The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong2, 2022-01-20 22:06:10

ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

Keywords: ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

ร่วม
จัดการน้า

โดยชุมชน

0

คำนำ

นับต้ังแต่ปี 2552 สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลัง
พระฯ ได้เร่ิมการพัฒนาพื้นท่ีต้นแบบในจังหวัดน่าน และขยายสู่
พื้นท่ีจังหวดั อดุ รธานี เพชรบุรี อทุ ยั ธานี และกาฬสินธุ์ เพื่อประยุกต์
ศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” “หลักการทรงงาน 23
ประการ” และ “องค์ความรู้ตามแนวพระราชดาริ 6 มิติ” ไป
ส่งเสริมให้เกิดกิจกรรมการพัฒนาพื้นที่ต้นแบบต่างๆ ทั้งน้ี เพื่อ
จดั การความรแู้ ละส่งเสรมิ การพัฒนาตามแนวพระราชดารอิ ย่างเป็น
ระบบและกว้างขวาง จนเป็นแนวทางหลักของประเทศ

เอกสารฉบับนี้ จึงได้รวบรวมความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับ
“การจัดการนาโดยชุมชน ตามแนวทางปิดทองหลังพระฯ” อัน
ผสมผสาน “ความรู้ตามแนวพระราชดาริ” “ความรู้สากล” และ
“ความรู้ท้องถิ่น” ที่เกิดขึ้นจากความเข้าใจและประสบการณ์การ
พัฒนาในพื้นท่ีต้นแบบ ซ่ึงได้มาจากการสัมภาษณ์ สารวจ และ
สังเกตการณ์พัฒนาในพ้ืนที่ แล้วนามาจัดหมวดหมู่ สังเคราะห์
และนาเสนอ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและเป็นประโยชน์ต่อการ
ดาเนินงานในพืน้ ทต่ี ่างๆ ต่อไป

1

2

เนือ้ หำในเล่ม

1. ความเป็นมาและวตั ถปุ ระสงค์
การจดั การนา้ โดยชุมชน

2. หลักการจดั การน้าโดยชมุ ชน
3. กระบวนการจดั การนา้ โดยชุมชน
4. บทสรปุ และบทเรียน

3

4

1. บทนา้

ความเป็นมาและวัตถปุ ระสงค์
การจดั การนา้ โดยชุมชน

“น้า” เป็นหนึ่งในปัจจัยหลักที่มีความสาคัญต่อชีวิตความเป็นอยู่
ของประชาชนทุกระดับ แม้ว่าจะมีหลายหน่วยงาน ทั้งภาครัฐ
เอกชน ประชาสังคม เข้ามาดาเนินการเร่ืองการบริหารจัดการน้า
แต่หลายพื้นที่ของประเทศยังคงต้องเผชิญกับปัญหาน้าท่วม และ
น้าแลง้ ซ้าซาก ซ่ึงนับวันจะย่ิงทวีความรุนแรงมากขึ้น อันสะท้อนให้
เห็นวา่ การบรหิ ารจัดการน้ายงั มีจดุ ออ่ นอยมู่ าก อาทิ

 เรง่ แกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ทากนั เปน็ ครั้งคราว
 ขาดการมองภาพรวมของระบบน้าและระบบสังคม
 ไม่ประสานระหว่างหน่วยงานกับชมุ ชน
 ไมเ่ ข้าใจตน้ เหตุของปญั หาท่แี ทจ้ รงิ
 นาวิธกี ารเดยี วกันไปใช้กบั ทกุ พนื้ ท่ี
 ประชาชนเพยี งบางกล่มุ ไดร้ ่วมแสดงความคิดเห็น
 ขาดความต่อเนือ่ งในการทางาน

เป็นตน้

5

สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนว
พระราชดาริ หรือสถาบันปิดทองหลังพระฯ เป็นหน่วยงานท่ีมี
ภารกิจในการส่งเสริมการพัฒนาพ้ืนที่ตามแนวพระราชดาริใน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9
โดยน้อมนาเอาศาสตร์พระราชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” มาเป็น
แนวทางหลักในการแก้ไขปัญหาในพื้นท่ี รวมท้ังหลักการทรงงาน
องค์ความรู้ 6 มิติ อันประกอบด้วย ด้านน้า ดิน เกษตร ป่าไม้
พลังงาน และส่ิงแวดล้อม ล้วนมาจากประสบการณ์แก้ปัญหา
ท้ังหลายท่ีเป็นปัญหาใหญ่ของประเทศ โดยมีเป้าหมายไปสู่การ
“อยู่รอด” “พอเพยี ง” และ “ย่งั ยนื ” อย่างเปน็ ลาดบั ขั้น
สถาบันปิดทองหลังพระฯ ได้ริเร่ิมขับเคลื่อนงานพัฒนาพื้นท่ีมา
ต้ังแต่ปี 2552 ในพ้ืนที่จังหวัดน่าน โดยมี “การบริหารจัดการน้า
โดยชุมชน” เป็นหัวใจหลักในการขับเคล่ือนงานพัฒนา เน่ืองจาก
“มิตนิ ้า” เป็นตวั แปรสาคัญในการเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาด้านอื่นๆ
ทง้ั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม และสิง่ แวดลอ้ ม ท่ีจะนาไปสู่ความยัง่ ยืน

6

“…เร่ืองน้ำนี้ ก็เป็นปัจจัยหลักของมวลมนุษย์ ไม่ใช่มนุษย์
เท่ำน้ัน แม้ส่ิงมีชีวิตท้ังหลำย ทั้งสัตว์ทั้งพืช ถ้ำไม่มีก็อยู่
ไม่ได้ เพรำะว่ำน้ำเป็นสื่อ หรือเป็นปัจจัยส้ำคัญของ
ส่ิงมชี วี ิต แมส้ ง่ิ ไมม่ ชี ีวติ ก็ต้องกำรน้ำเหมือนกัน มิฉะนั้นก็
จะกลำยเป็นอะไรไม่ทรำบ เช่น ในวัตถุต่ำงๆ ในรูปผลึก
ก็ต้องมีน้ำในน้ันด้วย ถ้ำไม่มีน้ำก็จะไม่เป็นผลึก
กลำยเปน็ สิง่ ที่ไม่มีรปู
ฉะน้ัน น้ำน้ีกเ็ ปน็ สงิ่ สำ้ คัญ ทก่ี ล่ำวถึงข้อน้ีก็จะให้ได้ทรำบ
ถึงว่ำท้ำไมกำรพัฒนำข้ันแรกหรือสิ่งแรกท่ีนึกถึง ก็คือ
โครงกำรชลประทำน แล้วก็โครงกำรสิ่งแวดล้อมท้ำให้
น้ำดี สองอย่ำงน้ีอื่นๆ ก็จะเป็นไปได้ ถ้ำหำกว่ำปัญหำ
ของน้ำน้ี เรำได้สำมำรถท่ีจะแก้ไข หรืออย่ำงน้อยท่ีสุดก็
ท้ำให้เรำมีน้ำใช้อย่ำงเพียงพอ ฉะน้ันกำรพัฒนำนั้น
สิ่งส้ำคัญก็อยู่ตรงนี้ นอกจำกน้ัน ก็เป็นสิ่งท่ีต่อเน่ือง เช่น
วิชำกำรในด้ำนกำรเพำะปลูก เป็นต้น ตลอดจนถึงกำร
พัฒนำที่เก่ียวข้องกับอุตสำหกรรม หรือกำรค้ำ หรือกำร
คลัง อะไรพวกนีก้ ็ต่อเนอ่ื งตอ่ ไป... "

พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวฯ รชั กาลที่ 9
เมื่อวันท่ี 29 ธันวาคม 2532 ณ พระตาหนกั จิตรลดารโหฐาน

7

ปัจจุบัน สถาบันปิดทองหลังพระฯ ได้ขยายผลไปยังพื้นท่ีต่างๆ
ของประเทศ ซ่ึงยึดม่ันในแนวทางหลักดังกล่าว โดยปรับวิธีการ
ทางานในแต่ละพื้นที่แตกต่างกันออกไป ซ่ึงเร่ิมเห็นผลความสาเร็จ
ของการพัฒนาทีส่ ามารถวัดผลได้วา่ “ชาวบา้ นไดอ้ ะไร”
อีกท้ังยังได้ช่วยกระตุ้นให้ชุมชนเกิดความตระหนักถึงความสาคัญ
ของการจัดการน้าด้วยตนเอง เปลี่ยนแนวคิดมาสู่การพึ่งพาตัวเอง
เพ่ือการ “อยู่รอด” และการช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนท่ีเป็น
รูปธรรมมากข้ึน ซ่ึงจะนาชุมชนไปสู่ความพอเพียงและยั่งยืน
ตามลาดับต่อไป
ผลลัพธ์ความสาเร็จดังกล่าวสามารถเป็นแบบอย่างให้แก่เจ้าหน้าท่ี
จากหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาสังคมต่างๆ
รวมถึงเจ้าหน้าท่ีสง่ เสรมิ งานพัฒนาซ่ึงต้องทาหน้าที่เกี่ยวข้องในการ
บริหารจัดการน้า ได้เข้าใจถึงความสาคัญของการบูรณาการ
ความร่วมมือระหว่างกัน และความจาเป็นของการพัฒนาที่ยึดหลัก
ชุมชนเป็นที่ต้ัง เพื่อนาหลักการไปประยุกต์ใช้ในพ้ืนท่ีให้เหมาะสม
ตอ่ ไป

