั ความทุกขอยูทงั้ กายและทางใจ แตมุง หมายในอันทีจ่ ะรกั ใครแ ละสงสาร แลวชว ยเหลอื เพอ่ื สัตวเ หลา นนั้ ใหพน จากทกุ ขซ ง่ึ เขา
กําลงั ไดรบั อยูใหส ุดความสามารถท่ีจะชวยได
สง ประกอบประการทส่ี าม ของหนทางอันประกอบดว ยองคแ ปดประการนั้นคือ “สัมมาวาจา” ไดแก การพูดจาทถี่ กู ตอง หมายถึงการพดู จริง
พดู ไพเราะ พูดใหเกิดความรักใครส ามคั คี และพูดแตส ่งิ ทม่ี ีประโยชน กลา วอีกอยา งหนึ่ง กห็ มายถงึ การเวนจากการพูดเท็จ พดู หยาบคาย พูดยยุ ง
ใหแ ตกรา วและพดู อยางเขลาๆ ไรส าระ
สว นประกอบประการทีส่ ่ี ของหนทางอนั ประกอบดว ยองคแ ปดประการนัน้ เรยี กวา “สัมมากมั มนั ตะ” หรอื การกระทาํ ท่ถี กู ตอง หมายถงึ
การเวนเสียจากการฆา การลักขโมย การลว งเกนิ ของรักของผอู ืน่ และการดมื่ นา้ํ เมา ซ่ึงทําใหผูด ื่มไรส ตจิ นถึงกับทําส่งิ ตา งๆ ซ่งึ ใครๆ กไ็ ม
ปรารถนาใหท าํ
สวนประกอบประการทหี่ า ของหนทางอันประกอบดว ยองคแ ปดประการนัน้ คือ การเลยี้ งชีวิตดวยวธิ ีท่ถี ูกตอ ง อนั เรียกวา “สัมมาอาชวี ะ”
หมายถึงการประกอบอาชพี เลย้ี งชวี ติ โดยวิธีท่ีไมทําอันตรายใหเ กิดขึ้นแกบุคคลใดๆ หรอื สตั วใ ด
สวนประกอบประการทหี่ ก ของหนทางอันประกอบดวยองคแปดประการน้นั คอื ความพากเพยี รอยา งถกู ตอ ง อนั เรียกวา “สัมมาวายามะ”
หมายถึงการพยายามบังคับความคิดนกึ และความรูสึกไมใหเกิดความคิดชั่ว ทาํ ชั่วขึ้นในตน การพากเพียรทาํ ความคิดชวั่ และทาํ ช่ัวทเี่ กิดขึ้นแลว
ใหส น้ิ ไป และยังหมายถึงการพากเพยี รทาํ ใหเ กดิ ความคิดทดี่ แี ละการกระทําทดี่ ีขน้ึ ในตน และการพากเพียรรักษาความดีเหลานน้ั ใหย ังคงมอี ยู
หรือใหแนน แฟน ม่ันคงยิง่ ขน้ึ
สว นประกอบประการท่เี จ็ด ของหนทางอนั ประกอบดว ยองคแ ปดประการนั้น ไดแ ก ความระลกึ อยางถูกตอง อนั เรียกวา “สมั มาสติ”
หมายถงึ การระลึกหรอื สาํ นึกไวอ ยา งไมม ลี มื วารางกายของเราน้ี โดยแทจ ริงแลว คอื อะไร เปนอยา งไร และเพียงเทาใด เพื่อไมหลงสาํ คัญผดิ ให
ดกี วาหรือเกินกวา ความเปน จริงของมนั และหมายถงึ ความระลกึ ไวอยางถูกตองวา การเคล่อื นไหวและการกระทําหรอื หนา ที่ตางๆ ของรา งกายนี้
ก็เปน การเคล่อื นไหวการกระทําแลหนาทข่ี องมนั ซึง่ จะตองเปน ไปตามธรรมชาตอิ ยา งนนั้ เมอ่ื เกิดผลอนั ใดข้นึ อยาไดหลงสาํ คญั ผิด หลงรักหลง
ชังใหม ากไปกวา น้นั ความรสู ึกอยางถกู ตองนี้ ยังหมายถึงความระลกึ วา จติ ของเรานั้นเปนสิ่งซงึ่ เปลี่ยนแปลงท้ังในทางความคิดและความรสู ึก
รุดหนาเร่ือยไป ไมมหี ยดุ หรือไมซํ้ากันแมเพียงอยา งเดยี ว และในขน้ั สดุ ทาย ยงั หมายถงึ การระลึกไวโ ดยไมมกี ารหลงลืม ในขอปฏิบตั ิมอี ันดบั
ตางๆ กัน ด่งั ที่พระพุทธเจาไดต รสั สอนไวแ กเรา เพอ่ื ปฏบิ ตั ิและกระทําจติ ใหหลดุ พน จากสง่ิ ที่ผกู มัดหอหุม จนกระทงั่ ลุถึงความเอาตวั รอดได
อยางสมบูรณ อนั เรยี กวา “พระนพิ พาน”
สว นประกอบประการที่แปด อันเปนประการสุดทา ยของมรรคมอี งคแ ปดนั้นหมายถึง ความดํารงจติ ไวอยางถกู ตองอันเรยี กวา “สมั มาสมาธ”ิ
ไดแกก ารไมป ลอ ยใจของเราใหฟุง ไปตามทมี่ ันอยากจะฟงุ แตจักควบคุมมันไวใ หม ั่นคงในสิง่ ทเ่ี ราเห็นวามันควรจะดาํ รงอยใู นสิง่ น้นั จนกระท่งั
เกดิ ผลเปน ความรู หรือความเขา ใจอันถกู ตอ ง ในส่ิงซ่งึ เราประสงคจะรหู รือจะเขา ใจ หรือเพอ่ื กระทําใหเปนผลสาํ เร็จในสิง่ ทเ่ี ราประสงคจะทํา
ทั้งหมดน้ี คอื สว นประกอบแปดประการของหนทางอนั ประเสรฐิ อันประกอบดว ยองคแ ปด ซึ่งเจา ชายสิทธตั ถะโคตมะ ผซู ่งึ บัดนไี้ ด
กลายเปนพระพทุ ธเจา ไปแลวนน้ั ไดทรงคน พบท่โี คนแหงตน โพธ์ิ ในตาํ บลอรุ ุเวลา เมอื่ 2,500 กวา ปม าแลว
สว นประกอบ 3 ประการในเบ้ืองปลาย คอื ความพากเพยี รอยา งถูกตอ ง ความระลกึ อยางถกู ตอ ง และความดาํ รงจิตไวอยางถกู ตองนั้นมี
ความหมายกวา งไปถงึ กบั วา ผทู ่จี ะปฏบิ ัติตามพระพุทธเจา อยา งใกลชดิ จกั ตองกระทําจนสดุ กําลังความสามารถของตน จนถงึ กบั สละเหยา เรอื น
ออกบวชเปนภิกษุ จึงจะมโี อกาสกระทําไดอยา งสมบูรณ แตอยา งไรก็ตามคนทุกคนไมว า จะเปน ภิกษุหรือไม ลว นแตสามารถประพฤตใิ น
หลกั ธรรม 3 ขอน้ี ในอัตราที่พอเหมาะแกความเปนอยขู องตนไดทุกๆ คน ตามมากตามนอ ย ตามความหมายแหงขอ ธรรมนน้ั ๆ ดงั ที่กลาวแลว
สาํ หรับหลกั ธรรม 2 ขอ ขา งตน คอื ความเห็นอนั ถูกตอ งและความมุงหมายอนั ถูกตองน้นั กเ็ หมือนกนั จะทาํ ใหด ีถึงท่สี ุดได ก็เฉพาะบุคคลผู
ซึ่งไดพยายามเปนปๆ ในการฝกและการเจรญิ สมาธิภาวนา จนกระทัง่ เขาใจและเห็นแจงในความจริงของสิง่ ทง้ั ปวง โดยทํานองเดยี วกบั ที่
พระพทุ ธเจา ไดทรงเหน็ ถึงกระน้ันคนทุกคนไมว าจกั เปน ใคร ลวนแตควรพยายามประพฤติในหลกั ธรรม 2 ขอนี้ ตามมากตามนอ ยเทาทต่ี นจะพงึ
กระทาํ ไดเ ชนเดยี วกัน ในบางครั้งเขาจะเห็นวา สิง่ ทกุ ส่ิงรอบตัวเขา มไิ ดสวยงามนารักดังท่ีมนั ปรากฏแกเขา และในบางคราวเขาจักเกดิ ความ
แนใจวา วันหน่งึ เขาจะละทิง้ ส่งิ ซึง่ เปน มายาตา งๆ ในโลกน้ี และหันไปสนใจกับสง่ิ ซึ่งดีกวา เจริญกวา และถาวรกวา นน้ั ไดเปน แนแท
แตส ําหรับหลักธรรม 3 ประการ ในตอนกลางของมรรคมีองคแปดประการนน้ั เปนหลกั ธรรมซึ่งบุคคลทุกประเภทสามารถประพฤตปิ ฏบิ ตั ไิ ด
เต็มความสามารถของตน ทุกคนควรพยายามประกอบอาชพี ทไี่ มเ ปน อนั ตรายตอ บุคคลผูใด ท้ังโดยทางกายและทางวาจา ทกุ ๆ คนควรพยายาม
และสามารถท่ีจะพยายาม เพอื่ จะหลีกเลี่ยงเสยี จากการพูดชั่วและทาํ ชั่ว และแลว เขาจะไดร ับผลตอบแทนอยา งเพียงพอ เพราะเทากับเปน การแผว
ถางหนทางของตนเองเพอ่ื ในวนั หนึ่งเขาจะสามารถควบคุมความคดิ และฝก จิตของตน จนกระทั่งลถุ งึ วชิ ชาและความเหน็ แจง อนั แทจรงิ อันเปน
วชิ ชาและความเหน็ แจง ซ่งึ พระพุทธเจา ไดทรงคนพบและทรงสอนไว ซงึ่ ทรงเรียกวา “ปญ ญา” (ญาณ)
เม่ือเขาไดล ถุ ึงปญญาอันแทจรงิ เชนนแ้ี ลว จิตกจ็ ะไมย ดึ ถอื พัวพนั หลงใหลในสิง่ ใดๆ ในโลกไหนๆ อกี ตอไป และเพราะไมย ึดถอื เชน น้ี จิตก็
จักไมกอ ใหเ กิดนามและรูป (ใจและกาย) ขน้ึ ในโลกไหนๆ ขอน้ีหมายความวา เมอื่ ไมม ีการเกดิ มาในโลกแลว ก็ไมมคี วามทุกขทรมานใดๆ ชนดิ ที่
เกิดขึน้ แกบุคคลผเู กิดมาในโลก ปรากฏขึน้ อีกตอ ไป และความทุกขทั้งปวงกถ็ ึงทส่ี ดุ และดบั หมดไปไมม ีเหลอื
สง่ิ นแ้ี หละ พระพุทธองคท รงคนพบทีโ่ คนแหงตนโพธิ์ คอื พระองคท รงคน พบหนทางอันประเสรฐิ อันประกอบดว ยองคแ ปดประการ ไดแ ก
ความเหน็ อันถกู ตอง ความมุง หมายอนั ถูกตอง การพูดจาอันถูกตอ ง การกระทําอนั ถกู ตอง การเลี้ยงชีวติ อนั ถกู ตอง ความพากเพยี รอันถูกตอ ง
ความระลกึ อันถูกตอ ง และความดํารงจิตอยางถกู ตอ ง ซงึ่ ทั้งหมดน้ี ยังสรุปเรยี กโดยชอื่ อ่ืนไดอีกวา “แนวทางปฏบิ ตั ิ 3 ประการ” คอื การประพฤติ
ทางกาย วาจา และการอบรมจติ จนเกิดความรแู จง หรือเรยี กโดยภาษาบาลวี า “ศลี สมาธิ ปญญา” ดังนี้
พทุ ธประวัติ ฉบับสาํ หรับยุวชน
พุทธทาสภิกขุ แปลและเรียบเรียงจาก ฉบบั ภาษาอังกฤษ ของ ภิกษสุ ลี าจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 10 ทรงประกาศพระธรรม
ในขณะน้ี พระองคท รงมีอาการเปรียบเสมอื นบคุ คลทไี่ ดพ ยายามวายนํ้าฝา กระแสคล่ืนลมมาเปน เวลานาน จนกระท่งั ไดถ ึงฝงดวยความ
ปลอดภัย แลวนอนลงชัว่ ครหู นึ่งเพือ่ บรรเทาความเมือ่ ยลา ของแขนและขา แลว ยืนมองดูกระแสนาํ้ ซ่ึงเตม็ ไปดว ยภยั อนั ตรายอันพระองคไดว า ย
ฟน ฝามาดว ยความยากลาํ บาก จนกระท่ังถึงฝงดวยความสวสั ดี หรอื มิฉะน้นั เปรียบเหมือนบุคคลซง่ึ ไดไ ตข ึน้ ไปดว ยความยากลาํ บาก จนถงึ ยอด
ภูเขาสงู มอี ากาศเยน็ สบายนง่ั ลงพักเหนอ่ื ย มองดโู ดยรอบขาง มคี วามสบายกายและสบายใจ เหลยี วลงมาดูแผน ดินเบ้ืองลางอันเต็มไปดวยลม
รอนและฝนุ รอ นที่ตนไดผานมาแลว แตหนหลัง ก็รูสึกเปน สุขใจ คือบัดน้ีความพยายามฟน ฝา อยา งกลาหาญเด็ดเดีย่ วของพระองคไ ดป ระสพ
ผลสาํ เรจ็ โดยครบถว น ในทามกลางความเงยี บสงดั ของปาตาํ บลอุรเุ วลาน่ันเอง
พระองคผูทรงประสพชัยชนะในสงครามอนั โหดรา ยน้ีแลว ไดเสดจ็ ประทบั พกั ผอ น เสวยวมิ ุติสขุ คือความสขุ เกดิ จากความรอดพนจากการ
ทนทรมานนานาประการในการตอ สูกบั กิเลส และไดทรงลิ้มรสของศานติธรรมอนั พระองคทรงชนะแลว และเปนผลของความรูหรือความจรงิ
ซงึ่ พระองคไดท รงประสพในบัดนี้ เมอื่ พระองคไดเ สดจ็ ประทบั อยูภายใตตน ไมแ หงชยั ชนะ กลาวคือตนโพธน์ิ ัน้ จนเปนท่ีพอพระทยั แลว ก็ได
เสด็จไปยงั ตนไทรในบรเิ วณใกลเคียงกนั อีกตนหนงึ่ ซ่งึ พวกเดก็ เล้ยี งแพะในถน่ิ น้ันใชเปนทน่ี งั่ พกั รอ นเฝา สูงแพะในเวลากลางวนั
เม่อื พระองคกาํ ลงั ประทับอยู ณ ทนี่ น้ั เผอิญมีพราหมณค นหนึ่งผา นมาทางนน้ั ไดทักทายพระองคตามธรรมเนียม แลวไดตง้ั คําถามขน้ึ ถาม
