The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by prpidthong2, 2022-01-20 22:06:10

ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

Keywords: ชุดความรู้การจัดการน้ำโดยชุมชน

(3) อนุรักษ์พืนท่ีต้นนา เป็นการดูแลป่าต้นน้าให้มีความสมบูรณ์
สามารถใช้นา้ ได้ตลอดท้ังปี
- สารวจแนวเขต โดยร่วมกับเจ้าหน้าที่หน่วยงานด้านป่าไม้
ทาการสารวจแนวเขตป่าไมแ้ ละเขตพนื้ ที่ทากินให้ชัดเจน
- แบ่งเขตพืนท่ีป่าไม้ โดยกาหนดให้มีพ้ืนที่ป่าชุมชนซึ่งให้
ชุมชนสามารถเข้าใช้ประโยชน์ได้ และพื้นท่ีป่าอนุรักษ์ท่ี
ห้ามใช้ประโยชน์ เมื่อชุมชนเห็นประโยชน์ จะเกิดความ
หวงแหนและรกั ษา
- กาหนดกฎระเบียบ ในการดูแลและใช้ประโยชน์จากป่า
อย่างเหมาะสม อาทิ การหาของป่า เก็บผลไม้ เก็บใบไม้
พืชสมุนไพร เป็นต้น หากฝา่ ฝนื ให้มีบทลงโทษ

สง่ิ ทคี่ วรทำ

- ควรมีผู้ที่มีความรู้ด้านช่างร่วมสารวจพ้ืนที่ และทาการร่าง
แบบหรือแนวทางการซ่อมแซมหรือแนวทางการสร้าง
ระบบน้าใหม่ รวมถึงผู้ที่มีความรู้ด้านเทคนิคร่วมสารวจ
พื้นทีแ่ ละปรกึ ษาหารือใหเ้ กิดความเขา้ ใจมากขึน้

- ไม่ยึดติดในหลักวิชาการเพียงอย่างเดียว ต้องคานึงถึง
ความคิดเห็นของชุมชน ต้นทุนทรัพยากรในพ้ืนที่ วัสดุ
อุปกรณ์ท่ีสามารถนามาใช้ทดแทนได้ ตลอดจนความยาก
งา่ ยในการดแู ลรักษา เพื่อให้ชมุ ชนสามารถดแู ลต่อไปได้

49

-
50

4. บทสรปุ และบทเรียน

ด้วยน้าเป็นปัจจัยในการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพของ
คนเรา เม่ือประสบปัญหาเรื่องน้าก็ย่อมส่งผลกระทบต่อชีวิตความ
เป็นอยู่ โดยพบเห็นได้ในแทบทุกพ้ืนท่ีของประเทศ รวมถึงพ้ืนท่ี
ต้นแบบท่ีสถาบันปิดทองหลังพระฯ เข้าไปมีบทบาทส่งเสริมงาน
พัฒนาพื้นที่ ซ่ึงทุกพื้นที่ล้วนประสบปัญหาขาดแคลนน้าในช่วง
หน้าแลง้ หลายพื้นทีย่ งั ตอ้ งประสบภยั นา้ ท่วมนา้ หลากเป็นประจา
การแก้ไขปัญหาเรื่องน้า ย่อมนาไปสู่การคล่ีคลายปัญหาอื่นๆ
ตามมา อาทิ ช่วยให้ทาการเกษตรได้อย่างต่อเน่ือง สร้างงาน สร้าง
รายได้ให้กับชุมชน ส่งผลต่อการพัฒนาสังคมในพ้ืนที่อย่าง
เก่ียวเน่ืองกัน ดังท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ รัชกาลท่ี 9 ได้
ทรงดารัสไว้ ซึ่งสรปุ ได้ว่า

…นา้ เปน็ ส่ิงส้าคญั เปน็ สิง่ แรกที่นกึ ถงึ
หากทา้ ได้ 2 เรอ่ื งนี ก็จะท้าให้
การพัฒนาต่อเนือ่ งอ่นื ๆ ตามมา
คือ ทา้ โครงการชลประทานใหน้ ้าพอ
และทา้ โครงการส่ิงแวดล้อมให้นา้ ดี…

