The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุป 4. วิชาชีพครู 2.จิตวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poolma.nutcha, 2021-05-11 08:44:54

สรุป 4. วิชาชีพครู 2.จิตวิทยา

สรุป 4. วิชาชีพครู 2.จิตวิทยา

การทดสอบและประเมนิ สมรรถณะ

วิชาชีพครู

วิชาชีพครู

จิตวทิ ยา







2. มคี วามรอบรแู้ ละเขา้ ใจในเรอ่ื ง
จติ วิทยาพฒั นาการ จิตวิทยาการศกึ ษา
และจิตวทิ ยาการใหค้ าปรกึ ษาในการ
วเิ คราะหแ์ ละพัฒนาผเู้ รยี นตามศกั ยภาพ

...ครูดา...

2. วิชาชพี ครู
ด้านจติ วทิ ยาพฒั นาการ จิตวทิ ยาการศกึ ษาและจติ วทิ ยาการใหค้ าปรกึ ษา

ในการวเิ คราะหแ์ ละพฒั นาผเู้ รยี น

1. เขา้ ใจธรรมชาตขิ องผเู้ รียน
1.1 เลอื กใช้วิธกี ารทีเ่ หมาะสมในการรวบรวมขอ้ มลู ของผเู้ รยี น
1.2 สามารถวิเคราะหค์ วามแตกต่างของผู้เรียนบนพื้นฐานของข้อมูลทเี่ ชื่อถือได้
1.3 จาแนกธรรมชาตขิ องผเู้ รยี นในด้านต่างๆ เช่น บคุ ลกิ ภาพ ความถนัด ความ
สนใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ได้อยา่ งถกู ต้อง
1.4 สามารถสังเคราะห์แบบการเรียนรู้ (Learning style) ของผ้เู รยี นได้ตรงตาม
สภาพความเป็นจริง

2. การช่วยเหลือและสนบั สนนุ การเรยี นรู้ของผู้เรียนให้เตม็ ตามศกั ยภาพ
2.1 การสร้างบรรยากาศการเรยี นรูท้ ่ีสอดคลอ้ งกบั แบบการเรียนร้ขู องผเู้ รยี นได้
2.2 มบี คุ ลกิ ภาพความเป็นครูในการกระตุ้นและส่งเสริมการเรียนร้แู ละกระบวนการคดิ
ของผ้เู รียนตามความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล (การสรา้ งแรงจูงใจ การต้ังคาถาม
การยอมรบั ความคดิ เหน็ เป็นตน้ )
2.3 สามารถนาแนวคดิ ทางจิตวิทยามาพฒั นานวตั กรรมที่ส่งเสริมการเรยี นรขู้ องผู้เรียน
ได้ (การใชเ้ กม เพลง)

3. ให้คาแนะนาช่วยเหลือผ้เู รียนใหม้ คี ณุ ภาพชวี ติ ที่ดขี ้นึ ได้

3.1 ระบพุ ฤตกิ รรมทีเ่ ป็นปญั หาและสาเหตุไดย้ า่ งสมเหตสุ มผล
3.2 วิเคราะห์ปจั จัยทีเ่ กี่ยวข้องกับปัญหาและการแก้ไขปัญหาไดอ้ ย่างสมเหตสุ มผล
3.3 กาหนดกระบวนการแกป้ ัญหาและชว่ ยเหลือผเู้ รียนได้

...ครดู า...

จติ วิทยา
พฒั นาการ

จติ วทิ ยาพัฒนาการ

พัฒนาการเปน็ กระบวนการพัฒนาของมนษุ ยใ์ นทุก ๆ ด้านของชีวิต
ตั้งแต่จุดเร่มิ ตน้ ของชวี ติ จนกระท่งั วาระสดุ ท้ายของชีวติ

การเปลี่ยนแปลงเปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ งทง้ั ในลักษณะของการเจริญงอกงาม
และการถดถอย ขึน้ อยู่กับประสบการณท์ ่ีไดร้ บั ซ่งึ นาไปสู่ความมีวฒุ ภิ าวะ

จดุ มุง่ หมายของ 1. เพอ่ื ให้เกิดแรงจงู ใจในการที่จะเข้าใจลักษณะของ
การศกึ ษาพฒั นาการ พฒั นาการในระยะเวลาตา่ งๆว่าเป็นอยา่ งไร
และจะมสี ่วนชว่ ยในการแกไ้ ขและเข้าใจปญั หาทีเ่ กิดข้นึ
ของมนุษย์ ตามความเหมาะสมของแต่ละอายุ

2. เพอื่ ให้สามารปรับตวั ใหเ้ ขา้ กับความยากลาบากของการ
พฒั นาการในแต่ละชว่ งอายุว่ามคี วามแตกต่างกนั ได้เปน็ อย่างดี

จุดมงุ่ หมายทีส่ อดคล้องกบั หลักการทางวิทยาศาสตร์
1. เพือ่ การบรรยาย (Description)
2. เพ่ือการอธบิ าย (Explanation)
3. เพ่อื การทานาย (Prediction)
4. เพ่อื การควบคุม (Control)

...ครูดา...

พฒั นาการของมนษุ ย์

พฒั นาการของมนุษย์ 1. ระยะก่อนเกดิ ปฏิสนธจิ นถึงระยะคลอด
(Prenatal stage)
0 – 2 ปี
2. วัยทารก
3. วยั เด็ก 2 – 12 ปี
4. วยั ยา่ งเข้าสูว่ ยั รุ่น หญงิ 12 ปี
5. วัยรนุ่ ชาย 14 ปี
6. วยั ผใู้ หญ่ 14 – 21 ปี
7. วยั กลางคน
8. วยั สูงอายุ 21 – 40 ปี

40 – 60 ปี

60 ปีข้นึ ไป

...ครดู า...

พัฒนาการของมนุษย์

ระยะก่อนเกิด (Prenatal stage)

ตั้งแต่เร่มิ ปฏิสนธจิ นถงึ ระยะคลอดพัฒนาการในระหว่างการตั้งครรภ์แบง่ ไดเ้ ปน็ 3 ระยะ
1. ระยะไซโกตหรือระยะที่ไข่ผสมแล้ว (period of the zygote or ovum) นับ

เรมิ่ ตัง้ แตก่ ารปฏิสนธิจนถึงสัปดาหท์ ่ี 2 ปกตกิ ารฝงั ตัวจะเกิดข้ึนภายใน 10
2. ระยะตวั อ่อน (the embryo) ประมาณสัปดาหท์ ี่ 2- สปั ดาห์ท่ี 8 ระยะนี้ถือเป็น

ระยะสาคัญที่สุดของทารกในครรภ์ ตัวอ่อนจะมกี ารเปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็วและชดั เจน อวัยวะและ
ระบบการทางานในร่างกายจะพฒั นาข้ึน เชน่ ระบบประสาท ระบบหายใจ ระบบทางเดนิ อาหาร
และอวยั วะตา่ งๆ

3. ระยะชีวิตใหมห่ รอื ระยะท่ีเปน็ ตัวเดก็ (fetus period) เร่มิ ต้งั แต่สัปดาหท์ ่ี 8
จนกระทงั่ คลอด ระยะน้เี ป็นระยะทีเ่ ปล่ยี นจากตวั อ่อน (embryo) มาเป็นทารก (fetus) โดยจะ
เริ่มรู้สกึ วา่ ทารกมกี ารเคลื่อนไหวในสปั ดาหท์ ่ี 16 สัดส่วนโครงสรา้ งของรา่ งกาย อวัยวะและระบบ
ต่าง ๆ ของร่างกายสมบรู ณย์ ิง่ ขน้ึ จนกระทงั่ สัปดาหท์ ี่ 38 จะมีความสมบูรณ์เต็มที่

วยั ทารก

วัยทารกเป็นวยั ที่สาคญั อย่างยิง่ สาหรับการวางรากฐานของชวี ติ เร่มิ ตงั้ แต่คลอด-2 ปี
รา่ งกาย มกี ารเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างของร่างกายและการรจู้ ักใชอ้ วยั วะต่างๆ อย่างรวดเร็ว
ทางการเคลื่อนไหว การใช้กล้ามเนอื้ และประสาทสมั ผัส
สติปัญญา โอกาสที่เด็กจะไดเ้ ลน่ เพราะการเล่นเป็นการส่งเสรมิ ความเขา้ ใจสงิ่ แวดลอ้ ม
ความสามารถท่ีจะเข้าใจภาษาและใชภ้ าษาท่ีทาใหผ้ อู้ น่ื เข้าใจ การท่ีเดก็ ไดม้ ีโอกาสจับ เหน็ ไดย้ ิน
สิง่ เหลา่ นจี้ ะช่วยพัฒนาสติปัญญาอยา่ งมาก
อารมณ์ อารมณข์ องเด็กในวัยนจี้ ะเปลีย่ นแปลงงา่ ยรวดเรว็ ขน้ึ อยู่กบั สิ่งเร้า อารมณโ์ กรธมีมากกว่า
อารมณอ์ นื่ ๆ
สงั คม เด็กสรา้ งความสมั พันธ์กบั บุคคลตา่ งๆ ตัง้ แต่ บิดามารดาหรือผู้เล้ียงดู ขยายออกไปยัง
สมาชิกคนอ่นื ๆ เดก็ จะเรยี นรแู้ ละเลยี นแบบความสมั พนั ธเ์ หล่านี้ไปปฏิบตั ิในชวี ติ อนาคต การ
ฝกึ หดั ใหเ้ ดก็ รูส้ ึกเคารพระเบียบกฎเกณฑ์ต่างๆ เป็นรากฐานท่ีสาคัญของพฤติกรรมทางสงั คมใน
การอยู่รว่ มกับบคุ คลอืน่
ทางภาษา ทารกแรกเกดิ ใช้การร้องไห้การทาเสยี งท่ยี ังไม่เป็นภาษาเป็นเครื่องส่อื ความหมาย

...ครูดา...การฝึกในการพดู ภาษาของเด็กอาศยั การเรียนรู้และการเลียนแบบ

พัฒนาการของมนษุ ย์

วยั เดก็

เร่มิ ต้งั แต่อายุ 2 – 12 ปี แบ่งออกเปน็ 2 ช่วงอายุ ไดแ้ ก่
1. วัยเดก็ ตอนต้นหรือระยะวยั เด็กก่อนเข้าโรงเรยี น เร่ิมต้นต้ังแต่อายุ 2 ขวบ จนถงึ 6 ขวบ
ร่างกาย มีพัฒนาการค่อนขา้ งช้าเมือ่ เทียบกับระยะวยั ทารกสดั สว่ นของร่างกายจะค่อยๆ
เปลี่ยนไป ฉะนัน้ จงึ เป็นระยะทเ่ี หมาะท่สี ดุ ท่จี ะฝึกได้เลน่ กฬี าประเภทเคลื่อนไหวต่างๆ
อารมณ์ มอี ารมณ์หงดุ หงิดงา่ ยกวา่ เด็กในวัยทารก ดื้อรั้นเอาแตใ่ จ
ภาษา ใช้ภาษาพูดได้แล้วแตย่ ังไม่ถูกต้องสมบูรณ์ดเี ทา่ ผู้ใหญ่ เด็กจะพัฒนาความสามารถใน
การใชภ้ าษาจนใช้งานได้ดีในวัย 6 ขวบเปน็ ระยะสดุ ท้ายของพัฒนาการ ภาษาพูด
(Speechc]tเดก็ บางคนเรมิ่ พัฒนาภาษาเขยี นและเริ่มอา่ นหนงั สือ
สังคม เดก็ จะเริ่มรู้จกั เข้าหาผู้อ่นื เริ่มแสวงหาเพื่อนรว่ มวยั เดียวกัน เดก็ หญงิ และเด็กชายเร่มิ
มองเห็นความแตกต่างระหว่างเพศ (Sex Difference) เรมิ่ ตระหนักว่าตนเปน็ เพศหญิงหรือ
ชาย (Sexual Typing) เดก็ จะเรียนดว้ ยอาศัยการสงั เกตและการเลียนแบบและการอบรม
ศีลธรรมจรรยาและคา่ นิยม เดก็ ยังคิดเห็นเป็นเหตผุ ลด้วยตนเองไม่ได้ ยงั ตอ้ งอาศยั ผอู้ บรมเลยี้ ง
ดใู หค้ าแนะนาแตท่ ส่ี าคัญย่งิ กวา่ คาแนะนากค็ ือการทาเปน็ แบบอยา่ งเพอ่ื ให้เด็กเลยี นแบบ

2. วัยเด็กตอนตน้ หรือระยะวยั เด็กกอ่ นเข้าโรงเรียน เร่มิ ต้นต้งั แต่อายุ 6 ขวบ จนถงึ 12 ขวบ
ร่างกาย เปน็ แบบค่อยเป็นค่อยไป เด็กหญงิ โตเร็วกว่าเดก็ ชายวัยเดียวกันในดา้ นความสงู และ
น้าหนัก ไมช่ อบอยูน่ ่งิ ชอบเลน่ และทากิจกรรมตา่ งๆ
สังคม เด็กเร่ิมออกจากบา้ นไปส่หู นว่ ยสังคมอนื่ จดุ ศูนยก์ ลางสงั คมของเดก็ คอื โรงเรยี น เดก็ จะ
ไดร้ ับการเรยี นร้รู ะเบยี บกฎเกณฑ์ ความประพฤตทิ ีต่ อ้ งปฏบิ ัติในสงั คม
อารมณ์ เดก็ รูจ้ กั กลวั สง่ิ ทีส่ มเหตสุ มผลมากกว่าวยั กอ่ น มีความรสู้ ึกสงสารและเหน็ อกเหน็ ใจ
สติปัญญา เด็กวัยนี้สามารถคิด วเิ คราะห์ และแกป้ ญั หาได้ชดั เจนมากขนึ้ รู้จักให้เหตผุ ลใน
การแกป้ ญั หา กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ ชอบสรา้ งสรรค์ส่งิ ใหม่ๆ
ภาษา เด็กจะเรียนรู้คาศพั ทเ์ พม่ิ มากขน้ึ ใช้ภาษาพดู แสดงความคดิ ความรสู้ กึ ได้อย่างดี

...ครูดา...