8

พนื ท่ีตน้ แบบปิดทองหลังพระฯ กับปญั หาดา้ นน้า

สถาบันปิดทองหลังพระฯ ริเริ่มการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบแห่งแรกใน
จังหวัดน่าน เม่ือปี 2552 โดยน้อมนาแนวพระราชดาริ ผสมผสาน
กับองค์ความรู้ แนวทางการบริหาร และหลักการทรงงาน สู่การ
ปฏิบัติจริงในพ้ืนท่ี ต่อมาได้ขยายไปสู่พ้ืนท่ีใน 4 จังหวัด ได้แก่
จังหวัดอุดรธานี จังหวัดเพชรบุรี จังหวัดอุทัยธานี และจังหวัด
กาฬสินธ์ุ ตามลาดับ อันเป็นการแปรแนวคิดไปสู่การปฏิบัติในพ้ืนที่
ทีม่ คี วามแตกต่างกันทางภูมิประเทศและภูมิสังคม เพ่ือเป็นต้นแบบ
ของการพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื สาหรับพ้ืนที่ทม่ี คี วามแตกตา่ งกันในแต่ละ
ภูมภิ าคของประเทศ

9

การบรู ณาการแก้ไขปัญหา
พนื ท่จี งั หวัดนา่ น

จังหวัดน่านเป็นพื้นที่ต้นน้าที่สาคัญของประเทศ แต่ประสบกับ
ปัญหาถูกบุกรุกทาลายป่าเพ่ือปลูกพืชเชิงเดี่ยว สารเคมีทาง
การเกษตรปนเป้ือนสู่ดินและแหล่งน้า และเกิดปัญหาน้าหลาก
ส่งผลต่อความเป็นอยู่ อีกท้ังประชาชนในจังหวัดน่านมีหนี้สินสูง
และมีความยากจนเป็นอันดบั ตน้ ๆ ของประเทศ

จังหวัดน่านจึงได้รับการเลือกเป็นพื้นที่นาร่องแห่งแรก ในพ้ืนที่
อาเภอสองแคว อาเภอท่าวงั ผา และอาเภอเฉลิมพระเกียรติ ที่ตั้งอยู่
ในลุ่มน้าน่านตอนบน ซง่ึ ลว้ นตา่ งประสบปัญหาเรื่องน้า แต่มีสาเหตุ
ที่แตกตา่ งกันไป

พืนที่อาเภอเฉลิมพระเกียรติ เป็นภูเขาสูงมีความลาดชัน
มาก ป่ามีสภาพเส่ือมโทรมจากการแผ้วถางทาไร่ข้าวโพด
เลี้ยงสัตว์และไร่หมุนเวียน ประสบปัญหาน้าหลากแรง
หน้าดินถูกชะล้าง อีกทั้งพ้ืนท่ีบริเวณนี้ไม่สามารถเก็บกัก
น้าไว้ใชใ้ นฤดูเพาะปลูกได้ จงึ ทาให้มีผลผลิตทางการเกษตร
ตกต่า เกิดภาวะหน้ีสิน ความยากจน และปัญหาสุขภาพ
ตามมา

10

พืนท่ีอาเภอท่าวังผา ประสบปัญหาน้าหลากในช่วงฤดูฝน
เน่ืองจากเป็นพื้นท่ีรับน้าของแม่น้ายาวและแม่น้าน่าน
รวมถึงเป็นพ้ืนท่ีบรรจบกันของลาห้วยหลายสาย ขณะที่
ช่องทางระบายน้าทางทิศใต้แคบเป็นคอขวด และมีปัญหา
ป่าต้นน้าถูกทาลาย จึงเกิดปัญหาน้าหลากหมู่บ้านและ
พ้นื ที่ทาเกษตรทสี่ รา้ งความเสียหายอย่บู ่อยครงั้

พืนท่ีอาเภอสองแคว มีปัญหาขาดแคลนน้าและน้าไม่
เพียงพอตอ่ การเพาะปลูกเช่นกนั แต่เกิดจากการที่ลาน้ามุด
หายก่อนเข้าในหมู่บ้าน และไปโผล่ในปา่ ชุมชนทา้ ยหมบู่ า้ น

พ้นื ทต่ี น้ แบบในอาเภอสองแควและอาเภอท่าวังผา ยังมีปัญหาเร่ือง
ฝายท่ีไม่คงทนถาวรด้วย ซ่ึงมักจะถูกน้าพัดทาลายในช่วงน้าหลาก
จงึ ไม่สามารถเก็บกักนา้ ไว้ใชไ้ ด้ สว่ นพื้นทอี่ าเภอเฉลมิ พระเกียรติ ยัง
ไม่มีฝายกักเก็บนา้ จึงต้องพ่งึ พานา้ ฝนเพียงอย่างเดียว

สถาบันปิดทองหลังพระฯ ได้ร่วมมือกับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง
หน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม สนับสนุนอุปกรณ์และ
ความรู้วชิ าการในการซ่อมแซมและก่อสร้างฝายท่ีแข็งแรงในพ้ืนที่ท่ี
เหมาะสม รวมถึงการทาระบบกักเก็บน้า บ่อพวงสันเขา และระบบ
ท่อส่งน้า เพ่ือกระจายน้าสู่พื้นที่เกษตร ส่งเสริมกลุ่มผู้ใช้น้าโดยให้
ชมุ ชนบริหารจัดการด้วยตนเองและสร้างกลไกในการดูแลป่าต้นน้า
โดยชุมชนมสี ว่ นร่วม

11

โครงการบริหารจัดการน้าอยา่ งยง่ั ยนื
อันเนอ่ื งมาจากพระราชดา้ ริ
บา้ นโคกลา่ ม-แสงอร่าม จังหวดั อดุ รธานี

สถาบันปิดทองหลังพระฯ จึงได้พิจารณาเลือกพื้นที่อ่างเก็บน้า
ห้วยคล้ายอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ อาเภอหนองวัวซอ จังหวัด
อุดรธานี เป็นพ้ืนท่ีต้นแบบเพื่อการขยายผลต่อจากจังหวัดน่าน
เนื่องจากประสบปัญหาไม่สามารถใช้น้าได้เต็มประสิทธิภาพ จาก
การไม่มีระบบสง่ น้าไปยังแปลงเกษตรท่ีอยโู่ ดยรอบ
ทงั้ นีร้ ะบบเดิมจะส่งน้าที่ล้นจากอ่างเก็บน้าไปตามลาห้วยธรรมชาติ
ทาให้พ้ืนท่ีที่อยู่ห่างไกลแหล่งน้าไม่ได้รับน้า จึงไม่สามารถปลูกพืช
ก่อนนาหรือพืชหลังนาได้ ทาให้มีรายได้จากการเกษตรน้อยมาก
ชาวบ้านจานวนหนึ่งต้องออกไปหางานรับจ้างทานอกพื้นท่ีในช่วง
นอกฤดูการทานา
การดาเนินการแก้ไขปัญหาในพื้นท่ีนี้ ได้ใช้การระดมความร่วมมือ
ของชุมชนขุดลอกบึงท่ีตื้นเขิน โดยการสนับสนุนอุปกรณ์และ
ความรูใ้ นการปรบั ปรุงต่อเติมทางน้าลน้ ให้สามารถเก็บน้าได้สูงข้ึน
อีก 50 เซนติเมตร และทาระบบท่อส่งน้าแบบก้างปลา ขยายพื้นท่ี
ส่งน้าไปยังพื้นท่ีการเกษตรได้มากข้ึน ส่งเสริมการก่อต้ังกลุ่มผู้ใช้น้า
และพฒั นาใหช้ มุ ชนเรยี นร้กู ารจัดการน้าด้วยตนเอง

12

โครงการพฒั นาชนบทเชงิ พืนท่ีประยกุ ต์
ตามพระราชดา้ ริ บ้านโปง่ ลกึ -บางกลอย
จังหวดั เพชรบรุ ี

บ้านโป่งลึกและบ้านบางกลอย เป็นท่ีต้ังของชุมชนชาวกะหร่างชน
เผ่าปกาเกอะญอ รวมประมาณ 1,000 คน เดิมเคยมีวิถีชีวิตอยู่
อย่างกระจัดกระจายในผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ของอุทยานแห่งชาติ
แก่งกระจาน ต่อมาถูกอพยพลงมาและได้รับการจัดสรรพื้นที่ให้อยู่
เป็นหลกั แหลง่ ซง่ึ พื้นทด่ี งั กล่าวยังคงอยใู่ นเขตอุทยานแห่งชาติฯ

ดว้ ยสภาพพื้นทีซ่ ่งึ มแี ม่นา้ เพชรบรุ ไี หลผ่าน แตม่ ตี ลิง่ สงู ชัน ชาวบ้าน
ดารงชีพอย่างยากลาบากในการนาน้าข้ึนมาใช้ประโยชน์ ส่งผลให้
การปลูกข้าวและพืชผักได้ผลผลิตน้อย ไม่เพียงพอต่อการบริโภค
ชาวบา้ นบางสว่ นต้องลงจากเขาไปหางานรบั จ้างทาในเมอื ง