51

การจดั การนา้ โดยชมุ ชน เป็นรปู แบบท่สี ถาบนั ปดิ ทองหลังพระฯ
ส่งเสริมให้เกดิ ขนึ้ ในพ้นื ที่ตน้ แบบต่างๆ เพ่ือใหช้ มุ ชนเปน็ หลักใน
การจัดการน้าในพ้ืนท่ีไดใ้ นระยะยาว โดยหนว่ ยงานภายนอกเปน็
ผใู้ หก้ ารสนับสนนุ วสั ดุอปุ กรณ์ ความรู้เชงิ วชิ าการ และคอยให้
คาปรกึ ษา โดยสร้างโอกาสในการเรียนร้แู ละพฒั นางานอยูเ่ สมอ

การจดั การนา้ โดยชุมชนด้วยศาสตร์พระราชา

จากประสบการณ์ในพ้ืนท่ีต้นแบบปิดทองหลังพระฯ กล่าวได้ว่าส่ิง
หน่ึงที่มีความสาคัญของกระบวนการจัดการน้าโดยชุมชน คือ
บทบาทของเจา้ หนา้ ทีส่ ่งเสริมงานพัฒนาหรอื เจา้ หน้าท่จี ะหน่วยงาน
ภายนอกทเ่ี ขา้ ไปสนบั สนนุ ชุมชนในการจดั การน้า ซ่ึงต้องเข้าใจและ
เรียนรู้การปรับใชศ้ าสตรพ์ ระราชา "เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา" จนทาให้
การจัดการน้าโดยชุมชนนั้นมีความก้าวหน้า ชุมชนได้รับประโยชน์
ในวงกว้าง และสร้างการเปลยี่ นแปลงในทางทีด่ ขี น้ึ

เขา้ ใจ
เริ่มจากการเข้าใจพืนท่ี ทั้งเข้าใจภูมิศาสตร์และภูมิสังคม
ของพ้ืนที่ ด้วยการสอบถาม สารวจ และหารือกับ
ผูเ้ กย่ี วขอ้ ง รวบรวมและวเิ คราะหข์ ้อมูลเบ้ืองต้นเพ่ือให้เกิด
ความเข้าใจพน้ื ที่

52

เข้าใจเขา เขา้ ใจเรา เปน็ ความเขา้ ใจระหว่างเจ้าหน้าท่ีกับ
ชุมชน และกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ถึงบทบาทหน้าที่และ
เป้าหมายการทางานของแต่ละฝ่าย สร้างความไว้ใจ และ
หาแนวทางบรู ณาการความรว่ มมือในการจัดการน้าในพื้นท่ี
โดยอาจมีกิจกรรมการศึกษาดูงานเพ่ือสร้างความเข้าใจ
และใหเ้ กดิ มุมมองในการแกไ้ ขปัญหาท่ีกวา้ งข้นึ

เข้าถึง

เข้าถึงข้อมูลและปัญหา เป็นข้ันตอนการสารวจข้อมูลที่
จาเป็น ทั้งข้อมูลพ้ืนที่และสถานการณ์น้า ด้วยการจัดทีม
เดินสารวจร่วมกัน ซง่ึ ช่วยสรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหา
ที่เกิดข้ึน ประกอบกับทาการสารวจข้อมูลครัวเรือนด้วย
แบบสอบถาม เพื่อวิเคราะห์ความต้องการใช้น้าเทียบกับ
น้าตน้ ทุนที่มี และเปา้ หมายในการจัดการน้าของชุมชน

เข้าถึงความร่วมมือ ซึ่งให้ความสาคัญต่อการคืนข้อมูล
จากการสารวจ ด้วยรูปแบบที่เข้าใจง่าย เพ่ือสะท้อนข้อมูล
ท่ีได้จากการสารวจ ให้เห็นภาพร่วมกัน สร้างความเข้าใจ
และรับฟังความเห็นจากชุมชนและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
พร้อมทาการรวบรวมความต้องการ เพ่ือตัดสินใจกาหนด
เปา้ หมายและกิจกรรมการจัดการน้าท่ีเหมาะสมของชุมชน
รว่ มกัน