พัฒนาการของมนษุ ย์

วยั ย่างเขา้ สู่วัยรนุ่
ปกตหิ ญิงเฉลย่ี มีอายุ 12 ปี ชายเฉลีย่ มอี ายุ 14 ปี
รา่ งกาย เจริญเติบโตถึงขดี สมบรู ณ์(Maturation) เพอ่ื ทาหนา้ ท่อี ย่างเตม็ ทีโ่ ครงสรา้ งกระดูก
แข็งแรงขึ้น การผลิตเซลล์สบื พนั ธ์ุในเดก็ ชาย การมปี ระจาเดอื นของเดก็ หญิงสุขภาพ
สงั คม เดก็ ให้ความสาคัญกบั เพื่อนรว่ มวัย เร่มิ มีเพ่ือนตา่ งเพศ ระยะนี้จึงเรมิ่ ต้นชวี ิตกลุ่มทแี่ ทจ้ รงิ
(Gang Age) เดก็ ชายและเด็กหญิงเรม่ิ สนใจซ่ึงกนั และกนั และมคี วามพอใจในการพบปะสงั สรรค์
กนั รว่ มเลน่ เรียน ทางาน พูดคุยแลกเปลย่ี นความคิดเหน็
อารมณ์ เดก็ มอี ารมณเ์ ปลีย่ นแปลงง่าย สับสน อ่อนไหว เด็กแต่ละคนเรมิ่ แสดงบุคลกิ อารมณ์
ประจาตัวออกมาใหผ้ ู้อนื่ ทราบได้บา้ งแล้ว รคู้ ดิ ถกู ระบบ (Formal operation) เดก็ พยายามคดิ ให้
เหมือนผู้ใหญร่ สู้ ึกชิงชังคาสั่งบังคบั คาสงั่ ใหเ้ ชอ่ื และตอ้ งคลอ้ ยตาม รู้จักคิดดว้ ยภาพความคิดในใจ
(Mental images) ทาให้สามารถคิดเรอ่ื งนามธรรมยากๆ ได้

วัยรนุ่
ตง้ั แตอ่ ายุ 14 – 21 ปี
อารมณ์ ลักษณะของอารมณ์สืบเนื่องมาจากอารมณข์ องเด็กวัยแรกรนุ่ จงึ คลา้ ยคลึงกันมาก
สังคม สังคมวัยรุ่นเปน็ กลมุ่ ของเพ่อื นรว่ มวยั ประกอบดว้ ยเพื่อนทง้ั 2 เพศ มกี ารเลือกอาชพี เมื่อเดก็
โตพอท่จี ะรูถ้ งึ ความสาคญั ของอาชพี มคี วามสนใจมีขอบขา่ ยกว้างขวาง สนใจหลายอย่างแต่ไม่ลึกซ้งึ ยัง
เป็นระยะลองผิดลองถกู ความสนใจของเด็กวัยรนุ่ สว่ นใหญ่ไดแ้ ก่ การนับถอื วีรบรุ ษุ (Heroic
Worship) ความต้องการเลียนแบบผทู้ ต่ี นนิยมชมชอบ

...ครูดา...

พัฒนาการของมนุษย์

วยั ผใู้ หญ่

ตัง้ แตอ่ ายุ 21 – 40 ปี
• วยั ผใู้ หญต่ อนต้นเป็นระยะทค่ี วามเจริญเติบโตทางการพัฒนาเต็มท่ีสมบูรณ์ อวยั วะทกุ ส่วน

ทางานอย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยท่ัวไปบุคคลมกั มกี ายแขง็ แรง
• ดา้ นอารมณ์น้ันผทู้ ่ีจะเขา้ ถงึ ภาวะอารมณแ์ บบผูใ้ หญ่มคี วามคบั ขอ้ งใจนอ้ ย ควบคุมอามรณ์ได้ดี

ขนึ้ มีความแน่ใจและมีความม่ันคงทางจติ ใจดกี ว่าในระยะวัยรนุ่
• ดา้ นความสมั พนั ธก์ ับผู้อื่นหรือลักษณะพฒั นาการทางสงั คมน้นั ระยะนก้ี ารให้ความสมั พันธก์ ับ

กลุ่ม (Peer Group) เริ่มลดนอ้ ยลง เปลีย่ นมาสูก่ ารมีสัมพันธภาพและผกู พนั กบั เพื่อนต่างเพศ
แบบคู่ชวี ติ จดุ ศนู ย์กลางของสมั พันธภาพคอื ครอบครวั

วัยกลางคน

ต้ังแต่อายุ 40 – 60 ปี
• สมรรถภาพทางกายเปน็ ไปในทางเสอ่ื มถอย
• การเปล่ยี นแปลงทางกายมผี ลสมั พนั ธ์กบั อารมณจ์ ติ ใจและสมั พันธภาพกบั บคุ คลอน่ื ท้งั หญงิ

และชายวยั กลางคนต้องปรับตวั ตอ่ สภาพเหลา่ นีก้ ารปรบั ตวั ท่สี าคัญ เชน่ การปรบั ตัวทางอาชีพ
การปรบั ตวั ในบทบาทของสามีภรรยา การปรับตวั ตอ่ การตายของค่สู มรสและความเป็นหม้าย
• อารมณ์ประจาวยั มีหลายประการทส่ี าคญั เชน่ อารมณ์อยากกลับเป็นหนุม่ สาวอารมณเ์ ศรา้ และ
ลกั ษณะอารมณ์ของหญิงกลางคนเมอ่ื หมดระดู

วัยสงู อายุ

ตง้ั แตอ่ ายุ 60 ปีขนึ้ ไป
• ลกั ษณะพฒั นาการในวัยชราตรงกันขา้ มกบั ระยะวยั เดก็ คอื เปน็ ความเสื่อมโทรม (Deterioration)

และซอ่ มแซมส่วนท่สี ึกหรอมใิ ช่การเจรญิ งอกงาม
• วยั ชรามีความเส่อื มทางร่างกายอยา่ งเห็นได้ชัดความเสอ่ื มดงั กล่าวส่งผลกระทบต่องานอาชีพ

ลกั ษณะอารมณ์ ลักษณะสัมพนั ธภาพกับบคุ คลในครอบครัวในสังคม

...ครูดา...

ปัจจยั ทมี่ ีผลตอ่ พฒั นาการมนษุ ย์

1. ปจั จัยด้านชวี ภาพ (Biological Forces) ปัจจยั ทางชวี ภาพท่มี อี ิทธิพลตอ่ พฒั นาการ
ของมนุษย์ตงั้ แต่ในระยะก่อนคลอดคือ พนั ธกุ รรมและปจั จยั ที่สัมพันธ์กับสขุ ภาพ
พนั ธกุ รรม (Genetic)

2. ปัจจัยทสี่ ัมพนั ธ์กบั สขุ ภาพ (Health - Related factors) โดยเฉพาะสภาวะ
แวดลอ้ มทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั สขุ ภาพทมี่ ีผลต่อพฒั นาการของทารกในครรภ์มารดา

3. ปัจจยั ดา้ นชีวภาพ ทาให้ทารกในครรภม์ ารดาหรือในวัยกอ่ นคลอดมคี วามผิดปกตไิ ด้

4. ปัจจัยด้านจิตใจ (Psychological Forces) ปจั จยั ด้านจติ ใจของบุคคลท่ีมผี ลตอ่
กระบวนการเปล่ียนแปลงพฤติกรรมในชว่ งอายุนน้ั ๆ มี 4 ปจั จยั ดงั นี้

- ปจั จยั การรับร้ภู ายในตนเอง (Internal perceptual factors)
- ปัจจยั ด้านความคดิ (Cognitive factors)
- ปจั จยั ดา้ นอารมณ์ (Emotional factors)
- ปจั จยั ด้านบคุ ลกิ ภาพ (Personality factors)

ปัจจัยเหล่าน้มี ผี ลให้บคุ คลมพี ัฒนาการที่แตกตา่ งกนั ทาใหเ้ กิดความเป็นเอกลักษณ์
หรอื ลกั ษณะเฉพาะของแตล่ ะบคุ คล เช่น การเป็นคนที่มลี กั ษณะสนกุ สนานร่าเรงิ เนอ่ื งจากมี
การพัฒนาความนึกคดิ และอารมณ์ทเี่ ปน็ ไปในด้านบวกอยู่เสมอ การมคี วามเชอ่ื ม่นั ใน
ความสามารถของตวั เอง หรอื การมีพฤติกรรมเบ่ียงเบนทางเพศซึง่ มปี ัจจัยเนื่องมาจากภาวะ
จติ ใจในวัยเด็ก เป็นต้น

...ครดู า...

ปัจจยั ท่มี ผี ลต่อพฒั นาการมนษุ ย์

ปัจจัยดา้ นสังคมและวฒั นธรรม (Sociocultural Forces) 4 ปัจจยั ดังน้ี

1. ปัจจยั สมั พันธภาพระหวา่ งบุคคล (Interpersonal factors) เร่มิ ตง้ั แต่ภายใน
ครอบครัวมสี มั พนั ธภาพทีด่ ีต่อกัน ปฏิบัติตอ่ กันดว้ ยความรัก ความเออื้ อาทร ความหว่ งใย
เดก็ จะรู้สกึ ม่นั ใจในการปรับตวั กบั สงั คมภายนอกและมที ศั นคติทด่ี ีตอ่ บุคคลท่ัว ๆ ไป

2. ปัจจยั ดา้ นสังคม (Societal factors) ตงั้ แต่ในวยั เดก็ การอบรมเลี้ยงดสู ่งเสริมให้
เด็กมกี ารปรบั ตัวกับส่ิงแวดลอ้ มในสงั คม โดยเปิดโอกาสและกระตนุ้ ใหเ้ ด็กไดซ้ ักถาม
เรอ่ื งราวของสังคมภายนอกบา้ นและอธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจความแตกต่างของสังคมภายนอกบา้ น
ของเดก็ ตามความสามารถการรบั รูใ้ นแต่ละวยั ปลกู ฝงั ค่านิยมทดี่ ีงามให้กับเด็ก เดก็ จะ
เรม่ิ มกี ารพฒั นาความสามารถในการปรบั ตวั ได้ดขี ึ้น

3. ปจั จยั ด้านวฒั นธรรม (Cultural factors) มีผลทาใหพ้ ฒั นาการของแตล่ ะบคุ คล
แตกตา่ งกนั ไป เช่นเดก็ ไทยสว่ นใหญม่ ลี กั ษณะไมก่ ล้าแสดงความคดิ เหน็ ขดั แยง้ กบั
ผู้ใหญเ่ น่ืองจากถกู อบรมให้เชอ่ื ฟงั และปฏบิ ตั ิตามท่ผี ใู้ หญ่ได้แนะนาสั่งสอนแตกตา่ งจาก
วฒั นธรรมตะวันตกซ่งึ สง่ เสริมให้เด็กกล้าแสดงความคดิ เหน็ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ และ
สามารถแสดงความคิดเห็นขดั แยง้ กับผูใ้ หญไ่ ด้อย่างมีเหตุผล

4. ปจั จยั ด้านมนุษย์วทิ ยา (Ethnic factors) ลักษณะทีแ่ ตกต่างกนั ของกลุ่มชนทอี่ ยรู่ ว่ มกันมีอทิ ธิพล
ตอ่ พัฒนาการของมนษุ ย์ เช่น ความแตกต่างดา้ นลกั ษณะรูปรา่ ง การดารงชีวิตของคนผวิ ดาในประเทศ
อเมริกา ทาใหม้ คี นอเมรกิ นั บางกลมุ่ รังเกียจคนผิวดา ความแตกต่างในการนบั ถือศาสนาของประชาชนชาว
อนิ เดียทาใหม้ ีการแบง่ ชนชัน้ ในสงั คม หรอื ความแตกต่างในการดารงชวี ติ ของบุคคลในครอบครวั

...ครดู า...

