คำนำ
สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย
และพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพด้านพืช วิเคราะห์ ตรวจสอบ และรับรองพืชหรือผลิตภัณฑ์พืชคงรูปท่ีได้จาก
เทคโนโลยีชีวภาพ รวมท้ังการเก็บ รวบรวม อนุรักษ์เชื้อพันธุกรรมพืชและจุลินทรีย์ในธนาคารเช้ือพันธุ์
โดยมุ่งเน้นงานวิจัยหลักทางด้านการวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร งานวิจัยพัฒนาธนาคารเชื้อ
พันธพ์ุ ืชและจุลินทรีย์ งานวจิ ัยและพัฒนาเห็ด งานวิจัยพัฒนาการตรวจสอบพืชและจุลินทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม
ซงึ่ งานวิจัยและพัฒนาเหล่านจ้ี ะตอ้ งสอดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตรด์ า้ นการเกษตรของชาติเปน็ สำคญั
เอกสารฉบับนี้จัดทำข้ึนเน่ืองในโอกาสการประชุมสัมมนาวิชาการประจำปี ๒๕๖๕ เรื่อง “ยุทธศาสตร์
งานวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรักษ์พันธุกรรม” โดยมีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยของ
สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ ประกอบด้วย งานวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพพืช การวิจัยพัฒนาเห็ดและ
จลุ ินทรีย์ การพัฒนาการตรวจสอบพืชและจุลนิ ทรีย์ดัดแปรพันธุกรรม และการอนรุ ักษพ์ ันธุกรรม รวมถึงงานวจิ ัย
ขยายผลสู่การนำไปใช้ประโยชน์ เพ่ือให้นักวจิ ัยท้ังจากในสำนักวิจยั พัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ และหน่วยงานอ่ืนๆ
นักเรียน นักศกึ ษา ตลอดจนผู้ที่สนใจ สามารถนำไปปรับใช้เพ่ือเป็นแนวทางในการพฒั นาต่อยอดงานวิจัยในด้าน
ตา่ งๆ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ทางดา้ นการเกษตรของชาติต่อไป
สุดทา้ ยนี้ ขอขอบคุณนักวิจยั ทุกท่านที่ได้ร่วมมือรว่ มใจกันในการปฏบิ ัติงานวิจยั ตลอดจนคณะผู้จดั ทำ
เอกสารผลงานวจิ ัยฉบับน้ี ให้สำเรจ็ ลลุ ว่ งไปได้ด้วยดี
นางปยิ รัตน์ ธรรมกจิ วฒั น์
ผู้อำนวยการสำนกั วิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชวี ภาพ
กันยายน 2565
ยุทธศาสตร์งานวิจัยดา้ นเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรักษ์พนั ธุกรรม 1
สารบญั
หน้า
การเพาะเล้ียงเน้อื เยือ่ มะพร้าวพนั ธ์รุ ับรองกรมวิชาการเกษตร : พันธช์ุ ุมพร 2 3
ภมุ รินทร์ วณิชชนานันท์ ; ไพฑรู ย์ บปุ ผาดา ; ประกาย อ่อนวิมล ; สภุ าภรณ์ สาชาติ ; อรทัย ธนัญชัย ; สุภัทรา เลศิ วัฒนาเกยี รติ
การศึกษาความหลากหลายทางพันธกุ รรมของมะพร้าวตน้ สงู ในประเทศไทยโดยใชเ้ คร่ืองหมายเอสเอสอาร์ 9
วิภาวี ชัน้ โรจน์ ; ภรณี สว่างศรี ; วิไลวรรณ ทวิชศรี ; พรพยุง คงสวุ รรณ
การขยายพันธ์ุฟา้ ทะลายโจรดว้ ยเทคนิคการเพาะเล้ียงเนอื้ เย่ือ 15
ประกาย ออ่ นวิมล ; พรรษา มนตแ์ ข็ง ; ภมุ รินทร์ วณชิ นานนั ท์ ; มลั ลกิ า แก้ววเิ ศษ
การชักนำให้เกิดแคลลัสและยอดจากใบฟา้ ทะลายโจร 21
พรรษา มนตแ์ ข็ง ; ประกาย ออ่ นวิมล
ผลของ 6-benzylaminopurine ต่อการชักนำให้เกิดยอดจำนวนมากในพืชสกุลกญั ชา (Cannabis spp.) 28
ประกาย ออ่ นวิมล ; ภุมรินทร์ วณชิ ชนานนั ท์
การวเิ คราะห์ลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของยีน CBDAS สำหรบั การคดั เลือกและปรับปรุงพันธ์พุ ืชสกลุ กญั ชา 33
อรโุ ณทยั ซาววา ; รุง่ นภา พทิ กั ษ์ตนั สกุล ; ภรณี สวา่ งศรี ; วิภาวี ชน้ั โรจน์ ; มลั ลกิ า แก้ววิเศษ ;
สมคดิ ดำน้อย ; ทรงเมท สังฆน์ ้อย ; สรุ กติ ติ ศรกี ุล
ความหลากหลายของพชื สมนุ ไพรพ้ืนบ้านภทู บั เบกิ และแนวโน้มการใชป้ ระโยชน์ 38
อภญิ ญา วงศเ์ ป้ยี ; ชลลดา สามพนั พวง ; กัญญาภรณ์ พิพธิ แสงจนั ทร์ ; วนิ ัย สมประสงค์ ; สมชาย บุญประดบั
การพฒั นาเทคโนโลยีการเพิ่มผลผลิตเหด็ ร่างแหสายพนั ธ์ุไทยและเหด็ หลนิ จือด้วยการประยกุ ต์ใช้ 43
ไบโอชาร์จากก้อนเชอ้ื เหด็ เกา่
วราพร ไชยมา ; อนุสรณ์ วฒั นกุล ; จติ รา กิตติโมรากลุ
วิวัฒนาการเชิงโมเลกุลและดเี อน็ เอบาร์โคด้ เพอื่ การจดั จำแนกพืชผกั พ้ืนเมืองภาคใตว้ งศ์ขิง 48
ธีรภัทร เหลอื งศภุ บูลย์ ; อภิญญา วงศ์เปี้ย ; กญั ญาภรณ์ พพิ ธิ แสงจนั ทร์
ชดุ ตรวจดีเอ็นเอคัดกรองการปนของต้นกลา้ และคดั เลือกตน้ พอ่ แม่พันธุ์ปาล์มน้ำมัน 54
ประสาน สืบสขุ ; กหุ ลาบ คงทอง ; รงุ่ นภา พทิ ักษ์ตนั สกุล ; อรรตั น์ วงศ์ศรี ; ขนิษฐา วงศ์วัฒนารัตน์ ;
สวุ ิมล กลศกึ ; ดนัย นาคประเสริฐ
การเพมิ่ ศกั ยภาพการผลิตเหด็ ขอนขาวสายพันธุล์ กู ผสม-1 ของกรมวิชาการเกษตร 59
รัชฎาภรณ์ ทองเหม ; จติ รา กิตตโิ มรากลุ ; อนสุ รณ์ วฒั นกลุ ; ภรณี สวา่ งศรี ;
วราพร ไชยมา ; รงั สิมนั ต์ุ ธีรวงศภ์ ญิ โญ
การใช้ประโยชนเ์ ห็ดเป๋าฮอื้ สายพนั ธ์ุดี กรมวิชาการเกษตร 66
อนสุ รณ์ วฒั นกลุ
ยทุ ธศาสตรง์ านวิจยั ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรม 2
การเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อมะพรา้ วพนั ธร์ุ ับรองกรมวิชาการเกษตร : พนั ธุ์ชมุ พร 2
Tissue Culture of DOA-registered Coconut cv. Chumphon 2
ภมุ รนิ ทร์ วณิชชนานันท์ 1 ไพฑูรย์ บุปผาดา2 ประกาย อ่อนวมิ ล1 สุภาภรณ์ สาชาติ3
อรทยั ธนัญชยั 4 สภุ ัทรา เลิศวฒั นาเกียรติ3
บทคัดยอ่
มะพรา้ วเป็นพืชทีม่ คี วามสำคัญทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทย พบปญั หาทเ่ี กิดขนึ้ จากสภาพสวนมะพรา้ วอายุ
คอ่ นข้างมาก การระบาดของศตั รูมะพร้าวสร้างความเสียหายใหก้ ับผลผลิตของเกษตรกรเป็นอยา่ งมากทำให้ขาดแคลน
วัตถุดิบ ราคาต่อผลสูงทำให้เกษตรกรมีความต้องการมะพร้าวพันธ์ุดีเพิ่มขึ้น งานวิจัยน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา
เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อในการขยายพันธุ์มะพร้าวให้ได้ปริมาณมากจากมะพร้าวพันธ์ุลูกผสมชุมพร 2
โดยการศึกษาเทคนคิ การฟอกฆ่าเชื้อให้เกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ ด้วยการใชอ้ ุปกรณ์เจาะเน้ือเยื่อ (cork borer) ซง่ึ ทำให้
ลดระยะเวลาการปฏิบัติงานและมีการปนเป้ือนของเนื้อเย่ือเอมบริโอน้อย การศึกษาการเกิดต้นอ่อน (plumule)
จากส่วนเอมบริโอ พบว่าสูตรอาหาร MS ร่วมกับ 2,4-D 100 µM จะทำให้ได้ plumule ท่ีมีค่าเฉลี่ยน้ำหนักสดและ
ความยาวส่วนเอมบริโอสูงสุด 2.339 g และ 3.344 cm ตามลำดับ การชักนำให้ plumule พัฒนาเป็นแคลลัสชนิด
compact callus ท่ีมีลักษณะเป็นก้อนกลม (globular shape) มีสีขาวครีมหรือน้ำตาลอ่อน พบว่า สูตรอาหาร MS
ร่วมกับ 2,4-D 100 µM และน้ำมะพร้าวปริมาตร 50 ml/l โดยใช้ระยะเวลาการเลี้ยงนาน 3 เดือน จะทำให้เกิด
แคลลสั ได้สูงสุดร้อยละ 92.59 และมีคา่ เฉลี่ยน้ำหนักสดแคลลัสเท่ากับ 0.408 g การพัฒนาของแคลลัสเป็น somatic
embryogenesis เพื่อชักนำให้เกิดยอด พบวา่ สูตรอาหาร Modified Chu N6 ร่วมกบั vitamin จากสูตร MS จะทำ
ให้เกดิ การพัฒนา somatic embryogenesis เป็นสว่ นยอดได้รอ้ ยละ 20 โดยใชร้ ะยะเวลา 6 เดือน
คำนำ
มะพร้าวเป็นพืชท่ีคน ไทยใช้ประโยชน์จากมะพร้าวในการบริโภคเป็ นอาหารใช้เน้ือไม้เพ่ือทำที่อยู่อาศัย
เครื่องนุ่งห่มที่ผลิตจากเส้นใยและยารักษาโรคท่ีผลิตจากน้ำมันมะพร้าวและน้ำมันกะลา สถานการณ์การผลิตในปี
2551-2556 เน้ือท่ีให้ผลและผลผลิตมะพร้าวลดลง ปัญหาด้านการผลิตที่เกิดข้ึนจากสภาพสวนมะพร้าวเป็นสวนเก่า
อายุค่อนข้างมาก มะพร้าวต้นสูงเป็นอุปสรรคในการเก็บผลผลิต และขาดการดูแลรักษาท่ีเหมาะสมผลผลิตจึงลดลง
ตามอายุและสภาพตน้ ทำใหเ้ กษตรกรเปลีย่ นไปปลูกพืชอ่ืนที่ให้ผลตอบแทนสงู กว่า สง่ ผลทำให้พน้ื ที่การผลิตมะพร้าว
ลดลง และในปี 2553 เกดิ การระบาดของศตั รูมะพรา้ ว ไดแ้ ก่ แมลงดำหนาม และหนอนหัวดำมะพร้าว บางพ้ืนทมี่ กี าร
ระบาดอย่างรุนแรงทำให้มะพร้าวยืนต้นตายสร้างความเสียหายเป็นอย่างมาก นำไปสู่การขาดแคลนวัตถุดิบทำให้
เกษตรกรมีความต้องการมะพร้าวพันธ์ุดีเพิ่มขึ้น แต่ภาครัฐมีกำลังการผลิตไม่เพียงพอ จากการประชุมงานวิจัยและ
1 สำนกั วิจยั พฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ 3
2 ศูนย์วิจยั และพฒั นาการเกษตรอำนาญเจรญิ
3 สถาบันวจิ ัยพืชสวน
4 ศูนย์วจิ ยั พืชสวนชุมพร
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรม
พัฒนามะพร้าว ครั้งท่ี 1/2560 เมื่อวันอังคารที่ 27 ธันวาคม 2559 รธก.เสริมสุข สลักเพ็ชร์ ได้มีบัญชาให้ สวส.