พระองควา “ทา นโคดม ! อะไรทีท่ าํ คนใหเปน พราหมณทแ่ี ทจ รงิ ได คณุ สมบตั อิ ะไรบา งที่เขาจะตอ งแสวงหามาใสตน เพื่อทาํ ใหเ ขาเปนบุคคล
แหง วรรณะสงู อยา งแทจรงิ ”
พระผมู ีพระภาคเจาไมท รงรูสกึ หรือไมทรงสนพระทัยในความเยอหยิง่ ของพราหมณผนู น้ั ที่กลา วแกพระองคด วยอาการออกชอ่ื สกลุ ตรงๆ
อนั เปนความไมเคารพ แทนทจ่ี ะกลา วดว ยคาํ เปนตนวา “ขาแตพ ระคณุ เจา ” หรอื “ขาแตพระผมู ีพระภาคเจา” ดังน้เี ปนตน พระองคไ ดต รัสตอบ
อยางตรงไปตรงมาดวยคาํ ซงึ่ ผูกข้ึนเปน กาพยมใี จความวา
“พราหมณท่แี ทจ รงิ คอื ผทู ่ีลอยบาปเสยี ไดทงั้ หมด ละความเยอหยงิ่ ได สํารวมคนได ไรมลทนิ รอบรูและประพฤติพรหมจรรย คนเชน นี้
เทานนั้ ทค่ี วรเรยี กวา เปน พราหมณได เขาเปนผูท ี่ไมประพฤตอิ ยางชาวโลกอีกสบื ไป”
พราหมณผนู ้ันไดเดินหลกี ไป พรอ มกับบนพึมพํากบั ตวั เองวา “พระสมณะโคดมนี้ รูเ รอ่ื งในใจของเรา พระสมณะโคดมน้ี รูเรื่องในใจของ
เรา” ดงั นี้
สองสามวนั ตอ มา ขณะทพ่ี ระผูมพี ระภาคเจา ยังคงประทบั อยูทโ่ี คนตนไมข องเด็กเลยี้ งแพะนั้น มพี อ คา 2 คน ซ่ึงนําสินคา มาขายยังประเทศน้ี
ไดเ ดนิ ผานมา เขาไดเห็นพระองคป ระทบั นั่งอยูใ ตตนไมน ัน้ ดวยอาการอนั สงบและอ่มิ เอบิ เหมอื นบคุ คลทไ่ี ดประสพชัยชนะในการตอ สอู ยาง
ใหญห ลวงแลวกําลังพอใจในผลแหงชัยชนะน้ันอยู เขาไดน อ มนําอาหารอยา งดเี ขา ไปถวาย และจับอกจบั ใจในถอ ยคาํ และความงามสงา ของ
พระองค และไดท ลู ขอรองใหพระองคท รงยอมรับเขาเปน สาวกผนู ับถือพระองค ดวยเหตนุ ้ีพอ คา สองคนน้ี ซึง่ มีนามวา “ตปุสสะ” และ “ภัลลิ
กะ” จึงไดเ ปนบุคคลแรกในโลก ซงึ่ ไดเปนสาวกของพระสมั มาสมั พทุ ธเจาพระองคน้ี
เม่ือพระองคท รงพกั ผอ นเปนเวลานานพอแกพ ระประสงคแลว ก็ทรงเริ่มพระดาํ ริถงึ สงิ่ ทีพ่ ระองคควรกระทาํ ตอ ไป พระองคไดท รงพบส่ิงซง่ึ
พระองคทรงแสวงแลว และทรงรูสกึ วาไมควรจะเกบ็ ความรูอนั ประเสริฐน้ไี วเ งียบๆ ควรจะเผยแผใหรูกนั ทั่วๆ ไป เพ่ือใหคนเหลาอน่ื มีสว น
ไดรับประโยชนจ ากความรูอันประเสรฐิ น้ีดว ย
พระองคท รงดาํ ริเชน นข้ี ้ึนในพระทยั เปน ขอ แรก แตแ ลว ความคิดอกี อันหนง่ึ ไดเกิดข้ึนขัดขวาง โดยทรงราํ ถึงแกพระองคเองวา “สิง่ ทเ่ี ราไดรู
แลว น้ีเปนสง่ิ ทเี่ ขา ใจไดย าก มนั เปนของท่ีลึกซ้งึ และละเอียดสุขุม คนที่มคี วามคิดจรงิ ๆ มีปญ ญาแจมใสจริงๆ เทาน้นั จึงจะสามารถจับฉวยเอา
ใจความไดอยา งถูกตอ งจนไดรับผล แตค นทีม่ คี วามคิดและปญ ญาอันแจมใสนนั้ มอี ยูท ไ่ี หน คนสวนมาไมประสงคจะทนความยากลาํ บากในการ
คิดและพนิ ิจพิจารณาอยา งลึกซ้งึ เขาชอบกนั แตสงิ่ งายๆ ชอบกนั แตส ง่ิ ทีท่ ําความสนุกสนานเพลิดเพลนิ ใหแ กตน หวั ใจของเขาเอยี งไปแตใ นส่ิง
ซง่ึ เขาเหน็ วาจะนําความสนุกสนานบนั เทงิ เริงรื่นมาใหแ กเ ขาเทานั้น เขาทง้ั หมดพากันปลอยตวั ไปในเร่อื งความเพลดิ เพลินทางกามารมณ หากเรา
จะสัง่ สอนธรรมะนีแ้ กเขา เขากไ็ มเ ขาใจวาเราไดพ ดู ถงึ เรอ่ื งอะไรกะเขา เขาจกั ไมส นใจ แลวเราก็จักเหนอื่ ยเปลา”
พระผูมีพระภาคเจาทรงดําริในพระหฤทยั เชน นี้ จนมีพระทยั นอ มไปในทางทีจ่ ะไมทรงส่งั สอนส่งิ ซึ่งพระองคไ ดตรสั รูแกผใู ด แตจ ะทรงเกบ็
ไวเพือ่ ประโยชนแกพ ระองคแ ตผ เู ดียว เพราะไมท รงเห็นวา จะมผี ใู ดในโลกที่ตองการจะทราบหรอื จะพอใจ ในเมอื่ พระองคจ ะบอกเลาสิ่งนีใ้ หแ ก
เขา แตอ ยางไรกต็ าม ความดําริของพระองคหาไดหยดุ เสยี เพยี งเทา นีไ้ ม เพราะถาเปนดังนน้ั แลว ใครๆ กห็ ามไิ ดรูธรรมะของพระองค ดังเชนทุก
วันนี้ พระองคไดท รงพยายามตีปญ หาเร่ืองนีต้ อไปอกี จนกระทง่ั เกดิ มคี วามคดิ อันใหมข้นึ แกพระองคดั่งตอไปนี้
“ถูกแลว มนั เปน ความจริงในขอทวี่ า คนแทบทั้งหมดในโลกนี้ไมปรารถนาจะฟงธรรมะซึง่ เราไดคนพบ และจะไมเ ขา ใจแมว า เราจะได
พยายามบอกกลาวแกค นประเภทน้ี เขารกั แตสิ่งทง่ี ายๆ สนกุ สนานและไมท ําใหเ ขายงุ ยากใจในการคดิ แตแ มจะเปน อยางนัน้ คนทุกคนในโลก
ไมเ หมือนกนั มคี นบางพวกแมจ ะมีจาํ นวนไมมากนกั ซง่ึ กําลงั ไมป ระสพความพอใจดว ยวิถแี หง การดําเนินชวี ิตชนิดท่ีเขากาํ ลังกระทาํ อยู เขา
กาํ ลังตองการจะรูใหมากไปกวา ทีเ่ ขารูอยูในบดั น้ี เขาไมพ อใจท่ีจะดําเนนิ ตนไปในทางทเี่ อาแตความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน มันจะเปนทน่ี า
สมเพชสักเพยี งใดถา รธู รรม ซงึ่ สามารถนําความสขุ กายสขุ ใจมาใหแกคนประเภทนไี้ ด แตแลวกลบั เก็บเงียบไวไมบ อกกลา วใหเขาไดย นิ ไดฟง
เลย
ไมไ ด ! เราจกั ไมทาํ เชน นน้ั เราจกั ออกไปเดีย๋ วน้แี ลว และจะทาํ คนจําพวกน้ันทกุ คนท่เี ราพบ ใหไ ดร ูไดเขา ใจถึงความจรงิ อันประเสรฐิ ส่ี
ประการ ซ่งึ เราไดคน พบแลว คอื ความจรงิ เรื่องทกุ ข และตน เหตุของมัน เรอ่ื งความไมม ที กุ ขเ ลย และวิธที ่ีจะใหไดรบั ความไมมที กุ ขน นั้ คนทฟ่ี ง
แลวพอจะเขา ใจไดก ย็ งั มีอยู แมจะมีเพียงจาํ นวนนอ ยก็ตาม
มนั เหมือนกับในสระบวั ซ่งึ มีบัวหลายๆ ชนดิ เกดิ อยู เปน สีชมพบู า ง น้ําเงนิ บา ง ขาวบา ง บวั สวนมามีดอกออนโผลข้ึนมาจากกอ ซ่งึ ยงั จมอยู
ใตด ินไดหนอยหน่ึง พอพน จากโคลนบา ง ขึน้ มาไดค รึง่ ทางระหวา งพ้ืนดินกบั ผดิ น้ําบา ง ข้นึ โผลมาถงึ ผวิ นํา้ บา ง ถกู สัตวกดั กนิ เสียกอนทจี่ ะได
บานบาง สวนทีโ่ ผลขึ้นพน นาํ้ รับแสงแดดเบกิ บานอยใู นอากาศน้นั มีเปนจาํ นวนนอ ยกวากจ็ รงิ แตก็ยังมอี ยู! ขอ น้ฉี นั ใด สตั วทงั้ หลายก็เปน ฉัน
นั้น บางพวกใจของเขาเอาแตจ ะจมอยใู นโคลนแหงกเิ ลสแลตัณหา แตบางพวกมิไดจ มอยูใ นโคลนมากเหมอื นอยา งนนั้ มกี ิเลสแลตัณหาครอบงาํ
แตเพยี งเลก็ นอย คนจาํ นวนหลงั นี้เองจะสามารถเขาใจคาํ สัง่ สอนของเรา เมื่อเขาไดยินไดฟงเราจกั ออกไปเดีย๋ วนี้ จะตองใหเขาไดยินไดฟ ง และ
สอนคนทกุ คนที่ควรสอน”
พระผูมีพระภาคเจา ทรงเร่มิ ระลกึ วาพระองคค วรจะสอนบคุ คลใดเปนคนแรก ซงึ่ จะพอใจฟง และเขา ใจไดโดยเรว็ ลาํ ดับนั้น พระองคทรง
ระลกึ ถึงอาจารยเ กาของพระองคเ อง คอื ดาบสช่ือ อาฬาระ กาลามะ ซ่ึงมคี วามรู ความคิด ความเฉลียวฉลาด และความบริสทุ ธอ์ิ ยูเ ปน อนั มาก แลว
พระองคทรงราํ พึงแกพ ระองคเ องวา เราจกั ไปสอนดาบสอาฬาระ กาลามะ กอนใครอื่น ทา นผูนี้จกั เขา ใจไดโดยรวดเร็ว
เม่อื พระองคท รงเตรียมพรอมทจ่ี ะเสดจ็ ไปสูส ํานกั ดาบสอาฬาระ กาลามะ ก็มใี ครบางคนไดม าแจงขาวแกพระองคว า อาฬาระดาบสนัน้ ไดถ ึง
แกก รรมเสียแลว พระองคจงึ ทรงนกึ ถงึ บุคคลอน่ื สืบไป กร็ ะลกึ ไดถ ึงดาบส อุทกะ รามบุตร ผซู ึง่ มีสตปิ ญญาพอที่จะรูธ รรมะนไี้ ดโดยแลว อยา ง
เดยี วกนั แตในท่สี ดุ กท็ รงทราบวาดาบสผูนี้ถึงแกกรรมเสยี แลวเม่อื คนื ทีแ่ ลว มา
พระองคท รงระลึกหาบคุ คลท่ีเหมาะสม ท่ีจะรบั คาํ สง่ั สอนเปน คนแรกท่สี ุด ตอไปอกี ในทส่ี ดุ ก็ทรงระลึกไดถงึ ภกิ ษหุ า รูป ที่เคยอยูเ ฝา
พระองคในคราวเมอื่ ทรงบําเพญ็ ตบะทรมานกาย ณ ตําบลอุรเุ วลา เมื่อไดท รงทราบวา บดั นภี้ ิกษุเหลา นน้ั อาศยั อยทู ี่ ปาอสิ ิปตนมคิ ทายวัน ใกล
เมืองพาราณสี แลว ก็เสดจ็ จากตําบลอรุ เุ วลา ตรงไปยังเมอื งพาราณสี (ซ่งึ มีระยะทางประมาณ 150 ไมล) เมอื่ พบกบั ภกิ ษุเหลา นนั้ พระองคได
เสด็จไปโดยลาํ ดับๆ จนกระทงั่ เย็นวันหนงึ่ กเ็ สด็จถงึ ปา อิสิปตนมคิ ทายวนั อนั เปนที่ซง่ึ นักบวชหา รปู น้ันกําลงั พกั อาศยั อยู * (* ในระหวางทาง
ตอนน้ี พระองคไ ดพ บอาชวี ก ชื่ออุปกะ และไดส นทนาโตต อบกนั ขณะหน่ึง เขาไมเชอื่ วา พระองคเปนพระพุทธเจาผตู รัสรธู รรม และไมไ ดรับ
ประโยชนอ ะไรจากการไดพบกบั พระองค)
เมือ่ นักบวชหา รูปนัน้ เห็นพระองคเสดจ็ ดาํ เนินมาแตไ กล ก็ไดก ลาวแกก ันและกนั วา “ดูโนน ! พระสมณโคตมะกาํ ลงั ตรงมาทนี่ ่ี พระสมณ
โคตมะผมู กั มาก ซง่ึ ไดส ละความเพียร เวยี นกลับไปสคู วามเปนผูอ ยอู ยางสะดวกสบาย พวกเราอยา พูดกะทาน พวกเราอยาออกไปตอนรับ และ
แสดงความเคารพใดๆ อยาออกไปรับบาตรจีวร เราเพยี งแตตง้ั อาสนะไวผ ืนหน่ึงท่ีนี่ ถาทานอยากน่ัง จะไดนง่ั ถาทานไมน ง่ั กใ็ หท านยืน ใครท่ี
ไหนจะไปตอ นรบั คนทีไ่ มม อี ะไรแนว แนเ ชน ทา นผูน ี้ ”
แตในทส่ี ดุ เม่ือพระองคไ ดเสด็จดาํ เนินใกลเ ขามา นกั บวชทง้ั หา นัน้ ไดสังเกตเห็นอะไรบางอยางอันแสดงวา พระองคม ิไดทรงเปน อยางที่เขา
เคยนกึ มาแตกอน ในบัดนี้มอี ะไรบางอยา งปรากฏอยูทพี่ ระองค เปนความสงา งามและสูงสง มีแววแหง ความประเสรฐิ อยา งท่เี ขาเหลา น้ันไมเคย
เห็นมากอ น นักบวชท้ังหาน้นั ไดมคี วามตน่ื เตน ในใจจนกระทัง่ ลมื ตวั เอง และลืมขอนดั หมายทไ่ี ดตกลงกันไว ไดพ ากนั กระทาํ ทกุ ส่งิ ทุกอยา ง
ตามทตี่ นอยากจะทาํ ในบัดน้นั บางคนไดร ีบเดินตรงไปตอ นรับพระองค ถวายความเคารพ และรับบาตรรบั จวี รจากพระองคด ว ยความนอบนอม
