The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง Direct and Indirect Speech ม 401 ปี 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rungruden7000, 2022-03-23 04:23:10

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง Direct and Indirect Speech ม 401 ปี 2564

วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง Direct and Indirect Speech ม 401 ปี 2564

Keywords: วิจัยในชั้นเรียน เรื่อง Direct and Indirect Speech ม 401 ปี 2564

งานวจิ ัยในชัน้ เรียน

เรอื่ ง การพฒั นาชุดกจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ เร่อื ง Direct and

Indirect Speech ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 4
โรงเรยี นธดิ าแมพ่ ระ จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ปีการศึกษา 2564

ผวู้ ิจยั

นางร่งุ ฤดี อาจคงหาญ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาตา่ งประเทศ

ปีการศกึ ษา 2564

โรงเรียนธดิ าแม่พระ อำเภอเมือง
จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี 84000

1

บทคดั ย่อ

หัวข้อวิจยั การพัฒนาชดุ กจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ เร่อื ง Direct and Indirect Speech ของนักเรียนช้นั
มธั ยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรยี นธิดาแมพ่ ระ จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี ปกี ารศกึ ษา 2564

ชอื่ ผู้วจิ ัย นางรุ่งฤดี อาจคงหาญ
การวิจยั ในครัง้ นเี้ ปน็ การวิจดั ที่มวี ัตถปุ ระสงคก์ ารวิจัยเพ่ือ 1) พัฒนาชดุ กจิ กรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ

ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 โดยการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง 2) ศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ 3)
ศกึ ษาพฤติกรรมการเรยี นรู้แบบกำกบั ตนเอง 4) ศึกษาความพึงพอใจตอ่ การเรยี นรู้ชุดกจิ กรรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษและ
การเรยี นรู้แบบกำกับตนเอง กลุ่มตวั อย่างคอื นกั เรยี นโครงการหอ้ งเรยี นพิเศษ MSEP ม.4/1 โรงเรยี นธดิ าแมพ่ ระ จงั หวดั
สุราษฎร์ธานี ปีการศกึ ษา 2564 มีนกั เรียนจำนวน 37 คน โดยใชวิธีการเลือกแบบเจาะจง เคอ่ งมอื ในการวิจยั ได้แก่ 1)
ชดุ กิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ 2) แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 3) แบบประเมนิ
การเรียนรู้โดยแบบกำกบั ตนเอง สถิติท่ีใช้ในการวจิ ยั ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ, ค่าเฉลีย่ , ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน และ
dependent -test

ผลการวิจยั พบว่า 1) นกั เรยี นมีคะแนนหลงั เรยี นสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ 0.5 (t=7.50,
sig =0.000)2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ นักเรียนผ่านเกณฑ์ มีคะแนนไมต่ ำ่ กว่าร้อยละ 53.33 )
นกั เรียนมีพฤตกิ รรมการเรียนรู้แบบกำกับตนเองอยู่ในระดับดีมาก จำนวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 70 และระดับดจี ำนวน
10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4) นกั เรียนมีความพงึ พอใจภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x=4.09,SD.=0.27)
คำสำคญั : ชดุ กจิ กรรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ, การเรยี นรู้แบบกำกบั ตนเอง, โครงการห้องเรยี นพิเศษภาษาอังกฤษ

2

กติ ติกรรมประกาศ

การวิจัยในครั้งน้ี สำเรจ็ ไดด้ ้วยดีเน่ืองจากการสนับสนุนการทำวจิ ัยจากโรงเรียนธิดาแม่พระ จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี
ซึ่งทำใหผ้ วู้ ิจยั สามารถดำเนินงานวิจัยจนสำเร็จ เพอ่ื แสดงให้เหน็ ถงึ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน วชิ าภาษาอังกฤษ (พืน้ ฐาน) อ
31102 และเจตคติตอ่ การเรยี นแบบรว่ มมอื

ขอขอบพระคุณซิสเตอร์สายสุดา กิจประยูร ผู้อำนวยการโรงเรียนธิดาแม่พระ และคุณครูกลุ่มสาระ
ภาษาต่างประเทศทุกท่าน ที่กรุณาให้ความอนุเคราะห์ ให้คำแนะนำ ให้คำชี้แนะและอำนวยความสะดวกในการ
ศึกษาวิจัยในครงั้ นเ้ี ปน็ อย่างดี

สุดท้ายขอขอบคุณนักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/1 ท่ีเรียนวิชาภาษาอังกฤษ (พ้ืนฐาน) อ 31102 ภาคเรียนท่ี 2
ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนธิดาแม่พระ จังหวัดสุราษฎร์ธานีทุกคนที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีในการวิจัย
จนกระท่งั การศกึ ษาวิจยั ในคร้ังนี้สำเร็จไปได้ดว้ ยดี

นางรุ่งฤดี อาจคงหาญ,
ผู้วิจยั

กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ
โรงเรยี นธิดาแม่พระ

3

สารบญั หน้า

เรื่อง 5
5
บทท่ี 1 บทนำ 6
- ที่มาและความสำคญั ของปัญหา 6
- วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั 6
- คำถามวจิ ัย 6
- ขอบเขตการวจิ ยั 7 - 20
- ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะไดร้ ับ
- นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 21
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยที่เกีย่ วขอ้ ง 21
บทท่ี 3 วิธีการดำเนินการวิจัย 21
- ประชากร/ กลุ ่มตัวอย่าง 21
- เครื่องมือวิจัย/ การสรา้ งเคร่อื งมอื วิจัย 23-25
- ขน้ั ตอนการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
- ข้ันตอนการวิเคราะหข์ ้อมูล 26
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู 27
บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 27
29
1. สรปุ ผลการวจิ ัย 30
2. อภปิ รายผล 34
3. ข้อเสนอแนะ 37
เอกสารและสงิ่ อา้ งอิง
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก ค

4

บทท่ี 1
บทนำ

1.1 ท่ีมาและความสำคัญของปัญหา
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการติดต่อสื่อสารระหว่างคนทั่วโลกทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง

การศึกษา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการดำเนินชีวิตทั่วไปในปัจจุบัน ในส่วนของประเทศไทยนั้นให้
ความสำคัญต่อการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศและไดก้ ำหนดให้นกั เรยี นไทยต้องเรียนวิชา
ภาษาอังกฤษเป็นวิชาบังคับตั้งแต่ระดับช้ันประถมศึกษาจนถึงระดับอุดมศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544) ดังน้ัน
โรงเรยี นธิดาแม่พระจงึ จัดให้มกี ารจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในทกุ ระดับช้ัน เพื่อใหน้ ักเรียนจะได้นำความร้ทู ่ี
ได้รบั มาประยกุ ตใ์ ชก้ บั ตนเองและสังคม

เนื่องจากประเทศไทยจำเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการติดต่อส่ือสารกับ
ประชาชนในประเทศสมาชิกอาเซียน จึงต้องมีเจตคติท่ีดีต่อภาษาอังกฤษ ผู้วิจัยจึงต้องการท่ีจะทำวิจัยเพ่ือศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนการสอนแบบกำกับตนเอง ซ่ึงมีเน้ือหารายวิชาเร่ือง
Direct and Indirect Speech โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจความรู้ในการใช้ประโยคภาษาอังกฤษและ
สามารถนำไปใชไ้ ด้อย่างถูกตอ้ ง ในรายวิชา ภาษาองั กฤษ (พ้นื ฐาน) อ.31102 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

ความสำคัญในการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ คือ ไวยากรณ์ถือเป็นส่วนประกอบพื้นฐาน ซ่ึงประกอบด้วย
กฎเกณฑ์ที่เป็นการสร้างคำและโครงสร้างของประโยค นอกจากน้ีไวยากรณ์ยังประกอบดว้ ยรปู แบบ ซึ่งนำไปใช้เพ่ือการ
กำหนดหนา้ ที่ชนิดของคำในบริบทตา่ ง ๆ รวมทัง้ ยงั เป็นสว่ นสำคัญของแต่ละภาษาท่ีจำเป็นต้องมีโครงสร้างทางไวยากรณ์
เพือ่ จะไดใ้ ชภ้ าษาในการสือ่ สารได้อย่างถกู ตอ้ ง อีกทั้งความรูท้ างด้านไวยากรณ์ยงั เป็นพนื้ ฐานในการเรียนในรายวิชาอืน่ ใน
แต่ละหลกั สตู รตอ่ ไป (Mcleirsh, 2009)

การเรียนการสอนภาษาอังกฤษมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เรียนมีความสามารถใช้ภาษาที่เรียนมาในการพูด
ติดต่อสื่อสารกับชาวต่างชาติ และเข้าใจรูปแบบการสื่อสารโดยอาศัยหลักไวยากรณ์ได้ถูกต้อง Dickins และ Woods
(1988) ได้กล่าวถึงความสำคัญของไวยากรณ์ไว้ว่า ถ้าขาดความรู้ด้านระบบไวยากรณ์ภาษาอังกฤษแล้ว ผู้เรียนท่ีเรียน
ภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาท่สี องจะไมเ่ กิดความเขา้ ใจและไม่สามารถส่อื สารในระดบั สงู ได้ จงึ กล่าวไดว้ า่ ไวยากรณเ์ ปน็ ตัวบง่ ช้ี
ถึงส่วนประกอบท่ีสำคญั ที่สุดในการตีความการสือ่ สาร และยังเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้การส่ือสารประสบผลสำเร็จ ทักษะ
ดา้ นการเขียนจะเป็นแรงเสรมิ ทำให้การเรียนไวยากรณ์มคี วามหมายตอ่ นกั เรียนมากขึ้น นักเรียนจะมีโอกาสนำโครงสรา้ ง
ต่าง ๆ ทต่ี นไดเ้ รียนมาเรียบเรยี งเป็นประโยคของตนเอง

จากปญั หาความบกพร่องทางโครงสร้างไวยากรณ์ของนกั เรยี น ซง่ึ อาจจะเปน็ ผลมาจากรูปแบบการเรียนการสอน
ภาษาอังกฤษในระดับเร่มิ ต้น นักวจิ ัยจึงมีความสนใจในการนำการเรยี นการสอนแบบร่วมมือมาใชใ้ นการพัฒนาการเรียน
ไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ รวมถงึ ศึกษาเจตคตขิ องนักศึกษาทม่ี ตี ่อการเรยี นรปู แบบดังกลา่ ว

1.2 วัตถุประสงคข์ องการวิจัย

5

1. เพอื่ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นวชิ าภาษาอังกฤษ (พน้ื ฐาน) อ 31101 เรอ่ื งความเขา้ ใจโครงสร้างและการ
ใช้ Direct and Indirect Speech โดยใช้แบบฝึกหดั สำหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนธิดาแม่พระ จังหวดั
สรุ าษฎรธ์ านี ปกี ารศกึ ษา 2564

2. เพอ่ื เปรียบเทยี บเจตคตกิ อ่ นและหลังการเรียนโดยใชแ้ บบฝึกหดั สำหรับนักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4
โรงเรียนธดิ าแมพ่ ระ จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ปกี ารศึกษา 2564

1.3 คำถามวิจยั
1. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนภาษาอังกฤษเร่ือง Direct and Indirect Speech ก่อนและหลังการใช้วิธีการเรยี น

แบบกำกบั ตนเอง วชิ าภาษาอังกฤษ (พนื้ ฐาน) อ 31102 ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรยี นธดิ าแม่พระ
จังหวดั สุราษฎรธ์ านี

2. เจตคติกอ่ นและหลงั เรียนแบบกำกบั ตนเอง วิชาภาษาองั กฤษ (พ้ืนฐาน) อ 31102 ของนกั เรียนช้นั
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนธิดาแม่พระ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี

1.4 ขอบเขตการวจิ ยั
1. การวิจยั ครั้งน้ีเป็นการศึกษาผลสัมฤทธิ์และเจตคตทิ ่ีมตี ่อการเรยี นแบบแบบกำกับตนเอง วชิ าภาษาอังกฤษ

(พ้นื ฐาน) อ 31102 ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1 โรงเรียนธดิ าแมพ่ ระ จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี
2. การวัดผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของการวจิ ยั ในคร้งั นี้วัดจากผลคะแนนของนักศกึ ษาจากการสอบกอ่ นเรียน

(Pre-test) และหลงั เรียน (Post-test) เรื่องชนดิ ของประโยค
3. การสำรวจเจตคติต่อภาษาอังกฤษของนักเรยี นนั้น ผู้วจิ ยั ได้ออกแบบแบบสอบถาม ซ่งึ ขอ้ คำถามประกอบไป

ด้วยขอ้ คำถามเก่ียวกับเจตคติทมี่ ีต่อการใช้วธิ ีการเรียนแบบแบบกำกบั ตนเอง วิชาภาษาอังกฤษ (พ้ืนฐาน) อ 31102 ของ
นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4/1 โรงเรียนธดิ าแม่พระ จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

1.5 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ
ผลการวิจัยครั้งน้ีแสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษ (พื้นฐาน) อ.31102 เร่ือง Direct

and Indirect Speech ก่อนและหลังเรียนแบบกำกับตนเอง และความเข้าใจเจตคติของนักเรียนท่ีมีต่อการเรียนรูแ้ บบ
ร่วมมือดังกล่าว นอกจากนี้ผู้สอนรายวิชาดังกล่าวสามารถใช้ผลวิจัยน้ีเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนารูปแบบ
วธิ ีการสอนภาษาอังกฤษให้เหมาะกับกลุ่มนักเรียน โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงคุณครผู ู้สอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียนธิดาแม่
พระ จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี จะสามารถนำผลการวิจัยไปเพื่อพัฒนาหลกั สตู รการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษใหเ้ หมาะกับพื้น
ฐานความรู้ ศกั ยภาพ และความสามารถ รวมทั้งความสนใจของนักศึกษาท่ีมาจากหลากหลายสาขาวชิ าให้ไดร้ บั ประโยชน์
จากการเรียนภาษาองั กฤษ

1.6 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนการสอบของนักเรียน ซง่ึ ได้จากการสอบก่อนเรียน (Pre-test) และ

หลังเรียน (Post-test) เร่ือง Direct and Indirect Speech ในรายวิชาภาษาอังกฤษ (พ้ืนฐาน) อ 31102) วัดจากแบบ
วดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นทผี่ ู้วิจยั สรา้ งขึ้น

6

เจตคติต่อภาษาอังกฤษ หมายถงึ ความคิดเห็น ความรู้สึก ท่าทที ่ีมีตอ่ การเรียนแบบรว่ มมือ วัดจากแบบวัดเจต
คติต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือทีผ่ ้วู ิจัยสรา้ งขึน้

ชุดกิจกรรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ หมายถึง ชุดกิจกรรมท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึนโดยใช้หลักไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
เร่ือง Direct and Indirect speech (statement, question, command) เป็นหลักในการออกแบบชุดกิจกรรม ซึ่ง
ประกอบไปด้วยใบความรู้ แบบฝึกหัด แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ท่ีใช้เป็นคะแนนวัดความสามารถในการใช้
ไวยากรณภ์ าษาองั กฤษของนักเรยี น

กำกับตนเอง (Self-regulation) หมายถึง กระบวนการท่ีผู้วิจัยได้สังเคราะห์มาเพ่ือให้นักเรียนได้เกิดการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีกระบวนการคือ 1) การต้ังเป้าหมาย 2) การควบคุมกระบวนการเรียนรู้ การติดตาม
ความก้าวหน้า 3) การประเมนิ ผลการเรียนรู้

นักเรียน โครงการห้ องเรียนพิเศษ MSEP หมายถึง MSEP ย่อมาจาก Mathematics and Science
Enrichment Program หรือห้องเรียนที่ส่งเสริมวิชาคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ โดยเน้นให้นักเรียนค้นหาตัวตนอย่าง
เป็นระบบ

7

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้อง

การพัฒนาชุดกิจกรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ เรอื่ ง Direct and Indirect Speech ของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษา
ปีที่ 4 โรงเรยี นธิดาแมพ่ ระ จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ปกี ารศึกษา 2564 ผ้วู จิ ยั ได้ศึกษา แนวคดิ ทฤษฎี และงานวิจยั ที่
เกยี่ วขอ้ งครอบคลมุ ประเดน็ หลักดงั ต่อไปน้ี

2.1 หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551
2.2 หลกั การเรยี นไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
2.3 ชุดกิจกรรม
2.4 แนวคิด ทฤษฎเี ก่ียวกับการกำกบั ตนเอง
2.5 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น
2.6 ความพึงพอใจ
2.7 งานวจิ ยั ท่เี กยี่ วขอ้ ง
2.1 หลักสตู รแกนกลางสถานศึกษาข้นึ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551
สาระท่ี ๑ ภาษาเพ่อื การส่ือสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เข้าใจและตีความเร่อื งท่ีฟังและอ่านจากสือ่ ประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเหน็ อย่างมเี หตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทกั ษะการส่ือสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมลู ขา่ วสาร แสดงความรู้สึก และความคดิ เหน็ อยา่ ง

มีประสิทธภิ าพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นำเสนอข้อมลู ขา่ วสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรือ่ งต่าง ๆ โดยการพดู และการเขยี น
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหว่างภาษากับวฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา และนำไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับ

กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เข้าใจความเหมอื นและความแตกต่างระหวา่ งภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา

กับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนำมาใชอ้ ยา่ งถูกต้องและเหมาะสม
สาระท่ี ๓ ภาษากบั ความสัมพนั ธก์ ับกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อ่ืน
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความร้กู บั กลุ่มสาระการเรยี นร้อู น่ื และเป็นพื้นฐานในการ

พฒั นา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทศั น์ของตน
สาระท่ี ๔ ภาษากับความสัมพันธก์ บั ชมุ ชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใช้ภาษาตา่ งประเทศในสถานการณต์ า่ ง ๆ ทัง้ ในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภ้ าษาต่างประเทศเปน็ เครอ่ื งมือพื้นฐานในการศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และการแลกเปลย่ี น

เรียนรู้กบั สังคมโลก
คณุ ภาพผ้เู รยี นจบชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๖

1. ปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำในคมู่ ือการใช้งานต่าง ๆ คำชแี้ จง คำอธบิ าย และคำบรรยายท่ีฟังและอา่ น อ่านออกเสียง
ขอ้ ความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทรอ้ ยกรอง และบทละครส้นั ถกู ตอ้ งตามหลักการอ่าน อธบิ ายและเขียนประโยคและข้อ
ความสมั พนั ธ์กับสือ่ ท่ไี มใ่ ช่ความเรียงรูปแบบตา่ ง ๆ ที่อา่ น รวมทัง้ ระบุและเขียนสื่อทไี่ ม่ใช่ความเรียงรูปแบบตา่ ง ๆ สมั พนั ธก์ ับ

8

ประโยคและข้อความท่ีฟงั หรืออา่ น จับใจความสำคัญ วเิ คราะห์ความ สรุปความ ตคี วาม และแสดงความคิดเห็นจากการฟงั และ
อ่านเร่อื งท่ีเปน็ สารคดีและบันเทงิ คดี พร้อมทง้ั ใหเ้ หตผุ ลและยกตวั อยา่ งประกอบ

2. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเก่ียวกับตนเองและเร่ืองตา่ ง ๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/เหตุการณ์
ประเด็นที่อยูใ่ นความสนใจและสอ่ื สารอยา่ งต่อเน่อื งและเหมาะสม เลือกและใช้คำขอร้อง คำช้ีแจง คำอธิบาย และให้คำแนะนำ
พดู และเขียนแสดงความต้องการ เสนอและใหค้ วามช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จำลอง
หรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม พูดและเขียนเพ่ือขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธบิ าย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกบั เร่ือง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอา่ นอย่างเหมาะสม พูดและเขยี นบรรยายความรู้สกึ และแสดงความคิดเห็นของ
ตนเองเก่ียวกับเรอ่ื งตา่ ง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตกุ ารณ์อย่างมีเหตุผล

3. พูดและเขียนนำเสนอข้อมลู เก่ียวกับตนเอง/ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่าง ๆ ตามความสนใจ
พูดและเขยี นสรุปใจความสำคัญ แกน่ สาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรอื่ ง กิจกรรม ข่าว เหตกุ ารณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ
พดู และเขยี นแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ท้ังในท้องถ่ิน สังคม และโลก พร้อมท้ังให้เหตผุ ล
และยกตวั อย่างประกอบ

4. เลือกใช้ภาษา น้ำเสยี ง และกริ ิยาท่าทางเหมาะกับระดับของบคุ คล เวลา โอกาสและสถานท่ีตามมารยาทสงั คมและ
วฒั นธรรมของเจ้าของภาษา อธบิ าย/อภิปรายวถิ ีชวี ิต ความคิด ความเชอ่ื และทม่ี าของขนบธรรมเนยี มและประเพณีของเจ้าของ
ภาษา เข้ารว่ ม แนะนำ และจดั กิจกรรมทางภาษาและวฒั นธรรมอยา่ งเหมาะสม

5. อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สำนวน คำพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย วิเคราะห์/อภิปรายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเช่ือ และวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษากับของไทย และนำไปใชอ้ ยา่ งมีเหตผุ ล

6. ค้นควา้ /สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับข้อมูลทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกับกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ืน่ จากแหล่ง
เรยี นรู้ตา่ ง ๆ และนำเสนอดว้ ยการพดู และการเขียน

7. ใชภ้ าษาส่ือสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองท่เี กิดขึ้นในหอ้ งเรยี น สถานศกึ ษา ชมุ ชน และสังคม
8. ใช้ภาษาตา่ งประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จากส่ือและแหล่งการ
เรียนรู้ต่าง ๆ ในการศกึ ษาตอ่ และประกอบอาชพี เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรียน ชุมชน และทอ้ งถิ่น/
ประเทศชาติ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ
9. มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) ส่ือสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
โรงเรยี น สิ่งแวดลอ้ ม อาหาร เครอ่ื งดืม่ ความสมั พันธร์ ะหว่างบุคคล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวสั ดกิ าร การซ้อื -ขาย
ลมฟ้าอากาศ การศกึ ษาและอาชีพ การเดนิ ทางท่องเทยี่ ว การบรกิ าร สถานท่ี ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวง
คำศัพทป์ ระมาณ ๓,๖๐๐-๓,๗๕๐ คำ (คำศัพทท์ ่ีมีระดับการใชแ้ ตกตา่ งกัน)
10. ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อนสื่อความหมายตามบริบทต่าง ๆ ในการสนทนา ทั้งท่ีเป็น
ทางการและไมเ่ ป็นทางการ

9

รายวชิ าพน้ื ฐาน 2 อ 31102 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1 หน่วยกิต

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ศึกษาทักษะการอ่าน - เขียนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร อ่านเขียนบทอ่านได้ถูกต้องตามหลักการอ่าน-เขียน

โดยใช้คำศพั ท์สำนวน โครงสร้างทางภาษาท่มี ีความซบั ซ้อนมากย่ิงข้ึน ตลอดจนฝึกทักษะการอา่ น - เขียนขอ้ มูล ขา่ วสาร

