อวยั วะสูงสุดกวา อวยั วะทัง้ หลาย ดวยความระมัดระวงั ฉนั ใด แมอฉิ ันจกั เทดิ ทนู กฎ 8 ประการนน้ั ไวเหนอื ศรี ษะไมป ระพฤติลวงละเมดิ จน
ตลอดชีวติ ของอฉิ นั ดว ยความระมดั ระวงั อยา งเดยี วกนั ”
พระอานนท ไดก ลับเขา ไปเฝา พระผูมพี ระภาคเจา ถวายความเคารพแลวกราบทลู พระผูม พี ระภาคเจา วา “ขาแตพระผูมีพระภาคเจา พระนาง
มหาปชาบดแี หง ราชตระกูลโคตมะทรงยอมรบั สมาทานกฎ 8 ประการ ซงึ่ พระผมู พี ระภาคเจา ทรงบัญญตั ิใหแ กพ ระนางอยา งเครง ครดั พระนา
ของพระผูม พี ระภาคเจาไดเปน ภกิ ษณุ สี มคามพระประสงคแลวพระเจา ขา ”
แตพระผมู ีพระภาคเจา ไดต รัสวา “อานนทเอย ธรรมวนิ ยั ซึ่งมสี ตรรี ับเอาไปประพฤติรวมอยูดว ย จักไมต้งั มนั่ ยนื นาน เปรยี บเหมือน
ตระกูลทีม่ ีผหู ญงิ มาก มีผชู ายนอ ย ไมส ามารถผจญตอ โจรผรู ายผเู บียดเบียนนฉ้ี นั ใด ธรรมวินัยของเราทีส่ ตรีรบั เอาไปประพฤติ ยอมไมตั้งอยู
นานฉนั นน้ั มนั เหมือนกับนาขา วสาลหี รือสวนออ ย ซึ่งถกู เพลีย้ ลงจับ ยอ มไมเ จรญิ งอกงามไปไดน าน ฉันใดก็ฉนั นนั้ ” เหตกุ ารณไดเ ปนไป
ตามที่พระผูมีพระภาคเจาทรงพยากรณไ วทกุ ประการ การบวชของภิกษุณี ซ่ึงมีพระนางมหาปชาบดเี ปน องคแ รกนั้น มีอายุยืนยาว 500 ป แลว
กจ็ บสญู ไป
พุทธประวตั ิ ฉบับสําหรบั ยวุ ชน
พุทธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบบั ภาษาองั กฤษ ของ ภิกษุสีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนที่ 16 ปาฏหิ ารยิ
เมื่อพระผมู ีพระภาคเจา เสดจ็ จารกิ ไปตามชนบทตา งๆ พรอมกับภกิ ษุสงฆน น้ั ทุกแหง ทีพ่ ระองคเ สดจ็ ไป ไดมปี ระชาชนพากันจับกลุมเพอ่ื ดู
พระองค และฟงพระองคตรัสและแสดงธรรม มีคนจาํ นวนมากเล่ือมใสในพระองคแ ละคาํ สั่งสอนของพระองค จนถงึ กับยอมเปนสาวกของ
พระองค แตพรอ มกนั น้ันก็ยงั มีศาสดาสอนศาสนาคนอ่ืนๆ ซึ่งไดสั่งสอนประชาชนใหเ ล่ือมใสอยูดวยวิธกี ารตางๆ กันอีกมิใชน อ ย และยังมเี จา
ลัทธบิ างคนในจํานวนเจา ลัทธิเหลา นน้ั ไดแสดงสิ่งซึง่ ประหลาดผิดธรรมดา อนั เรียกวา ปาฏหิ ารยิ บางสงิ่ บางอยางในบางครง้ั ไดทาํ ใหม หาชน
แตกต่ืนกนั ไปดู และมเี ปนอันมากที่ไดเ ล่ือมใส และออกปากสรรเสรญิ การกระทําเชนน้นั ไดอ ยเู ฝาคอยฟง คําสงั่ สอนของเจา ลทั ธเิ หลาน้นั
จนกระทั่งกลายเปน สาวกของเจาลัทธนิ นั้ ๆ กม็ ีอยูเปนสวนมาก
ภกิ ษุท้ังหลายไดสังเกตเหน็ เหตกุ ารณดง่ั นน้ั ไดเ ขาไปเฝาพระผูมพี ระภาคเจา ทูลขอรอ งใหพระองคท รงกระทําสงิ่ ประหลาดมหศั จรรย หรือที่
เรยี กกันวา ปาฏหิ าริยน้ัน ใหปรากฏแกประชาชนบา ง เพื่อประชาชนจกั ไดเ ลอื่ มใสพอใจและเขา มาเปนสาวก โดยทาํ นองเดียวกับทเ่ี จาลัทธเิ หลา
โนน ไดก ระทํากนั อยู พระพุทธองคไ ดต รัสตอบภิกษุ ซ่งึ ไดมาทลู ขอเชน นัน้ วา พระองคทรงรสู ึกละอายในการท่จี ะลอ ประชาชนใหมคี วามเชื่อถอื
ดว ยการกระทาํ ทแี่ ปลกประหลาดหรือปาฏิหารยิ ท ํานองน้นั แตพระองคทรงสามารถทาํ ใหคนเกิดความประหลาดถึงขนาดรสู กึ มหศั จรรยใ น
ปาฏหิ าริยทแ่ี ทจ ริงอยา งอน่ื
พระองคไดต รสั แกภ ิกษเุ หลา นนั้ วา “ตถาคตเจา ทงั้ หลายยอ มกระทาํ ปาฏหิ ารยิ แตอ ยา งเดยี วน้ีเทาน้ันคือ เม่อื พระตถาคตท้ังหลายเหน็ มนุษย
ประกอบไปดวยกามกเิ ลสและตณั หา กท็ รงเปล้ืองประชาชนเหลาน้นั ออกเสยี จากกามกเิ ลสและตัณหา เมื่อทรงเห็นวามหาชนทัง้ หลาย ตกเปน
ทาสของโทสะและการผูกเวร ก็ทรงเปลื้องประชาชนเหลา นัน้ เสยี จากการตกเปน ทาสของโทสะและการผูกเวร เมือ่ ทรงทราบวาประชาชนบอด
เพราะความเขลาและอวชิ ชา กท็ รงเปดตาของคนเหลานน้ั ชวยใหเขาพนจากความเขลาและอวชิ ชา ซึ่งเปนความบอดมดื ย่งิ เสียกวาความมืดแหง
ราตรี ภิกษทุ งั้ หลาย ! ปาฏิหารยิ อยางเดยี วดังกลา วน้เี ทานน้ั ที่พระตถาคตท้งั หลายพากนั กระทาํ สวนปาฏหิ าริยอ ยางอ่นื ๆ นน้ั ทานเกลยี ดชังและ
ประณาม ไมย อมกระทําปาฏิหาริยเหลา นั้น”
ครั้งหนงึ่ มคี นบางคนไดม ากราบทลู พระพทุ ธองคว า ทานพระปณโฑละภารทวาชะ มีทา นพระโมคคลั ลานะไปเปนเพื่อนไดกระทาํ ปาฏิหาริย
ดว ยอาํ นาจฤทธิซ์ ่งึ ทา นมมี ากกวาพระอรหนั ตองคอื่นๆ โดยเหาะขน้ึ ไปในทส่ี ูงปลดเอาบาตรใบหนึ่ง ซ่งึ มผี ูใหนําข้ึนไปติดไว เพือ่ เปน การทดลอง
ฤทธิข์ องบุคคลผมู ีฤทธิ์ ลงมาได พระองคไมทรงเหน็ ดดี ว ย ในการกระทาํ เชนน้ันของพระปณโฑละภารทวาชะเปน อนั มาก ไดร ับส่งั ใหไ ปตาม
พระปณโฑละภารทวาชะ มาพรอ มทง้ั บาตรในนน้ั ดว ย เม่ือทา นพระปณโฑละภารทวาชะนําบาตรใบนนั้ มาถึงแลว พระองครับสงั่ ใหท ําลายบาตร
ใบนนั้ เสยี ตอหนาพระปณโฑละภารทวาชะและภิกษุสงฆทัง้ หลาย จนเปนชิ้นเลก็ ชิน้ นอย และรับส่ังหามมิใหก ระทําเชน นัน้ อกี ตอ ไป พรอมท้งั
ทรงบัญญัตวิ า ภิกษุทั้งหลายตอ งไมท าํ การลอลวงคนเขลาทัว่ ๆ ไปใหนบั ถือบชู า ดวยการกระทาํ ปาฏิหารยิ ชนิดน้ัน ถา ขืนทําเพ่ือใหเขาเล่อื มใส
เชนนนั้ จักตอ งไมอ ยรู ว มกับพระองคห รอื ภกิ ษุสงฆท้งั หลายอีกตอไป ขอ บังคบั อนั นไี้ ดม ีอยสู บื มาเปนวินัยขอสาํ คญั ขอหน่งึ ของภิกษใุ น
พระพทุ ธศาสนา หามมิใหภ กิ ษใุ ดแสดงปาฏิหารยิ เพ่ือใหค นเลือ่ มใส เพอ่ื ลาภสักการะอยา งใดอยา งหนงึ่ โดยเด็ดขาด
พระพทุ ธองคไ มท รงปรารถนาทีจ่ ะกระทาํ ใหคนทง้ั หลายหลงใหลเลอ่ื มใสในพระองค เพราะการกระทําปาฏิหารยิ ชนิดซึ่งเปนทห่ี ลงใหล
ของคนสามัญทั่วไป แตถึงกระนั้นประชาชนไดพากันรูสกึ และเห็นชดั แจง ขน้ึ วาพระองคเปน ศาสดาที่แทจ ริง และไดพ ากนั แสดงความเคารพนับ
ถือพระองคยง่ิ ขน้ึ และไดพ ากนั บาํ รุงดวยสมณบริขารอยา งมากมายท่ัวไป ทกุ หนทกุ แหง ยิง่ ข้ึนไปกวา เดมิ สาวกของเจา ลัทธอิ ืน่ ๆ เกดิ ความไม
พอใจทีไ่ ดเหน็ เชน นั้น
ครัง้ หนึ่งพระพุทธองค และภิกษุไดเ สดจ็ มาถึงนครโกสัมพี ซ่งึ มีเจาลัทธิผมู ชี อ่ื เสยี งคนหนึ่งอาศยั อยู พรอมดวยสาวกจาํ นวนมาก คนเหลา นไ้ี ด
พากันดาทอพระภกิ ษุสงฆ และบุคคลทเ่ี ลอ่ื มใสในพระพทุ ธองคดว ยถอ ยคาํ หยาบคายชว่ั รา ยตางๆ นานา พระอานนทไ ดเ ขา ไปเฝา พระพทุ ธองค
และกราบทลู ใหท รงทราบถึงการทีค่ นเหลาน้ัน ไดพ ากันคอยดา ทอภกิ ษสุ งฆด ว ยถอยคาํ หยาบคายรายกาจไปเสียทกุ หนทุกแหง และโดยเฉพาะ
เม่อื เวลาออกบิณฑบาต และไดก ราบทลู พระพทุ ธองคใ นนามของภกิ ษุสงฆท ัง้ หลาย ขอใหท รงพาภิกษสุ งฆทง้ั หลาย เดินทางออกไปเสียจากนคร
โกสมั พี เพอ่ื ภกิ ษุสงฆทั้งหลายจกั ไดไ มถกู ดาทอในเวลาบิณฑบาตทกุ ๆ วนั เชน นัน้ อกี
พระพุทธองคไ ดทรงน่งิ ฟงทานพระอานนทกลาวจนตลอด และในท่สี ดุ ไดทรงโตต อบกบั พระอานนท ดังตอ ไปนี้
“อานนท, ถาหากวา เราไปสูท อี่ นื่ แลว ถกู คนในที่นั้นกระทําทารณุ ดาทอตอเราเขาอกี จะทําอยางไรเลา ”
“ถา เปนอยา งนน้ั พวกเราก็ควรจักไปสูท อี่ ่นื ตอ ไปอกี ”
“ถา ในท่แี หง ใหมน ี้ เราก็ยังถูกดาทอสบประมาทอยูน นั่ เองเลา เราจะทําอยา งไรตอ ไป ”
“เราก็จะไปสูทอี่ ื่นตอไปอีก พระเจา ขา ”
พระพทุ ธองคไ ดทรงนง่ิ อยขู ณะหนึ่งแลว ไดท รงเหลยี วมองดูพระอานนทดว ยสายพระเนตรท่ีออนโยนอยางยง่ิ และไดตรัสวา “ดกู อ น
อานนท, อดทนใหเหมาะๆ เสยี สักหนอยเทานน้ั ก็จะตัดความยุง ยากลําบากทง้ั หมด ในการทต่ี อ งเที่ยวโยกยา ยไปมาเสยี ไดโ ดยสิ้นเชงิ มันไมเปน
ทแี่ นนอนวา เราจะหาพบที่แหง ใหม ซึ่งไมมีใครดา ทอในโอกาสขางหนา แตมันเปน ทแ่ี นนอนวา เราจะหาพบทเ่ี ชนน้นั ไดในท่ีตรงน้ีเอง ถาหากวา
เราเพยี งแตป ระพฤติตนอดกลั้นอดทนกันเสียบาง โดยการอดกล้ันอดทนนี่เอง ทีน่ กั ปราชญทั้งหลายพากนั เอาชนะศตั รไู ดโ ดยส้นิ เชงิ ”
“อานนทเ อย , จงดูชางซึ่งบคุ คลพาเขาไปสูสนามรบ มันพงุ ตัวเขาไปในทา มกลางการตอสูอนั ชลุ มุนวนุ วาย มนั ไมเอาใจใสตอลกู ศรหรอื
แหลนหลาว ซ่ึงบคุ คลพงุ ซดั เขามาโดยรอบตัวมนั มนั ตงั้ หนากระโจนเขา ใสข า ศึกทําลายส่งิ ตางๆ ซ่ึงเขา มาเผชญิ หนา มนั ใหราบเรยี บไปหมด
อานนทเอย, ฉนั จักเอาอยา งชา งตัวน้ัน ฉนั จกั อยทู น่ี ใี่ นเมืองนี้ และจะพยายามเผยแผค าํ สอนทีถ่ ูกตอ งดว ยกาํ ลังกายกาํ ลงั ใจทั้งหมดและจะทําโดย
ไมหยดุ ย้ัง ในการท่ีจะปลดเปลอ้ื งคนชว่ั ชา เหลาน้ันออกมาเสยี จากขายแหง กเิ ลส ซ่ึงเขากําลงั พากนั ติดแนน อยู ฉันจะไมเ อาใจใสแ มแ ตห นอยเดยี ว
ในคํากลาวรายของฝายปฏปิ ก ษซ ึ่งแกลงกลาวแกฉนั และแกสาวกของฉัน มันเหมอื นกับคนท่ถี ม น้าํ ลายจะขึน้ ไปบนฟา โดยคิดจะใหฟา เปอ น เขา
จะไดพ บความจริงวานา้ํ ลายจะข้นึ ไปเปอ นฟาไมไ ด แตจ ะกลับตกลงมารดหนาของผถู ม นั้นเองตอ ภายหลังนี้ฉันใด พวกคนท่นี า สมเพช ซึ่งแกลง
ดา ทอเรา กจ็ ักไดป ระสพในภายหลังวา คาํ ดาทอนนั้ จักกลับไปสูพ วกเขา เพราะเราไมเ อาใจใสต อคาํ ดาทอเชนนั้น”
พระพทุ ธองคไมทรงกระทาํ ตามคาํ ขอรองของทานพระอานนท และภิกษทุ ้งั หลาย ยังคงประทับอยู ณ เมอื งโกสมั พี และผลแหง การอดกลน้ั
อดทนของพระองค กไ็ ดป รากฏออกมาอยางแทจ รงิ ในเวลาอันไมนานเลย เมอ่ื ประชาชนชาวนครโกสัมพีท้งั หลายไดพากนั เห็นวา พระองคและ
ภกิ ษสุ งฆม คี วามอดทนอยา งนา สรรเสริญตอถอ ยคาํ ของสาวกแหง เจา ลทั ธอิ ่ืนๆ โดยไมป ริปากกลา วรา ยตอบ แมแ ตค ําเดยี วเชนน้ัน ก็พากนั เกลียด
ชังนกั บวชและสาวกของเจาลทั ธิอน่ื เปน อันมาก ท่ที าํ การกลาวรายตอบคุ คลผไู มเคยกลาวรายแกใครๆ คนหนมุ ตระกูลสงู แหง นครโกสัมพเี ปน