บางคนรีบเรง ตระเตรียมอาสนะเสียใหมเ ปน พิเศษสาํ หรับพระองค และบางคนรบี ไปหาน้าํ มาชําระพระบาทของพระองค
เมอ่ื พระผมู พี ระภาคเจาประทบั น่ังบนอาสนะ ซึง่ นกั บวชทงั้ หานัน้ จัดถวายแลว ไดตรสั แกเขาเหลา น้ันวา “ฟง กอนภกิ ษทุ งั้ หลาย! เราไดพบ
หนทางแหง อมฤตธรรมแลว เราจะบอกทา น เราจะแนะใหท าน ถาทา นท้ังหลายฟงและศึกษาและปฏบิ ตั ติ ามที่เราบอก ไมนานเลย ทา นทั้งหลาย
จกั รูไ ดด ว ยตนเอง โดยไมตอ งรอถงึ ชาตหิ นา แตจ ักรูไ ดท ีน่ ี่ ในบดั น้ี ในชีวิตน้ีวาถอยคาํ ทเ่ี รากลา วน้ันมีความจรงิ เพยี งใด และทานท้งั หลายจกั
เขาถึงสงิ่ ซึ่งอยูเหนอื ความเกิดและความตายได ดวยตนเอง
เปนธรรมดาอยูเอง ทนี่ ักบวชทงั้ หานี้จะตอ งมีความฉงนเปนอนั มากในการทีไ่ ดฟ งพระองคต รัสเชนน้ี เขาเหลา น้นั ไดเ หน็ พระองคบ าํ เพ็ญ
ตบะอดอาหารและทรมานกาย แลวมาเลิกเสียเพอ่ื ใหบรรลุธรรม และบัดนย้ี งั มาบอกแกเขาวา พระองคไดบรรลธุ รรมนน้ั แลวดว ย นกั บวช
เหลา น้ันไมยอมเชอ่ื อยา งงา ยๆ และไดกลาวโตพ ระองคน านาประการ
เขาไดก ลาวแกพ ระองควา “เพ่อื โคตมะ! ทําไมเลา เมอ่ื พวกเราอยูกบั ทา น ทา นปฏิบตั ิอยางเครง ครัดในการบําเพญ็ ตบะทรมานกายทกุ ชนดิ
ดงั เชน นักบวชทงั้ หลายประพฤติกันอยทู ว่ั ชมพูทวปี พวกเราจงึ ไดนบั ถือทานเปนอาจารยผ ูส่ังสอน ทานบาํ เพ็ญตบะอยางเครง ครดั เชน นั้นแลว ก็
ยังไมบรรลธุ รรมที่ทานตอ งการ มาบัดนท้ี านจะบรรลธุ รรมนน้ั ไดอ ยางไร ในเมอ่ื ทา นกลบั มาเปน คนอยูอยางมักมาก ละทงิ้ ความเพยี รเสียแลว
หมุนไปหาความสะดวกสบายตามพอใจเชน นี้ ”
พระพทุ ธองคไดตรัสตอบวา “ทา นทง้ั หลาย ! พวกทา นเขาใจผิด เราไมไ ดละความเพยี รแตอยางใดเลย เราไมไ ดเ ปนอยูอยางหลงใหลตามใจ
ตวั เอง เอาแตสนุก จงฟงเรากอ น เราไดบ รรลุวิชชาและญาณอันสงู สดุ แลวจรงิ ๆ เราสามารถสอนทานทัง้ หลายใหทานบรรลุธรรมนั้นได โดยตัว
ทา นเองดวย”
นักบวชท้งั หาเหลา น้ันไมสามารถจะปลงใจเชอ่ื ในถอ ยคําของพระองค มนั ปรากฏแกเ ขาในทาํ นองทเ่ี ปนไปไมได แมพ ระองคจ ะไดทรง
ขอรองใหค นเหลา นน้ั ฟง และเช่อื อกี ครง้ั หนงึ่ เขากย็ ังไมอ าจจะเช่ือ เม่อื พระองคทรงเห็นวา คนเหลา นน้ั ไมยอมเชอื่ วา พระองคบรรลธุ รรมทอี่ ยู
เหนอื ความตายจรงิ ๆ แลว พระองคไดท รงมองท่ีใบหนาของคนเหลานน้ั อยา งเพงจองและเอาจรงิ เอาจังพรอ มท้ังตรัสวา “ทานทัง้ หลาย ! จงฟง
กอ น จงนกึ ดใู หด ๆี วา ตลอดเวลาท่ีทานทั้งหลายอยูกบั เรา ในครั้งกระโนน เราไดเคยพดู เชนนก้ี บั ทานทัง้ หลายบา งหรอื เปลา เราไดเคยบอกทาน
ทั้งหลายวาเราไดบ รรลวุ ิชชาและญาณอนั สงู สดุ อันทาํ อยเู หนอื ความเกดิ และความตายเชน นหี้ รอื เปลา จงคดิ ดู !”
นกั บวชทั้งหาน้นั ตอ งตอบแกพระองคว า เปนความจรงิ ทีพ่ ระองคไ มเ คยตรัสคําเชน นีแ้ กพวกเขามากอนเลย พระองคไ ดตรัสตอไปวา “บัดน้ี
จงฟงเรากอ น ในเมอ่ื เราไดย นื ยันวาเราไดถงึ หนทางแหง อมตธรรมแลวจรงิ ๆ กจ็ งฟง ใหร ูวา เราไดพบอะไรและอยา งไรเสียกอ นจะดีกวา ”
พระองคไดตรสั ถอ ยคําเหลา นอี้ ยางองอาจ และตรงึ ใจ ขณะเมอื่ ตรสั พระองคไ ดท รงเพงจอ งมองดว ยลกั ษณะของบคุ คลผูมีเมตตา และซอื่ ตรง
อยา งบรสิ ทุ ธ์ิ จนนกั บวชเหลา น้ันหมดความสงสัย ไมปฏเิ สธในการท่จี ะตง้ั ใจฟง พระองคอยา งแทจ รงิ นักบวชท้ังหา ไดข อรองใหพระองคท รง
ยับยง้ั อยเู พอ่ื สอนเขาเหลา นั้น ดว ยสงิ่ ซง่ึ พระองคทรงคนพบ คําสอนเร่อื งแรกท่ีพระองคไดส อนเขานน้ั เรยี กวา ปฐมเทศนา หรอื ธมั มจกั กัปปวัต
ตนสตู ร วา ดว ยอรยิ สัจ 4 อยาง และมรรคมีองค 8 ประการ
พระองคไ ดทรงสอนนกั บวชท้งั หา ซึ่งเคยเปนศิษยเ กา ของพระองคเหลาน้ัน ดว ยธรรมที่พระองคเพิ่งตรสั รใู หมๆ ทุกวันๆ จนครบถวน เปน เวลา
สองสามเดอื น ประทบั อยกู บั นกั บวชเหลาน้ัน โดยทรงสอนนักบวชสามคน เมอื่ นกั บวชอกี สองคนไปบิณฑบาตเพอ่ื นาํ อาหารมาเลยี้ งกัน และ
ทรงสอนนักบวชอกี สองคน ในเมื่อนกั บวชสามคนน้ันไดไ ปบิณฑบาต ผลดั เปลี่ยนกันโดยทาํ นองนีต้ ลอดเวลาอยางผาสุก
เพราะเหตุทไ่ี ดอ าจารยอันประเสรฐิ สุดในโลก นกั บวชท้งั หา นัน้ กไ็ ดลุถึงธรรม ดังเชนทีพ่ ระองคไ ดท รงบรรลุ เขาไดป ระสพผลแหง การ
ปฏิบัตขิ ้ันสงู สุด คอื นพิ พานได ในภาพทนั ตาเหน็ น้ีเอง ในบรรดานักบวชหา คนนน้ั ผูทีเ่ ขาใจอยา งแจมแจง ในคําสอนของพระองคเ ปน คนแรก มี
นามวา โกณฑัญญะ อกี สี่คนนอกนน้ั มนี ามวา ภทั ทยิ ะ อสั สชิ วัปปะ และมหานามะ นกั บวชทงั้ หา น้ี ไดเปน พระอรหันตจํานวนหาองคแรกใน
โลก คํา “อรหันต” น้ี เปนท่ชี อื่ ทใี่ ชส าํ หรบั บุคคลผบู รรลุนพิ พานไดดว ยตนเอง ในชีวติ ทันตาเหน็ นับวาพระอรหันตทง้ั หาองคน เ้ี ปน ชดุ แรกของ
หมูสงฆสาวกประเภทที่มีพระพทุ ธองคเปนผทู รงสัง่ สอนและแนะนาํ ดว ยพระองคเ องโดยตรง คาํ สอนทีท่ ําใหท า นเหลา นั้นไดเ ปน พระอรหนั ต
พรอมกันทง้ั หาองคนน้ั เรยี กวา อนัตตลกั ขณสตู ร
เม่อื พระองคย ังประทับอยทู ปี่ าอสิ ปิ ตนะนัน้ มชี ายหนมุ ลกู เศรษฐแี หงเมืองพาราณสคี นหนง่ึ ช่อื ยสะ ไดมาพบพระองคเขาโดยบงั เอิญใน
โอกาสวนั หนึง่ เมอ่ื เขาไดฟง ธรรมะของพระองค และทราบถึงผลของการปฏบิ ัตธิ รรมะนั้นแลว ก็มีความพอใจจนถงึ กบั ขอบวช และอยอู าศยั กับ
พระองคเพอื่ ศึกษาและปฏบิ ัติใหยิง่ ขนึ้ ไปอกี
ในเย็นวันนน้ั เอง ไดมีชายสูงอายคุ นหน่งึ มาเฝา พระองคแ ละทลู วาลกู ชายไดหายมาจากบา น ต้ังแตเมอ่ื เชาน้ี เขาใจวามาทางน้ี มารดาของเขา
กาํ ลังรอ งไหคร่ําครวญโดยคิดวา เขาอาจจะถกู คนรา ยฆา เสยี ในถนิ่ นแี้ ลว พระผูม ีพระภาคเจาตรสั บอกใหเ ศรษฐีผนู นั้ ทราบวาลูกของเขา
ปลอดภัย ไมตอ งเปน หวง และพระองคไ ดต รัสธรรมะอันเหมาะสมใหเ ศรษฐผี ูน้ันฟง เพื่อใหเ ศรษฐีผนู ้ันทราบวา ธรรมะน้ันเปน อยางไร จงึ ได
เปน ที่พอใจแกล กู ชายของเขาจนถงึ กบั ขอบวช ในทส่ี ดุ แหง การตรสั เศรษฐผี ูนก้ี ไ็ ดพ อใจและเลอ่ื มใสในธรรม ประกาศตนเปน อุบาสก รับถอื
ธรรมของพระองคเปนสรณะจนตลอดชวี ติ สืบไป เขาไดทลู นิมนตพ ระผูม ีพระภาคเจา ทั้งพระยสะดวย ไปฉันอาหารบณิ ฑบาตทเ่ี รือนของตนใน
วันพรงุ นี้ ตอจากนนั้ มา เพื่อสนทิ ของพระยสะเศรษฐบี ตุ รอกี ส่ีคนไดอ อกบวชตามพระยสะ เปนภกิ ษุในพระพทุ ธศาสนา และไดม ีคนหนมุ
อีกจาํ นวนมากพากนั บวชตามโดยทาํ นองนีท้ ่ปี า อิสปิ ตนะน้ัน จนกระท่งั รวมดว ยกนั ท้งั หมดประมาณ 60 รปู ผบู วชใหมเ หลา น้ที กุ คน ลว นแตม ี
เช้ือชาติสกลุ ดี มีความพากเพยี รพยายามในการศึกษาและการปฏิบัตอิ ยางเครง ครัด ภายใตการควบคุมส่ังสอนของพระผูมีพระภาคเจาเอง ในเวลา
ไมน านเลย ทุกคนไดรแู ละไดลุถึงวชิ ชาและญาณอันสงู สดุ ดว ยตนเอง และเปน พระอรหันตดวยกันทุกคน
พระผูม พี ระภาคเจา ไมท รงยอมใหพ ระสาวกเหลา น้ันอยูอ าศัยในที่แหงเดยี วกนั นน้ั เพราะวาบดั น้ีทุกๆ รูปไดเ รียนรูและปฏบิ ตั ิไดผลครบถวน
ตามทพ่ี ระองคท รงสอนแลว พระองคร ับสั่งแกพ ระสาวกเหลา นน้ั วา ทานเหลาน้ันตอ งออกเดินทางไปเพ่อื ทาํ การสง่ั สอนคนเหลา อ่นื เพ่ือวา คนที่
พรอมทีจ่ ะรบั คาํ ส่ังสอนเหลานน้ั จะไดม ีโอกาสไดย ินๆ ไดฟงคําสอน คร้นั ไดศกึ ษาและปฏิบัติแลว เขาจกั เปนผูพน จากทุกขท้งั ปวงได
เชนเดยี วกนั
พระองคไ ดตรสั แกพระสาวกท้งั หลายเหลา นน้ั วา “ดกู อนภิกษุทั้งหลาย เธอทง้ั หลายจงเท่ียวจาริกไป จงแสดงธรรมซ่งึ มีความงามในเบอื้ งตน
มีความงามในทา มกลาง และมีความงามในเบื้องปลาย จงประกาศแบบแหง การครองชวี ติ อนั สมบูรณอ นั ประเสริฐ และบรสิ ทุ ธ์ิ ในโลกนี้ยงั มีคน
บางพวกซึ่งมีธุลี คอื กเิ ลสแลตัณหาแตเพียงเบาบาง หากไมไดฟง ธรรมแลว จักเสียประโยชนอ นั ใหญห ลวง คนพวกนแ้ี หละจกั ฟงธรรมและเขา ใจ
อยา งแจมแจง”
พระพทุ ธองคไดท รงสงพระสาวกชุดแรกจาํ นวน 60 รปู ออกไปประกาศพระศาสนา ทรงระบุไมไ ดไ ปเปน คูหรือเปนหมู แตใ หไ ปเพียงสาย
ละรูปๆ โดยทิศทางตา งๆ กัน เพอ่ื ใหธรรมน้ีแพรหลายไกลออกไปโดยเรว็ ทส่ี ุดเทา ทจี่ ะทาํ ได พระสาวกเหลานไ้ี ดสนองพระพทุ ธบญั ชา ตามพระ
พุทธประสงคและออกไปเผยแพรพระธรรมวินัยของพระองคท กุ ทศิ ทุกทางทัง้ ทางเหนอื และทางใต ทางตะวันออกและทางตะวันตก
พระสาวกเหลานเี้ ปน บคุ คลพวกแรกทส่ี ุดในโลก ท่ีไดอ อกทําการเผยแพรคาํ สอนทางศาสนาของตนๆ ตามถ่นิ ตางๆ วาโดยที่แทแลว ทาน
เหลา นเ้ี ปน คณะเผยแพรศ าสนา ท่ไี ดรับการแตง ตั้งอยางฉับพลนั ทนั ทีทตี่ นไดบ รรลุธรรม นับเปน พวกแรกที่สุดท่ีโลกไดเ คยเห็น ทกุ องคมคี วาม
กลาหาญ ทําการเผยแพรพ ระพุทธศาสนาเปนพวกแรกที่สดุ ในโลก โดยลักษณะดงั กลาวนี้
พุทธประวตั ิ ฉบับสําหรบั ยุวชน
พุทธทาสภกิ ขุ แปลและเรียบเรยี งจาก ฉบับภาษาองั กฤษ ของ ภิกษุสีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 11 สิงคาลมาณพ