บทความ สารคดี บันเทิงคดี ส่อื ท่เี ป็นความเรยี งและไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ จากสื่อสิ่งพิมพ์และส่ืออิเลคทรอนิคส์

ในหัวข้อต่าง ๆเกี่ยวกบั ตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ส่ิงแวดล้อมอาหาร เคร่ืองด่มื ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เวลาว่าง

และสวัสดิการ การศึกษา อาชีพ การซ้ือขาย การเดินทางท่องเที่ยว วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ภาษาในการอ่าน -

เขียนตามมารยาททางสังคม สร้างความสัมพันธ์ระหวา่ งบุคคล แสดงความคดิ เห็น ความต้องการ แลกเปล่ียนความรู้ ให้

เหตุผลเก่ียวกบั เร่ืองตา่ ง ๆ เหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน อนาคต โดยใช้ประโยชนจ์ ากส่ือเทคโนโลยี ส่ือการเรยี นทางภาษา

แสดงบทบาทสมติเกีย่ วกบั เรื่องราว และสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมะสม แสวงหาวิธีการเรียนที่เหมาะสมกับตนเอง

สามารถนำเสนอขอ้ มลู ความคิดรวบยอด ความคิดเห็นเกี่ยวกบั ประสบการณ์และเหตุการณ์ตา่ ง ๆ ในท้องถ่ินด้วยวิธีการ

อ่าน - เขียนอย่างสร้างสรรค์ เข้าร่วมกิจกรรมเปรียบเทียบ และนำความรู้ด้านการอ่าน - เขียน ทางภาษา วัฒนธรรม

ประเพณี ความเช่อื ไปใช้อยา่ งมีวิจารณญาณเห็นประโยชนข์ องการอ่าน - เขียน ภาษาองั กฤษในการแสวงหาความรู้เพ่ือ

เป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ โดยการเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อ่ืนรู้จักการทำงานด้วยความ

ซื่อสตั ย์ สุจรติ มวี นิ ยั มคี วามมุ่งมนั่ ในการปฏิบตั งิ านร่วมกับผอู้ ่นื และมจี ติ สาธารณะตอ่ ทอ้ งถนิ่ สถานศึกษา ชุมชน

โดยใชท้ ักษะกระบวนการเรียนทางภาษา กระบวนการสรา้ งความคดิ วิเคราะห์และสงั เคราะห์กระบวนการปฏิบัติ

กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความรู้ และกระบวนการเรียนรู้ แบบบรู ณาการ เพอื่ ให้เกดิ ทกั ษะ ความรู้ เพ่ือใช้ใน

การฟัง พูด อ่านและเขียน ตลอดจนมีความสามารถในการสื่อสาร มีทักษะชีวิต มีความรักภาคภูมิใจในวัฒนธรรม

ประเพณีในท้องถ่ินและประเทศของตน ใช้เทคโนโลยี เปน็ ผู้ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน มุ่งม่ันในการทำงาน มีคุณธรรม จริยธรรม และ

คา่ นยิ มท่เี หมาะสม

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

รหสั ตวั ชี้วัด

ต 1.1 ม.4-6/2 ต1.1 ม.4-6/3 ต 1.2 ม.4-6/3

ต 1.2 ม.4-6/5 ต 1.3 ม.4-6/2 ต 2.1 ม.4-6/2

ต 2.2 ม.4-6/1 ต 4.2 ม.4-6/1 ต 4.2 ม.4-6/2

รวมท้งั หมด 9 ตวั ช้ีวดั

10

โครงสร้างรายวิชา

วชิ า ภาษาอังกฤษ (พืน้ ฐาน) รหสั วิชา อ31102 กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 1 หน่วยกิต เวลา 40 ชวั่ โมง

หนว่ ย ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระการเรยี นรู้ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นรู้ การเรยี นร้/ู (ชั่วโมง) คะแนน

ตวั ชว้ี ัด

1 Moment มฐต.1.2 ม.4/1 1. Conversation 4 20
4
in Life. มฐต.1.2 ม.4/3 1. To make request

มฐต.2.1 ม.4/1 2. To offer to do things

3. To ask for permission

มฐต.1.1 ม.4/2 2. How to use the tense

4. Present perfect simple/ continuous tense

5. Past perfect simple/ continuous tense

มฐต.1.1 ม.4/1 3. Direct and indirect Speech 5

2 Cool มฐต.1.1 ม.4/4 1. Types of Sentence 5 20
5 20
Sentence - Simple - Compound 4
6
s - Complex - Compound complex

มฐต.1.1 ม.4/1 2. Clauses (Adjective, Adverb, Noun)

Conjunction

มฐต.1.1 ม.4/1 3. To talk about the future time

มฐต.4.2 ม.4/2 Future simple / Present simple / present

continuous /Future Continuous tense

3 Day in มฐต.1.2 ม.4/4 1. To talk about idiom

and day มฐต.2.2 ม.4/1 - Two words verb.

out มฐต.3.1 ม.4/1 - Common idiomatic expressions
มฐต.4.2 ม.4/2 - Compare; Thai and western idioms

มฐต.1.1 ม.4/3 2. Comparison people and things 4

มฐต.1.2 ม.4/4

สอบกลางภาค 20

สอบปลายภาค 20

2.2 หลักการเรยี นไวยากรณ์

2.2.1 ความหมายของไวยากรณ์

11

ในภาษาศาสตร์ "ไวยากรณ"์ หมายถึงกฎระเบียบท่ีควบคมุ วิธกี ารที่คำรวมถงึ รูปแบบวลี , คำสั่งและประโยคคำวา่
"ไวยากรณ"์ มาจากภาษากรีกแปลวา่ "จัดเรียงกัน" คำนีย้ ังใช้เพอ่ื หมายถงึ การศกึ ษาคณุ สมบตั ิทางวากยสัมพันธข์ อง
ภาษา ในบรบิ ทของคอมพิวเตอรค์ ำนหี้ มายถึงการจัดลำดับสัญลักษณแ์ ละรหัสทเ่ี หมาะสมเพ่อื ใหค้ อมพิวเตอร์เข้าใจคำสงั่
ท่ีสงั่ ให้ทำ
ไวยากรณ์

1. ไวยากรณค์ อื ลำดับคำที่เหมาะสมในวลีหรือประโยค
2. ไวยากรณเ์ ปน็ เครือ่ งมือที่ใช้ในการเขียนประโยคไวยากรณ์ทีเ่ หมาะสม
3. เจ้าของภาษาเรียนรูไ้ วยากรณท์ ี่ถูกต้องโดยไมร่ ตู้ วั
4. ความซบั ซอ้ นของประโยคของนักเขียนหรือผู้พูดทำใหเ้ กิดสำนวนทเ่ี ป็นทางการหรอื ไมเ่ ป็นทางการท่ีนำเสนอต่อ

ผูช้ ม
ไวยากรณก์ ารได้ยินและการพูด

ไวยากรณ์เปน็ หน่ึงในองค์ประกอบที่สำคัญของไวยากรณ์เปน็ แนวคิดทช่ี ว่ ยใหผ้ ู้คนรู้วิธเี รม่ิ ต้นคำถามด้วยคำ
คำถาม ("นน่ั คอื อะไร") หรือคำคณุ ศัพทม์ กั มาก่อนคำนามท่ีอธิบาย ("เกา้ อ้ีสเี ขยี ว") หัวขอ้ มกั จะมาก่อนคำกริยาในรปู แบบ
ที่ไม่ใช่ - ประโยคคำถาม ("เธอวง่ิ เหยาะๆ") วลีบุพบทขึน้ ตน้ ด้วยคำบุพบท ("ไปที่รา้ นค้า") กรยิ าชว่ ยมาก่อนกรยิ าหลกั ("
ไปได้" หรอื "จะทำ") และอ่นื ๆ สำหรับเจ้าของภาษาการใช้ไวยากรณ์ทถ่ี กู ต้องเปน็ สิ่งทเี่ กดิ ขนึ้ โดยธรรมชาติเนอ่ื งจากการ
เรียงลำดับคำจะไดร้ บั การเรยี นรู้ทันทที ่ีเดก็ ทารกเร่ิมดูดซับภาษา เจา้ ของภาษาสามารถบอกบางส่งิ บางอยา่ งที่พดู ไม่
ถูกต้องนกั เพราะมนั "ฟังดแู ปลก ๆ " แมว้ ่าจะไม่สามารถระบุรายละเอยี ดของกฎไวยากรณท์ ี่แน่นอนท่ีทำให้บางสงิ่
บางอย่าง "หลดุ " ไปได้
"มันเป็นไวยากรณท์ ท่ี ำใหค้ ำมพี ลังในการเชื่อมโยงกนั เป็นลำดบั ... เพ่ือนำความหมาย - ไม่ว่าจะเปน็ แบบไหน - รวมท้ัง
เรอื งแสงทีละอยา่ งในสถานทท่ี เี่ หมาะสม"
(Burgess 1968)
กฎวาทกรรม

ส่วนของคำพดู ภาษาอังกฤษมกั จะเป็นไปตามรปู แบบการเรียงลำดับในประโยคและอนปุ ระโยคเชน่ ประโยค
ประกอบจะเชือ่ มตอ่ ด้วยคำสนั ธาน (และ แต่หรือ) หรือคำคุณศัพท์หลายคำท่ีแกไ้ ขคำนามเดียวกนั จะทำตามลำดับเฉพาะ
ตามชน้ั เรยี น (เชน่ จำนวนขนาด - สีเชน่ เดียวกบั "เก้าอ้ีสีเขียวขนาดเล็กหกตวั ") กฎของวธิ ีการเรียงลำดบั คำชว่ ยให้สว่ น
ของภาษามีความหมาย ประโยคมกั ขน้ึ ตน้ ด้วยหัวเรือ่ งตามดว้ ยเพรดเิ คต (หรือเพยี งแค่คำกริยาในประโยคทีง่ ่ายทีส่ ุด)
และมีวตั ถุหรือส่วนเติมเตม็ (หรอื ท้งั สองอย่าง) ซึ่งแสดงตัวอยา่ งเช่นสงิ่ ทกี่ ำลังกระทำ ใช้ประโยคท่วี ่า "Beth ค่อยๆวิง่ แขง่
กันอย่างดุเดอื ดรองเท้าแตะหลากสี" ประโยคเป็นไปตามรูปแบบของคำกรยิ า - วตั ถุ ("เบ ธ วิง่ แข่ง") คำกรยิ าวเิ ศษณแ์ ละ
คำคุณศัพทน์ ำหนา้ สิ่งทีแ่ กไ้ ข ("วิง่ ช้า"; "รองเท้าแตะหลากส"ี ) ออบเจก็ ต์ ("the race") ตามหลงั กริยา "ran" และบุพบท
วลี ("in wild, multicolored flip-flop") ขึน้ ต้นด้วยคำบพุ บท "in"

ไวยากรณเ์ ทยี บกับพจนานุกรมและทางการเทยี บกบั ไมเ่ ปน็ ทางการ
Diction หมายถึงรูปแบบการเขียนหรือการพูดที่ใครบางคนใช้โดยนำมาจากการเลอื กคำในขณะที่ไวยากรณ์คือ
ลำดับที่จดั เรียงในประโยคพดู หรอื เขยี น ส่ิงท่ีเขยี นโดยใชส้ ำนวนระดับสงู เช่นกระดาษที่ตพี ิมพใ์ นวารสารวิชาการหรือการ
บรรยายในห้องเรียนของวิทยาลัยน้ันเขียนอย่างเป็นทางการ การพูดคุยกับเพื่อนหรือการส่งข้อความเป็นเร่ืองไม่เป็น
ทางการซ่ึงหมายความว่าพวกเขามีสำนวนในระดับต่ำ "จำเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเข้าใจว่าความแตกต่างน้ันไม่ได้เกิดข้ึน

12

เพราะภาษาพูดเป็นความเส่ือมโทรมของภาษาเขียน แต่เป็นเพราะภาษาเขียนใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นภาษาอังกฤษหรือ

ภาษาจีนเป็นผลมาจากการพัฒนาและการทำอย่างละเอียดหลายศตวรรษโดยผใู้ ช้จำนวนน้อย" จิมมิลเลอร์ (มิลเลอร์ ,

2551) งานเขยี นหรืองานนำเสนอทเี่ ปน็ ทางการกน็ ่าจะมปี ระโยคที่ซับซอ้ นกวา่ หรอื ศัพทแ์ สงเฉพาะอุตสาหกรรม พวกเขา

มุ่งไปยังผูช้ มในวงแคบมากกว่าสงิ่ ทีค่ วรใหค้ นทั่วไปอ่านหรอื ฟังซึ่งภมู ิหลังของผู้ชมจะมคี วามหลากหลายมากขึน้

ความแม่นยำในการเลือกใช้คำน้ันมีความเข้มงวดน้อยกว่าในบริบทที่ไม่เป็นทางการมากกว่าคำที่เป็นทางการและ

กฎไวยากรณ์มีความยืดหยุ่นในภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียนที่เป็นทางการ ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษที่เข้าใจได้มีความ

ยดื หยนุ่ มากกวา่ ส่วนใหญ่ " ... สิง่ ที่แปลกเกี่ยวกบั ภาษาอังกฤษก็คอื วา่ คุณกรลู ำดับคำขน้ึ ไมม่ ีคุณเข้าใจยังคงเหมอื น Yoda

จะ. ภาษาอื่น ๆ ที่ไม่ได้ทำงานวิธีท่ี. French? Dieu! ใส่ผิดที่เดียวleหรือlaและความคิดก็กลายเป็นพัฟโซนิค

ภาษาอังกฤษมีความยืดหยุ่น: คุณสามารถอัดมันลงใน Cuisinart เป็นเวลาหน่ึงช่ัวโมงลบออกและความหมายจะยังคง

ป ร าก ฏ อ ยู่ ”

(โคปแลนด,์ 2552)

ประเภทของโครงสรา้ งประโยค

ประเภทของประโยคและโหมดวากยสัมพันธ์ ได้แก่ ประโยคงา่ ยๆประโยคประสมประโยคซบั ซอ้ นและประโยคผสม

ซบั ซอ้ น ประโยคผสมเป็นประโยคง่ายๆสองประโยคทเี่ ช่อื มตอ่ กัน ประโยคท่ีซับซอ้ นมอี นปุ ระโยคทขี่ ้นึ กบั กันและประโยค

ที่มีความซบั ซอ้ นรวมท้งั สองประเภท

1. ประโยคง่ายๆ : Subject-verb structure ("The girl ran.")

2. ประโยคประกอบ : โครงสร้าง Subject-verb-object-joint-subject-verb ("หญิงสาววิง่ มาราธอนและ

ลูกพ่ีลูกน้องของเธอก็ทำเชน่ กัน")

3. ประโยคทซ่ี บั ซ้อน : โครงสร้างของประโยคขนึ้ อยู่กบั คำกริยา - วตั ถุ ("แม้ว่าพวกเขาจะเหนื่อยหลงั จากการวิง่

มาราธอนลูกพี่ลกู นอ้ งก็ตัดสินใจไปงานฉลองที่สวนสาธารณะ")

4. ประโยคทซี่ บั ซอ้ นเชิงซอ้ น : สปี่ ระโยคโครงสร้างท่พี งึ่ พาและอิสระ ("แม้วา่ พวกเขาจะไมช่ อบฝูงชน แตก่ ็

แตกต่างกนั พวกเขาตัดสินใจเพราะเปา้ หมายร่วมกันท่ีทำให้ทุกคนมารวมกนั ")

รปู แบบและความแตกตา่ งของไวยากรณ์

ไวยากรณ์ได้เปล่ยี นแปลงไปบา้ งตามพัฒนาการของภาษาอังกฤษตลอดหลายศตวรรษ "สภุ าษิต ใครกร็ กั ทีไ่ มร่ กั ตั้งแต่

แรกเหน็ ? บง่ ช้วี า่ คร้ังหนึง่ คำปฏเิ สธภาษาอังกฤษสามารถวางไว้หลังคำกริยาหลักได้" (Aitchison, 2001) และไมใ่ ชท่ ุก

คนทพี่ ูดภาษาองั กฤษในลักษณะเดยี วกันท้ังหมด ภาษาทางสังคมท่ี ผู้คนเรยี นรรู้ ่วมกันเชน่ ชนช้ันทางสังคมอาชีพกลมุ่

อายหุ รอื กลุม่ ชาตพิ ันธ์ุอาจมีผลต่อไวยากรณ์ของผู้พดู ลองนกึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งคำแสลงของวัยรุ่นกับลำดบั คำและ

ไวยากรณท์ ่ลี ื่นไหลมากขึ้นเทยี บกบั คำศัพท์ทางเทคนิคของนักวทิ ยาศาสตร์การวจิ ยั และลกั ษณะการพดู ซง่ึ กันและ

กนั ภาษาทางสงั คมเรียกอีกอยา่ งว่า "พันธ์ุทางสงั คม"

นอกเหนอื จากไวยากรณ์

การปฏบิ ตั ิตามไวยากรณ์ที่เหมาะสมไม่ได้รบั ประกันว่าประโยคจะมคี วามหมาย Noam Chomsky นักภาษาศาสตร์ได้

สร้างประโยค "Colorless green ideas sleep furiously" ซ่ึงถูกต้องตามหลกั ไวยากรณแ์ ละถกู ตอ้ งตามหลักไวยากรณ์

เพราะมคี ำในลำดับท่ถี ูกตอ้ งและคำกริยาทตี่ รงกับหัวข้อ แตก่ ย็ ังไม่มีสาระ ด้วยเหตุน้ี Chomsky จึงแสดงให้เห็นวา่ กฎท่ี

ควบคมุ ไวยากรณ์แตกตา่ งจากความหมายทค่ี ำพูด

13

ความแตกต่างระหว่างไวยากรณแ์ ละวากยสัมพันธไ์ ด้รับการรบกวนจากการวิจัยลา่ สุดใน พจนานกุ รมศพั ท์ซึง่ คำนึงถงึ คำ
ต่างๆในกฎไวยากรณ:์ ตวั อย่างเชน่ คำกริยาบางคำ (คำกรยิ าทด่ี ำเนินการกบั บางสิง่ บางอย่าง) มักจะใช้วตั ถุ
โดยตรง สกรรมกรยิ า (การกระทำ) ตวั อย่างคำกริยา:

1. "เธอเอาบัตรดัชนีออกจากกล่องสูตรอาหารเกา่ "
คำกริยาคอื "ลบ" และวตั ถุคอื "บตั รดชั น"ี อีกตวั อย่างหนง่ึ ได้แก่ กรยิ าวลีสกรรมกริยา:

1. "โปรดตรวจสอบรายงานของฉนั ก่อนทฉี่ ันจะสง่ "
"มองขา้ ม" คอื กริยาวลีและ "รายงาน" คอื วัตถโุ ดยตรง เพือ่ ให้เป็นความคิดท่ีสมบูรณค์ ุณตอ้ งรวมส่ิงท่ีถกู ตรวจสอบ ดงั นั้น
จงึ ตอ้ งมีวัตถุโดยตรง

การอา้ งองิ เพม่ิ เติม
1. Aitchison, ฌอง การเปลี่ยนภาษา: กา้ วหน้าหรือเสอื่ มโทรม? มหาวทิ ยาลยั เคมบริดจ์, 2544
2. เบอร์เกส, อลนั เอนเดอร์บ้ีนอก . ไฮเนมนั น์, 2511
3. ชอมสกนี น. โครงสร้างเชิงตรรกะของทฤษฎีภาษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ชคิ าโก พ.ศ. 2528
4. Copeland, ดกั ลาส รนุ่ : นวนยิ าย สคริบเนอร์, 2552
5. มิลเลอรจ์ มิ รูเ้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกบั ภาษาอังกฤษไวยากรณ์มหาวทิ ยาลัยเอดนิ บะระ, 2551
ดูแหล่งที่มาของบทความ
1. Kortmann, Bernd คำวิเศษณ์ย่อยคอื การจำแนกประเภทและประวตั ศิ าสตร์ของคำวิเศษณ์ใต้บงั คบั บัญชาจาก

ยโุ รปภาษาMouton De Gruyter, 7 ส.ค. 2555

2.3 ชุดกจิ กรรม
ชดุ กิจกรรมถือว่าเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาจะต้องมีความเป็นระบบสมบูรณ์ในตัวเอง ประกอบด้วยกิจกรรม

เรยี นรู้ทปี่ ระยกุ ต์จากทฤษฎเี ทคนิคหรือรปู แบบการจดั การเรียนรู้ท่ีเหมาะสม มีลกั ษณะโดดเดน่ แปลกใหมเ่ ป็นการเฉพาะ
ของแต่ละชุดกิจกรรม ชุดกิจกรรมที่ไม่มีการประยุกต์ ทฤษฎีเทคนิคหรอื รูปแบบการจดั การเรียนรู้และไม่มีลักษณะโดย
เด่นแปลกใหม่เป็นการเฉพาะนั้น ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรมการศึกษา เป็นเพียงเอกสารประกอบการสอนธรรมดาทั่วไป
เท่านั้น การพัฒนาชุดกิจกาม ผู้รายงานได้ศึกษาเอกสารท่เี ก่ียวข้องดังน้ี

2.3.1 ความหมายของชุดกิจกรรม
การจดั การเรียนรนู้ น้ั ต้องยดึ หลกั ว่า ผู้เรียนทุกคนมคี วามสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้และถือวา่

ผเู้ รียนสำคญั ท่ีสดุ (พรบ.การศึกษาแหง่ ชาติ 2542 , ม.22) และตอ้ งประยุกตใ์ ช้ทฤษฎกี ารเรียนรูจ้ ึงควรมีนวัตกรรมมาใช้
ประกอบการจัดการเรยี นรู้ เพ่อื ให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองได้ ซงึ่ ชดุ กิจกรรม ถือวา่ เป็นนวัตกรรมทาง
การศึกษาทม่ี คี วามสมบรู ณ์ในตวั เอง สามารถนำมาใชป้ ระกอบในการจัดการเรียนร้ไู ด้ดี นวัตกรรม คือ การเปลยี่ น
ความคดิ สรา้ งสรรค์ ให้เปน็ ประดษิ ฐก์ รรมท่สี ังคมใหก้ ารยอมรบั สามารถทำให้สงั คมมที างเลือกท่ดี เี พิม่ ขึ้น นวตั กรรมทาง
การศึกษา คอื ประดิษฐก์ รรมดา้ นการเรยี นรู้ เช่น สือ่ การสอนในรปู ของอุปกรณก์ ารสอน ชุดกิจกรรม หรอื เทคนคิ และ
วธิ กี ารสอนต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรยี นรู้ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ เป็นทางเลอื กใหม่ สำหรบั ผเู้ รียนและ
ผู้สอน ชดุ กิจกรรมทถี่ ือว่าเปน็ นวัตกรรมทางการศกึ ษาจะต้องมคี วามเปน็ ระบบ สมบรู ณ์ในตวั เอง ประกอบดว้ ยกจิ กรรม
การเรียนร้ทู ีป่ ระยุกต์ จากทฤษฎเี ทคนิคหรือรปู แบบการจดั การเรียนรู้ทเ่ี หมาะสม มลี กั ษณะโดดเด่นแปลกใหม่ เปน็ การ
เฉพาะของแตล่ ะชดุ กจิ กรรม ชดุ กิจกรรมทไ่ี มม่ ีการประยกุ ต์ ทฤษฎีเทคนคิ หรอื รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ และไม่มี

