The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุป 4. วิชาชีพครู 2.จิตวิทยา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by poolma.nutcha, 2021-05-11 08:44:54

สรุป 4. วิชาชีพครู 2.จิตวิทยา

สรุป 4. วิชาชีพครู 2.จิตวิทยา

ทฤษฎกี ารเรียนรู้ทางด้านจิตวทิ ยา

1. กล่มุ พฤติกรรมนิยม

1.1 อีวาน พาฟลอฟ (Ivan Pavlov, 1849-1936) นักสรรี วทิ ยาชาวรสั เซีย ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ าร
วางเง่อื นไขแบบคลาสสกิ (Classical Conditioning Theory) หรอื แบบสิง่ เร้า

1.2 จอหน์ บี วตั สัน (John B Watson คศ.1878 -1958) ทฤษฎีการเรยี นรูก้ ารวางเงือ่ นไขแบบ
คลาสสิคท่ีเกิดขึ้นกบั มนษุ ย์

1.3 เบอร์รสั สกินเนอร์ (Burrhus Skinner) ทฤษฎกี ารเรยี นรู้การวางเง่อื นไขแบบการกระทา
(Operant Conditioning theory)

1.4 กาเย่ (Gagne) ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ 8 ขั้น
- การจูงใจ ( Motivation Phase) การคาดหวงั ของผูเ้ รียนเป็นแรงจงู ใจในการเรียนรู้
- การรบั รู้ตามเป้าหมายทีต่ ง้ั ไว้ (Apprehending Phase) ผูเ้ รยี นจะรบั รู้สิง่ ทีส่ อดคลอ้ งกบั

ความต้งั ใจ
- การปรงุ แต่งสิ่งที่รบั รูไ้ วเ้ ปน็ ความจา (Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจาระยะสน้ั

และระยะยาว
- ความสามารถในการจา (Retention Phase)
- ความสามารถในการระลึกถงึ ส่ิงทีไ่ ด้เรียนรู้ไปแลว้ (Recall Phase)
- การนาไปประยกุ ต์ใชก้ บั ส่งิ ทีเ่ รยี นรูไ้ ปแลว้ (Generalization Phase)
- การแสดงออกพฤติกรรมท่เี รียนรู้ (Performance Phase)
- การแสดงผลการเรียนรู้กลบั ไปยังผู้เรยี น (Feedback Phase) ผูเ้ รยี นได้รบั ทราบผลเรว็

จะทาให้มีผลดีและประสทิ ธภิ าพสงู

1.5 ธอร์นไดค์ ทฤษฎีการเชื่อมโยง

...ครูดา...

ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทางดา้ นจติ วิทยา

2. กลุ่มปญั ญานิยม

2.1 เดวคิ พี ออซุเบล ทฤษฎีการเรยี นรอู้ ยา่ งมคี วามหมาย
2.2 Gestalt Psychologist ทฤษฎีการใช้ความเขา้ ใจ (CognitiveTheory)
2.3 โคท์เลอร์ (Kohler, 1925) การเรยี นรู้โดยการหย่ังรู้ (Insight Learning)
2.4 Jero Brooner ทฤษฏกี ารเรยี นร้แู บบค้นพบ
2.5 เพยี เจท์ (Jean Piaget) ทฤษฎีพฒั นาการทางสตปิ ญั ญา

2. กลุ่มปญั ญานิยม

3.1 ศาสตราจารย์บนั ดรู า แหง่ มหาวทิ ยาลยั สแตนฟอร์ด (Stanford) ประเทศสหรฐั อเมริกา การเรียนรู้
โดยการสังเกตหรอื การเลยี นแบบ (Observational Learning หรือ Modeling)
3.2 Anthony Grasha กบั Sheryl Riechmann ทฤษฎกี ารสังเกตจากปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างนักเรียน
กบั ครผู ้สู อน และสงั เกตจากปฏสิ ัมพนั ธร์ ะหว่างนกั เรยี นกับเพื่อนรว่ มหอ้ ง
3.3 เลวนิ (Lawin) ทฤษฎสี นาม
3.4 Robert Slavin และคณะทฤษฎกี ารเรยี นรแู้ บบรว่ มกนั เรยี นรู้
3.5 David Johnson และคณะทฤษฎกี ารเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือกนั เรียนรู้
3.6 Shlomo และ Yael Sharan ทฤษฎกี ารเรียนร้แู บบร่วมมอื กนั เรียนรูใ้ น
งานเฉพาะอย่าง

...ครูดา...

การประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎีการเรียนรู้

1. การประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎกี ล่มุ พฤติกรรมนิยม

1. เตรยี มความพร้อมหรือให้เดก็ พรอ้ มกอ่ นสอน
2. พยายามใชส้ ิ่งเรา้ ที่เด็กเคยเรียนรหู้ รือรมู้ าแลว้ ควบคกู่ ับ ส่ิงเรา้ ท่ีไม่รู้และตอ้ งการจะใหเ้ กิดการเรยี นรู้
ส่ิงเร้านนั้
3. ครูจะต้องพยายามศึกษาเง่อื นไขต่าง ๆทท่ี าใหเ้ กดิ ปัญหาในการเรียนรขู้ องเดก็
4. ใชห้ ลกั การปรับพฤติกรรมท่ไี มพ่ งึ ประสงค์ โดยการเสรมิ แรงพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ และเมินเฉย
หรือลงโทษพฤตกิ รรมทีไ่ มพ่ ึงประสงค์
4. ใหเ้ ด็กไดเ้ รียนรู้ด้วยการกระทา (Learning by doing) มากกวา่ ท่จี ะนั่งฟงั ครบู รรยายหรือสอน
เพียงอยา่ งเดียว
5. ใหเ้ ด็กได้เรยี นรแู้ บบลองผิดลองถูกบา้ งตามความเหมาะสม ช่วยใหจ้ ดจาสงิ่ ทเ่ี รียนไดแ้ ม่นยาและยงั่ ยนื
6. พยายามใชก้ ฎแห่งการเรียนร้ทู ้งั 3 ขอ้ ในการจัดการเรยี นการสอน คอื กฎแห่งความพรอ้ ม
กฎแหง่ การฝกึ หดั และกฎแหง่ ผล

2. การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎีกลมุ่ ปัญญานิยม

1. จดั สภาพแวดลอ้ มทสี่ อดคล้องกบั ประสบการณเ์ ดมิ ของเด็กเพื่อให้เกิดการหยัง่ เห็นไดง้ ่าย
2. พยายามให้ตวั ครูและส่ิงทีจ่ ะสอนเขา้ ไปอยใู่ ้นหว้ งชวี ติ (Life space) ของเดก็ ตลอดเวลาทสี่ อน
3. คานงึ ถึงการสอนให้เดก็ รบั รสู้ ่ิงทเี่ รียนโดยภาพรวมกอ่ นที่จะแยกสอนเป็นส่วนย่อย (As a whole
not a part)
4. เนน้ วา่ การเรยี นรูเ้ ปน็ ส่ิงทจ่ี ะต้องเรยี นแล้วนามาใชใ้ นชีวิตจรงิ ตลอดเวลาปัจจุบัน ไมใ่ ช่เรยี นเพ่ือจะนา
ความร้ไู ปใช้ในอนาคต (Learning is life not prepare to life)
5. ใชว้ ิธีการสอนท่หี ลากหลายและเหมาะสมกบั ตัวเดก็ มากกวา่ ้ ที่จะมุ่งบอกเนอ้ื หาสาระ
แกเ่ ดก็ (How to teach is more importance than what to teach)
6. มกี ารวัดผลประเมนิ ผลกระบวนการเรียนรตู้ ลอดเวลา ไมใ่ ช่วดั เฉพาะผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นรขู้ องเด็กเท่านน้ั (Learning is a process not a product)

...ครูดา...

การประยกุ ตใ์ ช้ทฤษฎกี ารเรียนรู้

3. การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎีกลุ่มมนุษยนิยม

1. ยดึ เดก็ เป็นสาคญั หรือยดึ เด็กเปน็ ศนู ยก์ ลางในการเรยี นรู้ (Child Center)
2. สนองความต้องการทางกายแกเ่ ด็ก เช่น จัดโครงการอาหารกลางวันใหเ้ ด็กได้รบั ประทาน จัดใหม้ นี า้
ดม่ื ท่สี ะอาด รวมทงั้ จดั บรรยากาศสภาพแวดล้อมทส่ี ะดวกสบายตอ่ การเรยี นรู้
3. จัดบรรยากาศการเรยี นรูท้ ่ีทาใหเ้ ด็กรู้สกึ ปลอดภัยทงั้ ทางกายและจิตใจ
4. ใหค้ วามสนใจและเอาใจใส่เดก็ ทุกคนอย่างเท่าเทยี มกนั ในฐานะทเ่ี ป็นคน ๆ หน่ึง
5. ยอมรับเดก็ อยา่ งไม่มีเงอ่ื นไขในความแตกตา่ งของเดก็ แต่ละคนทั้งทางดา้ นร่างกาย อารมณ์ สงั คม และ
สตปิ ัญญา
6. เนน้ ให้แข่งขันกับตวั เองมากกวา่ ้ ทจี่ ะแขง่ ขันกับกลุม่ เพือ่ น
7. เน้นใหเ้ กิดแรงจงู ใจภายในทจ่ี ะเรยี นรมู้ ากกว่า้ แรงจงู ใจภายนอก
8. ช่วยใหเ้ ด็กสามารถปรบั ตนตัวจริง (Real-self) กบั ตนในอุดมการณ์ (Ideal-self) ใหส้ อดคล้องกัน

...ครดู า...

