[0]
[1]
คำนำ
การบริหารจัดการศึกษา“ผู้บริหารสถานศึกษา” นับเป็นผู้ท่ีมี
บทบาทสาคัญอย่างย่ิงต่อความสาเร็จ หรือความล้มเหลวของการจัด
การศึกษา คาว่า “ผู้บริหาร” ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
หมายถึง บุคลากรวิชาชีพท่ีรับผิดชอบการบริหารสถานศึกษาแต่ละแห่งทั้ง
ของภาครัฐและเอกชน ซ่ึงถือได้ว่าเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการจัด
การศึกษาอยา่ งแทจ้ รงิ ตามนโยบายการกระจายอานาจทางการศึกษา
สังคมไทยในยุคปฏิรูปการศึกษาปัจจุบันน้ีอยากเห็นผู้บริหาร
สถานศึกษาเป็น “ผู้บริหารมืออาชีพ” มีความรู้และประสบการณ์สมกับที่
เปน็ วิชาชีพชน้ั สงู ทางการบรหิ ารการศกึ ษา เป็นบคุ ลากรวิชาชพี ทร่ี บั ผดิ ชอบ
การบริหารการศึกษา ที่นอกจากจะเป็นผู้บริหารบุคลากรครูผู้สอนแล้ว
ผู้บรหิ าร ยุคใหม่ต้องเป็นผู้นาทางวิชาการ เป็นผู้นาการปฏิรูปการเรียนรู้ มี
ความสามารถที่จะประสานการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง กรรมการ
สถานศึกษา ชุมชน และผู้เก่ียวข้องอื่นๆ ในการระดมความสามารถและ
ทรัพยากร เพ่ือการบริหารอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจน
จัดให้มีกระบวนการประกันคุณภาพ เพื่อให้การจัดการศึกษาเป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาของชาติ นอกเหนือจากการดาเนินงานเกี่ยวกับการ
วางแผน การดาเนินงาน การประสานงาน การควบคุมดูแล และการนิเทศ
งาน ตลอดจนการติดตามและประเมินผลงานด้านวิชาการ การปกครอง
[2]
ธุรการหรือบริหารทั่วไป ความสัมพันธ์กับชุมชนและปฏิบัติหน้าที่อ่ืนๆ ที่
เกีย่ วข้อง
การทางานอย่างมืออาชีพ หมายถึง ผู้ที่มีความสามารถและ
ประสบการณ์สูงในงานที่ทา การดาเนินงานทุกครั้งจะบรรลุเป้าหมายเป็น
อย่างดี ข้อผิดพลาดหรือโอกาสผิดพลาดแทบจะไม่ปรากฏ ผู้บังคับบัญชามี
ความมั่นใจและไว้วางใจเม่ือมอบหมายภารกิจให้ปฏิบัติ จึงอาจสรุปได้ว่า
ความเปน็ มอื อาชีพ จะต้องประกอบด้วยการเป็นผู้รู้จริงในเรื่องที่ปฏิบัติ อัน
ได้แก่ รู้หลักการรู้เหตุรู้ผล รู้หลักวิชาของเร่ืองท่ีจะปฏิบัติอย่างรอบด้าน
สามารถประยุกต์ความรู้ของตนเองดังกล่าวไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับทุก
สภาวการณ์ ตลอดจนมีความสามารถในเชิงประสานสัมพันธ์ มีเทคนิคใน
การส่อื สารเพ่ือใหเ้ กดิ ความเข้าใจตรงกัน มีความพยายามอดทน มุ่งม่ันที่จะ
ทางานใหส้ าเรจ็ ตามเปา้ ประสงค์สูงมาก
ข้าพเจ้าขอนาเสนอวิสัยทัศน์และผลงานท่ีผ่านมาเพ่ือให้พนักงาน
ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะผู้อานวยการ
เชี่ยวชาญ ข้าพเจ้าขอขอบคุณคาแนะนาและตัวอย่างผลงานท้ังหลาย ที่
ข้าพเจ้าได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดทาเอกสารน้ี และขอขอบคุณทุกท่านที่
ให้การสนบั สนนุ และให้ความชว่ ยเหลอื ในการจัดทาเอกสารน้ีให้สาเร็จลุล่วง
ไปดว้ ยดี
นายอานาจ นาคแกว้
ผอู้ านวยการโรงเรยี นมัธยมเทศบาล ๔
[3] หนา้
1
สำรบญั 4
7
คานา 8
ข้อมูลส่วนตวั 21
ข้อมูลเก่ียวกบั วิสยั ทัศน์ 22
แนวคิดในการปฏบิ ัตงิ านในตาแหนง่ ผ้บู ริหารสถานศึกษา 29
แนวทางในการพฒั นางานในหน้าท่ี 65
แนวทางพัฒนาสถานศกึ ษา 75
ความรู้ความสามารถในการพัฒนาสถานศึกษา
ผลงานท่ีประสบผลสาเร็จในอดีต
ประมวลภาพการดาเนนิ งานระหว่างปี พ.ศ.2559-2561
[4]
ข้อมูลสว่ นบคุ คล
นำยอำนำจ นำคแก้ว
ผ้อู ำนวยกำรโรงเรยี นมธั ยมเทศบำล ๔
สงั กดั เทศบำลเมอื งสงิ ห์บรุ ี
จังหวดั สิงห์บุรี
วทิ ยฐำนะ ผู้อำนวยกำรชำนำญกำรพิเศษ
วนั เดอื นปเี กดิ 5 พฤษภำคม 2513
วนั รับรำชกำร 6 พฤษภำคม 2537
ภูมิลำเนำเกิด จงั หวดั นครรำชสมี ำ
ที่อย่ปู จั จบุ ัน เลขที่ 22/2 หมู่ 2 ตำบลไทรมำ้ อำเภอเมืองนนทบรุ ี
จังหวัดนนทบรุ ี 11000
โทรศัพท์ ท่ที ำงำน 0 3652 0663 มอื ถือ 08 1150 8549
อีเมล์ [email protected]
เวบ็ ไซท์ http://nakkaew.wordpress.com
Facebook www.facebook.com/supermankorat
ID Line phrayakradingnoi
[5]
กำรศกึ ษำ
พ.ศ.2525 ประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรยี นเทศบาล ๑
พ.ศ.2528 (บรู พาวิทยากร) อ.เมือง จงั หวดั นครราชสมี า
พ.ศ.2531 มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรยี นราชสมี าวทิ ยาลยั
พ.ศ.2533 อาเภอเมือง จังหวัดนครราชสมี า
มัธยมศึกษาปที ี่ 6 โรงเรยี นโคราชพิทยาคม
พ.ศ.2535 อาเภอเมือง จงั หวัดนครราชสีมา
พ.ศ.2550 ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชนั้ สงู (ป.กศ.สูง)
พ.ศ.2557 สาขาพลศกึ ษา วทิ ยาลยั พลศึกษาจังหวดั อ่างทอง
อาเภอไชโย จงั หวดั อ่างทอง
ปริญญาตรี ครศุ าสตรบัณฑติ สาขาพลศึกษา
วิทยาลัยครพู ระนครศรอี ยธุ ยา จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา
ประกาศนียบตั รบัณฑติ ศึกษา สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ครุศาสตรมหาบัณฑติ สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา
[6]
กำรทำงำน
19 พฤษภาคม 2536 ครอู ตั ราจ้าง ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีการสอนพลานามัย
โรงเรียนราชสีมาวทิ ยาลัย
6 พฤษภาคม 2537 อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนบา้ นโพธิ์สามัคคี
สานักงานการประถมศึกษาอาเภอปรางคก์ ู่
จงั หวัดศรีสะเกษ
1 กรกฎาคม 2537 อาจารย์ 1 ระดบั 3โรงเรยี นเมืองพลบั พลาพิทยาคม
อาเภอห้วยแถลง จังหวดั นครราชสีมา
สานกั งานสามัญศกึ ษาจังหวัดนครราชสีมา
1 ตุลาคม 2548 ครู คศ. 2 โรงเรียนชุมชนเทศบาลวดั ปาโมกข์
(นรสีห์วิทยาคาร) อาเภอป่าโมก จงั หวดั อา่ งทอง
1 ธนั วาคม 2552 ครู คศ. 3 รกั ษาราชการผู้อานวยการโรงเรียนอนบุ าล
อบต.บางตาเถร อาเภอสองพนี่ ้อง จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี
16 มนี าคม 2556 ครู คศ. 3 โรงเรียนเทศบาลวดั บางนมโค
อาเภอเสนา จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
1 สงิ หาคม 2556 ผู้อานวยการโรงเรียนอนบุ าลเทศบาลไทรม้า
อาเภอเมืองนนทบรุ ี จงั หวัดนนทบรุ ี
2 ตุลาคม 2558 ผ้อู านวยการโรงเรยี นเสนาบดี
อาเภอเสนา จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
8 สงิ หาคม 2560 ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔
อาเภอเมือง จังหวัดสงิ หบ์ ุรี
[7]
ขอ้ มลู เกยี่ วกับวิสัยทัศน์
ในฐานะท่ีข้าพเจา้ ดารงตาแหน่งผู้บริหารสถานศกึ ษา และเป็นผ้ทู ม่ี ี
บทบาทสาคญั ต่อองค์กรทตี่ ้องมีการทางานร่วมประสานกับครูและบุคลากร
ทางการศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน ชุมชน ให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบ นโยบายของชาติ พระราชบัญญัติการศึกษา มาตรฐานการศึกษา
และองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ไดก้ าหนดวิสัยทศั นก์ ารปฏิบตั ิงาน ดังนี้
ผู้เรยี นมีควำมเป็นเลิศ
วสิ ยั ทศั น์ ครแู ละบุคลากรมคี ณุ ภาพ
แหลง่ เรียนรตู้ ลอดชวี ติ ของชุมชน
ระบบบรหิ ารท่เี อื้อต่อการพฒั นา
ผู้เรียนมีควำมเป็นเลิศ : มุ่งส่งเสริมและพัฒนาให้ได้รับการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ ค้นพบตนเองนาไปสู่ความเป็นเลิศและเป็นบุคคลท่ีพึง
ประสงค์
ครูและบุคลำกรมีคุณภำพ : ส่งเสริมและพัฒนาครูให้มีความสามารถในการ
จัดการเรียนรู้และทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง ยึดมั่นคุณธรรม
จริยธรรมและจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
[8]
แหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน : ปรับปรุงและพัฒนาสถานศึกษาให้มีความ
พร้อมและเอ้ือต่อการพัฒนาความรู้เชิงวิชาการ ทักษะวิชาชีพ
หลากหลายด้านเพอื่ ประชาชนและความยั่งยนื ของทอ้ งถิน่
ระบบบริหำรที่เอ้ือต่อกำรพัฒนำ : จดั ระบบการบริหารจัดการโดยการมสี ่วนร่วม
ของทกุ ภาคส่วนในการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษา โดยยึดหลักการ
บรหิ ารทใ่ี ช้โรงเรียนเปน็ ฐานและการมสี ่วนรว่ ม
[9]
แนวคดิ ในกำรปฏบิ ัติงำนในตำแหน่งผู้บริหำรสถำนศกึ ษำ
ข้าพเจ้าขอเสนอแนวคิดในการปฏิบัติงานในตาแหน่งผู้บริหาร
สถานศึกษา ตามรูปแบบ ดงั ภาพที่ 1 พร้อมประกอบคาอธิบาย ดงั นี้
1. กำรมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ
[10]
ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง ลู ก น้ อ ง ห รื อ
ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชา เพือ่ มุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏบิ ตั งิ าน เปน็ สง่ิ ทม่ี ีความจาเป็น
สาหรับองค์กร ผู้บริหารจึงต้องคานึงถึงการปลูกฝังความตระหนักเพื่อ
ส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีเป้าหมายใน
การทางานชดั เจน มคี วามรับผิดชอบในการทางาน งานที่ทาออกมาก็จะเปน็
งานทม่ี ีคุณภาพสูงสุด อกี ทงั้ ผู้ใต้บังคับบัญชาก็ยังมีความตระหนักท่ีดีในการ
ช่วยดูแลทรัพยากรและทรัพย์สินขององค์กรเสมือนหน่ึงเป็นของตนเอง
ดังนั้นคนท่ีเป็นผู้บริหารจึงต้องมีความอดทน รอบคอบ มีทักษะในการฝึก
และสอนคนให้เป็น รจู้ กั ทีจ่ ะติดตามผลงานกับผู้ใต้บังคับบัญชา เม่ือได้มอบ
ความรับผิดชอบในการทางานเป็นที่เรียบร้อยและชัดเจน ควรตรวจสอบ
ความคืบหน้าของงานท่ีเกิดข้ึนด้วย ซ่ึงก็เท่ากับว่าได้กระตุ้นให้
ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาเกิดความคิดริเริม่ และรับผิดชอบงานท่ีตนเองทาอย่างเต็มท่ี
เพื่อใหไ้ ด้ผลงานมปี ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลมากที่สุดสุดท้ายองค์กรของ
จะเปลี่ยนเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพในการดาเนินงานเพื่อมุ่งผลสัมฤทธ์ิ
น้ันมีเทคนิคการบริหารท่ีผู้บริหารสามารถศึกษาและนาไปใช้ในการ
บริหารงานใหป้ ระสบผลสาเรจ็ หลายรูปแบบ เชน่
1. การบรหิ ารม่งุ ผลสมั ฤทธิ์ (Results Based Management : RBM)
2. การบริหาร (Six Sigma)
3. การบรหิ ารความเส่ยี ง (Risk Management)
4. การบรหิ ารคณุ ภาพโดยรวม (Total Quality Management : TQM)
5. การบรหิ ารจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
[11]
6. การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา (Quality
Assurance)
2. กำรบรกิ ำรทดี่ ี
การบริการ (Service) คือ การให้ความช่วยเหลือหรือการดาเนินการ
เพ่อื ประโยชนข์ องผอู้ นื่ การบริการทีด่ ี ผ้รู บั บรกิ ารก็จะได้รบั ความประทบั ใจ
และชื่นชมองค์กร ซึ่งเป็นส่ิงดีสิ่งหนึ่งอันเป็นผลดีกับองค์กรของเรา
เบ้ืองหลังความสาเร็จเกือบทุกงาน มักพบว่างานบริการเป็นเครื่องมือ
สนับสนนุ งานดา้ นต่างๆ เช่น งานประชาสมั พนั ธง์ านบรกิ ารวิชาการ เป็นต้น
ในสถานศึกษานั้น การบริการถือเป็นส่ิงสาคัญกับบุคลากรทุกคน ดังนั้น
ผู้บรหิ ารต้องเป็นผนู้ าดา้ นการบริการตอ่ ผู้รับบรกิ าร คอื นกั เรียน ผู้ปกครอง
และผู้ท่ีมาติดต่อราชการทุกคนให้เท่าเทียมกันไม่แบ่งชนชั้นวรรณะ การ
ให้บริการท่ดี มี ีความจาเป็นและสาคญั ตอ่ ผู้บริหารเนื่องจากมสี ่วนสาคัญท่ีจะ
ชว่ ยพฒั นางานดา้ นบริการเป็นอย่างมากเพราะผู้บริหารถือเป็นแกนหลักใน
การกาหนดแนวทางการให้บริการเพื่อตอบสนองต่อความพึงพอใจ ของ
ผู้รับบริการและเทคนิคการพัฒนาระบบงานขององค์กรให้เกิดความ
สะดวกสบายความพงึ พอใจต่อผใู้ ช้บรกิ าร
การให้ความสาคัญกับการให้บริการนั้นมีความสาคัญมาก ซ่ึงส่วนหนึ่ง
ตอ้ งไดร้ บั ความรว่ มมอื จากผ้รู ับบริการ และผู้ให้บริการต้องเป็นบุคคลที่มีใจ
ในการให้บริการเป็นสาคัญ ดังน้ันผู้ให้บริการคือพนักงานผู้ให้บริการทุก ๆ
ด้าน ไม่ว่าจะให้ข้อมูลข่าวสาร การประชาสัมพันธ์ การต้อนรับบุคคลทั้ง
ภายในและภายนอก รวมถึงผู้มาติดต่อทุกประเภท เป็นต้น ต้องเข้าใจและ
[12]
ตระหนักถึงความสาคญั ของการใหบ้ รกิ ารเพ่อื สร้างภาพลักษณ์ท่ีดีและความ
ประทบั ใจกับผู้รับบริการทกุ คนและท้ายสุด ผ้ใู หบ้ ริการเปน็ กลไกสาคัญที่สุด
ท่ีจะต้องพัฒนาบุคลิกภาพและทัศนคติที่ดีโดยเฉพาะการมีจิตสานึกในการ
รักการใหบ้ รกิ ารเพอื่ การพัฒนาองคก์ รอยา่ งสมบรู ณ์แบบ
3. กำรพฒั นำตนเอง
การพัฒนาตนเองมีความจาเป็นในแง่การพัฒนา งาน พัฒนา
ความก้าวหน้าในวิชาชีพ (Career Development) แต่ละอาชีพต้องอาศัย
ความชานาญเป็นพิเศษในด้านนั้นๆ และต้องได้รับการฝึกฝนอบรมมา
โดยตรงเทา่ นนั้ การปฏิบัติงานในสายวชิ าชีพ จงึ จาเปน็ ตอ้ งมีทางทเ่ี ปิดกวา้ ง
ให้บุคคลที่ปฏิบัติงานในวิชาชีพได้เจริญก้าวหน้าไปในหน้าที่การงานที่ตน
ปฏบิ ตั อิ ยู่ การพฒั นาตนเองจงึ เปน็ สิง่ สาคัญที่คนเราจะขาดเสียไม่ได้ เพราะ
หากไมศ่ ึกษาหาความรูเ้ พิม่ เตมิ ไมพ่ ยายามทจ่ี ะพฒั นาตนเองให้ทันกบั ความ
เจรญิ ก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการและสงั คมกจ็ ะกลายเปน็ คนล้าหลัง
การท่ีคนเราจะต้องมีการพัฒนาตนเองตั้งแต่เกิดจนถึงวาระสุดท้ายก็
เพราะการพัฒนา จะช่วยให้เราสามารถท่ีจะปรับตัวให้เข้ากับการ
เปลีย่ นแปลงของสังคมได้อยา่ งเปน็ สุข สาหรับแนวทางในการพัฒนาตนได้มี
ผู้รู้นักวิชาการนักจิตวิทยาหลายท่านท่ีได้ให้ความสาคัญในเร่ืองนี้ แล้วได้ให้
แนวทางในการพฒั นาตนไว้มากมาย แต่ในท่ีน้ีจะยกแนวทางพัฒนาตนตาม
หลักพุทธศาสนา ซ่ึงพระธรรมปิฎก ท่านได้อธิบายว่าในการพัฒนาตนนั้น
ควรประกอบดว้ ย การพฒั นา 4 ดา้ น คือ
[13]
ด้านที่ 1 การพัฒนาทางกายคือการพัฒนาตนให้มีอนามัยดี ร่างกาย
แข็งแรง มสี มรรถภาพทางกายทสี่ ามารถจะปฏิบัตงิ านได้เปน็ อยา่ งดี
ดา้ นท่ี 2 การพัฒนาศีล จะช่วยส่งไปสู่การช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน การ
พัฒนาตนเองและก็การพัฒนาสังคมให้สามารถที่จะอยู่รวมกันได้ ไม่ได้เป็น
สุขแตเ่ พียงตวั เราเทา่ น้นั
ด้านที่ 3 การพัฒนาจิต เราจะต้องทาตัวเราให้เป็นผู้มีสุขภาพจิตที่ดี
เพราะนักจิตวิทยาเชื่อว่าการที่คนมีสุขภาพจิตท่ีดีน้ันจะช่วยให้ คนปฏิบัติ
หนา้ ท่ไี ดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
ดา้ นที่ 4 การพฒั นาทางสตปิ ญั ญา คือฝกึ ตัวเองเป็นคนคิดให้เป็นรู้จักท่ี
จะใช้ความสามารถของตัวเองให้เกิดคุณค่ารู้จักพิจารณาไตร่ตรองส่ิงต่างๆ
ดว้ ยเหตผุ ล ยอมรับความจริง มคี วามกระตือรือรน้
การพฒั นาตนเองของผูบ้ รหิ ารโรงเรียนจึงมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิงต่อ
การบรหิ ารการศึกษา เน่ืองจากผู้บริหารโรงเรียนจะเป็นผู้กาหนดทิศทางใน
การจัดการศึกษา ซ่ึงผู้บริหารโรงเรียนจะต้องแสวงหาความรู้และ
ประสบการณ์ใหม่ๆ อยู่เสมอ เพื่อเป็นการพัฒนาตนเองซึ่งจะนาไปสู่การ
พัฒนาบุคลากรและการบริหารในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ ดังน้ัน
ผู้บรหิ ารยคุ ใหมจ่ ะตอ้ งพัฒนาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื งด้วยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย
4. กำรทำงำนเปน็ ทีม
การทางานเป็นทีม (Teamwork) จัดเป็นกระบวนการข้ันพ้ืนฐานใน
การพัฒนากลุ่มบุคคลที่ทางานด้วยกันเพื่อให้เขาเหล่านั้นได้เรียนรู้ว่าจะทา
[14]
อย่างไรจึงจะบรรลุเป้าหมายของแต่ละบุคคลได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
เกิดประสิทธิผลพร้อมทั้งสามารถบรรลุเป้าหมายขององค์กรไปด้วย การ
สร้างทีมงานน้ันจะต้องมีองค์ประกอบท่ีสาคัญ คือสมาชิกในทีมจะต้องมี
จานวนตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป ร่วมงานกันโดยมีเป้าหมายเดียวกัน มีส่วนร่วมใน
การวางแผนร่วมกัน มีการติดต่อส่ือสารมีการพึ่งพาอาศัยกันให้ ความ
ร่วมมือกันในการทางานและมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี โดยมีผู้นาทีม และสมาชิก
ของทีม ซง่ึ ตา่ งตอ้ งมคี วามเข้าใจในบทบาทของตนในการทางานร่วมกันเป็น
ทมี โดยทีมทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ ประกอบดว้ ย
1. ความไว้วางใจ (Trust)
2. ความอดทน (Endurance)
3. ความมเี หตผุ ลและความถูกตอ้ ง (Accountable and Accuracy)
4. การบรหิ ารการจดั การ (Management)
5. ความเตม็ ใจ (Willingness)
6. การแนะนา (Orientation)
7. การยอบรับนบั ถอื (Respect) ความนา่ เช่อื ถอื (Reliability)
8. ความรู้ (Knowledge) ความชานาญ (Keen)
9. เชาว์ปญั ญา (Intelligence)
10. ความเมตตากรุณา (Nurturance)
11. ความออ่ นนอ้ มถ่อมตน (Generosity)
5. กำรคิดวเิ ครำะหแ์ ละสังเครำะห์
[15]
ความคิดเป็นผลจากการทางานของสมองในการก่อรูป (Formulate)
บางส่งิ บางอยา่ งขึ้นในมโนคติ(mind) ผ่านการทางานของระบบการรับรู้ทาง
จิต (cognitive system) โดยในส่วนของความคิดจะทาหน้าท่ีแยกแยะการ
กระทาและความรสู้ ึกผ่านกระบวนการทางความคิดอันจะนาไปสู่พฤติกรรม
ที่ตอบสนองสถานการณ์น้ัน ทักษะการคิดเป็นตัวดึงเอาทักษะด้านความรู้
(Technical Skill) มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เหมาะสมกับสถานการณ์มาก
ท่ีสุด และทักษะการคิดเป็น “ต้นทาง” ของทักษะด้านคน (Human Skill)
มีการจัดทักษะการคิดไว้ 2 ระดับ ได้แก่ ทักษะการคิดข้ันพ้ืนฐาน
ประกอบด้วย การส่ือสาร การอธิบาย การสังเกต การตั้งคาถาม การ
รวบรวมข้อมูลการจัดหมวดหมู่การตีความการเช่ือมโยง การใช้เหตุผล การ
จาแนกความแตกต่าง การจัดลาดับ การเปรียบเทียบ การแปลความหมาย
การขยายความ และการสรุปความ เป็นต้น และทักษะการคิดข้ันสูง
ประกอบด้วย การนิยาม การผสมผสาน การสร้าง การปรับโครงสร้าง การ
หาความเช่ือพื้นฐาน การวิเคราะห์การจัดระบบ การจัดโครงสร้าง การหา
แบบแผน การทานาย การตง้ั สมมตฐิ าน การกาหนดเกณฑ์การประยุกต์การ
ทดสอบ สมมติฐาน และการพสิ ูจน์เป็นต้น
ใน กา รบ ริหา รง า น ผู้ บ ริหา รจ า เป็ น ต้ อง คิด ไ ป ทุ ก วั น เพ่ื อให้เกิด ง า น
สร้างสรรค์และเหตุท่ีต้องคิดนั้นอาจเน่ืองมาจากงานท่ีเพ่ิมข้ึน จาเป็นต้อง
เปล่ียนแปลงวิธีทางาน เพื่อสามารถทาได้ทันตามกาหนดผู้บริหารในฐานะ
เป็นผู้นาในการบริหารโรงเรียน เพื่อให้นาโรงเรียนไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ
ผู้บริหารจาเปน็ ตอ้ งมีทักษะทางความรู้ความคิด มีปัญญาและมีวิสัยทัศน์ซึ่ง
[16]
สิ่ ง ที่ ก ล่ า ว ม า น้ั น เ กิ ด ไ ด้ จ า ก ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม
ประชุมสมั มนาการอภิปรายร่วมกับคนอื่น การเรียนรู้จากประสบการณ์ของ
ตัวเองและการเรียนรู้จากประสบการณ์ของคนอื่น การบริหารงานใน
โรงเรียนยอ่ มมปี ัญหาเกิดข้ึน สภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียนจะกระตุ้นให้
คิดแก้ปัญหาทาให้เราคิดสารพัด วิธีคิดการที่เรานามาใช้ประโยชน์มีวิธีการ
คิดหลากหลายวิธี ซ่ึงจะขอนาเสนอ 4 วธิ ี คอื
1. การคดิ เชงิ ระบบ
2. การคิดวิเคราะห์
3. การคิดสังเคราะห์
4. การคิดแก้ปญั หา
6. กำรสื่อสำรและกำรจูงใจ
การส่ือสารและจูงใจได้กลายมาเป็นปัจจัยหรือองค์ประกอบที่สาคัญ
ของการบรหิ ารงานเป็นทงั้ ปัจจัยและทรัพยากรท่ีจะใช้ในการบริหารจัดการ
องค์กร ถ้าหากไม่มีการส่ือสารและจูงใจก็ไม่สามารถท่ีจะบริหารองค์กรได้
อย่างมีประสิทธิภาพ การสื่อสารและจูงใจจึงเป็นกลยุทธ์ที่มีความสาคัญต่อ
องค์กรในการบริหารท่ีจะทาให้งานขององค์กรดาเนินต่อไปและช่วยในการ
ประสานงานของหน่วยงานในแงข่ องการบริหารองค์กรการสื่อสารและจูงใจ
ทาให้เกดิ ความหมาย ทาให้คนคาดคะเนความคิดซ่ึงกันและกันได้และทาให้
มีการแลกเปล่ียนข้อมูลกันใน ฐานะท่ีเป็นเคร่ืองมือในการดาเนินงานของ
องค์กร การสอ่ื สารและจูงใจนาไปใช้ในกิจกรรมขององค์กรหลายอย่าง เช่น
[17]
การตัดสนิ ใจ การสร้างความเชีย่ วชาญเฉพาะด้าน การสร้างความเจริญและ
พฒั นาองค์กร การควบคมุ และประสานงาน ลักษณะของการสื่อสารและจูง
ใจในองค์กรอาจพิจารณาในฐานะท่ีเป็นระบบรวม คือ การใช้การสื่อสาร
และจูงใจติดตามรายงานและวิเคราะห์ข้อมูล การกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
และวัตถุประสงค์ขององค์กร รวมทั้งการติดต่อกับองค์กรอ่ืนๆ ในฐานะท่ี
เป็นระบบยอ่ ยการส่ือสารและจูงใจเป็นเคร่ืองมือสร้างความสัมพันธ์ในกลุ่ม
การฝึกอบรม การสร้างบรรยากาศ การทางาน การควบคุมสั่งงานและการ
สร้างความพอใจ ในฐานะทเี่ ป็นระบบเฉพาะบุคคลอาจพิจารณา การสอ่ื สาร
และจูงใจในแง่ของพฤติกรรมทางการส่ือสารและจูงใจในเรื่องต่างๆ เช่น
การร่วมประชุม การเขียนคู่มือ การร่างจดหมาย การทาสัญญา การพูดคุย
ในกลมุ่ คนท่ีทางานด้วยกัน และการโต้แยง้ เป็นตน้
องค์กรเป็นสถาบันท่ีเกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆ กันตามลักษณะของงาน
แต่กม็ ลี ักษณะร่วมกัน คือ มีโครงสร้าง มีวัตถุประสงค์ มีการแบ่งงานกันทา
มกี ารเปลีย่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลาและจาเป็นต้องรูข้ ้อมลู การสอื่ สารและจูงใจ
ในองค์กรจึงต้องกระทาเพ่ือหาข้อมูลท่ีจะสามารถแข่งขันกับองค์กรอ่ืนได้
โดยตอ้ งเป็นขอ้ มูลเพ่อื ใชใ้ นการตัดสนิ ใจของผู้บริหาร และใช้เปน็ แนวทางใน
การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลภายในองค์กรและกับบุคคลและ
สถาบันอื่นที่อยู่นอกองค์กรด้วย ดังน้ัน การส่ือสารและจูงใจจึงมีบทบาท
สาคัญที่ทาให้หน้าที่ต่างๆ ในองค์กรดาเนินการต่อเน่ืองกันและเสริมสร้าง
ความเขา้ ใจอนั ดรี ะหวา่ งหน้าท่ตี ่างๆ ภายในองคก์ ร พนื้ ฐานที่สาคญั ของการ
บริหารจัดการภายในองค์กรข้ึนอยู่กับ “การส่ือสารและจูงใจที่ดี” อันจะมี
[18]
ผลให้เกิดความเข้าใจ ความร่วมมือ และการประสานงานที่ดี ด้วยแผนงาน
ต่างๆ ท่ีจะนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และตรงตาม
เปา้ หมาย
7. กำรพฒั นำศักยภำพบคุ ลำกร
องคก์ ารหรือหน่วยงานทุกแห่งย่อมต้องการความสาเร็จและปัจจัยหนึ่ง
ที่สาคัญท่ีนาไปสู่ความสาเร็จก็คือ บุคลากรในองค์การ ดังนั้นการพัฒนา
เ พิ่ ม พู น ส ม ร ร ถ ภ า พ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ใ น ทิ ศ ท า ง ท่ี ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ค ว า ม
เปล่ียนแปลงของส่ิงแวดล้อมและเป้าหมายขององค์การอย่างต่อเน่ือง ย่อม
ส่งผลให้บุคลากรได้นาความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงานอย่างเต็มท่ีการพัฒนา