อนั มากพากนั นยิ มชมช่ืน ในการกระทาํ ของพระพทุ ธองค และของภิกษุท้งั หลายทไ่ี ดกระทาํ เชน นัน้ ไดพากันรับนบั ถือของพระพุทธองคถ งึ กับ
ออกบวชเปนภิกษกุ ็มีอยไู มน อ ย
แตอยางไรก็ตาม นกั บวชชาวโกสมั พีเหลา น้ี แมบวชเปน ภกิ ษุแลวบางพวกกย็ งั ไมอาจละทง้ิ นสิ ัยการทะเลาะเบาะแวง ชั่วเวลาไมน าน ไดม ี
การทะเลาวิวาทกันเองดว ยเร่ืองเล็กๆ นอยๆ เกย่ี วกบั ขอ ประพฤตปิ ฏิบตั วิ าใครจะปฏบิ ัตถิ ูกกวา หรอื ดกี วา ในเร่ืองกระจุกกระจิกหยุมๆ หยมิ ๆ
พวกหนงึ่ ถอื อยา งหนึ่ง อีกพวกหน่ึงถืออีกอยางหนึง่ ไมตกลงกนั จนววิ าทกนั แมพระพทุ ธองคจะไดท รงขอรอ งซา้ํ แลว ซํา้ อีกใหระงับการววิ าท
เหลา นน้ั เสีย เพือ่ อยกู นั ดว ยความสงบโดยไมต องวินิจฉยั ใหแตกหกั วา ใครเปน ฝา ยผดิ และใครเปน ฝา ยถูก ก็ยังพากันด้อื ดงึ วิวาทกนั เรื่อยไปไม
ยอมหยุด ภกิ ษุเหลานีไ้ มเอาใจใสในขอ ที่พระองคไดต รสั บอกใหทราบวา การทะเลาววิ าทมาดรายกันนัน้ เปนความผิดความเลวยิ่งไปกวา
ความคิดเห็นทีแ่ ตกตางกนั เพยี งเล็กๆ นอ ยๆ อนั เปน มลู เหตแุ หง การทะเลาะวิวาทกนั น้ันเสียอีก
เมือ่ พระพทุ ธองคทรงเหน็ วา ภิกษเุ หลา น้นั ไมเชื่อฟงพระองค จนไมยอมรบั คาํ แนะนํา พระองคก็ไดเ สด็จไปเสียจากนครโกสัมพี ทงิ้ ภกิ ษุ
เหลา น้นั ไวเบื้องหลัง เมอ่ื ประชาชนชาวเมอื งโกสัมพไี ดท ราบวาพระพุทธองคไ ดเสด็จไปแตพระองคเ ดียว และภิกษเุ หลา น้นั ประพฤตติ นเปนคน
ขีท้ ะเลาะเบาะแวงเหมอื นชาวบา น ไมแ ตกตา งกบั ชาวบาน ก็ไดพากนั งดการถวายอาหารบณิ ฑบาตและการบาํ รงุ อ่นื ๆ โดยสิ้นเชงิ การทําอยางน้ี
ไดท าํ ใหภ กิ ษเุ หลานั้นสํานึกตัวไดใ นระยะเวลาอันสน้ั ภกิ ษุเหลา นนั้ จึงไดหยดุ การวิวาท ทาํ ความปรองดองซึ่งกนั และกนั เชอ่ื ฟงและปฏิบตั ิตาม
คําแนะนําของพระองคอ ยา งเครง ครัด จนกระทั่งพระองคไ ดทรงยนิ ยอมใหภ กิ ษุเหลานัน้ อยรู ว ม และรวมการเดนิ ทางกบั พระองคส บื ไป
พทุ ธประวตั ิ ฉบับสาํ หรับยวุ ชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบับภาษาองั กฤษ ของ ภิกษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 17 พระพุทธดาํ รสั
ในฐานะทพี่ ระพุทธองคเปน โอรสแหง กษตั ริย ยอมทรงคนุ เคยกับมรรยาทอยางราชสาํ นกั ทกุ ประเภท พระองคจ งึ ทรงสามารถทาํ การโตตอบ
สนทนา ในทา มกลางท่ปี ระชมุ แหงกษัตรยิ ห รือมหาราชา ตลอดจนถงึ นักบวชนกั ศึกษาผูคงแกเรียนชนั้ สงู ไดโ ดยสะดวก และยังทรงทาํ ให
อิสรชนเหลา นน้ั จากพระองคไ ปดวยความพอใจ และมีความรอู ยางแจม แจงในธรรมอนั ลกึ ซงึ้ ติดไปดว ย มิใชแตเ ทา น้ัน แมใ นการสมาคมหรอื
โตต อบสนทนากับชนสามัญทัว่ ไป พระองคก็ยังทรงสามารถทําไดเปนอยา งดอี ยางเดยี วกนั และเทา กนั กบั ท่จี ะสมาคมโตต อบกบั ชนชนั้ ท่มี ีความ
เขา ใจและพอใจในธรรมอนั ลกึ ซง้ึ น้นั เม่ือพระองคเ สด็จดาํ เนนิ ดวยพระบาทไปตามชนบทตา งๆ พระองคพ รอมทจี่ ะตรัสโตต อบและทําความ
ยนิ ดปี รดี าใหแกค นทุกคนท่ีทรงพบ ไมวาเขาจะเปน ชาวนาชาวสวนหรือเปน ชา งเหล็ก ชางทําเกวยี น หรือแมแ ตช างตดั ผมเปน ตน ถาหากวา เขา
พอใจทีจ่ ะสนทนาดว ยพระองค
ตัวอยางในเรอื่ งนี้ คือวนั หนงึ่ พระองคเสด็จไปตามหมูบา น ซ่ึงกาํ ลงั ประกอบการทาํ นากันอยูท่วั ไป ไดท รงพบชาวนาคนหนึง่ กาํ ลังทํางานอยู
ในนา ไดท รงหยดุ และทรงไตถามเกย่ี วกบั การทาํ นาของเขา ตอนหนึง่ พระองคไ ดตรัสแกเขาวา “ทานจงรูเถิด เราก็เปน ชาวนาดว ยเหมอื นกัน เรา
ไดเ ตรยี มพรอมทุกๆ อยาง ทีจ่ ะทํานากระทง่ั เมล็ดพันธุขา วทจี่ ะใชเ ปนพชื ” ชาวนาคนนน้ั ไดรองขน้ึ ดว ยความประหลาดใจวา “ทา นเปน ชาวนา
อะไรกนั ! ถา ทานเปน ชาวนาจรงิ วัวของทานอยูทีไ่ หน ไถของทา นอยทู ไี่ หน และอะไรอนื่ ๆ อกี หลายอยา ง ของทา นอยูทไ่ี หน ”
พระพทุ ธองคไดตรัสตอบอยางสงบเสงย่ี มวา “สิง่ เหลา นั้น เราไดมีตดิ ตัวมาทน่ี แ่ี ลว ทง้ั หมด ทานจงฟง ใหดีเถิด เราจะบอกใหทานทราบทุกสิง่
ทกุ อยางทเี ดยี ว
เมล็ดพืชของเรา คอื ความปรารถนาและความกรณุ าในการทีจ่ ะชว ยสรรพสตั วที่ทําใหเรามีความเช่ืออันม่นั คง และตงั้ ใจแนวแนเ พ่ือเปนพุทธะ
รวมท้ังส้นิ ทีเ่ ราไดต รัสรูที่โคนตนโพธิ์ นํ้าสาํ หรับหลอเล้ียงตน ขาวของเราใหงดงามนน้ั คอื กุศลกรรมอนั มหาศาลที่เราไดพากเพยี รพยายาม
กระทาํ สบื มาจนกระท่งั ถงึ วันตรัสรู ปญญาเปน แอกและไถของเรา ใจเปนเชอื กชกั สําหรับบงั คับวัว ความละอายบาป อันเปนเคร่อื งเกยี ดกันบาป
ออกเสยี จากจิต เปน งอนไถอนั งามงอนของเรา ธรรมะซ่ึงทําใหเ ราสามารถขจัดส่ิงชว่ั และประกอบส่งิ ดี เปน คันสาํ หรับจับ กเ็ มือ่ ทานไถนาของ
ทาน ทา นยอมตดั และกลบหญา ท่ีเปนโทษทกุ อยา งเสียฉนั ใด ผูท รี่ อู ริยสัจส่ีประการ กย็ อ มตดั และกลบอกศุ ลจติ อนั ชั่วรา ยภายในตัวเขาฉันน้นั
ครั้นถึงเวลาคาํ่ เสรจ็ งานกลางวนั แลว ทานแกวัวของทานปลอยมันไปเทยี่ วตามท่มี ันตอ งการ ฉันใด, ผูเปน บัณฑิตกย็ ดึ ม่นั อยแู ตใ นความ
บรสิ ุทธิ์ ยอมสละสง่ิ อันไมบ ริสุทธิใ์ หออกไป ฉนั นัน้ , วัวของทา นตอ งแขง็ ขอ ลากไถเพื่อไถพน้ื ทีน่ าของทา นใหเ หมาะแกก ารหวา น ฉนั ใด, ผมู ี
ปญ ญากต็ ัง้ หนาพยายามจนสดุ กําลัง เพอื่ ชาํ ระสนั ดานของตนใหสะอาดเหมาะสมแกการลุงถึงนิพพาน ฉนั นน้ั , ชาวนาทาํ งานหนักเพ่ือตบแตง
ทด่ี นิ ใหเหมาะแกเมล็ดพชื ฉันใด, บัณฑติ กป็ ระกอบความยายามหนกั เพือ่ กาํ จดั โทษแหง วัฏฏสงสาร ฉนั น้ัน
แตคนทท่ี ํางานในนาขา ว ตองประสพความไมพอใจผดิ หวงั อยบู อยๆ เพราะผลที่เก็บเก่ยี วไดน อยเกินไป บางคราวถงึ กบั โกรธหวั ปนนอนไม
หลับกม็ ีอยูเสมอ สว นผทู ่ที ํานาแหง ปญญาเพือ่ ลุถงึ นิพพานน้ัน ไมเคยไดร ับความไมพ อใจเชนนัน้ เลย เขาเปนผแู นนอนทจ่ี ะตอ งไดเ ก็บเก่ยี ว
ผลงานของเขาเตม็ ท่ี มีความสขุ เตม็ ท่ี มีความพอใจเตม็ ท่ี เม่อื ไดม องเหน็ ผลคือนิพพานนั้น พราหมณเ อย, โดยลกั ษณะอยา งนแี้ หละ ซง่ึ เรากเ็ ปน
ชาวนาคนหนึ่งดว ยเหมอื นกัน และนีแ่ หละเปน วิธซี ึ่งเราไดท าํ นาของเรา”
เม่อื พราหมณไดฟ งคาํ ตรสั เชน นั้นของพระพทุ ธองคเขามคี วามพอใจอยางสงู สุด จนถึงกบั พยายามทลู วิงวอนใหพระองคทรงรบั เขาเขาเปน
ชาวนาคนหนึง่ ในการทํานาตามแบบของพระองค และเขาไดเ ปน สาวกของพระองคสบื ไปจนตลอดชวี ติ
ไดมผี ูม าทลู ถามพระพุทธองค ถงึ วิธีท่คี นทัว่ ไปอาจลถุ งึ สภาพทเี่ ปน ความสุขทสี่ ดุ และประเสริฐทส่ี ดุ และมีสวัสดมี งคลถึงทส่ี ุด พระพทุ ธ
องคไ ดต รสั ขอ แนะนําเหลาน้แี กเ ขา
“จงอยาเขา เปนพวกกบั คนโงเขลา จงทําความสนทิ สนมกบั บณั ฑิต จงแสดงความเคารพนบั ถือตอ คนท่ีควรเคารพนบั ถือ จงอยูในทซ่ี ่ึง
เหมาะสมแกอปุ นสิ ยั และความสามารถของตน จงเปน คนที่เคยทาํ ความดีไวมาก จงประกอบกศุ ลกรรมเพือ่ ความรงุ เรอื งในอนาคตอยอู ยา งไมข าด
สาย จงทําความพอใจในการดกู ารฟงทุกอยางทส่ี ามารถจะทําไดเพ่อื ใหไดม าซ่ึงวิชาความรู จงศกึ ษาทกุ สิ่งทุกอยา งซง่ึ ไมประกอบดว ยโทษ จง
ฝก ฝนใหเ ปนคนมรี ะเบยี บวนิ ยั และแบบแผนอนั ดี จงพูดแตค ําจรงิ คํานา รกั และคํามปี ระโยชน จงอปุ ฏฐากมารดาแลบดิ า จงเอาใจใสเ ลยี้ งดบู ุตร
ภรรยา จงละเวนความโลเลในการงาน จงบําเพญ็ ทาน จงประพฤตแิ ตกรรมดี จงชวยเหลอื ญาติและมติ รสหาย ในคราวทคี่ วรชวยเหลือ จงเวนการ
ทําส่งิ ทตี่ อ งเสียใจทหี ลงั จงอยา ทาํ ส่งิ ซ่งึ ทานหามไวโ ดยกฎแหง ศีลธรรม จงเวนจากการดมื่ นํ้าเมา จงอยา ชักชา ที่จะประกอบกรรมดีในเมื่อโอกาส
มาถงึ จงนอบนอ มตอทุกคน จงอยา จองหองพองตัว จงพอใจดวยสิง่ ทมี่ อี ยู จงรูบ ุญคณุ ทบ่ี ุคคลอน่ื ทาํ แกต น จงฟง ธรรมตามโอกาส จงมคี วามอด
กลน้ั อดทน จงทาํ ตนใหเปนคนย้ิมแยมแจมใส จงเยี่ยมเยยี นพระอริยเจา อยเู นอื งนิตย จงซกั ซอ มสนทนาธรรมทุกโอกาส จงเปน อยดู วยความ
พากเพียร จงประพฤตพิ รหมจรรย จงกาํ หนดอริยสจั สี่ไวใ นใจ จงมีนพิ พานเปนทม่ี งุ หมายของจติ อยเู สมอ เม่อื ถกู สิง่ ตางๆ รบกวนจงอยา
หวัน่ ไหว จงอยา โศกเศรา จงอยากาํ หนัด และจงปรกติ ผใู ดประพฤตไิ ดส มบูรณตามน้ี ความช่ัวรายจกั ไมสามารถครอบงําผนู ้ัน เขาจักมสี วสั ดี
มงคลอยา งสูงสุด ไดรบั ความสุขแหง จิตที่สมบูรณอยูเ นอื งนิจ”
อีกคร้งั หนึง่ พระพทุ ธองคทรงพํานกั อยูท่หี มบู า นเล็กๆ แหงหนง่ึ ชาวบานในถนิ่ นนั้ ไดมาเฝาพระองคและทูลถามวา “ขา แตพระผมู ีพระภาค,
พวกเราไดท ราบวา พระองคเปนพระศาสดาผูป ระกาศธรรม และไดส ั่งสอนสง่ิ ท่ีดเี ปน อันมาก ใหแ กสาวกของพระองค ซ่ึงไดส ละบานเรอื นแลว
ติดตามมาอยูศ ึกษากับพระองคด ว ยการประพฤตพิ รหมจรรยร วมกนั สว นพวกเราท้งั หลายไมสามารถจะเปนนกั บวช พวกเรายงั เปนชาวบาน
แออัดอยูด วยบุตรภรรยา ประกอบการอาชพี ดว ยการทํานาและเลีย้ งสัตว ไดรบั ความสุขอยูตามประสาชาวบาน ยงั ตอ งใชเงนิ ใชท อง ยังรักการ
ประดบั ตกแตง ดว ยเครือ่ งประดบั อนั มคี า และดอกไมต ามโอกาส ยงั ลูบทาดว ยของหอมตามเน้ือตวั เพ่ือเกิดความพอใจอยตู ามวสิ ยั ของโลกทั่วไป
ขา แตพ ระผูม ีพระภาค, ถาในคาํ สงั่ สอนของพระองค มอี ะไรๆ ท่ีจะเปนความดีแกพ วกเราทัง้ หลาย เพ่อื มคี วามสขุ ทั้งในเวลาน้แี ลเวลาตอ ไป