14

ลกั ษณะโดดเด่น แปลกใหม่เป็นการเฉพาะน้นั ไม่ถอื วา่ เปน็ นวัตกรรมทางการศึกษา เปน็ เพียงเอกสารประกอบการสอน

ธรรมดาท่ัวไปเทา่ น้ัน

ชุดกจิ กรรมหรือชดุ การสอน ใชช้ อื่ เรยี กต่างกัน เชน่ ชดุ การสอน หรือชดุ การเรยี นสำเรจ็ รูป ชุด

กจิ กรรม ซง่ึ เป็นชดุ ทางสื่อประสม ใช้สอ่ื ต่างๆ หลายชนิดเป็นองค์ประกอบ เพ่อื ก่อให้เกดิ ความสมบรู ณใ์ นตนเองทีจ่ ัดขน้ึ

ประกอบสำหรบั หนว่ ยการเรยี น ซ่งึ มนี กั การศึกษาหลายท่านไดใ้ ห้ความหมายไวต้ ่างๆ กันดงั นี้

บญุ เก้ือ ควรหาเวช ได้ใหค้ วามหมายของชุดการสอนหรือชดุ กิจกรรม วา่ เปน็ ส่ือการสอนชนดิ หนงึ่ ของ

สื่อประสม (Multi-media) ท่จี ัดขนึ้ สำหรบั หนว่ ยการเรียน ตามหัวข้อ เนือ้ หา และประสบการณข์ องแตล่ ะหน่วยท่ี

ต้องการใหผ้ ู้เรยี นได้รับ โดยจัดเอาไว้ เป็นชุดๆ แล้วแตผ่ ู้สร้างจะทำขน้ึ ช่วยให้ผเู้ รยี นได้รับความรู้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

และผ้สู อน เกดิ ความมั่นใจท่ีพรอ้ มจะสอน

ผศ.ดร.ระพนิ ทร์ โพธ์ิศรี ได้ให้ความหมายของชดุ กจิ กรรมไว้ว่า ชดุ กิจกรรม คือ สอ่ื การสอนทป่ี ระกอบ

ไปด้วยจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้ทู ่ีสะท้อนถงึ ปัญหาและความตอ้ งการในการเรียนรู้ เนื้อหา กจิ กรรมการเรียนรู้ และกจิ กรรม

ประเมินผลการเรียนรู้ทน่ี ำมาบูรณาการเข้าด้วยกันอย่างเปน็ ระบบ สามารถนำมาใช้ในการจัดการเรยี นได้อยา่ งมี

ประสิทธิภาพ

วชิ ยั วงษใ์ หญ่ ไดใ้ ห้ความหมายของชดุ กิจกรรมไว้ว่าชุดกจิ กรรมเป็นระบบการผลิตและการนำสือ่ การ

เรยี นหลายอย่างมาสัมพันธก์ นั และมคี ุณคา่ สง่ เสริมซ่งึ กนั และกนั สอ่ื อยา่ งหนงึ่ อาจใช้เพอ่ื เรา้ ความสนใจ สื่ออกี อย่างหนึง่

ใช้เพอื่ อธิบายขอ้ เทจ็ จรงิ ของเน้อื หาและส่ืออีกอย่างหน่ึงอาจใชเ้ พ่อื กอ่ ให้เกดิ การเสาะแสวงหา อันนำไปสู่ความเข้าใจอัน

ลึกซ้ึงและปอ้ งกันการเข้าใจความหมายผดิ สือ่ การสอนเหล่านเ้ี รียกอกี อยา่ งหน่ึงวา่ สือ่ ประสม นำมาใช้ใหส้ อดคล้องกับ

เนือ้ หา เพอ่ื ชว่ ยให้ผู้เรียนมกี ารเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมการเรียนรู้ใหเ้ ป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ

จากการที่นักการศกึ ษาหลายทา่ นไดใ้ หค้ วามหมายชุดกิจกรรมท่กี ลา่ วมาน้ัน สรปุ ไดว้ ่า

ชุดกจิ กรรม คือ ชดุ ของสอื่ ประสมที่มกี ารนำสือ่ และกิจกรรมหลายๆอย่างมาประกอบกันเพื่อใช้ ในการจดั

กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยมจี ุดประสงค์การเรยี นรู้ทช่ี ัดเจน มีความสมบรู ณ์ในตนเอง ทำให้ผเู้ รียนเกดิ การเรียนรู้

อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ครูมีการเตรียมความพร้อมก่อนจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทำให้ประสบความสำเร็จในการสอน

ประเภทของชดุ กิจกรรม

มีนักศกึ ษาไดก้ ลา่ วถึงประเภทของชดุ การสอน ชดุ การเรยี น ชุดการเรียนการสอน หรอื ชดุ กิจกรรมทไี่ ว้

หลายท่าน ดงั นี้

คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรใู้ นคณะกรรมการปฏริ ปู การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร แบ่งประเภท

ของชุดการสอนไวด้ งั นี้

1. ชุดการสอนแบบเรียนด้วยตนเอง หรือชุดการสอนรายบคุ คล ซึ่งประกอบดว้ ย บทเรียนโปรแกรม

แบบประเมินผลและอปุ กรณก์ ารเรียน

2. ชุดการสอนแบบเรียนเป็นกลมุ่ ย่อย ซง่ึ จัดประสบการณ์ต่างๆ ทน่ี ักเรยี นจะตอ้ งประกอบกิจกรรม

เปน็ หมู่คณะตามบัตรคำส่งั โดยจัดแบบศูนยก์ ารเรียนชุดการสอนประกอบ การบรรยายของครู เป็นกล่องกิจกรรมสำหรบั

ช่วยครูในการสอนกล่มุ ใหญใ่ ห้นักเรียนไดร้ บั ประสบการณท์ พ่ี ร้อมๆ กัน ตามเวลาทีก่ ำหนด

คณะอนกุ รรมการพัฒนาการสอนและผลติ อปุ กรณ์การสอนคณิตศาสตร์คณิตศาสตร์

ไดแ้ บง่ ประเภทของชุดกิจกรรมออกเปน็ 3 ประเภท คือ

15

1. ชุดกิจกรรมสำหรบั ครู เป็นชุดสำหรับจดั ใหค้ รูโดยเฉพาะ มีคมู่ ือและเครอ่ื งมือสำหรบั ครซู ึ่งจะ
นำไปใช้สอนให้เดก็ เกดิ พฤติกรรมท่ีคาดหวงั ครูเป็นผดู้ ำเนนิ การและควบคุม กิจกรรมทงั้ หมด นักเรยี นมีสว่ นร่วมกจิ กรรม
ภายใตก้ ารดูแลของครู

2. ชุดกิจกรรมสำหรบั นักเรียนเปน็ ชดุ กจิ กรรมสำหรับจัดให้นกั เรยี น เรยี นด้วยตนเอง ครมู ีหน้าท่ี
เพยี งจัดอุปกรณแ์ ละมอบชุดการสอนให้และคอยรบั รายงานผลเปน็ ระยะ ใหค้ ำแนะนำเมอื่ มปี ัญหาและประเมนิ ผล ชดุ
กิจกรรมนจี้ ะฝกึ การเรียนด้วยตนเอง เมอ่ื นักเรยี นจบการศกึ ษาจากโรงเรียนนไ้ี ปแล้ว กส็ ามารถเรียนรู้หรือศึกษาสงิ่ ต่างๆ
ไดด้ ว้ ยตนเอง

3. ชุดกิจกรรมที่ครูและนักเรียนใชร้ ่วมกันชุดน้ีมีลักษณะผสมผสานระหวา่ งชดุ แบบ ท่ี 1 และ
ชดุ แบบท่ี 2 ครูเปน็ ผคู้ อยดแู ลและกจิ กรรมบางอยา่ งครตู อ้ งเปน็ ผูแ้ สดงนำให้นักเรยี นดแู ละกจิ กรรมบางอย่างนกั เรียน
ต้องกระทำด้วยตนเอง ชุดกิจกรรมอยา่ งนี้ เหมาะอยา่ งยิ่งทจ่ี ะใชก้ บั นกั เรียนระดบั มัธยมศึกษาซึง่ จะเรม่ิ ฝึกใหร้ จู้ ักการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง ภายใต้การดูแลของครู

บุญเก้ือ ควรหาเวช ได้แบง่ ประเภทของชุดกจิ กรรมเปน็ 3 ประเภท ดังนี้
1. ชุดกจิ กรรมประกอบคำบรรยาย เป็นชดุ กิจกรรมสำหรบั ผู้สอนทตี่ ้องการปูพน้ื ฐานใหผ้ เู้ รยี นส่วน
ใหญ่ไดร้ แู้ ละเขา้ ใจในเวลาเดียวกัน มุง่ ในการขยายเนื้อหาสาระให้ชัดเจนขนึ้ ชุดกิจกรรมแบบน้จี ะช่วยใหผ้ ูส้ อนลดการพดู
ให้น้อยลง และเปน็ การใช้ส่ือการสอนท่ีมีพร้อมอยู่ในชุดกิจกรรม ในการเสนอเนอ้ื หามากขนึ้ ส่ือทีใ่ ช้อาจได้แก่ รูปภาพ
แผนภูมิ หรอื กจิ กรรมทีก่ ำหนดไว้ เป็นต้น
2. ชุดกิจกรรมแบบกลุ่มกิจกรรม เปน็ ชดุ กิจกรรมสำหรับให้ผู้เรียนรว่ มกันเปน็ กล่มุ เลก็ ๆ ประมาณ 5-
7 คน โดยใชส้ ื่อการสอนท่ีบรรจุไว้ในชุดกจิ กรรมแต่ละชุด มุ่งท่ีจะฝกึ ทกั ษะ ในเนอ้ื หาวิชาทีเ่ รยี นและผ้เู รียนมโี อกาส
ทำงานร่วมกัน ชุดกจิ กรรมชนิดนี้มกั จะใชส้ อนในการสอนแบบกจิ กรรมกล่มุ เช่น การสอนแบบศนู ยก์ ารเรยี น เป็นต้น
3. ชุดกิจกรรมแบบรายบุคคลหรือชดุ กจิ กรรมตามเอกัตภาพ เป็นชุดกจิ กรรมสำหรับเรยี นดว้ ยตนเอง
เปน็ รายบุคคล คอื ผูเ้ รียนจะต้องศกึ ษาหาความรู้ตามความสามารถและความสนใจของตนเอง อาจเรียนทโ่ี รงเรยี นหรอื ท่ี
บา้ นกไ็ ด้ สว่ นมากมกั จะมุ่งให้ผ้เู รยี นไดท้ ำความเข้าใจเนือ้ หาวชิ าท่ีเรียนเพิ่มเติมผู้เรียนสามารถจะประเมินผลการเรียน
ด้วยตนเองได้ด้วยชดุ กิจกรรม ชุดกจิ กรรมชนดิ นีอ้ าจจะจัดในลกั ษณะของหน่วยการสอนส่วนยอ่ ยหรอื โมดลู กไ็ ด้

ผศ.ดร.ระพินทร์ โพธศ์ิ รี ได้แบ่งประเภทของชดุ กจิ กรรมได้ดงั นี้
ชุดการเรยี นรูด้ ้วยตนเอง (Self study package) คือ ชดุ กิจกรรมที่สร้างข้ึนโดยมีจุดม่งุ หมายใหผ้ ู้เรียน

นำไปศกึ ษาด้วยตนเอง โดยไม่มีครูเปน็ ผ้สู อน เช่น บทเรยี นสำเร็จรูป ชุดการเรยี นแบบคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนหรอื ชุดการ
เรยี นผา่ นเครอื ข่ายเวลิ ดไ์ วตเ์ ว็บ

ชดุ การเรยี นการสอน คือ ชดุ กิจกรรมทีส่ รา้ งข้นึ โดยมีครเู ปน็ ผูด้ ำเนนิ การจดั กิจกรรม การเรียนรู้ ให้
ผ้เู รยี นเกิดการเรียนรู้ บรรลตุ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรทู้ กี่ ำหนดไว้ เช่น ชดุ ฝึกอบรม หรอื ชุดการสอนตา่ งๆ

จากประเภทของชุดกิจกรรมที่กล่าวมา สรุปไดว้ ่า ชดุ กิจกรรมมลี ักษณะอยู่ 2 ลักษณะ คอื ชุดกจิ กรรม
ทนี่ กั เรยี นเรียนรดู้ ้วยตนเองและชดุ กิจกรรมท่คี รเู ป็นผดู้ ำเนินกาจดั กจิ กรรม
การเรยี นรูร้ ว่ มกับนกั เรียน
องค์ประกอบของชดุ กจิ กรรม

16

ชุดกิจกรรมประกอบด้วยสอื่ ประสมในรูปของวัสดุ อปุ กรณ์ และวธิ ีการตง้ั แตส่ องอยา่ งขน้ึ ไป โดยใช้

วธิ กี ารจัดระบบ เพอ่ื ใหช้ ุดกิจกรรมแตล่ ะชดุ มีประสิทธิภาพและมีความสมบรู ณ์ ในตัวเอง ดังน้ัน ในชุดกิจกรรม

จงึ มีองค์ประกอบดงั นี้

บุญเกื้อ ควรหาเวช ไดจ้ ำแนกองค์ประกอบท่ีสำคัญๆ ภายใน ชุดกิจกรรมไว้ 4 ส่วน คอื

1. คมู่ อื เป็นคมู่ อื และแผนการสอนสำหรับผูส้ อนหรือผู้เรยี นตามชนิดของชุดกจิ กรรมภายในคู่มอื จะ

ชี้แจงถงึ วิธกี ารใชช้ ุดกิจกรรมเอาไวอ้ ยา่ งละเอียด ทำเป็นเลม่ หรือแผ่นพับ

2. บตั รคำส่งั หรอื คำแนะนำ จะเปน็ สว่ นที่บอกใหผ้ ู้เรียนดำเนนิ การเรยี นหรือประกอบกิจกรรมแต่ละ

อยา่ ง ตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ บัตรจะมีอยู่ในชุดกิจกรรมแบบกลุม่ และรายละเอียดซ่งึ จะประกอบไปดว้ ย

2.1 คำอธิบายในเรอ่ื งทจ่ี ะศึกษา

2.2 คำสั่งให้ผู้เรียนดำเนินการ

2.3 การสรปุ บทเรยี น

3. เนอื้ หาสาระและส่ือ จะบรรจไุ วใ้ นรปู ของส่ือการสอนต่างๆ ประกอบด้วยบทเรียนโปรแกรม

สไลด์ เทปบนั ทกึ เสียง ตวั อย่างจรงิ รปู ภาพ เป็นต้น ผเู้ รียนจะศึกษาจากส่ือการสอนต่างๆ ที่บรรจอุ ย่ใู นชดุ การสอนตาม

บตั รท่ีกำหนดให้

4. แบบประเมนิ ผล ผเู้ รียนจะทำการประเมนิ ผลที่อยใู่ นชุดกิจกรรมอาจจะเป็น แบบฝึกหัด ใหเ้ ติมคำใน

ช่องว่าง เลอื กคำตอบท่ถี กู จบั คู่ ดผู ลจากการทดลอง หรอื ให้ทำกิจกรรม เปน็ ต้น คณะอนกุ รรมการปฏริ ปู การเรยี นรู้

ในคณะกรรมการปฏริ ูปการศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการ ไดก้ ล่าวถึงสว่ นประกอบของชุดการสอนว่าควรประกอบดว้ ย

1. คมู่ อื ครูมรี ายละเอยี ดเกี่ยวกับจดุ มงุ่ หมายเชิงพฤติกรรม เนือ้ หา ผลงานทค่ี าดหวังจากนกั เรียน สื่อการ

สอน หนังสอื ประกอบการคน้ ควา้ สำหรับครู แนวการประเมนิ ผล ข้ันการดำเนนิ การสอน

2. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น

3. บตั รต่างๆ ที่ใช้ในการประกอบกิจกรรม ได้แก่ บตั รคำสั่ง บัตรเน้ือหา บัตรกจิ กรรม บัตรคำถาม บตั ร

เฉลย

4. สอื่ การเรยี นการสอนที่เลอื กไว้

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ได้จำแนกสว่ นประกอบของชุดกิจกรรมไว้ 4 สว่ น คือ

1. ค่มู ือสำหรบั ครผู ใู้ ชช้ ุดกิจกรรม และผูเ้ รียนทตี่ อ้ งเรียนจากชดุ กจิ กรรม

2. คำสั่งหรอื การมอบหมาย เพือ่ กำหนดแนวทางการเรยี นจากชุดกจิ กรรม

3. เน้ือหาสาระอยู่ในรูปของสือ่ การสอนแบบประสม และกจิ กรรมการเรียนการสอนแบบกลมุ่ และ

รายบคุ คล ตามวัตถุประสงค์ท่ีใชพ้ ฤตกิ รรม

4. การประเมินผลเปน็ การประเมนิ ผลของกระบวนการ ได้แก่ แบบฝกึ รายงาน การ

คน้ คว้าและผลการเรียนรูใ้ นรูปแบบทดสอบต่างๆ

ลักษณะสำคญั ของชดุ กิจกรรม
ผศ.ดร.ระพนิ ทร์ โพธศ์ิ รี ไดก้ ล่าวถงึ ความสำคัญของชุดกิจกรรมท่มี ีลักษณะสำคญั ดงั นี้
1. มจี ุดประสงคป์ ลายทางที่ชัดเจน ที่ระบทุ ้ังเน้ือหา ความรู้ และระดับทกั ษะ การเรยี นรู้ที่ชัดเจนนั่น

คือ จะตอ้ งมจี ดุ ประสงค์ประจำชุดกิจกรรมท่ีระบไุ ว้ชัดเจนว่าเมอื่ ผ่านการเรียนรู้ จบชดุ กิจกรรมนั้นแลว้ นักเรียนต้องทำ
อะไรเปน็ ระดับใด

17

2. ระบุกลุม่ เป้าหมายชัดเจนว่า ชดุ กจิ กรรมดงั กล่าว สร้างข้ึนสำหรบั ใคร
3. มอี งค์ประกอบของจุดประสงคท์ เ่ี ป็นระบบเปน็ เหตุและผล เช่ือมโยงกนั ระหวา่ ง จดุ ประสงค์
ประจำหน่วยและจุดประสงค์ย่อย
4. ตอ้ งมคี ำชีแ้ จง เนือ้ หา กิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมนิ ผลทีส่ อดคล้องกับจุดประสงคแ์ ต่
ละระดับ
5. กรณที ำเป็นชุดการสอน ต้องมคี ู่มอื ครูที่อธบิ ายวธิ ีการ เงอ่ื นไขการใช้ชดุ และ การเฉลยขอ้ คำถาม
ท้ังหมดในกิจกรรม ประเมนิ ผล
สรปุ แล้วองค์ประกอบของชุดกจิ กรรม ควรประกอบด้วย
1. คู่มอื ครูซ่ึงเปน็ คู่มือและแผนการจดั การเรียนรู้ในการใชช้ ดุ กจิ กรรม
2. วัตถุประสงค์ของชุดกจิ กรรม
3. คำช้ีแจงเน้อื หากจิ กรรมการสอน
4. เนือ้ หาสาระและส่ือ
5. การประเมนิ ที่สอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์
ชดุ กจิ กรรมมีประโยชนต์ ่อการจดั การเรียนการสอนทกุ ระดับ ถอื ว่า เปน็ นวัตกรรมการสอนทไี่ ดร้ บั ความ
นยิ มอยา่ งแพรห่ ลายและเปน็ สอ่ื ทมี่ ีความเหมาะสมช่วยเรา้ ความสนใจ รวมทง้ั ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเปลีย่ นแปลง
พฤตกิ รรมการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองตามความสามารถของแตล่ ะคน ทำใหผ้ ้เู รยี นเกดิ ทักษะในการแสวงหาความรไู้ มเ่ บือ่
หนา่ ยในการเรยี น มีสว่ นรว่ มในการเรยี น และสร้างความมนั่ ใจใหแ้ ก่ครเู พราะชดุ กิจกรรมมีการจดั ระบบการใช้ส่อื ผลติ
ส่ือและกิจกรรมการเรียนรรู้ วมท้งั มีขอ้ แนะนำ การใช้สำหรับครู ทำให้ครมู คี วามพรอ้ มในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรจู้ ึง
กอ่ ใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพในการเรียนการสอนอย่างแท้จริง

2.4 แนวคดิ ทฤษฎีเกย่ี วกบั การเรยี นรู้แบบกำกับตนเอง
ทฤษฎกี ารควบคุมตนเอง - Self-regulation theory

ทฤษฎีการควบคุมตนเอง (SRT ) เป็นระบบการจัดการส่วนบุคคลท่ีใส่ใจซ่ึงเกี่ยวข้องกับ กระบวนการชี้นำ
ความคิดพฤติกรรมและความรสู้ ึกของตนเองเพื่อไปสเู่ ป้าหมาย การควบคุมตนเองประกอบด้วยหลายขั้นตอนและแต่ละ
บุคคลต้ อ งทำหน้ าที่ เป็น ผู้ สนับสนุ น แรงจูงใจพ ฤติ ก รรมและ การพั ฒ น าขอ งตน เอ งภาย ใน เครื อข่าย ขอ งอิ ทธิพ ลที่ มี
ปฏิสัมพนั ธซ์ ึ่งกันและกัน

Roy Baumeister หนึ่งใน นักจิตวิทยาสังคมชั้นนำ ท่ีศึกษาเรื่องการควบคุมตนเองอ้างว่ามีองค์ประกอบ 4
ประการ ได้แก่ มาตรฐานของพฤติกรรมที่พึงประสงค์แรงจูงใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานการติดตามสถานการณ์และ
ความคดิ ที่ ก่อนท่จี ะทำลายมาตรฐานดงั กล่าวและสดุ ทา้ ยคือจิตตานภุ าพ Baumeister รว่ มกับเพือ่ นร่วมงานคนอนื่ ๆ ได้
พัฒนารูปแบบการควบคุมตนเอง 3 แบบที่ออกแบบมาเพื่ออธิบายความสามารถในการเข้าถึงความรู้ความเข้าใจ: การ
ควบคุมตนเองเป็นโครงสร้างความรู้ความแข็งแกร่งหรือทักษะ มีการศึกษาเพ่ือตรวจสอบว่าโดยท่ัวไปรูปแบบความ
แข็งแรงได้รับการสนับสนนุ เนือ่ งจากเปน็ ทรพั ยากรทม่ี อี ย่อู ยา่ ง จำกัด ในสมองและมเี พยี งการควบคุมตนเองจำนวนหนึ่ง
เทา่ นัน้ ที่สามารถเกดิ ขึ้นได้จนกว่าทรัพยากรนนั้ จะหมด

การควบคุมแรงกระตุ้นการจัดการความปรารถนาระยะสั้น คนที่มีการควบคุมแรงกระตุ้นตำ่ มักจะทำตามความ
ปรารถนาในทันที นเี่ ป็นเส้นทางหนึง่ สำหรบั คนเหลา่ นใี้ นการหาทางเข้าคุกเน่ืองจากการกระทำผิดทางอาญาจำนวนมาก