ร่วมกับ สทช. จัดทำแผนการทำงานในการผลิตหน่อพันธ์ุมะพร้าวพันธุ์ดีเพ่ือให้เกษตรกรปลูก รวมท้ังให้ริเริ่มงานวิจัย
ขยายพันธ์ุมะพร้าวแบบรวดเร็วด้วยเทคนิคการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ ทั้งนี้ สทช. ได้จัดทำโครงการเพ่ือนำเทคโนโลยีการ
ขยายพนั ธ์ุโดยการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อมะพร้าวในการเพ่ิมปริมาณต้นพันธุ์ดขี องมะพรา้ วพนั ธุล์ ูกผสมชมุ พร 2 ให้เพียงพอ
กับความต้องการของเกษตรกร
วิธกี าร
1. การทดสอบเทคนคิ การฟอกฆ่าเชื้อเอมบรโิ อของมะพรา้ วลูกผสมชุมพร 2
นำผลมะพรา้ วพนั ธ์ุลกู ผสมชุมพร 2 อายุผล 10-12 เดือน โดยมีข้ันตอนการนำเอมบรโิ อออกจากผลทีแ่ ตกต่าง
กัน 2 วิธี คือ การใช้มีดเจาะ และการใชอ้ ุปกรณ์เจาะเน้อื เยอ่ื (cork borer)
2. การศึกษาสตู รอาหารสำหรบั ชักนำการเกิดตน้ ออ่ น (plumule)
นำเอมบริโอที่ผ่านการฟอกฆ่าเชื้อจากข้อที่ 1 มาเลี้ยงทดสอบในสูตรอาหารจำนวน 3 สตู ร เพ่ือชักนำให้เอมบริโอ
เกิดการพัฒนาเป็นต้นอ่อน (plumule) โดยใช้สูตรอาหาร MS ร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโตกลุ่มออกซินคือ
2,4-D ที่ความเข้มข้น 100, 11.10 และ 22.20 mg/l รวม 3 สูตรอาหาร
3. ศึกษาการชักนำแคลลสั จากชนิ้ ส่วนต้นออ่ น (plumule)
นำช้ินส่วนตน้ อ่อน (plumule) มาเลี้ยงทดสอบบนอาหารจำนวน 2 สูตร ประกอบด้วย สูตรอาหาร Y3 และ
สูตรอาหาร MS ร่วมกับการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโต 2,4-D ความเข้มข้น 0, 50, 100 µM ร่วมกับการใส่น้ำ
มะพรา้ ว 50 ml/l รวม 6 สูตรอาหาร
4. ศึกษาการพฒั นา somatic embryogenesis
นำแคลลสั ชนดิ compact callus ลกั ษณะ globular shape ทดสอบบนอาหารจำนวน 3 สูตร ประกอบด้วย
สตู รอาหาร Chu N6 สตู รอาหาร Modified chu N6 และสูตรอาหาร Chu N6 ที่เติมวิตามินของสตู ร MS
สรปุ ผลและวิจารณ์
1. การทดสอบเทคนิคการฟอกฆ่าเชอ้ื เอ็มบรโิ อของมะพรา้ วลกู ผสมชมุ พร 2
นำผลมะพร้าวพันธ์ุลูกผสมชุมพร 2 อายุ 10-12 เดือน เพื่อนำส่วนเอ็มบริโอมาเป็นชิ้นส่วนเริ่มต้นของ
เพาะเลี้ยงเน้อื เยือ่ เพ่ือการขยายพนั ธุ์ โดยการเปรียบเทียบวิธีการแกะเอ็มบริโอที่อย่ดู ้านในของลกู มะพร้าว 2 วิธี พบว่า
เม่ือระยะเวลา 7 วัน การใช้มีดเจาะบริเวณส่วนบนเอ็มบริโอจะปลอดเช้ือ 98.14% เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้อุปกรณ์
เจาะเนื้อเย่ือ (cork borer) (ภาพที่ 1ก) เอ็มบริโอจะปลอดเชื้อ 100% ลักษณะของชิ้นส่วนท่ีได้จากการเจาะด้วย
cork borer มีลกั ษณะเป็นแทง่ ทรงกระบอก มีสว่ นของเอ็มบรโิ ออยูภ่ ายใน (ภาพท่ี 1ข) สามารถลดระยะเวลาของการ
ปฏิบัติงานได้อย่างน้อย 1 ชั่วโมง/100 ตัวอย่าง ซ่ึงเป็นปัจจยั หลักในการลดการปนเปื้อนของตัวอย่างลงได้ สอดคล้อง
กับ Luis et.al. (2018) ใช้ cork borer ขนาดเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 1.6 เซนติเมตร เปน็ อุปกรณ์ในการเจาะเอ็มบริโอที่มี
ส่วน endosperm หมุ้ รปู ร่างทรงกระบอกเพอ่ื นำมาฟอกฆ่าเช้ือดว้ ย NaOCl 0.64 (v/v) สว่ นวธิ กี ารใชม้ ีดเจาะบรเิ วณ
ส่วนบนนั้น จำเปน็ ตอ้ งใชผ้ มู้ ปี ระสบการณเ์ พอ่ื ลดความเสยี หายของเอ็มบรโิ อ และอาจเกิดการบาดเจ็บของผูป้ ฏิบัตงิ านได้
ยทุ ธศาสตร์งานวิจยั ดา้ นเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนุรักษพ์ นั ธุกรรม 4
กข
ภาพที่ 1 ก. อปุ กรณ์เจาะเนอ้ื เยอ่ื (cork borer) ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง 1 เซนติเมตร
ข. เอ็มบริโอลกั ษณะทรงกระบอกของมะพรา้ วลกู ผสมพนั ธชุ์ ุมพร 2 ที่เจาะด้วยอุปกรณ์เจาะเนื้อเย่ือ (cork borer)
2. การศกึ ษาสตู รอาหารสำหรบั ชักนำการเกดิ ต้นออ่ น (plumule)
นำเอ็มบริโอมาทดสอบในสูตรอาหาร MS ร่วมกับ 2,4-D ที่ความเข้มข้นต่างๆ เพื่อการชักนำให้เกิดต้นอ่อน
(plumule) จำนวน 3 สูตรอาหาร พบว่า ระยะเวลา 2 เดือน ส่วนของเอ็มบริโอมีการขยายขนาดและพัฒนาเป็น
plumule โดยมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 2.339 g และมีค่าเฉลี่ยความยาวของต้นอ่อนมากท่ีสุด 3.344 cm เมื่อเลี้ยงในสูตร
อาหาร MS ร่วมกับ 2,4-D 100 µM การเลี้ยงเอ็มบริโอในสูตรอาหาร MS ร่วมกับ 2,4-D 100 mg/l จะให้ค่าเฉล่ีย
นอ้ ยท่ีสุด (ภาพท่ี 2) (ปรารถนา และคณะ, 2547) จากการรายงานการเพาะเลี้ยงชิ้นสว่ น plumule ของมะพรา้ ว จะ
ประสบความสำเร็จเกิด embryogenic callus เม่ือเลยี้ งในอาหารท่ีมีออกซนิ สังเคราะหช์ นิด 2,4-D (Hornung, 1995;
Chan et al., 1998)
2,4-D = 100 mg/l 2,4-D = 50 µM 2,4-D = 100 µM
ภาพท่ี 2 เอ็มบริโออายุ 1 เดือน ท่ีเล้ียงในอาหารเหลวสตู ร MS ร่วมกบั 2,4-D ความเข้มข้น 100 mg/l, 50 µM และ
100 µM
3. ศกึ ษาการชักนำแคลลสั จากช้ินสว่ นต้นออ่ น (plumule)
นำ plumule อายุ 2 เดือน (ภาพท่ี 3ก) มาตัดสไลด์ตามแนวขวางให้มีความหนาของชน้ิ ส่วน 1-2 มิลลเิ มตร
(ภาพที่ 3ข) เพอ่ื ชักนำการเกิดแคลลัส พบว่า ระยะเวลา 3 เดือน สตู รอาหาร MS รว่ มกับ 2,4-D 100 µM ร่วมกับน้ำ
มะพร้าว 50 ml/l จะมีค่าเฉลี่ยของน้ำหนักสดแคลลัสสูงสุด 1.477 g มีการเกิดแคลลัสสูงสุด 61.11% รองลงมาคือ
สูตรอาหาร MS รว่ มกบั 2,4-D 50 µM ร่วมกบั น้ำมะพร้าว 50 ml/l มีการเกิดแคลลัส 32.14% พบว่า การเกดิ แคลลัส
ในสูตรอาหาร MS จะคา่ สูงกวา่ ในสูตรอาหาร Y3 สอดคล้องกับ Fernando et al. (2004) รายงานว่าชิ้นสว่ นเน้ือเย่ือ
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ัยด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนุรักษพ์ นั ธุกรรม 5
ของ plumule จะตอบสนองต่อการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อของมะพร้าวจาก plumule ของมะพร้าวพ้ืนเมืองพันธุ์
Sri Lanka Tall ทำการทดสอบการเกิดแคลลัสบนอาหาร 3 สูตร ประกอบด้วย MS Y3 และ CRI 72 ร่วมกับการเติม
2,4-D 24-400 µM พบว่า การเกิดแคลลัสจะข้ึนอยู่กับความเข้มข้นของ 2,4-D ในอาหารซ่ึงการทดสอบท่ี 2,4-D ที่
ความเขม้ ข้นตำ่ (24 µM) จะเกดิ แคลลลสั ได้ดที ่ีสุด
เม่ือนำแคลลัสของมะพร้าวมาตัดเน้ือเยื่อเพื่อดูโครงสร้างภายใน พบว่า แคลลัสที่มีลักษณะเป็น compact
callus มีสีขาวครีมลักษณะก้อนกลม (globular shape) เกาะกันแบบหลวม (ภาพท่ี 4ก) โดยแคลลัสจะเกิดขึ้นท่ี
บริเวณขอบของชิ้นส่วน plumule (ภาพท่ี 4ข) ซ่ึงแคลลัสลักษณะดังกล่าวจะพัฒนาเข้าสู่ระยะ somatic
embryogenesis ได้ เมื่อนำแคลลัสทั้งสองชนิดมาตัดเน้ือเย่ือดูการพัฒนาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (Light
Microscope) พบการเจริญของแคลลัสชนิด compact callus จะมีการเรียงตัวของเซลล์ในลกั ษณะทเี่ กาะตัวกนั แน่น
(ภาพท่ี 5ก) และมีส่วนของนิวเคลียสในเซลลเ์ นื้อเยอื่ (ภาพที่ 5ข)
ก ข
ภาพที่ 3 ก. ลกั ษณะของตน้ ออ่ น (plumule) มะพร้าวลูกผสมพันธุ์ชมุ พร 2
ข. การตดั สไลด์ต้นอ่อน (plumule) ตามแนวขวาง
กข
ภาพท่ี 4 ก. แคลลสั ทม่ี ีลักษณะกอ้ นกลม (globular shape) มสี ขี าวครีมหรอื สีนำ้ ตาลอ่อน
ข. ตำแหน่งการเกิดแคลลัสชนิด compact callus บนชิ้นส่วน plumule ที่มีลักษณะ globular shape
กอ้ นกลมสีขาวครมี
ก. กำลังขยาย 10X ( scale bar =100 ข. กำลังขยาย 40X (scale bar = 20 ไมครอน)
ไมครอน)
ภาพที่ 5 ก. การตดั เน้ือเยือ่ ของแคลลัสชนิด compact callus มลี กั ษณะของเซลลท์ ่ีเกาะตวั กนั แนน่
ข. สว่ นของนิวเคลียสภายในเซลล์เน้ือเย่ือ
ยทุ ธศาสตร์งานวิจยั ดา้ นเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรม 6
4. ศกึ ษาการพฒั นา somatic embryogenesis
ทำการคัดเลือกแคลลัสชนิด compact callus ท่ีมีการเกาะกันแบบหลวม สขี าวครีมหรือน้ำตาลอ่อนเพ่ือนำ
ทดสอบบนสูตรอาหาร Chu N6 สูตรอาหารModified chu N6 และสูตรอาหาร Chu N6 ที่เติมวิตามินของสูตร MS
พบว่า สูตรอาหาร Modified Chu N6 ร่วมกับวิตามินสูตร MS ทำให้น้ำหนักสดของแคลลัสสูงสุดเท่ากับ 1.342 กรัม
มีค่าแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีร้อยละการเกิดยอดสูงสุดเท่ากับ 20 ในสูตรอาหารดังกล่าวจะมีการเกิด
ยอดขนาดเล็กมากกว่า 1 ยอด (ภาพที่ 7ค) ในขณะที่สูตรอาหาร Chu N6 และ Modified Chu N6 ทำให้เกิดยอด
เพยี ง 1 ยอด (ภาพท่ี 7ก และ 7ข)
กข ค
ภาพท่ี 7 การพัฒนาของ somatic embryogenesis เปน็ ยอด ระยะเวลา 4 เดอื น
ก. สูตรอาหาร Chu N6 ข. สตู รอาหาร Modified Chu N6 ค. สูตรอาหาร Modified Chu N6 ร่วมกบั
วิตามินจากสตู ร MS
จากการศึกษานำต้นอ่อน (plumule) ของมะพร้าวลูกผสมพันธุ์ชุมพร 2 มาขยายพันธุ์ด้วยเทคนิคการเพาะเล้ียง
เน้ือเยื่อ พบว่า สามารถชักนำให้เกิดแคลลัสได้ด้วยสาร 2,4-D 100 uM การชักนำให้แคลลัสพัฒนาเป็น somatic
embryogenic callus มีการใช้ 2,4-D ร่วมกับน้ำมะพร้าว และเมื่อต้องการชักนำยอดจะเกิดข้ึนได้ในสูตรอาหาร
Modified Chu N6 รว่ มกบั vitamin จากสตู ร MS แต่ยงั ไมม่ กี ารพฒั นาสว่ นของราก เพอื่ จะได้เปน็ ตน้ ท่ีสมบูรณพ์ รอ้ ม
สำหรบั การนำไปปลูก ดงั นน้ั จึงควรมีการศึกษาสตู รอาหารในขัน้ ตอนการพัฒนารากต่อไป
การนำไปใชป้ ระโยชน์
สามารถนำเทคโนโลยีการขยายพันธ์ุมะพร้าวลูกผสมชุมพร 2 ด้วยเทคนิค somatic embryogenesis จาก
เอ็มบริโอและต้นอ่อน เพื่อนำไปศึกษาและพัฒนาต่อยอดในส่วนการเพิ่มปริมาณแคลลัส และการชักนำให้เกดิ ต้นและ
รากให้เกิดเป็นต้นท่ีสมบูรณ์ เพื่อเป็น protocol การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมะพร้าวลูกผสมชุมพร 2 และนำไปปรับใช้
สำหรบั การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการผลติ ต้นกลา้ อย่างรวดเรว็ มีความตรงตามพนั ธุ์ และเป็นประโยชน์ต่อการนำไปปรบั ใช้
ในการศึกษาต่อยอดกับการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือมะพร้าวกะทิลูกผสมชุมพร 84-2 หรือพันธอุ์ ่ืนๆ ของกรมวิชาการเกษตร
ตอ่ ไป
ยทุ ธศาสตรง์ านวิจัยดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรักษ์พนั ธุกรรม 7
เอกสารอ้างองิ
ปรารถนา จันทร์ทา พัชราพรรณ คงเพชรศักด์แิ ละสกุ านดา ดอกสนั เทียะ. 2547. ฮอร์โมนพืช. ภาควชิ าชีววทิ ยา คณะ
วทิ ยาศาสตร์, มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ กรงุ เทพฯ. 84 หนา้
Fernando, S. C., L. K. Weerakoon and T. R. Gunathilake, 2004. Micropropagation of coconut through
plumule culture. In Cocos. 16: 1-10.
Hornung, R. (1995). Initiation of callogenesis in coconut palm (Cocos nucifera L.). In Lethal
Yellowing: Research and Practical Aspects (pp. 203-215). Springer Netherlands.
Luis S., J. L. Chan, M. Narvaez and C. Oropeza. 2018. Protocol for the Micropropagation of Coconut
from Plumule Explants. Plant Cell Culture Protocols, Methods in Molecular Biology. 1815:
161-170.