จนกระทั่งสิน้ ชวี ติ แลว ขอพระผมู พี ระภาคเจา จงไดโ ปรดใหพวกเราท้งั หลายไดย นิ ไดฟงคาํ สงั่ สอนสว นนน้ั เพือ่ ปฏบิ ตั ติ ามและไดรบั ผลอันนัน้
ดวยเถดิ ”
พระพทุ ธองคไ ดต รสั วา “ดูกอนทา นทง้ั หลาย มธี รรมะอยู 4 อยาง ซ่ึงบุคคลผูสั่งสอนเชน กับเราจะพงึ สงั่ สอนแกทา นท้ังหลายผูมใิ ชนกั บวช
เพอื่ ใหไดทราบและปฏบิ ัติ ทา นทั้งหลายจงฟง และเราจะกลา วใหฟ ง
ขอ ที่หนง่ึ สิ่งใดเปน อาชพี ของพวกทา น สงิ่ นัน้ ทา นควรขยนั กระทําใหดีทสี่ ดุ อยูเนอื งนติ ย ใหท า นมคี วามสามารถในสงิ่ น้นั ๆ จรงิ ๆ ถาเปน
ชาวนาทา นตองเปน ชาวนาทีด่ ดี วยหมนั่ และฉลาด ทาํ เนือ้ นาของทานใหเ กดิ ผลถงึ ที่สดุ ของมันจรงิ ๆ ถาเปน พอ คา ทา นตองเปนพอ คาที่มหี ตู า
กวางขวางและขวนขวายอยอู ยางขมักเขมน ถา เปนคนใชก ็เปน คนใชผ ูนา เชอื่ ถือในความสามารถและเปน ที่ไววางใจไดในความซ่อื สตั ยส จุ รติ
ของผเู ปนนายของตน จงเปนผกู ระปร้ีกระเปรา และมกี ําลงั กายอยเู สมอ ในการท่จี ะทาํ ใหเปน ผลเต็มเมด็ เตม็ หนวยในสง่ิ ท่ีทานทาํ ไมว า จะเปน
งานชนดิ ใด ดว ยการกระทาํ อยา งนี้ ทานจะมที รพั ยสมบัติ แลว จะสามารถใชทรัพยส มบัตินั้นไปในทางท่ีดี คอื การชว ยเหลอื ผูทีต่ องการความ
ชวยเหลือนอกไปจากการใชสอยโดยตนเอง ถา ทา นไมข ยนั ทํางานใหม ที รพั ย ทา นจะไมสามารถประกอบการกุศลและสงเคราะหผ ูอ ่นื เพราะ
ทานไมม อี ะไรทจี่ ะใชในการสงเคราะหเ ขานัน่ เอง (คาํ สอนขอนี้เรยี กชือ่ โดยภาษาบาลวี า อุฏฐานสัมปทา แปลวาการถึงพรอมดวยความขยนั ใน
หนาที่)
ขอ ทสี่ อง ทา นจะตองมคี วามเอาใจใสเปน พิเศษอยา งถกู ตอ ง ในการรักษาทรพั ยสมบัติทหี่ ามาไดแลว จะไมใ ชจา ยใหส้นิ เปลืองไปอยางโง
เขลา มันไมม ีประโยชนอ นั ใดทีจ่ ะเทนา้ํ ใสลงไปในตุมทม่ี รี ูร่ัว นอกจากความเหนือ่ ยเปลา การมีทรัพยนั้นกเ็ ปน สิ่งท่ีดีดอก แตม ันเปน ความจําเปน
ทุกกระเบยี ดน้วิ ท่จี ะตองจัดตองทาํ ไมใ หมันสญู หายไปอยางโงเ ขลาแลเปลืองเปลาทุกๆ อยา ง (คาํ สอนขอ นเ้ี รียกชื่อโดยภาษาบาลวี า อารักข
สมั ปทา แปลวาการถงึ พรอ มดวยการรักษา)
ขอทีส่ าม ฆราวาสจกั ตองเลอื กเอาแตบคุ คลที่ดมี าเปน เพ่อื น หรอื เปนผูท ่ีเก่ียวขอ งดว ย ตามปรกติ คนเราคบคนเชนใด ก็จกั เปน เชน คนน้ัน ถา
คบคนดี ก็เปน โอกาสดีทีจ่ ะกลายเปน คนดไี ปดวย ถาคบคนชว่ั กจ็ ะกลายเปนคนช่ัวไดโดยงายที่สุด ทา นจะสามารถจับของสกปรก โดยที่ไมท าํ
ใหมือของทานสกปรกไปดว ยนั้น ไมไ ด เหตนุ ั้น พวกฆราวาสควรคบหาสมาคมแตก บั คนดี ทฉ่ี ลาด ท่ีเอื้อเฟอ เผอื่ แผ และนยิ มตองนบั ถอื แตส ่งิ ท่ี
ดี แลวเขากจ็ ะกลายเปน คนดี คนฉลาด คนมีความเอ้ือเฟอ เผือ่ แผ และคนนิยมแตใ นสิง่ ท่ีดีไปไดโ ดยงายดาย (คาํ สอนขอ น้เี รยี กช่ือโดยภาษาบาลวี า
กัลยาณมติ ตา แปลวาการคบคนด)ี
ขอท่ีส่ี ฆราวาสควรดาํ เนินการครองชีวติ ทเี่ ปน ไปในสายกลาง และเปนไปอยา งสมํ่าเสมอ เขาไมค วรเปนอยอู ยา งฟมุ เฟอ ยเกินไปหรอื อยาง
แหง แลง เกินไป เขาไมค วรจะใชจ า ยหรือใหท านจนเกนิ กวา รายไดข องตนเอง ถา เขาทาํ เชน นั้น ทรัพยสมบัตขิ องเขาจะเหมือนกับนํา้ ในสระ ซึ่งมี
ทางไหลออกมากกวา ทางไหลเขา ซึ่งไมช าก็จกั แหงขอดไมมีนํา้ เหลอื อยูเ ลย แตถา ผูน้ันเอาใจใสใ นการใชสอยทรัพยส มบัติ เล้ยี งดตู นเองและ
ครอบครัว ตลอดจนถงึ ทําบุญใหท านใหเ ปน ไปอยางถกู ตอง ไมเกินรายไดข องตนแลว สระนํา้ กลาวคือทรพั ยสมบตั ิของเขาก็จะไมม วี นั แหง ขอด
เลย จักมนี ้ําเหลอื อยูคือมีทรัพยสมบัติเหลอื อยู สาํ หรับใชจายในเมื่อมกี ิจรบี ดว นท่ีจะตองใชจ า ยเปนพเิ ศษเกดิ ขนึ้ แตขอ นี้มิไดห มายความวาเขาจะ
ไมใ ชทรพั ยน น้ั ใหเ ปน ประโยชนอยางเต็มที่ และมิไดหมายความวา เขาจะตองสะสมมนั ไวอยา งซอ นเรน โดยไมใ ชจ า ยใหเปน ประโยชนอะไร
เลย คนที่ทาํ เชน นั้นเหมือนกับคนทม่ี ีตน ผลไมอยใู นสวนมีผลดกเตม็ ตน แตแทนทจี่ ะกินผลไมน ้นั เมอื่ มนั สกุ ไดทแี่ ลว เขากลบั เก็บผลไมเ หลา นัน้
ลงหีบแลว ฝง ดนิ เสยี ผทู ีท่ ําเชน น้จี ะตอ งประจักษใ นภายหลงั วา ผลไมข องเขาเนา หมด ไมมสี วนทเ่ี ปน ประโยชนเหลืออยเู ลย เขาไมไดร บั
ประโยชนอ ะไรจากของดีๆ ทมี่ ีอย”ู (คําสอนขอน้ี เรยี กชอ่ื โดยภาษาบาลวี า สมชีวติ า แปลวา การดํารงชีวิตท่ถี ูกตอง)
พระองคไ ดต รสั เปนคาํ สรปุ ความในตอนทายวา “ทานท่เี ปนฆราวาสทัง้ หลาย น่ีแหละเปนขอ ปฏบิ ัติ 4 ประการ อันนํามาซึ่งความสาํ เรจ็ และ
เปน อยอู ยางผาสกุ ในโลกนใ้ี นเมอื่ ทานปฏบิ ตั ติ าม และตอ จากน้ี เราจกั บอกธรรมอีก 4 ประการ ซ่งึ จะทาํ ใหเกิดผลดีอยางย่งิ ในอนาคต ธรรม 4
ประการนนั้ คอื (1) มคี วามเช่อื วา การทําดจี ะนํามาซงึ่ ผลดี และการทาํ ชว่ั จะนาํ มาซึ่งผลชั่ว (2) ประกอบกรรมดีอยเู สมอ เวนขาดจากการทาํ ชัว่
เชน การฆา การลกั ขโมย การประพฤติผดิ ตอ ของรกั ของบุคคลอื่น การพดู ไมจ ริง และการดื่มนา้ํ เมา (3) การฝก ตนใหเปนคนใจกวา งขวางในการ
เอื้อเฟอ เผอ่ื แผ ถึงกับมีจิตใจผอ งใสไมยดึ ถอื ในทรัพยส มบัติชนิดโลกๆ อยางเหนยี วแนนเกนิ ไป (4) การบาํ เพญ็ ใหเกดิ ปญญาในการทีจ่ ะรูแ ละ
ปฏิบตั ิไปตามทางอันนาํ ใหถ ึงนพิ พาน” (คําสอนท้ัง 4 ขอ นี้ เรียกช่ือตามลาํ ดับวา ศรทั ธา ศีล จาคะ ปญ ญา)
ทัง้ หมดน้ี คือคาํ เทศนา ท่ีพระพทุ ธองคทรงแสดงแกพวกชาวบา น ซึ่งยังเปน ฆราวาส ไมสามารถจะบวชเปน นกั บวช แตการจะปฏบิ ตั เิ พอื่
บรรลถุ ึงความดี ทัง้ ในปจ จุบนั และอนาคต ทกุ คนมคี วามพอใจอยา งสงู สดุ ในคําสง่ั สอนอนั ชดั เจนแจม แจงของพระองค ซ่งึ ไดต รสั แกเขาในคร้ัง
น้นั
ในบรรดาเทศนาท่ียาวที่สดุ ซง่ึ พระพทุ ธองคไดเคยทรงแสดงนั้น มีธรรมเทศนาเร่อื งหน่ึง ซง่ึ ไดตรัสแกพระเจา อชาตสัตรู แหง แควน มคธ หา
ไดม แี ตทตี่ รัสแกคนธรรมดาหรอื แกภิกษุของพระองคเ ทา นนั้ ไม พระเจา อชาตสตั รู ผนู ้เี ปน คนชว่ั คอื เปนผูร า ยฆา คน รับสั่งใหท รมานพระเจาพมิ
พิสาร พระราชบดิ าของพระองคเ องดว ยการใหอดอาหาร จนส้นิ พระชนมอยา งโหดรา ย และไมเ ปนธรรม แลว ขึ้นครองราชยบ ลั ลงั กด วยพระองค
เอง
เร่อื งมวี า ในคืนวนั หนง่ึ เปน วันเพญ็ พระเจา อชาตสัตรูไดประทบั นงั่ อยทู ีเ่ ฉลยี ง ไมท รงทราบวาจะหาความสําราญอยา งไรดี จงึ ตัดสินพระทยั
เสด็จไปเฝาพระพุทธองค ซ่ึงกําลงั ประทับอยใู นสวนมะมว ง ซ่งึ หมอชวี กไดถวายเปนสังฆาราม เมอ่ื พระเจา อชาตสตั รเู สดจ็ ไปถึงที่ทีพ่ ระพทุ ธ
องคป ระทบั กไ็ ดท อดพระเนตรเหน็ พระพุทธองคป ระทบั อยูอยางสงบ ในทา มกลางภิกษุทั้งหลายในโรงอนั เปนท่ีประชุม ไดทรงทาํ ความคุนเคย
ดวยการทักทายปราศรยั กับพระพทุ ธองคพอสมควรแลว ไดทลู ถามพระองคถ งึ ประโยชนหรอื อานิสงสของการบวชเปนภิกษุ
พระเจาอชาตสตั รไู ดทลู ถามวา “ขา แตพ ระผมู พี ระภาคเจา, ผูที่ครองชีวติ อยา งสมณะนน้ั ยอ มไดรับคณุ ประโยชนอ ยางไรบาง หมอ มฉันได
ไตถ ามนกั บวชเจา ลทั ธติ า งๆ เปน อนั มาก ดวยปญหาขอ น้ี แตไ มเ คยไดร บั คําตอบทพ่ี อใจจากผใู ดเลย เขาเหลา น้นั ไดต อบไปเสยี ในทางอนื่ ซงึ่
หมอมฉนั มิไดไตถ าม ทํานองเดยี วกับเมอ่ื ถามเรือ่ งขนุนสาํ มะลอ กลบั ไปตอบเรอื่ งมะมว ง ขาแตพ ระผมู ีพระภาคเจา, หมอมฉนั จกั มคี วามพอใจ
อยางสูงสดุ ถาหากไดฟ งคําตอบแหง ปญหาขอ นีจ้ ากพระผูมีพระภาคเจา”
เมือ่ พระพุทธองคไ ดตรสั พระดํารัส เปน เครื่องทาํ ความสนิทสนมตอพระเจาอชาตสัตรพู อสมควรแลว กไ็ ดต รัสถงึ คณุ ประโยชนอ ันใหญ
หลวงของการครองชวี ติ เปน สมณะอยา งยดื ยาว พระองคไดต รัสไวอ ยา งชัดแจง จนกระท่งั เมือ่ จบลงนั้นพระเจา อชาตสตั รูไดรสู กึ พอพระทยั ใน
คําตอบนัน้ เปนอยา งยง่ิ วาเปนคาํ ตอบทถ่ี กู แท และมคี วามเชือ่ วา เปน การดที ่สี ดุ เหนือความดที ้งั ปวงในโลกนี้ ในการทไี่ ดบวชเปน ภิกษทุ ด่ี ี และ
ปฏบิ ัตติ ามคาํ สอนของศาสนาทีด่ ี เชน พระพุทธองค และยงั ไดทรงทลู ขอรองใหพ ระพทุ ธองคทรงยอมรบั พระองค เปน สาวกจนตลอดชวี ิตดว ย
เม่ือพระเจาอชาตสตั รูเสด็จกลบั แลว พระพุทธองคไดต รัสแกภ กิ ษุทัง้ หลายในทีน่ นั้ วา “ภิกษทุ งั้ หลาย, พระราชาน้ี มีจติ ใจเลอ่ื มใสในขอความท่ี
เรากลา วเปน อยางยง่ิ ถาพระราชาน้ไี มไ ดทาํ กรรมช่ัวราย คอื การทาํ บิดาของตนใหส ้นิ พระชนมแ ลว พระราชานี้ก็จักเหน็ ธรรมะอนั เรากลาวอยาง
แจมแจง ดว ยดวงตาสาํ หรบั เหน็ ธรรม ณ ที่นั่งตรงน้เี อง และจกั สละราชบัลลงั กอ อกบวชเปนภิกษแุ ละเปนพระอรหนั ตอ งคหน่ึง ในธรรมวนิ ยั น้”ี
สูตรทย่ี าวที่สุดซึง่ พระองคไ ดตรสั นี้ มพี ิสดารอยูในคมั ภรี ท ีฆนิกายแหงสุตตันตปฎก เรยี กวา สามัญญผลสตู ร แสดงถึงคณุ ประโยชนแหง การ
ครองชวี ิตเปน นกั บวชไวอยางพสิ ดารทส่ี ดุ ผูปรารถนาจะทราบโดยละเอยี ดอาจอานดไู ดจากสูตรน้นั
ตัวอยางแหง ธรรมเทศนาทีส่ น้ั ที่สุด ทีพ่ ระองคไ ดเ คยตรัสน้นั เชน ธรรมเทศนาเร่อื งน้ี คร้ังหนึง่ มีคนๆ หน่งึ ไดทูลถามพระองคว า การให
อะไรเปนการใหท ีด่ ีที่สุด รสของอะไรเปน รสทด่ี ีทส่ี ดุ ความยนิ ดใี นอะไรเปน ความยินดที ี่ดีทสี่ ดุ อะไรเปน เคร่ืองระงับกิเลสและความทุกขใ ห
สิน้ เชงิ พระพุทธองคไดตรสั ตอบคําถามท้ังสขี่ อ นรี้ วมกันดว ยคําๆ เดยี ววา “ธรรม !”