18

เกดิ ขนึ้ ในชว่ งเวลาทร่ี อ้ นแรง สำหรับคนทไ่ี มใ่ ช้ความรนุ แรงอาจนำไปสกู่ ารสญู เสยี เพอื่ นจากการระเบิดอย่างไม่ระมดั ระวัง
หรอื ปญั หาทางการเงินที่เกิดจากการซ้อื สินคา้ ที่หนุ หันพลันแล่นมากเกินไป
อคติทางปัญญา ท่ีเรียกว่า ภาพลวงตาของการควบคุม . ในขอบเขตที่ผู้คนถูกขับเคลื่อนด้วยเปา้ หมายภายในที่เกี่ยวข้อง
กับการควบคมุ สภาพแวดลอ้ มของตนพวกเขาจะพยายามยืนยันการควบคุมอกี คร้ังในสภาวะของความสบั สนวุ่นวายความ
ไม่แน่นอนหรือความเครียด หากล้มเหลวในการควบคุมอย่างแท้จริงกลยุทธ์การเผชิญปัญหาอย่างหนึ่งคือการถอยกลับ
ไปสู่การป้องกนั การควบคมุ ซ่งึ นำไปสภู่ าพลวงตาของการควบคุม (Fenton-O'Creevy et al., 2003)
การบรรลเุ ป้าหมายและแรงจงู ใจ
ความเจบ็ ป่วย พฤตกิ รรม

SRT ประกอบด้วยหลายขั้นตอน ขั้นแรกให้ผู้ป่วยตรวจสอบพฤติกรรมของตนเองโดยเจตนาและประเมินว่า
พฤติกรรมน้ีส่งผลต่อสุขภาพของตนเองอย่างไร หากไม่ได้ผลตามท่ีต้องการผู้ป่วยจะเปล่ียนพฤติกรรมส่วนบุคคล หาก
ตระหนกั ถึงผลท่ีต้องการผปู้ ว่ ยจะเสรมิ สร้างผลกระทบโดยดำเนินพฤตกิ รรมตอ่ ไป (Kanfer 1970; 1971; 1980)

อีกแนวทางหน่ึงคือเพื่อให้ผู้ป่วยตระหนักถึงปัญหาสุขภาพส่วนบุคคลและเข้าใจปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับปัญหาน้ัน
ผู้ป่วยต้องตัดสินใจเกี่ยวกับแผนปฏิบัติการเพ่ือแก้ไขปัญหาสุขภาพ ผู้ป่วยจะต้องตรวจสอบผลลัพธ์โดยเจตนาเพ่ือ
ประเมินผลกระทบตรวจสอบการเปลีย่ นแปลงทจ่ี ำเปน็ ในแผนปฏิบัติการ (Leventhal & Nerenz 1984)

อกี ปัจจัยหน่ึงท่ีสามารถชว่ ยให้ผู้ปว่ ยบรรลุเป้าหมายด้านสุขภาพสว่ นบุคคลของตนเองคือการเก่ียวข้องกับผู้ป่วย
ดงั ต่อไปน้ี: ช่วยให้พวกเขาเข้าใจมุมมองส่วนบุคคล / ชุมชนเก่ียวกับความเจ็บป่วย ประเมินความเส่ียงทีเ่ ก่ยี วข้องและให้
ทักษะในการแก้ปัญหา / ที่มีศักยภาพ องค์ประกอบสี่ประการของการควบคุมตนเองท่ีอธิบายโดย Baumeister et al
(2007) คอื :
มาตรฐาน : ของพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์
แรงจงู ใจ : เพ่อื ให้เป็นไปตามมาตรฐาน
การเฝ้าติดตาม : ของสถานการณ์และความคิดทนี่ ำหนา้ การทำลายมาตรฐาน
จิตตานุภาพ : ความแข็งแกรง่ ภายในในการควบคุมกระตุ้น

มีนักวิจัยนักจิตวิทยาจำนวนมาก และนักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษากระบวนการกำกับดูแลตนเอง Albert Bandura
นักจิตวิทยาด้านความรู้ความเข้าใจมีผลงานที่สำคัญโดยมุ่งเน้นไปที่การได้มาซึ่งพฤติกรรมท่ีนำไปสู่ ทฤษฎีความรู้ความ
เข้าใจทางสงั คม และ ทฤษฎกี ารเรยี นรทู้ างสงั คม ผลงานของเขาได้รวบรวมสว่ นประกอบทางพฤตกิ รรมและความรู้ความ
เข้าใจเข้าด้วยกันซึ่งเขาสรุปว่า "มนุษย์สามารถควบคุมพฤติกรรมของตนได้โดยใช้กระบวนการที่เรียกว่าการควบคุม
ตนเอง" สิ่งนี้นำไปสู่กระบวนการที่เขารู้จักซึ่งประกอบด้วยการสังเกตตนเองการตัดสินและการตอบสนองตนเอง การ
สังเกตตนเอง (หรอื ท่ีเรียกว่า วิปสั สนา ) เปน็ กระบวนการทเ่ี กี่ยวข้องกับการประเมนิ ความคิดและความรู้สึกของตนเอง
เพื่อแจ้งและกระตุ้นให้บุคคลทำงานไปสู่การตั้งเป้าหมายและได้รับอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม การตัดสิน
เก่ียวข้องกับบุคคลที่เปรียบเทียบผลงานของตนกบั มาตรฐานส่วนบุคคลหรือมาตรฐานที่สร้างขึ้น ประการสุดท้ายใช้การ
ตอบสน องตนเองซึ่งบุคคลอาจให้รางวัลหรือลงโทษ ตนเอ งสำหรั บความสำเร็จหรือความล้ม เหลวในก ารปฏิ บัติตาม
มาตรฐาน ตัวอยา่ งของการตอบสนองตวั เองคอื การให้รางวลั ตวั เองดว้ ยพายชิ้นพิเศษเพอ่ื ทำข้อสอบไดด้ ี
Dale Schunk
อ้างอิงจาก Schunk (2012) Lev Vygotsky ซง่ึ เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซยี และเป็นผู้มีอิทธิพลสำคัญต่อการเพิ่มขึ้นของ
คอนสตรัคติวสิ ต์เชื่อวา่ การควบคมุ ตนเองเก่ียวข้องกับการประสานกันของกระบวนการทางปัญญา เชน่ การวางแผนการ
สังเคราะห์และการกำหนดแนวคิด (Henderson & Cunningham, 1994); อย่างไรก็ตามการประสานงานดงั กล่าวไม่ได้

19

ดำเนนิ ไปอย่างเปน็ อสิ ระจากสภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมของแต่ละบคุ คล ในความเปน็ จริงการควบคมุ ตนเอง
รวมถึงการค่อยๆปรบั เปล่ียนภาษาและแนวคิด
Roy Baumeister
ตามทฤษฎีที่ได้รับการศึกษาอย่างกว้างขวาง SRL ยังได้รับผลกระทบอย่างมากจากนักจิตวิทยาสังคมท่ีมีชื่อเสียง Roy
Baumeister เขาอธิบายถึงความสามารถในการควบคุมตนเองว่ามีขีดความสามารถ จำกัด และด้วยเหตุนี้เขาจึง
บัญญัติศัพท์ว่า อัตตาพร่อง องค์ประกอบท้ังสี่ประการของทฤษฎีการควบคุมตนเองที่ Roy Baumeister อธิบายไว้คือ
มาตรฐานของพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์แรงจูงใจในการปฏิบัติตามมาตรฐานการตดิ ตามสถานการณ์และความคดิ ทนี่ ำหน้า
มาตรฐานการทำลายและจิตตานุภาพหรือความเข้มแข็งภายในในการควบคมุ กระตุ้น ในเอกสารของ Baumeister ท่ีช่ือ
ว่า Self-Regulation Failure: An Overview เขาระบุว่าการควบคุมตนเองนั้นซับซ้อนและมีหลายแง่มุม เบาเมสเตอร์
จัดวาง“ ส่วนผสมสามอยา่ ง” ของการควบคุมตนเองเปน็ กรณสี ำหรับความล้มเหลวในการควบคุมตนเอง
การวิจยั
การศึกษาจำนวนมากได้ทำข้ึนเพื่อทดสอบตัวแปรตา่ งๆเก่ียวกับการควบคุมตนเอง Albert Bandura ศึกษาการควบคุม
ตนเองก่อนหลังและระหว่างการตอบสนอง เขาสร้างสามเหล่ียมของปัจจัยซ่ึงกันและกันซ่ึงรวมถึงพฤติกรรม
สภาพแวดล้อมและบุคคล (ปัจจัยทางความคิดอารมณ์และร่างกาย) ท่ีล้วนมีอิทธิพลต่อกันและกัน Bandura สรุปว่า
กระบวนการบรรลุเป้าหมายและแรงจูงใจเกิดจากปฏิสัมพันธ์ท่ีเท่าเทียมกันของการสังเกตตนเองการตอบสนองตนเอง
การประเมินตนเองและการรับรู้ความสามารถของตนเอง

นอกจากงานของ Bandura แล้วนักจิตวิทยา Muraven, Tice, และ Baumeister ได้ทำการศึกษาเก่ียวกับการควบคุม
ตนเองในฐานะทรัพยากรท่ี จำกัด พวกเขาแนะนำว่ามีโมเดลที่แข่งขันกันสามแบบในการควบคุมตนเอง: การควบคุม
ตนเองเป็นจุดแข็งโครงสรา้ งความรู้และทกั ษะ ในแบบจำลองความแข็งแกรง่ พวกเขาระบุวา่ การควบคุมตนเองเปน็ ไปได้
อาจถือเป็นจุดแข็งเพราะต้องใช้จิตตานุภาพจงึ เป็นทรพั ยากรท่ี จำกดั ความล้มเหลวในการควบคุมตนเองสามารถอธบิ าย
ได้จากการหมดทรพั ยากรน้ี สำหรบั การควบคุมตนเองเป็นโครงสร้างความรู้พวกเขาต้ังทฤษฎีว่ามันเก่ียวข้องกับความรู้
จำนวนหน่ึงในการควบคมุ ตนเองเช่นเดียวกับเทคนิคทีเ่ รียนรู้ใด ๆ ความล้มเหลวในการควบคุมตนเองสามารถอธิบายได้
ดว้ ยความรู้ท่ีไม่เพียงพอ สุดท้ายโมเดลที่เก่ียวข้องกับการควบคุมตนเองเปน็ ทักษะท่ีอา้ งถึงการควบคุมตนเองถูกสร้างขึ้น
เม่ือเวลาผ่านไปและไม่สามารถลดนอ้ ยลงได้ ดังนน้ั ความล้มเหลวในการออกแรงจะอธบิ ายได้จากการขาดทักษะ พวกเขา
พบว่าการควบคุมตนเองในฐานะจุดแข็งเป็นรูปแบบท่ีเป็นไปได้มากท่ีสุดเน่ืองจากการศึกษาที่ช้ีให้เห็นว่าการควบคุม
ตนเองเป็นทรัพยากรที่ จำกัด

Dewall, Baumeister, Gailliot และ Maner ได้ทำการทดลองหลายชุดโดยแนะนำให้ผเู้ ขา้ ร่วม ดำเนินการลดอตั ตาเพ่ือ
ลดทรัพยากรการกำกับดูแลตนเองในสมองท่ีพวกเขาตั้งทฤษฎีวา่ เป็น กลูโคส ซงึ่ รวมถึงงานที่ตอ้ งใหผ้ ู้เขา้ ร่วมทำลายนิสัย
ทีค่ ุ้นเคยโดยที่พวกเขาอ่านเรียงความและวนคำที่มีตัวอักษร 'e' สำหรบั งานแรกจากนั้นถูกขอให้เลิกนิสัยน้นั ด้วยการทำ
ภารกิจท่ีสองโดยท่ีพวกเขาวนคำที่มี 'e 'และ / หรือ' a ' หลังจากการทดลองน้ีผู้เข้าร่วมได้รับการสุ่มเลือกให้เข้ากับ
หมวดหมู่กลูโคสซ่ึงพวกเขาดื่มน้ำมะนาวหน่ึงแก้วท่ีทำจากน้ำตาลหรือกลุ่มควบคุมด้วยน้ำมะนาวท่ีทำจาก Splenda
จากนั้นพวกเขาถูกถามถงึ ความเปน็ ไปได้ของแต่ละบุคคลในการช่วยเหลอื คนบางคนในสถานการณส์ มมตุ ิสำหรับท้งั ญาติ
และไม่ใช่ญาตแิ ละพบว่าการไม่รวมเครือญาติผูค้ นมีโอกาสน้อยที่จะช่วยเหลือคนท่ีต้องการความช่วยเหลอื หากพวกเขา

20

อยู่ใน กลุ่มควบคุม (ทีม่ ี Splenda) มากกว่าถา้ พวกเขาเตมิ น้ำตาลกลโู คสในสมองด้วยน้ำมะนาวท่ีมีน้ำตาลจริง การศึกษา
นี้ยังสนบั สนุนรปู แบบสำหรบั การควบคมุ ตนเองเปน็ จดุ แข็งเนื่องจากเป็นการยนื ยันวา่ เป็นทรัพยากรท่ี จำกดั

Baumeister และเพ่ือนร่วมงานได้ขยายความเกยี่ วกับเร่ืองน้ีและกำหนดองคป์ ระกอบท้ังสี่เพ่ือควบคุมตนเอง ซึ่งรวมถึง
มาตรฐาน ของพฤติกรรมที่พึงประสงค์ แรงจูงใจ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานเหล่านี้ การติดตาม ของสถานการณ์และ
ความคิดท่ีนำหนา้ การทำลายมาตรฐานและ จติ ตานภุ าพ .

การใชง้ าน และตวั อย่าง
การควบคุมแรงกระตุ้นในการควบคุมตนเองเก่ยี วขอ้ งกบั การแยกแรงกระตุน้ ในทนั ทีและความปรารถนาในระยะ

ยาวของเรา เราสามารถวางแผนประเมินการกระทำของเราและละเวน้ จากการทำสิ่งที่เราจะเสยี ใจ การวจิ ัยแสดงให้เห็น
ว่าการควบคุมตนเองเป็นจุดแข็งท่ีจำเป็นสำหรับความเปน็ อยู่ที่ดีทางอารมณ์ การละเมิดคา่ นิยมที่ลกึ ซ้ึงท่ีสุดส่งผลให้เกิด
ความรู้สึกผิดซ่ึงจะทำลายความเป็นอยู่ท่ีดี ภาพลวงตาของการควบคุมเก่ียวข้องกับผู้คนท่ีประเมินความสามารถของ
ตนเองในการควบคมุ เหตุการณ์ตา่ งๆสงู เกนิ ไป เช่นเม่อื มีเหตุการณ์เกิดขน้ึ บคุ คลอาจรู้สึกว่าควบคุมผลลัพธไ์ ดด้ กี วา่ ที่พวก
เขาแสดงให้เห็นว่าไมม่ ีอิทธพิ ล สิ่งนี้เนน้ ความสำคัญของการรับรู้ถึงการควบคุมเหตุการณใ์ นชวี ติ

การเรียนรู้แบบควบคุมตนเองคือกระบวนการควบคมุ และประเมินการเรียนรแู้ ละพฤตกิ รรมของตนเอง สิ่งน้เี น้น
การควบคุมโดยบุคคลท่ีตรวจสอบกำกับและควบคุมการดำเนินการไปสู่เป้าหมายของข้อมูล ในการควบคุมตนเองตาม
เป้าหมายโดยทั่วไปจะอธิบายไว้ในองค์ประกอบทั้งส่ีนข้ี องการควบคุมตนเอง มาตรฐานซึ่งเป็นพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนา
แรงจูงใจเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐาน การติดตามสถานการณ์และความคิดที่นำหน้าการทำลายมาตรฐาน จิตตานุภาพ
ความเขม้ แข็งในการควบคมุ เร่งเร้า

พฤติกรรมการเจบ็ ป่วยในการควบคุมตนเองเก่ียวข้องกบั ประเดน็ ความตึงเครยี ดท่เี กิดขน้ึ ระหวา่ งการยึดม่นั และ
การปล่อยวางคณุ คา่ และเป้าหมายที่สำคัญเนอื่ งจากส่ิงเหลา่ นี้ถูกคกุ คามโดยกระบวนการของโรค นอกจากนี้คนที่มที กั ษะ
ในการกำกับดูแลตนเองไม่ดกี ็ไมป่ ระสบความสำเรจ็ ในความสมั พนั ธ์หรือไม่สามารถหางานได้ Sayette (2004) อธบิ ายถึง
ความล้มเหลวในการควบคุมตนเองเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ภายใต้กฎระเบียบและการปฏิบัติท่ีไม่ถูกต้อง ภายใต้
กฎระเบียบคือเม่ือผู้คนล้มเหลวในการควบคุมตนเองในขณะท่ีการทำผิดกฎเกี่ยวข้องกับการมีการควบคุม แต่ไม่บรรลุ
เป้าหมายทตี่ ้องการ (Sayette, 2004)

การวิพากษว์ จิ ารณ์ / ความท้าทาย
ความทา้ ทายอย่างหนง่ึ ของการควบคมุ ตนเองคอื นกั วิจยั มกั จะตอ่ สกู้ ับแนวคิดและการดำเนินงานของการควบคุม

ตนเอง (Carver & Scheier, 1990) ระบบการควบคมุ ตนเองประกอบด้วยชุดฟงั กช์ ันท่ีซบั ซ้อนรวมถงึ ความรู้ความเข้าใจ
ในการวิจัยการแก้ปัญหาการตดั สนิ ใจและการรบั รู้เมตา

การพร่องอัตตาหมายถึงการควบคมุ ตนเองหรือจิตตานภุ าพทด่ี งึ มาจากแหล่งทรพั ยากรทางจิตที่มอี ยอู่ ย่าง จำกัด
หากบคุ คลมกี จิ กรรมทางจิตต่ำโดยท่วั ไปการควบคมุ ตนเองจะบกพรอ่ งซ่งึ อาจนำไปสู่การพร่องอัตตา การควบคุมตนเองมี
บทบาทสำคญั ในการทำงานของตนเองในผคู้ น ภาพลวงตาของการควบคุม เก่ียวข้องกับการประเมนิ ความสามารถของแต่
ละบุคคลในการควบคุมเหตุการณ์บางอย่างสูงเกินไป มันเกิดขึ้นเมื่อมีคนรู้สึกว่าควบคุมผลลัพธ์ได้แม้ว่าพวกเขาจะไม่
สามารถควบคุมได้กต็ าม นักจิตวิทยาได้ให้ความสำคัญอย่างต่อเน่ืองถึงความสำคัญของการรับรถู้ ึงการควบคุมเหตุการณ์
ในชีวิต ไฮเดอรเ์ สนอว่ามนุษย์มแี รงจงู ใจทร่ี นุ แรงในการควบคุมสภาพแวดล้อมของตน

21

ดีเทอร์มินิสม์ซึ่งกันและกัน เป็นทฤษฎีที่อัลเบิร์ตบันดูราเสนอโดยระบุว่าพฤติกรรมของบุคคลได้รับอิทธิพลทั้ง
จากปจั จยั สว่ นบุคคลและสภาพแวดล้อมทางสงั คม Bandura ยอมรบั ถึงความเป็นไปได้ที่พฤติกรรมและปัจจยั สว่ นบุคคล
ของแต่ละบุคคลอาจส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดลอ้ ม สิ่งเหล่าน้อี าจเก่ียวขอ้ งกบั ทักษะที่อยู่ภายใต้หรือเอาชนะอัตตาและจะ
ไม่ส่งผลดีตอ่ ผลลัพธ์ของสถานการณ์

เมอ่ื เร็ว ๆ นี้แบบจำลองความแข็งแกร่งของการพรอ่ งอัตตาของ Baumeister ได้รบั การวิพากษ์วิจารณ์ในหลาย
ๆ ด้าน การวิเคราะห์เมตาพบหลักฐานเพียงเล็กน้อยสำหรับรูปแบบความแข็งแรงของการควบคุมตนเองและสำหรับ
กลูโคสเนื่องจากทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง จำกัด ท่ีหมดลง การทดลองลงทะเบียนล่วงหน้าไม่พบหลักฐานใด ๆ สำหรับการ
หมดอตั ตา ข้อคิดเห็นหลายประการทำให้เกิดการวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการศึกษานี้โดยเฉพาะ โดยสรุปแล้วสมมติฐาน
หลักหลายประการเก่ยี วกบั แบบจำลองความแข็งแกรง่ ของการควบคุมตนเองดเู หมอื นวา่ จะต้องไดร้ บั การแกไ้ ขโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งมุมมองของการควบคุมตนเองในฐานะทรัพยากรท่มี ีอยู่อย่าง จำกดั ซงึ่ สามารถใชห้ มดไปได้และกลูโคสเน่ืองจาก
เชอ้ื เพลงิ ทีห่ มดลงดูเหมือนจะไม่สามารถป้องกนั ได้ โดยไมต่ ้องแกไ้ ขทส่ี ำคญั
บทสรุป
การควบคุมตนเองสามารถนำไปใชก้ ับชีวิตประจำวันได้หลายแง่มุมรวมถึงสถานการณ์ทางสังคมการจัดการสุขภาพส่วน
บคุ คลการควบคุมแรงกระตุ้นและอ่ืน ๆ เน่ืองจากโดยทั่วไปรปู แบบความแข็งแกร่งได้รับการสนบั สนุนงานพร่องอัตตาจึง
สามารถทำได้เพื่อเก็บภาษชี วั่ คราวจากความสามารถในการกำกับดแู ลตนเองในสมองของบคุ คล มีทฤษฎีว่าความพรอ่ งใน
การควบคุมตนเองเก่ยี วขอ้ งกับความเต็มใจท่ีจะช่วยเหลอื ผู้ทต่ี ้องการความช่วยเหลือโดยไม่รวมสมาชิกของเครอื ญาติของ
แต่ละบุคคล นักวิจัยหลายคนมีส่วนร่วมในการค้นพบน้ีรวมถึง Albert Bandura, Roy Baumeister และ Robert
WoodWikipedia site:isecosmetic.com

2.5 ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (Learning Achievement)
2.5.1 ความหมายของผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น

ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเป็นส่ิงสำคญั ประการหน่ึงในการจดั การเรียนการสอน เนอื่ งจากผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น
เปน็ ดัชนีประการหนึ่งท่ีสามารถสะท้อนให้เหน็ ถึงคุณภาพทางการศึกษา เป็นสิ่งที่จะทำใหท้ ราบว่าในการจัดการเรยี นการ

สอนของครูผู้สอนนั้นได้ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความเปล่ียนแปลงไปตามจุดมุ่งหมายที่ตั้งไว้ หรือไม่ได้มีนักการศึกษาหลาย
ทา่ นให้ความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว้ดงั นี้

นิภา เมธธาวชยั (2536:65) กล่าวว่า ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น หมายถึง ความรู้และทักษะท่ีได้รับและพัฒนามา
จากการเรียนการสอนวชิ าต่าง ๆ ครูอาศัยเครื่องมอื วัดผลชว่ ยในการศึกษาวา่ นักเรียนมคี วามรแู้ ละทักษะมากน้อยเพียงใด