จติ วิทยา
การศึกษา

จิตวิทยาการศกึ ษา

หมายถึง วิชาทเ่ี กย่ี วกบั ปญั หาทางจติ วทิ ยาทเี่ กยี่ วขอ้ งกับ
การศกึ ษา ตลอดจนศึกษาธรรมชาติและกระบวนการศกึ ษา
เรียนรู้เพ่ือนาหลักเกณฑท์ างจติ วิทยาทไี่ ดร้ บั จากการศึกษามา

ใชใ้ นการเรยี นการสอนให้ไดผ้ ลดี มปี ระสทิ ธภิ าพ
ศึกษาเก่ยี วกบั พฤตกิ รรมของนกั เรียนในสภาพของการจดั การ
เรียนการสอน โดยมีเนอ้ื หาและระเบียบวธิ กี ารส่วนของเนอื้ หา

จะเก่ยี วข้องกบั ธรรมชาติของการเรยี นรแู้ ละพฒั นาการ
สภาวะของเดก็ และสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี น

และประมวลนาเน้ือหามาหาวธิ กี ารจดั รูปแบบท่ที าให้ครู
และผู้เก่ียวขอ้ งกับเดก็ สามารถนาไปใชไ้ ด้

จิตวิทยา (Psychology)
เปน็ วิชาทวี่ ่าดว้ ยเร่อื งของการศกึ ษา พฤติกรรมมนุษย์
คนท่ีเปน็ ครูจาเปน็ ตอ้ งมีความร้ทู างดา้ นจิตวิทยาการเรยี นการสอน

และจิตวทิ ยาพัฒนาการ

...ครูดา...

จติ วทิ ยาการศกึ ษา

พฤตกิ รรมของมนุษย์

แบ่งออกเปน็ 2 ลกั ษณะ
1. พฤตกิ รรมภายใน เชน่ ความรสู้ ึก การรับรู้ ความจา ความคิด ความกลัว
2. พฤตกิ รรมภายนอก เช่น การแสดงออก การพดู ทา่ ทาง

ขอบขา่ ยของจิตวิทยาการศึกษา

1. ธรรมชาตขิ องผ้เู รยี น
2. ทฤษฎีการเรียนรู้
3. การวัดประเมนิ ผล เชาวป์ ญั ญา ความถนดั ความสนใจ
4. สภาพแวดลอ้ มทางการเรียน แรงจงู ใจ

วชิ าจิตวิทยาการศกึ ษาสามารถชว่ ยครูได้

1. ทาใหค้ รูรู้จกั ลกั ษณะนสิ ัย (Characteristics) ของนักเรียน
2. ชว่ ยให้ครมู ีความเขา้ ใจพัฒนาการทางบคุ ลกิ ภาพบางประการของนกั เรยี น
3. ชว่ ยครูใหม้ คี วามเข้าใจในความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
4. ช่วยใหค้ รรู วู้ ธิ ีจดั สภาพแวดลอ้ มของหอ้ งเรยี นให้เหมาะสมแก่วยั
5. ชว่ ยครใู ห้ทราบถึงหลกั การสอนและวิธีการสอนที่มีประสทิ ธิภาพ
6. ช่วยครูในการเตรยี มการสอนวางแผนการเรยี น
7. ช่วยครใู นการปกครองช้ันและการสรา้ งบรรยากาศของห้องเรียน

...ครูดา...

นกั จติ วทิ ยาการศกึ ษากลุม่ ตา่ งๆ

1. กล่มุ โครงสรา้ งแหง่ จติ (Structuralism)

ผนู้ ากลุ่ม คือ William Wundt
แนวคิด คือ อาศัยการตรวจพนิ ิจภายในทีเ่ กดิ จากการใช้ความรสู้ ึก การสมั ผสั และมโนภาพ
จุดประสงคข์ องการศึกษา คอื
• การวเิ คราะห์หาโครงสรา้ งของจิตโดยใช้ การพินิจภายใน (Introspection) เปน็ การใหผ้ ถู้ ูก

ทดลองพจิ ารณาประสบการณท์ างจิตตนเองขณะได้รบั สิง่ เร้าทางประสาทสมั ผสั และอธิบาย
ความรสู้ ึกของตนท่ีเกดิ ข้นึ ความเชอ่ื เบอ้ื งตน้ ที่เปน็ มูลเหตุใหส้ นใจศกึ ษาเร่ืองจติ ธาตุ (Mental
Elements) มาจากความเชอื่ วา่ มนษุ ยป์ ระกอบด้วยร่างกาย (Body) กับจติ ใจ (mind) ซง่ึ
ต่างเป็นอสิ ระต่อกันแตท่ างานสมั พนั ธก์ นั
• ดงั นนั้ การกระทาของบุคคลจงึ เกิดจากการควบคุมและสัง่ การจติ ใจ

2. กลุ่มหน้าท่ีแห่งจติ (Functionalism)

ผนู้ ากลุม่ คือ John Dewey หรอื William James
แนวคิดของกล่มุ น้ีไดร้ บั อิทธิพลจากลัทธปิ รัชญากลมุ่ ปฏบิ ัตนิ ยิ ม (Pragmatism) และทฤษฎี
วิวฒั นาการของ ชาล์ส ดาร์วิน (Chartles Darwin) ทีอ่ ธิบายถึงการดารงอยขู่ องสตั วท์ ี่ตอ้ งต่อสูแ้ ละ
ปรบั ตวั เองให้สอดคลอ้ งกับสภาพแวดลอ้ ม ในการทาความเข้าใจเกย่ี วกบั การปรับตวั ของสงิ่ มชี วี ติ ควร
ตอ้ งศกึ ษาหนา้ ทข่ี องจิตต่อการปรบั ตัวภายในจิตใต้สานึกมากกวา่ การแยกแยะองคป์ ระกอบโครงสรา้ ง
ของจิตออกเปน็ ส่วนๆ
กลมุ่ นี้เช่อื ว่า จติ มีหนา้ ทีค่ วบคุมพฤติกรรมเพ่ือปรบั ตัวให้สามารถดารงชีวติ อยู่ในสังคมได้อย่าง
เหมาะสม
John Dewey เชื่อว่า ประสบการณ์ (Experience) เป็นสงิ่ สาคัญทีท่ าใหค้ นปรบั ตวั ต่อส่งิ แวดลอ้ ม
ขณะท่ี William James เชอื่ ในเรื่องสญั ชาตญิ าณ (Instinct) ซ่ึงเป็นสาเหตทุ สี่ าคัญกว่า
สรุปคอื การศกึ ษาจติ ใจคนจึงต้องศกึ ษาทกี่ ารแสดงออกในสถานการณ์ต่างๆ การกระทาหรือการ

...ครดู า...แสดงออกทัง้ หมดเก่ียวขอ้ งกับประสบการณข์ องแต่ละบคุ คล พฤตกิ รรมของแตล่ ะคนจงึ แตกตา่ งกัน

นักจติ วิทยาการศึกษากลุ่มต่างๆ

3.กลมุ่ จติ วิเคราะห์ (Psychology)

ผ้นู ากลุม่ คอื Sigmund Freud จิตแพทย์ชาวเวียนนา ประเทศออสเตรเลยี
เป็นผู้วางรากฐานของจติ วทิ ยาคลินกิ
พนื้ ฐานแนวคดิ น้มี าจากความสนใจเกยี่ วกับจิตใตส้ านกึ และเชื่อวา่ แรงขบั ทาง
เพศมีอทิ ธพิ ลตอ่ พฤติกรรมของมนษุ ยม์ าก
ความคดิ หลกั ของ Freud คือ จติ มลี กั ษณะเป็นพลังงานเรียกว่า พลงั จิตซึ่งควบคมุ กจิ กรรมต่างๆ
มนุษยม์ ี 3 ระดับ โดยเปรียบเทยี บกับภเู ขาน้ าแขง็ (Ice burg) คือ
1. จติ สานกึ (Conscious mind) เปรียบเหมอื น Ice burg
ส่วนที่พน้ ผวิ น้าซ่งึ มีปรมิ าณเล็กน้อยเป็นสภาพทบ่ี ุคคลมสี ติ รตู้ วั
การแสดงออกเป็นไปอย่างมีเหตผุ ลและแรงผลกั ดันภายนอก
สอดคลอ้ งกบั หลักของความจรงิ (Principle of Reality)
2.จติ ใต้สานกึ (Subconsciousmind) หรอื จติ กึง่ สานึก (Preconscious)
เปรียบเหมอื น Ice burg ท่อี ยู่ปริม่ ผิวน้าเปน็ สภาพท่บี คุ คลมพี ฤติกรรมไม่รตู้ ัวในบางขณะ หรอื
พดู โดยไมต่ ้ังใจ ประสบการณท์ ี่ผา่ นมากลลายเป็นความทรงจาในอดตี ท่ีจะถูกเกบ็ ไวใ้ นจติ ส่วนน้ี เมื่อ
ไมน่ ึกถึงกจ็ ะไม่รูส้ กึ อะไรแตเ่ ม่อื นกึ ถงึ จะสะเทือนใจทุกคร้งั
3. จิตไรส้ านกึ (Unconscious mind) เปรียบเหมือน Ice burg ที่อย่ใู ตผ้ ิวน้าซึ่งมีปริมาณมาก
เปน็ สว่ นของพฤตกิ รรมภายในท่ีบคุ คลกระทาโดยไมร่ ้ตู ัวซึ่ง Freud ไดว้ เิ คราะหว์ า่ อาจเกิดจากการถกู
เกบ็ กดหรือพยายามจะลืม เชน่ ความอิจฉา ความเกลยี ดชงั ความขมขนื่ ปวดรา้ ว บางเหตกุ ารณ์
เหมอื นจะลืมไปจริงๆ แต่ Freud อธิบายว่าแท้จรงิ สิง่ เหล่านน้ั มไิ ด้หายไปไหนแตถ่ ูกเก็บไวใ้ นจติ ไร้
สานกึ และจะปรากฏออกมาในรูปของความฝนั การละเมอ เป็นตน้

Freud กาหนดองคป์ ระกอบทีส่ าคัญของจิตไว้ 3 ส่วน
คือ Id Ego และ Super ego รวม เรียกว่า พลงั จิต

...ครูดา...