ผถู ามไดท ูลขอใหพระองคท รงอธิบายใหกระจางขน้ึ อกี เลก็ นอ ย พระองคไดตรสั อธิบายวา “การใหส่งิ ของแมจ ะเปน การกระทาํ ทด่ี กี ็จรงิ แต
ไมสามารถทาํ คนผูไดร บั ใหเดนิ ไปตามทางแหงนพิ พานได ธรรมะเทานนั้ ทจ่ี ะทําคนใหเ ดินไปตามทางแหง นิพพานได เพราะฉะน้นั การทําคนให
รธู รรมะซึง่ ผูทําอาจจะไดร บั ความลําบากบา ง น่ันแหละ เรียกวา การใหธ รรมในท่ีนี้และเปน การใหท ด่ี ที ี่สุดกวา การใหทง้ั หลาย
“เมอ่ื ไดร ูธรรม เม่อื นั้นจติ ใจก็เตม็ ไปดวยความสดช่นื แจมใส เกดิ ความรสู ึกพอใจในรสอันสงู สดุ ของธรรมนน้ั ธรรมนั้นไดทาํ ลายกิเลสรา ย
ตา งๆ ซึ่งทาํ คนใหเปนทุกขน้ันใหห มดไป แลว ทาํ ใหประสพความไมม ที ุกขเ ลย ซึ่งเรียกวา นพิ พานในทสี่ ุด เพราะฉะนัน้ ธรรมะจงึ เปน ส่ิงทม่ี รี ส
ดีเลศิ กวา รสทั้งหลาย และนาํ มาซ่ึงความยินดีท่ยี งิ่ กวา ความยินดที ั้งหลาย และเปน สงิ่ ทีเ่ ลิศทส่ี ุดในโลก ท่สี ามารถทาํ กเิ ลสใหสญู สิน้ ไป พวกทา น
จงประกาศธรรมะน้ันแกคนทั้งหลายเถิด จะไดช่ือวา เปน ผทู าํ การใหท่ีดที ี่สดุ ดีกวาการใหท ้ังหลายแกผ ทู ่ีอยใู นโลกมนษุ ย และผทู ี่อยูในสวรรค”
พทุ ธประวัติ ฉบบั สาํ หรบั ยุวชน
พทุ ธทาสภิกขุ แปลและเรียบเรียงจาก ฉบับภาษาอังกฤษ ของ ภกิ ษุสลี าจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 18 ความกรณุ าของพระพทุ ธองค
ครัง้ หนึ่ง เม่อื พระองคเ สดจ็ จารกิ เท่ียวส่ังสอนประชาชนตามถนิ่ ตางๆ ทรงพกั คา งคืนอยู ณ ทแี่ หง หนึง่ พราหมณช าวนาคนหน่งึ ซง่ึ อาศยั อยู
ในถนิ่ ใกลๆ กันน้นั ไดตั้งใจไวแตก ลางคนื วา รงุ เชาจกั ไปฟงธรรมของพระองค แตโ ชคไมเขา ขางเขา อยา งทเี่ ขานึกไว โดยทพ่ี อวันรงุ ขึน้ ถึงเวลา
ทีเ่ ขาควรจะไปฟง ธรรมน้ัน ปรากฏวาวัวตวั หน่ึงของเขา ไดหายไปเสยี ตั้งแตเวลากลางคืน เขาเปน คนยากจนมาก ไมอาจจะปลอ ยใหห ายเสีย
เชน นัน้ จึงออกจากบา น รีบติดตามววั ไปในปา โดยหวงั วา จักพบไดในเวลาอนั ไมน านแลว กลับมาใหท ันฟงธรรมเทศนาพอดี
แตวัวไดไปไกลเกนิ กวา ที่เขาหวัง แมเ ขาจะไดพยายามติดตามเปนอยา งดแี ลว กวาจะพบได กเ็ ปนเวลาเลยเท่ียงวันไปแลว เขารีบนาํ ววั กลับ
บา นดว ยความเหนอ่ื ยและออ นเพลียเพราะการเทีย่ วว่งิ หาทน่ี ่นั ท่นี ี่ทามกลางแดด ถงึ กระนน้ั เขาก็ไมป ระสงคทีจ่ ะพกั ผอน หรือไปรับประทาน
อาหารเสยี กอ น แลว จึงไปฟง ธรรม เขารีบตรงไปสูทท่ี ่พี ระพุทธองคป ระทับโดยหวังวา อยางนอ ยท่ีสดุ เขาจะไดฟ ง ธรรมเทศนาตอนทายสกั นดิ
หนงึ่ กย็ ังดี แตเ มอ่ื เขาไปถึงทแี่ สดงธรรม กม็ ีความประหลาดใจอยางยง่ิ เพราะวาธรรมเทศนาสาํ หรบั ในวันนั้นยงั ไมไดเ รม่ิ แสดงเลย ในท่แี สดง
ธรรมนั้นพระพทุ ธองคย งั คงประทับอยูนง่ิ ๆ ในทามกลางประชาชนเปนอันมาก เพื่อรอคอยเขาอยดู วยความอดทน เขามคี วามดใี จอยา งสงู สดุ เมอื่
รูสกึ วา เขามาไดทันเวลา และไดคอยๆ คลานเขา ไปอยางเงยี บๆ ทางทา ยทีป่ ระชุม เพื่อหาทน่ี ่งั สักแหงหนง่ึ
แตพอเขาเขา มาทป่ี ระตู พระพุทธองคกไ็ ดทอดพระเนตรเหน็ เขาและไดตรสั ถามวา เขาไดร บั ประทานอะไรมาบา งแลวหรือเปลา ชาวนาผูนั้น
ไดทลู วา เขาเพงิ่ กลบั มาจากการตามวัวต้งั แตเชา และไมไ ดห ยุดหาอะไรรับประทาน เพราะประสงคจะไมใหพ ลาดการฟงธรรม เมื่อไดทรงสดับ
ดังน้ัน พระพุทธองครบั สงั่ ใหอ ปุ ฏฐากผูห น่ึงของพระองคไ ปนาํ อาหารบางอยา งมาใหชาวนาผูน นั้ และไดทรงรอจนกวา เขาจะรับประทานอาหาร
เสรจ็
ฝายชาวนานนั้ เมื่อรํางับความหิวและความกระหายแลว ไดเขา มาเฝา อยูใ กลๆ พระพุทธองค พระองคไ ดทรงเริม่ การแสดงธรรม เขาจงึ ได
ทราบ ณ บดั นน้ั เองวาพระพทุ ธองคไดท รงทราบวาระนํา้ ใจของเขาวา เขาตอ งการฟงธรรม และไดท รงนง่ั รอคอยเขาอยทู า มกลางทปี่ ระชุมพรอม
ดวยคนเปน อนั มาก จนกระทั้งเขากลบั มา พวกชาวบานและภิกษเุ ปน อันมากพากันเห็นวาเปน ของแปลกประหลาดอยา งย่ิง และไมเ หมาะสมอยา ง
ย่งิ ท่พี ระพทุ ธองคไ มท รงเอาใจใสในเร่อื งอาหารของคนเพยี งคนเดยี ว ท้ังเปนเพียงฆราวาสไมใ ชภ ิกษุ มิหนาํ ซํ้ายงั เปนพราหมณ ไมใ ชสาวกของ
พระองคมากอนเลย แตพระกรณุ าและความตั้งพระทยั ของพระองค ซง่ึ มีตอพราหมณน ้ันไดเ ปน ผลดีย่งิ หวั ใจของพราหมณน น้ั เตม็ ตน้ื ไปดว ยค
วาเผ่ือแผข องพระองค และเม่อื จบธรรมเทศนาแลว เขาก็ไดกลายเปนสาวกของพระองคจ นตลอดชวี ิต
ในคราวอ่นื อกี พระองคไ ดท รงแสดงความกรุณาตอชาวบานตามธรรมดาซ่งึ เปนเพียงเดก็ หญงิ คนหนง่ึ ในเมอื งซงึ่ พระองคก ําลงั ประทบั อยใู น
ขณะน้นั มชี า งทอผาคนหน่ึงอาศัยเลยี้ งชีพอยดู วยกนั สองคนกับบุตรสาว มบี ตุ รสาวเปนผชู ว ยทาํ งาน เดก็ หญงิ ผนู มี้ ีความปรารถนาที่จะฟง ธรรม
เทศนาของพระองคเ ปน อยา งยง่ิ แตใ นวันที่พระองคจะทรงแสดงธรรมเทศนาน้ัน เผอญิ มีงานทอ ผา ดว น ทเี่ ขากบั บดิ าจะตองทําใหเ สรจ็ ทันในวัน
น้ัน ดังนน้ั เด็กหญงิ ผนู ั้นจึงไดต ัง้ ใจ ท่จี ะรีบทํางานสว นของตนใหแ ลว เสร็จกอนเวลา จนมีเวลาเหลือสาํ หรบั การไปฟงธรรมเทศนาดวย เม่ือเขาได
รบี ทาํ งานสว นท่เี ปนหนาที่ของเขา คือมว นดายที่กรอนน้ั เสร็จแลว กต็ ั้งใจจะไปสงใหแ กบ ดิ าทีโ่ รงทองผา อกี แหงหน่ึง แตในระหวางทางท่เี ดนิ
ไปน้นั ยังไมถงึ โรงทองผา เขาไดผา นทีซ่ ง่ึ หมชู นกําลังนง่ั ฟงธรรมเทศนาของพระองคอยู
เดก็ หญิงผนู ั้นไดว างหลอดดายลงและนงั่ อยแู ถวหลังสดุ ของหมคู นท่นี ง่ั ฟง แตพ ระพุทธองคท รงเห็นวา เด็กหญิงคนนพี้ รอ มทจ่ี ะเขา ใจธรรมะ
และปฏิบัติตามธรรมของพระองค จึงรบั สงั่ ใหเ ขาไปนัง่ ใกลก วาน้ัน เพอ่ื จะไดน ่งั ฟงถนดั ไมผดิ พลาด เด็กหญงิ นัน้ ไดเขาไปใกลพ ระองค พระองค
ทรงทักทายเพื่อใหเ กดิ ความดใี จโดยตรสั ถามวา เขามาจากไหนและกาํ ลงั จะไปขางไหน แตเ ดก็ หญิงนนั้ ท้งั ๆ ท่ที ราบดีอยู วา ตนมาจากไหนและ
จะไปท่ไี หนก็ตาม ไดทลู วา “พระผมู พี ระภาคเจา ดฉิ ันไมท ราบวาดฉิ ันมาจากไหน และไมท ราบวา จะไปสทู ไ่ี หน”
เมอ่ื ประชาชนทนี่ ่ังฟงอยู ณ ที่นน้ั ไดฟ งคําตอบอนั แปลกประหลาดท่ีเดก็ หญงิ นั้นกลา หาญทูลตอบแดพระพทุ ธองคไปเชน น้นั ก็พากนั ขัด
เคืองเปนอันมาก เพราะคนเหลา นั้น คดิ วาเด็กหญงิ น้นั พดู เลน ตลกกบั พระพทุ ธองค ซง่ึ เปน บุคคลสงู สดุ และไดพากนั กระซิบกระซาบกันบาง พูด
กนั บางถงึ เร่ืองท่ีจะครา เด็กหญิงคนน้ีใหอ อกไปเสยี จากทป่ี ระชมุ เพราะการกระทําทไ่ี มงดงามนนั้ แตพ ระพทุ ธองคทรงทราบถึงความคดิ ของ
เด็กหญงิ ผนู ้ไี ดดี ในการทไ่ี ดก ลาวคําตอบอันประหลาดเชน น้ันกับพระองค จึงไดท รงหา มประชาชนเหลาน้ันใหน่ิง แลว พระองคท รงเหลียวไป
ตรัสแกเดก็ หญงิ นั้นเพอ่ื ใหอ ธบิ ายถงึ ความหมายของคําที่กลาวเชน นั้น
เดก็ หญิงนนั้ ไดท ูลวา “ดฉิ นั ทราบดีวา ดิฉนั มาจากบา นและกาํ ลังจะไปสโู รงทอผา ท่ีพอ กําลังทอผา อยู แตขอ ที่ดฉิ ันมาสูภพน้ี จากภพไหนนน้ั
ดฉิ นั ไมท ราบเลย และทงั้ ดฉิ นั ไมแ นใ จวา ภพเบือ้ งหนา ของดิฉันน้ัน จะเปน อยา งไร ดฉิ ันไมทราบส่ิงทง้ั สองนีจ้ ริงๆ แมแ ตอ ยา งใดอยา งหน่ึงพระ
เจา ขา ”
พระพุทธองคแ ละประชาชนทุกคนในทนี่ นั้ ไดรสู ึกนิยมชมช่ืน ในสติปญญาและความคิดของเดก็ หญงิ ผนู ี้ ตอ จากนน้ั พระองคไดท รงแสดง
ธรรมเม่ือจบลง เดก็ หญิงผซู ่ึงไดต ัง้ อกตั้งใจฟง แตตนจนตลอดผนู ้ี ไดบ รรลุธรรมลําดบั แรกของการลุถงึ นิพพาน คือธรรมขนั้ ทเ่ี รียกวา โสดาบนั
หมายความวาไดเ ขา ถงึ กระแสทางแหงนิพพานอยางแนวแน ไมม ีการเวียนกลับอกี ตอ ไปจนกวาจะลถุ ึงนพิ พานนั้น
ในคราวหนึง่ เมื่อพระพุทธองคเ สด็จไปตามทางในปา ลึก พระองคไ ดทรงพบเนือ้ ตวั หน่ึง ตดิ บวงของนายพรานดิน้ กระวนกระวายอยู พระ
พุทธองคไ ดเสดจ็ ตรงไปแกบวงปลอ ยสตั วน้นั ใหหลดุ รอดไป ในทันที แลวไดป ระทับน่ังอยู ณ โคนตนไมแหง หนึ่งใกลๆ ทีน่ นั้ เอง ในระหวาง
น้นั พรานผูนั้นไดม าทบ่ี ว งของเขา เขาเหลือบตาดดู วยความชํานาญเพียงแวบเดียว กร็ ไู ดท ันทีวา เนื้อติดบวงแลว แตม ีคนมาแกป ลอ ยมนั ไป เม่ือ
เขาไดเหลยี วดูรอบๆ เพื่อมองหาตัวบคุ คลที่ทําเชน น้นั กไ็ ดเหลยี วไปพบนกั บวชครองผาเหลืององคห นง่ึ ซึง่ นงั่ อยทู ีโ่ คนตนไมใ กลๆ สถานทีน่ นั้
เขาทราบไดท ันทีวา ตองเปนบคุ คลผนู เ้ี องทท่ี าํ ใหเขาตอ งสงู เสยี เน้อื ทเี่ ขาควรจะไดไ ปตัวหน่ึง เขาบน ดวยความโกรธวา “มากเกนิ ไปเสียแลวพวก
นักบญุ เหลานี้! เลนสกปรกไปเสยี ทกุ หนทกุ แหง ! เที่ยวทาํ ลายผลประโยชนของคนอ่นื เพื่อบญุ กศุ ลของตนอยา งไมเ ขา เรอื่ ง” กลาวดงั นัน้ แลว
เขาไดย กคันศรข้ึนดว ยความโกรธ หยิบลกู ศรเก่ียวสายแลวเล็งตรงไปยงั พระพทุ ธองค ซึง่ ขณะนกี้ ําลงั ประทบั นง่ั สงบนงิ่ อยู แลวกล็ งมอื ยิงพลาง
พูดวา “อยา งนีแ้ ลว ไมตองเสยี ลูกศรมากกวาดอกเดยี วดอก”
แตใ นขณะท่เี ขาเลง็ ลกู ศรตรงไปยังสมณะผนู งั่ สงบนงิ่ อยูอยางประหลาดนั้น ปรากฏวามอื ของเขาส่นั ดงั น้ันลกู ศรท่ีเขายิงไป จงึ พลาดท่ีหมาย
ต้ังแตเ ปนพรานมาในชวี ิตเขาไมเ คยยิงอะไรผิดในระยะใกลเ ชน นี้ เขาจงึ โกรธตวั เองหนักขน้ึ เขาหยิบลูกศรมาอีกดอกหนง่ึ แลว ยงิ ไปใหม ก็
พลาดอกี เขายิ่งประหลาดใจในการที่ความแมน ยําของเขามาสญู ส้นิ ไปอยางกะทนั หันเชนนี้แตก ไ็ ดฝน ยงิ ไปอีกดอกหน่ึงเปน ดอกสดุ ทาย ซ่งึ ก็
พลาดท่ีหมายอีกอยา งเดยี วกัน ในขณะนนั้ ความรสู ึกซ่ึงยง่ิ ไปกวา ความกลวั ไดเกดิ ข้ึนในใจของเขาจนคันศรและลกู ศรตกจากมือ เขาไดหมอบ
คลานไปสูทท่ี พ่ี ระพุทธองคป ระทบั นงั่ อยู แลวทลู ถามวา “พระองคเ ปนใคร ”
พระองคไดตรสั ตอบเขาและทรงอธิบายใหเขาทราบถงึ ความชัว่ ในการทาํ ลายชีวิต ซ่ึงเปน การงา ยท่ีจะทาํ ลาย แตเ ปน การยากยิ่งในการที่จะทํา
ใหกลบั คนื มาหลงั จากทีถ่ ูกทําลายไปแลว พรานผนู ั้นไดฟ ง คาํ ตรสั ของพระองคแ ลว มคี วามจบั ใจดวยถอ ยคําของพระองค และกริ ิยาอาการของ
พระองคในการตรัสถอยคาํ เหลา น้ันเปน อนั มาก จนถึงกับไดท ําสญั ญากับพระองควา นบั แตว ันนั้นไปเขาจักไมท ําลายชวี ติ สตั วใดๆ อกี เลย และ
จะเล้ียงชีวิตอยดู ว ยการกระทําทไ่ี มเ บียดเบยี นสัตวอน่ื ๆ ตามทพ่ี ระองคทรงของรอง
บุคคลอีกคนหน่ึง ซ่งึ ทําการลา งผลาญชีวติ และกลบั ตัวไดโดยคาํ แนะนาํ ของพระองคน ้ัน มชี ่อื วา องคุลีมาล เขาเปนคนฆา คนดวยกนั และเขา
มชี อ่ื วาองคลุ มี าล ซง่ึ แปลวา “มาลัยแหงนิว้ มอื ” กเ็ พราะวาเขาไดฆ ามนุษยแ ลวตดั น้วิ มือมารอ ยเปน พวงแขวนคอไวร อบๆ คอของเขาถงึ 99 คน
แลว ในคราวนี้ เขาคอยอยูข า งทาง เพอื่ ฆา คนทคี่ รบรอย เพือ่ ใหพวงมาลัยของเขาเพม่ิ จาก 99* น้ิวเปน 100 น้วิ บรบิ ูรณ เรือ่ งบงั เอิญวาพระพุทธ
องคไดเสด็จผานมาตามถนนท่เี ขาคอยอยูพ อดี องคลุ มี าลไมเขาใจวา พระองคเ ปนพระสัมมาสัมพุทธเจา หรือเปนอะไร เขาตองการแตจะให