จติ วทิ ยา
การแนะแนว

จิตวทิ ยาการแนะแนว

ประวัตกิ ารแนะแนว
การแนะแนวถือกาเนดิ ขึ้นอยา่ งเปน็ ระบบในสหรัฐอเมรกิ า
โดยมีจดุ เริ่มต้นจากการแนะแนวอาชีพ ในปี ค.ศ. 1985
ผ้ทู ่รี ิเริ่มวางรากฐานการแนะแนวอย่างเป็นระบบจนได้รับการยกยอ่ งว่าเปน็

บิดาแห่งการแนะแนว ได้แก่ Frank Parsons

จากจุดเร่ิมต้นการแนะแนวอาชพี ในสถานศกึ ษา ต่อมาไดข้ ยายขอบข่ายมาสกู่ ารแนะแนวการศึกษา
โดย Truman L.Kelley ไดบ้ ญั ญัตศิ พั ท์ การแนะแนวการศกึ ษาขนึ้

การแนะแนว หมายถึง
กระบวนการท่ีผู้มีความร้แู ละความเช่ียวชาญด้านการแนะแนว
ใหบ้ รกิ ารชว่ ยเหลอื แกบ่ คุ คลโดยไมจ่ ากดั เพศ วัย ชั้น
วรรณะ ซึ่งสามารถทาไดท้ ั้งรายบคุ คลหรอื เปน็ กลุ่มแลว้ แต่
กรณี เพื่อชว่ ยให้บุคคลรูจ้ ักและเขา้ ใจตนเอง ในสถานท่ี
แท้จรงิ ของตนเองเองว่ามีความสามารถ ความถนัด สตปิ ัญญา
เจตนาคติ ศกั ยภาพอยา่ งไร เพอื่ ให้สามารถตดั สนิ ใจได้

...ครูดา...

จติ วทิ ยาการแนะแนว

ความหมาย 1.ความหมายตามรูปศพั ท์
การแนะแนว หมายถึง

“การชแ้ี นะ การชี้ช่องทางให้ การบอกแนวทางให้
เพ่ือชว่ ยให้ผทู้ มี่ ปี ัญหาตัดสนิ ใจได้
แตม่ ใิ ชก่ ารแนะนา (Advise)

2.ความหมายในแง่กระบวนการ (Process) การแนะแนวมจี ุดมงุ่ หมายและหลักการท่ี
หมายถงึ สอดคล้องหรือเหมือนกันกบั จุดมุง่ หมายของ
การศกึ ษา คอื การช่วยให้เยาวชนของชาติ
กระบวนการชว่ ยเหลอื ใหเ้ ขา้ ใจตนเองและโลกของ เปน็ ผู้ท่ีคิดเป็น ทาเป็นและแก้ปัญหาเป็น
ตนโดยมสี ิง่ ทต่ี ้องพิจารณาอยู่ 4 ประการ โดยเน้นให้ผเู้ รียนไดร้ บั การสง่ เสรมิ พฒั นา
1. กระบวนการ (Process) ในทุกๆ ดา้ น มุ่งสนองความตอ้ งการและ
2. การชว่ ยเหลอื (Helping) ความสนใจของผู้เรยี น
3. บคุ คล (Individuals)
4. การเขา้ ใจตนเองและโลกของตน

บรกิ ารแนะแนว

1. บรกิ ารสารวจนกั เรียนเปน็ รายบุคคล (Individual
Inventory Service)
2. บรกิ ารสนเทศ (Information Service)
3. บรกิ ารให้คาปรกึ ษา (Counseling Service)
เปน็ หัวใจของการแนะแนว
4. บรกิ ารจัดวางตวั บุคคล (Placement Service)
5. บรกิ ารตดิ ตามผล

...ครดู า...

หลักการสาคัญของการแนะแนว

1. การแนะแนวเปน็ บรกิ ารที่ต้องมงุ่ ใหค้ วามช่วยเหลือนกั เรยี นทุกคน

2. การแนะแนวเป็นกระบวนการเกีย่ วกบั การศกึ ษาทตี่ อ้ งปฏบิ ตั ิต่อเนือ่ งกนั และเป็นไปตาม ลาดบั ขน้ั คือ
จดั อย่างเป็นระบบ มีระเบียบแบบแผน มีความสัมพันธต์ อ่ เนอ่ื งกนั ไปสามารถนาตนเองได้ และชว่ ยตนเองได้

3. การแนะแนวต้งั อยู่บนรากฐานของ การยอมรับในเอกัตบคุ คล (Individual) ของนกั เรียน รวมถงึ
ยอมรับในเรอ่ื งความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (Individual Differences) ดว้ ย

4. การแนะแนว เปน็ งานที่วางอยบู่ นพ้ืนฐานกระบวนการพฤติกรรมของบคุ คลและเกี่ยวข้องกบั พฒั นาการ
มนุษย์ ดงั นนั้ จงึ จาเป็นต้องใช้เครื่องมอื และกลวิธีตา่ งๆ ทั้งท่เี ปน็ แบบทดสอบและไม่ใชแ่ บบทดสอบ

5. ผทู้ างานด้านการแนะแนวจะต้องเคารพในสิทธิและเสรีภาพของบคุ คล ใหก้ ารยอมรบั ในศกั ดศิ์ รแี ละ
คุณคา่ ของแต่ละคนยอมรับในสิทธิสว่ นตัวในการตัดสนิ ใจท่จี ะเลือกทา

6. การแนะแนวเป็นส่วนหนึง่ ของกระบวนการทางการศึกษา ดงั นน้ั การแนะแนวควรแทรกอยใู่ น
กระบวนการเรียนการสอนของโรงเรยี น เพอ่ื ช่วยให้พัฒนาตนเองทกุ ดา้ นอยา่ งบูรณาการ (Integration)

7. การแนะแนว ที่มีประสทิ ธิภาพผทู้ าหนา้ ที่แนะแนว (Counselor) จะต้องเปน็ ผทู้ ี่ได้รับการศกึ ษาอบรม
ทางการแนะแนวมาโดยเฉพาะ มีทั้งความรู้ (Knowledge) และทกั ษะ (Skills) ท่เี หมาะสมและมีการจัด
ดาเนนิ การแนะแนวอย่างมรี ะบบ (SystematicalGuidance)

8. ผทู้ างานด้านการแนะแนวจะตอ้ งเป็นผทู้ ม่ี มี นษุ ยสัมพันธ์ดี มีความเป็นประชาธิปไตยเปน็ ผยู้ อมรบั ฟัง
ความคิดเหน็ ผูอ้ ื่น และจะตอ้ งเป็นผู้ทส่ี ามารถทางานร่วมกับผูอ้ น่ื ไดเ้ ปน็ อย่างดี

9. การจดั บรกิ ารแนะแนวจะไดผ้ ลและมปี ระสทิ ธภิ าพ จะต้องเกิดจากความร่วมมือและความสมัครใจของ
บุคคลากรทกุ ฝ่ายในโรงเรยี น และนกั เรยี นผูม้ ารบั บริการจะตอ้ งมาดว้ ยความเต็มใจให้ความรว่ มมือดว้ ย

10. ผ้ทู างานดา้ นการแนะแนวจะตอ้ งเปน็ ผู้ทสี่ ามารถเก็บรกั ษาความลับได้ ...ครดู า

ประเภทของการแนะแนว

ประเภทการแนะแนว

1. การแนะแนวการศกึ ษา 2. การแนะแนวอาชีพ 3. การแนะแนวด้านส่วนตัวและสังคม
(Educational Guidance) (Vocational Guidance)
(Personal and Social Guidance)

หมายถึง กระบวนการให้ หมายถงึ การให้บรกิ ารแนะ หมายถึง กระบวนการใหค้ วาม
ความชว่ ยเหลอื นกั เรียนใน แนวอาชีพ จะช่วยใหน้ กั เรยี น ชว่ ยเหลือนักเรยี นในเรอื่ งท่ี
เรือ่ งท่ีเกยี่ วกับการศกึ ษา ได้คน้ พบและตดั สนิ ใจเลือก นอกเหนือจากด้านการศึกษาและ
อาชพี ได้อยา่ งถูกต้อง อาชพี
โดยเฉพาะ มคี วามรู้ : สภาพและ มีความรู้ : รักษาสขุ ภาพกาย
เช่น แนวทางในการศึกษาต่อ ลักษณะของงาน คุณสมบตั ทิ ่ี และสุขภาพจติ มารยาทสงั คม
การเลือกโปรแกรมการเรยี น จาเป็น รายได้ สวัสดกิ าร การคบเพอ่ื นตา่ งเพศ และเพือ่ น
การลงทะเบยี น หลักสตู ร ความมั่นคงและความกา้ วหนา้ เพศเดยี วกนั การใช้เวลาว่าง
ส่ิงแวดล้อม ข้อดแี ละขอ้ เสีย บุคลกิ ภาพและการแตง่ กาย
การเรียนการสอน และแสวงหางาน การสมัคร อารมณ์และการควบคุมอารมณ์
การวัดผลประเมนิ ผล การปรับตวั ให้เข้ากับงานและ มนุษยสมั พันธ์ จรยิ ธรรม และ
การคน้ คว้า เขยี นรายงาน การปฏิบัติตนให้มีความ ค่านิยม การใชจ้ ่ายเงนิ ศาสนา
เจรญิ กา้ วหนา้ ในการทางาน และความเชอื่ ฯลฯ
การอา่ นหนังสือ
การเตรียมตวั สอบ การสรา้ ง

สมาธิในการเรยี น ฯลฯ

ชว่ ยใหน้ ักเรียนรูจ้ ักเลือกและ ช่วยใหน้ กั เรียนค้นพบอาชีพที่ เป็นการชว่ ยใหน้ กั เรียนได้เกดิ
ปรับตวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมใน เหมาะสมกับความสามารถ ความเข้าใจตนเองและ
เร่ืองการศึกษาเลา่ เรียนของตน ความถนดั ความสนใจ และ สภาพแวดล้อม ทาให้สามารถมี
ทง้ั ยงั ช่วยให้นักเรยี นสามารถ สภาพร่างกายของตน ชวี ิตและปรับตัวได้อย่างมี
วางแผนการศกึ ษาต่อของตนได้ ความสุข
อย่างถูกต้อง
...ครดู า

ประโยชนข์ องการแนะแนว

1.ช่วยใหน้ กั เรยี นไดร้ จู้ กั และเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ ทาให้สามารถปรบั ตัวอยใู่ นสงั คมได้เปน็ อย่างดี รูจ้ ัก
เลอื กและตัดสนิ ใจได้อย่างฉลาดและเหมาะสม แกป้ ญั หาต่างๆ ที่ตนประสบไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ วาง
แผนการชวี ติ ในอนาคตของตนเอง และนาตนเองไปสเู่ ป้าหมายท่วี างไว้