Good (1959) กล่าวว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง การเข้าถึงความรู้หรือพัฒนาทักษะทางการเรียนซ่ึง
โดยปกติพจิ ารณาจากคะแนนสอบหรือคะแนนที่ได้จากงานท่คี รมู อบหมายใหห้ รอื ทง้ั สองอย่าง

อารมณ์ เพชรช่นื (2527:46) กล่าวว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ผลที่เกิดข้ึนจากการเรยี นการสอน การ
ฝึกฝน หรือประสบการณ์ต่าง ๆ ทั้งที่โรงเรียนท่ีบ้าน และส่ิงแวดล้อมอื่น ๆ ซึ่งประกอบด้วยความรู้สึก ค่านิยม และ

จริยธรรม ซงึ่ มีความสอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของ Eysenck, J.H., Arnold, W., & Meili,
ดงั นั้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงเป็นขนาดความสำเร็จท่ีได้จากการเรียนโดยอาศัย ความสามารถเฉพาะบุคคล

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอาจได้จากกระบวนการที่ไม่ต้องอาศัยการทดสอบ เช่น การสังเกต หรือการตรวจการบ้านหรือ

22

อาจได้ในรปู เกรดจากโรงเรยี น ซึง่ ตอ้ งอาศัยกระบวนการท่ีซบั ซอ้ น และระยะเวลานานพอสมควร หรืออาจไดจ้ ากการวัด

แบบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ัวไป และสอดคล้องกับแนวคิดของไพศาล หวังพานิช (2536:89) ที่ให้ความหมาย

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนว่า หมายถึง คุณลักษณะ และความสามารถของบุคคลอันเกิดจากการเรียนการสอนเป็นการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมประสบการณ์ การเรียนเกิดข้ึนจากการฝึกอบรมหรือการสอบ จึงเป็นการตรวจสอบระดับ

ความสามารถของบคุ คลวา่ เรยี นแลว้ มีความรูเ้ ท่าใด
จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน หมายถึง ผลการวัด การเปลี่ยนแปลงและ

ประสบการณ์การเรียนรู้ในเนื้อหาสาระที่เรียนมาแล้วว่าเกิดการเรียนรู้เท่าใดมีความสามารถชนิดใด โดยสามารถวัดได้
จากแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธใ์ิ นลกั ษณะตา่ ง ๆ และการวัดผลตามสภาพจริง เพื่อบอกถึงคุณภาพ การศึกษาความหมาย

ของการวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
2.5.2 องคป์ ระกอบท่มี ีอทิ ธพิ ลต่อผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นตัวบ่งช้คี วามสำเร็จหรือความล้มเหลวในการเรียนของนกั เรยี น นกั ศกึ ษา และ

นักจิตวิทยาหลายท่านได้ทำการศึกษาองค์ประกอบต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเพ่ือนำผลท่ีได้จาก
การศึกษาไปเสนอเป็นแนวทางในการปรับปรุงป้องกันปัญหาท่ีกระทบต่อการเรยี น และพัฒนาศักยภาพของนักเรียนท่ีมี
อยู่ใหป้ ระสบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหส้ ูงสดุ ท้ังภาคทฤษฎีและภาคปฏิบตั ิ ทง้ั นี้เพื่อให้นกั เรียนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปญั หา
เป็น

2.6 ความพงึ พอใจ
ความหมายของความพึงพอใจ
ความพงึ พอใจ (Satisfaction) ไดม้ ผี ใู้ หค้ วามหมายของความพึงพอใจไวห้ ลายความหมาย ดังน้ี พจนานกุ รม

ฉบบั ราชบัณฑิตสถาน (2542) ได้ใหค้ วามหมายของความพงึ พอใจไวว้ า่ พึงพอใจ หมายถึง รัก ชอบใจ และพึงใจ หมายถงึ
พอใจ ชอบใจ ดเิ รก (2528) กล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติทางบวกของบุคคลที่มตี อ่ ส่งิ ใดสิ่งหนึ่ง เป็น
ความรู้สึกหรอื ทศั นคติที่ดีตอ่ งานท่ีทำของบุคคลท่ีมตี อ่ งานในทางบวก ความสุขของบุคคลอนั เกิดจากการปฏบิ ัตงิ านและ
ได้รบั ผลเป็นท่พี งึ พอใจ ทำให้บคุ คลเกิดความกระตอื รอื รน้ มคี วามสุข ความมุ่งม่ันทจ่ี ะทำงาน มีขวญั และมีกำลังใจ มี
ความผกู พันกบั หน่วยงาน มีความภาคภูมิใจในความสำเรจ็ ของงานทีท่ ำ และสง่ิ เหล่าน้ีจะส่งผลตอ่ ประสทิ ธภิ าพและ
ประสทิ ธิผลในการทำงานส่งผลตอ่ ถงึ ความก้าวหน้าและความสำเร็จขององค์การอกี ดว้ ย
วิรฬุ (2542) กล่าววา่ ความพึงพอใจเป็นความรูส้ ึกภายในจิตใจของมนุษยท์ ีไ่ ม่เหมอื นกัน ข้ึนอยกู่ บั แต่ละบคุ คลวา่ จะมี
ความคาดหมายกับสง่ิ หนง่ึ สิ่งใดอย่างไร ถา้ คาดหวังหรือมีความตง้ั ใจมากและไดร้ ับการตอบสนองดว้ ยดีจะมีความพงึ พอใจ
มากแตใ่ นทางตรงกันข้ามอาจผิดหวังหรือไม่พึงพอใจเป็นอยา่ งย่งิ เมื่อไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองตามที่คาดหวังไวท้ ้ังนีข้ ้นึ อยู่
กบั สิ่งท่ีตั้งใจไว้วา่ จะมีมากหรอื น้อยสอดคลอ้ งกบั ฉัตรชยั (2535) กล่าวว่า ความพงึ พอใจหมายถงึ ความรู้สกึ หรอื ทัศนคติ
ของบุคคลทม่ี ตี ่อสง่ิ หนง่ึ หรือปัจจยั ต่างๆที่เกยี่ วข้อง ความรสู้ กึ พอใจจะเกดิ ข้นึ เม่ือความต้องการของบุคคลได้รับการ
ตอบสนองหรอื บรรลุจุดมุง่ หมายในระดบั หน่งึ ความรูส้ กึ ดังกล่าวจะลดลงหรือไม่เกดิ ขน้ึ หากความตอ้ งการหรือ
จุดมุ่งหมายน้ันไม่ไดร้ ับการตอบสนอง
กติ ตมิ า (2529) กล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถงึ ความร้สู ึกชอบหรือพอใจทม่ี ีตอ่ องคป์ ระกอบและส่ิงจงู ใจในดา้ นตา่ งๆ
เม่อื ได้รับการตอบสนอง

23

กาญจนา (2546) กลา่ ววา่ ความพึงพอใจของมนษุ ยเ์ ป็นการแสดงออกทางพฤติกรรมท่ีเปน็ นามธรรม ไม่สามารถ
มองเห็นเปน็ รปู ร่างได้ การท่เี ราจะทราบวา่ บุคคลมีความพงึ พอใจหรือไม่ สามารถสังเกตโดยการแสดงออกท่คี อ่ นข้าง
สลับซับซ้อนและตอ้ งมีสง่ิ เรา้ ท่ตี รงตอ่ ความตอ้ งการของบุคคล จงึ จะทำให้บคุ คลเกิดความพึงพอใจ ดังนัน้ การสิง่ เรา้ จึง
เปน็ แรงจูงใจของบุคคลน้ันให้เกิดความพงึ พอใจในงานน้นั
นภารตั น์ (2544) กลา่ วว่า ความพึงพอใจเปน็ ความรูส้ ึกทางบวกความรู้สึกทางลบและความสุขท่ีมคี วามสมั พันธก์ ันอย่าง
ซับซอ้ น โดยความพงึ พอใจจะเกิดข้นึ เมอื่ ความรสู้ ึกทางบวกมากกวา่ ทางลบ
เทพพนม และสวิง (2540) กล่าวว่า ความพึงพอใจเป็นภาวะของความพึงใจหรอื ภาวะทมี่ ีอารมณ์ในทางบวกท่ีเกิดขึ้น
เน่อื งจากการประเมินประสบการณข์ องคนๆหนึ่ง สง่ิ ท่ขี าดหายไประหว่างการเสนอให้กบั สิ่งท่ไี ดร้ บั จะเป็นรากฐานของ
การพอใจและไม่พอใจได้
สง่า (2540) กล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถงึ ความรู้สึกท่ีเกิดข้ึนเม่ือไดร้ ับผลสำเร็จตามความมงุ่ หมายหรอื เป็นความรสู้ กึ
ขัน้ สุดทา้ ยท่ไี ด้รบั ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ จากการตรวจเอกสารขา้ งตน้ สรุปไดว้ า่ ความพงึ พอใจ หมายถงึ ความรสู้ ึกที่
ดหี รือทัศนคติที่ดขี องบุคคล ซ่งึ มกั เกดิ จากการได้รบั การตอบสนองตามท่ตี นต้องการ ก็จะเกิดความรสู้ กึ ทด่ี ีต่อส่ิงนน้ั
ตรงกนั ข้ามหากความตอ้ งการของตนไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองความไม่พึงพอใจกจ็ ะเกิดขน้ึ

แนวคดิ เกี่ยวกบั ความพึงพอใจ
Shelly อ้างโดย ประกายดาว (2536) ได้เสนอแนวคิดเก่ยี วกบั ความพึงพอใจ ว่าความพึงพอใจเป็นความรู้สกึ

สองแบบของมนษุ ย์ คือ ความรูส้ ึกทางบวกและความรู้สกึ ทางลบ ความรู้สึกทางบวกเป็นความรู้สึกทเ่ี กิดข้ึนแลว้ จะทำให้
เกิดความสุข ความสุขน้ีเปน็ ความรูส้ กึ ทแี่ ตกต่างจากความรู้สกึ ทางบวกอื่นๆ กล่าวคือ เปน็ ความรู้สึกทีม่ รี ะบบยอ้ นกลบั
ความสุขสามารถทำให้เกิดความรู้สกึ ทางบวกเพ่ิมขน้ึ ไดอ้ กี ดังนั้นจะเห็นได้วา่ ความสุขเป็นความรสู้ ึกท่ีสลับซับซ้อนและ
ความสขุ น้ีจะมผี ลต่อบุคคลมากกว่าความรูส้ กึ ในทางบวกอ่ืนๆ ขณะทวี่ ิชัย (2531) กลา่ วว่า แนวคิดความพึงพอใจ มสี ว่ น
เก่ยี วขอ้ งกับความตอ้ งการของมนษุ ย์ กล่าวคอื ความพึงพอใจจะเกิดขึน้ ได้ก็ต่อเมอื่ ความตอ้ งการของมนุษยไ์ ด้รับการ
ตอบสนอง ซง่ึ มนุษย์ไม่วา่ อยใู่ นท่ีใดย่อมมีความตอ้ งการขัน้ พน้ื ฐานไม่ตา่ งกนั

พิทักษ์ (2538) กล่าววา่ ความพงึ พอใจเปน็ ปฏิกริ ิยาด้านความรู้สกึ ตอ่ ส่ิงเร้าหรอื สิ่งกระตนุ้ ที่แสดงผลออกมาใน
ลกั ษณะของผลลัพธส์ ุดท้ายของกระบวนการประเมนิ โดยบ่งบอกทิศทางของผลการประเมนิ วา่ เปน็ ไปในลกั ษณะทศิ
ทางบวกหรอื ทศิ ทางลบหรือไม่มปี ฏกิ ิรยิ าคือเฉยๆ ต่อส่งิ เร้าหรือส่ิงทม่ี ากระตุ้น

สุเทพ (2541) ได้สรุปว่า สิ่งจูงใจท่ใี ชเ้ ป็นเครื่องมอื กระตุ้นใหบ้ ุคคลเกดิ ความพงึ พอใจ มีดว้ ยกนั 4 ประการ คือ

1. สง่ิ จูงใจทเี่ ป็นวตั ถุ (material inducement) ได้แก่ เงิน สงิ่ ของ หรอื สภาวะทางกายทใี่ ห้แก่ผู้
ประกอบกจิ กรรมต่างๆ
2. สภาพทางกายท่พี งึ ปรารถนา (desirable physical condition ) คือ ส่ิงแวดลอ้ มในการ
ประกอบกจิ กรรมต่างๆ ซึง่ เป็นส่ิงสำคัญอยา่ งหนึง่ อันก่อใหเ้ กดิ ความสุขทางกาย

3. ผลประโยชน์ทางอดุ มคติ (ideal benefaction) หมายถึง ส่งิ ต่างๆที่สนองความตอ้ งการของบุคคล
4. ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) หมายถงึ ความสมั พันธฉ์ นั ท์มติ รกบั ผู้
ร่วมกจิ กรรม อันจะทำใหเ้ กดิ ความผกู พนั ความพงึ พอใจและสภาพการร่วมกนั อันเปน็ ความพงึ พอใจของบุคคลในด้าน
สังคมหรอื ความมั่นคงในสงั คม ซึ่งจะทำใหร้ ู้สึกมีหลกั ประกนั และมคี วามม่ันคงในการประกอบกจิ กรรม

24

ขณะที่ ปรยี ากร (2535) ไดม้ ีการสรปุ ว่า ปจั จัยหรอื องคป์ ระกอบท่ีใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือบง่ ช้ีถึงปญั หาทีเ่ กี่ยวกบั ความ
พึงพอใจในการทำงานนัน้ มี 3 ประการ คือ

ปัจจยั ด้านบุคคล (personal factors) หมายถงึ คุณลักษณะส่วนตัวของบคุ คลทเ่ี ก่ยี วข้องกับ
งาน ไดแ้ ก่ ประสบการณ์ในการทำงาน เพศ จำนวนสมาชกิ ในความรับผดิ ชอบ อายุ เวลาในการทำงาน การศึกษา
เงนิ เดือน ความสนใจ เปน็ ตน้

ปจั จยั ดา้ นงาน (factor in the Job) ได้แก่ ลกั ษณะของงาน ทักษะในการทำงาน ฐานะทาง
วชิ าชพี ขนาดของหน่วยงาน ความห่างไกลของบ้านและทที่ ำงาน สภาพทางภมู ศิ าสตร์ เป็นต้น

ปัจจยั ด้านการจดั การ (factors controllable by management) ไดแ้ ก่ ความมน่ั คงในงาน
รายรับ ผลประโยชน์ โอกาสกา้ วหนา้ อำนาจตามตำแหนง่ หน้าที่ สภาพการทำงาน เพ่อื นรว่ มงาน ความรบั ผิด การ
สือ่ สารกับผ้บู ังคบั บญั ชา ความศรัทธาในตัวผู้บรหิ าร การนเิ ทศงาน เปน็ ตน้

ทฤษฎีเกีย่ วกับความพงึ พอใจ
Kotler and Armstrong (2002) รายงานวา่ พฤตกิ รรมของมนุษย์เกิดขนึ้ ต้องมีส่งิ จูงใจ (motive) หรอื แรงขบั ดัน

(drive) เปน็ ความตอ้ งการทกี่ ดดนั จนมากพอท่จี ะจูงใจใหบ้ ุคคลเกดิ พฤตกิ รรมเพือ่ ตอบสนองความต้องการของตนเอง ซง่ึ
ความต้องการของแต่ละคนไมเ่ หมือนกัน ความต้องการบางอยา่ งเปน็ ความต้องการทางชวี วทิ ยา(biological) เกดิ ขน้ึ จาก
สภาวะตงึ เครยี ด เช่น ความหวิ กระหายหรอื ความลำบากบางอย่าง เป็นความตอ้ งการทางจิตวิทยา (psychological) เกิด
จากความตอ้ งการการยอมรับ (recognition) การยกย่อง (esteem) หรือการเปน็ เจ้าของทรัพยส์ ิน (belonging) ความ
ต้องการส่วนใหญอ่ าจไม่มากพอที่จะจงู ใจให้บุคคลกระทำในชว่ งเวลาน้ัน ความตอ้ งการกลายเปน็ ส่ิงจงู ใจ เมือ่ ได้รับการ
กระตนุ้ อยา่ งเพียงพอจนเกิดความตึงเครียด โดยทฤษฎที ไ่ี ดร้ ับความนยิ มมากที่สุด มี 2 ทฤษฎี คอื ทฤษฎขี องอับราฮัม
มาสโลว์ และทฤษฎีของซกิ มันด์ ฟรอยด์

1. ทฤษฎีแรงจูงใจของมาสโลว์ (Maslow’s theory motivation)
อับราฮมั มาสโลว์ (A.H.Maslow) ค้นหาวิธีท่ีจะอธิบายว่าทำไมคนจึงถูกผลักดนั โดยความตอ้ งการบางอยา่ ง ณ
เวลาหนงึ่ ทำไมคนหน่ึงจงึ ทุ่มเทเวลาและพลงั งานอยา่ งมากเพ่อื ให้ได้มาซง่ึ ความปลอดภัยของตนเองแต่อกี คนหนึ่งกลับทำ
สิง่ เหลา่ น้นั เพ่ือใหไ้ ด้รับการยกย่องนบั ถือจากผอู้ ื่น คำตอบของมาสโลว์ คอื ความตอ้ งการของมนุษย์จะถูกเรยี งตามลำดับ
จากส่งิ ท่กี ดดนั มากท่ีสดุ ไปถงึ นอ้ ยท่สี ุด ทฤษฎีของมาสโลว์ไดจ้ ัดลำดับความตอ้ งการตามความสำคญั คือ
1.1 ความต้องการทางกาย (physiological needs) เปน็ ความต้องการพ้ืนฐาน คอื อาหาร ท่พี ัก อากาศ ยารักษาโรค
1.2 ความตอ้ งการความปลอดภัย (safety needs) เปน็ ความต้องการท่ีเหนือกว่า ความตอ้ งการเพ่อื ความอยรู่ อด เปน็
ความต้องการในด้านความปลอดภัยจากอนั ตราย
1.3 ความตอ้ งการทางสงั คม (social needs) เปน็ การต้องการการยอมรบั จากเพื่อน
1.4 ความตอ้ งการการยกยอ่ ง (esteem needs) เป็นความต้องการการยกยอ่ งส่วนตวั ความนบั ถือ
และสถานะทางสังคม
1.5 ความต้องการใหต้ นประสบความสำเร็จ (self – actualization needs) เปน็ ความตอ้ งการ
สูงสุดของแต่ละบุคคล ความตอ้ งการทำทกุ ส่ิงทกุ อยา่ งได้สำเรจ็

บุคคลพยายามทีส่ รา้ งความพึงพอใจใหก้ บั ความตอ้ งการที่สำคญั ทสี่ ุดเป็นอันดับแรกกอ่ นเม่ือความตอ้ งการน้ัน
ไดร้ บั ความพึงพอใจ ความต้องการน้ันก็จะหมดลงและเป็นตัวกระตุ้นให้บคุ คลพยายามสร้างความพึงพอใจใหก้ บั ความ
ต้องการทสี่ ำคญั ท่ีสดุ ลำดบั ตอ่ ไป ตวั อยา่ ง เชน่ คนทีอ่ ดอยาก (ความต้องการทางกาย) จะไมส่ นใจต่องานศลิ ปะชนิ้ ลา่ สดุ

25

(ความตอ้ งการสูงสดุ ) หรือไมต่ อ้ งการยกยอ่ งจากผู้อืน่ หรือไม่ต้องการแม้แตอ่ ากาศที่บริสทุ ธิ์ (ความปลอดภัย) แต่เมือ่
ความตอ้ งการแต่ละข้นั ไดร้ ับความพงึ พอใจแลว้ กจ็ ะมีความตอ้ งการในข้นั ลำดบั ตอ่ ไป

2. ทฤษฎแี รงจูงใจของฟรอยด์
ซกิ มันด์ ฟรอยด์ ( S. M. Freud) ตัง้ สมมุติฐานวา่ บุคคลมักไม่รตู้ ัวมากนักวา่ พลังทางจติ วทิ ยามีสว่ นชว่ ยสร้างให้เกิด
พฤติกรรม ฟรอยด์พบว่าบคุ คลเพิม่ และควบคุมสงิ่ เรา้ หลายอยา่ ง สิง่ เร้าเหล่าน้อี ยู่นอกเหนือการควบคุมอย่างส้นิ เชงิ
บุคคลจึงมคี วามฝนั พดู คำทไ่ี ม่ตง้ั ใจพูด มีอารมณอ์ ยู่เหนือเหตุผลและมพี ฤติกรรมหลอกหลอนหรือเกดิ อาการวติ กจริต
อยา่ งมาก ขณะท่ี ชารณิ ี (2535) ไดเ้ สนอทฤษฎีการแสวงหาความพึงพอใจไวว้ า่ บุคคลพอใจจะกระทำสงิ่ ใดๆทีใ่ หม้ ี
ความสขุ และจะหลกี เลี่ยงไมก่ ระทำในส่งิ ทเ่ี ขาจะไดร้ ับความทุกขห์ รอื ความยากลำบาก โดยอาจแบ่งประเภทความพอใจ
กรณนี ไ้ี ด้ 3 ประเภท คอื

1. ความพอใจด้านจิตวทิ ยา (psychological hedonism) เป็นทรรศนะของความพึงพอใจวา่
มนษุ ยโ์ ดยธรรมชาตจิ ะมีความแสวงหาความสุขส่วนตวั หรือหลีกเล่ียงจากความทกุ ขใ์ ดๆ

2. ความพอใจเก่ยี วกับตนเอง (egoistic hedonism) เป็นทรรศนะของความพอใจว่ามนษุ ย์จะ
พยายามแสวงหาความสุขสว่ นตัว แต่ไม่จำเป็นวา่ การแสวงหาความสุขตอ้ งเป็นธรรมชาตขิ องมนุษยเ์ สมอไป

3. ความพอใจเกีย่ วกบั จรยิ ธรรม (ethical hedonism) ทรรศนะนถี้ ือว่ามนุษยแ์ สวงหาความสุข
เพอื่ ผลประโยชน์ของมวลมนษุ ยห์ รอื สงั คมทต่ี นเป็นสมาชกิ อยู่และเปน็ ผู้ได้รับผลประโยชน์ผูห้ น่งึ ด้วย

26

บทที่ 3

วิธีการดำเนินการวิจยั

การวิจยั เร่ือง การพัฒนาชุดกิจกรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ เรอื่ ง Direct and Indirect Speech ของนักเรยี นช้นั
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 โรงเรยี นธิดาแมพ่ ระ จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ปกี ารศึกษา 2564 มวี ิธกี ารดำเนินงานดังนี้

1. ประชากร/ กลุ่มตวั อย่าง
2. เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ัย
3. การส้รางเครื่องมือในการวิจยั
4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
5. การวเิ คราะห์ข้อมูล
6. สถติ ิทใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล

3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรทใี่ ช้ในการวิจยั ได้แก่ นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างท่ีใชใ้ นการวจิ ัยครง้ั นี้ คือ นักเรียนชั้น