สถาบันปิดทองหลังพระฯ ได้ร่วมกับอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และสถาบันการศึกษา มุ่งแก้ปัญหาแหล่ง
น้าอยู่ต่ากว่าพื้นที่ทากิน โดยถ่ายทอดความรู้ สนับสนุนอุปกรณ์
สบู น้าพลังงานแสงอาทิตย์ ร่วมกับการระดมความร่วมมือชุมชนใน
การสร้างบ่อเก็บน้าและระบบส่งน้า เพ่ือให้ชุมชนสามารถทา
การเกษตรได้ ส่งเสริมการรวมกลุ่มผู้ใช้น้า และส่งเสริมด้าน
การตลาด เพ่ือให้เกดิ การรวมตัวและการชว่ ยเหลอื ตวั เองได้มากข้ึน

13

โครงการพฒั นาแก้มลงิ หนองเลิงเปือย
อันเน่ืองมาจากพระราชดา้ ริ จงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ

หนองเลิงเปือย เป็นหนองน้าธรรมชาติในลุ่มน้าสาขาลาปาว
ตอนล่างของลุ่มน้าชี ตั้งอยู่ในเขตพื้นท่ีอาเภอร่องคาและอาเภอ
กมลาไสย จังหวัดกาฬสินธ์ุ ในอดีตหนองเลิงเปือยประกอบด้วย
หนองน้าเล็กๆ จานวน 6 แห่ง เป็นท่ีมาของคาว่า “เลิง” อัน
หมายถึงหนองน้าขนาดเล็กในภาษาอีสาน มีพื้นท่ีรวมท้ังหมด
ประมาณ 887 ไร่ ความจุนา้ ประมาณ 3.5 ล้านลกู บาศกเ์ มตร

หนองเลิงเปือยทาหน้าท่ีเป็นแก้มลิง รองรับน้าปริมาณท่ีไหลมา
ไม่ให้เข้าท่วมพ้ืนท่ีเกษตรและบ้านเรือนประชาชน ต่อมามีตะกอน
สะสมมากขน้ึ ทาให้สามารถจนุ ้าได้เพียง 1 ใน 3 ของความจุทั้งหมด
ประกอบกับประตูน้าชารุด ทาให้เกิดปัญหาน้าท่วมซ้าซากในฤดูฝน
สร้างความเสียหายแก่พ้ืนที่เกษตรทุกปี และน้าแห้งขอดในช่วงฤดู
แล้ง ทาให้มีนา้ ไม่พอเพียงตอ่ การเกษตรกรรมและอุปโภคบริโภค

สถาบันปิดทองหลังพระฯ บูรณาการทางานร่วมกับหน่วยงานท่ี
เกี่ยวข้อง ท้ังหน่วยงานราชการท้องถิ่น ท้องที่ สถาบันการศึกษา
และชุมชน ขดุ ลอกหนองเลงิ เปือยเพ่ือให้เก็บน้าได้มากข้ึน ปรับปรุง
ประตูน้า จัดทาระบบส่งน้าให้ทั่วถึง ปรับความสูงของพ้ืนที่เกษตร
เพื่อการป้องกันน้าท่วม และส่งเสริมให้เกิดกลุ่มผู้ใช้น้า ตลอดจน
การพฒั นาดา้ นอื่นๆ เช่น การปลกู พืชและเลีย้ งสัตว์ เป็นต้น

14

โครงการพืนทีต่ ้นแบบบรู ณาการแกไ้ ข
ปญั หาและพฒั นาพืนทต่ี า้ บลแกน่ มะกรดู
อา้ เภอบา้ นไร่ จงั หวดั อทุ ยั ธานี

พ้นื ทต่ี าบลแก่นมะกรูด อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี อยู่ในลุ่มน้า
ห้วยแม่ดีน้อย ติดกับพ้ืนที่ป่าห้วยขาแข้ง แหล่งมรดกโลก เป็น
หมู่บ้านชาวกะเหรีย่ งโปว์ท่ีอพยพย้ายมาจากภูเขาด้านบน ลงมาตั้ง
ถิ่นฐานถาวรอยู่ร่วมกันหลายหมู่บ้าน และมีจานวนประชากรเพ่ิม
มากข้ึนทุกปี มีการขยายพ้ืนที่ทากินบุกรุกเข้าไปในเขตป่า และมี
ความต้องการใช้น้ามากขน้ึ

แม้ว่าชุมชนจะมีฝายอนุรักษ์อยู่แล้ว แต่มีจานวนไม่เพียงพอและ
ชารดุ ไปเรื่อยๆ ทาให้ไมม่ ีแหลง่ กักเกบ็ น้าไว้ใช้ในฤดูแล้ง การเกษตร
ในพ้นื ที่จึงไม่สามารถทาได้ตลอดปี

การดาเนินการพัฒนาระบบน้า ได้เริ่มจากการรวมพลังชุมชน
สารวจพน้ื ทเี่ พ่อื กาหนดเขตป่าและเขตทากินที่ชัดเจน พร้อมสารวจ
ระบบโครงข่ายน้าในพนื้ ที่ มกี ารใหค้ วามรู้และสนับสนุนอุปกรณ์ใน
การสร้างฝายชะลอน้า พ้ืนที่เก็บกักน้า ทาระบบส่งน้าโดยชุมชน
พร้อมส่งเสริมให้มีการต้ังกลุ่มผู้ใช้น้า เรียนรู้รูปแบบการจัดการน้า
แบบโคก-หนอง-นาโมเดล ซ่ึงไดป้ รับใชไ้ ด้อยา่ งเหมาะสมกบั พืน้ ท่ี

15

เหน็ ได้ว่า การพัฒนาทกุ พืนที่
เรม่ิ ตน้ จากการปรบั ปรุงโครงสรา้ งพนื ฐาน
ท่เี ป็นหวั ใจส้าคัญของการเกษตร น่ันคือระบบนา้
เกิดจากการชกั ชวนใหช้ าวบ้านรว่ มคิด ร่วมท้า
รว่ มแกป้ ญั หา และบริหารจัดการร่วมกันภายใน
ชุมชนตนเอง เชือ่ มโยงไปสู่การพฒั นาดิน
สิง่ แวดล้อม จนถงึ การเกษตร ทา้ ใหช้ าวบ้าน
มที างเลือกในการประกอบอาชีพมากขึน

ปญั หาเรอ่ื งน้าและการบริหารจัดการนา้ ยังคงเปน็ ปัญหาพ้ืนฐานของ
แทบทุกพ้ืนที่ ซ่ึงล้วนมีสาเหตุและความยากง่ายในการแก้ปัญหา
ทต่ี ่างกัน หากไม่ได้รับการแก้ไขที่เหมาะสม จะเป็นอุปสรรคต่อการ
พัฒนาในด้านอ่ืนๆ ต่อไป ผู้ท่ีเข้าใจปัญหาได้ดีก็คือชาวบ้านที่อาศัย
อยใู่ นพื้นทีน่ ้ัน ดงั นนั้ ผู้ทจี่ ะเขา้ ไปทาหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาเร่ือง
น้า จึงต้องร่วมกับชุมชนในพื้นท่ี เข้าใจเรื่องของน้าในชุมชนนั้นๆ
รวมถึงสภาพภูมิประเทศและข้อมูลต่างๆ อย่างถ่องแท้ และนามา
ผสานกับหลักคิด หลักการ องคค์ วามรู้ รวมถงึ กรณีศึกษาต่างๆ เพื่อ
นาไปปรบั ใชใ้ ห้สอดคล้องกับพื้นท่ี

16

17

18

2. หลักการจดั การน้า

โดยชุมชน

ความหมายและความสา้ คญั
การจดั การนา้ โดยชมุ ชน

การจดั การน้าโดยชมุ ชนตามแนวทางปดิ ทองหลงั พระฯ เป็นรูปแบบ
ท่ีชุมชนเห็นความสาคัญของการแก้ไขปัญหาน้าด้วยตนเอง ตกลง
รว่ มกนั ในการใช้แรงกายและแรงสมองทาความเข้าใจและวิเคราะห์
สถานการณเ์ รือ่ งนา้ ของชุมชน วางแผนและออกแบบวิธีการจัดสรร
นา้ และการใช้น้าร่วมกัน ให้เกิดความเท่าเทียมและยุติธรรม ตาม
ต้นทุนน้าท่ีมีอยู่ รวมไปถึงการที่ชุมชนสามารถวางแผนป้องกันและ
แก้ไขปัญหาเรื่องน้าร่วมกันได้อย่างเป็นระบบ โดยจะประสานขอ
ความช่วยเหลือจากภายนอกหรอื ไมก่ ็ตาม
แน่นอนว่าชุมชนคงไม่ได้เป็นผู้จัดการเองเสียทั้งหมด แต่ต้องเป็น
หลัก เป็นเจ้าของเรื่อง พ่ึงตนเองก่อนพึ่งหน่วยงานภายนอก โดยใช้
ทั้งความรู้ท้องถิ่นที่มีอยู่ และความรู้ทางวิชาการท่ีจาเป็นต้องใช้
เพอ่ื แก้ไขปัญหาท่ียากและซบั ซ้อนข้ึน

19

ด้วยทรัพยากรน้าเป็นต้นทุนท่ีสาคัญต่ออาชีพเกษตรกรและการ
ดารงชีวิตของทุกคนในชุมชน ชุมชนท่ีสามารถบริหารจัดการน้า
ร่วมกันได้ด้วยตัวเอง จึงเป็นชุมชนท่ีมีความเข้มแข็ง มีศักยภาพใน
การเติบโตและพฒั นาตอ่ ยอดอาชีพไดห้ ลากหลายดา้ น
แต่หากสืบค้นหากรณีชุมชนท่ีมีการบริหารจัดการน้าในหลายๆ
พ้ืนที่ พบว่ามีเพียงไม่ก่ีชุมชนที่สามารถลุกข้ึนมาบริหารจัดการน้า
ด้วยตนเองแล้วประสบความสาเร็จ เนื่องจากการขาดประสบการณ์
และองค์ความรู้ใหม่ๆ ในการแก้ไขปัญหาเชิงระบบ เพราะการ
จดั การนา้ มกั มคี วามเชื่อมโยงกับเรื่องอนื่ ๆ อยู่เสมอ