2.ชว่ ยใหค้ ณะครไู ดร้ จู้ ักนักเรยี นของตนแตล่ ะคนอย่างลกึ ซ้ึง เข้าใจว่านักเรยี นแตล่ ะคนมคี วามแตกตา่ งกนั
ในด้านตา่ งๆ เชน่ สตปิ ัญญา สภาพร่างกาย ความถนดั ความสนใจ ค่านยิ ม ทาใหท้ างโรงเรยี นสามารถ
จดั การเรยี นการสอนและกจิ กรรมต่างๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของนกั เรียน และ
ชว่ ยให้เกิดปัญหาของโรงเรยี นที่เกิดจากนักเรยี นลดน้อยลง

3.ช่วยใหบ้ ิดามารดาและผปู้ กครองของนกั เรียนรูจ้ กั และเข้าใจเด็กของตนดขี น้ึ ยอมรบั สภาพความเป็นจริง
เกย่ี วกับบตุ รหลานของตนในฐานะทเ่ี ปน็ บุคคลคนหน่ึงซ่ึงแตกตา่ งจากบุคคลอน่ื ๆ และใหค้ วามร่วมมอื แก่ทาง
โรงเรียนในการสง่ เสริมพัฒนาบุตรหลานของตน

4.ชว่ ยใหส้ ังคมและประเทศชาตไิ ด้ประชากรที่มีคุณภาพ ไม่เป็นผกู้ อ่ ใหเ้ กิดปัญหาสงั คมและชว่ ยเพ่มิ พนู
เศรษฐกจิ ของประเทศเนอ่ื งจากเด็กไดเ้ รียนและประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกบั ความสามารถ ความถนัด และ
ความสนใจของตน

...ครูดา...

ความมุง่ หมายของการแนะแนว

ความมงุ่ หมายทัว่ ไป

1.เพื่อป้องกนั ปญั หา 2.เพ่ือแกไ้ ขปญั หา 3.เพอ่ื สง่ เสรมิ พฒั นา
(Prevention) (Curation) (Development)

ปอ้ งกันไม่ให้นักเรยี นเกิด ให้ความช่วยเหลอื นักเรียนใน การส่งเสรมิ นกั เรียนทกุ คนให้
ปัญหาหรอื ความยุง่ ยากใน การแกไ้ ขปญั หาตา่ งๆ เกิดความเจริญงอกงาม
การดาเนนิ ชีวิตของตน ท่เี กิดขน้ึ กบั ตน มีพัฒนาการในดา้ นตา่ งๆ
อย่างสมบูรณ์

ความมุง่ หมายเฉพาะ

1. ชว่ ยใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคนได้ 2.ช่วยใหน้ ักเรียนรู้จักปรบั ตัว 3.เพอ่ื ชว่ ยให้นักเรียนรู้จักนา
รจู้ ักตนเองอยา่ งแท้จริง (Self-Adjustment) ตนเอง (Self-Direction)
(Self-Understanding)

4.ชว่ ยใหน้ ักเรยี นรู้จกั ใช้ 5.ส่งเสริมให้เกิดสัมพนั ธภาพ 6.ฝึกในเรือ่ งประชาธิปไตย
วิจารณญาณคาดการณล์ ่วงหน้า ที่ดีระหว่างครกู บั นกั เรียน ให้แก่เยาวชนของชาติ

7.ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจอนั ดี ...ครูดา...
ตอ่ กนั ระหวา่ งโรงเรียน บ้าน

และชุมชน

การจัดกจิ กรรมแนะแนว

วัตถปุ ระสงค์ แนวการจดั การเรียนรู้กจิ กรรมแนะแนว
1. เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนรูจ้ ัก เขา้ ใจ รกั และ
เห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น 1. ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหา ความต้องการ ความสนใจ
2. เพอ่ื ใหผ้ ้เู รียนสามารถวางแผน และธรรมชาตขิ องผเู้ รยี น
การศกึ ษา อาชีพ รวมท้ังส่วนตัวและ 2. วิเคราะหส์ มรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน คุณลกั ษณะท่ีพงึ
สังคม ประสงค์ วิสยั ทัศนข์ องสถานศกึ ษา และข้อมูลของผเู้ รยี น
3. เพ่ือให้ผ้เู รยี นสามารถปรบั ตัวไดอ้ ย่าง เป็นรายบคุ คล
เหมาะสมและอยู่รว่ มกับผ้อู ืน่ ไดอ้ ยา่ งมี 3. กาหนดสดั ส่วนของการจัดการเรยี นรู้ กิจกรรมแนะแนว
ความสขุ ใหค้ รอบคลุมดา้ นการศกึ ษา ด้านอาชพี ด้านสว่ นตัวและ
สงั คม
ขอบข่ายแนะแนว 4. กาหนดวตั ถุประสงคก์ ารจดั การเรยี นรู้กจิ กรรมแนะแนว
1. ดา้ นการศกึ ษา ของสถานศกึ ษา
2. ด้านอาชีพ 5. ออกแบบการจัดการเรียนร้กู จิ กรรมแนะแนว
3. ดา้ นส่วนตัวและสงั คม 6. จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรกู้ ิจกรรมแนะแนว
7. จัดการเรยี นรกู้ ิจกรรมแนะแนวตามแผน และ
ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม
8. ประเมินเพอื่ ตัดสินผล และสรุปรายงาน

เกณฑ์การประเมินกิจกรรมแนะแนว

1. เวลาเข้าร่วมกิจกรรม
2. การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม
3. ผลงาน / คุณลักษณะของผู้เรียน

เป็นไปตามเกณฑ์ คือ ผ่าน ส่งการประเมนิ
ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ คือ ไม่ผา่ น ใหซ้ ่อมเสริม

...ครดู า...

ความหมายบริการใหค้ าปรกึ ษา
(Counseling Service)

บริการให้คาปรึกษานบั ว่าเปน็ “หวั ใจของบรกิ ารแนะแนว”
ซึ่งถือว่าเป็นบริการทส่ี าคัญทส่ี ุดในบรกิ ารแนะแนว

บรกิ ารแนะแนวจะจัดบรกิ ารให้คาปรกึ ษาอย่างเปน็ ทางการ
การบริการใหค้ าปรึกษานั้นเปน็ บรกิ ารหน่ึงของบรกิ ารแนะแนว

หลักการท่ีสาคัญในการให้คาปรึกษา

1. ผรู้ ับคาปรกึ ษาตอ้ งการที่จะเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมของตน
2. ผู้ใหค้ าปรึกษาต้องไดร้ ับการฝกึ ฝนเพ่อื ความชานาญงาน
3. ชว่ ยใหผ้ ู้รับคาปรกึ ษาสามารถพจิ ารณาตนเองได้ดี --> จนเกิดการตัดสนิ ใจไดใ้ นทสี่ ุด
4. ยึดหลักความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล
5. การใหค้ าปรกึ ษาเป็นทัง้ ศาสตร์ (Science) และศลิ ปะ (Art) ตอ้ งอาศัยการฝกึ ฝนจนชานาญ
มากกวา่ การใช้สามัญสานึก
6. เปน็ ความร่วมมืออนั ดีสาหรับผใู้ ห้คาปรกึ ษา และผู้รบั คาปรึกษา ในอันทีจ่ ะช่วยกันคน้ หาปัญหาหรอื
ทางออกที่เหมาะสมแท้จริงทงั้ นีโ้ ดยที่ต่างฝ่ายอาจจะไม่เขา้ ใจมากอ่ นวา่ “แท้ท่ีจรงิ แล้วความยากลาบาก
หรือปญั หาของสิ่งน้ันคอื อะไร ซึง่ แตกต่างไปจากการสอนซ่ึงผ้สู อนรู้ข้อเท็จจริงมากอ่ นหนา้ นี้แล้ว”
7. การใหค้ าปรกึ ษาเนน้ ถึงจรรยาบรรณ และบรรยากาศท่ีปกปดิ หรือความเปน็ ส่วนตวั
8. การใหค้ าปรกึ ษาจะเกดิ ขึ้นตอ่ เมื่อสัมพนั ธภาพระหวา่ งผ้ใู หค้ าปรกึ ษา
และผ้รู ับคาปรกึ ษามีระดับสงู มากพอท่ผี ู้รับคาปรึกษาเต็มใจทจี่ ะเปิดเผย

...ครูดา...

วัตถปุ ระสงค์ของการใหค้ าปรกึ ษา

1. สารวจตนเอง และสิง่ แวดล้อม เพื่อให้เกิดการเรยี นรู้ และเขา้ ใจ

2. ลดระดบั ความเครยี ด และความไม่สบายใจทีเ่ กดิ การมีปฏสิ ัมพันธ์กับสงิ่ แวดล้อม

3. พฒั นาทักษะทางด้านสังคม ทกั ษะการตัดสินใจ และทกั ษะการจัดการกับปญั หา
ให้มี ประสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น

4. เปลย่ี นแปลงพฤติกรรมไปในทิศทางท่ีพึงประสงค์ เช่น มีความรับผดิ ชอบใน
หน้าทตี่ ่างๆ มากขึ้น มีพฤตกิ รรมการเรียนท่ีดี และสร้างสมั พนั ธภาพกบั ผอู้ ่ืนไดด้ ขี นึ้

ขอ้ ควรคานงึ ในการให้คาปรึกษา

1. ตรงตอ่ เวลานัดหมายท้งั เร่มิ ต้น และส้ินสดุ การให้คาปรกึ ษา (รายบคุ คล 45-50 นาท)ี (รายกล่มุ
60-90 นาที และควรอยู่ในช่วงระยะเวลาไมเ่ กนิ 3 เดอื น ต่อราย หรือต่อกลุ่ม
2. ใหค้ วามสาคญั กับภาษาทา่ ทางของนกั เรยี นให้มาก ให้เช่อื ภาษาทา่ ทางและสะทอ้ นกลับให้นกั เรยี น
รบั รู้ เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นเข้าใจตัวเองมากขึ้น
3. หลกี เลย่ี งการถามข้อมูลทีล่ ะเอียดออ่ น หรือเจาะจงเกินไป
4. หลีกเล่ียงการแนะนาให้นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามความเห็นของครู
5. หลีกเลีย่ งการเกิดอารมณร์ ่วมและการเหน็ ชอบกบั พฤติกรรมของนกั เรยี นทจ่ี ะเปน็ การเสริมแรงให้
นกั เรียนคิดและทาพฤติกรรมเหมอื นเดิม
6. ไม่ควรรบี ดว่ นท่ีจะสรปุ และแก้ปญั หา โดยท่นี ักเรยี นไม่มโี อกาสไดส้ ารวจปัญหา และสาเหตมุ ากพอ
7. หลงั จากการให้คาปรึกษาแตล่ ะครงั้ แล้ว ครูควรบันทกึ ผลการใหค้ าปรกึ ษาไว้เพ่ือเปน็ ข้อมูลในการให้
คาปรึกษาตอ่ ไป
8. ตอ้ งรกั ษาความลบั และประโยชน์ของนกั เรยี น

...ครดู า...