ศักยภาพบุคลากรจึงเป็นสิ่งสาคัญและมีความจาเป็นต่อการดาเนินการสู่
ความสาเร็จอย่างมีประสิทธิภาพของทุกองค์การโดยมีแนวทางการพัฒนา
บุคลากร 3 วิธคี อื
1. การให้การศึกษาและส่งเสริมให้พัฒนาตนเอง โดยใช้วิธีการต่างๆ
อาทิ บทเรียนสาเร็จรูป การศึกษาทางไกล การจัดทาวารสารวิชาการใน
สาขาอาชพี ศึกษาจากเอกสารคูม่ ือการทางาน ศกึ ษาจากสอ่ื โสตทัศนูปกรณ์
ต่างๆ ใหก้ ารศึกษาเพือ่ เพิ่มเติมระยะสัน้ -ระยะยาวส่งเอกสารให้สรปุ รายงาน
เสมอและการมอบหมายให้วิพากษว์ ิจารณห์ นังสอื
2. การฝึกอบรมและพัฒนา ท้ังในห้องฝึกอบรม นอกห้องฝึกอบรม
และภายในองคก์ รหรือสง่ อบรมภายนอกโดยใชร้ ปู แบบตา่ งๆ กัน
[19]
3. การพัฒนาในงาน เป็นการฝึกอบรมในงานและเรียนรู้ในงาน โดย
ใช้วิธีการต่างๆ ผู้บริหารสถานศึกษาในฐานะผู้บังคับบัญชาขั้นต้นต้องให้
ความสาคัญกับการส่งเสริมสนับสนุน การพัฒนาศักยภาพของครูหรือ
บุคลากรทางการศึกษาให้มีรูปแบบ หรือวิธีการ ท่ีเหมาะสมตรงกับ
สมรรถนะท่ีควรจะได้รับการพัฒนา โดยมีข้ันตอนการพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรบนพื้นฐาน Competency ดังนี้
1. เลือกหัวข้อ Competency ท่ีควรไดร้ ับการพัฒนา
2. ก า ห น ด พ ฤ ติ ก ร ร ม ที่ อ ง ค์ ก ร ค า ด ห วั ง ท่ี ค ร อบ ค ลุ ม
Competency สามารถจบั ตอ้ ง /สงั เกตได้ และไมก่ วา้ งจนเกนิ ไป
3. กาหนดหัวข้อที่จะนามาใช้ในการประเมิน Competency
ตลอ ดจน กา ห น ดวิ ธีกา รที่จ ะใช้ ใน กา ร ป ระ เมิน พฤติ กรร ม ท่ีต อบ ส น อ ง
Competency
4. กาหนดแนวทางการพัฒนาและฝึกอบรม ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3
แนวทางหลักคือ การให้การศึกษาและส่งเสริมให้พัฒนาตนเอง การ
ฝกึ อบรม หรอื การพัฒนาในงาน
5. การติดตามและประเมินผลการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากร
8. กำรมีวสิ ัยทัศน์
วิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา เป็นคุณสมบัติของผู้บริหารที่
สามารถมองเห็นภาพในอนาคตของสถานศึกษาท่ีต้องการจะให้เป็นไปได้
อยา่ งชดั เจนโดยภาพน้นั ตอ้ งสอดคล้องกับเป้าหมายของสถานศึกษามีความ
[20]
เป็นไปได้และสามารถมองเห็นวิธีการปฏิบัติที่จะนาสถานศึกษาให้บรรลุ
ความต้องการน้ัน วิสัยทัศน์เป็นภาพอันชัดเจนที่สะท้อนให้เห็นเป้าหมาย
ค่านิยม ปรัชญา และความเช่ือที่สมาชิกของสถานศึกษาร่วมกันยึดถือ
วสิ ัยทัศนท์ ่แี ทจ้ ริงตอ้ งเป็นวิสัยทัศนร์ ว่ มท่ีสมาชกิ ช่วยกันผลักดันสานฝัน อัน
เป็นผลจากความสามารถคิดอ่านผสานเข้ากับประสบการณ์ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมของสมาชกิ และเปน็ ผลจากความสามารถในการเก่งคดิ เกง่ คน และ
เกง่ งานของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
วิสัยทศั นจ์ ะเกิดได้ก็ต่อเม่ือมีเป้าหมายท่ีชัดเจน วิสัยทัศน์เป็นส่ิงสาคัญ
ประการแรกท่ีผบู้ ริหารสถานศึกษาจะต้องมเี พราะวิสัยทัศน์เป็น Roadmap
ใหท้ ุกคนในสถานศึกษาไดใ้ ชเ้ ป็นประทีปนาทางในการปฏิบตั งิ าน ผ้บู ริหารท่ี
มีวิสัยทัศน์ทแ่ี ทจ้ รงิ น้นั จะตอ้ งมกี ระบวนการลลี าของวิสัยทัศน์ครบท้ัง 3 มิติ
คอื คิดได้ (การสร้างวิสัยทัศน์) สื่อเป็น (การเผยแพร่วิสัยทัศน์) และโน้มนา
ให้มีการปฏิบัติล่วงหน้า (การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์) พร้อมท้ังมีการ
ประเมินผลเพื่อการปรับปรุงแก้ไขให้เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบด้วย
ลกั ษณะของวิสัยทัศนป์ ระกอบดว้ ย
1. วิสัยทัศน์ต้องเป็นภาพที่ชัดเจนตอบคาถามได้ว่า ใคร ทาอะไร ท่ี
ไหน เมอ่ื ไร และอยา่ งไร
2. วิสัยทัศน์ต้องเป็นมากกว่าเพียง “อยากเห็น” แต่ต้องฟันฝ่า
อปุ สรรคเพ่ือจะทาใหส้ งิ่ ท่ีอยากเห็น เกิดขึ้น
3. วสิ ัยทัศน์เปน็ การมองภาพท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคตขา้ งหน้า
[21]
4. วิสัยทัศน์ต้องเป็น “ภาพแง่บวก” สะท้อนส่ิงที่ดีกว่าอดีตและ
ปัจจบุ นั
5. วิสัยทัศน์คือฝันที่เป็นจริง เมื่อฝันแล้วอย่าหยุดแค่นั้นแต่เริ่มลงมือ
ทาและเม่ือลงมือทาแล้วอย่าหยุดจนกว่างานจะสาเร็จ
6. วสิ ัยทัศน์แทต้ ้องยงิ่ ใหญ่ ตระการตา ท้าทายใจ
7. วสิ ัยทัศน์เปน็ ภาพท่เี กดิ จากแนวความคิดเชงิ รุกไปขา้ งหนา้
8. วิสัยทัศน์ เป็นการคิดล่วงหน้า ก่อนท่ีจะเกิดปัญหาและมองข้าม
ปัญหาไปแล้ว
9. วสิ ยั ทัศน์ ไม่เพ้อฝัน แตต่ ้องสะท้อนเปน็ ภาพทีส่ มจรงิ สมจังสะทอ้ น
ความพร้อม
10. วิสัยทัศน์เป็นส่ิงที่มีพลังเหนืออารมณ์ความรู้สึกแม้เวลาท้อถอยใจ
ไม่มีเรย่ี วแรง ก็ยังลุกขนึ้ ได้ เมื่อหนั ไปมองวิสัยทศั น์นั้น
9. ภำวะผูน้ ำกำรเปลย่ี นแปลง
แนวคิดเก่ียวกับภาวะผู้นาการเปล่ียนแปลง (Transformational
Leadership) น้ัน เป็นกระบวนการที่ผู้นามีอิทธิพลต่อผู้ร่วมงานและผู้ตาม
โดยเปล่ียนแปลงความพยายามของผู้ร่วมงานและผู้ตามให้สูงข้ึนกว่าความ
พยายามท่ีคาดหวงั พฒั นาความสามารถของผู้ร่วมงานและผู้ตามไปสู่ระดับ
ท่ีสูงขึ้นและมีศักยภาพมากขึ้น ทาให้เกิดการตระหนักรู้ในภารกิจและ
วิสัยทัศน์ของทีมและขององค์การ จูงใจให้ผู้ร่วมงานและผู้ตามมองให้ไกล
เกินกว่าความสนใจของพวกเขาไปสู่ประโยชน์ของกลุ่มหรือองค์การหรือ
[22]
สังคม ซึ่งกระบวนการที่ผู้นามีอิทธิพลต่อผู้ตามโดยผ่านองค์ประกอบ
พฤตกิ รรมเฉพาะ 4 ประการหรือท่เี รียกว่า “4 I’s” คือ
1. การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ (Idealized Influence of
Charisma Leadership : II or CL) หมายถึง การที่ผู้นาประพฤติตัวเป็น
แบบอย่างหรือเป็นโมเดลสาหรับผู้ตาม ผู้นาที่จะเป็นท่ียกย่องเคารพนับถือ
ศรัทธา ไว้วางใจและทาให้ผู้ตามเกิดความภาคภูมิใจเม่ือได้ร่วมงานกัน ผู้
ตามจะพยายามประพฤติปฏิบัติเหมือนกับผู้นาและต้องการเลียนแบบผู้นา
ของเขา
2. การสร้างแรงบันดาลใจ (Inspirational Motivation : IM)
หมายถึงการท่ีผู้นาจะประพฤติในทางท่ีจูงใจให้เกิดแรงบันดาลใจกับผู้ตาม
โดยการสร้างแรงจูงใจภายใน ท้าทายในเร่ืองงานของผู้ตาม กระตุ้นจิต
วิญญาณของทีม (Team Spirit) ให้มีชีวิตชีวา มีความกระตือรือร้นโดยการ
สร้างเจตคติที่ดีและการคิดแง่บวก สร้างและสื่อความหวังที่ผู้นาต้องการ
อย่างชัดเจน ผู้นาจะแสดงการอุทิศตัวหรือความผูกพันต่อเป้าหมายและ
วิสัยทัศน์ร่วมกัน แสดงความเช่ือมั่นและความตั้งใจอย่างแน่วแน่ว่าจะ
สามารถบรรลุเป้าหมายได้
3. การกระตุ้นทางปญั ญา (Intellectual Stimulation : IS) หมายถงึ
การที่ผู้นามีการกระตุ้น ผู้ตามให้ตระหนักถึงปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนใน
หน่วยงาน ทาให้ผู้ตามมีความต้องการหาแนวทางใหม่ๆ มาแก้ปัญหาใน
หน่วยงานเพ่ือหาข้อสรุปใหม่ท่ีดีกว่าเดิม เพื่อทาให้เกิดส่ิงใหม่และ
สรา้ งสรรค์
[23]
4. การคานึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล (Individualized Consideration
: IC) ผู้นาจะมีความสัมพันธ์เก่ียวข้องกับบุคคลในฐานะเป็นผู้นา ดูแลเอาใจ
ใส่ผตู้ ามเปน็ รายบุคคล และทาให้ผู้ตามรู้สึกมีคุณค่าและมีความสาคัญ ผู้นา
จะเป็นโค้ช (Coach) และเป็นที่ปรึกษา (Advisor) เพ่ือการพัฒนาผู้ตาม
เอาใจใส่เป็นพิเศษในความต้องการของปัจเจกบุคคล เพ่ือความสัมฤทธิ์ผล
และเติบโตของแต่ละคน ผู้นาจะพัฒนาศักยภาพของผู้ตามและเพ่ือน
ร่วมงานให้สงู ขึน้
[24]
แนวทำงในกำรพฒั นำงำนในหนำ้ ท่ี
[25]
แนวทำงพัฒนำสถำนศกึ ษำ
[26]
กำรจดั กำรควำมรู้ 5 เทคนคิ วิธีสู่ ...