พวงมาลยั นิว้ มอื ของเขาครบ 100 นว้ิ เทานนั้
องคุลีมาลกเ็ หมือนกับนายพรานทีก่ ลาวแลว เขากพ็ ยายามทีจ่ ะเขา ถงึ องคพ ระพทุ ธเจา เพอื่ ทาํ ลายชวี ิตพระองคถ ึง 3 คร้งั 3 หน แตกไ็ มป ระสพ
ความสําเรจ็ ทกุ คร้ังไป เขาจึงรสู กึ ประหลาดใจและคร่นั ครา มเปนอันมาก ไดเ ขา ไปหาพระองคด ว ยความเคารพ และทลู ถามวาพระองคเปน ใคร
พระองคไ ดตรสั ตอบเขาโดยไมไดพ าดพงิ ถึงการท่ีเขาพยายามทีจ่ ะทาํ ลายชวี ติ พระองคแมแตคาํ เดียว แตไดตรัสอธิบายธรรมใหแ กเขาอยางลึกซงึ้
เขาไดฟ ง ธรรมจากพระพทุ ธโอษฐโ ดยตรงเชน นนั้ กส็ าํ นึกในความผิด ละการกระทาํ อนั ชว่ั รายเสยี และไดบวชเปน ภกิ ษุ ครนั้ บวชแลว ไดพยายาม
ปฏิบัตธิ รรมจนลุถึงความเปนพระอรหันต
แมกระน้นั ทา นผนู ก้ี ย็ ังมิไดพ นไปจากผลกรรมท่ีกระทําไวแ ตก าลกอน เม่ือทานเขา ไปบณิ ฑบาตในนครสาวัตถี คนเปนอันมากไดขวา งปา
ทานดว ยไมค อนกอ นดนิ จนไดรบั ความเจบ็ ปวดสาหสั และบาตรแตกกระจายทกุ ครงั้ ทกุ คราวทกุ หนทกุ แหงที่ทานไป แตท านก็มไิ ดโ ศกเศรา
หรือนอยใจในเหตุการณท ่เี กิดขนึ้ เชน น้นั และมไิ ดโ กรธเคืองบคุ คลซึง่ ขวา งปาทา น ทานทราบดวี า มนั เปน ผลของกรรมเกา และมนั เปนการดีมาก
แลวในการท่ีไดร บั ผลกรรมทใี่ หเสรจ็ ส้ินไปเสีย แทนทจี่ ะใหต ดิ คางกันอยไู มร ูสิ้นสุด ดงั นั้นทา นองคุลมี าล จงึ ดับขันธดว ยความสงบ และลถุ งึ
นพิ พาน
พุทธประวตั ิ ฉบบั สําหรับยวุ ชน
พทุ ธทาสภิกขุ แปลและเรยี บเรียงจาก ฉบับภาษาองั กฤษ ของ ภิกษุสลี าจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนที่ 19 เทวทตั
พระพุทธองคท รงมสี าวกองคหน่ึงซึง่ เปน ที่พอพระทยั ของพระองคเปนอยางยง่ิ และในทํานองเดยี วกัน สาวกองคน นั้ กม็ คี วามเคารพและมี
ความรักใครพระองคอ ยางสงู สดุ สาวกผนู ้มี ีนามวา “อานนท” ซง่ึ เปนญาติลูกเรียงพี่เรียงนองของพระองค เมอ่ื พระพทุ ธองคท รงมีพระชนมายุ
54 พรรษา และเริ่มทรงรูสกึ ถงึ ความชรา ซงึ่ ทาํ ใหตองมีผูช วยเหลือพระองคบ างอยา ง จงึ ไดท รงเลอื กพระอานนทเปน ผูอปุ ฏ ฐากประจาํ
พระองคเ ปน พเิ ศษ พระองคท รงตดิ ตอ กบั ภิกษุทงั้ หลายผา นทางพระอานนท โดยพระอานนทเปน ผูนาํ กระแสพระดํารสั ไปบอกกลา วแกภ กิ ษุ
เหลา นนั้ ภิกษทุ ง้ั หลายก็เชนเดยี วกนั เม่อื มีกจิ ธุระเน่อื งดว ยการกราบทูลพระพทุ ธองค ยอ มจะเขาไปหาพระอานนทใหชวยกราบทลู แทน แมก าร
กราบทูลขอพระอนญุ าตหรอื โอกาสบางอยา งบางประการ ภิกษุท้งั หลายก็พอใจทจี่ ะติดตอกับพระอานนท แทนท่จี ะเขาไปเฝาพระองคโ ดยตรง
พระพุทธองคย ังมีลกู เรยี งพี่เรียงนองของพระองคมาบวชเปนภกิ ษุซ่ึงมาอยกู บั พระองค และมีอะไรๆ ท่ีประพฤตแิ ละกระทําตอ พระองค
ทกุ ๆ อยางตรงกนั ขามจากพระอานนท แทนทจ่ี ะยนิ ดีรับใชป รนนิบัตแิ ละเชอ่ื ฟง พระองค กลับเปน ผูม ีความคิดริษยา และแขงดตี อพระองค และ
พยายามทาํ ลายหมสู งฆข องพระองคดว ย
ลกู เรยี งพเี่ รยี งนอ งผมู ุง รา ยตอพระองคผนู ้ี มีนามวา เทวทัต ทา นผูน ้ีหยงิ่ และไวต ัววา มเี ชอื้ กษตั รยิ ในสายเลอื ด เพราะเกดิ ในตระกูลกษัตริย
ศากยวงศดว ยเหมือนกนั ดังน้ันเมือ่ พระสารบี ตุ รและพระโมคคลั ลานะไดเ ขามาบวชเปน ภกิ ษุ ไดร บั การยกยองนับถือจากภกิ ษทุ ัว่ ไป ในฐานะ
เปนอคั รสาวกท่พี ระพุทธองคโปรดปราน พระเถระท้งั สองซง่ึ มิใชเ ปนเชอ้ื กษตั รยิ แ ละมไิ ดเ ปน พระญาติ พระเทวทตั จงึ หลบไปจากหมูภกิ ษุ ตรง
ไปยังนครราชคฤหเ พ่ือแสวงหาความเปนมิตรกับเจาชายอชาตสัตรู ผเู ปนโอรสของพระเจาพมิ พสิ าร และเปนองคร ัชทายาทแหงราชบลั ลงั กอยู
ในขณะนั้น เมือ่ ไปถึงนครราชคฤหแลว ไดแสดงกิริยาอาการความรูบางอยา งเปน ที่สนใจของเจา ชายอชาตสตั รู จนมคี วามรกั ใครนบั ถอื เปน
อยางยงิ่ และมีความพอพระทัยในพระเทวทัต จนถงึ กับไดส รางวหิ ารอนั สวยงามข้ึนแหง หนงึ่ ใกลๆ นครราชคฤห ถวายใหเปน ทอ่ี ยอู าศยั ของ
พระเทวทตั โดยเฉพาะ และเปน ผูอ ปุ ฏ ฐากโดยใกลช ดิ ตลอดมา
เวลาไดลว งไปหลายป จนกระทัง่ พระพุทธองคไดเ สดจ็ ไปสนู ครราชคฤหอีก พระเทวทัตไดเ ขาไปเฝาพระพทุ ธองค และทูลขออนุญาตทจี่ ะ
จัดคณะสงฆใ หม มีพระเทวทัตเองเปน ประมุข พระพทุ ธองคก็ไดทรงปฏเิ สธคําขอของพระเทวทัต และทรงอธิบายวา การแยกสงฆเปนฝกฝา ย
นัน้ ไมน าํ มาซ่งึ ผลดี แตพ ระเทวทตั เชือ่ มั่นในความคดิ ของทา นเองอยางรนุ แรง ไดทลู ขอแลวขออกี อยูรา่ํ ไป พระพทุ ธองคไดทรงปฏเิ สธทกุ ครั้ง
เชน เดยี วกนั บดั นคี้ วามริษยาและความแขงดีของพระเทวทัตไดเ พิม่ ขน้ึ จนกลายเปน การจองเวรตอ พระพทุ ธองค พระเทวทตั ไดปก ใจทจ่ี ะตงั้
คณะสงฆข ึน้ ใหมเปน ของทานเอง โดยทพ่ี ระพทุ ธองคจะทรงรบั รองหรอื ไมก ็ตาม ความคิดขอนไ้ี ดรับการสนบั สนุนจากเจาชายอชาตสัตรูอยา ง
เต็มที่ สวนพระเจา พมิ พสิ ารพระบดิ าของเจาชายน้ัน ทรงปฏิเสธในความรว มมอื ในการตงั้ คณะสงฆใหมโ ดยเด็ดขาด และยงั คงเปน ฝก ฝายของ
พระพทุ ธองคโดยแนน แฟน
พระเทวทัตไดห าวธิ ที าํ ใหเ จาชายอชาตสัตรหู ลงรกั และเลือ่ มใสโดยประการตางๆ จนถึงกับยอมทาํ ตามความประสงคท ุกประการ เม่อื พระ
เทวทตั เห็นวาทา นเองสามารถทาํ ใหเจา ชายอชาตสัตรูมีความเช่ือถอื แนนแฟน ถงึ เพียงนั้นแลว ก็ไดแ นะนาํ ใหเ จาชายอชาตสตั รกู ําจัดพระบิดาของ
พระองคออกไปเสยี นอกทาง เพื่อยกพระองคเองขน้ึ เปนพระราชาแหงแควนมคธ จะทําอะไรไดต ามพอใจโดยไมมใี ครขัดขวาง และสามารถชวย
พระเทวทัต ในการตง้ั คณะสงฆใ หมไ ดโ ดยสะดวก เจาชายอชาตสตั รูไดท าํ ตามคําแนะนําของพระเทวทัต แตไ มถ ึงกับใชดาบหรอื ลูกศร เพราะ
ยังหวาดกลัวตอ การทาํ โลหติ ใหไ หลออกจากกายของบุคคลผเู ปน บิดา แตถึงกระน้ันกไ็ ดท าํ การปลงพระชนมพระบิดาของพระองค ดว ยวธิ อี ัน
ทารุณและโหดรา ย โดยรับสั่งใหจ บั พระบดิ าของพระองคข งั ไวในคกุ และเวน จากการใหอ าหารจนกระท่งั ส้นิ พระชนมไปเพราะขาดอาหาร ซงึ่
แมพ ระชนนขี องพระองคไ ดพยายามทาํ ความชว ยเหลอื อยา งไรกไ็ มเปน ผลสาํ เร็จ เหตกุ ารณไดเ กิดขึน้ ในปที่ 37 นบั แตการตรสั รขู องพระพทุ ธ
องค ซ่ึงเจาชายอชาตสัตรไู ดประกอบกรรมอันชวั่ รายยดึ พระราชบัลลังกแหงแควน มคธ เปน กษตั ริยแ ทนพระบิดาของพระองค ซง่ึ พระองคเ ปน
ผกู ระทําการทรมานจนสิ้นพระชนมไปเอง ดังกลา วแลว
บดั นี้พระเทวทตั มกี าํ ลังครบถว นตามทที่ า นตองการ กษัตริยอ งคใหมเปนทัง้ มิตรและทง้ั ผอู ปุ ถัมภ ทีย่ อมพลีทกุ ๆ อยา ง และพรอมที่จะทาํ
ตามคาํ ขอรองของทา นทุกวถิ ที าง ดงั น้นั พระเทวทตั ไดข อรอ งใหพระเจา อชาติสัตรูจัดหาคนแมนศรมาจํานวนหน่งึ จา ยรางวัลใหเ ปน อยา งสงู
และบอกใหไ ปยงั ท่ที ี่พระพทุ ธองคป ระทับอยู และใหยงิ พระพุทธองคใหถึงพระชนมชีพ เมือ่ คนรับจา งเหลา นัน้ ไดไปถึงที่ทพ่ี ระพทุ ธองค
ประทับ ไดเ ห็นพระองคทรงมีพระกิริยาอาการสงบราํ งบั ออนโยน สงา ผา เผยนาเกรงขาม กก็ ลายเปน ผไู มส ามารถทาํ สง่ิ ซึง่ ตนต้งั ใจจะมาทาํ
ข้นึ มาเสยี เฉยๆ ทง้ั ทตี่ นไดร บั คาจา งลวงหนาแลว คนเหลา น้ันรูสกึ จบั ใจ ในพระพทุ ธลักษณะอยา งสงู สุดมีจติ ใจเคารพบูชาพระองคโดยสิ้นเชิง
ดงั นั้นแทนทีเ่ ขาจะปลอยลกู ศรของเขาไปยังพระพุทธองค เขาไดพากนั ไปเฝา พระพุทธองค หมอบกายลงแทบฝา พระบาท แสดงความเคารพ
สกั การะอยา งสงู สดุ พระพทุ ธองคไดท รงปราศรยั แกเขา ช่วั เวลาเลก็ นอ ย เขากพ็ ากันสารภาพในสงิ่ ทเี่ ขารับจางมากระทาํ และไดท ลู ขอให
พระองคทรงยกโทษ ในความหลงผิดของเขา พระพุทธองคไ ดประทานอภยั โทษโดยส้ินเชิงในทนั ที คนเหลา นั้นพากนั ปฏิญาณเปน สาวกของ
พระองคจนตลอดชวี ติ
เมือ่ พระเทวทตั ไดท ราบวา บรรดาคนทีถ่ ูกสง ไป เพอื่ ปลงพระชนมช ีพพระพุทธองคเหลานั้น แทนทจ่ี ะปลงพระชนมช พี พระพทุ ธองคตาม
คําสง่ั กลับกลายไปเปนสาวกของพระพทุ ธองคเสยี เฉยๆ เชน นน้ั กเ็ ดอื ดดาลดว ยความโกรธและตง้ั ใจวาจะไมส ง ผใู ดไปอกี แลว แตจักไป
ประกอบการกระทําน้ันดว ยมือของตนเอง
มภี เู ขาอยูล กู หนึง่ ใกลๆ กบั ท่ีประทบั ของพระพุทธองค และพระพทุ ธองคเคยเสดจ็ ดาํ เนนิ ไปมาตามหนทางที่เชิงเขาน้นั เย็นวนั หนงึ่ เม่ือ
พระพุทธองคก ําลังทรงดําเนินอยบู นทางนัน้ พระเทวทตั ซงึ่ คอยจอ งหาโอกาสเพ่ือจะปลงพระชนมชีพของพระพทุ ธองคอ ยทู ุกขณะ ไดแอบซอน
อยูบนภูเขาน้ันตรงกับทางเดนิ สายนัน้ ซ่ึงมศี ิลากอนใหญอยกู อ นหนึง่ พระเทวทตั ไดง ดั ศลิ ากอนนัน้ ข้นึ จากพ้ืน เตรยี มพรอ มไวเ พอื่ รอเวลา
จนกระทง่ั พระพุทธองคเ สดจ็ มาถึงทน่ี ั่นพอดี จึงไดผ ลักกอ นศลิ ากอ นนัน้ โดยแรง ใหม นั หลนลงมาบดทับพระพุทธองคตรงเชิงเขาน้นั แตเ ม่ือ
ศลิ านั้นหลนลงมายงั พระพุทธองค มันไดบ งั เอิญกระทบศลิ ากอ นใหญอกี กอนหน่ึง ดังน้ันแทนท่มี ันจะตกลงไปยังพระเศยี รของพระผมู พี ระภาค
เจา มนั ไดแตกกระจายออกเปน กอ นเลก็ กอนนอยเสยี กอ น สะเกด็ มีคมอนั หนงึ่ ไดกระเด็นถูกพระบาท ทาํ ใหพ ระองคเสด็จดําเนนิ ไมไดช ว่ั ขณะ
แตม ันมิไดกระทําอันตรายรา ยแรงอยางไร พระองคจ งึ เสดจ็ ดาํ เนินไปสูพระวหิ ารได และไดร บั การรักษาพยาบาลจากหมอท่ีเชีย่ วชาญทีส่ ดุ มี
นามวา ชีวก เขาไดใ สยาและพนั แผลดว ยความเชีย่ วชาญ พระบาทของพระองคกห็ ายเปน ปรกติในวันตอ มา พระเทวทัตไดประสพความพายแพ
ในแผนการอันชั่วรายของทา นเองอกี ครัง้ หน่ึง โดยอาการดังนี้
แตพ ระเทวทตั ยังไมยอมเลกิ ความพยายามทจ่ี ะปลงพระชนมชพี ของพระบรมศาสดา ทา นไดทําความพยายามอยา งอืน่ ตอ ไปอีก เพื่อจะปลง
พระชนมช พี ของพระพุทธองค ใหต นเองไดเปน หวั หนา แหงหมูภ กิ ษุ ทา นมคี วามมุง หมายวา พอพระพทุ ธองคส ิ้นพระชนมลงไปเทาน้ัน ทานก็
จักไดเปนผูป กครองหมสู งฆโ ดยไมตอ งสงสัย ในครัง้ นที้ า นไดว างแผนการใหเปน ไปในทาํ นองทว่ี า พอพระพทุ ธองคเสดจ็ ออกบิณฑบาตตาม
ถนนในนครราชคฤหใ นเวลาเชา จะปลอ ยชา งตกมนั ตัวหนึง่ ออกมาตามถนนสายน้นั ในขณะนน้ั ใหช างตวั น้นั ทําอันตรายพระพุทธองคจ นถงึ
พระชนมชีพ แตพ อทาํ เขาดงั นั้นจรงิ ชา งตวั นัน้ หาไดก ระทาํ ตามท่ีพระเทวทัตมุงหมายไม มนั กลบั ยนื น่ิงอยางเงอ่ื งหงอย ปลอ ยใหพระพุทธองค
เสด็จไปโดยสะดวก นน่ี บั วา เปนครงั้ ที่ 3 ที่ความพยายามอนั ช่ัวรายของพระเทวทตั ไดป ระสพความพา ยแพลงไปอกี
ตกมาถงึ ตอนน้ี พระเทวทตั ไดล ม เลิกความคดิ ทีจ่ ะปลงพระชนมช พี พระพทุ ธองค เน่ืองจากประสพความลม เหลวมาแลว ถึง 3 คร้ัง แตก ย็ ัง
มคี วามคิดทจี่ ะทาํ ลายคณะสงฆของพระพทุ ธองคอยูน นั่ เอง พระเทวทัตไดไ ปเฝา พระพุทธองคท าํ การราวกะวา เหตุรายสง่ิ ใดไมไ ดเกิดขน้ึ ได
กราบทูลพระพทุ ธองคว าทานมีความเหน็ วา คณะสงฆมกี ารปฏิบัตยิ งั ไมเครงครัดเพยี งพอ ทา นเองเห็นวาจะเปน ผลดีกวา ท่เี ปน อยูใ นบดั น้ีมาก ถา