มธั ยมศึกษาปที ่ี 4/1 ทีก่ ำลงั เรียนวิชา ภาษาองั กฤษ (พ้ืนฐาน) อ31102 เร่ือง Direct and Indirect Speech ภาคเรียนท่ี
2 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรยี นธิดาแม่พระ อำเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

3.2 เครื่องมือวิจัย/การสร้างเครอื่ งมือวจิ ยั
เครอ่ื งมือที่ใชใ้ นการดำเนินการวิจัยในครงั้ น้ี มดี ังนี้
3.2.1 ชุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
3.2.2 แบบทดสอบทางการเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
3.2.3 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
3.2.4 แบบประเมินการเรียนรู้โดยแบบกำกบั ตนเอง
3.2.5 แบบสอบถามระดับความพึงพอใจตอ่ การเรียนไวยากรณภ์ าษาอังกฤษเรยี นรู้แบบกำกบั ตนเอง

3.3 การสร้างเครื่องมอื ในการวิจัย
3.3.1 ชุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
1) ศกึ ษาหลักการวิธกี ารสอนโดยใช้โครงงานจากเอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวข้อง
2) ศึกษาหลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานพุทธศักราช 2251 และหลกั สตู รสถานศกึ ษาโรงเรยี นธดิ าแม่พระ

ในรายวิชาภาษาอังกฤษ 2 อ31102 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยศกึ ษาสาระการ
เรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั โดยมโี ครงสรา้ งรายวชิ าภาษาองั กฤษ 2 ซึง่ มที งั้ หมด 3 หนว่ ย
การเรียนรู้ ผู้วิชายได้เลอื กมาใชจ้ ำนวน 1 เร่ืองคอื เรื่อง Direct and Indirect Speech

3) สรา้ งชดุ กิจกรรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 45 ให้สอดคล้องกับ
คำอธิบายรายวิชาและผลการเรียนรู้ท่คี าดหวงั แลว้ เลือก 1 เร่ืองจากหนว่ ยการเรียนรู้ จัดทำชดุ กจิ กรรม 15 กิจกรรม ใช้
เวลา 5 คาบเรียน คาบละ 50 นาที

27

4) นำชดุ กิจกรรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษทส่ี ร้างขึ้น ให้ที่ปรึกษาพิจารณาความเหมาะสมของแผนการ
จดั การเรยี นรู้ ตรวจความถูกต้องของเน้ือหาสาระ กิจการรมการเรียนการสอน การวดั ผลประเมินผล ใหข้ อ้ เสนอแนะ
และปรบั ปรุงแกไ้ ขตามข้อแนะนำของท่ีปรกึ ษา

3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
ผวู้ ิจยั ไดเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มลู ดงั นี้
3.4.1 ขั้นเตรียม
ผู้สอนช้แี จงและอธบิ ายถงึ วัตถปุ ระสงค์ของการเรียนรู้วชิ าภาษาองั กฤษ 2 โดยใชช้ ุดกิจกรรมไวยากรณ์

ภาษาองั กฤษทม่ี กี ารเรียนรู้แบบกำกับตนเอง
3.4.2 ขน้ั ดำเนินการ
1. ผสู้ อนใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน วิชาภาษาองั กฤษ จำนวน 10 ขอ้ ใชเ้ วลา 30 นาที เกยี่ วกบั

ความรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเร่ือง Direct and Indirect Speech เพ่อื ใหน้ ักเรียนทราบความรู้กอ่ นใช้ชุดกิจกรรม
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษแบบกำกบั ตนเอง ท้งั นผ้ี ู้สอนได้เฉลยคำตอบใหน้ ักเรยี นทราบ

2. ผู้สอนดำเนินการสอนโดยชดุ กิจกรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ จำนวน 4 ชุด ใช้เวลาชุดละ 50 นาที และใน
การสอนแต่ละชดุ ผู้สอนจะใหน้ กั เรยี นเรยี นรู้โดยแบบกำกับตนเองทกุ ๆ คร้งั และทำแบบฝกึ หลงั จากเรยี นทั้ง 4 ชดุ
กจิ กรรม

3. เมอ่ื ครบ 4 ชดุ กจิ กรรมแล้ว ผู้สอนให้นักเรยี นทำแบบทดสอบวชิ าภาษาอังกฤษ จำนวน 20 ข้อใช้เวลา 50
นาที เก่ียวกบั ความรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเรอ่ื ง Direct and Indirect Speech ซึ่งเป็นขอ้ สอบคู่ขนาน เพื่อให้นกั เรียน
ทราบความรู้ของตนเองหลังใช้ชุดกจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษโดยแบบกำกบั ตนเอง ท้ังน้ีผูส้ อนไดเ้ ฉลยคำตอบให้
นกั เรยี นทราบ

4. ทิง้ ระยะ 1 สปั ดาห์ใหน้ ักเรียนกลับไปทบทวนไวยากรณ์ทีเ่ รียนท้ังหมดจากแบบฝกึ หัด และแบบทดสอบ
หลงั จากนั้นผู้สอนให้นกั เรยี นทำแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนภาษาองั กฤษ จำนวน 20 ข้อใชว้ เลา 50 นาที

3.4.3 ข้ันสรุป
1. ผู้สอนใหน้ กั เรยี นสรุปผังความคดิ เรือ่ งไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ และให้นำมาเสนอใหเ้ พ่อื ๆ ฟัง และให้นักเรยี น
รว่ มกันสรปุ ว่าของใครถูกตอ้ ง และใหร้ ายละเอียดมากท่ีสุด
2. ผูส้ อนใหน้ กั เรียนทำแบบประเมินการกำกบั ตนเอง จำนวน 1 ชุดทส่ี ร้างขน้ึ
3. ผู้สอนให้นกั เรียนทำแบบสอบถามความพงึ พอใจของนกั เรียนหลงั จากการสอนส้นิ สดุ ลง
4. ผู้วจิ ยั รวบรวมขอ้ มูลทง้ั หมดเพ่อื นำไปวเิ คราะห์และประมวลผลทางสถิติ

3.5 การวเิ คราะห์ข้อมลู
การวเิ คราะหข์ ้อมูลทีไ่ ดจ้ ากการดำเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผวู้ ิจัยได้ทำการวิเคราะหข์ อ้ มูล โดยใช้โปรแกรม

ทางสถติ ิสำเรจ็ รปู โดยมีรายละเอยี ด ดังนี้
1. ผวู้ ิจัยได้นำข้อมูลท้ังหมดมาวเิ คราะห์ โดยใช้สถิติพ้ืนฐาน ได้แก่ คา่ ร้อยละ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน และ
t-test (dependent sample
2. ประมวลผลโดยใชโ้ ปรแกำรมสำเรจ็ รูป แปลผล และวิเคราะห์ขอ้ มลู
3. อภปิ รายผล โดยใช้ตารางและการพรรณนา

28

3.6 ขั้นตอนและวธิ ีการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
1. ผูว้ ิจยั นำข้อมูลที่ไดจ้ ากแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิก์ ่อนเรยี นและหลงั เรยี น แบบสอบถามเจตคตติ ่อ

ภาษาองั กฤษกอ่ นเรียนและหลังเรยี น และแบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอน
2. ผวู้ ิจัยวิเคราะห์ข้อมลู โดยการหาค่าร้อยละ คา่ เฉลย่ี ค่าสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานของผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี น

แบบรว่ มมือ และเจตคติตอ่ การเรยี แบบรว่ มมอื
3. ผู้วิจยั วิเคราะห์เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี นแบบร่วมมอื โดยใช้ t-test
4. ผ้วู ิจัยวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บเจตคติกอ่ นเรยี นและหลังเรียนแบบรว่ มมือโดยใช้ t-test

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล
การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ทไี่ ดจ้ ากการดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจยั ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้โปรแกรม

ทางสถิติสำเรจ็ รปู โดยมีรายละเอยี ดดังนี้
1. ผู้วิจัยได้นำข้อมูลทง้ั หมดมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิตพิ น้ื ฐาน ไดแ้ ก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉลีย่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน

และ T-test (Dependent Sample)
2. ประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมสำเร็จรปู แปลผล และวเิ คราะห์ขอ้ มูล
3. อภปิ รายผล โดยใช้ตารางและการพรรณนา

3.6 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะข้อมลู
การวิจัยครง้ั น้ี ผู้รายงานใชส้ ถิตใิ นการวิเคราะห์ข้อมลู ดังนี้
3.6.1 สถิตพิ ้นื ฐาน ได้แก่
1. ร้อยละ
2. คา่ เฉลยี่
3. การหาสว่ นเบยี่ งเบนมาตฐาน (Standard Deviation)
3.6.2 สถิติที่ใช้ในการวเิ คราะหห์ าคุณภาพของเครื่องมอื
1. การหาค่าความเที่ยงตรง ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียนโดยใช้สตู รดัชนีค่าความสอนคล้อง IOC
2. การหาค่าความยากงา่ ย (P) ของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนโดยใช้สูตร
3. หาคว่าความเชือ่ ม่นั ของแบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรยี น โดยหาค่าสมั ฤทธแิ์ อลฟา (Coefficient

3.6.3 สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูลเพ่ือทดสอบสมมติฐาน
1. เปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นกอ่ นและหลงั เรียนโดยใช้สตู รหาค่า t-test

29

บทที่ 4

ผลการวจิ ัย

การพัฒนาชดุ กิจกรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ เรอื่ ง Direct and Indirect Speech ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษา
ปี

ท่ี 4 โรงเรียนธิดาแม่พระ จงั หวัดสรุ าษฎรธ์ านี ปกี ารศึกษา 2564 มวี ตั ถุประสงคข์ องการวิจยั เพอื่ (1) พัฒนาชุดกจิ กรรม
ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษเรอ่ื ง Direct and Indirect Speech ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 โดยการเรียนรู้แบบกำกบั
ตนเอง (2) เพอ่ื ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวชิ าภาษาอังกฤษ นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 (3) เพื่อศกึ ษาพฤติกรรม
การเรยี นรู้แบบกำกบั ตนเองของนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 (4) เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจต่อการเรียนรู้ชดุ กจิ กรรม
ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ และการเรยี นรู้ชุดกจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ และการเรยี นรู้แบบกำกับตนเอง นักเรยี นชั้น
มัธยมศึกษาปที ่ี 4 โดยผู้วิจยั ขอเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวจิ ยั แบ่งเปน็ 4 ตอน ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 ผลการเรียนไวยากรณ์ภาษาองั กฤษโดยใชช้ ดุ กจิ กรรม และการเรยี นรู้แบบกำกับตนเอง
ตอนที่ 2 ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ โดยใช้ชุดกจิ กรรมและการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง
ของนักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4
ตอนท่ี 3 พฤติกรรมการเรยี นรู้แบบกำกบั ตนเองของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4
ตอนที่ 4 ผลการศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ที่มตี ่อชุดกจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
และการเรยี นรู้แบบกำกับตนเอง

ตอนที่ 1 ผลการเรียนไวยากรณภ์ าษาองั กฤษโดยใช้ชดุ กิจกรรมและการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง
ตารางที่ 4.1 แสดงผลคะแนนแบบทดสอบระหว่างเรียนใชช้ ุดกจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ โดยการเรียนรแู้ บบกำกบั
ตนเอง สำหรับนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 นกั เรยี นจำนวน 37 คน

ลำดบั ที่ คะแนนรวมชุดกิจกรรมจำนวน 4 ชดุ ลำดับที่ คะแนนรวมชุดกิจกรรมจำนวน 4 ชุด

คะแนนรวม คิดเปน็ ร้อยละ แปลผล คะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ แปลผล

160 160

1 98 61.250 ไม่ผ่าน 20 136 85.00 ผ่าน

2 100 62.500 ไมผ่ า่ น 21 134 83.75 ผา่ น

3 125 78.125 ผ่าน 22 132 82.50 ผ่าน

4 115 71.875 ผ่าน 23 135 84.38 ผ่าน

5 120 75.000 ผา่ น 24 134 83.75 ผา่ น

30

6 113 70.625 ผ่าน 25 129 80.63 ผ่าน
83.75 ผา่ น
7 108 67.500 ไม่ผา่ น 26 134 82.50 ผา่ น
81.88 ผา่ น
8 99 61.875 ไม่ผา่ น 27 132 80.63 ผา่ น
82.50 ผา่ น
9 120 75.000 ผ่าน 28 131 81.88 ผา่ น
80.00 ผา่ น
10 125 78.125 ผ่าน 29 129 83.75 ผา่ น
83.13 ผ่าน
11 115 71.875 ผา่ น 30 132 83.13 ผา่ น
83.75 ผ่าน
12 132 82.500 ผ่าน 31 131 81.88 ผ่าน

13 125 78.125 ผา่ น 32 128

14 115 71.875 ผ่าน 33 134

15 129 80.625 ผา่ น 34 133

16 114 71.250 ผา่ น 35 133

17 125 78.125 ผ่าน 36 134

18 120 75.000 ผ่าน 37 131

19 120 75.000 ผ่าน

จากตารางที่ 4.1 แสดงผลคะแนนระหว่างเรียนโดยใชช้ ุดกิจกรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ และการเรียนรู้แบบ
กำกับตนเองของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 จำนวน 37 คน พบวา่ มีนกั เรียนผ่านเกณฑรอ้ ยละ 70 จำนวน 34 คน คดิ
เป็นรอ้ ยละ 91.89 และมนี กั เรยี นไม่ผ่านเกณฑจ์ ำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 8.11

ตารางที่ 4.2 เปรยี บเทียบคะแนนทดสอบทางการเรยี นไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ โดยใชช้ ุดกิจกรรมและการเรยี นรูแ้ บบ
กำกับตนเองของนกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 37 คน

การทดสอบ N คะแนนเต็ม Mean S.D. t

ก่อนเรียน 37.00 40 15.32 4.09 19.46

หลังเรียน 37.00 40 31.94 2.83

31

จากตารางที่ 4.2 เปรียบเทยี บคะแนนทดสอบทางการเรียนไวยากรณภ์ าษาองั กฤษกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น เมอ่ื
ใชช้ ุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ โดยการเรยี นรู้แบบกำกับตนเองของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 37 คน
พบวา่ คะแนนหลังเรยี นสูงกวา่ คะแนนกอ่ นเรยี น

ตอนที่ 2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ ของนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4

ตารางที่ 4.3 แสงคะแนนผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นหลังใชช้ ุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษโดยการเรียนรแู้ บบกำกับ
ตนเอง ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 37 ตน

คะแนนผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน ลำดบั ท่ี คะแนนผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น
ลำดับท่ี
20 คะแนนรวม คิดเปน็ รอ้ ยละ แปลผล
คะแนนรวม คิดเป็นร้อยละ แปลผล 21 20
22 17 85.00 ผ่าน
20 23 16 80.00 ผา่ น
24 18 90.00 ผ่าน
1 14 70.000 ผา่ น 25 17 85.00 ผ่าน
26 15 75.00 ผา่ น
2 16 80.000 ผ่าน 17 85.00 ผา่ น
16 80.00 ผ่าน
3 13 65.000 ไม่ผ่าน

4 13 65.000 ไม่ผ่าน

5 14 70.000 ผ่าน

6 18 90.000 ผา่ น

7 18 90.000 ผา่ น

8 16 80.000 ผ่าน 27 16 80.00 ผ่าน
9 18 90.000 ผา่ น 28 15 75.00 ผ่าน
10 18 90.000 ผา่ น 29 16 80.00 ผา่ น
11 18 90.000 ผา่ น 30 16 80.00 ผ่าน
12 16 80.000 ผา่ น 31 14 70.00 ผ่าน
13 16 80.000 ผา่ น 32 17 85.00 ผ่าน

32

14 16 80.000 ผา่ น 33 17 85.00 ผา่ น
15 17 17 85.00 ผา่ น
16 14 85.000 ผ่าน 34 16 80.00 ผ่าน
17 16 17 85.00 ผ่าน
18 17 70.000 ผ่าน 35 16 80.00 ผ่าน
19 18
80.000 ผา่ น 36

85.000 ผ่าน 37

90.000 ผา่ น

จากตารางท่ี 4.3 แสดงคะแนนผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนหลงั ใชช้ ดุ กิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ โดยการเรียนร้แู บบ
กำกบั ตนเอง สำหรบั นักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 นกั เรยี นจำนวน 37 คน พบว่ามีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี โดยมนี ักเรียนผา่ น
เกณฑ์ร้อยละ 94.59 จำนวน 35 คน และมนี ักเรยี นไม่ผ่านเกณฑ์ จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.41

ตอนท่ี 3 พฤติกรรมการเรยี นรู้แบบกำกับตนเองของนักเรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4

ตารางที่ 4.4 แสดงคะแนนแบบประเมินการเรียนรู้โดยการกำกบั ตนเองหลงั ใชช้ ดุ กิจกรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ ของ
นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 นกั เรยี นจำนวน 37 คน

ลำดบั ท่ี กำหนด รับ ดา้ น แปลผล

คนที่ 1 เป้าหมาย ผิดชอบ กำกบั ดีมาก
คนที่ 2 4 4 ดีมาก
คนที่ 3 5 4 มุ่งมั่น พฤติกรรม บรหิ าร เฉลี่ยรวม ดีมาก
คนที่ 4 5 4 ตง้ั ใจ ตนเอง เวลา ดีมาก
คนที่ 5 4 5
คนที่ 6 4 3 4 5 4 4.2 ดี
คนที่ 7 5 4 5 4 4 4.4 ดมี าก
คนที่ 8 5 4 4 5 4 4.4 ดมี าก
คนท่ี 9 4 4 5 4 4 4.4 ดีมาก
คนท่ี 10 5 5 4 4 4 3.8 ดีมาก
4 4 4 4 4 4.2 ดมี าก
5 4 4 4.4
5 4 4 4.2
4 4 4 4.4
4 444

33

คนท่ี 11 44 5 4 4 4.2 ดมี าก
คนที่ 12 54 5 4 4 4.4 ดีมาก
คนท่ี 13 44 5 5 4 4.4 ดีมาก
คนท่ี 14 35 5 4 4 4.2 ดมี าก
คนท่ี 15 44 4 444 ดมี าก
คนที่ 16 44 3 4 4 3.8
คนที่ 17 54 4 4 4 4.2 ดี
คนท่ี 18 54 5 5 5 4.8 ดีมาก
คนที่ 19 55 5 4 5 4.8 ดมี าก
คนท่ี 20 55 5 4 4 4.6 ดมี าก
คนที่ 21 45 5 4 5 4.6 ดมี าก
คนที่ 22 45 4 4 5 4.4 ดมี าก
คนท่ี 23 55 4 4 5 4.6 ดีมาก
คนที่ 24 54 4 4 4 4.2 ดีมาก
คนที่ 25 44 3 4 4 3.8 ดมี าก
คนท่ี 26 54 4 4 4 4.2
คนท่ี 27 54 4 5 4 4.4 ดี
คนท่ี 28 44 3 4 4 3.8 ดีมาก
คนที่ 29 44 3 4 4 3.8 ดมี าก
คนที่ 30 54 4 4 4 4.2
คนท่ี 31 54 4 4 4 4.2 ดี
คนที่ 32 54 4 4 4 4.2 ดี
คนที่ 33 54 4 4 4 4.2 ดมี าก
คนท่ี 34 54 5 4 5 4.6 ดมี าก
คนที่ 35 54 5 4 4 4.4 ดมี าก
คนที่ 36 54 4 4 4 4.2 ดีมาก
คนที่ 37 54 4 4 4 4.2 ดมี าก
คา่ เฉลยี่ x 4.43 4.30 4.48 4.17 4.22 4.32 ดีมาก
ดีมาก
ดีมาก
ดมี าก

34

จากตารางท่ี 4.4 แสดงคะแนนประเมินการเรยี นรู้โดยการกำกบั ตนเองหลงั ใช้ชดุ กิจกรรมไวยากรณ์
ภาษาองั กฤษ สำหรับนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4/1 นกั เรยี นจำนวน 37 คน พบว่ามนี ักเรียนเป็นผู้เรียนแบบกำกับ
ตนเองระดบั ดมี ากจำนวน 32 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 86.49 และระดบั ดี จำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 13.51

ตารางที่ 4.5 สรปุ ผลการประเมนิ โดยการเรยี นรู้แบบกำกับตนเองของนักเรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4/1

ท่ี รายการ คะแนนเฉลี่ย แปลผล
1 สามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะของตนเองได้ 4.43 ดี
2 มคี วามกระตือรือร้นและรับผิดชอบตอ่ งานทไี่ ดร้ บั มอบหมาย 4.30 ดี
3 มีความมุ่งมัน่ และตั้งใจทจ่ี ะทำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหส้ ำเรจ็ 4.48 ดี
4 สามารถกำกบั พฤตกิ รรมทต่ี นเองเพ่อื ให้เป็นไปตามเป้าหมายทีว่ างไว้ 4.17 ดี

ได้ 4.22 ดี
5 สามารถบริหารและจดั การเวลาในการทำงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 4.32 ดี

ภาพรวม

จากตารางท่ี 4.5 สรุปผลจากแบบสงั เกตพฤตดิ รรมการเรยี นรู้รายบุคคล โดยการเรยี นรู้แบบกำกับตนเองของ
นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 พบว่าภาพรวมอยู่ในระดบั ดี คะแนนเฉลยี่ 4.32 เมื่อพจิ ารณาเป็นรายข้อเรยี งลำดับจาก
คะแนนเฉลย่ี มาหไปหาน้อยดังน้ี มคี วามมงุ่ ม่ันและตั้งใจทจ่ี ะทำงานที่ไดร้ ับมอบหมายใหส้ ำเรจ็ คะแนนเฉล่ยี 4.48,
สามารถกำหนดเป้าหมายเฉพาะของตนเอง คะแนนเฉล่ยี 4.43, มคี วามกระตือรือร้นและรับผิดชอบต่องานทไ่ี ดร้ ับ
มอบหมาย คะแนนเฉลี่ย 4.30, สามารถบรกิ ารและจัดการเวลาในการทำงานไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.22,
และสามารถกำกับพฤติกรรมทีต่ นเองเพื่อใหเ้ ป็นไปตามท่ีเป้าหมายท่ีวางไว้ได้ คะแนนเฉลยี่ 4.17

ตอนท่ี 4 ผลการศกึ ษาความถึงพอใจของนกั เรยี นห้องเรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4/1 ทีม่ ีตอ่ ชุดกิจกรรมไวยากรณ์
ภาษาองั กฤษ และการเรยี นรแู้ บบกำกับตนเอง
ตารางที่ 4.6 ตารางแสดงระดบั ความพงึ พอใจของนกั เรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/1 ตอ่ ชุดกิจกรรมวชิ าภาษาองั กฤษ โดย
การเรียนรู้แบบกำกับตนเอง นกั เรียนจำนวน 37 คน

ที่ รายการ x S.D. แปลผล

1. ดา้ นครผู ้สู อน (หนา้ ท่ผี อู้ ำนวยการสอน)