ควำมสำเรจ็ ของกำรบริหำรสถำนศึกษำ
กำรสง่ เสริมใหค้ รจู ัดกำรเรียนร้ตู ำมแนวปฏริ ูปกำรศกึ ษำ
ในยุคของการปฏิรูปการศึกษา คงปฏิเสธไม่ได้ว่าเงื่อนไข
ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของการปฏิรูปการเรียนรู้อยู่ท่ี “ผู้บริหาร ครู
อาจารย์และบุคลากรท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง” เป็นสาคัญ ฉะนั้นโรงเรียนจึง
กาหนดกลยุทธ์ใหม้ ี “การปรับวิธีเรยี นเปลี่ยนวธิ ีสอน”
- จากเดิมทค่ี รทู าหน้าท่เี ปน็ ผูส้ อน ปรับเปลีย่ นเป็นผ้อู านวยการ
จัดการความรู้
- จากเดิมท่ีสอนในห้องเรียน ปรับเปล่ียนเป็นจัดกิจกรรมการ
เรียนรูใ้ นแหล่งเรยี นรูท้ ง้ั ในและนอกโรงเรียน
- จากเดิมท่ีสอนเป็นรายวิชา ปรับเปล่ียนเป็นการบูรณาการ
หลากหลายกลุม่ สาระการเรียนรู้
- จากเดมิ ที่เคยวัดผลประเมินผลจากการสอบ ปรับเปลี่ยนเป็น
การวดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และหลากหลายวธิ เี พื่อค้นหาและพฒั นา
ศกั ยภาพผเู้ รยี น
ดังนั้นการปรับเปล่ียนวัฒนธรรมองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการ
เรียนรไู้ ด้ ผ้บู ริหารจะตอ้ งอดทดและใช้เวลาพอสมควร ทัง้ น้โี ดยอาศัยวิธีการ
“สรา้ งความเข้าใจ ให้ความสาคัญ และผลักดันคุณภาพ” อย่างต่อเนื่อง จึง
จะบังเกิดผลตามทีต่ ้องการ สาหรับผลการดาเนินงานจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนท่ีได้ดาเนินการมา โรงเรียนได้จัดให้มีการนาเสนอผลงานในเวที
[27]
ศักยภาพนักเรียน และเวทีศักยภาพครู เพ่ือเปิดโอกาสให้ทุกคนได้แสดง
ศักยภาพ รวมทั้งแลกเปลีย่ นเรียนร้ซู ึ่งกันและกันอยา่ งน้อยปีละ 1 ครัง้
กำรใช้ ICTส่งเสริมกำรบริหำรและกำรจดั กำรเรยี นรใู้ นสถำนศกึ ษำ
ในยุคปัจจุบันเช่ือม่ันว่าหน่วยงานสถานศึกษาหลายแห่งได้นาสื่อ
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆ เข้ามาใช้ในการบริหารจัดการและนามา
ประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มากขึ้น โดยเฉพาะการจัดให้มี
กิจกรรมการเรียนรู้สู่โลกกว้างผ่านระบบ TV.Conference ร่วมกับ
สถานศึกษาอื่นๆ ท้ังในและต่างประเทศ การใช้เว็บจัดการความรู้ของ
สถา บัน ส่ง เส ริมกา รจัดการความรู้เพ่ือสั งคมหรือท่ีรู้จัก กัน ดีในน ามเว็บ
Gotoknow นับได้ว่าเป็นคลังความรู้อันทรงพลังท่ีผู้บริหาร ครูอาจารย์ นัก
การศึกษาและผู้เก่ียวข้องสามารถจะเข้าถึงข้อมูล ข่าวสาร ผลงานและได้
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ประสบการณ์ ความรอู้ ย่างกวา้ งขวาง
หลำกหลำยเทคนคิ กำรบริหำรแบบมสี ่วนรว่ ม
การจัดการสมัยใหม่ได้ให้ความสาคัญกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
(Stakeholder) และลูกค้า (Customer) เป็นสาคัญ ในที่นี้หมายถึงชุมชน
คือกลุ่มเป้าหมายสาคัญท่ีจะผลักดันสนับสนุนส่งเสริมช่วยเหลือให้การ
ดาเนินงานของโรงเรียนประสบความสาเร็จฉะน้ันแนวดาเนินการในการดึง
ศักยภาพของชุมชนเข้ามาสู่สถานศกึ ษา จึงสามารถดาเนนิ การได้ดงั น้ี
ประกำรแรก โรงเรียนมีการส่ือสารถึงผู้ปกครองอย่างสม่าเสมอ
ผ่านทางจดหมายข่าว วารสารของโรงเรียน เว็บไซต์ การจัดประชุม
ผูป้ กครอง การออกพบปะเยีย่ มนักเรยี น เปน็ ตน้
[28]
ประกำรที่สอง โรงเรียนได้เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนเข้า
มาใช้บริเวณอาคารสถานท่ีของโรงเรียนในการจัดกิจกรรมพบปะสังสรรค์
ประชุม อบรม สัมมนา หรือสาธิต กิจกรรม OTOP โดยสถานศึกษาคิด
ค่าใช้จ่ายในราคาถูกหรือเป็นการให้เปล่า ซึ่งจะทาให้ผู้ปกครองและชุมชน
ได้รับความสะดวกและเกิดความพึงพอใจในการให้บริการของสถานศึกษา
และพร้อมที่จะให้การสนับสนุนโรงเรียนในโอกาสอันควร นอกจากน้ันยัง
เปิดโอกาสให้หน่วยงานสถานศึกษาทง้ั ภาครัฐและเอกชนท้ังในประเทศและ
ตา่ งประเทศเข้าเย่ยี มชมศึกษา-ดงู าน แลกเปลย่ี นเรียนรู้กับคณะผู้บริหารครู
อาจารย์ บุคลากรและนกั เรยี นเปน็ ประจาทุกปี
ประการสุดท้าย การเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในวันสาคัญเกี่ยวกับ
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ที่หน่วยราชการหรือหน่วยงานเอกชนจัดข้ึน
โรงเรียนต้องให้ความสาคัญโดยการนาคณะครู บุคลากรและนักเรียนเข้า
รว่ มงานอยา่ งสมา่ เสมอจนกลายเปน็ สญั ลกั ษณ์ของ
นอกจากจะเป็นความร่วมมือกับ ชุมชนแล้วยังเป็นการ
ประชาสัมพันธ์โรงเรียนทางอ้อมท่ีไม่ต้องลงทุนโฆษณาประชาสัมพันธ์
มากมายนัก
กำรส่งเสรมิ กำรใช้แหล่งเรียนร้ภู ำยในและภำยนอกสถำนศกึ ษำ
ด้วยข้อจากัดของการจัดประสบการณ์การเรียนรจู้ ากประสบการณ์
ตรง คงไม่มีสถานศึกษาใดท่ีสามารถนาทุกสิ่งทุกอย่างมาไว้ท่ีโรงเรียน
เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษา เรียนรู้ ฉะน้ันส่ิงท่ีครูและผู้บริหารได้วางแผน
[29]
ร่วมกันคือ การสารวจแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และจัดพิมพ์เป็น
ทาเนียบ เพือ่ ใหง้ ่ายตอ่ การสบื ค้นหรือประสานงานในการสนับสนุนส่งเสริม
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในลักษณะบูรณาการ ซ่ึงในแต่ละท้องถิ่นจะมี
แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย โดยเฉพาะจังหวัด
พระนครศรีอยุธยานับว่าโชคดีที่มีสินทรัพย์ทางปัญญาและมรดกอันล้าค่า
ซ่ึงองค์การยูเนสโกประกาศยกย่องให้เป็น “มรดกโลกทางด้านวัฒนธรรม”
ดังนั้นการจะจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ หรือการนานักเรียนไปสัมผัส
ศกึ ษา เรยี นร้จู ากประสบการณต์ รงจึงไม่มีปัญหาอุปสรรคแต่อยา่ งใด
กรณตี ัวอยา่ งของการจัดกิจกรรมร่วมกับแหล่งเรียนรู้/ ภูมิปัญญา
ท้องถน่ิ เชน่
- ศนู ย์ศกึ ษาประวัติศาสตรอ์ ยุธยา
- พพิ ิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา
- พพิ ิธภณั ฑสถานแห่งชาติจันทรเกษม
- พิพธิ ภัณฑ์เรือไทย (อาจารยไ์ พฑูรย์ ขาวมาลา)
- นครประวัตศิ าสตรพ์ ระนครศรีอยธุ ยา
- ศูนย์การเรียนรู้ธรรมชาติ สนองแนวพระราชดาริ “เศรษฐกิจ
พอเพียง” เปน็ ตน้
แนวทางการดาเนนิ งานทค่ี รหู รือผู้เกี่ยวข้องควรทราบ มีดังน้ี
1) ควรมีการประสานงานและวางแผนร่วมกันระหว่าง
สถานศกึ ษากับแหล่งเรยี นรู้/ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ เปน็ การลว่ งหนา้
[30]
2) ควรให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรใู้ นลกั ษณะบูรณาการรว่ มกับครผู ้สู อน
3) ในระหวา่ งจดั กิจกรรมการเรียนรู้ควรเปิดโอกาสให้นักเรียนได้
ฝึกทักษะกระบวนการกลุ่ม ช่วยกันสืบค้นข้อมูล ความรู้ โดยมีครูและภูมิ
ปัญญาทอ้ งถิ่นทาหน้าที่ให้คาปรึกษา
4) หลังจากเสร็จกิจกรรมควรมีการนาเสนอผลงานกลุ่มของ
นักเรียน และให้นักเรียนมีการประเมินผลงานของตนเอง ประเมินโดยครู
และประเมนิ โดยผเู้ กี่ยวข้อง เช่น ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน เป็นตน้
5) ข้อควรปฏิบัติในการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ ควรเปิด
โอกาสให้นักเรียนได้แสดงบทบาทของคุณกิจ คุณลิขิต และมีครูหรือ
ผ้บู ริหารทาหน้าท่เี ปน็ คุณเอ้ือคณุ อานวยอยา่ งแทจ้ รงิ
กำรดำเนนิ งำนระบบชว่ ยเหลอื ดแู ลนักเรยี น
ครูหรือผู้บริหารย่อมทราบดีอยู่แล้วว่า จิตวิทยาการจัดการเรียนรู้
ต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และต้องเช่ือว่าผู้เรียนทุกคน
สามารถพัฒนาได้ ดังน้ันในการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนจึงมีความ
จาเป็นและควรให้ความสาคัญไม่แพ้การดาเนินงานด้านการเรียนการสอน
และอนื่ ๆ
ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนท่ีโรงเรียนนามาใช้ มดี ังนี้
1) ระบบครูคมู่ ติ ร เป็นการจัดครูประจาชั้นหรือครูประจาวิชาท่ีมี
หอ้ งใกล้กนั ชว่ ยกันสอดส่องดูแลพฤติกรรมการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมท่ี
[31]
ไมพ่ ึงประสงค์ของนักเรยี น เพอื่ เปน็ การป้องปราม หรือปอ้ งกันปญั หาไว้เป็น
การลว่ งหนา้
2) ระบบเพื่อนชว่ ยเพ่ือนและพี่ช่วยน้อง เป็นการปลกู ฝงั จิตสานกึ
ให้นักเรียนดูแลช่วยเหลือกันเอง ภายใต้การดาเนินงานของคณะกรรมการ
สภานักเรียน ซึ่งจะทาหน้าที่แนะนาช่วยเหลือ สอดส่องดูแล รายงาน
พฤติกรรมนกั เรียนทไ่ี มพ่ งึ ประสงคใ์ ห้ครทู ราบ
3) ระบบผู้ปกครองเครือข่าย เป็นการขอความร่วมมือจาก
ตวั แทนผ้ปู กครองนักเรยี นแตล่ ะระดับ แตล่ ะช่วงชนั้ ทาหน้าที่สอดส่องดูแล
พฤติกรรมนักเรียนนอกโรงเรียน และรายงานให้ครูหรือผู้บริหารทราบ
พร้อมทั้งในคาแนะนา ปรึกษา ในการสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรม
พัฒนาผเู้ รยี นด้วย
4) ระบบเยี่ยมยามถามข่าว เป็นการจัดครูประจาช้ันหรือครูท่ี
ปรึกษาร่วมกับผู้บริหารและผู้ปกครองเครือข่าย ออกพบปะ เย่ียมเยียน
ผู้ปกครองและนักเรียนในชุมชน หมู่บ้านท่ีนักเรียนอาศัยอยู่ เพื่อรับทราบ
ข้อมูล ข่าวสาร สภาพปญั หาความต้องการของผู้ปกครองและนักเรียนอย่าง
แท้จริง และนาไปสู่ความร่วมมือในการแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนอย่าง
ต่อเน่ือง การจัดการความรู้ร่วมกันของผู้บริหาร ครูอาจารย์ นักเรียน และ
บุคลากรทางการศึกษา เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มิตรภาพ การ
รู้จักยอมรับความคิดเห็น รู้จักให้เกียรติซ่ึงกันและกัน รวมถึงการทางาน
ร่วมกนั เปน็ ทมี
[32]
ควำมรคู้ วำมสำมำรถในกำรพัฒนำสถำนศกึ ษำ
ผลการปฏิบัติงาน ข้าพเจ้าขอรายงานผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติ
หน้าที่ย้อนหลัง 2 ปี ติดต่อกัน โดยนับตั้งแต่วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ.