หากมองดา้ นกายภาพและสิ่งแวดล้อม
การจดั การน้าต้องเริม่ จากพืนที่ตน้ น้า
ป่าไม้ แม่นา้ สายหลกั แมน่ ้าสายรอง
และคลองธรรมชาติ ฝายกันน้า
อา่ งเกบ็ น้า ระบบส่งน้า พืนที่รบั นา้
และพืนทปี่ ลายนา้ ด้านภูมสิ ังคมเรอื่ งน้า
เกยี่ วข้องกับความเชือ่ วฒั นธรรม
กิจกรรมการใชน้ ้า และพฤติกรรมการใชน้ ้า

20

การดาเนินงานการพัฒนาพ้ืนที่ต้นแบบด้านการบริหารจัดการน้า
ของสถาบนั ปิดทองหลังพระฯ ได้แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจจุดอ่อน
ดังกล่าวของชุมชน จึงได้เข้าดาเนินการในรูปแบบคล้ายการเป็น
“พี่เลี้ยง” ให้กับชุมชน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนา คือ เพ่ือให้
ชมุ ชนสามารถบรหิ ารจดั การตอ่ ได้ด้วยตนเองตอ่ ไป

หลกั การบริหารจดั การน้าโดยชมุ ชน
ตามแนวทางปิดทองหลงั พระฯ

หลักการสาคัญอันเป็นท่ีมาของวิธีคิดและวิธีปฏิบัติในการบริหาร
จัดการน้าโดยชุมชนในพ้ืนท่ีต้นแบบปิดทองหลังพระฯ มีอยู่หลาย
ประการ ขอยกตวั อยา่ งดงั นี้

 มองภาพรวม มองทุกอย่างเปน็ องค์รวม
 แก้ปัญหาจากจุดเล็ก
 ชุมชนเปน็ เจ้าของ
 บูรณาการ
 เรียบงา่ ยไดป้ ระโยชนส์ ูงสุด
 วัดผลวา่ ชาวบ้านได้อะไร

21

มองภำพรวม มองทุกอย่ำงเป็นองค์รวม

องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ รัชกาลท่ี 9
ทรงมองทุกอย่างทเี่ กิดขึนอย่างเป็นระบบ ครบวงจร
มองทกุ ส่งิ เปน็ พลวัตท่ที กุ มิติเชอ่ื มต่อกนั
เหตกุ ารณห์ น่ึงเป็นผลมาจากอกี เหตุการณห์ น่ึง

ปญั หาเศรษฐกิจ สังคม และส่งิ แวดลอ้ ม เป็นเร่ืองเช่ือมโยงกับความ
เจบ็ ปว่ ย ความยากจน และความไม่รู้ ไม่มีทางเลือก การแก้ปัญหา
จึงต้องเร่ิมแก้ทต่ี ้นเหตุทเี่ ปน็ รากเหงา้ ของปญั หา เชน่ หาวิธีการท่ีจะ
ทาให้คนไม่จนด้วยการฟ้ืนฟูอาชีพ แก้ปัญหาความไม่รู้ด้วยการให้
ความรู้ ปรับวิธีคิด เปลี่ยนมุมมอง และแก้ปัญหาความเจ็บป่วยโดย
การพง่ึ พาธรรมชาตแิ ละลดสารเคมี เปน็ ตน้
การมองปัญหาเร่ืองการเกษตร การจัดการท่ีดินและแหล่งน้า ต้อง
มองให้เป็น “วิธีการและทางออก” เม่ือมีน้าในการทาการเกษตร
อย่างพอเพียง รู้วิธีการใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ ก็จะส่งผลให้
ผลผลติ ดีขนึ้ รายไดเ้ พิม่ ขึ้น สุขภาพดีข้ึน และหากมีผลผลิตเพิ่มมาก
ขึน้ เกษตรกรต้องเรยี นรู้วธิ กี ารบริหารจดั การ และการตลาด รวมถึง
การรวมกลุ่มให้มีความเข้มแข็ง ดูแลทรัพยากรรอบตัวให้อยู่ใน
สภาพสมบูรณ์ ทุกมิติจึงมีความเช่อื มโยงกัน

22

แกป้ ญั หำจำกจดุ เลก็

การมองปัญหาควรมองภาพรวมให้เข้าใจและเห็นความเช่ือมโยงใน
ภาพใหญ่ แต่การเร่ิมแก้ปัญหาต้องเร่ิมแก้จากจุดเล็ก ดังพระราช
ดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวฯ รัชกาลท่ี 9 ตอนหน่ึงท่ีว่า

"...ถ้ำปวดหัวก็คิดอะไรไม่ออก เป็นอย่ำงน้ันต้อง
แกไ้ ขกำรปวดหัวก่อน..มันไม่ได้เป็นกำรแก้อำกำร
จริงแต่ต้องแก้ปวดหัวก่อน เพื่อที่จะให้อยู่ใน
สภำพที่คดิ ได้ ...แบบ (Macro) น้ี เขำจะท้ำแบบร้ือ
ทัง้ หมด ฉันไมเ่ ห็นดว้ ย...อย่ำงบ้ำนคนอยู่ เรำบอก
บ้ำนนี้มันผุตรงน้ัน ผุตรงนี้ ไม่คุ้มท่ีจะซ่อม ...เอำ
ตกลงรื้อบ้ำนนี้ ระเบิดเลย เรำจะไปอยู่ที่ไหนไม่มี
ท่อี ยู่ ..ต้องค่อยๆ ทำ้ จะไประเบดิ หมดไมไ่ ด้..."

อย่างกรณกี ารแก้ไขปญั หาเฉพาะจุดเล็กๆ เฉพาะหน้า เช่น พบ
ปญั หานา้ ไมไ่ หลจากทอ่ สง่ น้าท่ีส่งมาจากฝายหลังโรงเรียนบ้าน
น้าป้าก จังหวัดน่าน เม่ือเจ้าหน้าส่งเสริมฯ เดินสารวจ พบว่า
เกิดจากมีอากาศในท่อส่งน้ามาก ทาให้แรงดันน้าน้อย น้าไม่
สง่ ไปตามท่อ แทนที่การแก้ปัญหาจะรื้อท่อท้ังระบบ ซึ่งต้องใช้
เงินจานวนมากและต้องใช้เวลาหลายวัน เจ้าหน้าที่เลือกใช้วิธี
นาน็อตขนาดเล็กมาเจาะท่อ เพ่ือระบายอากาศในท่อออก
เพ่ือให้นา้ สามารถดันมาไดเ้ ตม็ ที่

23

ชมุ ชนเป็นเจ้ำของ

ความเป็นเจ้าของทรัพยากรน้าท่ีชุมชนมีมาแต่เดิม อาจถูกลดทอน
ลงไป จากการท่ีมีหน่วยงานภายนอกเข้ามาจัดการให้ เม่ือเกิด
ปัญหาก็ต้องรอให้เจ้าหน้าที่เข้ามาซ่อมแซม การทางานในพื้นท่ี
ต้นแบบต่างๆ จึงให้ความสาคัญกับการสร้าง “ความเป็นเจ้าของ”
ของชุมชน ด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชนอย่างแท้จริง ตั้งแต่ร่วม
ออกความคิดเห็น ออกแบบระบบ รว่ มลงทุนลงแรงด้วยตนเอง
อย่างกรณีการสร้างฝายชะลอน้าของชุมชนในพื้นท่ีต้นแบบจังหวัด
น่าน และจังหวัดอุดรธานี สถาบันปิดทองหลังพระฯ เป็นเพียงแค่
ผูส้ นับสนนุ วสั ดทุ ี่ชมุ ชนไมม่ ี และให้ความรู้ทางเทคนิค โดยชาวบ้าน
ลงมือลงแรง ผลัดเวรกันมาวันละหลายสิบคน ช่วยกันคนละไม้คน
ละมอื ใชเ้ วลาเพียงไมก่ ่ีวันฝายกเ็ สรจ็ พร้อมกับความภาคภูมิใจและ
ความเข้าใจถึงวิธีการสร้างฝาย วิธีการซ่อมแซมดูแลรักษา ที่จะทา
ใหฝ้ ายน้นั อย่คู ่กู บั ชมุ ชนไปอกี นาน

24

กำรบูรณำกำรกำรทำงำน

การบรู ณาการมคี วามส้าคัญมากแตท่ ้าได้ยาก
หากไมบ่ รู ณาการ กจ็ ะต่างคนตา่ งท้า
เกิดความขดั แย้ง และสินเปลืองทรัพยากร