หลงั จากทีพ่ ระผมู พี ระภาคเจา ไดท รงสง พระอรหนั ตสาวก 60 รูป ออกไปเพ่อื เผยแพรพระศาสนาตามทิศทางตางๆ แลว พระองคเองก็ได
เสด็จออกจากปา อสิ ปิ ตนะ ตรงไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงใตสปู ระเทศมคธ และในที่สุดก็ไดเสดจ็ มาถึงตําบลอรุ เุ วลา ณ ท่นี ัน้ พระองคไ ดเ สดจ็ ไป
พํานักอยูก บั พวกชฎลิ จาํ นวนหนึง่ ประมาณพนั รูป ซงึ่ มีชฎลิ ช่อื วา กัสสปะสามคนพ่นี องเปนหวั หนา พระองคไดทรงทําลายทฏิ ฐมิ านะของชฎลิ
เหลาน้ันสิน้ เชงิ แลว ทรงอธบิ ายหลกั ธรรม ท่ที รงคนพบไดใหมใ หหัวหนาชฎลิ เหลาน้ันฟง จนมีความพอใจรบั เอาคาํ สอนของพระองค และขอ
บวชเปนภกิ ษใุ นศาสนาของพระองค และไดบรรลุธรรมเปน พระอรหนั ตใ นเวลาตอ มาดวยกันทกุ รูป ทั้งหัวหนาและบริวาร
พระพุทธองคไดเ สดจ็ จากอุรุเวลาไปสูนครราชคฤหตามที่เคยไดสัญญาไวก บั พระเจาพิมพสิ ารวา เม่ือพระองคบรรลธุ รรมแลว จกั เสด็จ
กลบั มาส่ังสอนพระราชาและประชาชนแหงนครนนั้ ใหรูตามดว ย พระเจา พมิ พิสารและชาวนครราชคฤหไดทาํ การตอนรับพระองค ดว ยความ
ยนิ ดอี ยางสูงสดุ ในขอ ที่วา พระองคไดต รสั รูธรรมเปน พระสัมมาสัมพุทธเจา แลว เสดจ็ มาโปรดเขาเหลานน้ั
ณ ทีส่ วนตาลหนุมแหงหน่ึง พระองคไดทรงสั่งสอนชแี้ จงดว ยพระหฤทยั อันเตม็ ไปดวยพระกรณุ า โดยวิธตี า งๆ จนกระทง่ั พระราชาและ
ประชาชนเหลา นน้ั มีความเขา ใจในธรรม ประกาศตนเปนพระสาวกของพระองค พระเจา พิมพิสารไดท รงแสดงความเคารพนับถอื ในพระพุทธ
พระธรรม และพระสงฆ ใหปรากฏออกมาโดยการทรงถวายอุทยานเวฬวุ นั ใหเปน ทอี่ ยอู าศัยของพระภกิ ษุสงฆ มพี ระพทุ ธเจา เปนประมุข
เชาวันหน่ึง พระองคเ สดจ็ ออกจากอทุ ยานเวฬุวัน เพอ่ื ไปบิณฑบาตในนครราชคฤห ในระหวางทางพระองคไ ดท รงพบชายหนุม คนหนึง่ เน้ือ
ตัวเปย กชุมไปหมด ราวกะวาเพ่งิ ข้ึนมาจากนาํ้ ยนื อยกู ลางถนน ทําอาการโคง ตัวนบไหวทศิ ท้ังส่ี คือ ทิศตะวันออก ทิศใต ทศิ ตะวนั ตก ทิศเหนือ
แลว ไหวแหงนขึน้ ไปบนฟา และไหวลงไปทางพนื้ ดินแทบเทาของตนในท่ีสดุ และไดโ ปรยเมลด็ ขาวไปทุกทิศ ในขณะทีต่ นกาํ ลงั ทาํ การนบไหว
พระองคไดท รงทอดพระเนตรดชู ายหนุมคนนน้ั ซงึ่ กระทําพธิ อี นั แปลกประหลาดอยูบ นทางสาธารณะจนเสร็จแลว ไดต รัสถามเขาวา ทาํ ไม
เขาจงึ ทาํ อยา งน้ัน ชายหนุมคนนนั้ ไดทลู ตอบวา เขาทําเชน นัน้ ตามคาํ สั่งของบดิ าซึง่ ไดส ่ังใหเขากระทําทุกๆ เวลาเชา เพอ่ื เปนการปองกนั สง่ิ ช่ัว
รายทุกประการมิใหมาสตู ัวเขา จากทิศทั้งสี่ และจากเทวดาในเบ้ืองบนและจากปศาจในเบือ้ งตา่ํ บิดาของเขาไดข อรอ งเขาเปนครั้งสดุ ทา ยเม่อื
กําลงั จะสิ้นชีพใหเขาทาํ เชนนน้ั ดงั นั้น เขาจงึ ไมอาจฝาฝน ความประสงคข องบดิ า นบั ต้งั แตว นั ทบ่ี ดิ าของเขาสน้ิ ชพี เปนตน มา เขาไดป ฏิบตั ติ าม
คําสัง่ นี้อยา งเครง ครัด โดยไมม ขี าดสักวนั เดียว พระพุทธองคไดทรงฟง คาํ ตอบของเขาดงั น้ันแลว ไดตรัสวา “เปน การถูกตองอยา งย่งิ สาํ หรบั ทาน
ที่รักษาคํามั่นสญั ญาอนั ไดใหไวก ะบดิ าขณะท่จี ะส้นิ ชพี อยางซอ่ื สตั ย แตว า สงิ่ ท่ีทานกระทาํ นน้ั ยังไมต รงตามที่บิดาของทา นมุงหมาย”
“ขอ ท่บี ดิ าของทานส่ังใหท านทําการนบไหวและโปรยอาหารไปทางทศิ ตะวันออกนั้น บดิ าของทานหมายความวาทา นจะตองแสดงความ
เคารพสกั การะตอบคุ คล ซง่ึ ใหก ําเนิดชีวติ แกทา นโดยเฉพาะ ก็คือมารดาบิดาน่นั เอง การนบไหวาทางทิศใตน ัน้ บดิ าของทา นหมายถงึ การเคารพ
สกั การะครบู าอาจารย ซึ่งสง่ั สอนวชิ าความรใู หทา น การนบไหวทางทศิ ตะวนั ตกน้ัน หมายถงึ การทนถุ นอมเลยี้ งดูบตุ รและภรรยา การนบไหว
ทางทศิ เหนอื หมายถึงการเคารพนับถือสงเคราะหว งศญาตแิ ละมิตรสหาย การนบไหวทางทิศเบ้อื งบน หมายถึงการสกั การบชู าบุคคลผมู ีความดี
ความงาม ความประเสริฐ เชน สมณะและพราหมณ เปนตน สาํ หรบั การไหวลงทศิ เบื้องตํา่ ทางพ้นื ดินน้ัน หมายถึงการยอมรบั นบั ถอื สิทธใิ นการ
แสวงสุข และการมชี วี ติ ของสัตวตางๆ ทกุ ประเภท แมแตส ตั วท ีถ่ อื กันวาเลก็ และเลวทส่ี ดุ ซึ่งอาศัยอยใู นแผนดนิ บิดาของทานมุงหมายอยา งน้ี จึง
ไดส ่ังใหน บไหวเชนนนั้ และเปน การปองกนั อนั ตรายทกุ อยางอนั จะมาถึงทา นจากทุกทิศทกุ ทางไดจ ริง”
พระองคไดท รงอธิบายใหชายหนุมคนนี้ ซ่งึ มนี ามวา สงิ คาละ เขาใจโดยละเอียด ในสิ่งทเี่ ขาจะตองประพฤติตอตนเองและตอ บุคคลอืน่
เพ่ือใหท กุ คนมคี วามสุขความเจริญ ท้งั ในปจจบุ ันและอนาคต พระองคไ ดทรงแนะใหสิงคาละเวน จากการฆา เวนจากการลักขโมย จากการ
ลว งเกนิ คนรักของบุคคลอ่ืน จากการพูดเทจ็ และการดืม่ นาํ้ เมาทุกชนดิ พระองคท รงแนะนาํ ใหเ ขาทาํ งานดวยความขยันหมัน่ เพยี ร เพ่ือการสะสม
ทรพั ยและในการรักษาทรัพยซ ่ึงหามาไดแ ลว แตกอ็ ยาไดห ลงละโมภหรอื บริโภคใชส อยทรพั ยน นั้ เพอ่ื ประโยชนแ กต นแตผเู ดียว และไมใชท รพั ย
ไปในทางสุรยุ สุรายอยา งโงเขลา ทรงแนะใหใ ชท รัพยจาํ นวนหน่งึ ในส่เี พ่อื การเล้ียงดูตนเองและครอบครัว หนึ่งในส่ใี นการขยายการงานอาชพี
ของตนใหกวา งขวางออกไป หนึ่งในสี่ในการชวยเหลอื คนที่กาํ ลังตองการความชว ยเหลอื และอกี หนึง่ ในสเี่ กบ็ ไวเปนทุนสํารอง เมอื่ คราวภัย
พบิ ัตเิ กิดขน้ึ จกั ไดใชสอยทันทวงที
สงิ คาละไดต ง้ั ใจฟง คําแนะนําของพระองคดวยความเคารพ และไดกราบทูลแกพระองควา เมอื่ บดิ าของเขายงั มชี วี ิตอยูนั้น เขาเองไดก ลา วกะ
บิดาของเขาอยบู อยๆ ถึงขา วเลาลอื อนั เก่ียวกับพระองคว าทรงเปนศาสดาเอก และไดพ ยายามขอรอ งใหบ ิดาของเขาไปเฝา พระพทุ ธเจา เพอ่ื รับคาํ
ส่ังสอน แตบ ดิ าของเขาไดป ฏิเสธเสยี ทุกคราวไป โดยพดู วา ลําบากเกินไปบา ง เหนอื่ ยเปลาบา ง ไมมีเวลาบา ง ไมม เี งินที่จะใชจ า ยในการเดินทาง
บาง กลาวดังนแ้ี ลว ชายหนุมชอื่ สิงคาละนั้น ไดท ลู ขอรอ งใหพ ระพุทธองคทรงยกโทษใหแกบดิ าของเขา และตัวเขาเอง ขอสมคั รเปน สาวกของ
พระองคย ืนยันในการทีจ่ ะทําการไหวท ิศทั้งหก ตามวิธที พี่ ระองคแนะนาํ โดยครบถวนจนตลอดชีวิต ขอความทพ่ี ระพทุ ธองคไดต รสั แกสิงคาล
มานพอยา งไรโดยละเอยี ดนั้น อาจจะอา นดไู ดจากสคิ าโลวาทสูตร ในคัมภรี ฑ ีฆนกิ าย
พทุ ธประวัติ ฉบบั สาํ หรับยวุ ชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรียบเรยี งจาก ฉบบั ภาษาอังกฤษ ของ ภกิ ษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนที่ 12 สารีบตุ รและโมคคลั ลานะ
ในระยะเวลาทพี่ ระพุทธองคประทบั อยูใ กลน ครราชคฤหน้ี มีเจา ลทั ธิผูหนึ่งชื่อ “สญชัย” ต้ังสํานกั อยูใกลๆ นครราชคฤห มีสาวกประมาณ
200 คนเศษ ในบรรดาสาวกเหลา นัน้ มสี าวกสองคน ชือ่ อปุ ติสสะ และโกลิตะ มีสติปญ ญามาก ทง้ั สองคนไมพ อใจในคําสัง่ สอน ทา ทอ่ี าจารย
ของตนไดส อนให แตมคี วามประสงคจ ะรสู ่ิงท่ดี ีและลกึ ซง้ึ ไปกวานนั้ อันเรยี กกันวา “อมฤตธรรม” คนทงั้ สองนร้ี ักกนั มาก คนหนึง่ จะตองมีสว น
ไดในสง่ิ ทอ่ี กี คนหนึง่ ไดเ สมอไป จึงไดท ํากตกิ าตอ กันอยา งเงียบๆ วา ตา งคนตา งพยายามศกึ ษาและคิดคน ใหสุดกําลังสติปญญาของตนๆ เพ่ือให
พบอมฤตธรรม ถาคนใดไดพบกอน กจ็ ักบอกใหอีกคนหน่ึงไดร ดู วย
วนั หนึง่ ในเวลาเชา เมอ่ื อปุ ตสิ สะเดนิ ไปตามถนนในนครราชคฤห เขาไดเ หน็ บรรพชติ รปู หนึง่ กําลงั เที่ยวบณิ ฑบาตอยู มีอาการแปลก
ประหลาด จบั ตาจับใจของเขาเปน อันมาก บรรพชิตรปู นั้นมีลกั ษณะอาการทีส่ ภุ าพเรยี บรอย สงบเสงย่ี มงดงามท้ังในการเดินและการยืนตลอดจน
การรับบณิ ฑบาตชนดิ ท่ีเขาไมเ คยพบเห็นมาแตก อ น ย่ิงเดนิ เขา ไปใกลกย็ ิง่ มีความฉงน และเต็มไปดว ยความเคารพยงิ่ ข้ึน เพราะวาใบหนา ของ
บรรพชติ รูปนั้นเปนใบหนา ชนิดท่ีเขาไมเคยเหน็ นกั บวชรปู ใดมีใบหนา ซง่ึ ประกอบดวยลกั ษณะเชนนนั้ เลย คอื เปน ใบหนา ที่แสดงความสุขอยาง
เตม็ เปย ม และแสดงถึงความสงบไมมคี วามหวัน่ ไหว เปรยี บประดุจดงั ผวิ นา้ํ ในเวลาที่เงียบสงัด ปราศจากลมรบกวน ในเวลากลางคนื อุปติสสะ
ไดรําถงึ อยใู นใจวา บรรพชิตรูปนี้ เปน อยา งไรหนอ บรรพชิตรปู นีต้ อ งเปน บคุ คลทไ่ี ดบ รรลถุ ึงธรรมทเี่ รากําลงั แสวงหาแลว อยา งแนนอน หรือ
อยางนอ ยทีส่ ุดก็ตอ งเปนสาวกของผทู ไี่ ดบ รรลธุ รรมนนั้ แลว เราอยากรเู หลือเกนิ วา ใครเปน อาจารยข องทานผนู ี้ คําสอนของอาจารยทา นผูน ี้ จกั
เปน อยางไรหนอ เราจักตองติดตามเอาความจริงใหได
อยางไรก็ตาม อุปติสสะรูส ึกวา ยงั ไมเ หมาะทจ่ี ะเขาไปไตถามบรรพชติ รปู น้ัน ในขณะท่ที านกําลงั บิณฑบาตอยู จงึ ไดเดนิ ตามไปหา งๆ
จนกระทงั่ บรรพชิตรูปน้ัน ไดอาหารบิณฑบาตเพียงพอแลว กําลงั เดนิ ออกประตเู มอื งไป อปุ ติสสะไดเ ขา ไปทาํ ความเคารพทักทายปราศรยั พอให
เกดิ ความคนุ เคย แลว ไตถ ามในขอ ทวี่ า ทานผูใ ดเปน ครบู าอาจารยทบ่ี รรพชติ รปู นี้มีความเคารพ และรบั ปฏบิ ตั ติ ามโอวาท อุปตสิ สะไดก ลา ววา