ยุทธศาสตร์งานวิจัยด้านเทคโนโลยชี วี ภาพและการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรม 8
การศกึ ษาความหลากหลายทางพันธกุ รรมของมะพรา้ วต้นสงู ในประเทศไทยโดยใชเ้ คร่ืองหมายเอสเอสอาร์
Genetic Diversity of Tall Coconut (Cocos nucifera L.) in Thailand by SSR Marker
วภิ าวี ชัน้ โรจน์1 ภรณี สวา่ งศรี1 วิไลวรรณ ทวชิ ศรี2 พรพยุง คงสวุ รรณ2
บทคดั ย่อ
มะพร้าวเป็นพืชท่ีมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะมะพร้าวต้นสูงท่ีเป็นวัตถุดิบหลักของโรงงาน
อุตสาหกรรม ประเทศไทยมีพ้ืนท่ีปลูกมะพร้าวมากอยู่ในอันดับต้นๆ ของโลก จากการประเมินประสิทธิภาพ
เครอ่ื งหมาย SSR จำนวน 15 เครื่องหมาย ในตวั อยา่ งมะพรา้ วไทยตน้ สงู 192 ตัวอย่าง ตัวอยา่ งมะพร้าว เวียดนาม 25
ตัวอย่าง และตัวอย่างมะพร้าวอินโดนีเซีย 22 ตัวอย่าง พบว่ามีจำนวนแอลลีลหรือจำนวนแถบดีเอ็นเอท้ังหมด 144 แอลลีล
เฉลี่ยเท่ากับ 10 แอลลีลต่อเคร่ืองหมาย อยู่ในช่วงระหว่าง 3 ถึง 16 แอลลีล ค่า Polymorphism Information
Content (PIC) มีค่า PIC ระหว่าง 0.47 ถึง 0.90 เฉลี่ย 0.71 ต่อเครื่องหมาย โดยเคร่ืองหมาย CN1H2 มีค่า สูงสุด
จากค่า PIC ที่สูงแสดงถึงประสิทธิภาพของเคร่ืองหมาย SSR ที่นำมาศึกษาในครั้งนี้ ผลการวิเคราะหโครงสร้างทาง
พันธุกรรมมะพร้าวโดยใช้เครื่องหมาย SSR พบว่ามะพร้าวที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ีแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มประชากรย่อย
ซ่ึงสอดคล้องกับผลการจัดกลุ่มด้วยวิธีสร้างเดนโดรแกรม และการวิเคราะห์ PCA แต่ไม่สัมพันธ์กับการแบ่งกลุ่มตาม
แหล่งท่ีมาทางภูมิประเทศ โดยตัวอย่างมะพร้าวส่วนใหญ่มีฐานพันธุกรรมแบบผสม (admixture) ที่มีลักษณะเป็น
พันธุกรรมผสมระหว่างสี่กลุ่มประชากรย่อย เนื่องจากตัวอย่างท่ีศึกษาเป็นมะพร้าวต้นสูงท่ีเกิดจากการผสมข้าม
(cross-pollination) ส่งผลให้ลักษณะทางพันธุกรรมของมะพร้าวเป็นพันธุ์ทางที่สูง (heterozygosity) และมีความ
หลากหลายทางพันธุกรรมสูง นอกจากนี้ ค่า Fst ระหว่างประชากรย่อยส่ีกลุ่ม พบว่ามีค่าเท่ากับ 0.04 บ่งชี้ความ
แตกต่างทางพันธุกรรมระหว่างสี่กลุ่มประชากรย่อยอยู่ในระดับต่ำ แสดงให้เห็นว่าแต่ละกลุ่มประชากรย่อยมีความ
แตกต่างทางพันธุกรรมที่น้อยมาก ซึ่งจัดได้ว่าตัวอย่างมะพร้าวต้นสูงแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย
อินโดนเี ซีย และเวียดนาม เปน็ กลมุ่ ประชากรเดียวกนั
คำนำ
มะพร้าว (Coconut) มชี ่ือวิทยาศาสตร์ Cocos nucifera Linn. ซึ่งมีเพียงสปีชีส์เดียวในสกุล Cocos จัดอยู่ใน
พชื วงศ์ปาล์ม Arecaceae (Palmae) และเป็นพืชดิพลอยด์ (diploid) มีจำนวนโครโมโซม 2n=2x=32 ขนาดจีโนม 2.40
จิกะเบส (Gb) มะพร้าวแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มหลัก คือ มะพร้าวต้นสูง (tall) และมะพร้าวต้นเตี้ย (dwarf) ซึ่งมะพร้าวต้น
สูงจะเจริญเติบโตเต็มที่ในช่วงอายุ 7−10 ปี สามารถสูงได้ถึง 18 เมตร และผสมข้ามต้น มะพร้าวต้นสูงนี้เป็นมะพร้าว
เศรษฐกิจส่วนใหญ่ปลูกเป็นสวนอาชีพ เพื่อใช้เน้ือจากผลแก่ไปประกอบอาหารหรืออุตสาหกรรมกะทิสำเร็จรูป และทำ
มะพร้าวแห้งใช้ในอุตสาหกรรมน้ำมันพืช เทคโนโลยีดีเอ็นเอเป็นเทคนิคทางอณูพันธุศาสตร์ที่กำลังมีบทบาทสำคัญใน
การเกษตร โดยเฉพาะในงานปรับปรุงพันธ์ุพืช มีการพัฒนาเคร่ืองหมายเอสเอสอาร์ในมะพร้าวเพื่อศึกษาความ
1 สำนักวิจัยพฒั นาเทคโนโลยีชวี ภาพ กรมวชิ าการเกษตร 9
2 สถาบนั วจิ ยั พชื สวน กรมวชิ าการเกษตร
ยุทธศาสตร์งานวจิ ยั ด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรม
หลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรมะพร้าวกันอย่างแพร่หลาย เช่น ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของ
มะพร้าวปลกู ในประเทศจีน (Liu et al., 2011; Xiao et al., 2013) ศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของมะพร้าว
ต้นสูงในประเทศศรีลังกา (Perera et al., 2001) และในประเทศบราซิล (Loiola et al., 2016) แต่งานวิจัยท่ีศึกษา
ความหลากหลายทางพันธุกรรมของมะพร้าวในประเทศไทยยังมีไม่มากนัก ดังน้ันงานวิจัยนี้จึงศึกษาความหลากหลาย
ทางพันธุกรรมระหว่างมะพร้าวต้นสูงในประเทศไทยกับมะพร้าวนำเข้าจากประเทศอินโดนีเซียและเวียดนามด้วย
เคร่ืองหมายเอสเอสอาร์
วิธีการ
1. การเก็บ รวบรวม และการสกัดดเี อน็ เอ
เก็บและรวบรวมตัวอย่างมะพร้าว โดยเก็บตัวอย่างใบมะพร้าวต้นสูงในประเทศไทยจาก 9 จังหวัด ซ่ึงเป็น
แหลง่ ปลกู มะพรา้ วจำนวนมาก ไดแ้ ก่ ประจวบคีรขี ันธ์ ชมุ พร สรุ าษฎร์ธานี นครศรธี รรมราช ปัตตานี ชลบุรี นราธิวาส
สมุทรสงคราม และยะลา และตัวอย่างผลมะพร้าวแก่ปอกเปลือกที่นำเข้าจากต่างประเทศจากด่านตรวจพืชท่าเรือ
แหลมฉบงั และด่านตรวจพืชทา่ เรือกรุงเทพ กรมวิชาการเกษตร จากนั้นนำตวั อย่างใบมะพร้าวไทยและตัวอยา่ งเอมบรโิ อ
มะพร้าวต่างประเทศ บดด้วยไนโตรเจนเหลวจนเป็นผงละเอียด นำไปสกัดดีเอ็นเอด้วยวิธี CTAB ตรวจสอบคุณภาพ
ดีเอ็นเอด้วยเครอื่ งถา่ ยและวเิ คราะห์ภาพเจล Gel Documentation System และวดั ปริมาณความเขม้ ขน้ ของดเี อน็ เอ
ด้วยเครื่องวัดการดูดกลืนแสงของสารละลายในไมโครเพลท Multiskan GO เก็บรักษาสารละลายดีเอ็นเอในสภาพ
แช่แข็ง -20 องศาเซลเซยี ส
2. การวเิ คราะหจ์ ีโนไทป์ดว้ ยเครอ่ื งหมาย SSR
เพ่ิมปริมาณดีเอ็นเอด้วยเทคนิคพีซีอาร์โดยใช้ไพรเมอร์ SSR จำนวน 15 คู่ไพรเมอร์ ในมะพร้าวไทยและ
ต่างประเทศท้ังหมด ตรวจสอบผลผลิตพีซีอาร์ดว้ ยวิธอี เิ ลค็ โตรโฟรีซิสบน 2% ในอะกาโรสเจล โดยมีดีเอน็ เอมาตรฐาน
เป็นตัวเปรียบเทียบขนาดช้ินดีเอ็นเอ ตรวจสอบผลและบันทึกภาพด้วยเครื่องถ่ายและวิเคราะห์ภาพเจล Gel
Documentation System เพื่อตรวจสอบเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณในเบื้องต้นของผลผลิตพีซีอาร์ที่ได้ และ
ตรวจสอบความแตกต่างของขนาดช้ินดีเอ็นเอด้วยเคร่ืองแยกสารพันธุกรรมอัตโนมัติ QIAxcel Advanced System
บนั ทกึ ข้อมูลจีโนไทป์ท่ไี ด้
3. การวิเคราะหค์ วามหลากหลายทางพันธุกรรมและโครงสรา้ งประชากร
ข้อมูลจีโนไทป์ที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเครื่องหมายดีเอ็นเอ ซึ่งเป็นการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ
ของเคร่ืองหมายท่ีแสดงความหลากหลายของแอลลีลของเครื่องหมายดีเอ็นเอ และคำนวณสัมประสิทธ์ิความคล้ายคลึง
(similarity coefficient) จัดกลุ่มสร้างเป็นเดนโดรแกรม (dendrogram) ด้วยวิธี Unweighted Pair Group Method
with Arithmetic Mean (UPGMA) ด้วยโปรแกรม PowerMarker (Liu and Muse, 2005) วิเคราะห์โครงสร้าง
ประชากรด้วยความน่าจะเป็นแบบเบย์ (Bayesian) ด้วยโปรแกรม STRUCTURE v.2.3 (Pritchard et al., 2000) และ
วิเคราะห์การจัดกลุ่มดวยวิธีวิเคราะห์องคประกอบหลัก (principal component analysis, PCA) ด้วยโปรแกรม
NTSYS-PC V.2.0 (Rohlf, 1988)
ยทุ ธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรม 10
สรปุ ผลและวิจารณ์
1. การเก็บและรวบรวมตัวอย่างมะพร้าว
เกบ็ รวบรวมตวั อย่างมะพร้าวไทยและมะพรา้ วต่างประเทศทัง้ หมด 239 ตวั อย่าง ประกอบดว้ ย
ตัวอย่างมะพร้าวไทย 9 จังหวัด ซ่ึงเป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งปลูกมะพร้าวจำนวนมากในประเทศไทย จำนวน
192 ตัวอย่าง ได้แก่ สมุทรสงคราม จำนวน 5 ตัวอย่าง ประจวบคีรีขันธ์ จำนวน 34 ตัวอย่าง ชุมพร จำนวน 25
ตวั อย่าง ชลบุรี จำนวน 19 ตวั อย่าง นครศรธี รรมราช จำนวน 40 ตัวอย่าง สุราษฎรธ์ านี จำนวน 13 ตัวอย่าง ปัตตานี
จำนวน 20 ตัวอยา่ ง ยะลา จำนวน 16 ตัวอยา่ ง และ นราธวิ าส จำนวน 20 ตวั อยา่ ง
ตัวอย่างมะพร้าวนำเข้าจากต่างประเทศจากด่านตรวจพืชท่าเรือแหลมฉบัง และด่านตรวจพืชท่าเรือกรุงเทพ
กรมวิชาการเกษตร จำนวน 47 ตวั อยา่ ง ประกอบด้วย เวยี ดนาม 25 ตวั อย่าง และอินโดนีเซยี 22 ตัวอยา่ ง
2. การประเมินประสทิ ธิภาพเครอ่ื งหมาย SSR
จากการประเมินประสิทธิภาพเครอ่ื งหมาย SSR จำนวน 15 เคร่อื งหมาย ในตัวอย่างมะพรา้ วไทยและมะพร้าว
ต่างประเทศท้ังหมด 239 ตัวอย่าง พบว่ามีจำนวนแอลลีล (AN) หรือจำนวนแถบดีเอ็นเอทั้งหมด 144 แอลลีล เฉลี่ย
เท่ากับ 10 แอลลีลต่อเคร่ืองหมาย อยู่ในช่วงระหว่าง 3 ถึง 16 แอลลีล จากการวิเคราะห์จำนวนจีโนไทป์ (GN) พบว่า
มีจีโนไทป์เฉล่ีย 28 จีโนไทป์ต่อเครื่องหมาย และเครื่องหมายที่ CN1H2 ให้จีโนไทป์สูงที่สุด เมื่อคำนวณค่าความ
หลากหลายของยีน (Gene Diversity; GD) พบว่ามีค่าระหว่าง 0.53 ถึง 0.91 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.74 โดยเคร่ืองหมาย
CN1H2 มีค่าความหลากหลายของยนี สูงสดุ สำหรับค่าเฮเทอโรไซโกซิตี้ (Heterozygosity; H) น้ันมีค่าระหว่าง 0.44 ถึง
0.70 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 0.58 และพบว่าเคร่ืองหมาย CN11A10 มีค่าเฮเทอโรไซโกซิต้ีสูงที่สุด ค่า Polymorphism
Information Content (PIC) มีค่าระหว่าง 0.47 ถึง 0.90 เฉลี่ย 0.71 ต่อเครื่องหมาย โดยเครื่องหมาย CN1H2 มีค่า
PIC สงู สดุ (ตารางที่ 1) จากคา่ PIC ท่สี ูงแสดงถงึ ประสิทธภิ าพของเครอื่ งหมาย SSR ทีน่ ำมาศึกษาในครั้งนี้ สามารถแยก
ความแตกตา่ ง (polymorphism) ไดเ้ ปน็ อย่างดี โดยเฉพาะความสามารถในการแสดงความหลากหลายทางพนั ธกุ รรมใน
ระดับแอลลีลของเครื่องหมายข่มร่วมชนิด SSR (multi-allelic, co-dominant markers) จึงเหมาะสมในการใช้จำแนก
พันธุกรรมมะพร้าว ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยก่อนหน้านี้ (Perera et al, 1999; Meerow et al, 2003; Liu et al, 2011)
อกี ทง้ั ยังแสดงถึงความผนั แปรทางพันธุกรรมท่ีสงู ในตัวอยา่ งมะพร้าวที่ทำการศกึ ษา
ตารางท่ี 1 การประเมนิ ประสทิ ธิภาพเครอื่ งหมาย SSR 15 เครื่องหมาย
No. Marker AN GN GD H PIC
1 CAC23 3 6 0.60 0.51 0.52