1.1 ครูผสู้ อนมคี วามรู้ และความสามารถในการแนะนำนักเรยี น 4.68 0.52 มากท่สี ุด

1.2 ครผู สู้ อนใช้คำพดู ที่สุภาพเหมาะสม และเขา้ ใจง่าย 4.49 0.50 มาก

1.3 ครูผู้สอนเปิดโอกาสใหผ้ ้เู รยี นซักถามขอ้ สงสยั ได้ตลอดเวลา 4.46 0.50 มาก

1.4 ครูผสู้ อนแนะนำวธิ คี ดิ เม่อื ผู้เรยี นเกดิ ปญั หาในการเรยี น 4.49 0.50 มาก

เฉลย่ี รวม 4.53 0.51 มากท่สี ดุ

35

2. ด้านส่ือการเรยี นการสอน

2.1 ผเู้ รียนใช้สื่อการเรยี นรูใ้ นกิจกรรมการเรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ 4.00 0.40 มาก

2.2 สอ่ื การเรียนรู้ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเขา้ ใจเน้ือหาและเรียนรู้ไดเ้ ร็วข้ึน 4.41 0.49 มาก

2.3 สอ่ื การเรยี นรชู้ ่วยส่งเสริมให้ผู้เรยี นสามารถเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง 4.30 0.61 มาก

2.4 สื่อการเรยี นรมู้ ีความเหมาะสม สอดคล้องกบั เน้ือหากิจกรรมการเรียนรู้ 4.38 0.48 มาก

2.5 สือ่ การเรยี นรมู้ ีความทนั สมยั และน่าสนใจ 4.16 0.37 มาก

เฉลี่ยรวม 4.25 0.47 มาก

3. ด้านกิจกรรมการเรยี นรู้

3.1 ครูผู้สอนจดั กิจกรรมการเรียนร้อู ย่างสนุกสนาน 4.24 0.54 มาก

3.2 ผู้เรยี นมสี ว่ นรว่ มในกิจกรรมการเรยี นรู้ 4.35 0.48 มาก

3.3 เน้อื หาท่ีสอดแทรกในกิจกรรมการเรยี นรมู้ คี วามน่าสนใจ 4.49 0.50 มาก
กจิ กรรมการเรียนรู้ เปน็ กิจกรรมท่ีผู้เรยี นสามารถแสดงความคิดเห็นได้ 4.24 0.43 มาก

3.4 ทนั ที

3.5 ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของแต่ละเนื้อหามคี วามเหมาะสม 4.16 0.37 มาก

เฉล่ยี รวม 4.30 0.27 มาก

ภาพรวม 4.36 0.41 มาก

จากตารางที่ 4.6 ตารางแสดงระดบั ความพงึ พอใจของนกั เรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 ต่อชุดกิจกรรมวิชาภาษาอังกฤษ
โดยการเรียนรู้แบบกำกับตนเอง พบวา่ ภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก โดยเรยี งลำดับจากนอ้ ยไปหามาก ดา้ น
ครผู ู้สอนมากท่ีสดุ 4.53, ดา้ นสื่อการเรยี นการสอน 4.25 และดา้ นกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.29 ตามลำดับ

36

บทท่ี 5

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวิจัยคร้ังนี้มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่อื เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนภาษาองั กฤษเร่ือง Direct and
Indirect Speech ดว้ ยการพัฒนาชดุ กิจกรรมไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ เรือ่ ง Direct and Indirect Speech ของนักเรยี น

ชน้ั
มัธยมศึกษาปที ่ี 4 โรงเรียนธิดาแม่พระ จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี ปกี ารศกึ ษา 2564

วตั ถุประสงค์
1. เพอื่ พัฒนาชดุ กิจกรรมไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/1 โดยการเรยี นรู้แบบกำกบั

ตนเอง
2. เพอื่ ศกึ ษาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ ของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/1
3. เพื่อศึกษาพฤตดิ รรมการเรียนรู้แบบกำกับตนเองของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4/1
4. เพื่อศกึ ษาความพึงพอใจตอ่ การเรยี นรู้ชุดกิจกรรมไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ และการเรยี นรู้แบบกำกับตนเอง

ของนักเรียนช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4/1

สมมตฐิ าน
1. นกั เรยี นมีความสามารถในการเรยี นรู้โดยใช้ชุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ หลงั เรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน

อยา่ งมีนยั สำคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั 0.05
2. นักเรียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ มีคะแนนไม่ตำ่ กว่ารอ้ ยละ 70
3. นกั เรียนมพี ฤติกรรมการเรยี นรู้แบบกำกบั ตนเองอยู่ในระดบั มาก
4. นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/1 มคี วามพงึ พอใจต่อชุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษอยใู่ นระดบั มาก

ขอบเขตการวิจยั
ประชากร
ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจัยในคร้งั นเี้ ป็นนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นธิดาแมพ่ ระ อำเภอเมือง จงั หวัดสุ

ราษฎรธ์ านี ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2564
กลุ่มตวั อยา่ ง
เป็นนกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/1 โรงเรียนธิดาแมพ่ ระ อำเภอเมอื ง จงั หวัดสุราษฎร์ธานี ภาคเรียนท่ี 2

ปกี ารศกึ ษา 2564 ทไ่ี ดม้ าโดยการส่มุ อย่างง่ายโดยใชห้ ้องเรยี นเป็นหนว่ ยส่มุ จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 37 คน

เนอ้ื หาทใ่ี ชใ้ นการวิจยั (แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่นำมาทำการวจิ ยั ตามหลักสูตรปัจจุบนั )
เน้อื หาทีน่ ำมาใช้ในการทำวจิ ัยในชัน้ เรยี นครั้งนเ้ี ปน็ เนอื้ หาในหน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 แผนการจัดการ
เรียนรทู้ ี่

37

5 เร่อื ง Direct and Indirect Speech ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 ประกอบด้วย
1. Indirect Statement
2. Indirect Question
3. Indirect Command/ Request

เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั
เคร่ืองมือท่ใี ชใ้ นการดำเนนิ การวิจัยในคร้งั น้ี มดี ังน้ี
1. ชุดกิจกรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ
2. แบบทดสอบทางการเรยี นไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
3. แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ
4. แบบประเมนิ การเรียนรู้โดยแบบกำกบั ตนเอง
5. แบบสอบถามระดบั ความพึงพอใจตอ่ การเรียนไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ เรยี นรู้แบบกำกับตนเอง

การรวบรวมขอ้ มลู
ผวู้ จิ ัยไดเ้ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดงั นี้
1. ขน้ั เตรียม
ผู้สอนชแ้ี จงและอธบิ ายถงึ วัตถุประสงคข์ องการเรยี นรู้วชิ าภาษาอังกฤษ 2 โดยใช้ชุดกิจกรรมไวยากรณ์

ภาษาองั กฤษท่มี กี ารเรยี นรู้แบบกำกบั ตนเอง
2. ขนั้ ดำเนนิ การ
1. ผูส้ อนใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน วิชาภาษาองั กฤษ จำนวน 10 ข้อ ใชเ้ วลา 30 นาที เก่ยี วกับ

ความรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษเร่ือง Direct and Indirect Speech เพือ่ ให้นกั เรียนทราบความรู้ก่อนใชช้ ุดกิจกรรม
ไวยากรณ์ภาษาองั กฤษแบบกำกับตนเอง ท้งั นี้ผู้สอนไดเ้ ฉลยคำตอบให้นกั เรียนทราบ

2. ผู้สอนดำเนินการสอนโดยชุดกจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาองั กฤษ จำนวน 4 ชุด ใช้เวลาชุดละ 50 นาที และใน
การสอนแตล่ ะชดุ ผู้สอนจะใหน้ กั เรียนเรยี นรู้โดยแบบกำกับตนเองทกุ ๆ ครั้ง และทำแบบฝกึ หลังจากเรยี นทั้ง 4 ชดุ
กจิ กรรม

3. เมื่อครบ 4 ชดุ กจิ กรรมแล้ว ผู้สอนใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบวชิ าภาษาอังกฤษ จำนวน 20 ขอ้ ใช้เวลา 50
นาที เกย่ี วกับความรู้ไวยากรณภ์ าษาอังกฤษเร่ือง Direct and Indirect Speech ซ่งึ เป็นขอ้ สอบคู่ขนาน เพ่ือใหน้ กั เรยี น
ทราบความรู้ของตนเองหลงั ใช้ชุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษโดยแบบกำกับตนเอง ท้งั น้ีผู้สอนไดเ้ ฉลยคำตอบให้
นกั เรยี นทราบ

4. ทง้ิ ระยะ 1 สปั ดาหใ์ หน้ กั เรยี นกลับไปทบทวนไวยากรณ์ที่เรียนท้งั หมดจากแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ
หลังจากน้ันผ้สู อนใหน้ ักเรยี นทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาองั กฤษ จำนวน 20 ข้อใชว้ เลา 50 นาที

3. ข้นั สรปุ
1. ผูส้ อนให้นกั เรยี นสรุปผงั ความคดิ เร่ืองไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ และให้นำมาเสนอให้เพือ่ ๆ ฟงั และให้นักเรยี น
ร่วมกันสรุปวา่ ของใครถกู ต้อง และใหร้ ายละเอยี ดมากท่ีสุด
2. ผสู้ อนใหน้ ักเรียนทำแบบประเมินการกำกบั ตนเอง จำนวน 1 ชุดทส่ี ร้างขนึ้
3. ผสู้ อนให้นักเรียนทำแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนหลังจากการสอนสน้ิ สุดลง
4. ผูว้ ิจยั รวบรวมขอ้ มลู ทัง้ หมดเพ่ือนำไปวิเคราะห์และประมวลผลทางสถติ ิ

38

การวเิ คราะหข์ อ้ มลู
การวเิ คราะห์ขอ้ มูลท่ไี ด้จากการดำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผู้วิจัยได้ทำการวเิ คราะหข์ ้อมูล โดยใช้โปรแกรม

ทางสถติ ิสำเรจ็ รูป โดยมีรายละเอียดดังน้ี
1. ผู้วิจยั ไดน้ ำขอ้ มลู ทง้ั หมดมาวิเคราะห์ โดยใช้สถิตพิ ้นื ฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

และ T-test (Dependent Sample)
2. ประมวลผลโดยใช้ โปรแกรมสำเรจ็ รูป แปลผล และวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3. อภปิ รายผล โดยใช้ตารางและการพรรณนา

สรปุ ผลการวิจยั
ตอนท่ี 1 คะแนนระหวา่ งเรียนโดยใช้ชดุ กจิ กรรมไวยากรณ์ภาษาองั กฤษ และการเรียนรู้แบบกำกบั ตนเองของ

นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 37 คน พบวา่ มีนักเรยี นผา่ นเกณฑรอ้ ยละ 70 จำนวน 34 คน คดิ เปน็ ร้อย
ละ 91.89 และมีนกั เรยี นไม่ผ่านเกณฑจ์ ำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8.11

ตอนที่ 2 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังใช้ชดุ กจิ กรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ โดยการเรยี นร้แู บบกำกบั ตนเอง
สำหรับนักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 นักเรยี นจำนวน 37 คน พบว่ามคี ่าเฉลยี่ อยู่ท่ี โดยมีนกั เรียนผ่านเกณฑร์ อ้ ยละ
94.59 จำนวน 35 คน และมีนกั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์ จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 5.41

ตอนที่ 3 การเรยี นรู้โดยการกำกบั ตนเองหลังใชช้ ุดกิจกรรมไวยากรณภ์ าษาอังกฤษ สำหรบั นักเรียนชั้น
มธั ยมศึกษาปีท่ี 4/1 นักเรยี นจำนวน 37 คน พบว่ามนี กั เรียนเป็นผู้เรียนแบบกำกับตนเองระดบั ดีมากจำนวน 32 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 86.49 และระดับดี จำนวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 13.51

ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/1 ต่อชุดกิจกรรมวชิ าภาษาอังกฤษ โดยการเรียนรู้
แบบกำกบั ตนเอง พบวา่ ภาพรวมความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก โดยเรียงลำดบั จากนอ้ ยไปหามาก ดา้ นครูผู้สอนมากท่ีสดุ
4.53, ด้านสอ่ื การเรยี นการสอน 4.25 และดา้ นกจิ กรรมการเรียนรู้ 4.29 ตามลำดับ

ขอ้ คน้ พบจากงานวจิ ัย
การเรียนรู้แบบกำกับตนเอง มีผลดตี อ่ การเรียนรู้ของนักเรียน ซงึ่ สามารถทำให้นกั เรียนได้มีพฤตกิ รรมดา้ นความ

มุง่ มั่นในการเรียนรู้สงู และสามารถบริหารเวลาเนื่องจากผลการประเมินการเรียนรู้รายบุคคล โดยการกำกบั ตนเองอยู่ใน
ระดับดี รวมถึงพฤติกรรมตนเองให้เป็นไปตามที่ต้ังเป้าหมายไว้ได้ดี เพราะเรื่องการกำกับตนเองนั้นเป็นกิจกรรมใหม่ท่ี
นักเรียนยังไม่เคยใช้มาก่อน อีกท้ังควบคู่กับชุดกิจกรรมท่ีผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ให้ ทำให้นักเรียนมีอิสระทางความคิด
สามารถสรา้ งสรรค์และผลติ ผลงานของตนเองได้อย่างไรข้ อบเขตแตค่ รอบคลุมเน้ือหา สังเกตจากการนำเสนอผลงานหน้า
ชัน้ เรยี น

39

ข้อเสนอแนะ
ขอ้ เสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้

1. นักเรยี นอาจจะไมเ่ คยรู้จกั และไม่เคยใชก้ ารเรียนรู้แบบกำกบั ตนเองมาก่อน ทำให้นักเรยี นอาจจะสับสนใน
ช่วงแรกๆ เพราะฉะนนั้ ผู้สอนควรอธบิ าย และทำความเขา้ ใจกบั นักเรียนเกีย่ วกบั การจดั การเรยี นการสอนแบบกำกบั
ตนเองกอ่ น เพราะการเรียนรู้แบบกำกับตนเองนนั้ มที ้งั ขอ้ ดีและขอ้ เสีย หากนกั เรยี นสามารถกำกับตนเองไดต้ ามแบบแผน
ที่ครวู างไว้ นกั เรยี นกจ็ ะประสบผลสำเรจ็ ในการเรียน แต่หากนนักเรียนไมเ่ ข้าใจรูแบบการเรยี นแบบกำกับตนเองนนั้ กจ็ ะ
ทำให้นกั เรยี นไม่อยากใชก้ ารเรียบในรปู แบบนี้ และทำให้นกั เรียนมีทศั นคตทิ ไ่ี มด่ ตี อ่ วิชาท่ีเรยี นและส่งผลใหน้ กั เรียนมผี ล
การเรียนที่แยล่ ง

2. ผู้สอนควรศึกษาวิธีการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้และการออกแบบชดุ กจิ กรรมให้สอดคลอ้ งกับการเรยี นรู้แบบ
กำกับตนเอง

40

บรรณานุกรม

เอกสารและสิง่ อ้างองิ ภาษาไทย
กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2544). พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พค์ ุรสุ ภา

ลาดพร้าว
ไสว ฟกั ขาว. (2542). การจดั การเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลาง. กรงุ เทพฯ: บริษัท สำนกั พมิ พ์เอมพัน

จำกัด.
สำราญ คำยิง่ . (2552). Advanced English Grammar for High Learner. กรุงเทพฯ: อมรนิ ทร์ บุ๊ค เซน็ เตอร์

จำกัด
เอกสารและส่ิงอา้ งอิงภาษาองั กฤษ
Bibi, A. (2002). The comparative effectiveness of teaching English grammar with the help of textbook
and by using group work activities. Unpublished doctoral dissertation, Islamabad: Allama

Lqbal Open University
Kagan, 1994. “Teams Will Manage Social Skills and PIES through Structure”
McLeish, K. 2009. Attitude of Students Towards Cooperative Learning Methods at Knox

Community College: A Descriptive Study, Postgraduate Diploma in Education, Faculty of
Education and Liberal Studies, University of Technology, Jamaica.
Slavin, R.E. 1990. Developmental and motivational perspectives on cooperative learning: A
reconciliation. Child Development, 58.
Slavin, R.E. 1990. Cooperative learning: Theory, research, and practice. New Jersey: Prentice Hall.

41

ภาคผนวก ก

42

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ ง What are Clauses?

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง Direct and Indirect Speech

สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาองั กฤษ)

รหสั วชิ า อ 32102 รายวชิ าภาษาองั กฤษพื้นฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5

ปกี ารศกึ ษา 2564 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 5 ชั่วโมง

ผ้สู อน นางร่งุ ฤดี อาจคงหาญ โรงเรียนธิดาแมพ่ ระ

สปั ดาห์ที่ …………………… วนั ที่ ……………………… เดือน …………………………………….. พ.ศ. ………..….

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ช้ีวัด
มาตรฐาน ต 1.1: เข้าใจและตีความเรือ่ งทฟี่ ังและอ่านจากสอื่ ประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี
เหตผุ ล
ตวั ชีว้ ัด ม 5/1: ปฏบิ ัติตามคำแนะนำในคมู่ อื การใช้งานตา่ ง ๆ คำช้แี จง คำอธิบายและคำบรรยายที่ฟังและอา่ น
ตัวชี้วัด ม 5/4: จบั ใจความสำคัญ วิเคราะหค์ วามสรุปความ ตคี วาม และแสดงความคดิ เห็นจากการฟัง
และอา่ นเร่ืองที่เปน็ สารคดีและบนั เทิงคดี พรอ้ มทัง้ เหตผุ ลและยกตัวอย่างประกอบ

2. จุดประสงคป์ ลายทาง
1. นกั เรียนมคี วามรู้ความเขา้ ใจในการตีความ จับใจความจากประโยค indirect Speech ได้ (K)
2. นกั เรียนสามารถตคี วาม จบั ใจความจากประโยค indirect Speech ได้ (K)
3. นกั เรยี นเรยี นสามารถแสดงความคิดเหน็ พร้อมทั้งใหเ้ หตุผลประกอบได้ (A)

4. สาระสำคัญ
วธิ ีการนำเอาคำพดู ทไี่ ดย้ ินมากล่าวถึงอีกครง้ั ในภาษาองั กฤษ สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภทด้วยกัน คอื

Direct Speech คอื การยกคำพูดจรงิ ๆ ของผ้พู ูดทั้งหมดมาเล่าให้ฟังโดยไม่เปลี่ยนแปลง โดยอาศัยการนำคำพดู
นนั้ มาไวอ้ ย่ใู นเคร่ืองหมายคำพดู (Quotation Marks (“…”) โดยมี comma (,) ระหว่างประโยคท่ียกมาพดู ถึง
และ ประโยคหลัก โดยประธานท่อี ยู่ในเครอ่ื งหมายคำพูดจะตอ้ งเปน็ ตัวใหญเ่ สมอ เชน่

4. สาระการเรียนรู้
- โครงสร้างประโยค/ไวยากรณ์

- Reported Speech

- Reported Questions
- Word Changes in Reported Speech
- Reporting Verbs

43

5. สมรรถนะของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร

6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค/์ อัตลักษณ์
1. มีวินัย/ รักวินยั
2. ใฝ่เรยี นรู้/ รักเรียน

44

3. อยู่อย่างพอเพียง/ ใหอ้ ภัย
7. ชิน้ งาน / ภาระงาน

1. การพูดนำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น
2. แบบทดสอบ

8. กจิ กรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนำ
4. ทักทายนกั เรียนตามสถานการณ์
สนทนากบั นักเรียนเรยี นเกี่ยวกับข่าวในชว่ งนัน้ ๆ วา่ มขี ่าวใดน่าสนใจทนี่ กั เรยี นติดตามอยูบ่ ้าง ใหน้ กั เรียนเล่าข่าวสารท่ีได้
ฟงั หรืออ่านในชว่ งนน้ั เช่น
- There was a fire in a restaurant downtown. Nobody was hurt, but the restaurant was
destroyed.
5. ใหน้ ักเรียนอา่ นข่าวใน power point และอ่านออกเสียงคลอตามเบา ๆ จากนน้ั ให้นักเรยี นร่วมกันอภิปรายข้อความท่ี
นกั การเมอื งและคนมชี ่ือเสยี งไดก้ ลา่ วไวใ้ นกรอบคำพูด แต่ฟงั ดแู ลว้ ไม่มเี หตผุ ล ยกตวั อยา่ งเช่น จากคำกลา่ วของ
Professor Marvin นกั เรียนควรบอกได้วา่ เปน็ การใหเ้ หตผุ ลทผี่ ิด เพราะการท่ไี มม่ ีผใู้ ดพยายามติดต่อกับโลกเรา ไม่ใช่
เหตุผลหรอื ข้อพิสูจน์วา่ ไมม่ สี งิ่ มีชีวติ ที่มีสตปิ ัญญาอย่ใู นทอี่ ่นื ใดในจักรวาล และในคำกลา่ วของจานนี ฮอลลฟิ ิลด์
(Janine Holly field) เธอตัง้ ใจจะพดู ว่าหมอไมพ่ บปญั หาใด ๆ ในศรี ษะของเธอ แต่เธอกลบั พูดวา่ หมอไมเ่ ห็นอะไรใน
ศรี ษะของเธอเลย
ข้นั สอน
3. ใหน้ ักเรียนช่วยกันบอกความหมายของคำต่าง ๆ ท่ีนักเรียนไม่ทราบความหมาย ครเู ขียนคำเหล่าน้ันบนกระดาน
แลว้ ให้นักเรยี นลองเดาความหมายจากบริบทหลังจากน้นั ครูจงึ อธิบายให้นกั เรียนเข้าใจในความหมายนนั้
4. ครูสอนการใช้โครงสร้าง Direct speech และ Reported speech โดยให้นักเรียนขีดเส้นใต้คำกริยาในกรอบคำพูดซึ่งเป็น
คำพูดตรง (Direct speech) และคำกริยาที่อยู่นอกกรอบคำพูดซ่ึงเป็นคำพูดที่ถ่ายทอดแล้ว (Reported speech) ท่ี
เหมือนกันแต่ Tense ต่างกัน เช่นในรูปภาพท่ี 1 นักเรียนจะขีดเส้นใต้คำว่า will build/will not raise และ would
build/would not raise ครูให้นักเรียนสังเกตความสัมพันธ์ระหว่างคำกริยาของ Direct speech และ Reported speech ซึ่ง
นักเรียนอาจจะบอกวา่ คำกริยาในกรอบคำพูดซึง่ เปน็ คำพูดตรง (Direct speech) เป็น Simple present ส่วนคำกริยาที่อยู่
นอกกรอบคำพูดซงึ่ เป็นคำพดู ทีถ่ ่ายทอดแล้ว (Reported speech) เปน็ Simple past
5. ให้นักเรียนทำเช่นน้ีจนครบทุกรูปภาพ และให้นักเรียนสังเกตว่าเมื่อมกี ารถ่ายทอดคำพูดจากคำพูดตรงคำกริยา
ในประโยคถ่ายทอดความจะมี tense เปลี่ยนไปจาก Present simple tense เปน็ Past simple tense จาก Present perfect tense
เปน็ Past perfect tense จาก Future simple ‘will’ เป็น ‘would’ ฯลฯ
6. ครูและนักเรียนร่วมกันศึกษาการถ่ายทอด Direct speech เป็น Reported speech ของ Simple present, Present progressive,
Simple past, Present perfect และ Modals ในกรอบ Grammar ในหนังสือเรียนหน้า 110 และครูอธบิ ายเพ่ิมเติมด้วยว่า Past
perfect ไม่เปลี่ยน Tense ใน Reported speech ตัวอย่างเช่น “We had met before.” ใน Direct speech จะกลายเป็น “He said they
had met before.” ใน Reported speech และ past forms ของ Modals ใน Direct speech ก็ไม่เปล่ียนใน Reported speech เช่นกัน

45

ตัวอย่างเช่น “I wouldn’t do that if I were John.” ใน Direct speech ก็จะเป็น She said she wouldn’t do that if she were John ใน

Reported speech

7. ให้นักเรียนจับคู่ทำแบบฝึกหัด ในหนังสือเรียน โดยให้ถ่ายทอด Direct speech เป็น Reported speech จากน้ันให้
นักเรยี นอาสาสมัครอา่ นคำตอบใหแ้ ก่เพอ่ื นในชน้ั เรียน กอ่ นครูเฉลยคำตอบ

8. ให้นกั เรียนต่างคนต่างทำแบบฝึกหัด ในหนังสอื เรยี น โดยให้เตมิ กริยาทถ่ี ูกตอ้ งลงในช่องว่าง และเม่ือทำงานเสร็จ
แลว้ ใหน้ ักเรยี นจับคกู่ ันตรวจสอบคำตอบของกันและกัน โดยอา่ นออกเสียงขอ้ ความใหค้ ขู่ องตนฟงั

9. ให้นักเรียนอ่านข้อความท่ีนักการเมืองและคนมีชื่อเสียงกล่าวตามในใจอีกคร้ัง แล้วตรวจสอบความเข้าใจ
ข้อความที่อ่านโดยนักเรยี นตอบคำถาม ดังนี้
- What did the candidate for mayor promise?
- What do you think he promised this?
- How much damage did the storm cause?
- What did the doctor recommend to lower blood pressure?
- What did the doctor say pumpkin seeds were good for?
- What did the professor think about intelligent life?
- What did Ms. Holly field tell the interviewer about the result of the exam?