2559 ถงึ วันท่ี 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ดงั น้ี
1) ผลงำนตำมหน้ำท่ีและควำมรับผิดชอบตำมมำตรฐำนตำแหน่งและ
มำตรฐำนวิทยฐำนะ
1.1) บริหำรกิจกำรของสถำนศึกษำปฏิบัติหน้าที่ผู้อานวยการ
สถานศึกษา โรงเรียนเสนาบดี และโรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ บังคับบัญชา
พนักงานครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ตามตารางดงั น้ี
ปี พนักงาน ครจู ้าง นกั การฯ/ พนักงาน รวม/คน
การศกึ ษา ครู/คน สอน/คน คน จ้างทั่วไป/
คน
2560 22 8 2 - 44
2561 14 6 2 2 24
1.2) วำงแผนกำรปฏบิ ตั งิ ำน ตามโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน ดงั น้ี
ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา
คณะกรรมการ คณะกรรมการหลกั สตู รฯ
สถานศกึ ษา
ฝา่ ยวชิ าการ ฝา่ ยบคุ คล ฝา่ ยบรหิ าร ฝ่าย
ทัว่ ไป งบประมาณ
[33]
ลกั ษณะงำนทีป่ ฏบิ ตั ิ
(1) บังคับบัญชาพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
สถานศึกษา โดยบรหิ ารกจิ การสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ
ข้อบังคบั นโยบายและวัตถปุ ระสงคข์ องสถานศึกษา
(2) วางแผนพฒั นาการศกึ ษา ประเมนิ และจัดทารายงานเกี่ยวกับ
กิจการของสถานศกึ ษา
(3) จัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดกระบวนการ
เรยี นรู้ การพัฒนาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การนิเทศและ
การวัดผลประเมินผล
(4) สง่ เสรมิ และจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายท้ังใน
ระบบ นอกระบบและตามอธั ยาศยั
(5) จดั ทาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
(6) บรหิ ารงบประมาณ การเงนิ และทรัพย์สิน
(7) วางแผนการบริหารงานบุคคล การสรรหา การบรรจุแต่งตั้ง
การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน วินัยและการรักษาวินัย การ
ดาเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอทุ ธรณ์และการร้องทกุ ข์
(8) จดั ทามาตรฐานและภาระงานของพนกั งานครแู ละบคุ ลากรใน
สถานศึกษา ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามมาตรฐานของพนักงานครูและ
บุคลากรทางการศึกษา
(9) ส่งเสริมสนับสนุนพนักงานครูและบุคลากรในสถานศึกษา ให้
มีการพฒั นาอย่างตอ่ เนือ่ ง
[34]
(10)ประสานงานความร่วมมือกับชุมชนและท้องถิ่น ในการระดม
ทรัพยากรเพ่ือการศึกษาและให้บริการดา้ นวิชาการแก่ชมุ ชน
(11) จดั ระบบควบคุมภายในสถานศกึ ษา
(12) จัดระบบดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียน
(13) เปน็ ผ้แู ทนของสถานศกึ ษาในกจิ การทัว่ ไป
(14) ปฏิบัตงิ านอ่ืนที่เกย่ี วขอ้ งหรือทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย
โดยข้าพเจา้ มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการบริหารงานในหน้าที่
กฎหมาย ระเบียบที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงานและมีความรอบรู้ทั่วไปใน
ระดับสูง มีความสามารถในการบริหารจัดการสถานศึกษาด้านวิชาการ
งบประมาณ การบริหารงานบุคคล งานบริหารงานทั่วไป ความสัมพันธ์กับ
ชุมชน ซึ่งมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดค้นวิจัย นาผลไปใช้ในการพัฒนา
สถานศึกษามกี ารพัฒนาคนและพัฒนาวิชาชพี มีทักษะอย่างสูงในการบริหาร
จดั การศึกษา มกี ารคิดค้นพัฒนานวัตกรรมที่เปน็ ประโยชน์ต่อการบริการจัด
การศึกษา ส่งผลให้พนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติงานได้
อย่างมีประสิทธิภาพมีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษาและองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นผู้มีวินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณ
วิชาชีพ
ในการวางแผนการปฏบิ ัติงาน การควบคมุ กากับดูแลเกี่ยวกับการ
บริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณการบริหารงานบุคคล การ
บริหารท่ัวไป น้ัน ข้าพเจ้าได้ดาเนินการกระบวนการบริหารเชิงคุณภาพ
ตลอด 2 ปีการศกึ ษา ซ่ึงได้ใชว้ งจร PDCA ดาเนินการ ดงั นี้
[35]
กำรบริหำรงำนวิชำกำร
1) งำนวิชำกำร
ง า น วิ ช า ก า ร เ ป็ น ง า น ห ลั ก ที่ ส า คั ญ ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า
ขา้ พเจา้ มีความสนใจและตระหนักถึงหน้าท่ีความรับผิดชอบต่องานวิชาการ
รู้จกั ปรับปรงุ ตนเองใหร้ ้แู ละเข้าใจงานวิชาการเป็นอย่างดี สามารถเป็นผู้นา
ครูผู้สอนดาเนินงานวิชาการและพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งนักเรียน
สว่ นใหญ่ เปน็ นักเรียนที่ด้อยโอกาส มาจากสภาพครอบครัวท่ีแตกแยกขาด
ความอบอุ่นอยู่ในสภาพแวดล้อมชุมชนแออัด ผู้ปกครองส่วนใหญ่ประกอบ
อาชีพรับจ้างหาเช้ากินค่า มีฐานะยากจนขาดความพร้อมทางการเรียน จึง
เป็นภาระท่หี นกั ในการพัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียน แต่ข้าพเจ้าก็ไม่ย่อท้อ
ตอ่ ปัญหาอุปสรรคต่างๆ มุ่งม่ันท่ีจะพัฒนานักเรียนให้พัฒนาตนเองได้อย่าง
เต็มท่ีตามธรรมชาติและศักยภาพของผู้เรียน โดยได้ปฏิบัติหน้าที่งาน
วิชาการ ดังนี้
1.1) งานด้านหลักสูตรและการนาหลกั สตู รไปใช้
(1) จัดให้มีการเรียนการสอนตามหลักสูตรระดับชาติ
ได้แก่ หลักสูตรปฐมวัยพ.ศ. 2546 และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551
(2) ดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียน
ตามแนวทางของหลักสูตรปฐมวัย พ .ศ. 2546 และหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พ.ศ. 2551
[36]
โดยได้ปฏิบัติภารกิจในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
ดังนี้
(1) สร้างความตระหนักให้แก่บุคลากร ซึ่งประกอบด้วย
คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ผู้บริหาร ครูผู้สอน ผู้ปกครอง ชุมชน
นักเรียน ทั้งน้ีเพ่ือให้เห็นความสาคัญ และความจาเป็นท่ีต้องร่วมมือกัน
บริหารจัดการหลักสูตรของสถานศึกษา โดยสารวจสภาพปัจจุบันของ
บุคลากรเกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจในหลักสูตร ดาเนินการประชาสัมพันธ์
เผยแพร่ความรู้เก่ียวกับหลักสูตร ประชุม ช้ีแจง ประชุมปฏิบัติการศึกษาดู
งาน เพ่ือทาความเข้าใจหลักสูตร โดยข้าพเจ้ามีความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรซ่ึง
สามารถนาไปถ่ายทอดและปฏบิ ัตจิ รงิ
(2) วางแผนการดาเนินงานวิชาการกาหนดสาระ
รายละเอียดของหลักสูตรระดบั สถานศึกษาและแนวการจัดสดั ส่วนสาระการ
เรยี นร้แู ละกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องกับหลักสูตร
สภาพเศรษฐกิจ สงั คม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิน่
(3) จัดทาคู่มือการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการ
สถานศึกษา นิเทศ กากับติดตามให้คาปรึกษาเก่ียวกับการพัฒนาหลักสูตร
การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล และการแนะแนว ให้
สอดคล้องเป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา
บุคลากรเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้การวัดผล
และประเมินผล และการแนะแนวให้เป็นไปตามจุดหมาย และแนวทางการ
ดาเนินการของหลักสตู ร
[37]
(4) ประสานความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงาน องค์กร
ต่างๆ และชุมชนให้การใช้หลักสูตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมี
คณุ ภาพ
(5) ประชาสัมพันธ์หลักสูตรและการใช้หลักสูตรแก่
นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชนและผู้เกี่ยวข้องและนาข้อมูลป้อนกลับจากฝ่าย
ต่างๆ มาพิจารณา เพือ่ การปรบั ปรุงและพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษา
(6) ส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนา
หลกั สตู รและกระบวนการเรยี นรู้
(7) ตดิ ตามผลการเรียนของนกั เรยี นทกุ ระดับช้ันในแต่ละ
ปีการศึกษา เพ่ือปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาการดาเนินการด้านต่างๆ ของ
สถานศกึ ษา
(8) ตรวจสอบทบทวน ประเมินมาตรฐานการปฏิบัติงาน
ของครแู ละการบริหารหลักสูตรระดับสถานศึกษาในรอบปีที่ผ่านมา แล้วใช้
ผลการประเมินเพ่ือวางแผนพัฒนาการปฏิบัติงานของครูและการบริหาร
หลกั สตู รสถานศึกษา
(9) รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานและผลการบรหิ ารหลกั สตู ร
ของสถานศึกษาโดยเน้นผลการพัฒนาคุณภาพนักเรียนต่อคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรระดับเทศบาล
สาธารณชนและผู้เกีย่ วขอ้ ง
(10)จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
และงานวิชาการอย่างน้อยภาคเรียนละ 2 ครั้ง เพ่ือสรุปผลการดาเนินการ
[38]
ประเมินผลการใช้หลักสูตร ซึ่งจะได้นาผลการดาเนินการรวมท้ังปัญหา
ข้อเสนอแนะต่างๆ มาใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการวางแผนปรับปรุงและ
พฒั นากระบวนการบรหิ ารหลักสตู ร เพอ่ื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งข้ึน
1.2) งานดา้ นการเรยี นการสอน
ส่งเสริม สนับสนุน จัดให้มีการจัดทาแผนการจัดการ
เรียนรู้ ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นการจัด
กิจกรรมโดยใหผ้ ู้เรียนเปน็ ผไู้ ดล้ งมือปฏิบัติให้มากที่สุด เปิดโอกาสให้ผู้เรียน
เป็นผู้ค้นพบคาตอบหรือทางานสาเร็จด้วยตนเอง เน้นทักษะกระบวนการ
เรียนรู้และการนาไปใช้ โดยครูเป็นเพียงผู้คอยช้ีนาส่งเสริมหรือกระตุ้นให้
กิจกรรมที่ผู้เรียนดาเนินการ ให้เป็นไปตามผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง และ
สง่ เสรมิ การวิจัยในชน้ั เรียน การจดั การเรยี นรแู้ บบ โครงงาน เพือ่ พฒั นาการ
เรียนการสอนในชั้นเรียนอย่างเป็นระบบ โดยข้าพเจ้าเป็นผู้ตรวจสอบและ
ให้คาแนะนาในการจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ ซ่ึงข้าพเจ้าเป็นผู้ท่ีมี
ความรู้ ความเข้าใจในการจัดการเรียนการสอนเป็นอย่างดี โดยได้ส่งเสริม
สนับสนนุ การจดั การเรียนรูด้ ังนี้
(1) จัดห้องเรียนให้เหมาะสม สอดคล้องกับจานวน
นักเรียนและครู รวมถึงจัดวัสดุครุภัณฑ์ และส่ิงอานวยความสะดวกให้
เพยี งพอตามความจาเป็น
(2) จัดสถานท่ี อุปกรณ์เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ และห้อง
พิเศษเพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
โดยมีหอ้ งพเิ ศษ ดงั นี้
[39]
(2.1) ห้องสมุดเสมือนจรงิ จานวน 1 ห้อง
(2.2) หอ้ งนาฏศลิ ป์ จานวน 1 ห้อง
(3) ดาเนินการจัดทาตารางสอนให้สอดคล้องกับอัตรา
เวลาเรียนท่กี าหนดไวใ้ นหลักสตู ร โดยได้จดั ทาตารางสอนรายบคุ คล รายช้นั
เรียน และตารางสอนรวม เพ่ือความสะดวกในการนิเทศ กากับ ติดตาม
ประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน
(4) จดั หาและจัดทาเอกสารประกอบหลักสูตร และแบบ