2 CAC50 13 26 0.75 0.56 0.71
3 CAC77 8 17 0.72 0.50 0.67
4 CNZ10 13 35 0.81 0.56 0.78
5 CNZ40 8 14 0.71 0.54 0.67
6 CNZ46 8 19 0.72 0.60 0.68
7 CnCirD8 16 47 0.86 0.58 0.84
8 CnCir51 10 25 0.71 0.60 0.66
9 CnCirA9 6 16 0.53 0.44 0.47
10 CnCirB12 12 42 0.83 0.66 0.81
11 CnCirC12 9 25 0.76 0.63 0.72
12 WCYZ1721 5 13 0.66 0.56 0.62
13 CN11A10 13 49 0.85 0.70 0.83
14 CN1G4 8 19 0.73 0.64 0.69
15 CN1H2 16 74 0.91 0.61 0.90
Mean 10 28 0.74 0.58 0.71
ยทุ ธศาสตรง์ านวจิ ัยด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรม 11
3. การวเิ คราะห์ความหลากหลายทางพันธกุ รรมของมะพรา้ วดว้ ยเครอ่ื งหมาย SSR
ผลการวิเคราะห์โครงสร้างทางพันธุกรรมมะพร้าวโดยใช้เคร่ืองหมาย SSR ด้วยวิธีวิเคราะห์ความน่าจะเป็น
แบบเบย์ พบว่าความเป็นไปได้ของจํานวนกลุ่มประชากร (ค่า K) คือ K=4 โดยพิจารณาค่า ∆K ที่สูงสุดร่วมกับค่าเฉล่ีย
LnP(D) (ภาพท่ี 1.1) แสดงว่ามะพร้าวท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ีแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มประชากรย่อย (ภาพท่ี 1.2) และ
สอดคล้องกับผลการจัดกลุ่มด้วยวิธีสร้างโดรแกรม (ภาพที่ 1.4) และการวิเคราะห์ PCA (ภาพที่ 1.3) แต่ไม่สัมพันธ์กับการ
แบ่งกลุ่มตามแหล่งที่มาทางภูมิประเทศ ซ่ึงถ้ากําหนดให้แต่ละตวั อย่างจะเป็นกลุ่มประชากรเดียวกันเม่อื มีค่า Q ≥ 0.60
ประชากรย่อย กลุ่มท่ี 1 (สีแดง) มีจํานวน 6 ตัวอย่าง ได้แก่ ตัวอย่างมะพร้าวจาก นครศรีธรรมราช ยะลา ชุมพร
นราธิวาส และ อินโดนีเซีย ประชากรย่อยกลุ่มท่ี 2 (สีเขียว) จํานวน 6 ตัวอย่าง ได้แก่ ตัวอย่างมะพร้าวจาก
ประจวบคีรีขันธ์ นครศรีธรรมราช อินโดนีเซีย และ เวียดนาม ประชากรย่อยกลุ่มท่ี 3 (สีน้ำเงิน) จํานวน 8 ตัวอย่าง
ได้แก่ ตัวอย่างมะพร้าวจาก ชุมพร สมุทรสงคราม ชลบุรี นครศรีธรรมราช และ เวียดนาม ประชากรย่อยกลุ่มท่ี 4 (สีเหลือง)
จํานวน 5 ตัวอย่าง ได้แก่ ตัวอย่างมะพร้าวจาก ชุมพร สมุทรสงคราม และ ชลบุรี และมีจํานวน 214 ตัวอย่าง (สีเทา)
ท่ีมีลักษณะเป็นพันธุกรรมผสมระหว่างส่ีกลุ่มประชากรย่อย (admixture) แสดงให้เห็นว่าโดยส่วนใหญ่มะพร้าวที่ใช้
ศกึ ษามีฐานพันธุกรรมแบบผสม เนอ่ื งจากเป็นตัวอยา่ งมะพรา้ วต้นสูงทเ่ี กิดจากการผสมข้าม (cross-pollination) ส่งผล
ให้ลักษณะทางพันธุกรรมของมะพร้าวเป็นพันธุ์ทางท่ีสูง (heterozygosity) และมีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง
(Teulat et al., 2000; Riangwong et al., 2020)
เม่ือพิจารณาสัดส่วนของตัวอย่างมะพร้าวจากแต่ละแหล่งที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มประชากรย่อยกลุ่มใดกลุ่มหน่ึง
แสดงให้เห็นว่าผลการจัดกลุ่มไม่ได้สอดคล้องกับแหล่งท่ีมาของตัวอย่างมะพร้าว เน่ืองจากแต่ละตัวอย่างมีสัดส่วนฐาน
พันธุกรรมที่พบได้ทุกกลุ่มประชากรย่อย (ภาพที่ 1.2) จึงทำให้แต่ละตัวอย่างมีความเช่ือมโยงกันหมด ซ่ึงสอดคล้องกับ
ผลการวิเคราะห์ค่า Fst ระหว่างประชากรย่อยสก่ี ลุ่ม พบว่ามีค่าเท่ากับ 0.04 บ่งช้ีความแตกต่างทางพันธุกรรมระหว่าง
ส่ีกลุ่มประชากรย่อยอยู่ในระดับต่ำ แสดงให้เห็นว่าแต่ละกลุ่มประชากรย่อยมีความแตกต่างทางพันธุกรรมที่น้อยมาก
ซึ่งจัดว่าตัวอย่างมะพร้าวต้นสูงแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย และเวียดนาม เป็นกลุ่มประชากร
เดียวกัน อาจเกิดจากแพร่กระจายตัวของมะพร้าวในประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ท้ังทางทะเลและจากมนุษย์
ซ่ึงสอดคล้องกบั งานวจิ ยั ของ Xiao et al. (2013) ท่ีพบความคล้ายคลงึ ทางพันธกุ รรมระหวา่ งมะพรา้ วในประเทศจีนและ
มะพร้าวจากประเทศแถบเอเชียตะวันออกเฉียงโดยใช้เครื่องหมาย SSR ดังนั้นในการจำแนกมะพร้าวไทยและ
ต่างประเทศจึงจำเปน็ ตอ้ งศกึ ษาหาเครื่องหมายดเี อ็นเอท่สี ัมพนั ธ์กบั แหลง่ ที่มาของมะพร้าวโดยเฉพาะ
ยุทธศาสตรง์ านวจิ ยั ด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรม 12
ภาพท่ี 1 การวิเคราะห์ความหลากหลายและโครงสร้างทางพันธุกรรมของมะพร้าว 239 ตัวอย่าง โดยใช้เครื่องหมาย
SSR 15 เคร่ืองหมาย 1.1) ความเป็นไปได้ของจํานวนกลุ่มประชากร (ค่า K) คือ K=4 จากค่า ∆K สูงสุด
(Delta K = mean(|L˝(K)|)/sd(L(K)) และค่าเฉลี่ย LnP(D) (L(K)(mean+-SD)) 1.2) แผนภูมิโครงสร้างกลุ่ม
ประชากรมะพร้าวด้วยโปรแกรม STRUCTURE โดยแต่ละตัวอย่างจะแสดงแถบแนวต้ังที่มีสัดส่วนกลุ่ม
ประชากร (K) 1.3) กราฟ Principle Component Analysis (PCA) 1.4) เดนโดรแกรมแสดงความสัมพันธ์
ของมะพรา้ ว ด้วยวิธี UPGMA cluster analysis
ยทุ ธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรม 13
เอกสารอา้ งองิ
Liu K, Muse SV (2004). PowerMarker: An integrated analysis environment for genetic marker analysis.
Bioinformatics 21: 2128–2129.
Liu, X., Tang, H., Li, D., and Hou, L. (2011). Genetic Diversity of Coconut Cultivars in China by
Microsatellite (SSR) Markers. Molecular Plant Breeding, 2(12), 83-91.
Loiola, C. M., Azevedo, A. O., Diniz, L. E., Aragao, W. M., Azevedo, C. D., Santos, P. H., Ramos, H. C.,
Pereira, M. G., and Ramos, S. R. (2016). Genetic Relationships among Tall Coconut Palm
(Cocos nucifera L.) Accessions of the International Coconut Genebank for Latin America and the
Caribbean (ICG-LAC), Evaluated Using Microsatellite Markers (SSRs). PLoS One, 11(3), e0151309.
Meerow, A. W., Wisser, R. J., Brown, S. J., Kuhn, D. N., Schnell, R. J., and Broschat, T. K. (2003).
Analysis of genetic diversity and population structure within Florida coconut (Cocos
nucifera L.) germplasm using microsatellite DNA, with special emphasis on the Fiji Dwarf
cultivar. Theoretical and Applied Genetics, 106(4), 715–726.
Perera, L., Russell, J. R., Provan, J., and Powell, W. (1999). Identification and characterisation of
microsatellite loci in coconut (Cocos nucifera) and the analysis of coconut populations in
Sri Lanka. Molecular Ecology, 8, 344-346.
Perera, L., Russell, J. R., Provan, J., and Powell, W. (2001). Levels and distribution of genetic diversity
of coconut (Cocos nucifera L., var. Typica form typica) from Sri Lanka assessed by
microsatellite markers. Euphytica, 122, 381–389.
Pritchard JK., Stephens M., Donnelly P. (2000). Inference of population structure using multilocus
genotype data. Genetics 155: 945–959.
Riangwong, K., Wanchana, S., Aesomnuk, W., Saensuk, C., Nubankoh, P., Ruanjaichon, V., . . . Arikit, S.
(2 0 2 0 ) . Mining and validation of novel genotyping-by-sequencing (GBS)-based simple
sequence repeats (SSRs) and their application for the estimation of the genetic diversity
and population structure of coconuts (Cocos nucifera L.) in Thailand. Hortic Res, 7, 156.
Rohlf FJ. (1998) NTSYSpc: Numerical Taxonomy and Multivariate Analysis System, version 2.0, Exeter
Software, Setauket, New York.
Teulat, B., Aldam, C., Trehin, R., Lebrun, P., Barker, J. H. A., Arnold, G. M., . . . Rognon, F. (2000). An
analysis of genetic diversity in coconut (Cocos nucifera) populations from across the
geographic range using sequence-tagged microsatellites (SSRs) and AFLPs. Theor Appl Genet,
100, 764-771.
Xiao, Y., Luo, Y., Yang, Y., Fan, H., Xia, W., Mason, A., Zhao, S., Sager, R., and Qiao, F. (2013).
Development of microsatellite markers in Cocos nucifera and their application in evaluating
the level of genetic diversity of Cocos nucifera. Plant Omics, 6(3), 193-200.
ยทุ ธศาสตร์งานวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรม 14
การขยายพนั ธุ์ฟา้ ทะลายโจร ดว้ ยเทคนิคการเพาะเลย้ี งเน้ือเยือ่
Propagation for Andrographis paniculata using Tissue Culture Technique
ประกาย อ่อนวมิ ล1 พรรษา มนต์แข็ง1 ภุมรินทร์ วณชิ นานนั ท์1 มลั ลิกา แกว้ วิเศษ1
บทคัดยอ่
การศึกษาการขยายพันธุ์ฟ้าทะลายโจรพันธุ์พิจิตร 4-4 และพันธ์ุพิษณุโลก 5-4 ด้วยการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ
เพ่ือให้ได้ต้นฟ้าทะลายโจรที่ปลอดโรคแมลง สารเคมี และให้มีจำนวนมากเพียงพอต่อความต้องการของเกษตรกร
รวมท้ังเตรยี มพร้อมสำหรับรองรบั การผลติ ระดบั อุตสาหกรรมยาต่อไปในอนาคต พบว่า วิธีการฟอกฆ่าเชื้อที่เหมาะสม
สำหรับช้ินส่วนขอ้ ของฟ้าทะลายโจร คือนำช้ินส่วนข้อไปฟอกฆ่าเชื้อด้วยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร์®)
ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที แล้วนำไปเพาะเล้ียงบนอาหารสูตร MS ท่ีไม่เติมสารควบคุมการ
เจรญิ เติบโตนาน 4 สปั ดาห์ มอี ัตราการรอดชวี ิตโดยปราศจากเช้อื คดิ เป็น 71.40 เปอรเ์ ซน็ ต์ สูตรอาหารทีช่ ักนำให้เกิด
ยอดจำนวนมากจากการเพาะเล้ียงส่วนข้อของฟ้าทะลายโจร คือสูตรอาหาร MS ท่ีเติม BAP ความเข้มข้น 1 mg/l
โดยสามารถชักนำต้นฟ้าทะลายโจรพันธ์ุพิจติ ร 4-4 และพนั ธุ์พิษณุโลก 5-4 ให้เกิดยอดเฉลี่ยสูงสุด 4 และ 3 ยอดต่อ 1 ข้อ
หลังจากน้ันนำไปชักนำให้เกิดรากโดยใช้สูตรอาหาร MS ท่ีไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต สำหรับการนำยอดไป
เพาะเล้ยี งให้ได้จำนวนมากด้วยระบบ Temporary Immersion Bioreactor (TIB) โดยใช้ระยะเวลาและความถี่ในการ
เติมอาหารเหลว 5 นาที ทุก 3 ชั่วโมง พบว่าช้ินส่วนข้อมีการเกิดยอดใหม่ 2 ยอดต่อข้อ ในขั้นตอนสุดท้ายย้ายต้น