53

พฒั นา
พัฒนาคนและกลุ่มผู้ใช้นา เร่ิมจากการพัฒนาคนที่มีจิต
อาสาทางานเพ่ือชุมชนก่อน แล้วค่อยๆ ขยายไปสู่คนท่ี
สนใจ ปรับแนวคิดการทางานให้พึ่งตนเอง ใช้ความรู้ที่มี
เปิดใจเรียนรู้จากกรณีตัวอย่างที่ดี เปิดรับความรู้จาก
ภายนอก ลงมือทาจากสิ่งเล็กๆ ท่ีทาได้ และรวมตัวกันทา
ในส่ิงทใ่ี หญข่ น้ึ ในลักษณะกล่มุ ผู้ใช้น้า ซึ่งมีกฎกติกาในการ
จดั สรรทรัพยากรน้าในชุมชนในระยะยาว
พัฒนาระบบนา ทั้งการซ่อมแซมและปรับระบบเดิม
บารุงรักษาแหล่งน้าที่มีอยู่ สร้างและพัฒนาระบบน้าหรือ
แหล่งเก็บกักน้าขึ้นมาใหม่ พร้อมกับการดูแลรักษาพ้ืนท่ี
ต้นน้า โดยเป็นการนาความรู้และเทคนิคมาลงมือทา
เรียนรู้และปรับได้ตลอดเวลา และปรับวิธีการให้เหมาะสม
กับสภาพพนื้ ท่ที ี่แตกตา่ งกัน

54

สิง่ ท่คี วรท้า

การบริหารจัดการน้าโดยให้ชุมชนเป็นผู้ขับเคลื่อน ต้องอาศัยเวลา
และความต่อเนอื่ งสม่าเสมอ เจ้าหนา้ ท่ีส่งเสริมงานพัฒนาต้องเข้าใจ
ในเร่ืองของกระบวนการสร้างการเรียนรู้ที่มีชุมชนเป็นศูนย์กลาง
ทางานโดยมีเป้าหมายชัดเจน มีความยืดหยุ่น และไม่เร่งรีบ
จนเกนิ ไป
ทัง้ นี้ การสร้างความมัน่ ใจและไว้เน้ือเชอื่ ใจระหวา่ งชุมชน เจ้าหน้าท่ี
และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นับเป็นสิ่งสาคัญเช่นกัน ท่ีต้องมีการ
ทางานร่วมกันอยา่ งใกลช้ ิด วางแผนร่วมกัน แลกเปล่ียนความรู้และ
ทรัพยากร ให้มีบรรลุทั้งเป้าหมายระยะสั้น (Quick Win) และ
เปา้ หมายระยะยาว
อย่างไรก็ตาม การพัฒนาหรือการจัดการน้าย่อมมีข้อผิดพลาด
เกิดขึ้นได้เสมอ เม่ือรู้ว่าทาผิดพลาด ต้องยอมรับ และเรียนรู้จาก
ขอ้ ผดิ พลาดนั้น และหาทางแก้ไขปรบั ปรุง โดยมสี ง่ิ ทคี่ วรทา ดงั น้ี

 เข้าใจบริบทพ้ืนที่และมีข้อมูลท่ีถูกต้อง ชัดเจน ควรมี
ความรู้และทกั ษะเรอ่ื งการใช้แผนท่ีและการคานวณ

 ควรมีทีมที่เชี่ยวชาญทางด้านเทคนิคเป็นที่ปรึกษา ในการ
พฒั นาระบบนา้ แตล่ ะพ้ืนท่ีซง่ึ มรี ูปแบบแตกต่างกนั

55

 ยึดความต้องการของชุมชนเป็นท่ีตั้งอย่างเหมาะสม
คานึงถึงความเป็นเหตุเป็นผล และความจาเป็นในแต่ละ
ชว่ งเวลา

 ต้องให้ชุมชนเป็นเจ้าของ จึงต้องให้ร่วมคิดร่วมทา ร่วมลง
มือลงแรง แต่ไม่ได้หมายความว่าชุมชนสามารถทาเองได้
ทัง้ หมด

 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างครบถ้วน
โดยเฉพาะหน่วยงานเร่ืองท่ีดินป่าไม้ หน่วยงานด้านการ
ประสานแผนพฒั นาจังหวัดและทอ้ งถ่ิน

 ควรต้ังเป้าหมายท้ังที่วัดเป็นตัวเลขได้ เช่น พื้นท่ีรับน้า
จานวนครัวเรือนท่ีได้รับประโยชน์ ผลผลิตทางการเกษตร
รายได้ การเติบโตของกองทุนผู้ใช้น้า เป็นต้น และ
เป้าหมายวัดไม่ได้ เช่น กิจกรรมร่วม ความภาคภูมิใจ การ
ลดความขัดแยง้ ในการใชน้ า้ เป็นต้น