นกั จิตวทิ ยาการศกึ ษากลุ่มต่างๆ

4. กลมุ่ เกสตัลท์ (Gestalt Psychology)

กลมุ่ น้เี กิดท่ปี ระเทศเยอรมนั ในเวลาใกล้เคียงกนั กบั กลมุ่ พฤติกรรมนยิ มซึ่งกาลัง
แพรห่ ลายในสหรัฐอเมรกิ า โดยมี Max Wertheimer Woffganng Kohlor และ Kurt Koffka
เป็นกลุ่มผรู้ เิ รม่ิ ตอ่ มา Kurt Lewin ได้นาเอาทฤษฎนี ี้มาปรับเปน็ ทฤษฎีใหมช่ ื่อว่า ทฤษฎีสนาม
(Field Theory)
นักจติ วทิ ยากล่มุ นีเ้ ห็นว่า การศกึ ษาจิตวทิ ยานนั้ ต้องศึกษาพฤตกิ รรมทางจิตเปน็ สว่ นรวม จะแยกเปน็ ที
ละสว่ นไม่ได้
ดงั นั้น กลมุ่ นี้จงึ สนใจพิจารณาพฤติกรรมของมนษุ ยท์ กุ อย่างเปน็ สว่ นรวมมากกวา่ ส่วนย่อยมองใน
ลักษณะที่เปน็ อันหนงึ่ อันเดยี วกัน รวมท้งั การเรยี นรู้ใดๆ กต็ ามบคุ คลจะต้องเรยี นรูจ้ ากส่วนรวมกอ่ น
แลว้ จงึ แยกเปน็ สว่ นย่อยเชน่ กนั

Gestalt เป็นภาษาเยอรมันแปลว่า Totality ซ่ึงแปลวา่ กระสวน
โครงรา่ ง รปู ร่าง รูปแบบ การรวมหน่วยย่อยหรือโครงสร้างท้ังหมด
จิตวทิ ยากลุ่มเกสตอลจึง หมายถงึ จติ วิทยาทยี่ ดึ ถือสว่ นรวมเป็นสาคญั

...ครดู า...

นกั จิตวทิ ยาการศกึ ษากลุ่มต่างๆ

5. กลุ่มพฤติกรรมนยิ ม (Behaviorism)

แนวคิดนเ้ี กดิ จากประเทศสหรฐั อเมรกิ า โดย John B. Watson
โดยอาศยั แนวคดิ พน้ื ฐานมาจากนักจิตวทิ ยาชาวรัสเซยี ชอ่ื Pavlov ซึ่งอธบิ ายถงึ การเกิดปฏกิ ริ ยิ า
ตอบสนองเพราะการวางเงอื่ นไข
ดังนั้น พฤตกิ รรมท้ังหลายของมนษุ ย์จงึ เกิดจากความสมั พนั ธร์ ะหว่างสง่ิ เรา้ กบั การตอบสนอง เนอ่ื งจาก
จติ ไมม่ ตี ัวตน สิง่ ที่สงั เกตไดค้ อื การแสดงออกในรปู แบบของการกระทาหรอื พฤตกิ รรมซ่ึงอาจสงั เกต
ได้โดยตรงจากประสาทสัมผัสหรอื ดว้ ยเคร่อื งมอื วัด
วธิ ีการศึกษาของกลมุ่ น้ีสว่ นมากใชว้ ธิ ีการทดลองประกอบกบั การสงั เกตอยา่ งมีแบบแผน แล้วบันทึกไว้
เป็นหลักฐาน
แนวคิดที่สาคัญของกลุม่ นี้ คอื

1. ศึกษาเนื้อหา ระเบียบวธิ แี นววทิ ยาศาสตร์
2. มงุ่ ศกึ ษาเฉพาะพฤติกรรมท่ีสังเกตไดห้ รอื สามารถวดั
3. มุง่ ศึกษาเก่ยี วกบั กลไกทางสรรี วิทยา เช่น การทางานของระบบต่างๆ
4. ยอมรับเฉพาะวธิ ปี รนยั ไม่ยอมรบั วิธกี ารสงั เกตตนเองหรอื วิธีแบบอตั นยั
5. มุ่งศกึ ษาพฤตกิ รรมโดยเฉพาะ ตอ้ งการให้จติ วทิ ยาเป็นวิทยาศาสตรเ์ กี่ยวกบั พฤตกิ รรม

...ครูดา...

นกั จติ วทิ ยาการศกึ ษากลุ่มต่างๆ

การจูงใจ (Motivation) หมายถึง กระบวนการทางจติ ใจท่ีผลักดนั ให้บุคคลแสดงพฤตกิ รรม

อยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ จนสาเรจ็ และถูกตอ้ ง นาไปสจู่ ดุ หมายปลายทางทต่ี อ้ งการ แรงจูงใจจึงเปน็ พลงั ที่ทา
ให้เกิดพฤติกรรมและควบคุมแนวทางของพฤติกรรมดว้ ย

ประเภทของการจูงใจ

1. การจูงใจภายใน 2. การจงู ใจภายนอก
(Intrinsic (Extrinsic
Motivation) Motivation)

ไดแ้ ก่ ความต้องการ ความอยากรูอ้ ยากเห็น ได้แก่ แรงท่เี กดิ จากเคร่อื งเรา้ ภายนอกมา
ความสนใจ ตลอดจนการทีม่ ีทัศนคตทิ ด่ี ีตอ่ กระต้นุ ทาให้บุคคลเกิดพฤติกรรมต่างๆ ได้
ส่งิ ใดสิ่งหน่ึง เปน็ แรงจูงใจทีเ่ กดิ จากตวั
บคุ คลโดยตรง

2.1 บุคลกิ ภาพของครู 2.2 ความสาเรจ็ ใน 2.3 เคร่ืองล่อตา่ งๆ เช่น
รปู รา่ งตลอดจนอารมณ์ การทางาน กเ็ ปน็ การให้รางวลั (Reward)
และความรขู้ องครู แรงจูงใจให้เดก็ ตงั้ ใจ การลงโทษ (Punishment)
เรยี นดยี ่ิงขึ้น การแข่งขนั (Competition)

...ครดู า...

นักจติ วทิ ยาการศึกษากลุ่มต่างๆ

ประเภทของแรงจงู ใจ (Motivation)

1. แรงจงู ใจใฝส่ ัมฤทธ์ิ = ความตอ้ งการจะทาให้ประสบผลสาเรจ็ มานะอดทน
ขยัน

2. แรงจงู ใจใฝ่สัมพนั ธ์ = ต้องการยอมรับจากผูอ้ นื่ อยากมเี พ่อื น
มีสงั คม

3. แรงจูงใจใฝก่ า้ วรา้ ว = เมอ่ื ถูกทาใหค้ บั ข้องใจ ไมพ่ อใจ
ความก้าวรา้ ว ตอ่ ต้าน

4. แรงจงู ใจใฝ่อานาจ = ต้องการมีอานาจหรอื อทิ ธพิ ลเหนือคนอ่นื
5. แรงจูงใจใฝ่ท่ีพึง = ต้องการทปี่ รึกษา ความช่วยเหลือ การสนับสนุนให้เกดิ

ความมั่นใจ

...ครดู า...

นักจติ วทิ ยาการศึกษากลุ่มต่างๆ

การเสริมแรงและการลงโทษ

ทฤษฎกี ารเสริมแรงโดยสกนิ เนอร์ สกินเนอร์
มเี ทคนคิ การสังเกตดงั นี้

การเสริมแรง จะทาเพื่อเพ่มิ พฤตกิ รรม หรอื อยากใหผ้ เู้ รียนมคี วามถ่ีในการทาพฤตกิ รรมเพ่มิ ขึ้น

(ปกติมกั ใชก้ ับการต้องการกระตุน้ พฤติกรรมใหท้ าดียงิ่ กว่าเดมิ ทาบอ่ ยๆ ทาอีก)

การลงโทษ จะทาเพอ่ื ลดอตั ราของพฤตกิ รรม หรอื ทาใหห้ ยดุ พฤติกรรม ลดพฤติกรรมลง

ปกติมักใชเ้ พือ่ หยุดย้ังลดพฤตกิ รรมที่ไมค่ ่อยดี หรือพฤตกิ รรมทแี่ ย่ๆ ให้เบาลง น้อยลงไป

หลกั การจา ตอ้ งการให้เพิม่ พฤติกรรม --- เสรมิ แรง
ต้องการลดพฤติกรรม ---- ลงโทษ

เสรมิ แรงทางบวก เสริมแรงทางลบ

คือ เพมิ่ (บวก) ความสุข ความพอใจให้กับเขา คอื ลด (ลบ) ความทกุ ข์ ความไมพ่ อใจทเี่ ขาเคย
แล้วเขาจะทาดีขึ้นๆ มอี อกไป ทาใหเ้ ขายนิ ดี ปรดี า กวา่ เดิม แล้วเพมิ่
เชน่ เพิม่ คะแนนให้ (บวกความสุข ความพอใจ พฤติกรรมดี (ลบความทกุ ขใ์ ห้นะ)
ให)้ กล่าวชมเชย ช่ืนชม ใหร้ างวัล

ลงโทษทางบวก ลงโทษทางลบ

คอื บวกความทุกข์ให้ ใส่ความไมพ่ อใจเขา้ ไป ทา คอื ลบส่ิงพึงพอใจท่ีเขาเคยมีออกไป ส่งิ ดๆี ของเขา
ให้เขาหยดุ พฤตกิ รรม ที่มีอยแู่ ล้วลบออกไป ทาให้หยดุ พฤตกิ รรมทไ่ี ม่ดี
เช่น ดดุ ่า ตี (ใสค่ วามทกุ ข์เขา้ ไป ทาให้เขา เชน่ ตดั คะแนน (เขาเคยมีคะแนนของเขา
หยดุ เลน่ หยุดทาไม่ดี) แตค่ รูไปตดั ทิง้ )

...ครดู า...

การเรียนรู้

การเรยี นรู้ คือ การเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมท่ีมีลักษณะ
ค่อนขา้ งถาวร โดยเปน็ ผลมาจากประสบการณใ์ นอดตี

หรือจากการฝกึ หัด การปฏบิ ัตหิ รอื การฝึกฝน

ประสบการณ์บางอย่างทาใหบ้ คุ คลมกี ารเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม แตไ่ มถ่ อื เป็นการเรียนรู้ ไดแ้ ก่
1. พฤติกรรมท่ีเปล่ยี นแปลงเน่อื งจากฤทธิ์ยา หรอื สง่ิ เสพตดิ บางอยา่ ง
2. พฤตกิ รรมที่เปลย่ี นแปลงเนือ่ งจากความเจ็บปว่ ยทางกายหรือทางใจ
3. พฤตกิ รรมทเ่ี ปลี่ยนแปลงเนอ่ื งจากความเหนื่อยลา้ ของรา่ งกาย
4. พฤติกรรมท่เี กิดจากปฏิกริ ยิ าสะท้อนตา่ งๆ

การเรียนรู้แบง่ เป็น 2 ระดับ

1. ระดับพน้ื ผวิ 2. ระดับลกึ

• ผเู้ รยี นเป็นฝา่ ยรบั • ผู้เรยี นเป็นฝา่ ยรุก
• สนใจแตเ่ นือ้ หา • สนใจความสาคญั
• ไม่ปรับเปลี่ยน ทอ่ งจาตามน้ัน • ประยกุ ต์ใชไ้ ด้
• แรงจูงใจนอ้ ย กงั วล • มแี รงจงู ใจ มีความสขุ พอใจในการเรียน

สรุปหลักของการเรียนรู้

• การเรียนรู้ควรมลี กั ษณะการตอบโตแ้ ละรกุ มใิ ช่ลกั ษณะยอมรับอย่างเดยี ว

• การเรียนรู้เปน็ เรอ่ื งของปัจเจกบุคคล (เป็นเร่ืองเฉพาะตัว ของใคร ของมัน)

• การเรยี นรเู้ กดิ ดว้ ยความสมคั รใจมิใช่การบังคบั ...ครูดา...

การเรียนรู้

การบง่ ช้ีการเรยี นรู้ ระบุว่าผเู้ รยี นทาอะไรไดก้ ่อนสอน
บนั ทกึ การแสดงออกของผู้เรียนต่อประสบการณ์ทีจ่ ดั ให้

ระบุวา่ ผ้เู รียนทาอะไรไดห้ ลังจากสอน

ครูควรทาความเขา้ ใจพฤติกรรมการเรยี นรขู้ องมนุษย์โดยต้องเข้าใจส่ิงต่อไปนี้
1. รู้จักและเขา้ ใจผ้เู รยี นในวัยต่างๆ แงม่ ุมต่าง ๆ
2. รแู้ ละเข้าใจทฤษฎีการเรียนรู้
3. รู้และเข้าใจปจั จยั หลักสว่ นบคุ คลทสี่ ่งผลตอ่ การเรยี นรู้
4. รแู้ ละเข้าใจเทคนิคกระบวนการทางจติ วทิ ยาเพ่ือพฒั นาศักยภาพการเรยี นรู้
5. รู้และเข้าใจกระบวนการสบื ค้นความรู้ดว้ ยวธิ ีการทางจิตวิทยา

เพ่ือจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ อานวยความสะดวกในการปฏสิ มั พันธ์ระหว่างผู้เรยี นกับบคุ คลอ่นื หรือ
เหตุการณ์ตา่ ง ๆ ด้วยวธิ ที ่ีหลากหลายสอดคล้องกบั ลักษณะเฉพาะตน ตลอดจนสบื ค้นปัญหาอปุ สรรค
ทขี่ ัดขวางการเรยี นรู้ เพ่อื หาทางป้องกันและแก้ไข

การถ่ายโยงการเรียนรู้ หมายถึง การนาสิ่งทเ่ี รยี นรแู้ ล้วในอดีตมาใช้แกป้ ัญหา
หรอื นามาสัมพนั ธ์กบั สภาพการณ์ใหมๆ่ ในปัจจบุ ันหรืออนาคต

...ครดู า...