ฟ้าทะลายโจรท่มี ีลักษณะต้นและรากสมบูรณ์อายุ 16 สปั ดาห์ มาปรับสภาพทอ่ี ุณหภูมิห้องเปน็ เวลา 5 วัน จึงยา้ ยปลูก
ในโรงเรอื น พบว่ามีเปอรเ์ ซ็นตก์ ารรอดชวี ิตเทา่ กบั 100 เปอรเ์ ซ็นต์ มีการแตกกอและเจริญเติบโตเพิ่มมากข้นึ ภายใน 4 เดอื น
คำนำ
จากสถานการณ์การระบาดของโรคโควิด-19 ในปัจจุบัน มีรายงานการวิจัยทางการแพทย์ พบว่า สารแอนโดร
กราโฟไลด์มีฤทธ์ิยับย้ังการเพ่ิมจำนวนของไวรัสโควิด-19 (SARS-CoV-2) ในเซลล์เนื้อเยื่อ ตามข้อมูลวิจัยการใช้ยา
ฟ้าทะลายโจร (ท่ีมีสารแอนโดรกราโฟไลด์ตามที่กำหนด) รักษาผู้ติดเชื้อโควิด-19 ในประเทศไทย รายงานว่ามีผล
ข้างเคียงน้อย และมีประโยชน์ในการรักษาผู้ติดเชอ้ื ที่ไม่มีอาการ หรือผู้มีอาการน้อย (ยังไม่มีปอดอักเสบ) โดยระงับไม่
ให้โรครุนแรงขึ้น หายจากการติดเช้ือ โดยไม่เกิดปอดอักเสบ สำหรับขอ้ มูลการใช้ฟ้าทะลายโจรเพ่ือรักษาโรคโควิด-19
ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ มีการเพิ่มเติมรายละเอียดของการใช้ฟ้าทะลายโจรเพ่ือบรรเทา
อาการของโรคหวดั และการใช้เพื่อรักษาโรคโควดิ -19 ในประกาศคณะกรรมการพฒั นาระบบยาแห่งชาติเร่ือง บญั ชียา
หลักแห่งชาติด้านสมุนไพร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 เมื่อวันท่ี 4 มิถุนายน 2564 ทำให้มีความต้องการใช้ฟ้าทะลายโจร
จำนวนมากเพื่อใช้ในการรักษาโรคโควิด-19 กรมวิชาการเกษตรจึงพัฒนาพันธ์ุฟ้าทะลายโจรท่ีมีปริมาณสารกลุ่ม
Lactone สูง ซึ่งเป็นพันธ์ุแนะนำของกรมฯ คือ พันธ์ุพิจิตร 4-4 และพันธุ์พิษณุโลก 5-4 มีปริมาณสารกลุ่ม Lactone
รวม 12.20 กรัม และ 8.89 กรัม ต่อน้ำหนักแห้ง 100 กรัม (dry weigh) เพ่ือส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกเพื่อป้อนให้กับ
1 สำนักวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยชี วี ภาพ กรมวชิ าการเกษตร 15
ยุทธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนุรักษพ์ นั ธุกรรม
กระทรวงสาธารณสขุ สำหรับนำไปผลิตยาเพือ่ ตอ่ สู้กับการระบาดของโรคไวรัสโควิด-19 รว่ มถงึ การพัฒนาสมนุ ไพรไทย
ยาไทยเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของการรักษาโรคในอนาคต แต่การขยายพันธ์ุฟ้าทะลายโจรโดยใช้เมล็ดน้ันมคี วามแปรปรวน
สูงซ่ึงจะมีผลต่อปริมาณสารกลุ่ม Lactone ดังน้ันการศึกษาวิจัยคร้ังน้ีจึงมีวัตุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการขยายพันธ์ุ
ฟ้าทะลายโจรใหไ้ ด้จำนวนมากในระยะเวลาอันสั้น ด้วยเทคนคิ การเพาะเลย้ี งเน้ือเยือ่ ซง่ึ เปน็ แนวทางหนึง่ ท่ีมีศักยภาพ
ในการแก้ปัญหาขา้ งต้นได้ดี
วธิ กี าร
1. ฟอกฆ่าเชอ้ื และเพิ่มปริมาณฟ้าทะลายโจรในสภาพปลอดเช้อื โดยใช้ข้อฟา้ ทะลายโจร
ตัดข้อฟ้าทะลายโจรอายุ 2 เดือน จากกระถางเพาะเลี้ยงล้างด้วยน้ำสะอาด 2 คร้ัง ตัดใบส่วนเกินและนำมา
ลา้ งทำความสะอาดเอาเศษดินที่ติดมาออกด้วยน้ำยาล้างจาน จำนวน 1 คร้ัง ผ่ึงให้สะเด็ดน้ำ นำมาฟอกฆ่าเชื้อโดยใช้
สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร์®) ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที พอครบตามเวลานำไป
ล้างด้วยน้ำท่ีผ่านการน่ึงฆ่าเชื้อแล้ว 2 ครั้ง ครั้งละ 5 นาที นำไปซับด้วยกระดาษที่ผ่านการน่ึงฆ่าเช้ือแล้วเพ่ือซับน้ำ
สว่ นเกินออก ตัดเป็นช้ินโดยแยกเป็นข้อๆ แล้วนำไปเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลา 4 สปั ดาห์ หลงั จากน้นั นำตน้ ฟ้า
ทะลายโจรที่รอดชีวิตมาเพิ่มปริมาณในสภาพปลอดเชอื้ เพอื่ นำไปใช้ในการทดลองอ่ืนๆ ต่อไป
2. ศึกษาสตู รอาหารทีเ่ หมาะสมสำหรบั ชกั นำให้เกดิ ยอดจำนวนมากจากชิน้ สว่ นข้อฟา้ ทะลายโจรในสภาพปลอดเชอ้ื
นำข้อฟ้าทะลายโจรจากต้นที่เพาะเล้ียงในสภาพปลอดเช้ือ มาเพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งชักนำให้เกิดยอด
จำนวนมากโดยใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตชนิด BAP ความเข้มข้น 1.0, 1.5, 2.0 และ 3.0 mg/l ร่วมกับ GA3
ความเข้มข้น 0.1 mg/l เพาะเลย้ี งนาน 8 สัปดาห์ ในชว่ งเวลาดงั กล่าวมีการเปล่ียนอาหารทุกๆ 4 สัปดาห์ บนั ทึกข้อมลู
โดยตรวจนับจำนวนยอด (โดยนบั ยอดท่ีมีความยาวตั้งแต่ 0.5 เซนติเมตรขึ้นไป) วัดความยาวยอด และบันทึกภาพ
3. ศึกษาวธิ กี ารทเ่ี หมาะสมในการเพาะเล้ยี งฟ้าทะลายโจรในสภาพปลอดเชอ้ื ในระบบ Temporary Immersion
Bioreactor (TIB)
เมอื่ ได้สูตรอาหารท่ีเหมาะสมในการชกั นำยอดจากขั้นตอนที่ 2 นำมาหาระยะเวลาและจำนวนครงั้ ในการเพิ่ม
ปริมาณยอดจำนวนมากในระบบ TIB โดยใช้ระยะเวลาการเติมอาหารนาน 5 นาที และจำนวนครั้งในการนำอาหารเข้า
สู่ระบบทกุ 2 และ 3 ช่ัวโมง เพาะเล้ียงนาน 4 สปั ดาห์ แลว้ บันทึกข้อมลู โดยตรวจนบั จำนวนยอด และบันทึกภาพ
4. นำตน้ ฟา้ ทะลายโจรทไี่ ดไ้ ปชักนำให้เกิดรากในสภาพปลอดเชอ้ื และยา้ ยออกปลูกภายในโรงเรือน
นำต้นฟ้าทะลายโจรท่ไี ดจ้ ากขั้นตอนที่ 2 และขั้นตอนที่ 3 มาเพาะเล้ียงบนอาหารแขง็ สตู ร MS ที่เติมน้ำตาล
30 กรัมต่อลิตร เพ่ือชักนำให้เกิดรากเป็นเวลา 16 สัปดาห์ โดยมีการเปล่ียนอาหารใหม่ทุกๆ 4 สัปดาห์ จนเกิดราก
สมบรู ณ์ หลังจากทม่ี ีรากสมบรู ณน์ ำไปย้ายปลูกในสภาพโรงเรือน โดยนำขวดเพาะเล้ียงต้นฟ้าทะลายโจรมาปรบั สภาพ
ท่ีอุณหภูมิห้องเป็นเวลา 5 วัน แล้วนำต้นออกจากขวดล้างทำความสะอาดเอาวุ้นท่ีติดกับรากออกให้หมดและพักไว้
หลังจากนั้นยา้ ยออกปลูกลงกระถางโดยใชด้ นิ ผสมสตู รสำเรจ็ ต่อไป
ยทุ ธศาสตรง์ านวิจยั ด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรักษ์พนั ธกุ รรม 16
สรุปผลและวิจารณ์
1. ฟอกฆ่าเช้ือและเพม่ิ ปรมิ าณฟ้าทะลายโจรในสภาพปลอดเช้ือ
จากการฟอกกำจัดเชื้อข้อฟ้าทะลายโจรโดยใช้ สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร์®) ความเข้มขน้ 20
เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที พบว่าหลังจากผ่านไป 4 สัปดาห์ ชิ้นส่วนข้อฟ้าทะลายโจรทั้งสองสายพันธุ์ที่รอดชีวิต
โดยปราศจากเชื้อมี จำนวน 50 ข้อ จากจำนวนข้อเริ่มต้น 70 ข้อ คิดเป็น 71.40 เปอร์เซ็นต์ โดยให้ผลเหมือนกันท้ัง
สองสายพันธ์ุ และลักษณะของยอดมีสีเขียวเริ่มยืดยาวมากขึ้น จึงนำไปเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS ท่ีไม่เติมสาร
ควบคุมการเจริญเติบโตเพอื่ เพิ่มปรมิ าณตน้ ฟ้าทะลายโจรใหเ้ พยี งพอสำหรับนำไปใช้ในการทดลองตอ่ ไป (ภาพที่ 1)
พิจติ ร 4-4 พิษณโุ ลก 5-4
ภาพที่ 1 ลักษณะต้นฟ้าทะลายโจรที่ผ่านการฟอกฆ่าเชื้อ อายุ 4 สัปดาห์ เพาะเล้ียงในสภาพแสง 55 ไมโครโมล
ต่อตารางเมตรต่อวนิ าที เป็นเวลา 16 ช่วั โมงต่อวัน ท่อี ณุ หภูมิ 25+2 องศาเซลเซยี ส
2. ศึกษาสตู รอาหารท่ีเหมาะสมสำหรบั ชกั นำให้เกดิ ยอดจำนวนมากจากชนิ้ สว่ นข้อฟา้ ทะลายโจรในสภาพปลอดเช้อื
การทดลองเพาะเล้ยี งเน้ือเยื่อเพ่ือเพมิ่ ปริมาณยอดให้ไดจ้ ำนวนมาก โดยการชักนำให้เกดิ ยอดกลุ่ม (Multiple
shoots) โดยใช้เนอื้ เยอ่ื ส่วนข้อฟ้าทะลายโจร 2 พนั ธุ์ เพาะเลย้ี งบนอาหารแขง็ สตู ร MS ท่เี ตมิ BAP เข้มขน้ ตา่ ง 1, 1.5,
2 และ 3 mg/l เป็นเวลา 12 สัปดาห์ พบวา่ หลังจากได้ทำการยืนยันประสทิ ธภิ าพของสูตรอาหารที่ได้ในการเพาะเลีย้ ง
ทั้งสองครั้ง และในทั้งสองพันธุ์ให้ผลไปในทางเดียวกัน โดยช้ินข้อของทั้งสองพันธ์ุเริ่มเกิดยอดใหม่ขนาดเล็กเมื่อ
เพาะเล้ียงนาน 8 สัปดาห์ และยอดพัฒนาจนเห็นได้ชัดเจนในสัปดาห์ท่ี 7 โดยช้ินส่วนของข้อพันธ์ุพิจิตร 4-4
ท่ีเพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BAP ความเข้มข้น 1 mg/l สามารถชักนำให้เกิดยอดใหม่เฉลี่ย 4 ยอดต่อ 1 ข้อ
และสูตรอาหารที่สามารถชักนำให้เกิดยอดใหม่จากชิ้นส่วนข้อเฉล่ียน้อยที่สุดคือ สูตร MS ท่ีเติม BAP ความเข้มข้น
3 mg/l จำนวนการเกิดยอดใหม่เฉล่ีย 1 ยอด (ภาพท่ี 2) สำหรับชิ้นส่วนข้อของพันธุ์พิษณุโลก 5-4 ให้ผลไปในทาง
เดียวกันคือ ช้ินส่วนข้อท่ีเพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ท่ีเติม BA ความเข้มข้น 1 mg/l สามารถชักนำให้เกิดยอด
ใหม่เฉล่ีย 3 ยอดต่อ 1 ข้อ และสูตรอาหารท่ีสามารถชักนำให้เกิดยอดใหม่จากยอดเฉล่ียน้อยท่ีสุดคือ สูตร MS ท่ีเติม
BAP ความเข้มข้น 3 mg/l จำนวนการเกิดยอดใหม่เฉล่ีย 1 ยอด (ภาพท่ี 2) สำหรับยอดเกิดใหม่ที่ได้จากการชักนำ
โดยใช้ BAP ความเข้มข้น 1.5 และ 2 mg/l จะมีลักษณะยอดส้ันและจำนวนยอดน้อย แต่เม่ือนำไปเพาะเลี้ยงบน
อาหาร MS ท่ีไมเ่ ตมิ สารควบคุมการเจรญิ เติบโต พบวา่ มีการเจริญเติบโตไดป้ กติ
ยทุ ธศาสตร์งานวิจยั ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนุรักษ์พนั ธุกรรม 17
ซ่ึงผลท่ีได้สอดคล้องกับงานวิจัยของ ประกายและคณะ (2565) ที่พบว่าอาหารท่ีไม่เติมสารควบคุมการ
เจริญเตบิ โต BAP ใหจ้ ำนวนการเกิดยอดจากข้อจิงจูฉา่ ยเฉล่ยี 12.2 ยอด แต่จำนวนการเกิดยอดจากข้อจิงจฉู ่าย ลดลง
เหลือ 5.3 ยอด เม่ือเติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BAP ความเข้มข้น 1 mg/l นอกจากน้ีงานวิจัยของ ยงศักด์ิและ
อัญชลี (2557) กใ็ หผ้ ลทส่ี อดคลอ้ งกนั ที่พบวา่ อาหารท่เี ตมิ BAP ความเข้มข้น 0.1 mg/l ให้จำนวนการเกิดยอดของต้น
พรมมิเฉล่ีย 8.0 ยอด แต่จำนวนการเกิดยอดเฉล่ียลดลงเหลือ 1.5 ยอด เม่ือเติม BAP ความเข้มข้น 2.0 mg/l จาก
รายงานทก่ี ล่าวมานี้พบแนวโน้มเดียวกันคือ BAP ความเขม้ ขน้ ต่ำชักนำให้เกิดยอดได้ดีกวา่ การใช้ความเขม้ ข้นสูงในพืช
ท้ังสามชนิด เนอื่ งจากการใช้ BAP ความเขม้ ข้นสูงเกินไปสง่ ผลให้เกิดความเปน็ พษิ ตอ่ พืช
พจิ ติ ร 4-4 พษิ ณุโลก 5-4
BAP 1 mg/l
BAP 1.5 mg/l
BAP 2 mg/l
BAP 3 mg/l
ภาพท่ี 2 ลกั ษณะการเกิดยอดใหมจ่ ากข้อฟ้าทะลายโจรพนั ธพุ์ จิ ติ ร 4-4 และพนั ธ์ุพษิ ณุโลก 5-4 ที่ผา่ นการฟอกฆ่าเชื้อ
อายุ 8 สัปดาห์ เพาะเล้ียงในสภาพแสง 55 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที เป็นเวลา 16 ชั่วโมงต่อวัน
ที่อณุ หภูมิ 25+2 องศาเซลเซยี ส