คณุ ลักษณะ
ของครูผู้ให้คาปรึกษา

รู้จกั และยอมรับตนเอง

การรกั ษาความลับ อดทน ใจเย็น

มบี ุคลิกภาพท่ดี ี คณุ ลกั ษณะของ ใช้คาพูดไดเ้ หมาะสม
เป็นผรู้ บั ฟงั ท่ีดี ครผู ู้ใหค้ าปรกึ ษา จรงิ ใจ ตั้งใจช่วยเหลอื

ไวต่อความรู้สึกของผูอ้ ื่น มีท่าทที ่เี ปน็ มติ ร
และช่างสงั เกต มองโลกในแงด่ ี

...ครดู า...

ประเภทการใหค้ าปรึกษา

ประเภทการให้คาปรึกษา

1. การใหค้ าปรกึ ษาเปน็ รายบุคคล 2. การใหค้ าปรึกษาแบบกลุ่ม
(Individual Counseling) (Group Counseling)

กระบวนการ 5 ขั้นตอน ขน้ั ท่ี 1 ขน้ั ก่อตัง้ กลุ่ม
ขั้นตอนที่ 1 การสรา้ งสมั พนั ธภาพ
ในขัน้ นีส้ มาชิกท่เี ขา้ กลุ่มยังไมก่ ล้าเปดิ เผยตนเอง
ผู้ใหค้ าปรกึ ษาต้องทาใหผ้ ู้รับคาปรกึ ษาเกิด เพราะยังไมไ่ ว้วางใจในกล่มุ ผูใ้ ห้คาปรึกษาจะตอ้ ง
ความอบอุ่น สบายใจ และไวว้ างใจ ชแี้ จงวัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา และสร้าง
สมั พนั ธภาพท่ีดี
ข้ันตอนที่ 2 สารวจปญั หา
ข้ันที่ 2 ข้ันการเปล่ยี นแปลงลักษณะของ
ผู้ใหค้ าปรกึ ษาช่วยใหผ้ ูร้ ับคาปรกึ ษาได้สารวจ สมาชกิ
ปัญหา และปจั จัยตา่ ง ๆ ทที่ าใหเ้ กดิ ปัญหา
ดว้ ยตัวของเขาเอง สมาชิกเรมิ่ รจู้ ักไว้วางใจกนั แตก่ ็ยงั มคี วามวติ กกงั วล
ผใู้ ห้คาปรกึ ษาจะต้องพยายามชแ้ี จงใหส้ มาชกิ กลา้
ขน้ั ตอนที่ 3 เขา้ ใจปัญหา สาเหตุ ความ อภปิ รายปัญหาตัวเองอย่างเปดิ เผย
ตอ้ งการ ผู้ให้คาปรึกษา
ขน้ั ที่ 3 ข้นั ดาเนนิ การ
ชว่ ยให้ผ้รู บั คาปรกึ ษาเข้าใจปญั หา สาเหตุ
และความตอ้ งการของตนเอง สัมพนั ธภาพระหว่างสมาชกิ ในกลุ่มจะดีขนึ้ อภิปราย
ปัญหาตามความเปน็ จริง ร่วมกันแก้ปัญหาของ
ขน้ั ตอนที่ 4 วางแผน แกป้ ัญหา สมาชิก ทกุ คนไดส้ ารวจตัวเอง เขา้ ใจปญั หาและ
พร้อมจะเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมของตน
ผูใ้ ห้คาปรึกษาชว่ ยให้ผูร้ บั คาปรึกษาพจิ ารณาวิธี
แกป้ ญั หาและตัดสินใจเลอื กสิ่งทีจ่ ะปฏิบตั ดิ ว้ ย ขน้ั ที่ 4 ขั้นยุติการใหค้ าปรึกษา
ตนเอง
เม่อื สมาชกิ เข้าใจปัญหาอยา่ งกระจา่ งแจง้ ร้จู กั แก้
ขน้ั ตอนท่ี 5 ยตุ กิ ารใหค้ าปรกึ ษา และเลือกวิธีท่เี หมาะสมกบั ตน นาไปปฏิบตั ิดว้ ยความ
พอใจ ไม่มขี อ้ ขอ้ งใจตกคา้ ง ก็ใหย้ ุติการให้
ผู้ใหค้ าปรกึ ษายา้ ความเข้าใจทเ่ี กิดขน้ึ ระหวา่ ง ที่ คาปรึกษาแบบกลุ่มได้
ให้คาปรกึ ษา และช่วยให้ผรู้ ับคาปรกึ ษา มี
แรงจงู ใจและกาลังใจ ทีจ่ ะแก้ปญั หาและพฒั นา ...ครูดา...
ตนเอง

เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
และการใช้ข้อมูลเพื่อการแนะแนว

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล หมายถงึ 1.เทคนคิ และอุปกรณท์ ี่ไม่ใชล่ กั ษณะแบบทดสอบ
การท่คี รูหรอื ผู้แนะแนวเกบ็ รวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั (Non-Test Techniques)
ตวั นกั เรียนในทุกๆ ด้าน ได้อยา่ งละเอียดและเป็นระบบ
เพ่อื ครูและผ้แู นะแนวจะไดร้ ้จู ักและเข้าใจนักเรียน 1.1 การสงั เกต (Observation)
เป็นข้อมลู ท่ีจะสะทอ้ นใหน้ ักเรียนได้ร้จู ักและ 1.2 แบบสอบถาม (Questionnaire)
1.3 อัตชีวประวัติ (Autobiography)
เข้าใจตนเองอย่างแท้จรงิ ทาใหเ้ ขาสามารถ 1.4 ระเบียนพฤติการณ์ (Anecdotal Recording)
ดารงชีวติ อย่างมีความสขุ และมปี ระสิทธิภาพ 1.5 ระเบยี นสะสม (Cumulative Record)
1.6 สงั คมมติ ิ (Sociometry)
รายละเอียดทีค่ วรศกึ ษาและเก็บรวบรวม 1.7 บนั ทกึ ประจาวัน (Diary)
1.8 การเยี่ยมบ้าน (Home Visitation)
1. ข้อมลู ส่วนตัวและภมู ิหลงั เก่ียวกบั ครอบครวั 1.9 การสัมภาษณ์ (Interview)
ของนกั เรยี น 1.10 การศึกษารายกรณี (Case Study)
2. ขอ้ มูลเก่ียวกับสุขภาพอนามยั ของเด็กทัง้ 1.11 มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scales)
ทางด้านร่างกายและจิตใจ
3. ข้อมลู เกีย่ วกับประวัตใิ นโรงเรียนหรือ 2.เทคนคิ และเคร่อื งมอื ที่เปน็ แบบทดสอบ
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน (Test Techniques)
4. ขอ้ มูลเก่ียวกบั ความถนดั ความสนใจ เจคติ
และค่านิยมต่างๆ 2.1 แบบทดสอบสติปัญญา (Intelligence Test)
5. ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ประสบการณ์ในการทางาน 2.2 แบบทดสอบความถนัด (Aptitude Test)
และกิจการต่างๆ ภายนอกโรงเรียน 2.3 แบบทดสอบความสนใจ หรือแบบสารวจความ
6. ข้อมูลเก่ยี วกับพฒั นาการทางดา้ นสภาพ สนใจ (Interest Tests or Interest Inventory)
อารมณแ์ ละสงั คม 2.4 แบบทดสอบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น
(Achievement Tests)

...ครูดา...

ระบบการดแู ล
ชว่ ยเหลอื นักเรยี น

ระบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรียน

การดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น คือ ระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรยี น คอื
การส่งเสริม พฒั นา การป้องกนั และแก้ไขปญั หา กระบวนการดาเนนิ งานดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียน

เพือ่ ใหน้ กั เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ อย่างเป็นระบบ มขี นั้ ตอนชดั เจน
มีคุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ พร้อมท้งั มีวิธกี ารและเครอ่ื งมือท่มี ีมาตรฐานคณุ ภาพ

มีภูมิคุ้มกนั ทางจติ ใจทเี่ ข็มแขง็ คณุ ภาพชวี ติ ที่ดี และมหี ลักฐานการทางานท่ตี รวจสอบ
มีทกั ษะการดารงชีวติ และรอดพน้ จากวิกฤตทิ ง้ั ปวง

บคุ ลากรดาเนนิ งาน วตั ถปุ ระสงค์

มคี รูประจาชน้ั /ครทู ปี่ รกึ ษาเป็นบคุ ลากรหลักใน 1. เพ่ือใหก้ ารดาเนนิ งานดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น
การดาเนินงาน เปน็ ไปอยา่ งมรี ะบบมีประสทิ ธิภาพ
โดยการมสี ว่ นรว่ มของบคุ ลากรทกุ ฝ่ายท่ีเกยี่ วขอ้ ง
ทง้ั ภายในและนอกสถานศึกษา ได้แก่ 2. เพอื่ ให้โรงเรยี น กรรมการสถานศึกษา
• คณะกรรมการสถานศกึ ษา ผู้ปกครอง ชุมชน องคก์ รและหนว่ ยงานท่ี
• ผู้ปกครอง เก่ียวข้อง มีการทางานรว่ มกัน
• ชุมชน โดยผ่านกระบวนการทางานที่ชดั เจน
• ผู้บริหาร มีร่องรอยหลกั ฐานการปฏบิ ัติงาน
• ครูทกุ คน สามารถตรวจสอบและประเมนิ ผลได้
มวี ิธกี ารและเครอ่ื งมอื ทช่ี ัดเจน มมี าตรฐาน
คุณภาพ และมหี ลักฐานการทางานทตี่ รวจสอบได้