การเรียนรู้

จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้

กาหนดโดย บลูมและคณะ (Bloom and Others ) มี 3 ดา้ น ดงั น้ี
1. ด้านพทุ ธพิ สิ ยั (Cognitive Domain)
คือ ผลของการเรยี นรู้ท่เี ป็นความสามารถทางสมอง ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์
การสังเคราะห์และประเมนิ ผล
2. ดา้ นจติ พสิ ยั (Affective Domain)
คอื ผลของการเรยี นรู้ที่เปล่ยี นแปลงด้านความรูส้ กึ ความสนใจ ทศั นคติ การประเมนิ ค่าและคา่ นิยม
3. ดา้ นทกั ษะพิสยั (Psychomotor Domain)
คอื ผลของการเรยี นรูท้ เ่ี ป็นความสามารถดา้ นการปฏบิ ตั ิ การเคล่อื นไหว การกระทา การปฏิบัตงิ าน
การมีทักษะและความชานาญ

องค์ประกอบสาคัญทีส่ ่งเสรมิ การเรียนรู้ ระดับเชาว์ปัญญา (IQ)
1. ความพร้อม (Readiness) 140 ฉลาดมาก เข้าข้นั อจั ฉรยิ ะ
2. แรงจงู ใจ (Motives) 120-139 ฉลาดมาก
3. เชาวน์ปัญญา ( Intelligence ) 110-116 เหนอื กว่าคนปกต/ิ ฉลาด
4. อารมณ์ ( Emotion ) 90-109 ปกติ ปานกลาง
5. เจตคติ (Attitude) 80-89 ต่ากวา่ ปกติ โง่
6. ความสนใจ (Interest) 70-79 โงม่ าก
ตา่ กว่า 70 ปัญญาทบึ

...ครูดา...

ทฤษฎีจิตวิเคราะห์

ฟรอยด์ (Sigmund Freud)

นกั จติ วทิ ยาชาวออสเตรเลีย แนวคิดจติ วเิ คราะห์ อธบิ ายไว้ดังน้ี

สัญชาตญาณของมนษุ ยม์ ี 2 อย่าง ฟรอยด์จะให้ความสาคัญกับเร่อื ง
แรงขับทางเพศเปน็ อย่างมาก
1. สัญชาติญาณเพ่อื การดารงชวี ิต (Life instinct) และอธบิ ายโครงสรา้ งทางจิตของ
2. สญั ชาติญาณเพื่อความตาย (Death instinct) มนษุ ย์เหมือนภูเขาน้าแขง็

จิตของมนษุ ย์แบง่ ออกเปน็ 3 สว่ น

1. จิตสานึก (Conscious) = รตู้ วั มเี หตุผล
2. จิตกอ่ นสานึก (Pre-conscious) = สะสมไว้ในใจ ไม่รู้ตวั แต่พรอ้ มดงึ มาใช้
3. จติ ไรส้ านึก (Unconscious) = ไมร่ ู้สกึ ตัวเลย เก็บกด กา้ วร้าว

องค์ประกอบของพลังจติ เปน็ 3 ส่วน

1. อิด (ID) ติดตวั มาแต่กาเนดิ สญั ชาตญาณ ความอยาก ตณั หา ความกา้ วร้าว
2. อีโก้ (EGO) เป็นสว่ นที่ผา่ นการเรียนร้พู ยายามควบคมุ การแสดงออกของ ID
3. ซปุ เปอร์อโี ก้ (SUPER EGO) เปน็ พลงั ทดี่ ีมีคุณธรรม จรยิ ธรรม มีจรรยาบรรณ

พัฒนาการของมนษุ ยต์ ามแนวคดิ ของฟรอยด์ แบง่ ออกเป็น 5 ข้ัน

1. ขัน้ ปาก (Oral Stage) อายุ 0 – 18 เดอื น
2. ขน้ั ทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 18 เดือน – 3 ปี
3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3 – 5 ปี
4. ขนั้ แฝง (Latence Stage) อายุ 6 – 12 ปี
5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) อายุ 12 ปขี ึ้นไป

...ครูดา...

ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์

มาสโลว์ กลา่ ววา่
มนุษย์มคี วามต้องการไมม่ ที ีส่ ้นิ สดุ

แบง่ เป็นลาดบั ขั้น เมือ่ ได้รับการตอบสนองความตอ้ งการข้ันพืน้ ฐานแลว้ จะมคี วามต้องการในระดับท่ี
สูงข้ึนไปเร่อื ยๆ ลาดับข้นั ความตอ้ งการของมาสโลว์ แบ่งเปน็ 5 ข้นั ดังน้ี

1. ตอ้ งการของรา่ งกาย (Physiological needs)

เป็นความตอ้ งการพน้ื ฐานเพอื่ ความอยรู่ อดของชีวติ เชน่ อาหาร เครือ่ งแตง่ กาย ท่อี ยอู่ าศัย ความต้องการ
ทางเพศ

2. ความตอ้ งการความปลอดภัย (Safety needs)

เปน็ ความต้องการทีเ่ หนือกวา่ ความตอ้ งการอยู่รอด เช่น ต้องการความมนั่ คงในการทางาน ความปลอดภยั
จากอนั ตราย

3.ความตอ้ งการดา้ นสังคม (Social needs)

ความตอ้ งการความรัก ความเป็นเจ้าของ (Love and belongingness needs)

4. ความตอ้ งการการยกยอ่ ง (Esteem needs)

ความตอ้ งการไดร้ บั การยอมรับนับถอื จากบคุ คลอืน่ อยากมีชอ่ื เสียง เกยี รติยศ

5. ความตอ้ งการประสบความสาเร็จสงู สุดในชีวติ (Self-actualization needs)

เปน็ ความตอ้ งการสงู สุดแตล่ ะ่ คน ท่ีจะทาทุกส่ิงทกุ อยา่ งใหส้ าเร็จตามเป้าหมายของชีวติ เช่น อยากเปน็
ดารานักร้องซุปเปอรส์ ตาร์ อยากเปน็ นักกฬี าทมี ชาติ อยากเปน็ นกั วิชาการระดับโลก เป็นตน้

...ครูดา...

ทฤษฎกี ารวางเง่ือนไขแบบคลาสสกิ

ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning)
เปน็ ทฤษฎีการเรยี นรขู้ อง พาฟลอฟ (Pavlov)

ทาการศกึ ษาทดลองกบั สุนขั โดยฝึกสุนัขใหย้ นื น่งิ อย่ใู นท่ตี รึง การเรียนรู้แบบวางเง่อื นไขแบบ
ในหอ้ งทดลอง ทีข่ า้ งแก้มของสุนัขตดิ เครื่องมือวัดระดับการไหล คลาสสคิ คือ การตอบสนองท่ี
ของนา้ ลาย การทดลองแบง่ ออกเป็น 3 ขน้ั คอื กอ่ นการวาง เป็นไปโดยอตั โนมตั เิ มือ่ นาสงิ่ เร้า
เงื่อนไข ระหวา่ งการวางเง่อื นไข และหลงั การวางเง่ือนไข ใหม่มาควบคู่กบั สิง่ เร้า

ข้ันที่ 1 ใหผ้ งเนอ้ื (UCS) นา้ ลายไหล (UCR)
แตส่ นั่ กระดง่ิ (CS) ไมม่ ีนา้ ลาย
ขน้ั ที่ 2 สน่ั กระดิ่ง (CS) และใหผ้ งเน้อื (UCS)
นา้ ลายไหล(UCR) ทาซ้าๆ กัน
ขั้นที่ 3 สนั่ กระดิง่ (CS) นา้ ลายไหล (CR)

การศึกษาน้ีทาใหเ้ กิดกฎที่เก่ยี วขอ้ งกบั การจัดการเรียนการสอน

1. กฎการลดพฤตกิ รรม คอื หากไดร้ บั แต่เงอ่ื นไขเพยี งอย่างเดียว ความเขม้ ข้นของการตอบสนองจะ
น้อยลง โดยตระหนกั วา่ การจดั กิจกรรมซ้าๆแบบเดมิ บ่อยๆ จะทาให้เด็กเกดิ ความเบ่อื หน่าย ควรจะ
แทรกส่ิงที่เป็นเงอื่ นไขทเ่ี ด็กชอบด้วย
2. กฎแห่งการกลบั คืน คือ การตอบสนองที่เกดิ จากการวางเงื่อนไขท่ลี ดลงเพราะได้รับแต่ส่ิงเรา้ ทีว่ าง
เง่ือนไขเพียงอย่างเดยี ว จะกลับปรากฏข้นึ อกี และเพมิ่ มากข้ึนเรื่อยๆถา้ รา่ งกายมีการเรียนรอู้ ยา่ งแทจ้ ริง
โดยไม่ต้องมีสง่ิ เรา้ ท่ีไมว่ างเงื่อนไข
3. กฎความคลา้ ยคลงึ กัน คอื สุนัขน้าลายไหลไดเ้ พราะไดย้ นิ เสยี งกระดิง่ หรือเสยี งระฆงั หรอื เสียง
ออดทค่ี ล้ายกนั สามารถนามาใช้ในการจดั การเรยี นการสอนโดยการเปรียบเทยี บ วัตถุ ส่งิ ของหรือสื่อ
อุปกรณ์ท่ีคลา้ ยคลึงกนั กับองค์ความรู้ที่นักเรียนควรจะได้รับ เช่น การสร้างสอื่
4. กฎการจาแนก คอื สุนัขจะน้าลายไหลเมือ่ ได้ยินเสียงกระดง่ิ แตน่ ้าลายจะไมไ่ หลหากใช้ไม้เคาะ
สามารถนาไปสกู่ ารจัดการเรยี นร้โู ดยสอนให้เข้าใจความหมายของสิ่งท่ีเรียนรูค้ รัง้ แรกใหเ้ ข้าใจ
แจม่ แจง้ แล้วจึงสอนความแตกตา่ งของสิง่ นน้ั กับสิง่ อ่นื

...ครดู า...

ทฤษฎีการเรียนรขู้ องวตั สัน

วตั สัน

ไดน้ าแนวคิดของพลาฟลอพมาพัฒนา เปน็ ทฤษฎีการเรยี นรู้

ทาการทดลองกับคน ใชเ้ ดก็ อายุ 11 เดือน กับหนตู ะเภาสีขาว

เสนอให้เด็กดพู ร้อมกับทาเสียงดัง เดก็ ตกใจกลัวร้องไห้

เมือ่ นาเอาหนสู ีขาวไปคู่กับเสยี งดังบ่อยๆ
เดก็ เกดิ ความกลัวหนูตะเภาสีขาว

รวมไปถงึ กลวั สิง่ อน่ื ที่มลี กั ษณะคลา้ ยหนตู ะเภาสีขาวดว้ ย

การจัดการเรียนการสอน

การจัดการเรียนการสอนจึงควรให้เดก็ ไดร้ บั การตอบสนองในสิ่งทพี่ งึ ปรารถนา เชน่
การเล่นเกม และหลีกเลย่ี งส่ิงไมพ่ ึงปรารถนา

...ครดู า...