3. ศึกษาวธิ ีการทเ่ี หมาะสมในการเพาะเลย้ี งฟ้าทะลายโจรในสภาพปลอดเชอ้ื ในระบบ Temporary Immersion
Bioreactor (TIB)
นำชิ้นส่วนข้อฟ้าทะลายโจรท่ีเพาะเลี้ยงในอาหารเหลวสูตร MS ที่เติม BAP ความเข้มข้น 1 mg/l ในระบบ
Temporary Immersion Bioreactor (TIB) นาน 4 สปั ดาห์ โดยทดสอบระยะเวลาและความถ่ีในการเตมิ อาหารเหลว
5 นาที ทุก 2 ช่ัวโมง พบว่าช้ินส่วนข้อฟ้าทะลายโจรไม่มีการเกิดยอดใหม่และสีเริ่มเปล่ียนเป็นสีน้ำตาลไปจนถึงสีเทา
รวมทั้งมีการตายเกิดข้ึน และการเติมอาหารเหลว 5 นาที ทุก 3 ช่ัวโมง พบว่าช้ินส่วนข้อมีการเกิดยอดใหม่ 1-2 ยอด
ต่อข้อ ลักษณะยอดท่ีเกิดขึ้นมีสีเขียวมีอาการฉ่ำน้ำเกิดข้ึน (ภาพที่ 3) จากผลการทดลองท่ีได้จะเห็นได้ว่าระยะเวลา
ที่ชิ้นส่วนพืชจมอยู่ในอาหาร (immersion time) นั้น มีผลโดยตรงต่อการฉ่ำน้ำ (hyperhydricity) ของช้ินส่วนพืช
ยุทธศาสตร์งานวจิ ยั ดา้ นเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ ักษ์พนั ธุกรรม 18
ดังรายงานวิจัยของ Krueger et al. (1991) ที่ศึกษาระยะเวลาการให้อาหารเหลวของ Serviceberry พบว่า การให้
อาหารเหลวเป็นเวลา 5 นาที ทุก 30 นาที ช้ินส่วนตาข้างมีอาการฉ่ำน้ำมากกว่าการให้อาหารเหลวเป็นเวลา 5 นาที
ทุก 60 นาที นอกจากนี้การเพ่ิมระยะเวลาในการให้อาหารมากข้ึนมีผลต่อการเพิ่มอาการฉ่ำน้ำในพืช ดังรายงานของ
Berthouly and Etienne (2005) ที่เพ่ิมระยะเวลาในการให้อาหารมากขึ้นสำหรับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกาแฟอารา
บกิ ้าดว้ ยวิธี somatic embryogenesis พบว่า มีแนวโน้มทำใหไ้ ด้ตน้ อ่อนที่มีอาการฉ่ำนำ้ มากขน้ึ โดยการให้อาหารคร้ังละ
15 นาที จำนวน 2 คร้ังต่อวัน จะพบต้นอ่อนท่ีมีอาการฉ่ำน้ำ 64 เปอร์เซ็นต์ แต่ถ้าให้อาหารจำนวน 6 คร้ังต่อวัน
อาการฉ่ำน้ำจะเพ่ิมเป็น 90 เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้ระยะเวลาและความถี่ของการให้อาหารยังส่งผลต่อการเพ่ิมอัตรา
การเจริญเติบโตท้ังในด้านคุณภาพและปริมาณของต้นพืช จะเห็นได้ว่าในต้นพืชแต่ละชนิดมีความต้องการระยะเวลา
และความถใี่ นการเติมอาหารเหลวทแ่ี ตกต่างกันเพื่อการเจรญิ เติบโต ดังน้ันควรมีการศึกษาข้ันตอนและวิธีการดังที่กล่าว
มาเพอ่ื ให้เหมาะสมสำหรบั การเจริญเติมโตของพชื แตล่ ะชนดิ และเพื่อให้ไดผ้ ลผลิตในปรมิ าณมากท่ีสุดและคุ้มค่ากบั การ
ลงทนุ ในแต่ละครั้งทีเ่ พาะเลี้ยงเนอ้ื เยอื่ ดว้ ยระบบ TIB
สำหรับการศึกษาระยะเวลาและความถ่ีในการเติมอาหารเหลวในการเพาะเลี้ยงฟ้าทะลายโจรในระบบ TIB
น้ัน แม้ว่าข้อมูลท่ีได้จะเป็นข้อมูลเบื้องต้นแต่ก็แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มของการเจริญเติบโตของยอดเกิดข้ึน ดังนั้นจึง
สามารถนำวิธีการท่ีศกึ ษาได้ไปพัฒนาและประยกุ ตใ์ ชส้ ำหรบั การเพาะเลีย้ งสุมนไพรชนิดนี้ดว้ ยระบบ TIB ได้ในอนาคต
ต้นฟา้ ทะลายโจรพันธุ์พษิ ณโุ ลก 5-4
A
B
ภาพที่ 3 ลักษณะการเกิดยอดใหมข่ องฟา้ ทะลายโจรทถ่ี ูกชกั นำให้เกิดยอดจำนนวนมากจากข้อ ท่ีเพาะเลย้ี งในอาหาร
เหลวสูตร MS ที่เติม BAP ความเข้มข้น 1 mg/l ในระบบ Temporary Immersion Bioreactor (TIB)
เพาะเลี้ยงในสภาพแสง 55 ไมโครโมลตอ่ ตารางเมตรต่อวินาที เป็นเวลา 16 ช่ัวโมงต่อวัน ทีอ่ ุณหภมู ิ 25+2
องศาเซลเซียส นาน 4 สัปดาห์ (A : ระยะเวลาการเติมอาหาร 5 นาที ทุก 2 ช่ัวโมง B : ระยะเวลาการเติม
อาหาร 5 นาที ทุก 3 ชั่วโมง)
4. นำตน้ ฟ้าทะลายโจรมาชกั นำใหเ้ กิดรากและนำออกปลูกในโรงเรอื น
นำต้นฟ้าทะลายโจรอายุ 12 สัปดาห์ มาชักนำให้เกิดรากโดยเพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS เป็นเวลา
16 สปั ดาห์ จนเกดิ รากสมบูรณ์ (ภาพท่ี 4) จึงนำขวดเพาะเลี้ยงตน้ ฟ้าทะลายโจรมาปรับสภาพท่ีอณุ หภูมิห้องเป็นเวลา
5 วัน แล้วนำตน้ ออกจากขวดลา้ งทำความสะอาดเอาวนุ้ ทีต่ ดิ กบั รากออกใหห้ มดและพกั ไว้ หลังจากนน้ั ย้ายออกปลูกลง
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ยั ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนรุ ักษพ์ นั ธุกรรม 19
กระถางโดยใช้ดินผสมสูตรสำเร็จในโรงเรือน พบว่าฟ้าทะลายโจรมีเปอร์เซ็นต์การรอดชีวิตเท่ากับ 100 เปอรเซ็นต์
หลังออกปลูกนาน 1 เดือน แต่ในช่วง 1-2 เดือนแรกต้นฟ้าทะลายโจรมีอาการชะงักการเจริญเติบโตเนื่องจากยัง
ปรับตัวกับสภาพอากาศได้ไม่ดเี ท่าทีควร (ภาพท่ี 5A) หลงั จากมีอายุ 4 เดือน มีการเจริญเติบโตเพิ่มมากข้ึน สามารถ
เจรญิ เติบโตไดด้ ี ใบมขี นาดใหญ่ ต้นแข็งแรงและสมบรู ณ์ ตามภาพท่ี 5B
B1 B2
A พจิ ติ ร พิษณุโลก 5-
พจิ ิตร 4-4 4
4-4
พษิ ณุโล
ก 5-4
อายุ 1 เดือน อายุ 4 เดือน
ภาพท่ี 4 ลักษณะของต้นฟ้าทะลายโจรที่มีรากสมบูรณ์จากการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ืออายุ 4 เดือน (A) และลักษณะของ
ตน้ ฟา้ ทะลายโจรหลงั จากยา้ ยปลูกในโรงเรอื นอายุ 1 เดอื น (B1) และอายุ 4 เดอื น (B2)
การนำไปใช้ประโยชน์
ด้านวิชาการ : กรมวิชาการเกษตรนำข้อมูลพื้นฐานและองค์ความรู้รวมไปถึงวิธีการที่เหมาะสมในการ
ขยายพันธ์ุฟ้าทะลายโจรด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ ยงเน้ือเย่ือไปประยุกต์ใช้สำหรับผลิตต้นกล้าฟ้าทะลายโจรพั นธ์ุดี
ของกรมวิชาการเกษตรที่มีปริมาณสารเอ็นโดรกราโฟไลด์สูงให้ได้จำนวนมากในระยะเวลาอันส้ัน เพ่ือแจกจ่ายให้
เกษตรกรทต่ี ้องการปลูกฟา้ ทะลายโจรไว้รับประทานปอ้ งกนั และรกั ษาโรคต่างๆ ตอ่ ไป
เอกสารอ้างองิ
ประกาย อ่อนวิมล, ภุมรินทร์ วณิชชนานันท์, ไพฑูรย์ บุปผาดา, วรารัตน์ ศรีประพัฒน์ และ สุพินญา บุญมานพ.
2565. การขยายพันธ์ุและเพิ่มปริมาณสารเทอร์พีนอยด์รวมในจิงจูฉ่ายด้วยการเพาะเล้ียงเน้ือเย่ือ.
Agricultural Science and Management J. 5 (1): 6 – 13.
ยงศักดิ์ ขจรผดุงกิตติ และอัญชลี จาละ. 2557. อิทธิพลของ BA และ NAA ท่ีมีตอ่ การเพิ่มจำนวนยอดต้นพรมมิ โดยการ
เพาะเล้ียงเน้ือเยือ่ . Thai Journal of Science and Technology. 3 (1): 7 – 14.
Berthouly, M. and H. Etienne. 2005. Temporary immersion system: a new concept for use liquid medium
in mass propagation. P. 165-195. In: A.K. Hvoslef-Eide and W. Preil (eds.), Liquid Culture Systems
for in vitro Plant Propagation. Springer, Netherlands.
Krueger, S., C. Robacker and W. Simonton. 1991. Culture of Amelanchier x grandiflora in a programmable
micropropagation apparatus. Plant Cell, Tissue and Organs Culture. 12: 243 – 261.
ยุทธศาสตรง์ านวจิ ยั ดา้ นเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรม 20
การชักนำใหเ้ กิดแคลลสั และยอดจากใบฟา้ ทะลายโจร
Callus and Shoot Induction from leaves of Andrographis paniculata
พรรษา มนต์แขง็ 1 และ ประกาย อ่อนวมิ ล 1
บทคดั ย่อ
ฟ้ าท ะลายโจร (Andrographis paniculate (Burm.f.) Wall. ex Nees) มีสารแอน โดรกราโฟ ไลด์
(Andrographolide) เป็นสารสำคัญที่มีฤทธิ์ต้านเช้ือไวรัสก่อโรคโควิด-19 ได้ การเพิ่มผลผลิตโดยการเพาะเมล็ดใน
หลอดทดลอง พบว่าการชักนำต้นอ่อนฟ้าทะลายโจรในหลอดทดลองจากเมล็ดฟ้าทะลายโจรพันธุ์พิจิตร 4-4 มีอัตรา
การงอกและเจริญเติบโตได้ดีกว่าพันธ์ุพิษณุโลก 5-4 และการศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีผลต่อการ
เพาะเนอ้ื เยื่อฟ้าทะลายโจรทั้งสองพันธุ์โดยใช้ชนิ้ ส่วนกา้ นใบและแผ่นใบเปน็ เวลา 8 สัปดาห์ พบว่าอาหารแข็งสูตร MS
ท่ีเติม BAP 1.0 มิลลิกรัมตอ่ ลิตร ร่วมกบั 2,4-D 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร จากการชักนำเน้ือเยอื่ แผ่นใบฟา้ ทะลายโจรพันธ์ุ
พิจิตร 4-4 มีขนาดแคลลัสเฉล่ียใหญ่ท่ีสุด 1.60 เซนติเมตร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และเม่ือย้ายแคลลัสนั้นมา
เพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสูตร MS ท่ีเติม BAP 0.1 และ 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ GA3 0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร
สามารถกระตุ้นให้แคลลัสจากเนื้อเยื่อก้านใบและแผ่นของฟ้าทะลายโจรทั้งสองพันธุ์เกิดการเปลี่ยนแปลงได้มากท่ีสุด
โดยแคลลสั จากชิ้นสว่ นของก้านใบฟา้ ทะลายโจรพันธุ์พิจติ ร 4-4 เกดิ ยอดได้มากกวา่ แคลลัสจากช้ินส่วนแผน่ ใบ และยัง
พบวา่ แคลลัสจากชนิ้ ส่วนทั้งแผน่ ใบและก้านใบของฟา้ ทะลายโจรพนั ธุ์พิจิตร 4-4 เกิดยอดได้ดกี วา่ พนั ธุ์พิษณโุ ลก 5-4
คำนำ
ฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculate (Burm.f.) Wall. ex Nees) จัดอยู่ในวงศ์ Acanthaceae เป็นพืช
ล้มลุก ทุกส่วนของต้นมีรสขม สรรพคุณบรรเทาอาการท้องเสีย อาการของโรคไข้หวัด ต้านการอักเสบ และกระตุ้น
ภูมิคุ้มกัน สามารถพบได้ทั่วไปในประเทศไทย ปัจจุบันคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ได้ประกาศเพ่ิมเติม
รายละเอียดของการใช้ฟ้าทะลายโจร ท่ีกำหนดให้ ยาสารสกัดผงฟ้าทะลายโจรที่มีสารแอนโดรกราโฟไลด์
(Andrographolide) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 4 โดยน้ำหนัก (w/w) สามารถใช้เพ่ือบรรเทาอาการของโรคหวัด และการใช้เพื่อ
รกั ษาโรคโควิด-19 ในประกาศเร่ือง บญั ชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2564 เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2564
(คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติราชกิจจานุเบกษา, 2564) อีกท้ังยังได้รับการยอมรับจากองค์กรอนามัยโลก
(WHO) ให้สารแอนโดรกราโฟไลด์ (Andrographolide) ที่พบในฟ้าทะลายโจรมีฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสก่อโรคโควิด-19 ได้
(เพญ็ จา และคณะ, 2555) ปจั จุบนั น้ีกรมวิชาการเกษตรได้พฒั นาพันธ์ุฟ้าทะลายโจรท่ีมปี ริมาณสารแอนโดรกราโฟไลด์
สูงไดส้ ำเรจ็ แต่ยังคงมปี ัจจัยจำกดั ทเ่ี กดิ จากการขยายพนั ธุแ์ บบดั้งเดมิ และการเพาะเมลด็ เช่น การเกดิ โรค การผนั แปร