หากวาภกิ ษุท้ังหลายพากันปฏบิ ตั อิ ยา งเครงครัดในการเปนอยู เหมอื นดังนักบวชนิกายอื่นบางนกิ าย เพราะวาประชาชนพากันเห็นวาภิกษขุ อง
พระพุทธองคเ ปน อยอู ยา งสะดวกสบายมากเกนิ ไป ในเมือ่ เปรียบกบั นักบวชนิกายอ่ืน
พระเทวทตั ไดท ลู เสนอความคดิ ของทานแดพระพทุ ธองคว า ขอใหพระพทุ ธองคจ งทรงบัญญัติวนิ ยั อนั เครงครัด คือต้งั แตบัดน้เี ปน ตนไป
อยาใหภ กิ ษทุ ั้งหลายอาศยั อยภู ายใตห ลังคาเครื่องมงุ เครื่องบงั ใดๆ แตจะอาศัยอยูต ามโคนตน ไมห รอื ตามปา หรืออยกู ลางแจง ซึ่งปราศจากเครอ่ื ง
มงุ เครอื่ งบัง โดยประการท้ังปวง พระเทวทัตยงั ไดทูลขอใหพ ระพุทธองคบ งั คบั อยาใหภกิ ษทุ ้งั หลายรบั อาหารทมี่ ีบคุ คลจัดขึน้ เฉพาะ และนาํ มา
ถวายจนถึงทอ่ี ยู ใหย นิ ดแี ตใ นอาหารที่ไดจากการบิณฑบาตตามปรกตแิ ตอยางเดยี ว ไมรบั เอาอาหารอน่ื นอกจากน้ี และอยา ใหภกิ ษุท้งั หลายใช
จีวรเนอื้ ดี และทําสาํ เรจ็ รปู มาเปนอยางดี ดงั ที่ประชาชนนาํ มาถวายอยเู นอื งๆ แตใ ชจีวรทีป่ ระกอบข้ึนเองจากผา หรือเศษผาทีร่ วบรวมมาจากกอง
ขยะมลู ฝอยหรอื จากปา ชา และขอ สดุ ทายไดท ูลขอใหพระพทุ ธองคท รงบัญญตั ิขอ หา มไมใหภ กิ ษุทง้ั หลายฉันเนอื้ หรือปลาแมช นดิ ใดชนิดหนึง่
แตใหเปน อยูดวยอาหารที่เกดิ จากพชื พระเทวทตั ไดท ูลขอใหพ ระพุทธองคท รงบัญญตั ิส่งิ เหลา น้ีข้ึนเปน ขอ กฎอนั เดด็ ขาดสาํ หรับภิกษสุ งฆ หาก
ใครไมปฏบิ ัติตามก็ตองออกจากหมคู ณะไป
พระพุทธองคไ ดทรงปฏเิ สธคําขอรอ งของพระเทวทัตอยา งเปด เผย พระองคไดตรัสวา ถา ภิกษใุ ดปรารถนาจะอยโู คนไม หรอื ทแี่ จง เปนนจิ
กใ็ หทาํ ได แตถ า ผใู ดไมปรารถนา กอ็ าศยั อยใู นเสนาสนะอนั สมควรที่มผี ูจัดถวายได ในเรอ่ื งอ่ืนๆ พระองคไดต รสั มหี ลักเกณฑอยางเดียวกนั คอื
ถา ภิกษใุ ดปรารถนาจะฉันแตอ าหาร ซ่ึงไดม าจากการบณิ ฑบาตอยางเดยี ว หรอื ใชแตจ ีวรท่ีทาํ ข้ึนเองจากเศษผา อันรวบรวมจากกองขยะหรือปา
ชา อยางเดยี ว หรอื จักไมฉ ันอาหารเนอ้ื อาหารปลา ฉันแตอาหารพืชอยา งเดียว ตามความประสงคข องตนก็ทาํ ได แตถาผใู ดไมปรารถนาจะปฏิบัติ
เชนนั้น ก็ไมต องปฏบิ ตั กิ ไ็ ด ในท่สี ุดพระพุทธองคไดตรัสเตอื นพระเทวทัตวา พระเทวทตั อยางพงึ พยายามกระทําใหผดิ แบบแผน อันจะเปนทาง
ใหคณะสงฆแตกแยกกันตอ ไปอีกเลย มิฉะนัน้ จะเกดิ ผลรายขนึ้ แกพ ระเทวทตั เอง
แตพ ระเทวทัตไมส นใจตอคาํ ตักเตือนของพระพทุ ธองค ไดก ลบั ไปดวยความโกรธแคน พระเทวทตั ยังไดพ ยายามชี้แจงใหพระอานนเ ห็นดี
ดวย ในขอทภี่ ิกษสุ งฆควรจะมขี อ บังคบั อันเครงครดั ดังกลาวแลว แตพ ระอานนทไดป ฏเิ สธในความคิดเห็นของพระเทวทัต และมีขอคิดเห็นเปน
ฝายพระพุทธองคไ ปตามเดิมทกุ ประการ
พระเทวทตั ไดเ ดนิ ทางไปยงั ชนบทบา นนอก อันเปน ทีซ่ ่ึงภิกษุในถนิ่ นัน้ ไมไ ดเขา มาเฝาพระพทุ ธองคเ ปน เวลานาน และไมท ราบเรอื่ งราว
ใดๆ ในท่นี ัน้ พระเทวทัตไดประสพความสําเร็จ ในการชักชวนภกิ ษุจํานวนหน่ึงใหม คี วามเช่ือและเล่ือมใสในขอกฎอนั ใหมข องทา น และพากัน
ตั้งเปน หมคู ณะขึ้นใหมมพี ระเทวทตั เปนหัวหนา หมู พระพุทธองคไดท รงทราบเร่อื งน้ี ไดร บั ส่งั ใหพ ระสารีบตุ รไปทาํ ความเขา ใจแกภ ิกษุ
เหลา นั้นเสยี ใหม เพอ่ื ความปลอดภยั ของภกิ ษุเหลา น้นั เอง พระสารีบตุ รไดไ ปถึงสถานท่นี นั้ บังเอิญในขณะทพ่ี ระเทวทัตกําลงั จําวัตรอยู พระสา
รีบตุ รไดบอกกลาวแกภกิ ษุเหลานัน้ ตามทีเ่ ปนจรงิ วา พระพทุ ธองคท รงมคี วามคดิ เห็นเปน อยา งไรในเรือ่ งน้ี และไดช้แี จงความจรงิ ตา งๆ อนั
เกย่ี วกับพระเทวทัตแกภ ิกษุเหลาน้ัน ช่ัวเวลาเลก็ นอ ยเทานนั้ ภิกษเุ หลานนั้ ไดพ ากันกลบั ใจ ในการทจี่ ะปฏิบตั ิตามพระเทวทตั อยา งเครง ครดั
สบื ไป และไดพ ากนั ลกุ ขนึ้ จากท่นี ่นั ตดิ ตามพระสารีบุตรมาเฝาพระผมู พี ระภาคเจา ดว ยกนั ทัง้ หมด
เมอ่ื พระเทวทตั ตนื่ ขนึ้ ในตอนบา ย ไดเ หน็ บริวารเงียบผิดปรกติ กอ็ อกมาดู เพื่อทราบวาเพราะเหตุใดจึงเปน เชน น้นั เม่ือไดส ํารวจดทู ่ัวแลว
ทา นกท็ ราบไดว าไมมีภิกษุเหลืออยใู นท่ีนั้นแมแ ตรูปเดียว และตอมาอีกเลก็ นอ ย พระเทวทัตก็ไดท ราบจากผูรเู ห็นเหตกุ ารณ อนั ทาํ ใหทราบไดวา
พระสารีบตุ รไดม าท่ีนี่ในขณะทท่ี า นหลับอยู และไดพ ูดจากบั ภิกษทุ ัง้ หลายจนกระทัง่ ภกิ ษเุ หลา น้นั ไดล ะทงิ้ สํานกั นี้ พากนั ไปกบั พระสารบี ตุ ร
เพอื่ เฝาพระพุทธองคดวยกันหมดทกุ รูป ก็มคี วามแคนใจเปน อันมาก ในขณะนพี้ ระเทวทตั มีความเหนื่อยออน จนไมสามารถจะเดินทางไกลได
จงึ ส่งั ใหคนรบั ใชข องทา นจดั แครม ีคานหาม มาหามทา นไปสสู าํ นักของพระพุทธองคโ ดยท่ีทานอยากจะทราบวา พระพทุ ธองคทรงมคี วามมุง
หมายอยา งไร ในการทใ่ี หนาํ ภกิ ษุสว นของทานไปจนหมดจนส้ินเชนนั้น
เม่ือภิกษุท้งั หลายไดทราบขาวความโกรธของพระเทวทัตและทราบความทีพ่ ระเทวทตั กาํ ลงั เดนิ มาสูสํานักของพระพุทธองค ดวยความ
โกรธเชน น้นั ไดพากันไปเฝาพระพุทธองคแ ละทลู ขอใหพ ระองคท รงหลบไปเสีย โดยถวายความคิดเหน็ วา พระเทวทตั มาดว ยความโกรธใน
คราวนี้ อาจจะทาํ อนั ตรายแกพระพทุ ธองคอ ยางซง่ึ หนา กไ็ ด แตพระพทุ ธองคไมทรงหว่นั ไหวในการมาของพระเทวทัต แมแตห นอยเดียว
พระองคไดต รัสแกพระสารบี ุตรวา พระเทวทัตจะไมสามารถทําอนั ตรายพระองค แมแ ตป ระการใดเลย และทรงปฏเิ สธทจี่ ะหลบไปตามคํา
ขอรองของภกิ ษุ ทงั้ ทรงยืนยนั วาพระองคท รงรูสกึ ปลอดภยั โดยประการทงั้ ปวง ในการกระทาํ ของพระเทวทัต
พระองคท รงพิสจู นใ หภ กิ ษุท้งั หลายเหน็ วา คาํ ตรสั ของพระองคน ั้นเปน ความจรงิ ทกุ ประการ เพราะขา วซึง่ ภกิ ษทุ ้ังหลายไดทราบในกาล
ตอมานน้ั มีวา คนหามแครของพระเทวทัตไดห ยดุ พักระหวา งทาง และพระเทวทตั ไดสน้ิ ชวี ติ ณ ท่นี ั้นโดยอาการทไ่ี มม ใี ครเคยคาดฝน ความจรงิ
ตองเปน ความจริงอยา งถกู ตอ งตามความจริงทกุ ประการ ความตายไดตกลงสพู ระเทวทัตเอง ในเวลาและในสถานที่ ซ่งึ พระเทวทตั กําลงั พยายาม
จะปลงพระชนมชพี ของพระผมู ีพระภาคเจา นนั่ เอง
ตอ จากน้นั มา ไมมคี วามระส่ําระสายอนั ใดเกดิ ขึ้นแกคณะสงฆอีก จนตลอดพระชนมายุของพระพทุ ธองค เวน เสียแตค วามวนิ าศบางอยา ง
ซึ่งเกิดขนึ้ แกกลุมชนนอกคณะสงฆ ซงึ่ มีความเกี่ยวขอ งกบั พระองคเปน สว นตวั พระราชาและเจาชายในราชตระกูลเปนอนั มากแหงศากยวงศ
และแหงแควนโกศลไดสูญเสยี ชวี ติ ในการทําสงคราม ซึง่ แมพระองคจ ะทรงทัดทานไวได ก็เพียงในคราวแรก 2-3 คราว เหตุการณอ ันน้ไี ด
เกดิ ขนึ้ ใกลๆ กบั ปท่พี ระองคจ ะเสด็จปรินิพพานนั่นเอง
พทุ ธประวัติ ฉบบั สําหรบั ยุวชน
พทุ ธทาสภกิ ขุ แปลและเรยี บเรยี งจาก ฉบับภาษาองั กฤษ ของ ภกิ ษสุ ีลาจาระ (J.F. Mc kechnie)
ตอนท่ี 20 ปรนิ พิ พาน
บัดนีพ้ ระพทุ ธองคท รงเห็นวา วนั เวลาสําหรับการทองเท่ยี วสงั่ สอนสตั วใ นโลกนีจ้ วนจะส้นิ สดุ ลงแลว กอนแตจ ะเสด็จลว งลับไป พระองค
ทรงประสงคจะใหค าํ แนะนําแกภกิ ษทุ ้ังหลายเปน คร้ังสดุ ทา ย สําหรับจะไดค งอยเู ปนเคร่ืองแนะนาํ ตกั เตือนภกิ ษุสงฆ หลงั จากทพี่ ระองคไ ม
สามารถจะอยตู กั เตอื นดว ยพระองคเองสืบไป ดงั นั้นพระองคจึงตรสั สงั่ ใหพ ระอานนทเ รยี กประชมุ สงฆทัง้ ปวง ณ ทีแ่ หง หนงึ่ ใกลๆ นคร
ราชคฤห แลว ตรสั แกภกิ ษุท้งั หลายในทีป่ ระชุมนน้ั
“ภกิ ษทุ ้งั หลาย ตลอดเวลาเพียงใด ทีพ่ วกทานยงั คงสามคั คกี ันดีอยแู ละประชมุ กันอยูเสมอๆ ตลอดเวลาเพยี งนน้ั คณะสงฆจะยงั คงรุงเรือง
และเปน ปกแผน ตลอดเวลาเพยี งใดทภี่ กิ ษุท้งั หลายยังคงพรอมใจกันประพฤติปฏบิ ัติตามคําสอนและคําสง่ั ท่ีเรากลาวไว แสดงไว ไมพ ากัน
บัญญัติขอ กฎอนั ขดั กนั ขึ้นมาใหม ตลอดเวลาเพยี งนั้น คณะสงฆนีจ้ ะไมม ีความเสอ่ื มโทรมและสาบสญู
พวกทานทั้งหลาย จงนอบนอ มตอ พระเถระผูเฒาในสงฆ ยนิ ดีเอาใจใสใ นคาํ แนะนําตกั เตอื นของทา นเหลา น้นั ทา นทัง้ หลายจงระมดั ระวงั
ตน ไมเ ผลอตวั ไมล ืมตวั จนตกอยูในอาํ นาจของความช่วั แลว จึงรสู กึ ตอภายหลงั จงอยา คลกุ คลกี ันเปน หมู จงแสวงหาความวิเวกเปน สว นตวั อยู
เสมอๆ เม่ือมภี กิ ษุมาจากทอี่ ่นื จงเอาใจใสตอนรบั ดวยความเออื้ เฟอ ใหสําเรจ็ ประโยชนตามทเี่ ขาประสงค เมือ่ ภิกษรุ ูปใดเจ็บปว ยลงใหภิกษุ
นอกนนั้ เอาใจใสร กั ษาพยาบาล ผใู ดพยาบาลภิกษุไข ก็เทากับผนู ั้นพยาบาลเรา อยา เปนคนอวดดเี ยอ หยง่ิ เพอ เจอลมื ตัว จงคบหาสมาคมแตกับ
คนดี หลกี หา งจากคนช่วั จงหมัน่ พิจารณาใหเหน็ แจงอยเู นอื งนิจ ในความจริงของสิ่งทั้งหลายวา สง่ิ เหลาน้นั ไมม คี วามย่งั ยืนและเปน ทางใหเกดิ
ความทกุ ขแ กบุคคลผูเขา ไปยึดถือเอาอยางจริงจงั และรวู า สงิ่ เหลาน้ันไมมแี กนสาร วางเปลาจากตวั ตน
ภิกษทุ ้ังหลาย ตลอดเวลาทท่ี านทงั้ หลายประพฤตปิ ฏบิ ัตอิ ยตู ามท่ีเรากลา วนี้ กจ็ ักยงั เปนทต่ี งั้ แหงความเคารพเลอ่ื มใสของประชาชนอยเู พยี ง
นั้น คณะสงฆจกั ยงั คงรุง เรืองเปนปกแผน พวกทานทง้ั หลายจักปลอดภยั จากการตกต่าํ และความเส่อื มทราม จกั พน จากความเสยี หาย และความ
ไมเ หมาะสมแกผสู ละเหยา เรือนมาบวชแลวทกุ ประการ”
หลงั จากน้ีแลว พระองคไ ดเ สด็จตอ ไปยังหมูบานนาลันทา แลวเสดจ็ ไปยงั หมูบา นปาฏลคิ าม ณ ทนี่ ั้น ไดต รัสพระธรรมเทศนาแกพวก
ชาวบา นวา “ทานทงั้ หลาย ผทู ่ีไมป ระพฤติตามบทบัญญตั ิแหงกุศลกรรมบถ ดงั ทเี่ ราแนะนําไว หรือขาดความเอาใจใสใ นความประพฤตอิ ยาง
เครงครดั จกั เปน ผเู ส่อื มเสียชื่อเสยี งอยใู นหมมู นุษย ความผาสุกของเขาจะลดนอยลงตามลาํ ดบั และจกั หมดไปในทีส่ ดุ เขาจกั ไมมีความมัน่ คง
แนวแน จักไมไ วใจตวั เอง จักหมนหมอง ไมเ ปน สขุ และเมอ่ื ตาย เขาจักตายอยา งมคี วามเศรา และมคี วามทุกขทรมาน
แตผ ทู ป่ี ฏิบตั ิในกุศลกรรมบถเหลา นอ้ี ยางเครงครดั ไมมคี วามประมาท เผอเรอ เลนิ เลอ แตป ระการใดแลว จักเปนผูไ ดรบั ความนยิ มนบั ถือ
จากประชาชนทว่ั ไป เขาจกั มีความสขุ กาย มที รพั ยและสิ่งซ่งึ พึงประสงคอ ื่นๆ โดยครบถวน เขาจะไดร บั การตอ นรับในทที่ ุกหนทกุ แหง แมใน
สํานักแหง เจาชาย และราชอาํ มาตย กระทั่งในสาํ นกั แหง นกั ปราชญทง้ั หลาย ใจของเขาจกั ผองใสไมข ุนมัว ปราศจากความลังเล กระวนกระวาย
และเปนหว ง เขาจกั ตายอยางเปน สขุ และกลา หาญ หลังจากตายแลวจกั ไปสฐู านะแหง ความสขุ สบื ไป”
บัดน้ีพระพทุ ธองคท รงลุถงึ ชราภาพแลว พระองคม ีพระชนมายุ 80 ป ตลอดเวลา 45 ป พระองคไ ดเสด็จทอ งเท่ียวไปดว ยพระบาท
ปราศจากยวดยานพาหนะใดๆ ขนึ้ ลงตามแควน ใหญน อ ยตา งๆ แหงประเทศอนิ เดยี ในสมยั นั้น ทรงแสดงธรรมและประกาศพระศาสนา
ตลอดเวลาแหงพระชนมายขุ องพระองค แมใ นฤดฝู น ก็ยงั ทรงทาํ การสงั่ สอนประจําที่ ไมเ วน แตล ะวัน บดั นีพ้ ระองคท รงรสู ึกถอยพระกําลงั