ทฤษฎกี ารวางเง่ือนไขแบบลงมือ

สกนิ เนอร์

นกั วิชาการชาวอเมริกาไดท้ าการทดลองกบั หนู
นกพริ าบและสัตว์อืน่ ๆ

ในกล่องทดลองโดยการใหห้ นกู ดคานแล้วจะได้อาหาร
ทดลองดังนี้
1. ทาให้หนูหวิ มากๆเพ่ือสร้างแรงขับ
2. ปล่อยหนเู ข้าไปในกล่องทดลอง (Skinner’s box) หนจู ะวงิ่ ไปมาสะเปะ สปะ กดั
แทะส่ิงตา่ งๆในกลอ่ งและบังเอิญไปแตะบนคานอาหารทาให้อาหารไหลลงมา
3. เมื่อหนูเกิดการเรยี นรู้ทาซา้ อกี รอบ หนจู ะเกิดการเรยี นรูแ้ ละจะเขา้ ไปกดคานทันที

ผลการทดลอง
การเรยี นรู้ที่ดจี ะต้องมกี ารเสรมิ แรงทาให้เกิดทฤษฎีการเสริมแรง
1. การเสรมิ แรงทางบวก (Positive reinforcement) เช่น การให้รางวัล ชมเชย
2. การเสริมแรงทางลบ (Negative reinforcement) เชน่ การหยดุ บน่ เลกิ ตาหนิ

แนวคิดของสกินเนอรท์ าให้เขาไดแ้ ก้ปญั หาการขาดแคลนครใู นสหรฐั อเมริกาโดย
การสรา้ ง บทเรยี นสาเรจ็ รูป หรือ บทเรยี นโปรแกรม เปน็ เครื่องมือช่วยสอน

...ครดู า...

ทฤษฎีการเรยี นรู้
แบบสมั พนั ธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์

ธอร์นไดค์ (Thorndike’s Connectionism)
นกั จิตวิทยาชาวอเมรกิ นั

ได้รบั ยกยอ่ งใหเ้ ป็น บิดาแห่งจติ วทิ ยาการศึกษา

หลักการเรียนรขู้ องทฤษฎีนี้ คอื การเรียนรู้เกิดจากการสรา้ งความสมั พนั ธ์บางอยา่ งระหว่างส่งิ เร้า
(stimulus) กับพฤติกรรมการตอบสนอง (response) ในระยะเวลาพอสมควร
หมายถงึ เม่ือมสี ถานการณ์ หรือสง่ิ ท่ีเป็นปญั หาเกดิ ข้ึน รา่ งกายจะเกิดความพยายามท่ีจะแกป้ ญั หานน้ั โดย
แสดงพฤติกรรมตอบสนอง ออกมาหลายๆ รูปแบบในลักษณะแบบลองผดิ ลองถูก (trial and error)
จนกวา่ จะพบวิธีทด่ี ีและเหมาะสมทส่ี ดุ ในการแกป้ ญั หา

เขาไดท้ าการทดลองโดยการจบั แมวท่หี ิวใสไ่ ว้ในกล่องทม่ี ีสลักปดิ ไว้ และนาจานใส่อาหารวางไวน้ อกกรง
แมวจะไดก้ ินอาหารถา้ สามารถถอดสลักออกมาได้
ในการทดลองขณะนนั้ แมวบงั เอิญจับสลกั และเปิดออกมากนิ อาหารได้ จากน้ัน เมือ่ ทาการทดลองครง้ั ต่อๆมา
แมวใชเ้ วลาน้อยลงในการอออกจากกรง ซ่ึงธอร์นไดค์เรียกการเรียนรขู้ องแมววา่ แบบลองผดิ ลองถกู เขาจึง
สรุปว่าเมอ่ื เกิดการลองผดิ ลองถูกซา้ ๆ จนสามารถเกดิ ความพงึ พอใจทีส่ ุด

ผลการทดลอง
ธอร์นไดค์เรียกการเรียนรขู้ องแมววา่ แบบลองผดิ ลองถกู เขาจึงสรุปว่า
เมือ่ เกิดการลองผิดลองถกู ซ้าๆ จนสามารถเกดิ ความพึงพอใจท่ีสดุ

...ครดู า...

ทฤษฎีการเรยี นรู้
แบบสมั พันธเ์ ช่ือมโยงของธอร์นไดค์

จากการศึกษาของธอร์นไดค์ ทาใหเ้ กิดกฎการเรยี นรู้
1. กฎแห่งความพรอ้ ม (law of readiness)
การเรียนรจู้ ะเกิดขน้ึ ได้ดี ถา้ ผ้เู รยี นมคี วามพร้อมทง้ั ทางรา่ งกายและจติ ใจ
2.กฎแห่งการฝกึ หดั (low of exercise)
การฝกึ หัดหรือกระทาบอ่ ยๆดว้ ยความเขา้ ใจจะทาให้การเรยี นรู้นนั้ คงถาวร
ถา้ ไม่ได้กระทาซ้าบอ่ ยๆการเรียนรู้นนั้ จะไม่คงถาวรและในทีส่ ดุ อาจจะลมื ได้
3.กฎแห่งผลท่พี งึ พอใจ (law of effect)
เมือ่ บคุ คลได้รับผลที่พงึ พอใจย่อม
อยากจะเรียนรตู้ ่อไป แต่ถ้าได้รับผลที่ไม่พึงพอใจ จะไมอ่ ยากเรียนรู้
ดังนั้น การไดร้ บั ผลทีพ่ งึ พอใจจงึ เปน็ ปัจจัยสาคัญในการเรยี นรู้

...ครดู า...

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้กลุ่มเกสตลั ท์

ผ้นู ากล่มุ ได้แก่ Max Wertheimer
และผู้รว่ มกล่มุ อกี 3 คน คอื Kurt Lewin Kurt Koffka

และ Wolfgang Kohler

• กล่มุ เกสตลั ท์ (Gestalt Psychology) แนวคดิ ของนกั จิตวทิ ยากลุ่มเกสตัลท์ เกดิ ขน้ึ ในระยะใกล้
เคยี งกบั กลุ่มพฤติกรรมนิยม

• เกสตลั ท์ หมายถงึ รูปแบบ แผน ตอ่ มาแปลวา่ สว่ นรวม
• ทฤษฎนี กี้ ลา่ วมาสว่ นรวมมคี า่ มากกว่าผลบวกของส่วนย่อย หลักการเรยี นร้กู ลมุ่ นี้เน้นส่วนรวมมากกวา่

ส่วนย่อย

หลกั การจดั การเรยี นการสอนตามทฤษฏี
เนน้ กระบวนการคดิ การสอนโดยเสนอภาพรวมกอ่ นการเสนอสว่ นยอ่ ย
ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนมีประสบการณม์ ากและหลากหลาย
ซึ่งจะชว่ ยใหผ้ ู้เรยี นสามารถคดิ แก้ปญั หา คิดรเิ รม่ิ และเกดิ การเรียนรู้แบบหย่งั เหน็ ได้
ซ่งึ การเรียนรเู้ กดิ จากประสบการณ์และการเรยี นรู้ 2 ลักษณะ คือ

1. การรับรู้ (Perception) คอื การสัมผสั ดว้ ยอวยั วะท้ังหู ตา จมูก ปาก ล้ิน
ผิวหนัง

2. การหยง่ั เหน็ (Insight) คือ ความคดิ แวบขึ้นมาทนั ทที นั ใด ขณะทปี่ ระสบ
ปัญหา

...ครดู า...

ทฤษฎีวุฒภิ าวะ

หลักพฒั นาการตามแนวคดิ
อาโนลด์ กีเซลล์ (Arnold Gesell)

หลกั พัฒนาการตามแนวคดิ อาโนลด์ กเี ซลล์ (Arnold Gesell) ใชค้ าวา่ วุฒภิ าวะ (maturation)
วุฒภิ าวะ หมายถงึ การเปลยี่ นแปลงรปู แบบ (pattern) และรปู รา่ ง (shape) ของพฤตกิ รรมทเี่ ปน็ ผลมา
จากยนี ส์ (genes) หรือความพรอ้ มของกล้ามเน้อื และระบบประสาทจะปรากฏเม่ือถงึ เวลาทีเ่ หมาะสม เรียกวา่
วงจรของพฤติกรรม (cycles of behavior)

กีเซลล์ Gesell ไดแ้ บง่ พฒั นาการเด็กออกเป็น 4 ดา้ น

1. พฤตกิ รรมด้านการเคล่ือนไหว (gross motor development)เปน็ ความสามารถของรา่ งกายที่
ครอบคลุมถึงการบังคับอวยั วะต่างๆ ของร่างกายและความสัมพนั ธ์ทางดา้ นการเคลอ่ื นไหวทั้งหมด
2. พฤติกรรมดา้ นการปรับตัว (fine motor or adaptive development)
ความสามารถในการประสานงานระหวา่ งระบบการเคลอ่ื นไหวกบั ระบบความรสู้ กึ เช่น การประสานงาน
ระหวา่ งตากบั มือ ดไู ด้จากความสามารถในการใช้มือของเด็ก
3. พฤตกิ รรมทางด้านภาษา (language development) ประกอบดว้ ยวิธีสอื่ สารทุกชนดิ เชน่ การ
แสดงออกทาง หนา้ ตา ท่าทาง การเคลอ่ื นไหวทา่ ทางของรา่ งกาย ความสามารถในการเปลง่ เสียง และ
ภาษาพดู การเข้าใจในการสอื่ สารกบั ผ้อู น่ื
4. พฤติกรรมทางดา้ นนสิ ยั ส่วนตวั และสังคม (personal social development)
ความสามารถในการปรับตัวของเดก็ ระหวา่ งบคุ คลกบั บคุ คลและบคุ คลกับกลุม่ ภายใตภ้ าวะ
แวดล้อมและสภาพความเป็นจริงนบั เป็นการปรบั ตัวที่ต้องอาศัยการเจรญิ เตบิ โตของสมอง
และระบบการเคลือ่ นไหวประกอบกัน

พัฒนาการของเด็กเปน็ ไปอยา่ งมแี บบแผนและเปน็ ข้ันตอน เดก็ ควรพฒั นา ...ครูดา...
ไปตามธรรมชาติ ไมค่ วรเรง่ หรอื บังคบั การเรยี นรขู้ องเดก็ เกดิ ขน้ึ จากการ
เคลอ่ื นไหว การใชภ้ าษา การปรบั ตวั เข้ากบั สังคมและบคุ คลรอบขา้ ง

ทฤษฎีพฒั นาการทางปญั ญาของเพียเจต์

เพียเจต์ไดจ้ ดั กระบวนการทางสติปัญญา
ออกเปน็ 4 ข้นั ตอน

1. ระยะใชป้ ระสาทสัมผัส แรกเกิดจนถึง 2 ปี
2. ระยะควบคุมอวัยวะตา่ งๆ อายุ 2 ปี – 7 ปี
3. ระยะการคิดอย่างเปน็ รูปธรรม อายุ 7 – 11 ปี
4. ระยะการคดิ อย่างเปน็ นามธรรม อายุ 12 – 15 ปี

การพัฒนาทางปญั ญาของมนษุ ย์จะเปน็ ไปตามลาดบั จากระดับตา่ ไป ...ครูดา...
ส่รู ะดบั สูง หรอื จากรปู ธรรมไปสนู่ ามธรรม อาจเรว็ หรอื ชา้ ข้ึนอยกู่ ับ
ปจั จัยตา่ งๆของแตล่ บุคคล

ทฤษฎกี ารเรยี นรโู้ ดยการค้นพบของบรุนเนอร์

บรุนเนอร์เชื่อวา่
เด็กทุกระดับช้นั สามารถเรียนรู้เน้อื หาวิชาใดกไ็ ด้

ถ้าจดั ให้เหมาะสมกับความสามารถของเดก็

การเรยี นรแู้ บ่งเป็น 3 ขั้น

1. การเรยี นรูจ้ าก 2. การเรียนร้จู าก 3. การเรียนรูจ้ าก
การกระทา จนิ ตนาการ สัญลกั ษณ์

บรนุ เนอรไ์ ด้เสนอแนวคิดการเรยี นร้โู ดยการคน้ พบ ประกอบด้วยข้ันตอนดังนี้

1. ให้ผูเ้ รยี นเผชญิ ปญั หา ทาความเข้าใจปัญหา

2. ระบุปัญหาที่เผชญิ ใหช้ ัดเจน

3. ต้งั สมมติฐานเพอื่ คาดคะเนคาตอบ

4. เก็บรวบรวมขอ้ มูล

5. สรุปผล

...ครูดา...