“ทา นผูเจริญ อากัปกิรยิ าของทา นสงบเสงย่ี มย่ิงนกั ใบหนาของทา นเปลงปลั่ง สกุ ใสดีย่ิงนัก ขาพเจาใครจ ะทราบอยา งแทจ รงิ วา ผูใ ดเปนครู
อาจารยของทา น คาํ สอนของใคร ท่ที านสละเหยา เรอื นและญาติมิตรมาอยูป ระพฤติพรหมจรรยน้ี อาจารยของทานชือ่ อะไร และคําสอนของทาน
เปนอยา งไร ”
บรรพชิตรปู น้ันไดต อบอยา งยิม้ แยม วา “ทานผูเจรญิ ขา พเจาอาจจะบอกทานไดเ ด๋ียวนี้ มพี ระมหาสมณะแหง วงศศากยะผูหน่ึง ซงึ่ ไดสละ
ฆราวาสวสิ ยั ออกมาบวชประพฤตพิ รหมจรรย ขาพเจาสละเหยาเรือนบวชเพอื่ ประพฤติตามพระมหาสมณะนนั้ พระผูมีพระภาคเจา องคน ้นั เอง
เปน ครขู องขา พเจา ขาพเจาประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตามคําสงั่ สอนของทา นผนู นั้ ”
อปุ ตสิ สะไดค ดิ วา บางทเี ขาอาจจะไดท ราบจากบรรพชติ ผนู ้ี ถึงเรอื่ ง “อมฤตธรรม” ซ่ึงเขาและโกลิตะเพ่อื นของเขาไดเ สาะแสวงหามาเปน
เวลานานแลว จงึ ไดถ ามข้นึ อยางรบี รอ นวา “ขา แตทานที่เคารพ คาํ สงั่ สอนทที่ า นกลาวถึงนน้ั เปน อยางไร ครูของทา นไดสอนอะไร ขา พเจา
อยากทราบในขอ นนั้ เปนอยา งยง่ิ ”
บรรพชิตผูนน้ั ไดตอบอยา งสุภาพวา “ขาพเจาเปน แตค นเพงิ่ มาบวชแรกศึกษา ยงั เปนเวลานอ ยมาก นบั แตขา พเจา เริ่มศกึ ษาตอ พระผูม พี ระ
ภาคเจา และประพฤติพรหมจรรยในธรรมวินัยของพระองค ดังนัน้ ขา พเจา จงึ ไมทราบอะไรในคาํ สอนของพระองคม ากนัก ขาพเจาไมส ามารถ
อธิบายแกทา นไดโดยละเอยี ด ถาทา นตอ งการทราบแตโดยยอแลว ขาพเจา กอ็ าจจะบอกใหทา นทราบไดบ า งสักสองสามคํา”
อปุ ติสสะไดก ลา วขึ้นโดยเรว็ วา “ทา นผูเจรญิ นั่นแหละที่ขา พเจา ตอ งการทราบ จงบอกแตใ จความใหแ กขา พเจา เถดิ ใจความนน่ั แหละ สาํ คญั
ไมจ าํ เปนท่ีจะตองกลา วดวยถอยคํายืดยาวดอก” บรรพชิตผนู นั้ ไดก ลาววา “ถาอยางนนั้ กด็ แี ลว ทา นจงฟงเถิด สิ่งใด มเี หตุเปนเครือ่ งบันดาลให
เกดิ ขึ้น พระตถาคตไดตรัสบอกถงึ เหตุแหง สง่ิ ทัง้ หลายเหลาน้ัน พรอ มทง้ั ความดับสนทิ ของสง่ิ เหลาน้นั พระมหาสมณะองคน ้นั มีปรกตกิ ลา วดวย
อาการอยา งน”้ี
นกั บวชไดก ลา วเพียงเทา นี้ แตข ณะท่ีอุปตสิ สะไดย ืนฟงขอความนอ้ี ยูท ปี่ ระตูเมืองน่ันเอง ความแจม แจงไดโ พลงขึ้นในใจของเขาอยา ง
รุงโรจน ในธรรมที่พระพุทธเจาทกุ ๆ พระองคไ ดท รงสอน เปนธรรมทแี่ สดงใหทราบวาทกุ ส่งิ ทกุ อยาง ที่ไดเ กดิ ขน้ึ แลว หรือกําลงั จะเกดิ ข้ึนก็
ตาม จกั ตอ งดับลงไป อกี อยางไมม ีทางยกเวน อยางไมม ที างทจ่ี ะหลกี เลย่ี งได อยางไมเคยผดิ พลาดเลย อุปตสิ สะไดเ หน็ อยางแจมแจง ในขณะ
น้นั เองวา “สิ่งท่ีไมม กี ารเกดิ ” เทานั้นเองท่จี ะเปน อิสระเหนอื กฎทวี่ า “มนั จะตอ งดบั ” หรอื “ตองตาย” และสิง่ น้นั แหละคืออมฤตธรรม”
อุปติสสะไดก ลา วแกบรรพชติ รปู นน้ั วา “ถา ความขอ นี้เปน สิ่งที่ทานไดเ รยี นรมู าจากอาจารยข องทา นแลว ก็เปน ทแี่ นนอนวา ทา นไดลุถึงส่ิงท่ี
ไมมีทกุ ข อยเู หนือความตาย ซ่ึงไมเคยปรากฏแกม นุษยเ รามาเปนยุคๆ” เมื่ออปุ ติสสะกลาวดังนแี้ ลว กไ็ ดกลา วขอบคณุ แกบรรพชิตรปู นัน้ และได
ไตถามถึงท่ีท่พี ระผมู ีพระภาคเจา ประทบั อยู แลว ลาจากไปเพ่อื ไปบอกกลา วแกโ กลิตะเพอื่ นของตน ใหท ราบถึงขา วดีท่ีวา บัดนี้ ตนไดพบอมฤต
ธรรมนน้ั แลว !
บดั นอี้ ุปติสสะมใี บหนา แจม ใสอิ่มเอิบสงบเสงยี่ มเชน เดียวกบั ใบหนา ของบรรพชิตผทู ีไ่ ดบอกกลาวอมฤตธรรมแกเขา เม่อื โกลิตะไดเ ห็นอปุ
ตสิ สะ มีใบหนาเชน น้ันกาํ ลงั เดนิ ใกลเขา มา กท็ ราบไดว า ความเปล่ยี นแปลงอันใหญหลวง ไดเ กิดขึ้นแกสหายของเขาแลว จงึ ไดถ ามวา “เพือ่ เอย
ทาํ ไมหนาตาของทานจึงดูแจมใส รุงเรืองย่งิ นัก ทา นไดพ บอมฤตธรรม ซึ่งเราท้ังสองไดแสวงกนั มาเปนเวลานานนกั แลว อยางนั้นหรือ ”
อุปติสสะไดตอบดว ยความรา เริงวา “อยางนนั้ อยางน้นั เพือ่ เอย เราไดพ บอมฤตธรรมน้นั แลว ” โกลิตะไดถามอยางรีบรอ นวา “เปน อยา งไร
กันเพ่ือน เปนอยา งไรกนั ” อปุ ติสสะไดบอกแกโกลติ ะเพอ่ื รว มใจของเขาดว ยเร่ืองบรรพชติ แปลกหนา ท่เี ขาไดพบเทยี่ วบณิ ฑบาตอยูตามถนน
ในเวลาเชา นุงหม จวี รสีเหลอื ง มที า ทางสงบและสํารวม ชนดิ ท่เี ขาไมเ คยเห็นนกั บวชรูปใดเปนอยา งนน้ั มากอนเลย และบอกใหทราบถึงการที่เขา
ไดติดตามไปจนถึงประตูเมอื ง และไตถ ามถึงมูลเหตทุ ี่ทาํ ใหทานมีผวิ พรรณผอ งใส สงบเสง่ียมเชนน้ัน ในทส่ี ุดอปุ ติสสะไดกลาวคาถามีจาํ นวนสี่
บาท ซ่ึงบรรพชิตรูปนั้นไดก ลาวแลวใหโ กลิตะฟง และในขณะน้นั เอง โกลติ ะกไ็ ดเ หน็ ธรรม รูแจง วาอมฤตธรรมนนั้ มไิ ดเ กิดอยใู นโลกนี้ ใน
ลกั ษณะที่เปน รูป เสยี ง กลน่ิ รส โผฏฐัพพะและความคดิ นกึ ตา งๆ และเพราะเหตทุ ่อี มฤตธรรมนัน้ มิไดเ ปน สิง่ ทมี่ คี วามเกดิ ขนึ้ เชน นน้ั เอง จึงเปน
สิง่ ท่ไี มดบั คือไมตาย
ในทสี่ ดุ สหายคูนน้ั ไดต รงไปสูส าํ นักของพระผมู ีพระภาคเจา และถอื เอาพระพทุ ธองคเ ปนครู แทนครูสญชัยสืบไป พระองคท รงรบั เขาทั้ง
สองเขาเปนภกิ ษุ และตอ มาไดเปนพระอคั รสาวกของพระองค เนอ่ื งจากมคี วามรูสตปิ ญ ญาและความสามารถมาก และมนี ามซ่ึงรจู กั กนั ในโลกน้ี
วา “พระสารบี ุตร” และ “พระโมคคลั ลาน” บรรพชิตผูไดบ อกอมฤตธรรมแกทา นท้งั สองโดยคาถาเพียงสี่บาทนนั้ มนี ามวา “อัสสชิ”
เพราะฉะนัน้ คาถานัน้ จึงไดนามวา “คาถาของพระอัสสช”ิ สบื มา
มิใชเพียงแตอปุ ติสสะกับโกลิตะเทานัน้ ทเี่ ขา มาบวชเปน ภกิ ษกุ ับพระพทุ ธองค ขณะทีป่ ระทับอยูใกลน ครราชคฤหใ นคราวน้ี แตย งั มคี น
หนุมตระกลู สูงเปนจาํ นวนมาก ไดส ละบา นเรอื น มารดาบิดา ญาตใิ หญนอ ย แลว มาบวชเปนภกิ ษสุ าวกของพระองค ผมู ีนามทเ่ี รียกกันอกี อยาง
หน่ึงวา “พระศากยมหามนุ ”ี ทัง้ น้เี พราะเหตุทีพ่ ระองคท รงเปน ศาสดาแตกตางจากศาสดาอืน่ ๆ ในประเทศนั้น ในขอ ที่ทรงมพี ระชาตกิ าํ เนดิ อนั สูง
ศักดแิ์ ละประเสริฐ และทรงมีการบรรลุธรรมอนั สงู สดุ ซง่ึ เมือ่ ใครปฏิบตั ติ ามคําสั่งสอนของพระองคจนถึงที่สดุ แลว จักไดพนจากความทุกขท ้ัง
ปวง โดยสน้ิ เชงิ
ความจรงิ มีวา ในครงั้ น้ัน คนหนุมๆ ไดพากนั ออกบวชเปน จาํ นวนมาก จนถึงกับประชาชนแหงเมืองนนั้ พากนั รูสกึ ตกใจ ไมส บายใจ และ
บางพวกถึงกับโกรธแคน คนบางพวกไดไปรองทกุ ขกบั พระองควา ถา ยงั ออกบวชกันเปนจาํ นวนมากอยเู ชน น้ี ในไมชา กจ็ กั ไมมีคนหนมุ ท่ีจะ
ประกอบกิจการงานตามบานเรอื นอกี ตอไป เขาพากันกลา ววา ในไมช า จกั ไมมคี รอบครัวเพิ่มขน้ึ จักไมมีเด็กเกิดมา บานเมืองก็จะรกรา งวางเปลา
เพราะออกบวชเปนภิกษุกันเสยี หมด
พุทธประวัติ ฉบบั สาํ หรบั ยุวชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรยี งจาก ฉบบั ภาษาองั กฤษ ของ ภิกษสุ ลี าจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 13 เสด็จกบลิ พัสดุ
เมอ่ื พระเจาสุทโธทนะซ่งึ เปน พระพทุ ธบดิ า ไดท รงทราบขาววา บดั น้ีพระโอรสของพระองคไดต รัสรูเ ปนพระสัมมาสมั พุทธเจา แลว และ
กําลังประทับอยูท ่ีนครราชคฤห จึงไดท รงสง ผเู ดนิ ขา วไปกราบทลู เพือ่ ใหพระพุทธองคทรงทราบวา บัดน้ีพระพทุ ธบดิ าทรงชรามากแลว และได
ทรงขอรองใหพ ระองคเสด็จไปเพ่อื จะไดม โี อกาสเหน็ พระองคสกั ครัง้ หนง่ึ กอ นแตจะสิน้ พระชนม แตบงั เอิญคนเดินขาวซงึ่ พระเจาสทุ โธทนะ
ทรงสง ไปนัน้ ไดไปถงึ นครราชคฤหในขณะท่พี ระพุทธองคกาํ ลงั ทรงแสดงธรรมแกป ระชาชนอยู เขาจึงไดนง่ั ฟง ธรรมไปจนจบโดยยงั ไมไ ดทูล
แจง ขาวทต่ี นรับเอามา แตพระธรรมท่ีพระพทุ ธองคแ สดงนัน้ ปรากฏแกเขาวา มคี วามไพเราะ และมีความจริงแทอ ยา งนาอัศจรรย จนเมอื่ การ
แสดงธรรมจบลงแลว เขามคี วามพอใจและปลาบปลื้มในธรรมน้นั จนลืมเรือ่ งราวท่เี ขารบั รบั ส่ังมากระท่ังถงึ ลืมวา ตนเองเปนคนเดินขา ว ดังน้ัน
แทนทจี่ ะทลู แจง ขาว เขาก็ไดข อบวชเปนภิกษุและอยูอาศยั ฟง ธรรมของพระองคส บื ไป
พระเจา สุทโธทนะไดท รงคอยอยเู ปน เวลานาน มิไดเ ห็นคนเดินขาวของพระองคกลบั มา จึงไดท รงสงผเู ดนิ ขาวพวกอืน่ อีก ใหไ ปทูลแจงขาว
แกพระพทุ ธองค และเพ่อื ตดิ ตามขา วอนั เกี่ยวกับคนเดนิ ขา วชดุ แรกดวย แตค นเดนิ ขาวพวกทส่ี องนีก้ อ็ ยา งเดยี วกัน ไดไปถงึ ในตอนเยน็ ในขณะท่ี
ไดม ีการแสดงพระธรรมเทศนา เขาไดฟ ง ไดพ อใจ จนลืมการสง ขา ว และไดบวชเปนภิกษเุ สียโดยทํานองเดยี วกนั อีก พระเจาสทุ โธทนะไดท รง
สง ไปใหมเ ปน คร้ังที่สามทส่ี ี่จนถึงครั้งทเี่ กา เหตกุ ารณก เ็ ปนไปโดยทาํ นองเดยี วกันทง้ั สิ้น คือคนเหลา น้นั ไดหลงใหลในพระธรรมเทศนา จนลืม
ตวั เอง ลมื การแจง ขาว และไดบ วชเปนภกิ ษุเพื่ออยูฟ งพระธรรมเทศนาตอไป ดวยความกระหาย
พระเจา สุทโธทนะทรงประหลาดพระทยั เปนอยางยิง่ ในการทคี่ นเดนิ ขาวมิไดกลับมาเลยแมแตค นเดียว และเมอ่ื ทรงหมดความสามารถใน
การที่จะไดร ับขา วแตอยางใดแลว จงึ ไดทรงขอรองตอ พระนางยโสธรา ซ่งึ เปน พระสนุ สิ า (ลกู สะใภ) ของพระองค ใหทรงสงขาวเปน ของพระ