ในทางกาย แมวา กําลงั ในทางจิตจะยงั คงเขมแข็งอยดู งั เดมิ พระองคท รงรสู กึ วา ชวี ิตของพระองคจะไมตัง้ อยูนานตอ ไปอกี แลว และทรงตง้ั
พระทยั เสด็จไปทางทศิ เหนอื แถบเชงิ เขาหมิ าลัย อันเปนสถานท่ีทีพ่ ระองคท รงคุนเคยเปนอยา งดใี นวยั หนุม พระองคมีพระประสงคจ ะเสดจ็
ปรนิ พิ พานในถ่นิ นนั้ จงึ ไดเ สดจ็ ออกจากนครราชคฤหไ ปดว ยพระบาท ซง่ึ บดั นอ้ี ยใู นสภาพทอ่ี อ นลา ตรงไปยงั นครนอ ยๆ ชอื่ วา นครกุสินารา
เพอื่ ปรนิ ิพพานทนี่ นั่ ในระหวางทางพระองคไดเ สดจ็ ผา นเมอื ง ปาตลบี ตุ ร ซ่ึงบัดนีเ้ รยี กกนั วา เมืองปตตนะ แลวยงั คงเสดจ็ ไปทางทศิ เหนือ ผา น
นครเวสาลี อนั เปนสถานทซ่ี ึง่ พระองคเ คยประทับอยู และทรงรับวิหารแหง หนงึ่ ซึ่งหญงิ คณิกาชอ่ื อมั พปาลี เปนผถู วาย โดยการแขงขนั แยงกนั
กระทาํ ถวายทานในระหวางหญงิ คณิกาผูน ้ี กบั บรรดาเจาชายจาํ นวนหนึง่ แหง นครนนั้
เม่ือพระองคเ สด็จถงึ หมบู า น เวฬวุ คาม พระองครบั สัง่ ใหภ ิกษุทงั้ หลายแยกยายกันจําพรรษาตามพอใจ สวนพระองคเอง ทรงต้งั พระทัยจํา
พรรษา ณ หมูบา นนน้ั พรอ มทงั้ พระอานนท ซ่งึ เปน ผอู ปุ ฏ ฐาก แตเมอื่ ออกพรรษาแลว พระองคป ระทับอยทู ่ีนน่ั ไมไ ดนาน เนื่องจากประชวร
หนกั พระองคท รงประสงคท ี่จะพบภกิ ษุทั้งหลาย เพ่ือกลาวคาํ ชี้แจงและสนับสนุนใหเกดิ ความบากบน่ั อยางสูงสดุ ในการประพฤติพรหมจรรย
อกี ครงั้ หน่งึ จงึ ไดเ สดจ็ จากหมูบา นเวฬุวคามนัน้ ไปดว ยความพยายามอยางสุดกาํ ลังของพระองค ดว ยความอดกลนั้ อดทนตอทุกขเวทนาอนั
เน่ืองดวยความเจบ็ ปว ย
ครน้ั พระองคท รงทุเลาขึน้ จากความเจ็บไขในระยะหนง่ึ ไดเสด็จประทบั นั่งอยู ณ เงาวิหารแหง หนึ่ง ในเวลาเที่ยงวนั บนอาสนะซง่ึ พระ
อานนทจ ัดถวาย พระอานนทไ ดก ราบทูลพระพุทธองคใ นทนี่ ้นั วา “ขา แตพ ระผมู พี ระภาค ขา พระองคม ีความยินดีอยา งสงู สุดท่ีไดเหน็ วา พระผมู ี
พระภาคเจากลบั ทรงสบายดังเดมิ จิตใจของขา พระองคม ดื มวั แทบจะสน้ิ สติไปในเมือ่ ไดเ หน็ พระผูม พี ระภาคเจา ประชวรหนัก เมื่อไมน านมาน้ี
แตขา พระองคย ังคดิ วา พระผมู พี ระภาคเจายงั ไมเ สดจ็ ปรนิ พิ พานเปน แน จนกวาจะไดตรัสคําแนะนาํ สงั่ สอนอนั ถงึ ท่สี ุดแกพระภิกษุสงฆ
เสยี กอน พระภิกษุสงฆทง้ั หลายจักไดถือเปนหลกั ปฏิบัติกนั ในเม่อื พระผูมพี ระภาคเจาเสดจ็ ลว งลับไปแลว ”
พระพทุ ธองคไ ดต รสั วา “ดกู อนอานนท ภิกษจุ ะพากันหวงั อะไรจากเราอีกเลา เราไดกลาวธรรมวนิ ยั โดยหมดจดส้นิ เชงิ ไมมีเหลอื แลว ขอ
ปฏบิ ัตอิ ันใด ทภ่ี กิ ษุสงฆควรจะรเู พื่อการลถุ ึงนพิ พานน้นั เรามิไดปกปด ซอนเรนเหลือเอาไวแ ตขอ ใดเลย เราเปนผหู วังดโี ดยบรสิ ุทธิใ์ จตอภิกษุ
สงฆอยา งสนิ้ เชงิ เราไดกลาวสอนทุกสงิ่ ทุกอยางทภ่ี ิกษสุ งฆค วรจะรู เพื่อการทําทสี่ ดุ แหง ทุกขไ ด ดกู อนอานนท ผทู ่ีประสงคจะปกครองหมสู งฆ
ควบคมุ ไวใ นอาํ นาจตลอดไป อาจจะวางกฎบังคับเพอ่ื การปกครองในอนาคต สวนเราไมป ระสงคจะควบคุมคณะสงฆไวในอํานาจของเราตลอด
กาลเชน นัน้ เลย เราจงึ ไมม อี ะไรทจี่ ะวางไวส าํ หรบั การคุมอํานาจคณะสงฆ ในอนาคต สงฆต องควบคมุ กนั เอง บัดนี้ เราเปน คนชราและถอยกาํ ลงั
แลว กาลเวลาของเราจวนจะถงึ ทส่ี ดุ เรามอี ายุ 80 ปแลว เรามีอยูเ พยี งอยางเดียว ทจี่ ะกลาวแกทา นทง้ั หลายวา พวกทา นท้งั หลายจงมีแสงสวา ง
เปน ของตนเอง จงทุกคน, จงมีตนเองเปน ที่พงึ่ ของตนเอง จงทกุ คน, จงอยา มผี อู ื่นหรอื สง่ิ อืน่ เปนแสงสวางหรอื ที่พึ่งของตนเลย ดูกอ นอานนท,
เม่อื เราลว งลบั ไปแลว ภิกษรุ ปู ใดทําตนใหเปนแสงสวางของตนเอง ทําตนใหเ ปน ทีพ่ งึ่ ของตนเอง ไมถือเอาผอู ื่นหรอื สิ่งอ่นื เปนแสงสวา งหรือท่ี
พงึ่ แลว ภกิ ษุน้นั ชือ่ วา เปน สาวกอันแทจ ริงของเรา อยูตลอดเวลา และเปน ผูเดนิ ไปในทางถกู โดยสวนเดียว”
ในวันรุงข้นึ พระพทุ ธองคท รงรูสกึ สบาย จนถึงกับทรงสามารถเสดจ็ เขา ไปบิณฑบาตในนครเวสาลี ในตอนเยน็ รับส่งั ใหพ ระอานนทเ รียก
ประชุมภิกษสุ งฆทง้ั หลาย บรรดาทอ่ี ยูจ ําพรรษาในนครเวสาลี เพื่อมาฟง พระดํารัสของพระองคพ รอมกนั เมื่อภกิ ษทุ ั้งหลายมาพรอ มกนั แลว
พระองคไดตรสั ถอ ยคาํ ซงึ่ เปนการกระตุน เตอื นอยางสําคญั ท่ีสุด และเปนการแสดงความหวังครงั้ สดุ ทา ยของบคุ คลท่ีจะจากไป อยางแทจ ริง
เพื่อใหภกิ ษุทง้ั หลายเหลาน้นั พากันประพฤตปิ ฏิบัติตามทางท่ีถูกตอ ง อนั พระองคไ ดท รงสอนไว อยางเครง ครดั เพอื่ เหน็ แกช าวโลก เพอ่ื เปน
ประโยชน เปน ความดี และเปน ความเก้อื กลู แกชาวโลกทุกคน ผหู วังในอนั ท่จี ะประพฤติตามตัวอยา งในการประพฤติพรหมจรรย อนั สมบูรณ
และบริสุทธิ์ พระองคไ ดตรัสวา “ทุกอยางทีอ่ ยใู นวิสยั โลกยอมเปนส่ิงทีเ่ ปล่ียนแปลง ไมตัง้ อยูนาน จงแข็งขอ จงบากบั่น เพ่ือกาวไปขา งหนา จง
เดนิ ตามทางถูก จงเฝา ระวงั จิตของตวั เอง อยางใกลชิด เมอ่ื เปนดงั นน้ั พวกทานจะประสบความรอดพนอันแทจริง จากความเวียนเกดิ และเวียน
ตายและความทุกขท ง้ั ปวง”
ในวนั รงุ ขึ้น พระองคไดเ สดจ็ ตอ ไปยงั นครกุสนิ ารา ในระหวางทาง ท่ีหมบู านเลก็ ๆ แหง หนง่ึ อนั เรยี กกันวา หมูบานปาวา พระองคไดร บั
นมิ นตของบตุ รนายชางทองคนหน่งึ มนี ามวา จุนทะ เพอื่ รับอาหารบิณฑบาต ดว ยอาหารชนิดหนง่ึ อันเรยี กกนั วา สูกรมทั ทวะ (สูกะระมัดทะวะ)
เปนเห็ดชนิดหนงึ่ ซ่งึ หมูปา ชอบกนิ จงึ ทําใหมนั ไดช อื่ เชนน้ัน ซึ่งคาํ ๆ นนั้ แปลวา “ของชอบของหม”ู พระพุทธองคเ สวยอาหารบิณฑบาตซง่ึ
นายจุนทะจดั ถวาย หลังจากเสวยแลว พระโรคอยา งทพี่ ระองคป ระชวรท่หี มูบานเวฬุวคามไดก ลับมาอีก ในครงั้ นพ้ี ระโรคไดก าํ เรบิ แรงกลากวา
ครงั้ แรก แทบจะเหลอื กําลงั ท่ีพระองคท รงอดทนอดกลั้นได พระองคก ็ยังคงเสดจ็ ตอ ไป เพ่ือมุง ไปสเู มอื งกสุ ินารา ดว ยความยากลาํ บาก
จนกระท่ังมาถึงปาไมสาละนอกนคร อันเปนทเ่ี ท่ยี วเลนของบรรดากษัตริยแหงนครน้ัน
เมอ่ื พระพุทธองคไดเ สด็จมาในระยะใกลกบั ปานี้ และทรงรูสึกวาพระองคไ มสามารถจะทรงดําเนนิ ได ตอไปอีกแลว ไดตรสั แกพ ระ
อานนทว า “ดกู อนอานนท, จงเตรยี มที่สําหรบั เราจะนอนพกั ที่ระหวางแหงตนสาละใหญท ้ังสองนัน้ เรารูส กึ ออนเพลียมากนัก”
พระอานนทไ ดพับผาสงั ฆาฏขิ องพระพทุ ธองคเขาเปน สีช่ น้ั แลว ปูลาดลงบนแผนดิน ในระหวางแหงตน สาละใหญท ้งั สองตน น้ัน ซึง่ เมือ่
พระองคป ระทับนอนแลว จะมีศรี ษะผนั ไปทางเหนือ พระพุทธองคท รงเอนกายลงบรรทมบนทซ่ี ึ่งพระอานนทจดั ถวาย พระองคไ มไ ดบ รรทม
หลับ เปนแตเพยี งพกั ผอ นบรรเทาความไขแ ละความเมอื่ ยลา พระหฤทัยของพระองคยังคงสงบ และแนวแนเชนเคยปราศจากความ
กระสบั กระสา ยแตป ระการใด เพราะวา พระหฤทยั ของพระองค จักตองเปนเชน นั้นเสมอ พระองคไดเคยตรสั แกพระสารีบุตรครงั้ หน่ึง เมือ่ นาน
มาแลว ในขณะทพี่ ระองคทรงสบายดอี ยูว า แมพ ระองคจ กั อยูจนกระทั่งแกชรา หากาํ ลังมิได ถึงกบั ไมอ าจจะดําเนนิ ดว ยพระบาท ถงึ กบั เขาตอ ง
หามไปดวยแคร ก็ตาม แมกระนั้น พระหฤทัยของพระองคก็จกั ยงั คงสงบและแจม ใส สามารถอธบิ ายธรรมอันลึกซึ้ง และตอบปญหาใดๆ ซง่ึ
นักปราชญแ ลนักศกึ ษาทฉ่ี ลาดท่ีสุดจะมาถาม ไดตลอดเวลาท่ีเขาอยากจะถาม ความมืดมัวและออนเพลียในสว นพระหฤทยั ของพระองคเ ปนส่งิ
ทม่ี ไี มไดเลย
บัดน้ี พระอานนทไดร ูส กึ วา พระพทุ ธองคก ําลงั จะทรงละจากทานไป โดยแทจรงิ แลวกม็ ีความโศกเศรา เปนอยา งย่ิง จนไมส ามารถจะอด
กลน้ั ได พระอานนทไ ดห ลีกไปซอนตวั รอ งไหอ ยู ณ ทีแ่ หงหนง่ึ และรําพันวา “เรายงั ไมเปน เชน กับภกิ ษุทัง้ หลาย เรายังตองศกึ ษาตอ ไป ยงั ไม
บรรลคุ วามเปนพระอรหันต บดั น้ี พระศาสดาของเรากําลังจะลว งลบั ไป โดยท้ิงเราไวเบื้องหลงั เราจักอยแู ตผเู ดยี วโดยปราศจากพระศาสดาผูซึ่ง
มีพระเมตตาตอ เรา ตลอดกาลเนืองนิจ” นาํ้ ตาอันอนุ ไดไหลนองเต็มหนาพระอานนทใ นขณะนนั้
พระพทุ ธองคท รงลืมพระเนตรขึน้ ไมเ หน็ พระอานนทอยู ณ ที่นั้น ดังเชน เคย กต็ รสั ถามภกิ ษอุ นื่ ๆ ซึ่งนั่งอยูในที่ใกลพ ระองควา “พระ
อานนทไปไหน ” ภิกษุเหลาน้ันทลู ตอบวา “ขา แตพ ระผูมีพระภาคเจา, พระอานนทไดห ลบไปรอ งไหอยู ณ ท่ีแหง หนง่ึ ราํ พันอยวู า ทานยังเปน
ผตู องศึกษา ยงั ไมบ รรลธุ รรมอนั สงู สุด และพระศาสดาผทู รงมพี ระเมตตาอยตู ลอดเวลาน้นั กาํ ลงั จะลว งลบั ไป พระพุทธองคไ ดต รสั วา “ดูกอ น
ภิกษุ ทานจงไปบอกอานนทวา พระศาสนารบั ส่งั ใหห าดังน้ี”
ภิกษุนั้นไดไ ปบอกพระอานนทตามพระพุทธประสงค พระอานนทไดมาเฝา พระพุทธองคและน่ังอยขู างๆ อยางใกลช ดิ พระพทุ ธองคได
ตรัสแกท านวา “พอกันทีเถิดอานนท, อยา เศราโศกเลย อยารองไหเลย เราไดบ อกแกอานนทหลายครัง้ หลายหนแลว มิใชหรอื วา วันหน่ึงเราตอ ง
พลดั พรากจากของรักของชอบใจของเรา ดกู อนอานนท สิ่งนจ้ี กั ตอ งมีเปน เทย่ี งแท ไมมที างปองกันแกไ ขไดเ ลย มนั จะเปนไปไดอ ยา งไรกนั ใน
การทีส่ ่งิ ใดสง่ิ หน่งึ เกดิ ข้นึ มาแลวจักไมดับไป ความปรารถนาเชนนั้นเปน สงิ่ ท่ีเปน ไปไมได ดูกอ นอานนท เปนเวลานานแลว ที่อานนทเฝา
อุปฏ ฐากเราดว ยความพากเพียรอยางเต็มทท่ี ้งั ทางกาย ทางวาจา และทางจติ ดวยความรัก ดวยความเต็มใจ ดวยความซอ่ื สตั ยเหลือทจ่ี ะเอาอะไรมา
วัดได ความดีในการรบั ใชเ ราดว ยความซื่อสตั ย อานนทไดทาํ แลว เปนอยา งมาก และเพยี งพอแลว ตอ ไปน้จี งบากบ่นั จงต้งั หนาทําลายสิ่งซึ่งกีด
ขวางตอ การบรรลคุ วามเปน พระอรหนั ตของตนเอง ในเวลาไมนานเลย อานนทจักลุถงึ ความสําเรจ็ อนั น้นั ”
ตอ แตน้นั พระพทุ ธองคไดตรสั แกภิกษุทง้ั หลายวา “พระพุทธเจา ท้ังหลายในกาลกอน ลว นแตมีอปุ ฏฐากอันเลศิ แตก ไ็ มย ่งิ ไปกวาท่ี
อานนทไ ดเ ปน แกเราในกาลน้ี แมพระพุทธเจา ท้งั หลายอนั จักมีมาในอนาคต ก็ลว นแตจักมอี ุปฏ ฐากอนั เลศิ แตก ็จักไมยิง่ ไปกวาอานนทท ่ไี ดเ ปน
แกเราในกาลนี้ อานนทไดเ ปน อปุ ฏ ฐากทด่ี ที ี่สดุ และฉลาดเฉลยี วของเรา อานนทย อมรจู กั กาลเวลาอนั เหมาะสม ท่จี ะใหแ ขกผมู าเยยี่ มเยยี นเขามา
หาเรา อานนทป ฏิบัติตอ บุคคลเหลานน้ั ดวยถอยคําและทา ทางทีน่ าปลาบปลม้ื ย่ิงนกั แขกทกุ คนไดร บั ความพอใจอยางสูงสดุ จากการกระทาํ ของ
อานนทเสมอ เมือ่ อานนทก ลา วเร่อื งราวใดๆ คนเหลานั้นพากนั สนใจฟง มากไปกวา ท่อี านนทต งั้ ใจกลาว อานนทไ ดเ ปน อปุ ฏ ฐากอันเลศิ ของเรา
เชนนต้ี ลอดมา”
พระอานนทไดกราบทลู พระผูมีพระภาคเจาวา “ขา แตพระผมู พี ระภาคเจา ขอพระผูม ีพระภาคเจาจงอยา ไดเสดจ็ ปรนิ ิพพานในเขตของเมือง
ปา เมืองดอนเมอื งเล็กเมอื งนอย ณ ที่อันไมส มควรเชน น้เี ลย นครใหญๆ เชนกรุงราชคฤห สาวัตถี เวสาลี และอ่นื ๆ ก็มีอยู ขอพระผมู ีพระภาคเจา