10. ให้นักเรียนทำกิจกรรม Quick Check ขอ้ A-B ในหนังสือเรยี น จากน้นั ใหน้ กั เรยี นจบั คูก่ ันตรวจคำตอบ และให้
นักเรียนอาสาสมคั รอ่านคำตอบ

11. ให้นักเรียนทำกิจกรรม Pair Work ข้อ A ในหนังสือเรยี น ให้นักเรียนจับคู่เพ่ือพดู ถ่ายทอดข้อความท่ีรับขอ้ มูลมาให้
ผ้อู ่ืนรับทราบ โดยให้นักเรียนสลับกันรับบทบาทเป็น A และ B ผู้รับบทบาทเป็น A จะซักถามเกี่ยวกับข้อความท่ี
นักการเมืองและคนมีช่ือเสียงได้กล่าวไว้ในหนังสือเรียน และผู้รับบทบาทเป็น B จะพูดถ่ายทอดข้อความท่ี
นกั การเมืองและคนมีช่ือเสียงได้กลา่ วใหแ้ ก่นักเรียน A ทราบ ครูให้นกั เรยี นใช้รูปแบบของบทสนทนาในกิจกรรม
Pair Work ข้อ A เป็นแนวทางในการทำกิจกรรม โดยให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงบทสนทนาที่ให้มา จากนั้นจึงแต่ง
ประโยคถาม-ตอบเกี่ยวกบั ขอ้ ความของนักการเมอื งและคนมีชื่อเสียงเป็นของตนเอง

12. ครูสำรวจการทำกิจกรรมของนักเรียน จากน้ันสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอหน้าช้ัน ครูประเมินการพูดถ่ายทอด
ข้อความทร่ี ับข้อมูลมาใหผ้ ู้อ่ืนรบั ทราบโดยใช้เกณฑก์ ารประเมินความสามารถในการสนทนา

ขั้นสรุป
5. ใหน้ ักเรียนทำกจิ กรรม ในหนังสือเรียน ให้นักเรยี นจบั ค่แู สดงบทบาทสมมติเพอ่ื พูดถา่ ยทอดขอ้ ความตามความคดิ ของ

ตนเองวา่ ผอู้ ืน่ จะพดู สิง่ ใดนอกเหนือจากน้ีกับผูร้ ายงานข่าว
6. ให้นักเรยี นอาสาสมัครออกมานำเสนอหนา้ ชนั้
7. ใหน้ ักเรยี นทำแบบฝกึ หัด

ชั่วโมงที่ 2
ขน้ั นำ

5. ทกั ทายนกั เรียนตามสถานการณ์

46

6. ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั อา่ นคำแนะนำในหนังสอื เรยี น จากนน้ั บอกนกั เรียนวา่ ขอ้ ความทีน่ กั เรยี นกำลงั จะไดอ้ า่ นน้ีเป็น
ข้อความทีไ่ ด้กล่าวไว้เก่ียวกบั Global Issues โดยเป็นขอ้ ความแบบ Direct speech จากนัน้ ให้นกั เรยี นช่วยกันพูด
ถา่ ยทอดข้อความใหเ้ ป็นข้อความแบบ Reported speech

7. ใหน้ ักเรยี นระดมความคิดเพ่อื ช่วยกนั หาประเด็นหัวขอ้ เกย่ี วกับ Global Issues อืน่ ๆ ครูเขียนข้อมลู ท่ีนกั เรยี นบอกบน
กระดาน

8. ให้นักเรียนช่วยกันบอกแหลง่ ข้อมลู ที่เปน็ ข้อความ คำกล่าวเกีย่ วกบั Global Issues ซึ่งอาจจะมาจากอินเทอร์เนต็
วารสาร หนงั สอื หรอื นิตยสาร เปน็ ตน้

ขั้นสอน
2. ครเู ขยี นคำศพั ท์ท่ีคาดวา่ นักเรยี นไมท่ ราบความหมายบนกระดานแลว้ ให้นักเรยี นช่วยกันเดาความหมายจาก
บริบท ดังน้ี
- Clinton is facing a battle to get Congress to accept his budget proposals.
- The president hopes to be elected to a second term of office.
- I don’t want to point the finger at anyone in particular - I think we are all to blame for this.
- There’s a decline in the country’s standards of living.
- The government eliminated the unpopular new tax.
- People who have a very low level of illiteracy can’t get jobs that involve much reading or
writing.
3. สนทนาเกย่ี วกับการหาเสยี งของนักการเมืองในการเลือกต้งั โดยถามนักเรียนว่าเคยไปฟงั นกั การเมอื งปราศรัย
หรือไม่ มใี ครพูดอะไรทนี่ กั เรยี นรู้สึกประทับใจ คำพดู ของนกั การเมืองหรอื คำขวญั ของพรรคการเมอื งใดท่ตี ดิ ปาก
ผู้คนทั่วไป ใหน้ ักเรยี นยกตัวอยา่ งและรว่ มกนั อภิปราย
4. ทบทวนวธิ กี ารใช้คำสำคญั (keywords) จบั ความในเร่ืองขนาดยาวทฟ่ี งั เพื่อช่วยใหฟ้ งั ได้ง่ายขน้ึ
5. ครูบอกนกั เรียนวา่ ในการพูดโน้มนา้ วใหเ้ ชือ่ ถือ ผ้พู ดู มักยกเหตผุ ลมาประกอบ แต่บางครงั้ เหตุผลทยี่ กมาไม่
สมเหตุสมผล ดังนั้น ในการฟงั นักเรยี นจึงตอ้ งวิเคราะห์ใหด้ ี ครเู ขียนตัวอย่างตอ่ ไปนบ้ี นกระดาน
- One who can’t sing should be a singer.
- We will provide scholarships for those who don’t want to get them.
ทงั้ 2 ประโยค คือ ประโยคแรกทว่ี า่ คนที่รอ้ งเพลงไมเ่ ป็นควรเปน็ นกั รอ้ ง และประโยคท่ี 2 ซ่ึงบอกเราว่าควรให้
ทุนการศกึ ษาแกผ่ ู้ที่ไม่อยากได้ ล้วนเปน็ ขอ้ ความที่ไม่สมเหตสุ มผลทง้ั ส้ิน
6. ใหน้ ักเรียนฟงั คำปราศรัยของนกั การเมือง 2 รอบ รอบแรกบอกใหน้ กั เรียนฟงั เพือ่ ให้เขา้ ใจขอ้ ความโดยรวมก่อน
และคร้งั ท่ี 2 จึงฟังเพื่อหาส่งิ ทีผ่ พู้ ดู กล่าวอยา่ งไมส่ มเหตสุ มผลที่นกั การเมืองผูน้ ้พี ูด 3 ประเด็น
7. ใหน้ ักเรียนทำงานกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน นักเรียนรว่ มกันอภปิ รายเกี่ยวกบั ข้อความคำพดู ของบคุ คลต่าง ๆ เช่น
คำพดู ของนักเรยี นทนี่ ักเรยี นคิดวา่ ไมส่ มควรพดู คำพูดที่นา่ สนใจและมีแงค่ ิด คำพดู นินทา ขอ้ ความจากเคร่อื ง
ตอบรบั โทรศัพท์ และคำพดู ทางโทรศพั ท์

ขนั้ สรปุ
2. ใหน้ ักเรียนใช้คำถามในกิจกรรม ในหนงั สอื เรยี น เป็นพน้ื ฐานในการอภิปรายร่วมกนั

3. ครูเดนิ สำรวจการทำกิจกรรมของนกั เรยี น จากนน้ั ใหน้ ักเรยี นส่งตวั แทนกลมุ่ มานำเสนอหนา้ ชัน้ เรียน ครูประเมนิ การ
ทำงานกลุม่ โดยใชเ้ กณฑ์การประเมนิ การทำงานกลุ่ม

47

ชว่ั โมงท่ี 3

ขน้ั นำ
1. ทกั ทายนกั เรียนตามสถานการณ์
2. พดู คยุ กบั นกั เรยี นถงึ คำกลา่ วทนี่ ่าสนใจของบคุ คลสำคญั ท่ีนกั เรียนรูจ้ กั โดยให้นกั เรียนเขยี นคำกลา่ วท่ีตนเองรู้จกั แลว้
เปรยี บเทียบกบั คู่ของตนเอง แล้วนำเสนอในชั้นเพอ่ื ดวู ่าคำกล่าวของใครเป็นท่ีนิยมทีส่ ุด
3. อธบิ ายว่าในบางครงั้ เราไม่สามารถตีความได้ตามตัวอักษรทป่ี รากฏในสว่ นโครงสร้างและคำศพั ท์จากภาษาหนงึ่ ไปอีก
ภาษาหนง่ึ และในส่วนทล่ี ะเอียดอ่อนท่เี ขา้ ใจได้ยาก อย่างเชน่ อารมณ์ขันนน้ั ดูเหมือนวา่ บางทีจะแปลผิดทางไปเลย จงึ
เปน็ สิง่ สำคัญอย่างย่ิงทีผ่ ูอ้ ่านจะต้องสามารถเขา้ ใจในสง่ิ ทลี่ ะเอยี ดออ่ นของภาษาผอู้ นื่ คือตอ้ งศึกษาเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ
ภาษาทแี่ ทรกอารมณข์ ัน (humor) และการประชด เย้ยหยัน ถากถาง เหนบ็ แนม หรือสถานการณ์ทตี่ รงขา้ มกบั ความ
คาดหมาย (irony)
4. ครชู ้ีนำให้นักเรียนระบุ humorous และ irony ในคำกล่าวของบุคคล ครอู ธบิ ายวา่ คำกล่าวของบางคน น่าขัน เพราะผู้
พดู ต้องการใหเ้ ปน็ เช่นนนั้ บางคำกลา่ วกเ็ ปน็ irony เพราะผลลพั ธ์ของส่งิ ท่ีผพู้ ดู กลา่ วถงึ ในขณะทพี่ ดู น้ันมนั ไมไ่ ดเ้ ป็น
อยา่ งท่พี ูดในระยะเวลาตอ่ มา
5. ให้นกั เรยี นอา่ นคำกลา่ วของบิล เกทส์ (Bill Gates) ในกรอบแรก ซงึ่ เปน็ คำกลา่ วท่เี ป็น irony เมอ่ื เขากลา่ ววา่ “640 K
ought to be enough for anybody” เมือ่ ปี ค.ศ. 1981 นนั้ แมว้ ่าจะเป็นคำพูดทีพ่ สิ จู น์ไดว้ ่าเป็นจริงในขณะนนั้ แต่
ในปัจจุบนั กลายเปน็ คำพูดไม่จริง เพราะคอมพิวเตอร์ขณะนีม้ หี น่วยความจำมากกว่า 500 megabytes (มากกวา่
524,000 K หรอื kilobytes)
6. ใหน้ กั เรียนอ่านคำกลา่ วที่ 2 และอธบิ ายว่าคำกล่าวนเ้ี ปน็ irony เชน่ เดียวกัน เพราะปรากฏว่าต่อมา The Beatles และ
guitar music ได้รับความนยิ มอยา่ งมหาศาล
7. สำหรับตวั อย่างของ humor ครใู ห้นกั เรยี นอา่ นคำกล่าวของวูด้ ดี้ อลั เลน (Woody Allen) คือ “ฉนั ไม่กลัวความตาย ฉนั
เพยี งแค่ไมอ่ ยากถึงจดุ ท่ีฉนั ต้องตายเท่าน้นั เอง”

8. ขน้ั สอน

9. ให้นักเรยี นอ่านข้อความคำกลา่ วของบุคคลดงั กล่าวเพ่อื บอกความหมายของคำกล่าวของแตล่ ะบคุ คล จากน้นั ครใู ห้

นักเรียนจับคู่เปรยี บเทยี บความหมายของคำกล่าวของแต่ละบุคคลกับเพ่ือน

10. ตรวจสอบความเข้าใจโดยสมุ่ ถามข้อความของ Helen Keller วา่ What does she mean by vision here? ซง่ึ

นักเรียนน่าจะตอบว่า creative, insight, or understanding

11. ให้นักเรยี นทำกิจกรรม After Reading ข้อ A ในหนงั สือเรียน หน้า 115 แล้วจับคู่กันตรวจสอบคำตอบ กอ่ นท่ีจะ

ตรวจสอบร่วมกันในชน้ั เรียน (ดเู ฉลยทา้ ยเล่ม)

12. ให้นักเรียนทำกจิ กรรม After Reading แล้วจบั ค่กู นั ตรวจสอบคำตอบ กอ่ นท่จี ะตรวจสอบร่วมกันในช้ันเรยี น

13. ครูประเมินการอ่านข้อความเกย่ี วกับคำกล่าวของบุคคลอน่ื ๆ จากจำนวนคำตอบทถ่ี ูกตอ้ งโดยใช้เกณฑ์ผา่ นร้อยละ 70

14. ครบู อกนกั เรียนว่า แม้ว่านกั เรยี นสว่ นมากอาจจะไมเ่ คยไปหาหมอดู (fortune teller) นักเรียนกอ็ าจใช้จนิ ตนาการ

ผสมผสานกับส่งิ ท่ีตนรวู้ า่ เปน็ จริง แลว้ ลองเดาสงิ่ ทอ่ี าจเกิดข้นึ ในสถานการณบ์ างสถานการณ์ได้

15. ให้นักเรียนทำกิจกรรม โดยใหเ้ ขียนเกี่ยวกบั สงิ่ ท่ีตนคาดว่าหมอดู จะบอกตน ครบู อกวา่ หมอดูอาจทำนายเกย่ี วกบั บาง

ส่งิ บางอยา่ งในอดตี ของนกั เรยี นแล้วก็จะทายอนาคต ดงั นั้นนกั เรียนจงึ มีโอกาสใช้หลาย Tenses ในการเขียนเพอื่ บอก

ว่าหมอดูทำนายว่าอย่างไร

16. ให้นกั เรียนอาสาสมคั รออกมาอ่านงานเขยี นของตนหน้าชน้ั

ขั้นสรุป
ใหน้ กั เรียนทำแบบฝึกหัด

48

ชัว่ โมงที่ 4
ขนั้ นำ
1. ทกั ทายนักเรยี นตามสถานการณ์
2. สนทนาถึงการถกู สัมภาษณง์ านวา่ มวี ิธีการสมั ภาษณอ์ ย่างไรบ้าง
ข้ันสอน
1. ครพู ูดคุยกับนักเรียนเกย่ี วกับโอกาสท่จี ะเกิดการสัมภาษณ์ ครูต้ังคำถามเพ่อื เป็นแนวทางการพูดอภิปราย ดังนี้
- Why are interviews used?
- What information can be obtained by way of an interview that cannot be obtained
by other means?
- Has anybody been interviewed? If yes, share your experiences.
2. ให้นักเรียนอา่ นออกเสียงช่อื ประโยคบน Power Point “He Asked If I’d Worked Before” และให้นักเรียนบอก
ว่าคนจะพูดเช่นนเี้ มื่อใด
3. นักเรยี นดูภาพบน power point แล้วบอกสง่ิ ที่เห็นจากภาพ ครูบอกนกั เรียนวา่ ภาพเหลา่ น้แี สดงการสมั ภาษณ์
4. นักเรยี นจบั คู่เปน็ A และ B โดยให้ A อ่านคำส่ัง หรอื คำถามจากกรอบในภาพ และ B อา่ นประโยค Reported
speech ใต้ภาพ แลว้ สลับบทบาทกันพูดประโยคในภาพ และประโยคใต้ภาพ
5. นักเรียนทำงานของตนเอง โดยเขียนประโยคคำถามท่คี ิดว่าน่าจะใช้ในการสัมภาษณ์เพือ่ คัดเลือกบุคคลเขา้ ทำงาน
แลว้ ให้นกั เรียนจับคู่กนั เปรียบเทียบคำถาม
6. ครสู ่มุ นักเรียนให้อา่ นประโยคคำถามของตนเอง เพ่อื ตรวจคำตอบและเพ่อื ให้นักเรียนเรียนร้เู พ่ิมเตมิ จากประโยคของ
คนอ่นื นักเรียนจบั คู่เพ่ือสลับกันถามคำถามของตน และตอบคำถามของเพ่อื น
7. นักเรียนจับคู่ และฝกึ ถาม-ตอบจากบทสนทนา ครูสุ่มนักเรียน 2-3 คู่ ออกมาสนทนาหนา้ ชน้ั เรยี น ครูตอบข้อซกั ถาม
และอธิบายหากนักเรยี นมีข้อสงสัย เพอื่ ทบทวนการพูดรายงานคำถาม คำสง่ั และคำขอร้อง
ขั้นสรุป
1. นักเรียนจบั คู่กันทำกิจกรรม โดยผลัดกันเป็นผ้ถู ามและผู้ตอบ ให้นกั เรียนจับคู่กับคู่ใหม่ และแสดงบทบาทสมมโดย
ใช้คำถามเหลา่ น้ี แล้วนักเรียนแต่ละคสู่ ลับบทบาทกนั ครูประเมนิ การแสดงบทบาทสมมติ โดยใชแ้ บบประเมินการ
แสดงบทบาทสมมติ

ช่ัวโมงที่ 5

ข้ันนำ

1. ทกั ทายนกั เรยี นตามสถานการณ์

2. ทบทวนการใช้ Indirect Question สุ่มเรียกให้นักเรียนตอบคำถาม

ขั้นสอน

1. นำเสนอให้นกั เรยี นรูจกั ประโยค Indirect Question (คำถามออ้ ม) เป็นประโยคทมี่ ีลกั ษณะคลา้ ยคำถามแต่มี

โครงสรา้ งเป็นประโยคธรรมดา แบ่งเปน็ 5 ลกั ษณะ คือ

ประโยคคำถามซอ้ นกัน 2 ประโยค แต่ประโยคคำถามจรงิ ๆ อยู่สว่ นหน้า เชน่

Do you know what he wants? คณุ รหู้ รอื ไมว่ ่าเขาตอ้ งการอะไร ?

Do you know who he is? คุณรหู้ รอื ไมว่ ่าเขาเป็นใคร ?

ประโยคบอเลา่ และIndirect Question เช่น

I want to do what I want. ฉนั อยากทำสิ่งทีฉ่ นั ต้องการ.

49

ประโยคปฏิเสธ และIndirect Question เช่น

I don't know who he is. ฉนั ไมร่ ้วู า่ เขาเปน็ ใคร.

ประโยคคำสั่ง และIndirect Question เชน่

Tell me who you are. บอกฉนั ซิวา่ คณุ เปน็ ใคร.

Indirect Question ทไ่ี มใ่ ชค่ ำแสดงคำถาม เช่น

1. ประโยคคำถาม + if หรือ whether + ประโยคบอกเล่า? เชน่

Do you know if he wants to go back home?

2. ประโยคบอกเลา่ + if หรอื whether + ประโยคบอกเล่า เชน่

I want to know if he wants to go with me.

3. ประโยคปฏเิ สธ + if หรือ whether + ประโยคบอกเลา่ เช่น

I don't know whether he will visit me.

4. ประโยคคำสง่ั + if หรือ whether + ประโยคบอกเลา่ เชน่

Ask him whether he can do it by himself.

2. แบ่งนกั เรยี นออกเป็นกล่มุ กลุ่มละ 3 คน ใหน้ กั เรียนศึกษาเนอ้ื หา Indirect Questions และรวบรวม

ประโยคคำถามแบบ indirect ให้ได้มากทส่ี ุด เขียนลงในกระดาษรายงาน

ขั้นสรปุ

1. ร่วมกนั สรปุ การใชป้ ระโยค Indirect Question

2. ให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนองานหน้าชัน้ เรียนทีละกลุ่ม

9. การวัดและการประเมินผล

1. วิธีการวัดและประเมนิ ผล

1) การพดู หน้าชน้ั เรียน

2) การทำงานกลมุ่

2. เครอื่ งมอื วัดและประเมินผล / เกณฑ์

เกณฑ์การใหค้ ะแนนการพูด

ระดับ เกณฑ์การให้คะแนน น้ำหนกั / คะแนน
คะแนน ความสำคญั รวม

ประเด็น 4 32 1 2 8
การประเมิน
ออกเสยี งคำ/
ความถูกตอ้ ง ออกเสียงคำศัพท์ ออกเสียงคำศพั ท์ ออกเสยี ง ประโยคผดิ
หลักการออก
และประโยคได้ และประโยคได้ คำศัพท์และ เสยี งทำให้
ส่อื สารไม่ได้
ถกู ตอ้ งตามหลกั ถกู ตอ้ งตาม ประโยคได้

การออกเสียง หลกั การออกเสียงมี ถูกต้องเปน็

ออกเสยี งเน้น เสียงเนน้ หนักใน ส่วนใหญ่

หนกั ในคำ/ประโยค คำ/ประโยคเปน็ ขาดการออก

อยา่ งสมบรู ณ์ สว่ นใหญ่ เสียงเนน้ หนกั

50


Click to View FlipBook Version