ประโยชน์และคุณค่าของระบบการดูแลช่วยเหลอื นักเรียน
1. นกั เรยี นได้รับการดแู ลชว่ ยเหลืออย่างทั่วถึง และตรงตามสภาพปัญหา
2. สมั พนั ธภาพระหวา่ งครูกบั นักเรยี นเป็นไปด้วยดี และอบอุ่น
3. นกั เรยี นรู้จกั ตนเอง และควบคมุ ตนเองได้
4. นกั เรียนเรียนรู้อย่างมคี วามสุข และได้รับการสง่ เสรมิ พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพอย่างรอบด้าน

...ครูดา...5. ผเู้ ก่ยี วข้องมสี ่วนรว่ มในการพฒั นาคุณภาพนักเรียนอย่างเข้มแข็งจริงจัง ด้วยความเสยี สละ เอาใจใส่

กระบวนการและ
ข้นั ตอนของระบบการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น

มีองคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ “การรู้จกั นกั เรียนเป็น
1. การรจู้ ักนกั เรียนเป็นรายบคุ คล รายบุคคล”
2. การคดั กรองนกั เรียน
3. การพัฒนาและสง่ เสริมนกั เรยี น คอื รู้จกั พวกเขาใหด้ กี อ่ นน่นั เอง
4. การป้องกนั และแก้ไขปญั หา น่ีคอื ขัน้ ตอนแรกสุดของระบบชว่ ยเหลือ
5. การส่งตอ่ นักเรยี น สพฐ. กาหนดไว้
และแจกเปน็ ค่มู ือปฏิบัตริ าชการของครแู ละ
บคุ ลากรทางการศึกษา

เมอ่ื ร้จู ักแล้วครูก็จะสามารถแบ่งแยกนักเรียนได้ว่าใครเป็นใคร อะไร ยงั ไงตอ่

โดยใหจ้ ัดกลุม่ เปน็ สีก่ ลมุ่ คือ กลมุ่ ปกติ กลุ่มเสีย่ ง กล่มุ มีปัญหา กลุ่มพิเศษ

สมมตวิ า่ เรามีนกั เรียนในห้องอยู่ 24 คน เราเร่ิมรู้จกั พวกเขาละวา่ ยงั ไง ...

ห้องเรียนนัน้ เปน็ เด็กชัน้ ป.6 จานวน 24 คน ที่เราดแู ลอยู่จะใหจ้ ดั อยใู่ นกลุ่มไหนบา้ ง

ได้ดังตอ่ ไป

กลุ่มปกติ ไมม่ ปี ญั หาใดๆ ก็ทวั่ ไป เด็กทั่วไป มีท้งั หมด 12 คน

กลุ่มเสีย่ ง กล่มุ นี้ไมม่ ปี ัญหาแตเ่ ส่ียงนา่ จะมปี ญั หาอะไรสักอยา่ ง เช่น พอ่ แม่เพ่ิงเลิกกนั

ครอบครัวยากจน (มีความเสีย่ งทีจ่ ะเกดิ ปัญหา) มที ัง้ หมด 6 คน

กล่มุ มีปัญญา อันนี้ ชัดเจนละว่ามีปญั หา เชน่ ซึมเศร้า ก้าวรา้ ว หรืออะไรท่ี

บง่ ช้ีชดั เลยว่ามปี ัญหา พบวา่ เดก็ ป.6 สบู บหุ ร่ีแล้ว เป็นต้น มอี ยู่ 4 คน

กล่มุ พิเศษ กล่มุ น้คี อื ลักษณะพเิ ศษ ไมป่ กติ (ไม่วา่ จะเป็นทง้ั ทางบวกหรอื ทางลบ)

เช่น มีคนหนึง่ เก่งกฬี ามากๆ อกี คนเรยี นเกง่ มาก รวมได้ 2 คน ...ครดู า...

กระบวนการและ
ขนั้ ตอนของระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นกั เรียน

มอี งคป์ ระกอบ 5 ประการ คือ การคดั กรองนักเรยี น
1. การรจู้ ักนักเรยี นเปน็ รายบุคคล
2. การคดั กรองนักเรียน *** การคัดกรองนกั เรียน เปน็ การ
3. การพัฒนาและสง่ เสริมนักเรยี น พจิ ารณาข้อมูลที่เกยี่ วกับตวั นกั เรียน เพื่อการ
4. การป้องกนั และแกไ้ ขปญั หา จัดกลมุ่ นกั เรียน 4 กลมุ่ คือ
5. การส่งตอ่
1. กลุ่มปกติ คือ นักเรียนท่ีไดร้ ับการ

วิเคราะหข์ ้อมูลตา่ ง ๆ ตามเกณฑก์ ารคัดกรอง
ของโรงเรยี นแล้ว อยู่ในเกณฑ์ของกลุ่มปกตซิ งึ่ ควร
ได้รบั การสรา้ งเสรมิ ภมู คิ ้มุ กันและการ
สง่ เสริมพฒั นา

2. กลุ่มเสย่ี ง คือ นักเรยี นทจี่ ดั อยใู่ นเกณฑ์ 3. กลุ่มมีปัญหา คือ นักเรยี นทจี่ ัดอยใู่ น

ของกลุ่มเสีย่ งตามเกณฑก์ ารคัดกรอง เกณฑข์ องกลุ่มมปี ญั หาตามเกณฑก์ ารคดั
ของโรงเรียน ซ่ึงโรงเรียนต้องใหก้ ารปอ้ งกนั หรอื กรองของโรงเรียน ซ่งึ โรงเรยี นต้องชว่ ยเหลือและ
แก้ไขปัญหาตามแตก่ รณี แก้ปญั หาโดยเรง่ ดว่ น

4. กลมุ่ พิเศษ คอื นักเรียนทมี่ ีความสามารถพิเศษ มคี วามเป็นอัจฉรยิ ะ แสดงออกซง่ึ ความสามารถอนั โดดเดน่

ด้านใดด้านหนึ่งหรอื หลายดา้ น อย่างเป็นทีป่ ระจกั ษ์เมอ่ื เทียบกบั ผมู้ อี ายุในระดับเดยี วกันภายใต้สภาพแวดลอ้ ม
เดียวกัน ซึง่ โรงเรยี นตอ้ งใหก้ ารสง่ เสริมนกั เรียนได้พัฒนาศักยภาพความสามารถพิเศษน้นั จนถึงขั้นสูงสดุ

...ครูดา...

จุดเนน้ สพฐ.

ปี พ.ศ.2550 – 2552 เป็นปแี หง่ การช่วยเหลอื นกั เรยี น
ปี พ.ศ.2553 – 2554 เป็นปแี ห่งการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรยี นอยา่ งรอบดา้ น
ปี พ.ศ.2555 – 2556 เปน็ ปแี ห่งการช่วยเหลอื นักเรียนใหพ้ น้ ภยั ยาเสพตดิ
ปี พ.ศ.2557 – 2558 เป็นปีแหง่ การช่วยเหลือและคุม้ ครองนกั เรียน
ปี พ.ศ.2559 – 2561 เปน็ ปแี ห่งการรกั และเห็นคณุ ค่าในตนเองและผูอ้ ืน่
ปี พ.ศ.2562 – 2564 เป็นปแี ห่งการร้จู กั รัก เข้าใจ ห่วงใย ไมท่ ้ิงใครไว้ขา้ งหลงั

จากที่เราได้ศึกษาความหมายของคาวา่
“ระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียน”
มากอ่ นนน้ั เป็นชุดข้อมลู ของตวั เก่า
แตน่ ยิ ามของปี 2562 ทาง สพฐ.
กไ็ ดป้ รบั ปรงุ ขอ้ มูลใหม่ ไดแ้ ก่

ระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน หมายถึง กระบวนการดาเนินงานท่ีมี
แบบแผน มขี น้ั ตอนอยา่ งชดั เจนในการส่งเสรมิ สนบั สนุน ดูแลชว่ ยเหลือ
นกั เรียนนประสบความสาเร็จทางการเรียนและใหไ้ ด้รบั การพัฒนาศักยภาพ
อย่างรอบด้าน โดยอาศัยการมสี ่วนรว่ มจากผ้เู กีย่ วข้องทกุ ฝา่ ย

...ครูดา...

แนวข้อสอบ

แนวขอ้ สอบ
จิตวิทยาการศึกษา

1. เม่ือครูแบง่ งานให้นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 ทาในรายวิชาสงั คม นักเรียนบางคนไม่อยากอยูก่ ลุ่ม
เดยี วกันกบั เพอื่ น ครคู วรใชเ้ ครอ่ื งมอื ใดในการหาสาเหตุ เพือ่ ให้นกั เรยี นทางานเปน็ กลุม่ ได้เป็นปกติ

1. ครตู ้อยไปขอข้อมลู ระเบียนสะสมของนกั เรยี นจากครแู นะแนว
2. ครนู อ้ ยให้นกั เรยี นทาสงั คมมติ เิ พอื่ ดคู วามสมั พนั ธใ์ นช้นั เรยี น
3. ครูหนอ่ ยใชแ้ บบสัมภาษณค์ รผู ้สู อนในรายวชิ าอน่ื เพื่อเก็บข้อมูลใหม้ ากที่สดุ
4. ครอู ้อยใชแ้ บบสังเกตพฤตกิ รรมเพอ่ื ท าความเข้าใจกับนกั เรียนท่ไี ม่ชอบแบง่ กลุม่
5. ครูแอว๋ ใช้แบบทดสอบบุคลิกภาพเพอื่ คัดกรองนกั เรียนผ้มู ีบคุ ลิกภาพแบบเกบ็ ตัว

2. เด็กชายณเดช อยู่ไมน่ ่งิ มพี ฤตกิ รรมกอ่ กวนคนในชนั้ เรยี น ตะโกนเสยี งดังใส่เพอ่ื น ครูจะมวี ธิ ีการอย่างไร
ในการเก็บขอ้ มูลเพอ่ื ทาความเขา้ ใจกับเด็กชายณเดช

1. ครูมะลิเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู โดยวธิ ศี กึ ษารายกรณี
2. ครสู ้มโอเชิญผูป้ กครองเพ่อื เข้ามาใหข้ ้อมูลเพ่ิมเตมิ
3. ครูกุหลาบสง่ ต่อนักเรียนท่มี พี ฤติกรรมไปเข้าพบจติ แพทย์
4. ครูมะนาวใชแ้ บบคดั กรองเดก็ ท่ีมสี มาธิสน้ั ในห้องเรียนทงั้ หมด
5. ครูมะพรา้ วจดั โครงการพฒั นาผู้เรียนเพอื่ ให้มีพฤตกิ รรมต้ังใจเรียน

3. ด.ช.ภาคภมู มิ พี ฤติกรรมที่เหน็ แกต่ วั ไมฟ่ งั ใคร เรียกร้องความสนใจตลอด และมีความเชอื่ ม่ันในตนเองสูง
พฤตกิ รรมดังกลา่ วมาจากสาเหตใุ ด

1. ด.ช.ภาคภูมิ มีพฒั นาการทางปัญญาต่า
2. ด.ช.ภาคภูมิ มคี วามฉลาดทางอารมณ์ตา่
3. ด.ช.ภาคภูมิ ขาดกาลงั เสริมด้านบคุ ลิกภาพ
4. ด.ช.ภาคภูมิ ขาดวุฒภิ าวะด้านคุณธรรม จริยธรรม
5. ด.ช.ภาคภมู ิ ขาดการสง่ เสริมระดับความรพู้ ฒั นาการตามวยั

...ครูดา...

แนวขอ้ สอบ
จิตวทิ ยาการศกึ ษา

4. จากการที่ครไู ด้สารวจผู้เรียน พบว่าผเู้ รียนไม่สามารถปรบั ตวั ได้ ขาดความยืดหยนุ่ ท้อแทง้ า่ ยต่อปัญหาและ
อปุ สรรค จากขอ้ มูลดงั กล่าวเกิดจากสาเหตุใด

1. นกั เรยี นมีปัญหาดา้ นอารมณ์
2 .นักเรยี นมปี ญั หาด้านคณุ ธรรม จริยธรรม
3 .นักเรียนมปี ญั หาดา้ นพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา
4 .นกั เรียนมปี ญั หาดา้ นบคุ ลิกภาพและแสดงออก
5 .นกั เรียนมปี ัญหาดา้ นการขาดทักษะ การแกไ้ ขปญั หา

5. ครูยุพนิ สอนวิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ในชน้ั เรียนเป็นเดก็ ทม่ี ผี ล
การเรียนดี และมนี ักเรยี น 3 คนทีม่ ีผลการเรยี นต่าอย่างตอ่ เนอื่ ง ครูยุพินจะมีวิธกี ารอย่างไรในการพฒั นา
ผเู้ รียนทีม่ ีผลการเรียนตา่

1. ใชว้ ิธีเสริมแรงโดยการใหร้ างวัลแกผ่ ู้ท่ไี ดผ้ ลคะแนนดี
2. ดาเนินการจดั โครงการพฒั นาผ้เู รียนทมี่ ีผลการเรียนตา่
3. ดาเนนิ การจดั กลุ่มผู้เรยี นทม่ี ีผลการเรยี นตา่ ไปอยูห่ อ้ งเรียนอ่นื
4. ทาจดหมายเชิญผู้ปกครองมาพบเพือ่ แจ้งผลการเรยี นของกลุ่มผู้เรยี นท่มี ผี ลการเรยี นตา่
5. ควรศกึ ษาขอ้ มลู ของผู้เรยี นและค้นหาศักยภาพความถนดั ของผเู้ รียนแตล่ ะคน แลว้ จึงพัฒนา

6. ขอ้ ใดเป็นการเป็นการจดั การเรยี นการสอนที่ใหค้ วามส าคญั กบั ธรรมชาตขิ องผ้เู รยี นระดบั ประถมศึกษาได้
ชัดเจนท่สี ุด

1. ครปู ระทีปประเมนิ และวินิจฉยั พัฒนาการของเดก็ เปน็ รายบคุ คล
2. ครูสุวทิ ยใ์ หข้ ้อมลู พัฒนาการของผู้เรยี นท่เี ปน็ จรงิ แกท่ มี สหวชิ าชพี
3. ครูน้อยหน่าจดั สภาพแวดล้อมในห้องเรียนทีเ่ อ้อื ตอ่ การเรียนร้ขู องผู้เรยี นตามวยั
4. ครูสรุ างคใ์ ช้โปรแกรมประเมนิ พัฒนาการผ้เู รยี นในระดับประถมศึกษาตามขอ้ แนะนา
ของแพทย์
5. ครูกานตน์ าเสนอการจดั โครงการอบรมให้ความรดู้ า้ นพัฒนาการผู้เรียนแกผ่ ู้ปกครองตลอด

...ครูดา...ภาคเรียน

แนวข้อสอบ
จติ วทิ ยาการศกึ ษา

7. การออกแบบการเรียนรใู้ นข้อใดสอดคลอ้ งกบั แบบการเรยี นรู้ (Learning style) ของผเู้ รียนตามความ
เปน็ จริงมากทส่ี ดุ

1. ครสู มบตั มิ อบหมายงานให้ไปท าโครงงานวทิ ยาศาสตรท์ ส่ี นใจ
2. ครูสมชายรอ้ งและเล่นกตี ารใ์ ห้นกั เรยี นฟังเพื่อการผอ่ นคลาย
3. ครูสมทรงใชก้ ารสอนแบบเพ่ือนชว่ ยเพือ่ นในรายวิชาคณติ ศาสตร์ ในเรอ่ื งการหาร
4. ครูสมหญิงจดั การสอนวิชาประวตั ิศาสตรโ์ ดยวิธีการถามตอบในช้นั -เรียนตลอดทง้ั ชั่วโมง
5. ครูสมศรีจดั การเรียนรโู้ ดยการใหด้ คู ลปิ VDO การพับกล่องกระดาษและให้พบั กล่องตาม

8. กิจกรรมใดตอ่ ไปนี้ ทสี่ ามารถนามาใชพ้ ัฒนาสมองทง้ั ซีกซ้ายและซีกขวาของผเู้ รยี นไดเ้ หมาะสมทส่ี ดุ

1. ครูวรี ะนาเขา้ สูบ่ ทเรยี นวิชาภาษาองั กฤษโดยการวาดรปู
2. ครูนิภาสอนนักเรยี นทอ่ งศัพทภ์ าษาองั กฤษทุกวันหลงั เลกิ เรยี น
3. ครูสมหมายใหน้ ักเรยี นทดสอบเนอ้ื หาวิชาภาษาอังกฤษกอ่ นการเรียนทกุ ครั้ง
4. ครูลิลลส่ี อนการทกั ทายเปน็ ภาษาองั กฤษโดยใชเ้ พลง ผ่านกจิ กรรมการรอ้ งเพลง
5. ครูสพุ จน์ใชก้ ิจกรรมการสอนภาษาอังกฤษดว้ ยวิธีการเลน่ ครอสเวริ ด์ ในคาบเรยี น

9. ข้อใด แสดงถึง การสรา้ งบรรยากาศการเรยี นร้ใู นชน้ั เรยี นทส่ี ง่ เสรมิ จริยธรรมให้กบั นกั เรยี นในระดับช้นั
ประถมศึกษาปีท่ี 1 ได้อย่างเหมาะสม

1. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นทกุ คนสวดมนต์ทุกครัง้ ก่อนเริม่ คาบเรยี นแรก

2. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นทกุ คนได้มสี ่วนรว่ มในการออกกฎระเบียบทใ่ี ชร้ ่วมกนั ภายในหอ้ งเรยี น

3. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เห็น ตอ่ เหตุการณต์ ่าง ๆ วา่ เปน็ สงิ่ ท่ถี กู หรอื ผิด พร้อมทง้ั ให้

เหตุผล

4. เปดิ โอกาสใหน้ กั เรยี นทที่ าพฤตกิ รรมเหมาะสมได้มารบั รางวลั ทหี่ น้าช้นั เรยี น ส่วนนักเรยี น

ท่ีทาพฤติกรรมไมเ่ หมาะสมจะมมี าตรการลงโทษทชี่ ดั เจนเป็นแนวทางเดียวกัน

5. เปดิ โอกาสให้นักเรียนฝกึ ฝนท าแบบฝกึ วิชาการเพือ่ ใหเ้ กดิ ความช านาญในวชิ าชพี ...ครูดา...

เกดิ เปน็ ปมเดน่ ที่พร้อมจะทาความดี

แนวข้อสอบ
จติ วทิ ยาการศึกษา

10. “ครูปู เป็นครูสอนวชิ าภาษาไทยในระดับชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 4 ซ่ึงเป็นชัน้ เรียนทีจ่ ดั การศึกษา
แบบเรยี นรวม โดยมนี ักเรียนทมี่ คี วามตอ้ งการพเิ ศษ คือ เดก็ ที่มีความบกพร่องทางการเรยี นรู้ (Learning
Disability) ดา้ นการเขียน โดยครูมอบหมายใหน้ กั เรียนเขียนคาสะกดคาและนาคาทกี่ าหนดมาแตง่ เป็น
ประโยค พบวา่ นักเรยี นที่มคี วามบกพร่องทางการเรยี นร้มู พี ฤตกิ รรมการเขียนตัวอกั ษรกลับดา้ นคล้ายการ
ส่องกระจก และเขียนผิดแมก้ ระทั่งคาทีเ่ ปน็ เน้อื หาของนักเรยี นในชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1”

จากสถานการณ์ข้างต้น ครูปจู ะมแี นวทางการจดั การเรยี นรทู้ บ่ี ูรณาการนาแบบการเรยี นรู้ของสมอง
ซีกขวามาเพ่ือชว่ ยแกป้ ญั หาของนกั เรียนทม่ี คี วามบกพร่องทางการเรยี นรไู้ ด้อยา่ งไร