จงพอพระทยั ที่จะเสดจ็ ปรินพิ พาน ณ เมอื งใด เมอื งหนง่ึ ในบรรดาเมืองเหลาน้นั เถิด ในเมืองเหลานนั้ มีเศรษฐี และผูมีอํานาจวาสนา ซึง่ เปน
สาวกของพระผมู ีพระภาคเจา อยูเ ปนอนั มาก เขาเหลาน้นั จักเอาภาระในการจดั พระศพของพระผมู ีพระภาคเจาใหส มกนั ”
พระพุทธองคไ ดต รัสแกพระอานนทว า “อยา เลยอานนท อยา กลา วดงั นน้ั เลย เธออยา พงึ กลา ววา เมอื งน้เี ปน เมืองปาเมอื งดอน ในอดตี กาล
นานไกลเมอื งนเ้ี ปน นครอันมัง่ คัง่ เปนราชธานที ีป่ ระทับของพระเจา จักรพรรดิมาแลว ดกู อ นอานนท เธอจะไปบอกกลา วแกผเู ปน อธบิ ดแี ละชน
ชาวเมืองกุสนิ าราวา ในคืนนีใ้ นยามสดุ ทายแหงราตรี ตถาคตจักปรนิ พิ พานในปา น้ี คนเหลานัน้ ควรจักเห็นตถาคตเสียแตบ ดั น้ี กอนแต
ปรินพิ พานจะมาถึง”
พระอานนทไดพ าภิกษุบางรูปเดนิ ทางเขา ไปนครกสุ นิ ารา และบอกกลา วแกบรรดาหัวหนาและประชาชนตามท่ีพระพทุ ธองคต รสั สั่งทุก
ประการ ประชาชนเหลาน้นั ไดฟง พระอานนทกลา วแลว พากนั เศรา โศกและครํา่ ครวญวา “พระผมู พี ระภาคเจาเสดจ็ ปรินพิ พานเรว็ เกนิ ไปเสยี
แลว ดวงประทปี ของโลกดับเร็วเกนิ ไปเสยี แลว ” ชาวเมอื งกุสนิ าราทงั้ ผูห ญิงผูชายและเด็กๆ พากันโศกเศรา คราํ่ ครวญ ออกมาสสู วนไมสาละ
อนั เปนทซ่ี งึ่ พระพทุ ธองคไดป ระทบั อยูใ นขณะน้ัน เพื่อการเยย่ี มเยยี นและกลา วคําอาลยั เปน ครัง้ สดุ ทายตอ พระองค ชาวนครกสุ ินาราคณะหนึ่งๆ
โดยผูน าํ คนหนึง่ ๆ ไดเ ขาไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจา ทลี ะคนๆ โดยลาํ ดบั กนั และกลา วคาํ ถวายความอาลยั ในพระผมู พี ระภาคเจาดว ยกนั ทกุ คน
ในขณะนั้นมปี รพิ าชก เปนนักบวชผูจ ารกิ เปน นจิ คนหนึง่ นามวา สุภทั ทะ พกั อยูใ นเมืองกสุ ินารานน้ั เมอื่ เขาทราบวา พระพทุ ธองคกาํ ลงั จะ
ปรนิ ิพพานในคืนนี้ ก็ต้งั ใจจะไปเฝา พระพุทธองคโดยทนั ที เพอ่ื ถามปญ หาบางประการ ซึ่งทาํ ความยุงยากใหแกเขาในขณะนนั้ เขาเชอ่ื วาพระ
พุทธองคเทา น้นั ทจี่ ะสามารถแกป ญ หานี้ ใหก ระจา งได ดงั นนั้ นักบวชชอื่ สุภัททะไดไปทีป่ าไมส าละ และขออนุญาตกับพระอานนทเ พื่อเขาเฝา
พระพทุ ธองค และทูลถามปญ หาของเขา กอนแตท่พี ระพทุ ธองคจะเสด็จปรนิ ิพพาน
พระอานนทไดต อบแกเขาวา “อยาเลย สภุ ทั ทะ อยาเลย พระผมู ีพระภาคเจา กาํ ลังทรงอิดโรยเปนอยา งยิ่ง อยารบกวนพระผมู พี ระภาคเจา
ดว ยการถามปญหาเลย” แตน กั บวชช่ือสุภทั ทะนน้ั มคี วามรอ นใจมากเกนิ ไป จงึ ไมฟงคําปฏิเสธของพระอานนท ไดร บเรา แลว รบเรา อีก เพือ่ ให
พระอานนทยินยอมใหเ ขาเขาไปเฝาพระผมู ีพระภาคเจา ใหจ นได พระอานนทไดปฏิเสธแลวปฏเิ สธอีกโดยบอกวา พระองคกําลังประชวรหนกั
ไมค วรจะไดร บั ความรบกวนจากบคุ คลผใู ด
แตอยา งไรก็ตาม พระพทุ ธองคไดทรงสดับเสยี งของคนทงั้ สอง จนทราบความประสงคข องนกั บวชช่ือสุภทั ทะ จงึ รบั สั่งใหพ ระอานนท
มาแลว ตรสั วา “ดกู อ นอานนท เธออยา หามกันสุภทั ทะ เพอื่ ไมใ หเ ขามาหาเราเลย จงปลอ ยสภุ ทั ทะใหเขา มาหาเราตามความปรารถนา ขอท่ีเขา
จักถามเรานนั้ จกั เปน ความดแี กก ารศกึ ษาในธรรมวนิ ยั ของเรา หาใชเ ปนการรบกวนเราโดยไรป ระโยชนแตอยา งไรไม เขาเปน ผทู ่ีมคี วามเขาใจ
ไดร วดเร็วและจักเขาใจขอ ความที่เรากลาวไดในทันท”ี
พระอานนทไ ดยนิ ยอม ใหน ักบวชช่ือสภุ ทั ทะเขา ไปหาพระพุทธองค เมอ่ื สุภทั ทะไดก ลาวถอ ยคําแสดงความเคารพ และทําความคุนเคยกับ
พระองคพอสมควรแลว ไดก ลา วถามปญหาตอ หนาพระองควา “ขาแตพ ระโคดม สมณพราหมณ เจา หมเู จา คณะทม่ี ชี ่อื เสียงเหลา อน่ื นอกจาก
พระองค ไดบรรลุสจั ธรรมจริงดังทเี่ ขากลาวหรือวา มไิ ดบรรลุดงั ท่ีเขากลา ว หรือบางพวกทไ่ี ดบ รรลุ และบางพวกไมไดบรรลุ ”
พระพุทธองคไ ดตรัสวา “อยาเลย สุภทั ทะ, อยา คดิ ในปญหาขอ นน้ั เลย แตจงฟงเรา จงสนใจในคําทเี่ ราจะกลาว เราจักทําใหทา นเขา ใจใน
ธรรมะของเรา ในบดั นี้ ดูกอ นสภุ ทั ทะ, ในธรรมวนิ ยั ของศาสดาองคใด ไมประกอบอยดู ว ยธรรมอนั เปนเครอื่ งดําเนนิ ไปอยางถูกตอง 8
ประการ ในธรรมวินัยนนั้ ยอ มไมม ีบคุ คลผเู ปนโสดาบนั สกทาคามี อนาคามี หรืออรหันต ในธรรมวินัยใด มธี รรมเปน เครอื่ งดําเนินไปอยา ง
ถกู ตอ ง 8 ประการดังกลาวแลว ในธรรมวินยั น้ันยอ มมีบคุ คลผูเปนโสดาบัน เปนสกทาคามี อนาคามแี ละอรหนั ต ดูกอนสุภทั ทะ, ในธรรมวนิ ยั
ของเรานี้ประกอบอยดู วยธรรมเปนเครื่องดาํ เนินไปอยา งถูกตอง 8 ประการดงั กลา วนน้ั ในธรรมวนิ ยั น้จี งึ มบี ุคคลผเู ปน โสดาบัน สกทาคามี
อนาคามี และอรหันต ดูกอนสุภทั ทะ, หากภิกษสุ าวกของเรา ยงั คงปฏบิ ัตใิ นธรรมเปน เครื่องดาํ เนินไปอยางถกู ตอ ง 8 ประการนเ้ี พยี งใดแลว
โลกนีก้ จ็ กั ยงั ไมว า งจากพระอรหันตอยเู พียงนัน้ ”
นักบวชชอื่ สภุ ัททะ ไดทูลขอพระพุทธานญุ าตเพอ่ื บวชเปน ภิกษใุ นธรรมวินยั ของพระองค พระพุทธองคไดป ระทานโอกาส และตรัสสง่ั
ใหพ ระอานนทป ระกอบการอุปสมบทใหแกเ ขา โดยเหตุนี้ สุภทั ทะ จงึ เปน ภิกษผุ บู วชเปนองคส ดุ ทาย ทาํ นองเดยี วกันกับที่พระอัญญาโกณ
ฑัญญะ ผูฟง ธรรมในปาอสิ ิปตนะไดเปนภิกษอุ งคแรกที่ไดรับการอุปสมบท ในทเ่ี ฉพาะพระพกั ตรข องพระองค พระสุภทั ทะผูบ วชแลว ไดม ี
ความพากเพยี รในธรรมวนิ ัยอยา งแรงกลา จนกระทั่งบรรลคุ วามเปน พระอรหนั ตไ ดใ นเวลาอันไมนานเลย
พระพทุ ธองคไ ดต รัสแกพ ระอานนทสืบไปอกี วา “ดกู อ นอานนท, อาจจะมภี กิ ษุบางรูปคดิ ไปวา เราจักไมไ ดฟง โอวาทของพระศาสดาอกี
ตอ แลว แลว บดั นีเ้ ราเปน ผไู มมพี ระศาสดาอีกตอ ไปแลว ดงั นี้ ดกู อ นอานนท, ขอนนั้ ภกิ ษุเหลาน้นั ไมควรเห็นอยางนัน้ เลย ธรรมะและวนิ ยั เหลา
ใด ทเ่ี ราแสดงไวบ ญั ญัติไวเพ่ือภิกษทุ งั้ หลายประพฤตปิ ฏิบตั ใิ นกาลน้ี ธรรมะและวินยั เหลา น้นั เองจักอยูเปนองคพระศาสดาของภิกษทุ ้ังหลาย
ในเมอ่ื เราลว งลับไปแลว อีกอยา งหนงึ่ ในบัดนี้ ภิกษทุ ัง้ หลายทักทายกันแลกันดว ยถอ ยคาํ วา “อาวโุ ส” (มคี วามหมายเทา กับวา “เพอื่ น”) แต
เมือ่ เราลวงลบั ไปแลว ภิกษุผูสงู อายพุ งึ ทักทายภกิ ษุผหู ยอนอายกุ วาวา “อาวโุ ส” ไปตามเดิม แตภกิ ษุผูหยอนอายุ พึงทกั ทายภิกษผุ ูสงู อายุ ดว ยคาํ
วา “ภนั เต” (มคี วามหมายเทากับวา “ทานท่เี คารพนับถอื ”) ดูกอ นอานนท เมอื่ เราลวงลับไปแลว ถาคณะสงฆมคี วามปรารถนา กพ็ ึงเลิกถอน
ขอ บัญญตั เิ ลก็ ๆ นอ ยๆ ไดตามสมควรแกเ หตกุ ารณ”
ตอ จากน้ัน พระพทุ ธองคไดตรสั แกภ กิ ษุทั้งหลายวา “ดกู อ นภกิ ษทุ ัง้ หลาย ถาภิกษุรปู ใดในพวกทา นท้งั หลายมีความสงสัยของใจ หรือกนิ
แหนงอยา งใดอยา งหนึ่ง ในตถาคตนี้ ก็ดี ในธรรมวนิ ัยที่เรากลาวแลว กด็ ี หรือในหมสู งฆนก้ี ็ดี หรือในความผดิ ความถูกแหง หนทางปฏิบัตกิ ด็ ี จง
ไดกลา วความสงสยั หรือความกินแหนงน้นั ออกมาเสียในบัดน้เี ถดิ เพ่อื อยา ใหเธอทัง้ หลายตองเสยี ใจในภายหลงั วา เราไมม ีโอกาสจะแถลง
ความรูส กึ อนั นใ้ี นขณะทพี่ ระศาสดายังมีชีวติ อย”ู ตอพระพุทธดาํ รัสอันนี้ไมมีภิกษุใดไดป ริปากอยางใดขน้ึ มาเลย ไมม ภี กิ ษุรูปใดมปี ญ หาใดที่
จะทูลถาม ไมม ีภิกษุรูปใดซึ่งมคี วามกนิ แหนงแคลงใจใน พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ แตป ระการใดเลย
พระพุทธองคไ ดต รสั ประทานโอกาสเชนเดียวกนั นอ้ี ีกเปนครั้งท่ี 2 และท่ี 3 แตก ็ไมม ีภกิ ษรุ ปู ใดกลาวถอยคําใดๆ ออกมา เชน เดยี วกนั
พระอานนทไ ดก ลาวขึ้นวา “ขาแตพ ระผมู พี ระภาคเจา, เรอื่ งนีน้ าประหลาดใจ เรอื่ งนี้นาอศั จรรยจริง ขา พระองคม คี วามเชื่ออยา งแทจรงิ วาใน
หมภู ิกษุสงฆหมูใ หญน ้ี ไมม ีภิกษุแมแ ตร ูปเดียวซงึ่ มีความสงสยั แคลงใจจะกนิ แหนงในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ”
พระพุทธองคไ ดต รัสวา “ดกู อนอานนท, สาํ หรบั เธอนั้น เธอกลา วความขอนเี้ พราะความเชอ่ื และความไวใจในเรา แตส ําหรับเราตถาคต
นั้น เรารดู ีวา ไมมภี กิ ษแุ มแ ตรูปเดียวในภกิ ษุสงฆนี้ ท่มี ีความกนิ แหนงแคลงใจในพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ ขอ น้ี เพราะเหตุใด ดูกอ น
อานนท ขอ น้เี ปนเพราะเหตวุ า แมว า ภิกษุรปู นี้มีคณุ ธรรมลา หลังเขาที่สดุ ในทีป่ ระชมุ นภ้ี ิกษุรูปนน้ั ก็ยังเปนโสดาบนั ผเู ทีย่ งแทตอการลถุ ึง
นพิ พาน มีอนั ไมถ อยกลับเปน ธรรมดา”
พระพทุ ธองคไ ดต รัสปราศรัยแกภิกษสุ งฆ ซึง่ ประชุมกันอยใู นท่ีน้ันอกี ครั้งหนึง่ และการตรสั ครงั้ นเี้ ปนพระดาํ รัสคร้ังสุดทาย ทีพ่ ระองค
ไดตรสั แกม นษุ ยในโลกน้ี พระองคไดต รสั วา “ดกู อ นภกิ ษทุ ั้งหลาย, นเี่ ปน วาจาครัง้ สุดทาย ทีเ่ ราจะกลา วแกทา นทัง้ หลาย สังขารท้ังหลายทัง้
ปวงมคี วามสน้ิ ไปและเสอื่ มไปเปน ธรรมดา ทานทงั้ หลายจงทําความรอดพน ใหบรบิ รู ณถ ึงทสี่ ุดดวยความไมประมาทเถดิ ”
ลาํ ดบั นนั้ พระพุทธองคท รงเขา สูสมาบัติ และเลอื่ นเขา สูสมาบตั อิ ันลกึ ยงิ่ ๆ ข้นึ ไปอกี ตามลําดับๆ จนถึงท่ีสดุ แหงสมาบตั อิ ันดับท่ี 9 แลว
ทรงถอยหลังจากสมาบตั ิอนั ลึกน้ันมาตามลาํ ดับ จนกระทง่ั ออกจากสมาบตั ิชั่วขณะหน่ึง แลว ทรงกลับเขา สูสมาบตั อิ ยา งเดมิ อีก เพยี ง 4 ลําดับ
ครัน้ ออกมาจากสมาบตั อิ ันดับท่ี 4 นน้ั แลว ก็เสด็จดับขนั ธไมม ีส่ิงใดเหลืออยสู าํ หรบั การเกิดขน้ึ ในโลกนี้ หรือโลกไหน อกี ตอ ไป พระพุทธองค
ไดเสดจ็ ปรนิ ิพพานดวยอาการอยา งนี้
เวลาลว งมาถงึ 25 ศตวรรษแลว นบั ตง้ั แตพ ระสทิ ธตั ถะไดต รสั รเู ปนพระสมั มาสัมพุทธเจา และเสด็จปรินิพพานทน่ี อกเมืองกุสนิ าราใน
ประเทศอินเดยี แตคําส่งั สอนอนั ประเสรฐิ ของพระองค หาไดลวงลบั ไปดว ยไม คําส่ังสอนเหลานน้ั ยงั คงอยู เปน เครอ่ื งนําบคุ คลใหข ามขึ้นพน
จากความมีชวี ติ ข้ึนไปสูสงิ่ ซ่ึงมคี ณุ คา ยิ่งกวา ชีวิต สําหรบั คนจาํ นวนลานๆ ในโลกนี้
หลงั จากพระพุทธองคเ สด็จปรินพิ พานแลว สาวกของพระองคท ั้งทีเ่ ปน พระอรหนั ตและมใิ ชพ ระอรหนั ต ไดชว ยกนั เผยแพรกระแสพระ
พุทธวจนะอันประเสริฐน้นั ไปจนทว่ั ประเทศอินเดยี และลวงเลยออกไปนอกเขตประเทศอินเดยี ทางทศิ ตะวนั ตก จนกระทัง่ ถึงประเทศอยี ปิ ต
ทางทิศตะวันออกถงึ ประเทศธิเบต ประเทศจนี และประเทศญป่ี นุ ทางทิศเหนือจนถงึ ประเทศแล็บแลนด ทางขว้ั โลก ก็ยังมพี ระสาวกนําคาํ สอน
ของพระองคไ ปเผยแพร และทางทศิ ใตถึงประเทศชวา และหมเู กาะในทะเลใตทว่ั ๆ ไป จนกระทั่งถงึ ทุกวันน้ี เปน เวลา 2,500 ปม าแลว หน่ึง
ในสามของมนษุ ยท อี่ าศยั ในโลก ไดเอยพระนามของพระองคดว ยความเคารพอยางสงู สดุ วา พระองคเปนพระอรหันต พระผมู พี ระภาคเปน พระ
สัมมาสัมพทุ ธเจา เปนพระศาสดาผูสงั่ สอนเทวดาแลมนุษย ดวยเรือ่ งแหง พระนิพพาน และหนทางปฏบิ ัติเพอื่ ลถุ งึ นพิ พานน้นั
แหลงที่มา: http://www.baanjomyut.com/pratripidok/buddhaprawat/index.html