การบูรณาการเป็นสง่ิ ทจ่ี าเปน็ ในการพัฒนาเรื่องใดเร่ืองหน่ึงในพ้ืนท่ี
หน่งึ ๆ ซ่ึงมักเช่ือมโยงกับอีกหลายๆ เรื่องอยู่เสมอ โดยเฉพาะการ
จัดการน้า ที่เกี่ยวข้องกับงานเกษตร งานท่ีดิน งานป่าไม้ งานสังคม
เป็นต้น จึงต้องนาเอาความเช่ียวชาญของหน่วยงานต่างๆ มาใช้
รว่ มกัน
กรณีการจดั การน้าในพ้ืนที่ต้นแบบจังหวัดน่าน จึงได้ตั้งคณะทางาน
ที่ประกอบด้วยบุคคลจากภาคส่วนต่างๆ ได้แก่ หน่วยงานราชการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคประชาสังคม สถาบันทางศาสนา
สถาบันการศึกษา และภาคเอกชน ประมาณ 40 หน่วยงาน ส่วน
คณะทางานระบบน้าพ้ืนที่ต้นแบบจังหวัดกาฬสินธุ์ ก็มีผู้เกี่ยวข้อง
เปน็ จานวนมากเช่นกนั นอกจากนี้ ต้องบรู ณาการความรู้และความ
ร่วมมือของชาวบ้านหลากหลายสาขาอาชีพ เพื่อให้การจัดการน้ามี
ความรอบดา้ นมากข้ึน

25

เรยี บงำ่ ย ไดป้ ระโยชน์สูงสุด

การใหค้ วามรทู้ างวชิ าการและเทคโนโลยีที่เรยี บงา่ ย เน้นการปรับใช้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ประชาชนในพ้ืนท่ีสามารถนาไปปฏิบัติได้และ
เกิดประโยชน์สูงสุด เป็นหลักคิดหน่ึงท่ีมีความสาคัญมาก ที่ได้รับ
พระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 9 ซ่ึง
พระองค์ไดท้ รงปฏิบตั ิให้เหน็ เปน็ แบบอยา่ งตลอดมา
กรณีการพัฒนาระบบน้าในพ้ืนทตี่ ้นแบบจังหวัดอุดรธานี จึงเลือกใช้
ระบบท่อในการกระจายน้าเข้าสู่พื้นท่ีเกษตร แทนที่จะใช้ระบบ
คลองส่งน้าชลประทานท่ีต้องลงทุนสูง เน่ืองจากมีต้นทุนไม่แพง
ชาวบา้ นสามารถหาซือ้ และซอ่ มแซมได้เอง

26

วดั ผลท่ี “ชำวบำ้ นได้อะไร”

การจัดการน้าโดยชุมชนในพื้นที่ต้นแบบแต่ละพื้นที่ ต้องวัดผลได้
ทาให้เกิดผลลัพธ์ที่ประจักษ์จนสามารถวัดได้ ทั้งในเชิงปริมาณและ
เชงิ คณุ ภาพ ว่าดีขนึ้ เม่อื เทยี บกับก่อนการพัฒนา
กรณีพื้นท่ีต้นแบบจังหวัดอุดรธานี ที่มีการพัฒนาระบบส่งน้า โดย
เสริมทางน้าล้นให้มีความสูงข้ึน 50 เซนติเมตร ทาให้เก็บน้าได้มาก
กวา่ เดิม 30,000 ลูกบาศกเ์ มตร สรา้ งอา่ งพวง 3 อ่าง และวางท่อส่ง
น้า พัฒนาและปรับปรุงฝายชารุด ด้วยแรงของชาวบ้านเจ้าของ
พื้นที่ เมื่อผ่านไป 4 ปี สามารถบอกได้ว่าผลผลิตข้าวเพ่ิมขึ้นจาก
เดิม 350 กิโลกรัมต่อไร่ กลายเป็น 600 กิโลกรัมต่อไร่ ผู้รับน้า
เพ่ิมข้ึนเป็น 1,372 คน เกษตรกรมีรายได้เพ่ิมขึ้นจากการปลูกพืช
หลังนาในปี 2557 เป็นเงิน 188,310 บาท เกษตรกรสามารถต่อ
ยอดไปยงั การเลีย้ งสตั ว์ และปลูกพืชชนิดอื่นๆ และมีกองทุนเกิดขึ้น
7 กองทุน เป็นต้น

ตัวชีวดั ความส้าเร็จ มิใช่การวดั จากความยาว
ของทอ่ ส่งน้า หรือความจุของอ่างเก็บน้า
หากต้องวัดจากผลลัพธ์ทีเ่ กดิ ขึนเทียบกบั
สถานการณก์ ่อนหน้าท่ีจะมีการพัฒนาพนื ที่

27

28

3. กระบวนการจัดการนา้

โดยชมุ ชน

กระบวนการจัดการน้าโดยชุมชน ได้นาศาสตร์พระราชา “เข้าใจ
เข้าถึง พัฒนา” มาปรับใช้ในกระบวนการในการดาเนินงาน ตั้งแต่
จุดเร่ิมตน้ การทางาน

 เขา้ ใจพืนที่  เขา้ ถึงปญั หา  พฒั นาคน

 เขา้ ใจเขาเขา้ ใจเรา  เขา้ ถงึ ความร่วมมอื  พัฒนางาน

ก่อนจะทาอะไรจะตอ้ ง เมอ่ื เขา้ ใจกันแล้วก็ การพัฒนาน้ันไม่ยาก
ทาความเข้าใจเสียก่อน ต้องเข้าถึง จะไดร้ ู้ หากเข้าใจ ไว้ใจ และ
เขา้ ใจท้ังภูมิประเทศ ขอ้ มูล สถานการณ์ แบ่งงานกนั เปน็ อย่างดี
เขา้ ใจผู้คน และขนบ- ท่เี กดิ ขึ้นและปญั หา โดยต้องระลกึ อยูเ่ สมอ
ธรรมเนยี มของสังคม ท่ีแท้จริงเพื่อร่วมกัน วา่ ปัญหาแตล่ ะพ้ืนท่ี
ทส่ี าคัญ คอื ตอ้ งให้ พฒั นาพืน้ ทตี่ ่อไป แต่ละเวลาไมเ่ หมือนกัน
เขาเข้าใจและไว้ใจเรา จงึ ตอ้ งหมน่ั เรียนรู้
ด้วย คอยทบทวน ยดื หยุ่น
และปรบั ใหเ้ หมาะสม

29

เข้ำใจ

ข้ันตอน “เข้าใจ” มีความสาคญั มาก เพราะเป็นปราการด่านแรกใน
สร้างความคุ้นเคยและความร่วมมือ ซ่ึงต้อง “เข้าใจภูมิศาสตร์และ
ภูมิสังคม” และ “เข้าใจเขา เข้าใจเรา” เปิดใจยอมรับการทางาน
ร่วมกนั

วธิ ีกำร “เขำ้ ใจ”

(1) เขา้ ใจภูมิศาสตรแ์ ละภมู ิสังคม
 สอบถามข้อมูล จากชาวบ้านในพื้นท่ีและผู้นาหมู่บ้าน ให้
เข้าใจสภาพพืน้ ท่ี การเปลย่ี นแปลง และสภาพปัญหาเร่ือง
น้า ความชว่ ยเหลือจากหนว่ ยงานภายนอกในปจั จุบนั
 สารวจและเดินดูสภาพพืนท่ีท่ัวไป เพ่ือประเมินความ
ยากงา่ ย และการเตรียมความพรอ้ มในการทางาน
 หารือกับผู้นาชุมชนและตัวแทนชาวบ้าน เพ่ือทาความ
เขา้ ใจเกย่ี วกบั ความสาคัญของการสารวจพนื้ ท่ีรว่ มกนั

ข้อมูลเบอื งตน้ ของพนื ทที่ ค่ี วรทาความเขา้ ใจ
- สภาพพื้นท่ี โครงขา่ ยนา้ และแหล่งน้า
- ความเป็นอยู่ของชุมชน วัฒนธรรมประเพณี อาชีพหลัก

30

- ความต้องการใช้นา้ (ลูกบาศก์เมตร) เปรยี บเทยี บกับ
ความจขุ องแหลง่ นา้ (ลกู บาศกเ์ มตร)

- พื้นท่กี ารเกษตรทต่ี ้องการใชน้ า้ (ไร่) เปรียบเทียบกับ
พนื้ ทกี่ ารเกษตรทน่ี ้าเข้าถึง (ไร)่

- อตั ราการใช้นา้ เพ่ือบรโิ ภคในชมุ ชน (ลกู บาศก์เมตรต่อ
ปี) เทียบกับปริมาณน้าเพื่อการอปุ โภคท่ไี ด้รบั จรงิ

- ปัญหา สาเหตุของปญั หา และผลกระทบท่ีเชอ่ื มโยงกัน
- โอกาสและข้อจากัดของพืน้ ที่
- ผ้ทู ่มี ีอทิ ธิพลทางความคิดต่อชุมชน
- บทบาทของหน่วยงานภายนอกและภาคีเครอื ข่าย
(2) เข้าใจเขา เข้าใจเรา
 ศึกษาบทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวบรวมแผนงาน
หรือโครงการของหน่วยงานที่ดาเนินงานในพ้ืนที่ และ
หมน่ั ประสานงานเพ่ือสร้างความเขา้ ใจระหวา่ งกัน

หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้องกบั การจดั การนาในพนื ที่
สานักงานจังหวดั /อาเภอ – ประสานการจดั ทาแผนและ
งบประมาณพัฒนาจังหวดั /กลุ่มจงั หวัด การเชอ่ื มโยงแผน
สานกั งานชลประทานจังหวัด – จัดทาแผนและประสาน
การจัดการน้าในเขตพ้นื ทจ่ี ังหวัด