นางเอง ไปดบู า ง ผลก็เปนอยางเดยี วกนั สง ไปก่คี นๆ ก็มิไดรับขา วอยางใดกลับมา จนกระทั่งพระนางยโสธรา ก็ทรงหมดความสามารถ
เชนเดียวกันอกี
พระเจาสุทโธทนะทรงระลึกขึ้นไดว า มคี นหนมุ ในราชสาํ นักอยูคนหนงึ่ ชื่อวา “อุทายิ” เคยเปน เพ่อื นเลน คนโปรดของเจา ชายสิทธตั ถะต้ังแต
สมัยยงั เปน เด็กอยดู ว ยกัน พระองคท รงดาํ ริวา ถาหากสง อุทายนิ ไ้ี ปแลว บางทจี ะทําใหพ ระพุทธองคเสด็จมาสูนครกบิลพสั ดไุ ด ดงั นนั้ พระองคจงึ
ทรงสง อทุ ายิไปทลู อาราธนาใหพ ระพทุ ธองคเสดจ็ มาสนู ครกบิลพัสดุ เพ่ือเปน โอกาสใหทุกๆ คนในทีน่ ้ัน ไดเ ห็นพระพักตรของพระองคส กั ครัง้
หน่ึง โดยทคี่ นเหลานน้ั ก็คือพระบิดาของพระองค พระชายาของพระองค พระโอรสของพระองค และประชาชนพลเมืองซึ่งจะตอ งเปน ของ
พระองค ถา หากวามิไดทรงสละราชสมบัติออกไปผนวชเสีย นน่ั เอง
เมื่ออุทายิไดมาถึงนครราชคฤหแ ลว เขากไ็ ดทราบถงึ สาเหตทุ ี่วาทาํ ไมคนเดนิ ขา วเหลานนั้ จงึ ไมกลับไปสูนครกบลิ พัสดุเลยสักคนเดยี ว
ในขณะท่เี ขาเขาไป พอสกั วา ไดยินเสยี งที่พระพุทธองคท รงแสดงธรรมเทศนาเทา น้ัน เขาไดพยายามที่จะไมฟ ง พระธรรมเทศนาน้นั ตอไปอกี โดย
ท่ีกลัววา เขาจะตองกลายเปน อยา งเดยี วกับนกั เดินขา วคนกอ นๆ เมื่อจบการแสดงพระธรรมเทศนา เขาไดเ ขา ไปเฝาพระพุทธองค ถวายความ
เคารพอยา งสูงสดุ แลวไดกราบทูลพระองคว า พระบดิ าและพระชายา พระโอรส พรอ มทง้ั ชาวกบิลพสั ดทุ ้งั ปวง มีความกระหายถึงกับมีความรอน
ใจในการทจ่ี ะไดเห็นพระองคแ ละหวังในความกรณุ าของพระองควา จะโปรดเสดจ็ ไปเยยี่ มเขาโดยดว น พระพทุ ธองคไ ดต รสั ตอบดว ยความ
เมตตาเปนอยา งยิง่ วา พระองคไ มป ฏเิ สธในความประสงคข องคนเหลานน้ั และจะเสด็จไปสูนครกบลิ พสั ดเุ พอ่ื เยย่ี มเยียนเขาโดยเร็ว ดังนน้ั อทุ ายิ
จึงไดร บี กลับไปกราบทลู พระเจาสุทโธทนะใหทรงทราบวา พระสทิ ธัตถะในกาลกอ นนนั้ บัดนี้ไดเปนพระสมั มาสัมพทุ ธเจา ของชาวโลกแลว จกั
เสด็จมาสนู ครกบิลพสั ดุเพอ่ื กระทาํ หนาท่ีทบี่ ตุ รจกั ตองทําตอบแทนแกบ ดิ า ในไมชาทุกคนในนครกบลิ พสั ดุ นบั ตงั้ แตพ ระราชาลงไป มีความ
ยินดอี ยางย่งิ ทไี่ ดท ราบวา พระราชกุมาร ซ่งึ ไดละทง้ิ พวกเขาเปนเวลา 6 ปมาแลว ไปบวชเปนนกั บวช อาศัยอาหารของผอู น่ื เลี้ยงชวี ติ เพอื่ การ
บรรลุธรรมอนั สูงสุดนนั้ บดั น้ีไดป ระสพความสาํ เรจ็ ตามความประสงค ไดเปนพระสมั มาสัมพทุ ธเจา เปนศาสดาของคนทง้ั หลาย ไมเพียงแต
ของมนุษยเทา น้ัน แตยังเปน ศาสดาของเทวดาท้งั หลายดวย ทั้งจะเสดจ็ มาเยยี่ มเยยี นพวกเขาและบอกธรรมะทไ่ี ดต รัสรูนน้ั ใหแกเ ขา
ประชาชนเหลานัน้ ไดพากนั ทําความสะอาดถนนหนทางทุกแหง ในนครกบลิ พสั ดุ และประดับประดาบา นเรอื นดวยดอกไม ดวยธง ดวย
แถบผาสตี า งๆ กนั เตรยี มรับพระราชกุมารของตนๆ ในฐานะทเ่ี ปน ท้ังพระโอรสแหง พระราชาของตน และเปน ทั้งพระสมั มาสัมพุทธเจาดว ย
พระผูมพี ระภาคเจาไดเ สด็จถงึ นครกบลิ พัสดุในเวลาเยน็ วนั หน่ึง ไดประทบั อยูในอุทยานนอกนครตามธรรมเนยี มของนักบวชทงั้ หลาย ในวนั รุง
เชา ไดเสด็จเขา ไปบิณฑบาตตามถนนตางๆ ภายในเมือง ตามทีพ่ ระองคเ คยทรงกระทาํ เปนปรกติ ผูทไี่ ดเ หน็ พระองคเ สดจ็ ดาํ เนินบณิ ฑบาตแลว
บางคนไดเ ขาไปกราบทูลพระเจา สุทโธทนะใหทรงทราบ พระเจา สทุ โธทนะทรงสลดพระทยั พรอ มทั้งทรงพิโรธ ในการที่ไดทรงสดบั ขา ว
เชนน้ัน พระองครบั สั่งใหรีบขบั รถพาพระองคต รงไปยังถนนซ่ึงมีผูแ จงขา ววาพระพทุ ธองค กําลงั ทรงเท่ียวขออาหารอยอู ยา งคนขอทาน
เมื่อพระเจาสุทโธทนะไดเ สด็จมาถงึ ถนนสายนน้ั ก็ไดทรงทอดพระเนตรเหน็ พระพุทธองคก าํ ลังทรงดาํ เนนิ อยบู นทองถนน มบี าตรอยใู น
พระหัตถ อนั เตม็ ไปดวยอาหาร กําลงั บายพระพักตรมาตามทางที่ตรงไปสูพ ระราชวัง มีประชาชนหอ มลอ มถวายความเคารพอยูโดยรอบ แต
ความนอ ยพระทยั และความพโิ รธของพระเจาสุทโธทนะในขอ ทีพ่ ระโอรสของพระองคทรงกระทําภกิ ขาจารในถ่นิ แควนทีอ่ ะไรๆ ก็เปน ของ
พระองค ซึ่งพระองคจ ะถอื เอาได โดยไมต องมกี ารอนญุ าตเชนน้ี ยังคงกลัดกลมุ อยูในพระหฤทยั ของพระองคอ ยา งใหญหลวง พระองคไ ดเ สดจ็
ตรงไปยงั พระผมู พี ระภาคเจา ไดตรัสตัดพอ ดว ยพระสําเนยี งอนั แสดงความขดั แคน เขือเจอื ดวยความนอ ยพระทยั
“ลูกเอย นี่หรอื ท่ีเปน ขาวดที พ่ี อไดร ับ เพ่อื ทําอยา งนี้เทา นน้ั แหละหรือ ท่ีลกู ท้ิงบา นเมอื งของพอไป แลวเพ่ือกลบั มาเปน คนขอทาน เลยี้ งชวี ิต
วันหนึ่งๆ อยา งคนขอทานท่ัวไปในประเทศของพอ ลูก, เปน ลูกของพระราชา เปน รชั ทายาทของราชบัลลังกแนแลว หรอื โอ ! ลกู เอย, ในวันนี้
ลกู ไดท ําความเสื่อมเสยี แกพ อ และแกร าชวงศของเจา อยา งทีส่ ุดแลว เคยมคี รงั้ ไหนบาง ทีว่ งศตระกูลของเจาเคยทําอยางนี้ เคยมคี รัง้ ไหนบาง ท่ี
พวกเราเคยเท่ียวขออาหารอยางคนขอทานเชนนี้ ”
พระพุทธองคไ ดต รัสตอบแกพ ระบดิ า ซึง่ ทรงกร้ิว เพราะความเขา พระทยั ผดิ อยางเรยี บๆ วา “ดูกอ นมหาราช, นแี่ ลเปนการกระทําท่วี งศ
ตระกูลของอาตมาไดเ คยปฏิบตั กิ นั มาแลว อยา งแทจ รงิ ” พระเจาสุทโธทนะไดท รงตวาดขนึ้ วา “เทาที่มนษุ ยเ ขาจาํ กันไดน ั้น วงศตระกลู ของเจา
เปน เจาแผนดินกันทุกคน ไมม ีใครสักคนเดียวเคยทาํ สง่ิ ทน่ี าอดสงู เชนน”ี้
พระองคไ ดตรสั ตอบอยา งเรียบๆ สบื ไปวา “ดกู อนมหาราช, ขอ น้ันก็เปน ความจริงเหมือนกนั แตในที่นี้อาตมาไมไ ดห มายถึงการสบื ตระกูล
อยางชาวโลกเชนน้ี บัดน้ี อาตมาเปน ผูถูกนับเนอื่ งเขาในตระกลู ของพระสมั มาสมั พุทธเจาท้ังหลาย ที่ลวงมาแลว อาตมาหมายถงึ พระพทุ ธเจา
เหลาน้ันเอง เม่ือกลาววา อาตมาไดท าํ ตรงตามท่วี งศต ระกูลของอาตมาไดเ คยทาํ มาแลว พระพุทธเจา ทง้ั หลายในกาลกอน ไดทรงกระทาํ ดง่ั น้ีมา
ดว ยกนั ท้ังน้ัน และการทาํ อยา งนีเ้ ทานน้ั ท่ีถูกตอ งและเหมาะสมแกพระพทุ ธเจา ท้ังหลาย อาตมาจงึ ไดก ระทาํ อยางเดยี วกนั ”
เม่ือพระพุทธองคท รงดาํ เนนิ ไปตามทอ งถนนพรอมกบั พระพุทธบดิ าตรงไปยงั พระราชวังนนั้ พระองคไ ดตรัสแกพ ระบดิ าวา พระองคมิได
เสด็จกลับมาสบู านเกดิ ของพระองคอ ยา งคนสิน้ เน้ือประดาตัวที่กลบั มามอื เปลา พระองคไ ดต รัสยืนยันวา พระองคไดน ําเพชรพลอยอนั มคี า สงู
เกนิ กวา ท่ีจะตีคา ไดต ดิ ตัวมาดวยเปน อนั มาก เปน เพชรพลอยที่มคี า สูงสุดในโลก เปน เพชรพลอยแหง สจั จธรรมท่สี ามารถนําคนไปสคู วามสขุ อนั
ไมเ ปลี่ยนแปลงของพระนฤพาน
เมื่อพระองคไ ดเ สดจ็ มาถึงพระราชวังแลว พระองคไดทรงแสดงธรรมอันเปนทางแหงความดับทกุ ขโดยสิน้ เชงิ ทีพ่ ระองคท รงคน พบ แก
พระพุทธบิดาและคนอน่ื ๆ อยางละเอยี ดลออชัดเจนแจม แจง จนเปน ทเี่ ขา ใจแกคนทั้งหลายในท่ีน้นั และพากนั ยอมรบั ธรรมะนนั้ ไปประพฤติ
ปฏิบัติ ในฐานที่เปน สาวกของพระองคสบื ไป และในเวลาภายหลังตอ มา พระโอรสของพระพทุ ธองคซ งึ่ มีนามวา ราหุล น้นั ก็ไดอ อกบวชดวย
เหมอื นกัน
พุทธประวัติ ฉบบั สําหรับยวุ ชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบบั ภาษาองั กฤษ ของ ภกิ ษุสีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 14 พุทธกิจประจําวัน
พระองคไ ดทรงทําการเทศนาสัง่ สอนมหาชน รวมท้ังสิ้นเปน เวลา 45 ป ตลอดเวลาเหลานี้ พระองคไ ดเ สดจ็ ทอ งเท่ยี วไปในดนิ แดนแหง
ประเทศอนิ เดยี ภาคเหนอื ซ่ึงบดั นเี้ ปน มณฑลอธู และเบ็งกอลเหนอื เปน สว นใหญ นอกจากในฤดูฝนแลว พระองคไ มค อ ยทรงพักคางคนื ทใี่ ดเกิน
กวา 2-3 คืน ในฤดูฝนอนั เปน เวลาจาํ พรรษา สวนมาพระองคประทับอยทู ส่ี วนเวฬวุ ัน ซงึ่ พระเจา พิมพิสารนอ มถวาย ใกลน ครราชคฤห หรือทีเ่ ช
ตวนั ซ่ึงอนาถบิณฑกิ เศรษฐสี รางถวาย ใกลนครสาวัตถี ตลอดเวลาเหลาน้ี พระองคท รงบาํ เพญ็ พทุ ธกจิ ประจําวันดงั่ นี้ คอื พระองคท รงตนื่ จาก
บรรทมกอนเวลารงุ สาง ทรงชําระพระสรีรกายแลว ทรงกระทาํ สมาธิสอดสองอปุ นสิ ยั สตั วท งั้ หลายวา ผูใ ดมอี ุปนิสัยแกกลาสมควรไดร ับธรรม
เทศนาในวนั นี้ กจ็ ักเสดจ็ ไปโปรดเขาในวันนัน้
ครน้ั เวลารุง สวางแลว พระองคทรงจีวรถอื บาตรในพระหัตถ เสด็จไปบณิ ฑบาตตามหมบู า น ซึง่ อยใู กลทีท่ ี่พระองคป ระทับ ทอดพระเนตร
จับอยทู ่พี ้นื ดิน จากบานโนนสูบานนี้ ทรงรบั อาหารตามแตผูม ีใจบุญจะถวายสิ่งใด โดยใสลงในบาตรของพระองค บางคราวเสดจ็ ไปแตพระองค
เดียว บางคราวเสดจ็ ไปพรอ มกบั ภกิ ษุสงฆ เดนิ เปน แถวเดียวเรียงองคไมลกั ลั่น ทกุ องคถือบาตรอยูใ นมอื มีกริ ิยาอาการสงบเสงยี่ ม และแชมชืน่
เหมือนกนั หมด ในบางคราวมีคนบางคนอาราธนาพระองคใหฉันอาหารบิณฑบาตตามบา นเรอื นเขา ในกรณเี ชนนท้ี ่ีเปนการสมควรไดท รงรบั
อาราธนา ประทบั นง่ั เหนอื อาสนะที่เขาจดั ถวาย ทรงฉันอาหารจากบาตรทเี่ ขารับไปจากพระองค เพ่อื บรรจุอาหารที่ดที ี่สุดแลว นํากลบั มาถวายแก