ทางพันธกุ รรมสูงเนอื่ งจากการขยายพนั ธโุ์ ดยการเพาะเมลด็ และปจั จยั ดา้ นสภาพแวดล้อมของพนื้ ทเ่ี พาะปลกู จึงสง่ ผล
1 สำนกั วจิ ยั พฒั นาเทคโนโลยชี วี ภาพ กรมวชิ าการเกษตร
ยุทธศาสตรง์ านวจิ ยั ดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรักษ์พนั ธุกรรม 21
ให้ต้นพันธุ์ที่ได้มีลักษณะไม่ตรงตามคุณสมบัติท่ีต้องการ และเสียเวลาในการคัดเลือกต้นกล้าที่มีลักษณะพันธดุ์ ี ดังน้ัน
การใช้วิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเพ่ือขยายพันธุ์ จึงเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่สำคัญ ที่จะทำให้ได้ต้นพันธุ์ดี ปราศจากเชื้อ
ก่อโรคในพืช และลดปจั จยั จำกัดด้านสภาพแวดลอ้ ม จากการศึกษาท่ผี ่านมาพบว่า ฟ้าทะลายโจรสามารถเจรญิ เติบโต
ได้ดีบนอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช (เพ็ญจา และคณะ, 2555; Paritala และคณะ, 2017) สบู่ดำสามารถเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อและชกั นำให้เกดิ แคลลัสไดด้ จี ากกา้ นใบอ่อน (อญั ชิสา และคณะ, 2555) และช้ินส่วนตา่ งๆ ของตน้ ลนิ เดอรเ์ นีย
สามารถชักนำให้เกดิ แคลลสั และยอดได้ดีในอาหารเพาะเลีย้ งเนอื้ เยื่อที่มสี ารควบคมุ การเจรญิ เติบโตกล่มุ ออกซนิ และไซ
โตไคนินในสัดส่วนท่ีแตกต่างกัน (กาพย์แก้ว และคณะ, 2562) ซ่ึงการผลิตพืชในสภาพปลอดเชื้อสารควบคุมการ
เจริญเติบโต BAP (6-Benzylaminopurine) และ 2,4-D (2,4-Dichlorophenoxyacetic acid) มีบทบาทชักนำให้ชิ้นส่วน
พืชเกดิ แคลลสั ได้ดี (Kaewpiboon และ Boonnak, 2020) สว่ น BAP และ GA3 (Gibberellic acid) สามารถชักนำให้
แคลลัสเกิดยอดได้ดี (เยาวพา และคณะ, 2561) งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาอิทธิพลของสารควบคุมการ
เจริญเติบโตต่อการชักนำใหเ้ กิดแคลลัสและยอดจากช้นิ สว่ นกา้ นใบและแผน่ ใบฟา้ ทะลายโจรในสภาพปลอดเชอ้ื
วิธีการ
การวิจัยคร้ังนี้ได้รับตัวอย่างเมล็ดต้นฟ้าทะลายโจร พันธุ์แนะนำกรมวิชาการเกษตร จากศูนย์วิจัยและ
พัฒนาการเกษตรพิจิตร จำนวน 2 สายพนั ธ์ุ ไดแ้ ก่ สายพนั ธุพ์ จิ ติ ร 4-4 และพษิ ณโุ ลก 5-4 เพือ่ นำมาใช้ในการทดลอง
1. การชกั นำต้นออ่ นฟา้ ทะลายโจรในหลอดทดลอง
นำเมล็ดฟ้าทะลายโจรท่ีแก่เต็มที่มาแช่น้ำท่ีอุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 5 นาที ฟอกฆ่าเชื้อและเพ่ิม
ปริมาณเมล็ดฟ้าทะลายโจรในสภาพปลอดเช้ือ (ดัดแปลงวิธีจาก Kaewpiboon และ Boonnak, 2020) โดยนำเมล็ด
ฟา้ ทะลายโจรทที่ผ่านการล้างทำความสะอาดน้ำกลั่น มาฟอกฆ่าเชื้อดว้ ยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร์®,
6% Sodium hypochlorite) ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ นาน 15 นาที แล้วล้างด้วยน้ำกลั่นท่ีผ่านการนึ่งฆ่าเช้ือ
3 คร้ัง ครั้งละ 5 นาที ซับน้ำส่วนเกินออกแล้วนำไป เพาะเลี้ยงบนอาหารสูตร MS (Murashige and Skoog) จำนวน
5 เมล็ด/ขวด สายพันธล์ุ ะ 20 ขวด ภายใต้การให้แสง 16 ชั่วโมง/วนั ความเข้มแสง 55 ไมโครโมล/ตารางเมตร/วินาที
ทอ่ี ณุ หภูมิ 25±2 องศาเซลเซียส เปน็ เวลา 4-8 สปั ดาห์
2. การชกั นำแคลลสั ฟา้ ทะลายโจรในหลอดทดลอง
เม่ือต้นกล้าฟ้าทะลายโจรงอกจากเมล็ดมีอายุ 8 สัปดาห์ ตัดแยกชิ้นส่วนใบเป็น 2 ส่วนคือ ก้านใบและแผ่นใบ
โดยใช้ใบท่ีโตเต็มท่ี ตัดให้แต่ละช้ินมีขนาดความกว้าง 0.5 เซนติเมตร นำไปเพาะเล้ียงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS
โดยใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตชนิด BAP 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ 2,4-D ความเข้มข้น 0.5, 1.0 และ 1.5
มลิ ลิกรัมต่อลติ ร ภายใต้การให้แสง 16 ชัว่ โมง/วัน ความเข้มแสง 55 ไมโครโมล/ตารางเมตร/วินาที ท่ีอุณหภูมิ 25±2
องศาเซลเซียส เป็นเวลา 8 สัปดาห์ โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD (completely randomized design) มี 4
สูตรอาหาร แตล่ ะสตู รมี 5 ซำ้ (1 ขวดมี 2 ชนิ้ ตัวอย่าง/ซ้ำ) บนั ทกึ อตั ราการเกิดและขนาดแคลลสั
ยุทธศาสตรง์ านวจิ ัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรม 22
3. การชักนำยอดจากแคลลสั ฟ้าทะลายโจรในหลอดทดลอง
นำแคลลัสที่ชักนำได้ไปเพาะเล้ียงบนอาหารสังเคราะห์สูตร MS โดยใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตชนิด BAP
0.1 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ GA3 ความเข้มข้น 0.1, 0.2, 0.4, 0.6 และ 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร ภายใต้การให้แสง
16 ชั่วโมง/วัน ความเข้มแสง 55 ไมโครโมล/ตารางเมตร/วินาที ที่อุณหภูมิ 25±2 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลา 4 สัปดาห์
แล้วย้ายลงบนอาหารใหม่สูตร MS ท่ีเติม BAP 0.2 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ GA3 ความเข้มข้น 0.1, 0.2, 0.4, 0.6
และ 0.8 มิลลิกรัมต่อลิตร เป็นเวลา 8 สัปดาห์ โดยวางแผนการทดลองแบบ CRD มี 6 สตู รอาหาร แตล่ ะสูตรมี 5 ซ้ำ
(1 ขวดมี 1 ช้นิ ตัวอยา่ ง/ซำ้ ) บนั ทกึ ความยาวยอดและจำนวนยอด
4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลทางสถิติ
นำข้อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance) ตามแผนการทดลองแบบ CRD เปรียบเทียบ
ความแตกตา่ งของคา่ เฉลี่ย โดยวิธี Duncan’s multiple range test (DMRT) ทร่ี ะดับความเชื่อมั่น 95%
สรปุ ผลและวิจารณ์
1. ผลการชักนำต้นออ่ นฟ้าทะลายโจรในหลอดทดลอง
จากการนำเมล็ดฟ้าทะลายโจรท่ีแก่เต็มที่มาแช่น้ำท่ีก่อนฟอกฆ่าเชื้อเมล็ดฟ้าทะลายโจรทั้ง 2 พันธุ์
ดว้ ยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร์®, 6% Sodium hypochlorite) ความเข้มขน้ 20 เปอรเ์ ซ็นต์ ในสภาพ
ปลอดเช้ือ พบวา่ เม่ือเวลาผ่านไป 2 สัปดาห์ เมลด็ ฟา้ ทะลายโจรเร่ิมมกี ารงอกเกดิ ข้ึน คดิ เป็น 32% จากจำนวนพันธ์ุละ
100 เมล็ด ในระยะเวลา 4 สัปดาห์ มีอัตราการรอดชวี ติ ของเมลด็ ฟา้ ทะลายโจรพันธุพ์ จิ ิตร 4-4 และพนั ธ์ุพษิ ณุโลก 5-4
คิดเป็น 96.88% และ 85.71% ตามลำดับ หลังจากนั้นจึงนำไปเล้ียงบนอาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการ
เจริญเติบโต เม่ือเวลาผ่านไป 8 สัปดาห์ พบว่า เมล็ดฟ้าทะลายโจรท้ังสองพันธุ์เจริญเป็นต้นที่สมบูรณ์ไม่โค้งงอ โดยที่
พนั ธุ์พิจิตร 4-4 มีอัตราการงอกและเจริญเติบโตได้ดีกว่าพันธุ์พิษณุโลก 5-4 ดังภาพที่ 1 ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของ
เพ็ญจา และคณะ (2555) ท่ีศึกษาผลของการงอกที่เหมาะสมกับเน้ือเย่ือเมล็ดฟ้าทะลายโจรในหลอดทดลอง พบว่า
การแช่น้ำเมล็ดฟ้าทะลายโจรเป็นระยะเวลา 1 วัน ก่อนนำมาเพาะในอาหารสังเคราะห์น้ันมีประสิทธิภาพในการงอก
ของเมลด็ ฟา้ ทะลายโจรถึง 61% ลกั ษณะต้นท่ไี ดน้ ้ันมีลักษณะท่ีสมบูรณ์ ไม่โค้งงอ
1 สปั ดาห์ 2 สปั ดาห์ 4 สัปดาห์ 6 สปั ดาห์ 8 สัปดาห์
พิจิตร 4-4
พิษณุโลก 5-4
ภาพที่ 1 การชกั นำต้นอ่อนฟ้าทะลายโจรในหลอดทดลองพนั ธพ์ุ จิ ิตร 4-4 และพันธุ์พษิ ณโุ ลก 5-4 (Scale bar = 1 cm)
ยุทธศาสตร์งานวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรม 23
2. ผลการชักนำแคลลสั ฟา้ ทะลายโจรในหลอดทดลอง
เมื่อชกั นำให้เน้ือเยอ่ื แผ่นใบและกา้ นใบของฟ้าทะลายโจรที่เจริญจากเมล็ดในหลอดทดลองเกิดเป็นแคลลสั บน
อาหารสังเคราะห์สตู ร MS ที่เติมสารควบคมุ การเจรญิ เติบโต BAP 1.0 มลิ ลิกรัมต่อลิตร รว่ มกับ 2,4-D ท่ีความเข้มข้น
ต่างๆ จำนวน 3 สูตร เปรียบเทียบกับอาหารสูตร MS ท่ีไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต (สิ่งทดลองควบคุม) เป็น
เวลา 8 สัปดาห์ พบวา่ ชน้ิ ส่วนเน้อื เยื่อก้านใบและแผ่นใบฟา้ ทะลายโจรทง้ั สองพันธ์สุ ามารถชกั นำให้เกิดแคลลัสได้บน
อาหารทุกสูตรยกเว้นสิ่งทดลองควบคุม โดยแคลลัสที่ได้เป็น Compact callus มีลักษณะเป็นกลุ่มเซลล์เกาะกันแน่น
สีขาวขุ่นจำนวนมาก มีแนวโน้มท่ีจะพัฒนาเป็นต้นใหม่ได้ดี ซ่ึงแคลลัสท่ีชักนำจากเนื้อเยื่อแผ่นใบฟ้าทะลายโจรพันธุ์
พิจิตร 4-4 ที่พัฒนาบนแข็งสูตร MS ที่เติม BAP 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ 2,4-D 1.5 มิลลิกรัมต่อลิตร มีขนาด
แคลลัสเฉลี่ยใหญ่ท่ีสุด 1.60 เซนติเมตร ซึ่งแตกต่างจากสตู รอ่ืนๆ อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิติ (ตารางท่ี 1 และ ภาพท่ี 2)
ซ่ึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ Kaewpiboon และ Boonnak (2020) และงานวิจัยของ Sharmila และคณะ (2013)
ที่ศึกษาผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชกลุ่มออกซินและไซโตไคนิน ต่อการชักนำการเกิดแคลลัสของ
ฟา้ ทะลายโจร พบว่าการเติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BAP 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร รว่ มกับ 2,4-D 1.0-1.5 มิลลกิ รัมต่อลิตร
บนอาหารสังเคราะหส์ ูตร MS สามารถชกั นำให้เกดิ แคลลัสไดด้ ีท่สี ดุ
ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าสารควบคุมการเจริญเติบโตจำเป็นต่อการแบ่งเซลล์และพัฒนาไปเป็นแคลลัส
ของชิ้นส่วนพืช ท้ังนี้เนื่องจาก 2,4-D เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มออกซินที่มีสมบัติต่อการกระตุ้นให้เกิด
แคลลัสและเจริญเติบโตได้ดี ส่วน BAP เป็นสารควบคุมการเจริญเติบโตในกลุ่มไซโทไคนินที่มีสมบัติกระตุ้นการแบ่ง
เซลล์ เม่ือนำมาใช้ร่วมกันจึงส่งผลดีต่อการแบ่งเซลล์ของพืช (เยาวพา และคณะ, 2561) ซ่ึงผลการทดลองน้ีได้นำไป
ขยายเพ่ิมจำนวนแคลลัสบนอาหารสตู รอนื่ ๆ เพอ่ื ใชใ้ นการทดลองต่อไป
ตารางท่ี 1 การเกดิ แคลลัสจากเนื้อเย่ือแผ่นใบและก้านใบฟ้าทะลายโจรบนสูตรอาหารท่ีมี BAP 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
รว่ มกบั 2,4-D ท่ีความเข้มข้นต่างๆ ทอ่ี ายุ 8 สปั ดาห์
สูตรอาหารความเขม้ ขน้ ขนาดของแคลลสั (ซม.)
(มก./ล.)