31

สานักงานโครงการชลประทาน – ดูแลการจดั การน้าใน
พน้ื ทีช่ ลประทานที่รบั ผดิ ชอบ
สานกั งานทรพั ยากรนาภาค – จดั ทาแผนและขบั เคลือ่ น
แผนการจัดการน้าในลมุ่ น้าทีร่ ับผดิ ชอบ

คณะกรรมการล่มุ นา – เสนอและพิจารณาแผนและ
งบประมาณระดับลุ่มน้า

หนว่ ยงานดา้ นปา่ ไม้ – ข้นึ อยู่กับความเกยี่ วข้องกบั ที่ดนิ
ปา่ ไมแ้ ตล่ ะประเภทในพ้นื ที่
สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจังหวัด –
ตดิ ตามคุณภาพนา้ สายหลกั และประสานการจัดการ
คณุ ภาพแหล่งน้า
สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด – ควบคุมดูแลการปล่อย
น้าทิ้งจากสถานประกอบการอตุ สาหกรรม

เทศบาล/ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล – จดั ทาแผนงาน
ดาเนนิ โครงการพฒั นาและบารงุ รกั ษาแหล่งน้า ระบบส่ง
นา้ ในเขตท้องถิ่น ตามภารกจิ ถ่ายโอน

องค์การบริหารส่วนจงั หวดั - จดั ทาแผนงาน/ สนับสนุน
โครงการพัฒนาและบารงุ รักษาแหล่งน้าขนาดใหญ่ หรอื
ระบบส่งน้าทเี่ ช่ือมต่อระหว่างทอ้ งถิ่น

สานกั งานเกษตรจังหวัด/อาเภอ – พัฒนาแหลง่ น้าขนาด
เล็กเพ่ือการเกษตร

32

สานักงานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภัยจงั หวัด/ อาเภอ
จดั ทาแผน สง่ เสริม และสนับสนุน การป้องกันและบรรเทา
ภยั แลง้ และอุทกภัย
สถาบันการศึกษา – สนับสนุนการพัฒนาโครงการและ
ติดตามประเมนิ ผลโครงการ
อื่นๆ – ขึ้นอยู่กับแต่ละพ้ืนที่ อาทิ โครงการพระราชดาริ
หรือโครงการพิเศษ ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการน้าใน
พน้ื ท่ี สานักงานประมงและสานกั งานปศุสัตว์ มีบทบาทใน
การพัฒนาอาชีพภายหลังจากการพัฒนาแหล่งน้า กลุ่ม
อนุรักษ์ กลุ่มผู้ใช้น้า กลุ่มเกษตร กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นา
ปราชญ์ชุมชน ฯลฯ ซ่ึงจะช่วยให้ข้อมูลและความคิดเห็น
ออกแบบและรว่ มบารุงรกั ษาระบบการจดั การนา้ ต่อไป

 ประชุมร่วมผู้นาหมู่บ้านและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อ
ทาความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่และปัญหาเร่ืองน้า
โดยควรมีบุคคลซ่ึงเป็นท่ียอมรับร่วมประชุมด้วย และ
ยกตัวอย่างพ้ืนท่ีท่ีประสบความสาเร็จ ให้เกิดความเข้าใจ
และความมั่นใจมากขึน้

 ศึกษาดูงานกรณีตัวอย่างท่ีดี ซึ่งมีสภาพปัญหาคล้ายคลึง
กับพ้ืนที่ต้นแบบ จะช่วยให้เกิดความเข้าใจมากข้ึน และ
สร้างแรงบันดาลใจในการลงมือพัฒนาพื้นท่ีชุมชนตนเอง

33

โดยควรช้ีให้เห็นแนวปฏิบัติท่ีดี ปัจจัยความสาเร็จ และข้อ
พึงระวังที่อาจนาไปสู่ความล้มเหลว ชวนวิเคราะห์ในการ
นาส่ิงท่ีเรียนรู้มาปรับใช้กับพื้นท่ีตนเอง พร้อมกระตุ้นให้
เกิดการริเรมิ่ กิจกรรม

สง่ิ ท่ีควรทำ

- หลีกเล่ียงการสื่อสารท่ีจะทาให้เกิดความเข้าใจว่าการ
จัดการน้าของชุมชนหรือโดยชุมชน เป็นส่ิงท่ีชุมชนทาได้
เอง โดยหน่วยงานภายนอกไม่จาเป็นต้องเขา้ มาช่วยเหลอื

- ควรเตรยี มตัวในการประสานกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง โดย
การประสานงานล่วงหน้า ศึกษาข้อมูลหน่วยงาน ข้อมูล
หัวหน้าหน่วยงานหรือผู้ที่จะไปพบ ซ่ึงจะช่วยให้การ
ทางานราบรนื่ แสดงถึงความสนใจและให้การความสาคัญ

- หลีกเล่ียงการพูดคุยเฉพาะปัญหาท่ีเกิดขึ้น ควรวิเคราะห์
การเปลี่ยนแปลง และมองโอกาสในการพัฒนาหรือแก้ไข
ปญั หาในอนาคต เพ่ือให้เข้าใจสภาพพ้ืนที่มากขึ้น และเป็น
กาลังใจในการทางานร่วมกันตอ่ ไป

34

เขำ้ ถงึ

เน้นเรอ่ื งการสอื่ สารและการสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการน้า ที่
ตอ้ งการให้มชี มุ ชนและผเู้ ก่ยี วขอ้ งมาร่วมวิเคราะห์ปัญหา ระบุความ
ต้องการ จดั ทาแผน ออกแบบกจิ กรรม แบ่งความรับผิดชอบ โดยให้
ชุมชนเปน็ เจา้ ของในการจัดการน้าในระยะยาว

วิธกี ำร “เข้ำถึง”

(1) เขา้ ถึงขอ้ มูลและปัญหา
 สารวจข้อมลู พืนทีแ่ ละสถานการณ์นา ประสานกับชุมชน
และหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ทาความเข้าใจวัตถุประสงค์การ
สารวจพน้ื ที่ หารือการกาหนดเส้นทาง จุดที่ต้องการสารวจ
ผู้ร่วมทีมสารวจ แบ่งบทบาทของแต่ละคน พร้อมแจ้ง
ข้อมูลให้ชาวบ้านรับทราบและเข้าใจ ขอความร่วมมือให้
ข้อมลู จริงและสนับสนุนการสารวจ
เตรียมเครื่องมือการสารวจให้พร้อม ได้แก่ กล้องวัดระยะ
เคร่ืองมือวัดความเร็วน้า GPS แผนที่ กระดาษและปากกา
สาหรับจดบันทึกหรือใช้ร่างภาพแนวทางการซ่อมแซม
กลอ้ งถ่ายรูป นา้ ดมื่ และเสบยี งอาหาร เป็นตน้

35

ขอ้ มูลทคี่ วรบันทกึ จากการเดนิ สารวจ
- ทศิ ทางน้าไหล
- ความเร็วในการไหล
- ความสูงตา่ ของพ้นื ที่
- ระยะทางจากแหล่งนา้ ถงึ หม่บู า้ นและพืน้ ท่ีทากนิ
- สภาพทรพั ยากรธรรมชาติ
- ส่ิงทพ่ี บระหว่างทาง
- บรเิ วณทีเ่ กดิ ปัญหา

สิง่ ท่ีควรทำ

- ผู้ทจ่ี ะดาเนินการออกแบบซ่อมแซมปรับปรุงระบบน้า
ควรร่วมอยู่ในคณะสารวจด้วย เพ่ือให้เข้าใจสภาพ
พืน้ ที่

- ควรสารวจแหล่งต้นทุนน้าอย่างรอบคอบเพ่ือให้ม่ันใจ
วา่ จะมนี า้ ใช้หลังจากซอ่ มแซมระบบน้า

- พื้นท่ีที่จะสร้างฝายหรืออ่างเก็บน้าท่ีอยู่ในเขตป่า
สงวนแห่งชาติและเขตอุทยานแห่งชาติ ควรมี
เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานด้านป่าไม้ร่วมสารวจด้วยทุก
ครง้ั

- ควรเช็คข้อมูลผู้รับประโยชน์ให้แน่ใจว่าเกิดประโยชน์
แกภ่ าพรวม มใิ ชเ่ กดิ ประโยชน์แก่คนใดคนหนงึ่

36

- การนับจานวนผู้รับประโยชน์จากการทาระบบน้าใน
แต่ละโครงการ เช่น ฝาย อ่างเก็บน้า คลองส่งน้า ที่
เช่ือมต่อกัน อาจทาให้เกิดการนับซ้าซ้อนกัน การ
รายงานผลตอ้ งระบใุ หช้ ัดเจนถึงวิธีการนับด้วย

- การสารวจพื้นท่ีในฤดูฝน จะเห็นปริมาณน้ามากกว่า
ปกติ ซ่ึงไม่ใช่สภาพจริงของพื้นที่ในช่วงฤดูอ่ืนๆตลอด
ปี หากมีระยะเวลาในการสารวจมากพอ จึงควรเลือก
เวลาสารวจช่วงฤดูอ่ืนด้วย หรือหลีกเลี่ยงการสารวจ
ในฤดูฝน เนอ่ื งจากเขา้ ถงึ พนื้ ทย่ี ากและข้อมูลที่ได้จะมี
ความคลาดเคลอ่ื น

 สารวจข้อมูลเศรษฐกิจสังคมครัวเรือน เพื่อนามาใช้
ประกอบการวิเคราะห์ความต้องการใช้น้า รวมท้ังใช้เป็น
ขอ้ มลู ในการตดิ ตามการพฒั นา