พระองค เม่ือเสรจ็ ขากการฉันและลา งพระหตั ถแ ลว พระองคจกั ตรสั สนทนากบั บุคคลทอ่ี ยูในทีน่ ้ัน โดยทรงแนะนําช้ีแจงใหเขารจู ักส่ิงทดี่ แี ละ
ช่วั ทเ่ี ปน ไปเพอื่ สุขและทุกข ทง้ั ในโลกนแี้ ละโลกอื่น ทรงช้ีชวนใหบ คุ คลเหลาน้ันมคี วามกลา หาญในการทจี่ ะปฏิบัติ หลังจากนนั้ พระองคจกั
เสด็จกลบั ไปสูทีป่ ระทบั ที่พระอาราม
ณ ที่นนั้ พระองคจะประทบั น่งั เงยี บๆ อยูในเรือนพกั ตามโคนตน ไมใ นบริเวณใกลเคียง ทรงรอคอยจนกระท่งั ภิกษทุ ้งั หลายซงึ่ อยอู าศยั กับ
พระองคเ สรจ็ จากการฉันอาหารบณิ ฑบาตดว ยกนั ทกุ องค และพระองคจ กั เสดจ็ ไปทรงพกั ผอ นในท่ีประทับสว นพระองค ทรงลา งพระบาทแลว
เขาไปสหู อ งท่ีประทบั ชวั่ ขณะหน่ึง เมอ่ื ภิกษุประชมุ พรอมกนั ในโรงท่ีประชมุ เพอ่ื การสนทนาแลว พระองคจักเสดจ็ ไปตรัสขอความเรอ่ื งใดเรือ่ ง
หนึง่ ซ่งึ เหมาะสมแกท ี่ประชมุ นัน้ หรอื ท่ีภกิ ษเุ หลา นน้ั กําลังพูดคางอยู พระองคจ ักทรงเรา ใจใหภ ิกษุเหลา น้ันมคี วามพากเพยี รในการศกึ ษา และ
การปฏิบัตพิ ระธรรมวินัย ดว ยความมุงหมายทจ่ี ะใหล ุถึงจุดหมายปลายทาง คอื นิพานเสียแตในชาตอิ ันเปนปจจุบันนท้ี ุกคราวไป
เมอื่ พระองคต รสั ขอ ความเหลา นนั้ จบลงแลว มกั จะมีภิกษบุ างรูปทลู ขอใหพ ระองคท รงบอกขอธรรมสาํ หรบั การบําเพ็ญภาวนาของตน
โดยเฉพาะในขอใดขอหนงึ่ ซงึ่ เหมาะแกอ ปุ นสิ ัยของตน พระองคก ็จะทรงพนิ จิ พจิ ารณาและประทานบทธรรมท่เี หมาะสมท่ีสดุ สาํ หรับภกิ ษุรูป
นนั้ จะเปน บทท่ยี ากหรืองา ยยอมแลว แตพระองคจะเห็นสมควรวา ภกิ ษุรูปน้ันเปนผมู ีความสามารถเพียงใด และไดบาํ เพญ็ มาแลวอยา งไร ภกิ ษุ
ทงั้ หลายจกั เลิกประชุมเมอ่ื ถงึ เวลาสมควร ตางรปู ตา งจกั ไปสทู ่ีสงดั มโี คนไมหรือปา ไมหรอื เรือนรางเปนตน เพือ่ บาํ เพ็ญภาวนาตามบทธรรมที่ได
รับมาจากพระพทุ ธองค สว นพระพุทธองคก็เสด็จกลบั ไปสทู ่ปี ระทบั ท่เี ปน สว นพระองค
หากเปน ฤดูรอน พระองคจ ักทรงพกั ผอนอยู ณ ทีใ่ ดทหี่ นึ่ง จนกระทัง่ เพียงพอแกพ ระอธั ยาศัย ในขณะนเ้ี ปน โอกาสท่ีประชาชนตามหมูบา น
หรอื จังหวดั ใกลเคียงจกั มาเฝา พระองคใ นตอนเย็น บางพวกกน็ ําสิง่ ของมาถวาย บางพวกก็มาเพอ่ื ฟง ธรรม พระองคจะแสดงธรรมดวยพระกริ ยิ า
วาจาท่ีนา เลือ่ มใส โดยวธิ ที ี่จะใหค นทุกคนในทน่ี ้นั ไดความรูค วามเขา ใจ ไมว า จะเปน คนยากจน หรอื คนมัง่ มี คนเรียนมากหรือคนเรยี นนอย ทุก
คนในท่นี ้นั จะรูสึกราวกะวา พระองคไดต รสั ตอบขอ ความเหลา น้ัน เพอ่ื เขาเองโดยเฉพาะจนตลอดเวลา ไมมคี วามรสู ึกวา มเี รือ่ งอน่ื ที่ตรัสสําหรบั
บุคคลอน่ื แมแ ตห นอ ยเดียว เมอ่ื จบพระธรรมเทศนาแลว ทุกคนมคี วามพอใจ และปลาบปลมื้ สรรเสริญพระธรรมเทศนา ประกาศตนเปนผูร ับนบั
ถอื พระธรรมและปฏิบตั ิตามอยางเครง ครัด จนตลอดชวี ติ ตอ พระพักตรข องพระองค ทุกคนกลับไปบา นดวยใจที่เตม็ เปย มไปดว ยธรรมะทตี่ นได
ยนิ ไดฟ งทัง้ หมดในวนั น้ัน
เม่อื คนเหลานนั้ กลบั ไปแลว พระองคจ ักเสด็จไปสูทส่ี รงนํ้าแหงใดแหงหนงึ่ ในพระอาราม ถา มีสระหรือบึงที่เหมาะสมแกก ารสรงในบรเิ วณ
ใกลเคยี งพระองคจกั เสดจ็ ไปสรง ณ ทนี่ ้นั เปนการชําระภายในเวลาเยน็ หลงั จากนน้ั แลว จักทรงพักผอ นระงบั พระทยั ดวยสมาธิอยา งใดอยางหนึ่ง
เปนเวลาพอสมควร
ตอนนี้เปน เวลาเย็นมากแลว เปน โอกาสของภิกษุบางพวกซ่งึ ไมไดอ ยูอ าศยั กบั พระองค ไดเดนิ ทางมาจากที่อ่ืนเพ่อื เฝา พระองคเ พอ่ื การเยีย่ ม
เยียน หรอื เพอ่ื ขอรบั พระพุทธโอวาทอยา งใดอยา งหน่ึง ตามความปรารถนา พระองคท รงตอ นรบั ปราศรยั แกภ กิ ษุเหลา น้นั และประทานคาํ สั่ง
สอนชี้แจงตลอดจนถึงทรงอธบิ ายธรรมะที่ยากๆ ใหเปน ทเ่ี ขา ใจแกภ ิกษเุ หลานนั้ จนกระทัง่ ทูลลาพระองคก ลับไปดว ยความพอใจและราเรงิ
พระองคไดท รงพยายามกระทํากิจเหลาน้ี ดว ยความกรณุ าและความอดกลนั้ อดทน และเต็มพระทัยอยา งยิง่ ตลอดเวลา 45 ป ทพี่ ระองคทรง
ปฏบิ ัตติ อ ภิกษทุ ั้งหลายเปน ประจําวันทุกๆ วนั มิไดข าด ในการตอบปญ หาและอธบิ ายขอยุงยากตา งๆ ไมเ คยมสี ักครงั้ เดียว ท่ีพระองคไดทรงขดั
พระทัยในการถามของผถู าม หรอื ทรงราํ คาญขดั เคอื งแกผหู นึง่ ผใู ดทไี่ ดท ูลถาม ไมวาเขาจะมาถามอยางมติ รหรืออยางศตั รู และไมมีปญ หาใดๆ ท่ี
มผี ถู ามแลวพระองคจ ะทรงตอบไมไ ด
พระองคทรงพรอ มอยูเสมอ ทจ่ี ะตรสั แกบุคคลนานาชนิดที่มาเฝาพระองค ดว ยถอยคาํ อนั เหมาะสม ไมว าเขาจะมาถามเพราะอยากรูอยาก
เขา ใจหรือวาจะมาลอ ถามใหพ ระองคทรงติดกบั จนมุมในถอ ยคาํ ของพระองคเ อง สาํ หรบั ผูทม่ี าถามดวยความอยากรใู นขอ ธรรมทลี่ ึกซึ้งตางๆ นั้น
พระองคไ ดป ระทานคาํ ตอบท่ีสําเร็จประโยชนแกคนเหลานั้น และเปน ทพี่ อใจอยางย่ิง สาํ หรบั บางคนทม่ี าเพอ่ื ทาทายหรือลองดกี ับพระองคนัน้ ก็
มอี ยูบอยๆ ทีไ่ ดพายแพแกพระปรีชาของพระองค จนถงึ กบั ยอมรบั นบั ถือถอยคาํ ของพระองค หรือยอมบวชเปนสาวกผูจ งรักภกั ดตี อ พระองคจน
ตลอดชวี ิต
ในตอนพลบ เมอื่ ทรงเหน็ดเหน่ือยดวยการน่ังตลอดวัน พระองคจ ักทรงดาํ เนนิ ไปมาในที่ใดทห่ี น่งึ ในพระอารามนั้น เพือ่ เปน การบาํ บดั
ความเม่อื ยขดั ทเ่ี กิดข้นึ แกร า งกายของพระองค จนกระทัง่ มีความสดช่นื และคลอ งแคลวดังเดมิ เมอื่ ไดท รงจงกรมดงั กลาวน้ี จนพอแกพ ระอัธยาศยั
แลว พระองคก็พรอมที่จะทรงสนทนากบั ภกิ ษสุ งฆอีกระยะหน่ึง ในตอนคํา่ ทกุ ๆ คืน
ในเวลาจวนดึก เปน โอกาสท่ีบคุ คลชนั้ สูงมีพระราชาแหง นครนัน้ ๆ เปน ตน จะไดพากนั ไปเฝาเพือ่ ทรงสนทนา และไตถ ามปญ หาบาง
ประการตามท่อี ยากจะทราบ พระองคจ ะตรัสตอบแกไขปญ หาของอิสรชนเหลา นั้นจนเปนท่พี อใจและพากนั กลบั ไป ในเวลาอนั สมควร หลังจาก
นั้นแลว พระองคจ กั ทรงพักผอ นบรรทมหลบั ดว ยอาการท่เี รยี กกนั วา ประทับสีหเสยยา คือการนอนตะแคงทางเบอื้ งขวา มีเทาซอ นเหล่อื มกัน มี
พระหัตถวางพาดไป ตามยาวแหง ลาํ ตัว พระหตั ถขา งหน่ึงงอพบั เขา มาวางแนบอยูขางพระเศียร ดงั ทจ่ี ะเห็นไดจ ากแบบพระพทุ ธรูปบรรทมท่ัวๆ
ไป ทรงกาํ หนดสติในการลุกเมื่อถึงเวลาจะตองลุก แลว กบ็ รรทม พระองคท รงตื่นบรรทมในเวลาประมาณ 2 ชั่วนาฬกิ ากอนเวลายาํ่ รงุ แลว ทรง
บําเพ็ญพทุ ธกิจดวยการเขา สมาธภิ าวนา ตรวจสอ งอุปนสิ ัยของสตั วผ ูควรรบั ธรรมเทศนาในวนั รุง ข้นึ สบื ไปอีก
ตลอดเวลา 45 พรรษา แหงการเทศนาสั่งสอนของพระองคนั้น พระองคไ ดทรงบาํ เพ็ญพุทธกิจอยางครบถวน ดงั กลาวน้ีทกุ ๆ วัน เวน แตคราว
เดนิ ทาง พระองคไ ดท รงใชเวลาของพระองคใหห มดไปในการส่ังสอน มิใชเพยี งแตทางธรรมะในพระศาสนาเทา นน้ั แตย ังไดท รงตอบปญ หา
และช้แี จงขอความอันเก่ียวกับการครองชวี ติ อยางชาวโลก แกผ ทู ่ปี ระสงคจ ะทราบพรอ มกนั ไปดวยในหมปู ระชาชน ซ่งึ พระองคไดเ สดจ็ ผานไป
อยางเหมาะสมแกเหตุการณแ ละบุคคลในทนี่ ้ันๆ ดวยพระปญญาอันรอบรแู ละเฉยี บแหลมของพระองค
ตวั อยา งในเรอ่ื งนี้ คอื คร้งั หน่ึงเม่อื พระองคประทับอยทู ี่พระอารามเชตวนั ใกลเ มืองสาวตั ถี ประชาชนชาวนครกบลิ พัสดุและชาวนครโกลยิ ะ
กําลงั วิวาทกนั ดวยเรือ่ งการทดนํ้าเพื่อทํานา เวลาน้นั เปน คราวทฝ่ี นแลงไมต กเปนเวลานานเกนิ ไป ลาํ ธารท่ีมีอยใู นระหวา งเนอื้ นาของชนชาว
นครกบลิ พัสดุและชาวโกลิยะ ไดแ หงขอด จนมีน้ําเหลืออยเู พยี งเลก็ นอย คนเหลาน้นั ตางฝายตา งตองการจะไดนาํ้ ท้ังหมดนนั้ มาเปน ของตวั โดย
ไมแ บง ใหอ ีกฝายหน่ึงเลยจงึ เกิดทะเลาะวิวาทกนั เตรียมพรอ มทีจ่ ะรบกันและฆา กนั เพื่อใหไ ดน ้าํ ตามความตอ งการของตน
ชาวเมอื งกบลิ พัสดุ ลว นแตเปน พระญาตวิ งศ และเปนบุคคลในประเทศของพระองคโดยตรง เมือ่ พระองคทรงทราบวาคนเหลา น้ี จะทําการ
รบพุงลางผลาญพวกโกลยิ ะ กท็ รงสงั เวชพระทยั ในการทีพ่ ระญาตวิ งศข องพระองคเองจักทาํ การลา งผลาญผอู ื่น หรือถงึ กบั ลา งผลาญตวั เองดวย
เพื่อประโยชนแ ตนา้ํ หนอยเดยี ว ดังน้ันพระองคจ ึงไดเ สดจ็ ไปสูสถานท่ี ซึ่งคนทัง้ สองฝายกําลงั เตรยี มอาวธุ พรอ มจะประหตั ประหารกันอยแู ลว
เมอ่ื พระองคไ ดเสดจ็ ไปถึงท่นี นั่ ไดตรัสแกคนเหลา น้ันและทรงโตต อบกัน ดังตอไปน้ี
“ดกู อ นเจาศากยะ และนกั รบทั้งหลาย ทานทง้ั หลายจงฟงเราพดู กอ น ทานทง้ั หลายจงตอบเราตามทเี่ ปน จรงิ ทานทัง้ หลายเตรยี มพรอ มท่จี ะ
ฆาฟน กนั และกนั ดวยเร่อื งอะไร ”
“เราจะรบกันเพื่อน้าํ ในลาํ ธารนี้ ซ่งึ เราแตละฝายตองการจะไดนาํ้ ไปหลอเล้ยี งนาอนั แหงแลงของเรา” เสียงตอบมาจากทงั้ สองฝงของลาํ ธาร
“ถูกแลว แตจ งบอกเราตามท่ีเปนจรงิ กอ นวา ส่งิ ไหนเปนส่ิงทม่ี ีคามากกวา กัน ในระหวางสิง่ ทงั้ สอง คือน้าํ นิดหนึ่งในลาํ ธารน้ี กบั โลหติ ใน
เสนเลอื ดของคนจํานวนมาก โดยเฉพาะกค็ อื โลหิตในการของบรรดาเจาชายและนักรบผูกลาหาญทัง้ หลายเหลาน้ี ”