1. ให้นกั เรียนฝึกการเขยี นเฉพาะคาทีน่ กั เรยี นเขยี นกลับดา้ น
2. ใหน้ ักเรยี นฝกึ การเขียนภาษาไทยตามคาบอกของครูเปน็ ประจา
3. ให้นกั เรียนฝึกการคิดวเิ คราะห์โจทย์ภาษาไทยเพอ่ื มาประยุกตใ์ ชใ้ นการเขยี น
4. ใหน้ ักเรยี นฝกึ การเขียนค าศพั ท์แบบเน้น ย้า ซา้ ทวน
5. ให้นักเรยี นฝึกการเขียนพยัญชนะภาษาไทยตามเสน้ ประและตวั แบบที่กาหนดให้พรอ้ มท้ังมีการ
มอบหมายให้ฝกึ เขยี นเป็นประจา

11. ขอ้ ใดต่อไปน้ี แสดงถึงการสรา้ งบรรยากาศในการเรยี นรทู้ ี่สอดคลอ้ งกบั สไตล์การเรยี นร้ขู องผเู้ รยี น

1. ครูเอ แบ่งกลุ่มนกั เรยี นเพอ่ื ให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรายในกล่มุ ทุกครง้ั เพื่อใหน้ ักเรยี นทกุ คนมีสว่ นร่วม
ในชนั้ เรยี น
2. ครูบี ออกแบบกจิ กรรมที่หลากหลายทัง้ กิจกรรมทท่ี างานเดีย่ ว ทางานเป็นกล่มุ กิจกรรมในหอ้ งเรยี น
กจิ กรรมนอกห้องเรียน การคน้ ควา้ อิสระ เพ่ือใหน้ ักเรียนนาเสนอในช้นั เรียน
3. ครูซี เชญิ วทิ ยากรมาพูดคยุ กบั นกั เรียน เพ่ือให้นักเรียนได้เรยี นรูถ้ งึ เนื้อหา จากผู้เชยี่ วชาญ
ในเรื่องนน้ั ๆ
4. ครูดี นานักเรียนไปเย่ียมชมพิพธิ ภณั ฑ์สตั ว์นา้ แลว้ กลบั มาถอดบทเรยี น สรปุ บทเรยี นรว่ มกนั
5. ครเู อฟ ให้นกั เรียนแตล่ ะคนไปสืบค้นข้อมลู จากอนิ เทอร์เนต็ เพือ่ นามาเสนอในช้ันเรียน

วนั รุ่งข้ึน ...ครูดา...

แนวขอ้ สอบ
จติ วิทยาการศึกษา

12. “ครใู ห้นักเรียนไปศึกษาพฤตกิ รรม การประทว้ งการเรยี กรอ้ งการแตง่ ชุดนักเรียนของผปู้ ระทว้ ง แลว้ น
ามาอภปิ รายร่วมกันในช้นั เรียน เพอ่ื หาข้อสรุปวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในเร่ืองการแตง่ กาย”

จากกรณดี งั กลา่ วครใู ชว้ ธิ กี ารสอนและแนวคิดทางจิตวิทยาในเรื่องใด
1. ครูใชแ้ นวคิด Discovery Learning
2. ครใู หน้ ักเรียนสรา้ งองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง
3. ครใู หน้ กั เรยี นเลยี นแบบพฤติกรรมประท้วง
4. ครูสร้างแรงจูงใจให้นักเรยี นมกี ารประทว้ งแบบประชาธปิ ไตย
5. ครูฝึกใหน้ กั เรียนยอมรบั ความคิดเห็นของการประทว้ งทีแ่ ตกต่างกนั

13. ครูทา่ นใดมีการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ทเ่ี น้นฝึกกระบวนการคดิ ซ่ึงคานึงถงึ ความแตกต่างของผ้เู รยี น

1. ครกู ฟิ ทใ์ ห้นกั เรียนจับค่บู ัดด้ีในการทางานส่ง
2. ครูไหมแบง่ กลุม่ นักเรียนเพือ่ แข่งขนั การตอบคาถาม
3. ครวู ิชใช้เพลงประกอบการจดั การเรยี นการสอนทกุ ครัง้
4. ครอู ้อยใหน้ ักเรียนนง่ั โต๊ะคนเดียว เพอ่ื ลดการพดู คุยของนักเรยี น
5. ครูปอู อกแบบกจิ กรรมโดยใหน้ ักเรยี นไปดเู มฆชนดิ ต่าง ๆ แล้ววาดรปู เพื่อนามาพูดคยุ ถึงรูปแบบของเมฆ
ในช้นั เรียน

14. ขอ้ ใดเป็นสง่ิ ทีค่ รคู วรปฏิบตั ิเพ่ือใหน้ ักเรียนเกดิ การเรียนรอู้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ...ครดู า...

1. ใหก้ าลงั ใจนักเรียนโดยเน้นความพยายามสคู่ วามสาเร็จ
2. ให้การยอมรบั เม่อื นกั เรียนมคี วามพยายาม
3. กระตุน้ ใหน้ ักเรียนไดแ้ สดงความสามารถอย่างเต็มที่
4. หลีกเลยี่ งการปะทะกับนักเรียนขณะทนี่ ักเรียนกาลงั โกรธ
5. ทาความเข้าใจศกั ยภาพทีน่ ักเรียนมีเพอื่ สง่ เสรมิ ศกั ยภาพนัน้

แนวข้อสอบ
จติ วทิ ยาการศกึ ษา

15. กจิ กรรมในข้อใดท่เี ปน็ การสะท้อนถึงการถ่ายโยงการเรยี นร้ทู างบวกท่ี ไม่เหมาะสม

1. การใหน้ กั เรียนท่องสตู รคณู เพื่อการเรยี น เรื่อง “การหาร”
2. การสอนเรื่องการอยู่รว่ มกนั ของมด ในเน้อื หาการอยู่ร่วมกันในชุมชน
3. การสอนเรื่องประชาธิปไตยแล้วให้นักเรียนเลือกตง้ั ประธานสภานักเรยี น
4. ครูสอนการเลน่ แบดมนิ ตนั แลว้ สอนการเล่นเทนนิส
5. การใหน้ ักศกึ ษาฝกึ สอนเมือ่ เรยี นช้นั ปีสุดท้าย

16. ขอ้ ใดเป็น นวัตกรรมท่ดี ีทส่ี ุด ทางจติ วิทยาทีค่ รูควรนามาใช้ในชัน้ เรยี น

1. การให้นกั เรียนไดเ้ ลน่ เกมเพื่อสง่ เสริมการเรียนรู้
2. ครใู ชเ้ พลงในการสง่ เสรมิ การจา
3. ครสู อนเร่ือง “การบวก ลบ คูณ และหาร” แล้วจัดกจิ กรรม “ตลาดนดั ขายสนิ คา้ ”
4. ครูใหน้ ักเรยี นไดม้ บี ดั ดใ้ี นการเรยี นรู้
5. ครศู ึกษาความสนใจของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คลเพ่ือออกแบบกจิ กรรมการเรียนการสอน

17. คุณครธู รี ัชเขา้ สอนในรายวิชาภาษาไทย นักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 ทุกครงั้ ท่เี ขา้ สอนจะสงั เกตพบว่า
นักเรียนบางกลุม่ ในห้องจะพดู คยุ กันในขณะเรยี น ไม่สนใจเรยี น ขอ้ ใดกลา่ วถูกตอ้ งมากทีส่ ดุ

1. เป็นพฤตกิ รรมปกติตามพฒั นาการของนกั เรยี น
2. เปน็ พฤตกิ รรมของเด็กรนุ่ ใหม่ในปจั จบุ นั นี้ แก้ไขได้ยาก
3. เปน็ พฤตกิ รรมทค่ี รูตอ้ งใหค้ วามสนใจ หาสาเหตุเพือ่ หาแนวทางแกไ้ ขตอ่ ไป
4. เปน็ พฤตกิ รรมทค่ี รตู ้องรีบแจง้ ใหผ้ บู้ ริหารรวมถงึ ผูป้ กครองทราบโดยดว่ น
5. เป็นพฤตกิ รรมท่คี รตู ้องรีบแก้ไข ไมค่ วรปล่อยไว้นาน เพราะอาจเกดิ เปน็ ปัญหารา้ ยแรง

...ครูดา...

แนวขอ้ สอบ
จิตวิทยาการศกึ ษา

18. ปัจจบุ นั นกั เรยี นมพี ฤติกรรมการใช้ social media ซ่งึ มีมากมายหลากหลายประเภท และมักพบเหน็
พฤตกิ รรมการใช้ social media ไปในทางท่ไี มเ่ หมาะสม ครบู างทา่ นในโรงเรียนใช้วิธกี ารวา่ กลา่ วตกั เตอื น
ซึง่ สรา้ งความไม่พอใจใหก้ บั นกั เรยี น ครูบางท่านในโรงเรียนจงึ เลอื กท่จี ะเพิกเฉย ในฐานะท่ที ่านเป็นครู
คนหน่งึ ในโรงเรยี นถ้าต้องใช้วิธกี ารทางจติ วิทยาในการแกไ้ ขปัญหา ทา่ นเหน็ ด้วยกับพฤตกิ รรมของครู
ท่านใด

1. ครูวนั วสิ าจัดกจิ กรรมรณรงค์การใช้ social media ท่เี หมาะสม
2. ครปู ระพจน์ให้นกั เรียนท่ีตนเองรบั ผดิ ชอบคอยสงั เกตพฤตกิ รรมเพ่อื นและรายงานใหค้ รทู ราบ
3. ครูสุภาพต้ังมาตรการและบทลงโทษกับนกั เรียนทใี่ ชพ้ ฤติกรรม social media ทไ่ี ม่เหมาะสม
4. ครวู ุฒิชยั คอยสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นและบันทึกข้อมูลไวอ้ ยา่ งต่อเนอ่ื งเพ่อื หาแนวทางแก้ไข
5. ครูมนตรตี ง้ั คณะกรรมการกจิ การนกั เรียนเพอ่ื ควบคุมและแกไ้ ขปัญหาพฤตกิ รรมการใช้ social media

19. ขอ้ ใดกล่าวถูกต้อง

1. ครู A สรปุ ผลการคดั กรองพฤติกรรมนักเรียน รวบรวมขอ้ มลู และเกบ็ ไวเ้ ปน็ ความลับ
2. ครู B วเิ คราะห์ขอ้ มลู พฤตกิ รรมนกั เรยี น รวบรวมข้อมลู จากนกั เรียนเปน็ รายบคุ คลเพ่ือดแู นวโน้ม
3. ครู C กาหนดวิธีการคดั กรองพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในความรบั ผิดชอบโดยใช้วธิ ีการท่ตี นเอง
กาหนดขึน้ เอง
4. ครู D วิเคราะห์ผลการคัดกรองพฤติกรรมของนกั เรยี น แบง่ นกั เรยี นออกเป็น 3 กลุ่มคอื กลุม่ ป้องกนั
กลุม่ แก้ไข กลุม่ สง่ เสริมและพัฒนา
5. ครู E สรปุ ผลการคัดกรองพฤตกิ รรม รวบรวมข้อมลู รายงานผลใหก้ บั ผ้บู รหิ ารรับทราบเพื่อก าหนดน
โยบายตอ่ ไป

...ครดู า...