เมตาคอกนชิ นั

มตาคอกนิชัน
คือ การควบคุมและประเมนิ การคิดของตนเอง
เปน็ ความคดิ ทต่ี ระหนกั ร้ใู นความสามารถของตนเอง

และสามารถควบคมุ การคดิ ของตนเองได้

ความตระหนักในเมตาคอกนิชนั

หมายถงึ การมีสตวิ า่ คดิ อะไร ทาอะไร ประกอบด้วย
1. ความรู้ตนเอง
2. ความรกู้ ระบวนการ
3. ความร้เู ง่อื นไข

องค์ประกอบของเมตาคอกนิชนั

1. การตระหนักรู้
2. ความสามารถในการกากบั ตนเอง

การพัฒนาเมตาคอกนชิ ัน

คอื การคดิ เก่ียวกบั การคิด การร้วู า่ เราทาอะไร และเราไมร่ อู้ ะไร เพอื่ ใชใ้ นการจัดการกบั ความคิดโดยมวี ิธี
พัฒนาเมตาคอกนชิ ัน คือ
1. การเช่อื มโยงความรู้ใหม่กับความรเู้ ดมิ
2. เลือกวิธกี ารคดิ อยา่ งพถิ ีพิถันและรอบคอบ
3. วางแผนก ากับตรวจสอบและประเมินกระบวนการคดิ

...ครดู า...

ทฤษฎีการเรยี นรขู้ องแบนดูรา

ทฤษฎีการเรยี นร้ทู างสังคมเชิงพุทธปิ ญั ญา
(Social Cognitive Learning Theory)

เป็นทฤษฎขี องศาสตราจารย์แบนดูรา

แบนดูรามคี วามเชื่อว่าการเรยี นรู้ของมนษุ ยส์ ่วนมากเปน็ การเรียนรโู้ ดยการสังเกตหรอื การเลยี นแบบ
(Bandura 1963) จึงเรยี กการเรียนรู้จากการสงั เกตว่า “การเรยี นรู้โดยการสังเกต” หรือ “การ
เลยี นแบบ”
และเนอื่ งจากมนษุ ยม์ ีปฏิสัมพนั ธ์ (Interact) กบั สง่ิ แวดลอ้ มทอ่ี ยู่รอบ ๆ ตวั อยู่เสมอ แบนดูราอธบิ าย
วา่ การเรียนรเู้ กิดจากปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหวา่ งผูเ้ รียนและสง่ิ แวดล้อมในสงั คม ซ่ึงทงั้ ผู้เรยี นและสิง่ แวดลอ้ มมี
อิทธิพลต่อกันและกัน

1. แบนดูราถอื ว่าการเรียนรกู้ เ็ ป็นผลของปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งผ้เู รียนและสงิ่ แวดล้อม
B = พฤตกิ รรมอย่างใดอย่างหนึง่ ของบุคคล
P = บคุ คล (ตัวแปรทเ่ี กิดจากผู้เรียน เชน่ ความคาดหวังของผ้เู รยี น ฯลฯ)
E = ส่งิ แวดล้อม

2. แบนดรู าได้ให้ความแตกต่างของการเรียนรู้ (Learning) และการกระทา (Performance) สรปุ ว่า
พฤติกรรมของมนุษย์อาจจะแบ่งออกได้เปน็ 3 ประเภท

2.1 พฤตกิ รรมสนองตอบที่เกดิ จากการเรยี นรู้ ผ้ซู ึง่ แสดงออกหรือกระทาสม่าเสมอ
2.2 พฤติกรรมท่เี รยี นร้แู ต่ไม่เคยแสดงออกหรอื กระทา
2.3 พฤตกิ รรมที่ไม่เคยแสดงออกทางการกระทา เพราะไมเ่ คยเรยี นรจู้ รงิ ๆ

3. แบนดรู าไมเ่ ช่อื วา่ พฤติกรรมทเ่ี กิดขึน้ จะคงตัวอยเู่ สมอ ทงั้ นีเ้ พราะสงิ่ แวดลอ้ มเปลีย่ นแปลงอยูเ่ สมอ และ

ทั้งสิ่งแวดลอ้ มและพฤตกิ รรมมีอิทธพิ ลซง่ึ กันและกนั

สรุปว่า “เดก็ ทม่ี พี ฤตกิ รรมก้าวร้าวจะสรา้ งบรรยากาศก้าวร้าวรอบ ๆ ตัว จึงทาให้เด็กอื่นที่มี

พฤตกิ รรมออ่ นโยนไมก่ ้าวร้าวแสดงพฤตกิ รรมตอบสนองกา้ วรา้ ว เพราะเป็นการแสดงพฤติกรรมต่อ

สง่ิ แวดล้อมท่ีก้าวร้าว” ...ครดู า...

ทฤษฎกี ารเรียนรู้ของแบนดูรา

การประยกุ ต์ใชใ้ นดา้ นการเรยี นการสอน

1. ตัง้ วตั ถุประสงคท์ ่ีจะทาใหน้ ักเรียนแสดงพฤตกิ รรม หรือเขียนวตั ถปุ ระสงค์เปน็ เชิงพฤตกิ รรม
2. ครผู ู้สอนแสดงตวั อย่างของการกระทาหลายๆ ตวั อย่าง ซึ่งอาจจะเป็น คน การ์ตนู
ภาพยนตร์ วิดีโอ โทรทศั นแ์ ละสอื่ ส่งิ พิมพ์ตา่ งๆ
3. ผู้สอนใหค้ าอธิบายควบคู่ไปกบั การใหต้ วั อย่างแตล่ ะครงั้
4. ชแ้ี นะขน้ั ตอนการเรียนร้โู ดยการสงั เกตแกน่ กั เรียน เชน่ แนะใหน้ ักเรยี นสนใจสงิ่ เร้าท่ีควร
จะใสใ่ จหรอื เลอื กใสใ่ จ
5. จัดให้นักเรียนมโี อกาสทจ่ี ะแสดงพฤติกรรมเหมอื นตัวแบบ เพอ่ื จะไดด้ วู า่ นักเรยี นสามารถท่ีจะ
กระทาโดยการเลียนแบบหรือไม่ ถ้านกั เรยี นทาไดไ้ ม่ถูกตอ้ งอาจจะตอ้ งแกไ้ ขวิธกี ารสอนหรอื อาจจะแกไ้ ข
ท่ตี ัวผ้เู รียนเอง
6. ใหแ้ รงเสรมิ แก่นักเรยี นท่ีสามารถเลยี นแบบไดถ้ กู ต้อง เพ่ือจะใหน้ ักเรียนมแี รงจูงใจที่จะ
เรยี นรแู้ ละเป็นตัวอยา่ งแก่นกั เรยี น

...ครดู า...

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ของบลมู

Bloom’s Taxonomy กล่าวถึง
การจาแนกการเรียนรซู้ ึ่งแบ่งเปน็ 3 ดา้ น คอื
ด้านพุทธิพสิ ัย ดา้ นจติ พิสัย และด้านทักษะพสิ ยั

การเรยี นรู้ (Learning) คอื กระบวนการของประสบการณท์ ่ีทาให้เกดิ การเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมอยา่ ง
คอ่ นข้างถาวร ซ่งึ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมนไ้ี ม่ไดม้ าจากภาวะช่ัวคราว วฒุ ิภาวะ หรอื สัญชาตญาณ

• การเรียนรูเ้ ป็นการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมที่คอ่ นขา้ งถาวร โดยเปน็ ผลจากการฝกึ ฝนเมือ่ ได้รับการ
เสรมิ แรง มิใชเ่ ปน็ ผลจากการตอบสนองตามธรรมชาตทิ ่ีเรยี กว่า ปฏกิ ริ ยิ าสะท้อน (Kimble and
Garmezy)

• การเรยี นรู้เป็นกระบวนการทท่ี าใหพ้ ฤตกิ รรมเปลย่ี นแปลงไปจากเดิม อันเปน็ ผลจากการฝึกฝนและ
ประสบการณ์ แตม่ ใิ ชผ่ ลจากการตอบสนองท่ีเกดิ ขึน้ ตามธรรมชาติ (Hilgard and Bower)

• การเรียนรเู้ ป็นการแสดงใหเ้ หน็ ถึงพฤตกิ รรมท่มี ีการเปลย่ี นแปลง อันเป็นผลเนอ่ื งมาจาก
ประสบการณท์ ่ีแตล่ ะคนไดป้ ระสบมา (Cronbach)

• การเรยี นรู้เป็นกระบวนการทบ่ี ุคคลไดพ้ ยายามปรับพฤตกิ รรมของตน เพือ่ เข้ากับสภาพแวดล้อมตาม
สถานการณต์ า่ ง ๆ จนสามารถบรรลถุ ึงเป้าหมายตามท่แี ต่ละบุคคลไดต้ ั้งไว้

...ครูดา...

ทฤษฎกี ารเรียนรูข้ องบลมู

พุทธิพสิ ัย พฤตกิ รรมดา้ นสมองเป็นพฤตกิ รรมเกย่ี วกบั สติปัญญา ความรู้
ความคดิ ความเฉลียวฉลาด ความสามารถในการคิดเร่ืองราวต่างๆ
(Cognitive Domain) อย่างมีประสิทธิภาพ ซง่ึ เป็นความสามารถทางสตปิ ญั ญา
พฤติกรรมทางพทุ ธพิ ิสยั 6 ระดับ

1. ความรู้ความจา ความสามารถในการเก็บรกั ษามวลประสบการณต์ ่าง ๆ จากการที่ได้

รบั ร้ไู ว้และระลกึ สงิ่ นน้ั ได้เมือ่ ต้องการเปรียบดังเทปบันทึกเสยี งหรือวีดทิ ัศน์ทสี่ ามารถเกบ็ เสียงและภาพ
ของเรอื่ งราวต่างๆไดส้ ามารถเปดิ ฟังหรือ ดูภาพเหล่านั้นไดเ้ ม่อื ตอ้ งการ

2. ความเข้าใจ เป็นความสามารถในการจบั ใจความสาคัญของส่อื และสามารถแสดง

ออกมาในรูปของการแปลความ ตีความ คาดคะเน ขยายความ หรอื การกระทาอ่ืน ๆ

3. การนาความรไู้ ปใช้ เป็นข้นั ที่ผู้เรยี นสามารถนาความรู้ ประสบการณไ์ ปใชใ้ นการ

แก้ปัญหาในสถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้ ซ่งึ จะต้องอาศยั ความร้คู วามเข้าใจ จงึ จะสามารถนาไปใช้ได้

4. การวเิ คราะห์ ผเู้ รยี นสามารถคดิ หรอื แยกแยะเรอ่ื งราวส่ิงต่าง ๆ ออกเป็นสว่ นยอ่ ย

เป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคัญได้ และมองเห็นความสมั พันธข์ องส่วนท่ีเกี่ยวขอ้ งกนั ความสามารถในการ
วิเคราะหจ์ ะแตกตา่ งกนั ไปแลว้ แต่ความคดิ ของแต่ละคน

5. การสงั เคราะห์ ความสามารถในการที่ผสมผสานสว่ นยอ่ ย ๆ เข้าเปน็ เรือ่ งราวเดยี วกัน

อยา่ งมีระบบ เพื่อใหเ้ กดิ สิง่ ใหมท่ ีส่ มบูรณแ์ ละดีกวา่ เดมิ อาจเปน็ การถา่ ยทอดความคิดออกมาใหผ้ ้อู ืน่
เขา้ ใจไดง้ ่าย การกาหนดวางแผนวธิ กี ารดาเนนิ งานขึ้นใหม่ หรือ อาจจะเกดิ ความคดิ ในอนั ทจ่ี ะสรา้ ง
ความสมั พันธ์ของสง่ิ ทเ่ี ป็นนามธรรมขน้ึ มาในรูปแบบ หรือ แนวคดิ ใหม่

6. การประเมนิ ค่า เป็นความสามารถในการตัดสนิ ตรี าคา หรือ สรุปเกีย่ วกับคุณค่าของ

ส่งิ ตา่ ง ๆ ออกมาในรูปของคณุ ธรรมอยา่ งมีกฎเกณฑท์ ่เี หมาะสม ซ่งึ อาจเปน็ ไปตามเนอ้ื หาสาระในเร่อื ง
นัน้ ๆ หรืออาจเป็นกฎเกณฑ์ท่ีสงั คมยอมรับก็ได้

...ครดู า...