ขอ้ มลู ระดบั ครัวเรอื นทีค่ วรสารวจ
- จานวนสมาชกิ ในครวั เรอื น จานวนผู้ที่อาศัยอยู่จริง
- จานวนครวั เรอื นที่เปน็ เกษตรกร
- พ้ืนทที่ าการเกษตร/ชนิดพืชท่ีปลูก
- พน้ื ท่ีเลยี้ งสัตว์/ ชนดิ และจานวนสัตว์เล้ียง
- ความตอ้ งการใช้น้าดา้ นอื่นๆ
- แหลง่ นา้ ใช้

37

- รายได้-รายจ่าย-หนส้ี นิ ต่อครวั เรอื น
- รายไดจ้ ากภาคเกษตร รายได้นอกภาคเกษตร
- การดแู ลรกั ษาแหลง่ น้า

ส่ิงท่คี วรทำ

- ควรมีโจทย์ท่ีชัดเจนในการใช้ประโยชน์ข้อมูล และต้อง
เป็นขอ้ มลู ที่สามารถนามาใช้ในการวางแผนและช้ีวัดว่า
“ชาวบ้านไดอ้ ะไร”

- ไม่ควรออกแบบสอบถามท่ีละเอียดมากเกินไป หรือ
ออกแบบเผ่อื ไวใ้ ช้ในอนาคตโดยยังไม่มีเป้าหมาย จะทา
ให้เสียเวลาไปกับการบันทึกและการวิเคราะห์ และ
สร้างความราคาญใหช้ าวบ้าน

- หากแบบสอบถามน้อยเกินไปหรือไม่เจาะจงเป้าหมาย
จะทาให้ขอ้ มูลที่ไดม้ าอาจไม่ครอบคลุม

38

(2) เขา้ ถึงความร่วมมือ
 คืนข้อมูล หลังจากการสารวจข้อมูลแล้ว เจ้าหน้าที่
ส่งเสริมงานพัฒนาจะนาข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์
และเตรียมนาให้ชาวบ้านและผู้เก่ียวข้องได้รับทราบและ
แสดงความคิดเห็นเพ่ือให้ข้อมูลมีความถูกต้องและได้รับ
การยอมรับ
เลือกเวลาและสถานท่ีที่เหมาะสม โดยเอา “ชาวบ้านเป็น
ที่ต้ัง” ไม่รบกวนการทางานและมาได้สะดวก กรณีบ้าน
โคกลา่ ม-แสงอร่าม จังหวัดอุดรธานี ชาวบ้านมักสะดวกมา
ประชุมในเวลากลางคืนหลังเสร็จจากงานเกษตรและ
รับประทานอาหารเย็นเรียบร้อย ส่วนสถานท่ีประชุมควร
เดินทางสะดวก ใกล้กับชุมชน เป็นสถานท่ีที่ชุมชนคุ้นเคย
เชิญผู้นาชุมชนและผู้แทนชุมชนที่เป็นผู้ร่วมสารวจ ให้มี
ส่วนร่วมในการกล่าวสรุปการสารวจ รวมท้ังเชิญชวนให้
ชาวบ้านร่วมตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลด้วยบรรยากาศท่ี
เป็นกันเอง รบั ฟงั ความคิดเหน็ ของชุมชน

39

แนวทางการวิเคราะห์และเช่ือมโยงขอ้ มลู
- ปริมาณการใช้น้าของชมุ ชน เทยี บกบั ปรมิ าณน้าที่

สามารถเก็บกักได้
- ปริมาณความตอ้ งการนา้ ของพชื ที่ตอ้ งการปลูก เทียบ

กับ ปริมาณน้าทส่ี ามารถเก็บกกั ได้
- รายได้-รายจา่ ย-หนี้สิน ท่เี ปน็ ผลกระทบจากการท่ีมี

ปญั หาเรอื่ งนา้
- สิ่งท่ีต้องการให้เกิดข้ึน เช่น พ้ืนท่ีรับน้าบริเวณใดจะ

เพ่ิมข้นึ เปน็ พื้นท่ีเท่าใด ชุมชนจะสามารถปลูกพืชอะไร
เพิ่มได้บ้าง หรือช่วงเวลาในหนึ่งปีจะสามารถปลูกพืช
เพ่ิมข้ึนได้อย่างไร รายได้ท่ีจะเพ่ิมข้ึนจากการแก้ปัญหา
เร่ืองนา้ ได้ เปน็ ตน้
- สิ่งท่ีชุมชนตอ้ งทาและต้องให้ความรว่ มมอื

สิ่งท่คี วรทำ

- การเตรียมข้อมูล ในรูปแบบที่น่าสนใจ เข้าใจง่าย เช่น
แผนทแี่ สดงท่ตี ง้ั แหล่งนา้ สภาพแหล่งน้าปัจจุบัน จุดท่ี
มีปัญหาหรือจุดท่ีเป็นต้นเหตุของปัญหา จุดที่คาดว่า
จะต้องมีการพัฒนาแก้ไข ข้อมูลเศรษฐกิจสังคมท่ีเป็น
แผนภูมิให้เข้าใจง่าย จานวนพื้นท่ีปลูกพืชแต่ละชนิด

40

 ตดั สนิ ใจร่วมกนั หลังจากการคืนข้อมูลแกช่ ุมชน ซ่ึงได้ร่วม
รับฟังข้อมูล และเข้าใจถึงสภาพปัญหาท่ีเผชิญร่วมกัน ถึง
เวลาท่ีชุมชนต้องร่วมกันตัดสินใจว่าจะแก้ไขปัญหาร่วมกัน
อย่างไร โดยเจ้าหน้าส่งเสริมงานพัฒนาทาหน้าที่คอย
อานวยการ และเสริมข้อมูลท่ีทาได้จากการสารวจให้
ครบถ้วน กระตุ้นให้มีการแสดงความคิดเห็นอย่างทั่วถึง
สรุปประเดน็ ทมี่ กี ารตัดสนิ ใจหรือมขี อ้ สรุปรว่ มกนั

สง่ิ ท่คี วรทำ

- เจา้ หนา้ ท่ีจาเป็นตอ้ งเตรียมความพร้อมด้านข้อมูล และ
ความรู้ทางเทคนิค หรือเชิญผู้มีความรู้ด้านน้าและ
ความรเู้ ชิงเทคนคิ ร่วมประชมุ เพอ่ื ใหข้ อ้ เสนอแนะ

- รับฟังความคิดเห็นของชุมชนด้วยความตั้งใจ และ
เชอ่ื มโยงกับขอ้ มลู ทม่ี ี เพือ่ ใหไ้ ด้ทางออกทเี่ ป็นไปได้มาก
ท่สี ุด

- จดข้อเสนอ ร่วมกันกลั่นกรอง ประสานแนวทางต่างๆ
ให้ได้ทางเลอื กในการแก้ไขปญั หา

- ทาการโหวตเรียงลาดับความสาคัญในการแก้ปัญหา/
เลือกวิธีแก้ปัญหาที่ชาวบ้านต้องการ วิธีท่ีเหมาะสมกับ
บริบทชุมชน จานวนคน และสถานการณ์ คานึงถึงการ
มีส่วนร่วมอย่างท่ัวถึง ผู้ท่ีไม่กล้าแสดงความคิดเห็นต่อ

41

หน้าที่สาธารณะ หรือการเขินอายจากการยกมือ อย่าง
กรณีจังหวัดน่านใช้วิธีการหยอดเมล็ดข้าวโพดในการ
เลือกแต่ละวธิ ีการ เป็นต้น
- หาข้อสรุปในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน เช่น อาจใช้วิธี
ระดมสมองหรือแบ่งกลุ่มวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียของ
วิธีการได้รับการโหวต นาข้อเสนอที่ได้มาทาการโหวต
เลือกอีกครง้ั
- หาข้อสรุปร่วมกันว่างานส่วนใดท่ีชุมชนต้องดาเนินการ
เอง งานส่วนใดที่จะมหี นว่ ยงานใดมาสนบั สนุน
- การดาเนินการคืนข้อมูลและหาข้อสรุปจนได้
แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ไมจ่ าเป็นต้องเร่งให้สรุปจบใน
การประชุมคร้ังแรก ควรสังเกตความพร้อมในการให้
ความร่วมมือของชาวบา้ นด้วย

42

พัฒนำ

การ “พัฒนา” ในการบริหารจัดการน้าโดยชุมชน ถือเป็นข้ันตอน
การลงมือทาด้วยความรู้ความเข้าใจในเรื่องปัญหาและสาเหตุของ
ปัญหาเร่ืองนา้ และพร้อมในการเรียนรู้ ปรับปรุง และพัฒนางานให้
ดียิ่งๆ ขนึ้ ด้วยความร่วมมือของชุมชนและหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง

วิธกี ำร “พัฒนำ”

(1) พัฒนาคน ซึ่งให้ความสาคัญในการค้นหาผู้มีจิตอาสาก่อนเป็น
ลาดับแรก ซึ่งเสียสละลงมือทาก่อน แล้วค่อยๆ สร้างความ
เขา้ ใจให้ขยายวงกว้างข้ึน
พฒั นาคน
เป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจและการปรับทัศนคติของ
ชาวบ้านในเร่ืองน้า ทาได้โดยการพูดคุย ช้ีให้เห็นตัวอย่างที่ดี
และไม่ดี การทางานร่วมกัน ตลอดจนการพาตัวแทนชุมชนไป
ศึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู้กับพื้นที่อ่ืนๆ เป็นข้ันตอนที่ต้องอาศัย
เวลา และความสม่าเสมอต่อเนื่องของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมงาน
พัฒนา