พิมพ์ต่างๆ ที่สนับสนุนการสอน เช่น แนวการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
คู่มือครูเอกสารการวัดผลประเมนิ ผล ผงั มโนทัศน์และสาระหลักสูตร การจัด
สาระการเรียนรู้ แนวทางการจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรยี น เป็นต้น
(5) จัดวางตัวบุคคลเข้าสอนเป็นครูประจาช้ัน ครูพิเศษ
ใหเ้ หมาะสมโดยคานึงถึงความรู้ความสามารถ ความถนัดและประสบการณ์
เป็นหลกั โดยการสารวจความต้องการในการสอนของครผู สู้ อน
(6) ติดตามการจัดการเรียนการสอนของครู โดยได้ตรวจ
แผนการจัดการเรียนรู้และการนิเทศการสอน เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียน
การสอนให้มปี ระสิทธภิ าพ
(7) กากับ ควบคุม ดูแล การจัดครูเข้าสอนแทนครูที่ไม่
มาปฏิบัติงาน โดยให้มีการบันทึกมอบหมายการสอนแทนเป็นลายลักษณ์
อักษร
[40]
(8) ตดิ ตามช่วยเหลือ แกป้ ัญหาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ
เรียนการสอนให้แก่ครูให้ขวัญและกาลังใจในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนตามหลกั สตู ร
(9) เปน็ ผู้นาใหค้ รปู รับปรุงการสอน ใหร้ ู้จักใช้เทคนิคและ
วิธีการสอนแบบต่างๆ และเลือกกิจกรรมการสอนโดยคานึงถึงสภาพความ
พร้อมของนกั เรียน สอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นเป็นสาคัญ เพื่อให้นักเรียนมี
ความรู้ ทกั ษะและเจตคติทีด่ ี
1.3) งานด้านวสั ดุประกอบหลักสูตรและสอ่ื การสอน
(1) จัดหาและบริการวัสดุประกอบหลักสูตร และส่ือการ
เรียนการสอนแก่ครูอย่างเพียงพอ มีการสารวจความต้องการ วางแผนเพื่อ
จดั หาและดาเนินการจดั หาบริการตามความตอ้ งการของครู
(2) สง่ เสริมและสนับสนุน ให้ครูรู้จักทา รู้จักใช้ และรู้จัก
เก็บบารงุ รกั ษาสอื่ การสอนให้ตรงกบั แผนการจัดการเรียนรู้
(3) จัดให้มีศูนย์วิชาการของโรงเรียน เพื่อเป็นแหล่ง
บริการสื่อการสอนสาหรบั ครู
(4) ส่งเสริมให้ครูรู้จักคิดค้นสร้างสรรค์ส่ือหรือวิธีการ
ใหม่ๆ ที่จะนามาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือนาไปสู่การสร้าง
ผลงานทางวิชาการ
(5) แสวงวิทยาการที่เป็นภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน เช่น บุคลากร
สถานท่ปี ระกอบการเพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกบั กจิ กรรมการเรียนการสอน
[41]
(6) จัดให้มีการตดิ ตามและประเมินผลการใช้สื่อการเรียน
การสอนอย่างสม่าเสมอ เช่น การตรวจแผนการจัดประสบการณ์ การสังเกต
การเรียนการสอน เปน็ ต้น
1.4)งานวัดผลและประเมนิ ผล
(1) จั ด ใ ห้ มี ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล ต า ม ร ะ เ บี ย บ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
(2) ศึกษาและทาความเข้าใจระเบียบการประเมินผลฯ
สามารถอธิบายหรือชี้แจงให้ครูผู้สอนเข้าใจและปฏิบัติได้ ตลอดจนได้รับ
การอบรมเพิม่ เตมิ ความรู้ในการวัดผลประเมนิ ผลตามหลักสูตร
(3) วางแผนกาหนดระยะเวลาการวัดผลและประเมินผล
และจัดทาปฏิทินปฏิบัติงานวิชาการ ให้สอดคล้องกับหลักสูตร และเวลา
เรยี น
(4) จดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ แบบฟอร์มและเคร่อื งมือทีจ่ าเปน็
เพ่อื ใช้ดาเนนิ งานวดั ผลและประเมินผลใหพ้ ร้อมและเพียงพอ
(5) จดั สร้างเครื่องมือวัดผลท่ีมีคุณภาพและปรับปรุงการ
สร้างขอ้ สอบของครใู ห้มมี าตรฐานและมปี ระสิทธิภาพ
(6) ให้มีคณะกรรมการประเมินผลของโรงเรียน เพ่ือ
พจิ ารณาตัดสินผลการเรยี นตามเกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผล
(7) จดั ใหค้ รูทาหน้าทวี่ ดั ผลและประเมินผลของโรงเรียน
(8) วิเคราะหผ์ ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรียนเพ่ือนา
ผลการวิเคราะหม์ าใช้ในการปรบั ปรุงพัฒนาการเรยี นการสอน
[42]
(9) จดั ทา ติดตาม และตรวจสอบ เอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับ
การวดั ผลใหเ้ ป็นไปตามระเบยี บว่าด้วยการวัดผลประเมนิ ผลตามหลกั สูตร
( 1 0 ) จั ด ท า ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น แ ส ด ง ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง
นกั เรียนทกุ คน ทกุ ชั้น เพอื่ แจง้ ใหน้ ักเรียนและผ้ปู กครองทราบ
ผลกำรบรหิ ำรงำนวชิ ำกำร
ผลการบริหารงานวิชาการส่งผลให้ครูทุกคนจัดกระบวนการเรียน
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ด้วยวิธีการสอนและพัฒนาแหล่งเรียนรู้
แบบองค์รวมเปิดห้องเรียนสู่โลกกว้างให้ส่ิงรอบข้างเป็นครู ให้นักเรียนได้
สงั เกต ไดค้ ิด ได้ถามได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง จากส่ิงท่ีอยู่รอบตัว ให้
ได้ยินกับหู ได้ดูกับตา และได้สัมผัสด้วยตัวเอง ตามปรัชญาการศึกษาของ
โรงเรียนที่ว่า “การศึกษาคือชีวิต”ส่งผลให้นักเรียนโรงเรียนมัธยมเทศบาล
๔ มีลกั ษณะที่พึงประสงค์ เป็นคนดี คนเก่ง และมคี วามสขุ น่นั คือ
(1) มคี ณุ ธรรม จริยธรรมและค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ตลอดจนมีสุข
นิสยั สขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี
(2) มีสุนทรียภาพและลักษณะนสิ ยั ด้านศิลปะ ดนตรี และกีฬา
(3) มีความร้แู ละทักษะทจ่ี าเปน็ ตามหลกั สตู ร
(4) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มี
วิจารณญาณ มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ คดิ ไตรต่ รอง และมีวิสัยทัศน์
(5) มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
[43]
(6) มีทักษะในการทางาน รักการทางาน ทางานร่วมกับผู้อื่นได้
และมีเจตคติทดี่ ตี อ่ อาชพี สจุ รติ
(7) มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม รักษา
ผลประโยชน์ของสว่ นรวม
(8) เป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และปฏิบัติตน
ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ
(9) มีการแสดงออกด้วยความมั่นใจ ร่าเริงแจ่มใส ปรับตัวเข้ากับ
เพ่อื นและสถานการณ์ต่างๆ ได้ดีมมี นษุ ยสัมพนั ธ์ท่ีดี มคี วามกระตือรอื รน้
กำรบริหำรงำนงบประมำณ
1) กำรบริหำรงำนกำรเงิน
งานการเงินเป็นงานที่สาคัญอย่างหนึ่งในการบริหารโรงเรียน
ซึง่ เปน็ หนา้ ที่ต้องปฏบิ ตั ใิ ห้เปน็ ไปตามระเบยี บ กฎหมาย และข้อบังคับ เพ่ือ
ตอบสนองการดาเนินงานต่างๆ ภายในโรงเรียนให้เป็นไปด้วยความรวดเร็ว
ถูกต้องและมีประสิทธภิ าพ ดงั น้ี
1.1) จัดให้มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่ดาเนินงานด้านการเงิน
โดยเฉพาะ โดยชแี้ จงให้ปฏบิ ัตงิ านดา้ นการเงนิ ตามระเบียบ กฎหมาย และ
ข้อบังคบั ตา่ งๆ ให้ทุกฝ่ายสามารถตรวจสอบการปฏิบตั ิงานไดเ้ ป็นปัจจุบัน
1.2) จัดให้มีระเบียบ กฎหมาย และข้อบังคับในการ
ปฏิบัตงิ าน เพอ่ื ใช้เปน็ ค่มู ือในการปฏิบัติงานดา้ นการเงนิ
[44]
1.3) จัดให้มีการทาบัญชีคุมการใช้จ่ายเงินภายในโรงเรียน
ประกอบด้วยบัญชีเงินสดและบัญชีแยกประเภท ให้เป็นไปตามระเบียบ
กฎหมายและข้อบงั คบั อยา่ งถกู ต้องเปน็ ปจั จบุ นั
1.4) เป็นคณะกรรมการเบิกจ่ายเงินและดาเนินการเก่ียวกับ
เร่ืองการเงินท้ังเงินนอกงบประมาณ เงินงบประมาณ โดยดาเนินการให้
ถูกต้องตามระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับ เป็นปัจจุบันตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ นี ารายได้สถานศึกษาไปจัดสรร
เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน พ.ศ. 2551
1.5) จัดใหม้ กี ารทาเอกสารหลกั ฐานเก่ียวกบั การเบกิ จ่ายฎกี า
ตา่ งๆ เก่ยี วกับการเงินให้ถูกตอ้ ง ตามระเบยี บ กฎหมาย และข้อบังคับ
1.6) จัดให้มีการทารายงานการเงินของโรงเรียนเสนอกอง
การศึกษา เทศบาลตาบลไทรม้าเปน็ ประจาทุกเดอื น
2) กำรบรหิ ำรงำนพัสดุ
การบริหารงานพัสดุ เป็นภารกิจที่มีความสาคัญเป็นอย่างยิ่ง
ถา้ สามารถปฏบิ ตั ภิ ารกิจเก่ียวกับงานพัสดุ ใหม้ ีประสิทธภิ าพแลว้ จะส่งผลถึง
ประสิทธิภาพของการบริหารโรงเรียน ซ่ึงจะมีส่วนส่งเสริมสนับสนุนการ
บริหารโรงเรียนให้สัมฤทธิ์ผลได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยข้าพเจ้าได้ปฏิบัติ
หน้าทเ่ี กีย่ วกบั งานพสั ดุ ดงั นี้
2.1) จัดให้มีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่ด้านพัสดุโดยตรง ซ่ึงได้
ช้ีแจงใหป้ ฏบิ ัตหิ น้าที่ใหถ้ กู ตอ้ ง ตามระเบยี บ กฎหมายและข้อบังคับ
[45]
2.2) จดั ให้มีสถานทีใ่ นการเกบ็ รักษาพสั ดุ
2.3) จัดใหม้ ีทะเบยี นและเอกสารตา่ งๆ ตามระเบียบการพสั ดุ
2.4) จัดใหม้ คี ่มู อื ตลอดจนระเบยี บตา่ งๆ ในเรอ่ื งการพัสดุ เพอ่ื
ใช้ประกอบในการปฏิบัติหน้าทีแ่ ละใช้อ้างอิงให้เป็นปัจจุบนั
2.5) ดาเนินการเรื่องการจัดซื้อ จัดจ้าง ตามงบประมาณที่
ได้รับทั้งท่ีงบประมาณของเทศบาลตาบลไทรม้า และเงินอุดหนุนจากกรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทยโดยคานึงถึงระเบียบ
กฎหมาย ข้อบังคับ คุณภาพสินค้าให้เหมาะสมกับราคาและ ความต้องการ
ของครูตลอดจนความสอดคล้องเหมาะสมต่อการส่งเสริม สนับสนุนการ
จัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน
2.6) ดาเนินการเร่ืองการตรวจสอบพัสดุประจาปี เพ่ือ
ตรวจสอบวา่ มีการเบกิ จ่ายพสั ดถุ ูกต้องหรือไม่ มพี สั ดุคงเหลอื มีตัวตนอยู่ตรง
ตามทะเบียนหรือไม่ มีพัสดุชารุดเสื่อมคุณภาพหรือสูญไปหรือไม่ โดยเสนอ
รายงานให้เทศบาลไดร้ บั ทราบภายในเดอื นกนั ยายนของทุกปี
2.7) จดั ใหม้ ีการสารวจพัสดุที่ชารุด เพื่อซ่อมแซมให้ใช้การได้
โดยใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด พัสดุใดชารุดซ่อมแซมไม่ได้หมดความจาเป็น
หรือใช้ต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ก็จะเสนอรายงานจาหน่ายต่อ
เทศบาลตาบลไทรม้าตอ่ ไป
ผลกำรบริหำรงำนงบประมำณ
(1) โรงเรียนดาเนินงานด้านการเงินและการบัญชีตามระเบียบ
ก ร ะ ท ร ว ง ม ห า ด ไ ท ย ว่ า ด้ ว ย ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ แ ล ะ วิ ธี ก า ร น า เ งิ น ร า ย ไ ด้ ข อ ง
[46]
สถานศกึ ษาไปจดั สรรเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษา สงั กดั
องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ พ.ศ. 2551 ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
การรบั เงินการเบกิ จา่ ยเงิน การฝากเงนิ การเก็บรักษาเงนิ และการตรวจเงิน
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2547หนังสือกระทรวงมหาดไทย
ดว่ นท่สี ุด ที่ มท 0893.2/ว1918 ลงวันท่ี 16 มิถุนายน 2552 และระเบียบ
เกย่ี วกับการเงินท่เี ก่ยี วข้องไดอ้ ย่างถูกต้อง สามารถตรวจสอบได้
(2) ดาเนินการพัสดุของสถานศกึ ษาตามระเบยี บกระทรวงมหาดไทยว่า
ด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2535 แก้ไข
เพ่ิมเติม(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2539 (ฉบับท่ี 3-5)พ.ศ. 2541 (ฉบับที่ 6) พ.ศ.