 รวบรวมข้อมูลเพ่ือให้เกิดการสะท้อนความก้าวหน้าและ
เปา้ หมายที่ตงั้ ไว้

 นาขอ้ ผิดพลาดมาเปน็ บทเรียน ไมห่ ยุดเรียนรู้ นาสิ่งท่ีทาใน
พ้นื ท่อี ่นื มาวิเคราะห์และปรบั ใช้ให้เหมาะสม โดยหลีกเล่ียง
การลอกเลียนแบบ

56

การสร้างความยั่งยนื

ความท้าทายในการจดั การนา้ ในปจั จบุ ัน ไดแ้ ก่

 การเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมและความต้องการใช้น้าที่เพมิ่
สูงขึน้

 การเปลี่ยนแปลงสสู่ ังคมเมอื ง ทเ่ี ร่งรบี ต่างคนต่างอยู่
ไม่เอื้อต่อการทางานเพ่ือชมุ ชน

 การเปลี่ยนแปลงทัศนคติวา่ การจดั การเปน็ หน้าท่ีของ
หน่วยงานราชการไม่ใช่หนา้ ท่ีชุมชน

 การเปล่ยี นเทคโนโลยีการผลิตท่ีส่งผลต่อคุณภาพนา้
 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ิอากาศที่ทาใหค้ าดการณ์

ปรมิ าณนา้ ในชว่ งปไี ดย้ าก

การสร้างความยั่งยืนของการจัดการน้าโดยชุมชน จาเป็นต้องอาศัย
ความร่วมมอื จากทั้งชุมชนและหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง ร่วมมือกันตาม
ทักษะ บทบาทหน้าที่ และศักยภาพของแต่ละฝ่าย ในด้านต่างๆ 6
ประการ ดังน้ี

1) จัดทาแผนท่ีระบบน้าและข้อมูลน้าของชุมชนให้ครบถ้วน
โดยปรบั ปรงุ ใหท้ นั สมยั อยู่เสมอ

2) ประสานและเชื่อมโยงการจัดการน้าในระดับชุมชน สู่การ
จัดการน้าในระดับลุ่มน้าย่อย เพ่ือให้เกิดการจัดการเชิง
ระบบตั้งแตต่ ้นน้า กลางน้า สปู่ ลายน้า

57

3) ตั้งคณะกรรมการจัดการน้าชุมชน โดยมีองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานภายนอก สถาบันทาง
วิชาการ เข้าร่วมเป็นกรรมการหรือเป็นที่ปรึกษา เพื่อให้
เกิดการประสานงานระหว่างพื้นที่และระหว่างหน่วยงาน
ในระยะยาว

4) พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น เกี่ยวกับทุนทางทรัพยากรน้า
การอนุรักษ์น้า และการมีส่วนร่วมในการจัดการน้า เพ่ือ
เสริมสร้างการเรียนรู้และความตระหนักของเยาวชนใน
ทอ้ งถิน่

5) พฒั นากลุ่มผู้ใช้น้าและกองทุนน้า ให้เป็นกลไกและเคร่ืองมือ
สาหรบั การจดั การน้าโดยชมุ ชนในระยะยาว

6) ขยายผลการจดั การนา้ เชงิ ปริมาณ สู่การจัดการคุณภาพน้า
การป้องกันภัยพิบัติ ความม่ันคงทางอาหาร และความ
เปน็ อยู่ทีด่ ขี องชุมชน

ผลสาเร็จในการจัดการนา้ ในพื้นท่ีตน้ แบบต่างๆ ที่ผ่านมา เห็นได้ชัด
วา่ เกิดจากการผสานความรู้และความรว่ มมอื จากสาขาต่างๆ เพื่อให้
มีน้าเพียงพอต่อการเกษตรและการอุปโภคบริโภค การพัฒนา
ความร้แู ละความร่วมมอื จงึ เป็นอีกประเดน็ หนงึ่ ท่ีต้องให้ความสาคัญ

58

การจดั การน้าโดยชุมชน
ไม่สามารถด้าเนินงานได้อย่างยง่ั ยนื
โดยปราศจากการจดั การป่า
จัดการดิน และจดั การเกษตร
รวมถึงการจัดการด้านพลังงาน
และสิ่งแวดล้อมชุมชน

59

60

61


Click to View FlipBook Version