ทฤษฎกี ารเรยี นร้ขู องบลมู

จิตพสิ ัย พฤติกรรมดา้ นจิตใจ คา่ นิยม ความร้สู กึ ความซาบซึ้ง ทศั นคติ
ความเชื่อ ความสนใจและคุณธรรม พฤติกรรมดา้ นน้ีอาจไม่
(Affective Domain) เกิดข้ึนทนั ที ดังน้นั การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยจัด
สภาพแวดล้อมท่เี หมาะสมและสอดแทรกสงิ่ ทีด่ ีงามอยู่ตลอดเวลา จะ
ทาให้พฤติกรรมของผู้เรียนเปลย่ี นไปในแนวทางทพี่ งึ ประสงคไ์ ด้
ด้านจติ พิสยั จะประกอบด้วย พฤติกรรมย่อย ๆ 5 ระดบั

1. การรับรู้ เป็นความรสู้ กึ ที่เกิดขนึ้ ต่อปรากฏการณ์ หรือส่ิงเร้าอย่างใดอย่างหนึง่ ซ่งึ เปน็ ไป

ในลกั ษณะของการแปลความหมายของสิ่งเรา้ น้ันว่าคอื อะไร แล้วจะแสดงออกมาในรปู ของความรสู้ ึกท่ี
เกดิ ขึน้

2. การตอบสนอง เปน็ การกระทาที่แสดงออกมาในรปู ของความเต็มใจ ยินยอม และ

พอใจต่อสงิ่ เรา้ นน้ั ซึง่ เปน็ การตอบสนองที่เกดิ จากการเลอื กสรรแลว้
3. การเกิดคา่ นิยม การเลอื กปฏบิ ัติในส่งิ ทีเ่ ป็นทีย่ อมรับกันในสังคม การยอมรบั นับถอื ใน

คุณคา่ น้นั ๆ หรอื ปฏิบตั ติ ามในเรอื่ งใดเรือ่ งหนึ่ง จนกลายเป็นความเชอ่ื แล้วจึงเกดิ ทัศนคตทิ ีด่ ใี นสงิ่
น้ัน

4. การจัดระบบ การสรา้ งแนวคดิ จัดระบบของคา่ นิยมทเ่ี กิดขึน้ โดยอาศัยความสัมพนั ธ์ถา้

เข้ากันได้กจ็ ะยึดถือต่อไปแตถ่ า้ ขดั กนั อาจไม่ยอมรับอาจจะยอมรับคา่ นิยมใหมโ่ ดยยกเลกิ ค่านยิ มเก่า

5. บุคลิกภาพ การนาคา่ นยิ มทีย่ ดึ ถือมาแสดงพฤตกิ รรมทเ่ี ปน็ นสิ ัยประจาตวั ให้ประพฤติ

ปฏบิ ัติแตส่ ิ่งที่ถูกต้องดงี ามพฤติกรรมดา้ นน้ี จะเกีย่ วกบั ความรสู้ ึกและจิตใจ ซ่งึ จะเริ่มจากการไดร้ บั รู้
จากส่งิ แวดลอ้ ม แล้วจงึ เกิดปฏิกิริยาโตต้ อบ ขยายกลายเป็นความรสู้ กึ ด้านต่างๆ จนกลายเปน็ ค่านิยม
และยังพฒั นาต่อไปเป็นความคดิ อุดมคติซง่ึ จะเปน็ ควบคมุ ทศิ ทางพฤตกิ รรมของคนคนจะรู้ดีรู้ช่ัวอย่างไรนน้ั
ก็เป็นผลของพฤตกิ รรมดา้ นน้ี

...ครูดา...

ทฤษฎกี ารเรยี นร้ขู องบลมู

ทกั ษะพสิ ยั พฤติกรรมด้านกลา้ มเนื้อประสาท พฤติกรรมท่บี ่งถึงความสามารถ
ในการปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ย่างคล่องแคลว่ ชานชิ านาญ ซึ่งแสดงออกมา
(Psychomotor ได้โดยตรงโดยมเี วลาและคุณภาพของงานเปน็ ตวั ชี้ระดบั ของทกั ษะ
Domain) พฤติกรรมด้านทกั ษะพสิ ยั ประกอบดว้ ย พฤตกิ รรมยอ่ ยๆ 5 ขั้น

1. การรับรู้ เปน็ การให้ผูเ้ รยี นไดร้ บั รหู้ ลกั การปฏบิ ัติท่ถี ูกตอ้ ง หรอื เป็นการเลอื กหาตวั

แบบท่ีสนใจ

2. กระทาตามแบบ หรอื เครื่องชีแ้ นะ เปน็ พฤติกรรมทผี่ เู้ รยี นพยายามฝึกตามแบบท่ตี น

สนใจและพยายามทาซา้ เพ่อื ท่จี ะใหเ้ กดิ ทกั ษะตามแบบทตี่ นสนใจใหไ้ ด้ หรอื สามารถปฏิบตั ิงานได้
ตามข้อแนะนา

3. การหาความถูกตอ้ ง พฤติกรรมสามารถปฏิบัติได้ดว้ ยตนเอง โดยไม่ตอ้ งอาศยั เครอื่ ง

ชี้แนะ เมอ่ื ได้กระทาซา้ แลว้ ก็พยายามหาความถูกตอ้ งในการปฏิบัติ

4. การกระทาอย่างตอ่ เน่ือง หลงั จากตดั สนิ ใจเลือกรูปแบบท่ีเป็นของตัวเองจะกระทา

ตามรปู แบบนน้ั อย่างต่อเนอ่ื ง จนปฏิบตั ิงานท่ยี ่งุ ยากซบั ซ้อนไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถูกตอ้ ง คลอ่ งแคล่ว การที่
ผู้เรียนเกิดทกั ษะไดต้ อ้ งอาศัยการฝกึ ฝนและกระทาอยา่ งสมา่ เสมอ

5. การกระทาไดอ้ ย่างเปน็ ธรรมชาติ พฤติกรรมทีไ่ ด้จากการฝึกอยา่ งต่อเน่อื งจนสามารถ

ปฏบิ ตั ิ ได้คลอ่ งแคลว่ ว่องไวโดยอตั โนมตั ิ เปน็ ไปอยา่ งธรรมชาตซิ ่ึงถือเปน็ ความสามารถของการปฏบิ ัติใน
ระดับสงู

เมอื่ บุคคลเกิดการเรียนรู้ จะเกดิ การเปลย่ี นแปลงดังน้ี
1. การเปล่ียนแปลงทางด้านความรู้ ความเข้าใจ และความคดิ (Cognitive Domain)
2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์ ความรู้สึก ทัศนคติ คา่ นยิ ม (Affective Domain)
3. ความเปล่ยี นแปลงทางดา้ นความชานาญ (Psychomotor Domain)

...ครูดา...

จติ วทิ ยา
การเรยี นรู้

จติ วิทยาการเรียนรู้

จติ วทิ ยาการเรยี นรู้ (Psychology of learning) หมายถึง
จติ วทิ ยาทใ่ี ช้ในการถา่ ยทอดความรู้ โดยการเรียนรจู้ ะเกิดขน้ึ ได้น้ันต้อง
เกิดจากพฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปอย่างถาวรหรือเกิดจากการฝึกฝน

ซ่งึ กระบวนการเรียนรูจ้ ะเกดิ ได้จากข้ันตอนหลัก 4 ขน้ั ตอน คือ
ตง้ั ใจจะรู้ กาหนดวธิ ปี ฏิบตั เิ พอ่ื ให้รู้ ลงมอื ปฏบิ ตั แิ ละได้รบั ผลประจกั ษ์
สาหรบั ทฤษฎกี ารเรียนรนู้ ้นั จะพยายามศึกษาวา่ กระบวนการเรยี นรูน้ ัน้ มี

ลกั ษณะอยา่ งไร

การเรยี นรู้ หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมอนั เน่อื งมาจากประสบการณ์เดมิ ทาให้คนเผชิญกับ
สถานการณเ์ ดมิ ตา่ งไปจากเดมิ เปน็ นการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมท้งั ภายนอกและภายใน

ลกั ษณะการเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรมอาจเปน็ ได้ 4 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การทาพฤติกรรมใหม่ การเลกิ ทา การ
เพ่ิมพฤตกิ รรมทเ่ี คยทาและการลดพฤตกิ รรมที่เคยทา

พฤติกรรมใดทไ่ี ม่เปลีย่ นแปลงจงึ ไมเ่ รียกวา่ เกดิ การเรยี นรู้
ผลของการเรียนรูจ้ ะกอ่ ให้เกดิ ความรู้ (knowledge) ทักษะ (Skill) และเจตคติ (Attitude)

การเรียนรู้มปี ระเด็นทคี่ วรพจิ ารณา 4 ประการ

1. การเรียนรู้อาจเป็นพฤติกรรมภายนอกซ่งึ แสดงออกให้เหน็ อยา่ งชัดเจน หรอื เป็นศักยภาพ
ซง่ึ เป็นพฤติกรรมภายในกไ็ ด้
2. การเรยี นรู้เปน็ ได้ท้ังทางบวกและทางลบ
3. การเรียนร้เู ปน็ พฤติกรรมท่ถี าวรหรอื ค่อนขา้ งถาวร ไมใ่ ช่เกิดขึน้ ชัว่ ขณะ
4. การเรียนรทู้ เ่ี กดิ จากประสบการณ์เทา่ นั้น ไมใ่ ช่เกิดจากสาเหตุอ่ืน ๆ เช่น
การเจริญเติบโต วฒุ ภิ าวะ ฤทธ์ิยา ความเจบ็ ป่วย เมื่อยลา้ ้ ฯลฯ

...ครดู า...

เป้าหมายของการเรียนรู้

เป้าหมายของการเรียนรู้ในการเรียนรู้
หมายถงึ การกาหนดจดุ หมายปลายทางของผู้เรยี นว่า้ จะตอ้ งบรรลุ

ถงึ จดุ หมายปลายทาง ซึ่งตามหลักสตู รการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
(ป.1- ป.6 และ ม.1 – ม. 6) มีเป้าหมาย 3 ดา้ น

1. ความรู้ (Knowledge)

1.1 ความรเู้ ชงิ กระบวนการ เชน่ อธบิ ายกระบวนการทเี่ กยี่ วขอ้ งได้
1.2 ความร้เู ชิงประจกั ษ์ เช่น วิเคราะหถ์ งึ เร่อื งท่ีเกี่ยวข้องได้
1.3 ความรเู้ ชงิ เนอ้ื หา เช่น อธบิ ายสาระสาคัญของเน้อื หาท่ีเกยี่ วขอ้ งได้

2. ทกั ษะ (Skill)

2.1 ทักษะพื้นฐาน เช่น มีทักษะดา้ นวฒั นธรรมไทย
2.2 ทกั ษะการคิด เช่น มที ักษะการคดิ อย่างสร้างสรรคไ้ด้
2.3 ทักษะการสอื่ สาร เชน่ พดู ฟงั อ่าน และเขยี นอยา่ งมีประสิทธิภาพ
2.4 ทักษะส่วนบุคคล เช่น มสี ขุ ภาพและบุคลิกภาพดี
2.5 ทักษะการจดั การ เช่น มีทกั ษะการจัดการในงานอาชีพสจุ รติ ได้
2.6 ทักษะในงานอาชพี เช่น มที กั ษะในงานคอมพวิ เตอร์

3. เจตคติ (Attitude)

3.1 คณุ ธรรม เชน่ ยึดมนั่ ความจรงิ ความดี และความงาม
3.2 จรยิ ธรรม เชน่ มคี วามรบั ผดิ ชอบในหน้าทแี่ ละปฏบิ ตั ิตามสัญญา
3.3 ค่านยิ ม เชน่ มคี ่านยิ มทางวิชาการและทางการเมือง

...ครดู า...

ทฤษฎกี ารเรียนรทู้ างด้านจิตวิทยา

ทฤษฎกี ารเรยี นรูท้ างดา้ นจิตวิทยา พฟั ลพั
มี 3 กลุม่ วตั สัน
สกินเนอร์
1. พฤตกิ รรมนยิ ม ทฤษฎีการวางเงอื่ นไข ไมจ่ งใจกระทา ธอร์นไดค์
ทฤษฎีลองผิดลองถกู จงใจกระทา
(Behaviorism/
S-R Theories)

2. ปญั ญานยิ ม ทฤษฎีรวมหนว่ ย โคห์เลอร์
(Cognitivism) เลวิน
ทฤษฎสี นาม ทอลแมน

ทฤษฎกี ารใช้ เพียร์เจท์
เครอ่ื งหมาย

ทฤษฎีพัฒนาการทาง
สตปิ ัญญา

3. มนุษยนิยม ทฤษฎีความตอ้ งการ/ มาสโลว์/โรเจอร์
(Humanism) Client-Center

...ครดู า...


Click to View FlipBook Version