43

พฒั นากลมุ่ ผูใ้ ช้นา
กลุ่มผู้ใช้น้าเป็นหัวใจสาคัญต่อความยั่งยืนของการบริหาร
จัดการน้าโดยชุมชน กลุ่มผู้ใช้น้าในพ้ืนท่ีต้นแบบ มาจาก
สมาชิกผู้รับประโยชน์จากระบบน้าท่ีพัฒนาขึ้น รวมทั้ง
ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นาหมู่บ้าน มารวมกลุ่มกันเพ่ือประชุมหารือ
ถึงแนวทางการจัดสรรน้าในชุมชน ตั้งกฎกติกา ระเบียบ
การใช้น้า ค่าธรรมเนียมการใช้น้า และบทลงโทษหากมี
ผูฝ้ า่ ฝนื
รวมทั้ง การกาหนดบทบาทความรับผิดชอบของสมาชิก
แต่ละคนท่ีมีต่อการบริหารจัดการน้า อาทิ หากพ้ืนที่รับน้า
กว้างมาก อาจแบ่งสมาชิกเป็นกลุ่มตามพื้นท่ีรับน้า และต้ัง
หัวหน้ากลุ่มแต่ละโซน เพ่ือดูแลซ่ึงกันและกัน เพื่อรักษา
ประโยชน์ของกลุ่มตนเอง และเพอื่ การช่วยเหลือกันภายใน
ชมุ ชน

44

สงิ่ ที่ควรทำ

- กลุ่มผู้ใช้น้า ควรประกอบด้วยผู้นาที่สมาชิกให้การเคารพ
นับถือ และเป็นกลาง เพื่อการให้ความเห็นหรือตัดสินข้อ
พิพาทต่างๆ

- ควรติดตามดูแลให้มีการเก็บค่าธรรมเนียมการใช้น้าอย่าง
เคร่งครัด เป็นแบบอย่างที่ดี และให้กลุ่มมีเงินกองกลางไว้
สาหรับการซ่อมแซมบารงุ รกั ษาระบบนา้

- ควรมีการประชมุ สรุปผลการดาเนนิ งานและสรปุ จานวนเงิน
กองกลางร่วมกันภายในกลุ่มอย่างสม่าเสมอตามความ
เหมาะสม และมีการบันทึกการประชุมทุกคร้ัง เพ่ือให้เกิด
ความโปร่งใส เกิดการแลกเปล่ียนเรียนรู้ และร่วมกัน
แกป้ ัญหาเรอ่ื งการใช้น้าท่ีเกิดข้นึ
หากมีปัญหาข้อขัดแย้งเกิดขึ้น ควรเน้นย้าให้หาทางออก
ร่วมกันโดยการพูดคุยหาข้อสรุปเพื่อประนีประนอมให้ได้
มากท่ีสุด และนามาเป็นบทเรียน หรือปรับแก้ไขกฎกติกา
ใหม้ คี วามรัดกมุ มากขึ้น

45

กรณีกำรแกป้ ญั หำควำมขดั แยง้ กำรใชน้ ำ้
ในพนื้ ทตี่ น้ แบบจงั หวัดอดุ รธำนี

เนื่องจากเกิดปัญหาผู้ใช้น้าที่อยู่ทางปลายท่อส่งน้าได้รับน้า
น้อย จากการท่ีผู้ใช้น้าทางต้นน้าได้คิวเปิดน้าก่อน พอถึงคิว
ของผู้ใช้น้าท่ีปลายท่อ แรงดันน้าน้อยลง จึงไม่ได้น้า ทาให้
ผู้ใช้น้าท่ีไม่ได้รับน้าต้องไปลักลอบเปิดน้าเพิ่ม จึงเกิดการ
ถกเถียงกนั
ประธานกลุ่มผู้ใช้น้าเรียกประชุมสมาชิกท้ังหมด เพ่ือหาข้อยุติ
โดยเชิญผู้อาวุโสในชุมชนและเจ้าหน้าที่ปิดทองฯ มาร่วมให้
ข้อคิดเห็นด้วย โดยเม่ือพิจารณาถึงต้นทุนน้าและปัญหาที่พบ
จึงหาทางออกร่วมกันโดยปรับแก้กติกาให้ผู้ที่อยู่ปลายท่อได้
เปิดน้าก่อน ระยะเวลาการเปิดน้าเข้าแปลงจะยืดหยุ่นตาม
ปริมาณน้าที่เข้าแปลง ทั้งน้ีสมาชิกทุกคนต้องเข้าใจด้วยว่า
ตน้ ทนุ น้ามีมากหรือน้อย หากมีน้อย ปริมาณน้าที่นาเข้าแปลง
ตอ้ งนอ้ ยลง เพือ่ เผื่อแผใ่ ห้สมาชกิ คนอื่นๆ

46

(2) พัฒนาระบบนา จากการดาเนินการในกระบวนการ “เข้าใจ”
และ “เข้าถึง” จะทาให้เกิดความเข้าใจปัญหา เข้าใจสาเหตุ รู้
ข้อจากัดของพ้ืนท่ี และรู้ความต้องการของชุมชน ทั้งน้ีความรู้
และเทคนิคท่ีนามาใช้ในการพัฒนาระบบน้า จะใช้ท้ังความรู้
ท้องถิ่น ความรู้ตามแนวพระราชดาริ และความรู้เชิงวิชาการท่ี
เปน็ สากลแนวทางการพฒั นาแกไ้ ขปญั หาระบบน้า

ซ่อมแซมปรบั ปรงุ ระบบหรอื แหล่งนาเดิม

ระบบน้าที่มีอยู่แล้วในชุมชนให้กลับมาใช้งานได้ดีตามเดิม
เลือกใช้วิธีการซ่อมแซมในกรณีที่เห็นว่าระบบน้าน้ันยังมี
สภาพที่พอใชก้ ารได้ แตข่ าดการบารุงรักษา หรืออาจมีวัสดุ
อุปกรณ์บางส่วนชารุดเสียหาย เช่น การขุดลอก การ
ซ่อมแซมฝาย ซ่อมแซมทอ่ เปน็ ต้น

สร้างหรือพฒั นาขึนใหม่

เป็นการสร้างระบบกักเก็บน้าและส่งน้าบางส่วนข้ึนมาใหม่
เม่ือสารวจแล้วพบว่ามีความจาเป็นในพ้ืนท่ีและหากทา
ข้ึนมาจะเป็นประโยชนต์ อ่ ชุมชนในส่วนรวม และเป็นความ
ต้องการของชุมชน เช่น ขุดบ่อกักเก็บน้า ทาอ่างพวง ทา
ระบบท่อ เป็นต้น ยึดหลัก “เรียบง่าย ได้ประโยชน์สูงสุด”
ด้วยวิธีการและวัสดุท่ีสามารถหาได้ง่ายและวิธีการท่ีไม่
ซับซ้อน ไม่สร้างภาระในการบารุงรกั ษาในอนาคต

47

กรณีพนื้ ท่ตี น้ แบบอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนำ่ น

ด้วยทท่ี ากินของชาวบ้านอยู่ในพื้นท่ีลาดชัน การพัฒนาระบบ
น้าจึงเน้นไปท่ีการสร้างแหล่งกักเก็บน้าและระบบท่อที่จะส่ง
ตอ่ ไปยงั พน้ื ทีท่ ากิน ในลักษณะบ่อพวงทขี่ ุดขึน้ บริเวณจุดสูงสุด
ของพนื้ ที่ทากิน ปูพืน้ บ่อด้วยพลาสติกอยา่ งหนาเป็นพ้ืนรองรับ
เพ่อื การกกั เกบ็ นา้ แทนการเทคอนกรีตซึ่งใช้ต้นทุนสูง จากน้ัน
ต่อท่อน้าไปยังแปลงเกษตรด้านล่างหลายๆจุด แต่ละบ่อจะมี
ท่อเช่ือมต่อกัน เพื่อเพ่ิมพื้นท่ีกักเก็บน้า จึงเรียก อ่างพวง
สนั เขา ซึ่งนอกจากทาให้มีน้าใช้แล้ว และยังสามารถเล้ียงปลา
เปน็ อาหารเพ่ือลดคา่ ใช้จ่ายได้อีกดว้ ย

กรณีพนื้ ท่ีต้นแบบ อ.หนองววั ซอ จ.อุดรธำนี

พ้นื ทท่ี ากนิ เปน็ พนื้ ท่ีราบ ความลาดชันน้อย มีอ่างเก็บน้าอยู่สูง
แตไ่ ม่สามารถนา้ นา้ มาใช้ได้เพราะไม่มีระบบส่งน้าที่ทั่วถึง การ
แก้ไขปัญหาจึงเลือกใช้วิธีการเพิ่มระบบส่งน้าโดยใช้ท่อพีวีซี
เป็นตัวกระจายน้าจากอ่างเก็บน้าไปสู่แปลงนา ใส่วาล์วเป็น
ระยะ เพ่ือการบริหารจัดการน้า รวมทัง้ เพม่ิ ความสูงของคันกั้น
น้าล้น (Spilled Way) ใหส้ งู ขึน้ 50 เซนตเิ มตร เพ่ือให้อ่างเก็บ
น้าสามารถกักเก็บน้าในฤดูฝนได้มากขนึ้

48


Click to View FlipBook Version