แนวขอ้ สอบ
จิตวทิ ยาการศึกษา

20. เดก็ ชายวภิ ู เปน็ เด็กนักเรียนทม่ี ผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นคอ่ นขา้ งต่า มพี ฤติกรรมกอ่ กวนในช้นั เรียน มกั
หนีเรียน และทะเลาะววิ าทกบั นกั เรยี นในโรงเรียน ถ้าท่านเป็นครูประจาช้ันของเด็กชายวภิ ูจะจัดการกับปัญหา
นอี้ ย่างไร

1. ครู A สรุปผลการคัดกรองพฤตกิ รรมนักเรียน รวบรวมขอ้ มูลและเกบ็ ไว้เป็นความลบั
2. ครู B วเิ คราะหข์ ้อมลู พฤตกิ รรมนกั เรยี น รวบรวมขอ้ มลู จากนักเรยี นเป็นรายบคุ คลเพอื่ ดแู นวโนม้
3. ครู C กาหนดวิธกี ารคดั กรองพฤตกิ รรมของนักเรยี นในความรบั ผิดชอบโดยใช้วิธกี ารทต่ี นเองก าหนด
ขึน้ เอง
4. ครู D วิเคราะหผ์ ลการคดั กรองพฤตกิ รรมของนกั เรียน แบ่งนักเรียนออกเปน็ 3 กลุม่ คอื กลมุ่ ป้องกนั
กลุม่ แกไ้ ข กลุม่ สง่ เสรมิ และพัฒนา
5. ครู F สรปุ ผลการคดั กรองพฤตกิ รรม รวบรวมขอ้ มลู รายงานผลใหก้ ับผบู้ รหิ ารรับทราบเพ่อื กาหนด
นโยบายตอ่ ไป

21. นักเรยี นคนใดควรได้รับการชว่ ยเหลอื อย่างเรง่ ดว่ นมากท่สี ดุ

1. นางสาว A นักเรียนชน้ั ม.6 ผลการเรียนไมด่ ี ไม่มเี ป้าหมายในชีวติ
2. เด็กหญิง B นักเรยี นชนั้ ม.1 มาโรงเรียนสายและหลบั ในหอ้ งเรียนเป็นประจา
3. เด็กหญงิ C นักเรยี นชั้น ม.2 มปี ญั หาคบเพ่อื นตา่ งเพศ และขาดเรียนบอ่ ยครงั้
4. นางสาว D นกั เรียนช้ัน ม.3 มีปัญหาพฤติกรรมก้าวร้าวและทะเลาะววิ าทกบั ผู้อ่ืน
5. นางสาว F นักเรียนชั้น ม.5 มีปัญหาเหมอ่ ลอย มักบน่ กับคนใกลช้ ิดวา่ ไมอ่ ยากมีชวี ิตอยู่

22. ขอ้ ใดคือความผิดพลาดทเี่ กิดจากการศกึ ษาผู้เรยี นเปน็ รายกรณี

1. ไมส่ ามารถช่วยเหลอื นักเรยี นได้ ...ครดู า...
2. ครมู ักตัดสนิ นักเรียนผดิ พลาด
3. มักได้ขอ้ มูลที่ไมม่ ปี ระโยชน์
4. แกไ้ ขปญั หาให้นกั เรยี นไม่ได้
5. นกั เรียนมีมากเกินไป ดูแลไมท่ ่ัวถงึ

แนวข้อสอบ
จิตวิทยาการศึกษา

23. คุณครสู ธุ ีราเปน็ ครูประจาช้ันนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 มกั พบพฤตกิ รรมการคบเพอ่ื นตา่ งเพศของ
นกั เรียนในหอ้ ง มีทงั้ ปัญหาระดับเล็กน้อยไปจนถึงปัญหาระดับทีม่ ีความนา่ กังวล ถ้าทา่ นเป็นครูสธุ รี าจะมี
แก้ไขปัญหาน้ีอยา่ งไร

1. สงั เกตพฤติกรรมอย่หู า่ งๆ พรอ้ มเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลพฤติกรรมนกั เรียนเปน็ รายบุคคล
2. จดั กิจกรรมค่ายทกั ษะชีวิต พรอ้ มเก็บรวมรวมขอ้ มูลและจัดกลุม่ ความเสยี่ งพฤตกิ รรมของนกั เรยี น
3. ว่ากล่าวตักเตอื นนักเรยี นเปน็ ภาพรวม เพื่อเป็นการปอ้ งปรามไม่ให้เกดิ พฤตกิ รรมทีไ่ ม่เหมาะสม
4. จดั โครงการเพอ่ื นดูแลเพ่อื นเพ่ือชว่ ยป้องกันปญั หาและให้นักเรยี นในหอ้ งไดม้ สี ่วนรว่ มในการดูแลซ่งึ
กนั และกัน
5. จดั กิจกรรมให้ความรู้ บอกแหลง่ การคน้ คว้าหาความรูเ้ รอ่ื งการปอ้ งกนั ปญั หาเพศสัมพันธ์ การคบเพอ่ื น
ตา่ งเพศให้กับนักเรยี น

24. ในคาบแรกทีค่ รเู พญ็ ศรีเข้าสอนวชิ าคณิตศาสตร์นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เมื่อเวลาผ่านไป 40
นาที เดก็ ชายวฒุ ิกต็ ะโกนขึ้นมาวา่ “เมอ่ื ไหร่ครจู ะปล่อยสักที หิวขา้ วจะตายอยแู่ ล้ว” ครเู พ็ญศรจี งึ เดนิ เขา้
ไปหาเด็กชายวฒุ ิ แลว้ สอบถามว่า “เพราะอะไรจงึ ทาแบบนี้ ทีหลงั อย่าทาอีกนะคะ” แลว้ เดินกลบั ไปสอน
ตอ่ จนหมดคาบเรียน เมอ่ื ปล่อยนักเรียนทงั้ ช้นั เรยี นแลว้ ครเู พญ็ ศรีเรียกใหว้ ุฒิไปพบเปน็ การส่วนตวั
ตักเตือนพรอ้ มลงโทษด้วยการตัดคะแนนความประพฤติ จากการกระทาของครเู พญ็ ศรที า่ นคิดวา่ เหมาะสม
หรือไม่ เพราะเหตุใด

1. เหมาะสม เพราะ ช่วยใหว้ ุฒิหยดุ พฤติกรรมท่ไี ม่เหมาะสมในทันทที ันใด

2. เหมาะสม เพราะการเรยี กไปพบและตดั คะแนนทาใหว้ ฒุ ไิ มก่ ล้าทาพฤติกรรมเชน่ นอี้ กี

3. เหมาะสม เพราะ ครูเพ็ญศรีตอ้ งรักษาความสงบเรยี บรอ้ ยของห้องเรียน และต้องให้การเรียนการสอนมี

ประสิทธิภาพทสี่ ุด

4. ไมเ่ หมาะสม เพราะ ก่อนทจ่ี ะลงโทษควรค้นหาสาเหตขุ องพฤตกิ รรมทไ่ี ม่เหมาะสม รวมถึง

วางแผนแก้ไขพฤติกรรมของนกั เรียน

5. ไม่เหมาะสม เพราะครเู พ็ญศรคี วรท าโทษวฒุ ใิ นห้องเรียนหลังจากเกดิ พฤติกรรมที่ไม่

เหมาะสม เพ่ือเป็นตัวอย่างใหก้ บั นักเรยี นคนอื่น ๆ ในหอ้ ง ...ครดู า...

แนวขอ้ สอบ
จิตวทิ ยาการศึกษา

25. ด.ญ.กาญจนา มีพฤติกรรมตั้งใจเรยี นมาโดยตลอด แต่ 1 เดือนที่ผา่ นมาครสู มศรสี ังเกตเหน็ ว่า
ด.ญ.กาญจนามักจะหลบั ในชนั้ เรยี นเป็นประจา ครูควรจะเก็บรวบรวมข้อมลู นักเรยี นด้วยวธิ กี ารใด เพ่อื ให้ได้
ขอ้ มลู ทท่ี าความเขา้ ใจด.ญ.กาญจนา

1. ครูสมรใช้แบบทดสอบบุคลิกภาพเพ่อื ให้ไดข้ ้อมลู และนาสง่ ต่อผูเ้ ชย่ี วชาญ
2. ครูสมคดิ นาแบบทดสอบ IQ ไปวัดผู้เรยี นและสมั ภาษณ์ครปู ระจาช้ันเพม่ิ เตมิ
3. ครปู รชี าใช้วิธกี ารสมั ภาษณผ์ ทู้ ี่เก่ียวขอ้ งกบั ด.ญ.กาญจนา แลว้ ไปเยี่ยมบา้ น
4. ครสู มศักดิ์ใช้แบบบนั ทึกพฤตกิ รรมรว่ มกบั การสมั ภาษณด์ .ญ.กาญจนา เพ่ิมเติม
5. ครูป่านเสนอโครงการใหผ้ บู้ ริหารให้ไดจ้ ัดโครงการพัฒนาผ้เู รยี นตลอดภาคเรยี นนาให้มากทสี่ ดุ

...ครดู า...


Click to View FlipBook Version