“เลือดในกายของบรรดาเจาชายและนักรบทัง้ หลายเปนส่งิ ทีม่ คี ามากกวา น้ําในลาํ ธารน้ีมากนกั ”
“เม่อื เปนดังนน้ั แลว เปนการถูกตองและสมควรหรือ ในการท่ีจะนาํ เอาโลหิตอันมีคา มากน้ันมาพราเสยี เพ่อื ประโยชนแ กนา้ํ อนั มคี า เพยี งนดิ
เดียว ”
“ขา แตพระองค เปนการไมสมควรจริงๆ มนั เปน การไมถูกตอ ง ไมสมควรในการทจี่ ะเอาของมคี า มาพรา เสียเพื่อของมคี า นิดหนอ ยเชนน”ี้
“ถาเปน เชน นนั้ จริง ทานท้งั หลายจงรบความโกรธของทานทั้งหลายใหช นะเถิด จงวางอาวุธสําหรบั ฆา ฟนกนั น้นั เสยี แลว มาทาํ ความตกลง
กนั ดว ยความสงบ ในระหวางพวกทานผูฆา ความโกรธไดแลว ดวยกันทุกคน”
พวกกบิลพัสดุแ ละพวกโกสยิ ะทงั้ สองฝาย ไดรสู ึกละอายในความโงเ ขลาขาดความรสู ึกผดิ ชอบชว่ั ดขี องตนเอง ดงั ที่พระพุทธองคไดท รง
ชี้ใหเ ห็น จึงไดพากันทําตามคาํ แนะนําของพระองค ทําความตกลงแบง ปนนา้ํ ใหแ กก ันและกันโดยเสมอภาค และอยูกันอยางเปน สขุ สบื มา
พทุ ธประวัติ ฉบับสําหรับยุวชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรยี งจาก ฉบบั ภาษาองั กฤษ ของ ภกิ ษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 15 พระนางมหาปชาบดี
คร้ังหน่ึง พระเจา สทุ โธทนะพระพทุ ธบิดาไดป ระชวรหนกั พระพทุ ธองคไดท รงพาพระนันทะนองตางมารดาของพระองค และพระอานนท
ลกู เรยี งพี่เรยี งนองของพระองค ซ่ึงบดั น้ีไดผ นวชเปนภกิ ษแุ ลว พรอมทั้งพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเสดจ็ ไปสูนครกบิลพัสดุ เพือ่ การ
เยี่ยมเยียน ในตอนแรก ดว ยการไดเ ห็นพระพุทธองคซ่ึงเปน โอรสสุดท่รี กั อีกครัง้ หนึง่ พระเจา สุทโธทนะไดคอ ยทรงทเุ ลาข้นึ และทกุ ๆ คนคิดวา
พระองคจะตอ งทรงหายประชวร แตอ าการทุเลานไ้ี ดเปน ไปช่ัวขณะหนงึ่ เทานัน้ พระองคท รงมคี วามชรามากเกินไปกวาทีจ่ ะมกี าํ ลงั ตา นทาน
ความเจ็บไข ในสองสามวันตอ มาไดกลับประชวรหนักยง่ิ ขน้ึ ไปอีก และไดสิน้ พระชนมลงในทา มกลางความโศกเศรา ของคนทั้งหลาย
เม่ือพระราชสวามสี น้ิ พระชนมลงดัง่ น้ี พระนางมหาปชาบดี ผเู ปน พระมารดาเล้ียงของพระพทุ ธองค ซึ่งไดเ ลย้ี งพระองคมหาราวกะวา เปน
โอรสของพระนางเองนั้น ไมทรงประสงคทจี่ ะอยเู ปนฆราวาสอกี ตอ ไป พระนางทรงมคี วามโศกเศราในการสิ้นพระชนมของพระสวามี
ประกอบกับความพอพระทยั ในการประพฤตพิ รหมจรรย จึงมพี ระประสงคจะออกผนวชเปน บรรพชติ ในสํานกั ของพระองค เพือ่ รับคาํ แนะนําสงั่
สอนโดยใกลชิด พระนางไดทรงพาสภุ าพสตรอี กี จํานวนหนง่ึ ซ่ึงไมย อมอยโู ดยปราศจากพระนางโดยจะติดตามไปในทท่ี กุ หนทุกแหงดวยกนั
ไปเฝาพระผูม ีพระภาคเจาและทูลขอรอ งใหท รงเมตตากรุณายนิ ยอมรับสตรบี วชเปนบรรพชิต อยูภายใตก ารแนะนําสง่ั สอนของพระองคโ ดย
ใกลชดิ เชนเดยี วกบั ภิกษทุ ้ังหลาย แตแมพ ระนางจะไดทรงวิงวอนถงึ 3 คร้งั 3 หน ใหพระองคท รงรบั พระนางและสภุ าพสตรเี หลานน้ั เขา บวช
เปนนักบวชสตรอี ยกู บั พระองค พระองคก็ไดท รงปฏเิ สธโดยทรงขอรอ งอยา ใหพ ระนางทลู ขออนุญาตเชน นน้ั กับพระองคเ ลย พระนางมหาปชา
บดีทรงโศกเศราเปน อนั มากในการทพ่ี ระพทุ ธองคท รงปฏเิ สธ พระนางและสภุ าพสตรเี หลา น้นั ไดพ ากันรองไหเ พราะเหตุน้ัน
เมอ่ื ทรงปลงพระศพพระเจา สทุ โธทนะสิ้นสดุ ลงแลว พระพทุ ธองคไ ดเ สดจ็ จากนครกบิลพสั ดุ ทรงจาริกไปตามสถานท่ีตา งๆ จนกระทง่ั สมัย
หนึ่งไดเสดจ็ ถงึ เมืองเวสาลี และประทบั อยู ณ ปา มหาวนั พระนางมหาปชาบดีไดต ดั พระเกศาของพระนางออก ทรงครองผาอยางนักบวช พรอ ม
ดว ยสภุ าพสตรีจาํ นวนหนึ่งดังทก่ี ลา วแลว ไดเสด็จไปตามหนทางที่จะไปสูเมอื งเวสาลี ทรงดําเนนิ ดวยพระบาททลี ะเลก็ ละนอย ลว งเวลาเปนอนั
มาก จนกระท่ังถึงปา มหาวัน อันเปน ทซี่ ่ึงพระพทุ ธองคกําลงั ประทับอยู
เม่อื เสดจ็ ถึงทน่ี ้นั แลว มีฝาพระบาทบวมพอง เพราะการเดินทางไกล มีฝุนจบั ทวั่ ทั้งองค ซบู เศรา และออ นเพลยี พระนางไดป ระทบั ยนื กัน
แสดงอยูขา งนอกพระวหิ าร พระอานนทไ ดมาพบพระนางซึ่งกาํ ลงั ยนื อยใู นพระอาการทน่ี า สมเพชอยา งยิ่งเชน นน้ั ไดทลู ถามถงึ ตน เหตเุ พอ่ื ทราบ
วา ทําไมจงึ เปน เชน นนั้ และพระนางกันแสงเพราะเหตุใด
พระนางไดตรสั ตอบวา “ทานอานนท พระผมู ีพระภาคเจาไมท รงอนญุ าตใหสตรลี ะจากเรือนบวชเปน บรรพชิต อยูป ระพฤติธรรมวินยั กบั
พระองค อิฉนั ไมป รารถนาจะเปนอยางอ่นื ปรารถนาจะบวชแตอ ยา งเดยี วจงึ ตองรอ งไห”
พระอานนทไ ดต อบวา “พระบตุ รแี หง ราชวงศโคตมะจงรอกอน ถาเรอื่ งเปนดังน้ี อาตมาจักวงิ วอนขอรองใหพระผูมพี ระภาคเจาโปรด
ประทานพระอนญุ าตใหส ตรีไดบ วชประพฤตธิ รรมวนิ ัยในสาํ นกั ของพระองค เชนเดยี วกบั ภกิ ษทุ ง้ั หลาย” พระอานนทไดพ ยายามกระทําตามท่ี
ไดใหส ัญญาแกพระนางมหาปชาบดี เม่ือไดไปถึงทป่ี ระทบั ของพระพุทธองคแลว ไดทาํ การวงิ วอนดวยความเคารพนอบนอมอยางสงู สดุ เพื่อให
ทรงเมตตาแกส ตรีท้งั หลายโดยโปรดประทานอนญุ าตใหบ วชได โดยทํานองเดยี วกับบรุ ษุ
พระดาํ รัสตอบของพระพุทธองคต อพระอานนทใ นขณะนัน้ มีวา “อยาเลย ! อานนท, อยา เลย ! อยา ขอส่ิงเชน นก้ี บั เราเลย” พระอานนทกม็ ิได
หมดความพยายามหรือทอ ถอย ไดท ูลวงิ วอนแลววงิ วอนอีก เปน คร้งั ทสี่ องและทีส่ าม ดว ยคําวิงวอนอยางเดยี วกัน และทุกครั้งพระองคไดทรง
ปฏเิ สธดวยคาํ ปฏิเสธอยางเดยี วกนั
พระอานนทไ ดท รงราํ ถึงอยใู นใจวา “พระพุทธองคไ มป ระทานพระอนุญาต เม่อื ถูกทลู ขอตรงๆ แตบ างทีพระองคอ าจจักทรงอนุญาต ถาเรา
จักใชวธิ อี ืน่ ” ดังนนั้ ทานจงึ ไดกราบทูลถามพระผูมพี ระภาคเจาวา “ขาแตพระผูม ีพระภาคเจา ถาหากวาสตรีไดสละเหยาเรอื นแลว ออกบวช
ประพฤตพิ รหมจรรยในธรรมวนิ ยั ของพระตถาคตอยางเครงครัดแลว เธอเหลาน้นั จะสามารถบรรลุธรรมวิเศษท้ังสช่ี ้ัน ตามลําดับแหงอฏั ซงั คิก
มรรคเพ่อื ลถุ ึงนิพพานไดหรือไม พระเจา ขา ”
พระพุทธองคไดตรสั ตอบวา “อานนท ถาสตรสี ละเหยาเรอื น ออกบวชในธรรมวนิ ัยนี้ ก็อาจเปนพระอรหนั ต ลถุ ึงนิพพานไดใ นชาติอันเปน
ปจจบุ นั น้เี หมือนกัน”
พระอานนทไดก ราบทลู วา “ถาเชนน้นั แลว ขอพระผมู พี ระภาคเจา ไดโปรดพจิ ารณาดูเถดิ พระนางมหาปชาบดีแหงราชวงศโ คตมะ ไดเปนผู
มพี ระคณุ ตอ พระผมู ีพระภาคเจาอยา งสูงสดุ พระนางเปน พระกนิษฐภคนิ ีแหง พระมารดาของพระผมู ีพระภาคเจาเอง และทรงเปนพระมารดาบุญ
ธรรมเปน ผูฟ มู ฟก ทะนถุ นอม และถวายนมแทนพระมารดาแกพ ระผูม ีพระภาคเจา พระนางไดท รงเล้ยี งดู และไดทรงอบรมสง่ั สอนพระผมู ีพระ
ภาคเจา มาตงั้ แตพระมารดาสิ้นพระชนม ขา แตพ ระผูม พี ระภาคเจา ขอพระองคไดโ ปรดประทานพระอนุญาตเพอ่ื เหน็ แกพระนาง ใหส ตรที งั้ หลาย
ท่ีสละเหยา เรือนไดบ วชเปนบรรพชติ ประพฤตพิ รหมจรรย ในธรรมวนิ ยั ของพระผมู พี ระภาคเจา อยา งเดยี วกบั บุรษุ เพอื่ บรรลถุ งึ ธรรมอัน
ประเสริฐ ทพ่ี ระองคมไี วโ ปรดประทานแกช าวโลกในชนั้ สงู สุดน้ันเถดิ พระเจาขา”
พระผมู พี ระภาคเจา ไดต รสั วา “เอาละ อานนท ถาพระนางมหาปชาบดีแหงราชตระกลู โคตมะเต็มพระทยั จะถือกฎอนั เฉยี บขาด 8 ประการ
ตอไปนอ้ี ยางเครง ครัดแลว ก็ใหถอื วา น่ันแหละ เปนการบรรพชาอปุ สมบทของพระนางเถิด” ตอจากน้ันพระผูมพี ระภาคเจา ไดตรัสแกพ ระ
อานนทถึงกฎ 8 ประการนน้ั วา
• สตรีผูบวชแลว แมนานเทา ใดกต็ อ งทาํ ความเคารพแกภ กิ ษผุ ูบวชแลว แมวันเดยี ว
• ตอ งไมอยอู าศัยในถ่ินที่ซ่ึงไมม ภี กิ ษุอยดู ว ย
• ตองรับคาํ สง่ั สอนจากภกิ ษซุ ่ึงสงฆไ ดมอบหมายหนาที่ ใหเปนผสู ง่ั สอนทุกๆ ก่ึงเดือน
• ตอ งปวารณาเปดโอกาสใหส งฆทั้งฝายภิกษุและภกิ ษุณี วากลา วตกั เตอื นช้ีโทษได ในวันปวารณา
• ถามอี าบตั โิ ทษอนั ชวั่ หยาบ จักตอ งไดร บั การพิจารณาโทษและออกจากอาบตั ิในสงฆท ั้งสองฝา ยคอื ทัง้ ฝา ยภกิ ษแุ ละภกิ ษณุ ี
• กอนบวชเปนภกิ ษณุ ี ตองอยูป ระพฤตวิ ตั ร เปน สกิ ขมานา เพอื่ การทอดลองเปนเวลาไมนอยกวา 2 ป แลวจึงบวชไดในสาํ นักแหง
สงฆทงั้ สองฝา ย
• ตองไมพูดคาํ หยาบอยางใดอยา งหน่ึงแกภกิ ษแุ ละ
• ตองไมทําตนเปนผูวากลา วตักเตอื นภกิ ษุ แตจ กั ตองเปน ผูรับคําวากลา วตักเตอื นจากภกิ ษุ
อานนท, ถา หากวาพระนางมหาปชาบดีแหงราชวงศโคตมะทรงเต็มพระทัยทีจ่ ะรับถือกฎอนั เฉยี บขาด 8 ประการนี้ อยางเครงครัด จน
ตลอดพระชนมายแุ ลว กใ็ หถือวา พระนางเปนภิกษุณีแลว โดยสมบรู ณเ ถิด” พระผมู ีพระภาคเจา ไดท รงยนื ยนั ในท่ีสดุ
พระอานนทไ ดรับเอาพระพทุ ธานญุ าตน้ันแลว กลับออกมาทูลแกพระนางมหาปชาบดี ตามทพี่ ระผูมพี ระภาคเจา ไดต รัสทุกประการ พระนาง
มหาปชาบดีทรงรูส ึกปลาบปลื้มและดพี ระทัย ตรัสแกพระอานนทวา “ทา นอานนท, เปรียบเหมอื นคนหนุมคนสาวรกั การแตงตวั อาบนํา้ ชําระ
กายและศรี ษะของตนแลว ยกพวงมาลยั อันประกอบดวยดอกไมส สี วยสดและกลิ่นหอม ขน้ึ ดวยมือท้งั สอง แลววางลงบนศรี ษะของตนอนั เปน