2543 (ฉบับท่ี 7) พ.ศ. 2545 (ฉบับท่ี 8) พ.ศ. 2547 และ (ฉบับท่ี 9) พ.ศ.
2553 และหนังสอื กระทรวงมหาดไทย ดว่ นที่สุด ที่ มท 0893.2/ว1918 ลง
วนั ที่ 16 มิถุนายน 2552 ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง
(3) การดาเนินการจัดทาแผนยุทธศาสตร์ของสถานศึกษา จัดทา
แผนพัฒนาการศึกษาสามปีของสถานศึกษา จัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
งบประมาณ และแผนปฏิบัติการประจาปีการศกึ ษา ซึ่งโรงเรียนได้ใช้วิธีการ
งบประมาณเปน็ แผนงาน เป็นเครื่องมอื ในการควบคุมงานให้การปฏิบัติงาน
มปี ระสิทธิภาพ เกดิ ผลสมั ฤทธ์ิสูงสุด
กำรบริหำรงำนบคุ คล
การบริหารงานบุคคลเป็นภารกิจของผู้บริหารในการใช้ศิลปะและ
กลยทุ ธ์ดาเนินงานท้ังปวงที่เกี่ยวกับบุคลากรต้ังแต่การสรรหา คัดเลือกและ
บรรจุ และบารงุ รกั ษา เพือ่ ใหป้ ัจจยั ด้านบุคคลของโรงเรียนเป็นทรัพยากรที่
[47]
มีประสิทธิภาพสูงสุด เป็นที่ยอมรับกันว่าผู้บริหารทุกคนต้องทาหน้าที่เป็น
“นักบริหารงานบุคคล” ไปพร้อมกับการท างานด้านบริหารอื่นๆ ด้วย แต่
ทั้งน้ีการบริหารบุคคลซึ่งถือว่าเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า สามารถสร้างสรรค์
ประโยชน์อย่างมหาศาลและมปี ระสิทธิภาพภายใต้สภาวการณ์ ส่ิงแวดล้อม
ท่ีมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โรงเรียนมีกิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการ
บรหิ ารงานบคุ คล ดงั นี้
1) งำนบุคลำกร
การบรหิ ารงานบคุ ลากร เป็นงานท่ีมีความมุ่งหมาย คือการใช้
คนไปทางานได้ดีท่ีสุด ภายในระยะเวลาอันส้ันท่ีสุด สิ้นเปลืองเงินทองและ
วัสดุน้อยที่สุด และให้ทุกคนมีความสุข ความพอใจในการทางานมากที่สุด
ซง่ึ ข้าพเจา้ ได้ดาเนินการในหน้าทเ่ี พอ่ื บรรลคุ วามม่งุ หมายดงั กล่าว ดังน้ี
1.1) จัดบุคลากรเข้าปฏิบัติหน้าท่ี โดยพิจารณาหน้าที่และ
ภารกิจของบุคลากรตามขอบข่ายงานที่โรงเรียนดาเนินการ โดยคานึงถึง
ความรูค้ วามสามารถของบุคลากรใหถ้ กู ต้องกับงานและ
เวลา พร้อมท้ังเสนอแนะความต้องการบุคลากร ในสาขาท่ีจาเป็นสาหรับ
การพัฒนาการศึกษาเพ่ือบรรจุแทนตาแหน่งท่ีว่าง ดังคากล่าวที่ว่า “Put
the right man in the right job at the right time”
1.2) กาหนดบทบาทหน้าที่และมอบหมายงานให้บุคลากรได้
ปฏบิ ตั ิ ตามความรู้ ความสามารถ
1.3) จัดทาแผนภูมิการบริหารโรงเรียน คาสั่งการมอบหมาย
งานโดยแบ่งเป็น 4 ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป ฝ่ายบริหารงาน
[48]
วิชาการ ฝ่ายบริหารงานงบประมาณ และฝ่ายบริหารงานบุคลากร เพ่ือให้
เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติหน้าท่แี ละการประสานงานต่างๆ
1.4) วิเคราะห์งาน ออกแบบงาน ศึกษาและรวบรวมข้อมูล
ของบุคลากรทุกคน ท้ังความรู้ความสามารถ เพ่ือให้ทราบถึงปริมาณงาน
ขอบเขตหน้าท่ี และความรับผิดชอบของงาน ความเกี่ยวพันของงานที่มี
เกีย่ วกบั กิจกรรมงานอน่ื ๆ ภายในโรงเรยี น
1.5) วางแผนและพยากรณ์กาลังคน เป็นการพัฒนาแผน
ภายในของโรงเรียนเพ่ือบรรจุตาแหน่งท่ีว่างหรืออาจขาดในอนาคตทั้งหมด
ต้งั แตร่ ะดับล่างจนถึงระดับผู้บริหาร การตัดสินใจเก่ียวกับการวางแผนและ
การพยากรณข์ องกาลงั คน
1.6) ศึกษาวิเคราะห์ความจาเป็น ความต้องการจัดคนเข้า
ปฏิบัติงาน โดยพิจารณาหน้าท่ีและภารกิจของคนตามกรอบงานท่ีโรงเรียน
ต้องการ ตามความรู้ความสามารถ ความถนัดเป็นหลัก จัดทาแผนภูมิการ
บรหิ ารโรงเรียน ปฐมนิเทศบุคคลให้มีความร้คู วามเข้าใจในการปฏิบัติหน้าที่
จัดทาทะเบยี น ประวตั บิ ุคคลและกากับควบคมุ การปฏบิ ัตงิ านของบุคคล
1.7) พัฒนาและธารงรักษาบุคคล โดยส่งเสริมให้บุคลากรได้
เขา้ รว่ มประชุม อบรม สัมมนา กับหน่วยงานอื่น เพ่ือพัฒนางานของตนเอง
ส่งเสริมให้บคุ ลากรไดศ้ กึ ษาต่อในระดับสูง
1.8) รกั ษาระเบียบวินัย ให้ความรู้ในการปฏิบัติงานปฏิบัติตน
แก่บุคลากรด้านวินัย สิทธิและหน้าท่ี ในฐานะที่เป็นพนักงานครู โดยการ
นิเทศ ติดตาม ตลอดจนการพูดคุย ประชุมปรึกษาและจัดทา เอกสาร
[49]
หลักฐานการศึกษา สาหรับการส่งเสริมคุณภาพบุคลากร ได้แก่ คู่มือการ
ปฏบิ ัติงานของครู
1.9) ประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของบุคคล
(1) ประเมินผลงานของบุคคลเพื่อพิจารณาเล่ือนขั้น
เงินเดือน โดยต้ังคณะกรรมการประเมินครูและลูกจ้างประจา จากแบบ
ประเมินซึ่งได้พัฒนาขึ้นบุคลากรยอมรับและใช้แบบประเมินของต้นสังกัด
เพ่ือรายงานขอพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน การพิจารณาจะเน้นความรู้
ความสามารถ ทุ่มเท เสียสละต่องานท่ีรับผิดชอบ การรักษาวินัย การลา
ประเภทต่างๆ ระยะเวลาในการไดเ้ ลอื่ นขั้นเงินเดอื นเฉพาะกรณีพเิ ศษ
(2) ประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคคลเพ่ือเล่ือน
ตาแหน่ง โดยให้ความรู้กับบุคคลในโรงเรียนในการจัดทาเอกสารจากการ
ปฏิบัติงานตามความเป็นจริง และการจัดทาส่ือซึ่งเป็นผลงานประกอบ
ต ล อ ด จ น ก า ร เ ต รี ย ม ตั ว ใ น ด้ า น ค ว า ม รู้ ใ น ก า ร รั บ ก า ร สั ม ภ า ษ ณ์ จ า ก
คณะกรรมการเทศบาล
(3) ประเมินผลงานเพ่ือพัฒนาบุคคล พัฒนางานของ
โรงเรียน โดยการนิเทศติดตามงาน การเสนอรายงานผลการท างานของ
บุคลากรหลงั สิ้นสดุ งานทกุ คร้งั
(4) จัดระบบการควบคุมภายในด้านการบริหาร
ทรพั ยากรมนุษย์
1.10) จัดให้มกี ารประชุมบุคลากร เพื่อชี้แจงให้รับทราบ ร่วม
พิจารณา มอบหมายงานต่างๆ เพื่อเป็นแนวทางปฏบิ ัติดงั น้ี