พันธพุ์ ษิ ณโุ ลก 5-4 พันธ์ุพิจิตร 4-4
BAP 1.0 + 2,4-D 0.5
BAP 1.0 + 2,4-D 1.0 แผ่นใบ กา้ นใบ แผ่นใบ กา้ นใบ
BAP 1.0 + 2,4-D 1.5
1.20 a 1.09 a 1.36 ab 1.39a
F-test
1.01 a 1.02 a 1.32b 1.48a
1.03a 1.01 a 1.60a 1.51a
ns ns * ns
คา่ เฉลยี่ ทีต่ ามหลงั ดว้ ยตัวอักษรที่ตา่ งกนั ในแนวต้งั มคี วามแตกตา่ งทางสถิติ เมือ่ เปรียบเทยี บคา่ เฉล่ียโดยวิธี Duncan’s
multiple range test; * = มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดับความเช่ือมั่น 95%; ns = non
significant
ยุทธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรม 24
ภาพท่ี 2 แคลลัสจากชิ้นส่วนเน้ือเย่ือแผ่นใบและก้านใบฟ้าทะลายโจรพันธ์ุพิจิตร 4-4 และพันธุ์พิษณุโลก 5-4 เป็น
เวลา 8 สปั ดาห์ โดยใชส้ ารควบคุมการเจรญิ เตบิ โตชนดิ BAP 1.0 mg/L รว่ มกับ 2,4-D ท่ีความเข้มขน้ ต่างๆ
(Scale bar = 1 cm)
3. ผลการชกั นำยอดจากแคลลัสฟ้าทะลายโจรในหลอดทดลอง
จากการนำแคลลัสฟ้าทะลายโจรที่ได้จากการเพาะเล้ียงเนื้อเย่ือแผ่นใบและก้านใบบนอาหารสังเคราะห์สูตร
MS ท่ีเติม BAP ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ 2,4-D 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร นาน 8 สัปดาห์ ซึ่งเป็นสูตรท่ี
ให้ Compact callus ได้ดีท่ีสุด มาเพาะเล้ียงบนอาหารสงั เคราะห์สูตร MS ท่ีเติม BAP ความเข้มข้น 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร
ร่วมกับ GA3 ในปริมาณความเข้มข้นต่างๆ เปรียบเทียบกับอาหารสูตร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต เป็น
ระยะเวลา 4 สปั ดาห์ พบว่าอาหารทุกสูตรสามารถชักนำใหเ้ กิดยอดได้ยกเวน้ ส่ิงทดลองควบคมุ เมือ่ ยา้ ยตวั อย่างลงบน
อาหารใหมส่ ูตร MS ท่ีเติม BAP 0.2 มลิ ลกิ รัมต่อลิตร ร่วมกับ GA3 ความเขม้ ข้น 0.1, 0.2, 0.4, 0.6 และ 0.8 มิลลิกรัม
ต่อลิตร เป็นเวลา 8 สัปดาห์ พบว่าอาหารเพาะเลี้ยงท่ีเหมาะสมต่อการเพิ่มจำนวนยอดของฟ้าทะลายโจรในสภาพ
ปลอดเช้ือ คือสูตรที่เตมิ BAP 0.2 มิลลิกรัมตอ่ ลิตร รว่ มกับ GA3 ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัมต่อลติ ร โดยสามารถชักนำ
ใหแ้ คลลสั เกิดยอดได้ 4-5 ยอด (ภาพที่ 3) ซึง่ สอดคล้องกับการทดลองของ เยาวพา และคณะ (2561) ที่ศึกษาผลของ
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชต่อการเพิ่มจำนวนยอดรางจืด พบว่าการเติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BAP
ความเข้มข้น 0.1-0.25 มิลลกิ รัมต่อลิตร รว่ มกับ GA3 ความเขม้ ข้น 0.2-0.4 มิลลกิ รมั ตอ่ ลิตร บนอาหารสังเคราะห์สตู ร
MS สามารถชักนำให้รางจืดมจี ำนวนยอดพัฒนาได้มากท่ีสดุ โดยอาหารท่ีเติม GA3 ที่ความเขม้ ข้นต่ำ จะทำให้ไดย้ อดท่ี
มีลักษณะหนาและแข็งแรง เหมาะที่จะนำไปขยายพันธ์ุได้มากกว่าอาหารที่มีความเข้มข้นของ GA3 สูง และเป็นไปใน
ทิศทางเดียวกับการศึกษาของ Pawłowska (2011) ที่เติม BAP ความเข้มข้น 0.25 มิลลิกรัมต่อลิตร ร่วมกับ GA3
ความเข้มข้น 5 มิลลิกรัมต่อลิตร บนอาหารเพาะเลี้ยงกุหลาบป่า ส่งผลให้มีจำนวนยอดเพ่ิมมากข้ึนสูงสุด 4.1 ยอด
อย่างไรก็ตาม ความเข้มข้นที่ใช้จะแตกต่างกันไปในพืชแต่ละชนิด ทั้งน้ีเน่ืองจาก GA3 มีคุณสมบัติช่วยในการยืดยาว
ของลำต้นและขยายตัวของเซลล์ จงึ ส่งผลให้ลำตน้ ยดื ตัวสูงขนึ้ (เยาวพา และคณะ, 2561)
ยทุ ธศาสตรง์ านวจิ ยั ดา้ นเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรม 25
ภาพท่ี 4 แสดงลักษณะตัวอย่างแคลลัสฟ้าทะลายโจรพันธ์ุพิจิตร 4-4 และพิษณุโลก 5-4 ท่ีถูกชักนำให้เกิดยอด
เพาะเลยี้ งในสภาพปลอดเชือ้ นาน 8 สัปดาห์ โดยใชส้ ารควบคุมการเจริญเติบโตชนิด BAP 0.2 มิลลกิ รมั /ลิตร
รว่ มกับ GA3 ทค่ี วามเข้มขน้ ตา่ งๆ (Scale Bar = 1 cm)
เอกสารอา้ งองิ
กาพย์แก้ว แก้วนาบอน, ธัญญะ เตชะศีลพิทักษ์ และทัศไนย จารุวัฒนพันธ์. 2562. การชักนำให้เกิดแคลลัสจาก
ชิ้นส่วนต่างๆ ของต้นลินเดอร์เนียในสภาพปลอดเชื้อ. Thai Journal of Science and Technology,
8 (2): 138-145. DOI: 10.14456/tjst.2019.23
คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติราชกิจจานุเบกษา. 2564. ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ
เรื่อง บัญ ชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ. 2564. สืบค้นเมื่อ 22 สิงหาคม 2565. จาก
http://dmsic.moph.go.th/index/detail/8663.
เพ็ญจา จิตจำรูญโชคไชย, อิทธิพล เงินยิ่งสุข และ เมธชวิน ขำพิมพ์. 2555. การศึกษาการเพาะเลี้ยงเมล็ดเน้ือเย่ือ
ฟ้าทะลายโจร. วารสารวิทยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ กษตร, 43(2) (พิเศษ): 645 – 648.
เยาวพา จิระเกียรติกุล, ภาณุมาศ ฤทธิไชย, สุวิมล ปัจจัยคา และ กนกวรรณ ส่งเสริม. 2561. การขยายพันธุ์รางจืด
(Thunbergia laurifolia Lindl.) ด้วยการเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยอ่ื . วารสารพชื ศาสตร์สงขลานครินทร,์ 5(2): มป.
อัญชิสา ปานแกว้ , นงลกั ษณ์ เทียนเสรี และ สนธิชัย จันทร์เปรม. 2555. การชักนําให้เกิดแคลลัสและยอดจากกา้ นช่อ
ดอกอ่อนและก้านใบอ่อนของสบู่ดำพันธ์ุโคราช. การประชุมวิชาการแห่งชาติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตกําแพงแสน ครั้งท่ี 9: สาขาพืชและเทคโนโลยีชีวภาพ, สาขาสัตว์และสัตวแพทย์, สาขา
ศกึ ษาศาสตรแ์ ละพัฒนศาสตร์ (น. 530-537). นครปฐม: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.
Kaewpiboon, C. and Boonnak, N. 2 0 2 0 . Effect of Plant Growth Regulators on Diterpene Lactone
Production in Callus Culture of Andrographis paniculate. Thai Science and Technology
Journal (TSTJ), 28(10): 1796 – 1801.
ยทุ ธศาสตร์งานวิจัยดา้ นเทคโนโลยชี วี ภาพและการอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรม 26
Paritala, V., Mohammed, A. and Kayat, F. 2 0 1 7 . In Vitro Plant Regeneration of Andrographis
paniculata Nees Using Mature Zygotic Embryonic Explants. Agricultural Research & Technology
Open Access Journal, 5(5): 555674. DOI:10.19080/ARTOAJ.2017.05.555674.
Pawłowska, B. 2011. The effect of BA and GA3 on the shoot multiplication of in vitro cultures of
Polish wild roses. Folia Horticulturae, 23: 145 – 149.
Sharmila, R., Subburathinam, K.M. and Sugumar, P., 2013, Effect of growth regulators on andrographolide
production in callus cultures of Andrographis paniculata, Advanced Biotech, 12(9): 17 – 19.
ยุทธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรม 27
ผลของ 6-benzylaminopurine ต่อการชักนำให้เกิดยอดจำนวนมากในพืชสกลุ กัญชา (Cannabis spp.)
Effect of 6-benzylaminopurine on Multiple Shoots Induction in Cannabis spp.
ประกาย ออ่ นวมิ ล1 และ ภุมรินทร์ วณิชชนานันท์1
บทคัดยอ่
การขยายพันธุ์กัญชาเพ่ือใช้ประโยชน์ในทางการแพทย์ จำเป็นต้องใช้ต้นพันธุ์ที่มีความสม่ำเสมอทางด้าน
พันธุกรรม ซ่ึงส่งผลต่อความสม่ำเสมอของอัตราการเจรญิ เติบโตและสารสำคัญที่ได้ และการปลูกกัญชาเพ่ือใช้ในทาง
การแพทย์จะใช้เฉพาะต้นเพศเมีย เน่ืองจากมีปริมาณสารสำคัญสูงกว่าต้นเพศผู้หรือต้นกะเทย ดังน้ันเพ่ือให้ได้ต้น
กญั ชาที่สามารถผลติ สารสำคัญในปริมาณสูงและมากเพียงพอสำหรับรองรบั การผลติ ในระดบั อุตสาหกรรมยาในอนาคตนั้น
งานวิจัยน้ีจึงมีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมต่อการเพ่ิมปริมาณยอดท่ีเกิดจากข้อ และยอดกัญชา
ในสภาพปลอดเชื้อ เพ่ือใช้ประโยชนใ์ นดา้ นการวิจัยและขยายพันธ์กุ ัญชาด้วยเทคโนโลยีการเพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อ โดยเร่ิม
จากการฟอกกำจัดเชื้อชน้ิ ส่วนข้อและยอดกัญชาสายพันธ์ุไทย จำนวน 1 สายพันธ์ุ และสายพันธุ์ต่างประเทศ จำนวน
2 สายพันธุ์ โดยใช้สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร®์ ) ความเข้มข้น 20 เปอรเ์ ซน็ ต์ เปน็ เวลา 10 นาที พบว่า
หลังจากเพาะเล้ียงนาน 2 สัปดาห์ ชิ้นส่วนข้อและยอดกัญชาท้ัง 3 สายพันธุ์ มีอัตราการรอดชีวิตคิดเป็น 100
เปอร์เซ็นต์ จากชิ้นส่วนเร่ิมต้น จำนวน 30 ชิ้น ข้อและยอดท่ีเกิดขึ้นใหม่มีลักษณะเป็นสีเขียวเร่ิมมีใบอ่อนเกิดข้ึน
จำนวน 2-3 ใบ จึงนำข้อและยอดท่ีรอดชีวิตของกัญชาทั้ง 3 สายพันธ์ุ ไปเพาะเล้ียงบนอาหารสูตร MS ที่ไม่เติม
ฮอร์โมน พบว่าหลังจากนำไปเพาะเลี้ยงนาน 8 สัปดาห์ ข้อและยอดกัญชาสายพันธ์ุไทยมีการเจริญเติบโตช้ากว่าสาย
พันธ์ุต่างประเทศ สูตรอาหารท่ีเหมาะสมสำหรับการชักนำให้เกิดยอดเฉล่ียมากท่ีสุดจากข้อและยอดกัญชาพันธุ์
ต่างประเทศ คือสูตรอาหาร MS ท่ีเติม BA ความเข้มข้น 0.5 mg/l และ TDZ ความเข้มข้น 0.5 mg/l ให้จำนวนยอด
เฉล่ีย 4.5 และ 3 ยอด สูตรอาหาร MS ท่ีไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโตให้จำนวนยอดเฉล่ีย 2.75 ยอด ส่วนสูตร
อาหาร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 1 mg/l และ TDZ ความเข้มข้น 1 และ 1.5 mg/l ให้จำนวนยอดเฉล่ีย 2.5 ยอด
และสูตรอาหารท่เี ตมิ BA ความเข้มข้น 1.5 mg/l ให้จำนวนยอดเฉลีย่ นอ้ ยทส่ี ุด คอื 2 ยอด
คำนำ
กัญชา (Cannabis sativa L.) เป็นไม้ล้มลุกที่มีถ่ินกำเนิดอยู่ในทวีปเอเชีย จัดอยู่ในตระกูล Cannabaceae
และสามารถแบ่งกลุ่มตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ได้ 3 กลุ่ม คือ Cannabis sativa L. var. sativa, var. indica
และ var. ruderalis การใช้ประโยชน์จากกัญชามีหลากหลายประเภท เช่น ยา เส้นใย และอาหารเพ่ือสุขภาพ อยา่ งไร
กต็ ามกญั ชาในประเทศไทยจดั เป็นยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ แต่ปัจจุบันกัญชา ได้รับ
ขอ้ ยกเวน้ ในกรณีจำเปน็ เพ่ือประโยชนท์ างการแพทย์ การรักษาผปู้ ว่ ย หรอื เพอื่ การศึกษาวจิ ยั และพัฒนา ทง้ั น้ีใหร้ วมถงึ
การเกษตรกรรม พาณิชยกรรม วิทยาศาสตร์ หรืออุตสาหกรรม เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์ ตามพระราชบัญญัติยา
1 สำนกั วจิ ัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวิชาการเกษตร 28
ยทุ ธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยชี วี ภาพและการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรม
เสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 กัญชามีสรรพคุณมากมายในการรักษาโรคต่าง ๆ เช่น โรคอัลไซเมอร์
โรคเบาหวาน และโรคมะเรง็ เป็นตน้ ซ่ึงสาร cannabinoids มอี งค์ประกอบหลกั คือ delta-9-tetrahydrocannabinol
(THC) และ Cannabidiol (CBD) ซึ่ง THC ทำให้รสู้ ึกผ่อนคลาย ทางการแพทย์ใช้ในการรักษาอาการเบ่ืออาหารผู้ป่วย
โรคเอดส์ รักษาโรคหัวใจ ช่วยลดอาการคล่ืนไส้อาเจียนในผู้ป่วยมะเร็ง รักษาโรคผิวหนัง ส่วนสาร CBD มีฤทธ์ิในการ
ยับยั้งมะเร็ง สามารถระงับอาการวิตกกังวลบรรเทาอาการเจ็บปวด (Brenneisen, 2007, Whiting et al., 2015)
ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา และออสเตรเลีย กัญชาถูกนำมาใช้เป็นพืชสมุนไพรอย่างแพร่หลาย
โดยไม่ผิดกฎหมาย และมีการศึกษากันอย่างกว้างขวางและประสบผลสำเร็จเป็นอย่างมาก ปัจจุบันกัญชาเป็นพืชที่
ได้รับความสนใจจากเกษตรกร และผู้ท่ีนำกัญชามาใช้ประโยชน์ในการรักษาโรคเป็นจำนวนมาก แต่ในประเทศไทยยัง
ขาดองค์ความรู้ในการผลิตกัญชาที่ถูกต้องและเหมาะสม ตั้งแต่การศึกษาและพัฒนาพันธ์ุพืชกัญชาท่ีควรส่งเสริม
สนับสนุนการศึกษาและพัฒนาพันธุ์ โดยเฉพาะสายพันธุ์พื้นเมืองของไทย ให้มีความคงตัวทางพันธุกรรม และให้มี
ปริมาณสารออกฤทธ์ิที่ต้องการในระดับสูง อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะได้พันธ์ุท่ีดีมีปริมาณสารออกฤทธิ์ที่ต้องการใน
ระดับสูง แต่การขยายพันธ์ุให้ได้จำนวนมากในระยะเวลาอันสั้นยังเป็นปัญหา ดังนั้นจึงจำเป็นต้องใช้เทคโนโลยีการ
เพาะเล้ยี งเน้ือเยอื่ เข้ามาชว่ ย เนอื่ งจากการขยายพนั ธโ์ุ ดยใชเ้ มลด็ มคี วามแปรปรวนสงู ในบางครงั้ อาจไมไ่ ดต้ ้นพันธุ์ทต่ี รง
ตามคุณสมบัติที่ต้องการและทำให้เสียเวลาในการคัดเลือก รวมทั้งการขยายพันธุ์แบบด้ังเดิมต้องใช้ต้นตอจำนวนมาก
ทำให้ต้องใช้เวลานานในการขยายพันธุ์ แต่เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อสามารถนำเน้ือเยอ่ื ทุกส่วนของต้นพันธุ์ท่ีดี
มาเพาะเลี้ยงแล้วชักนำให้เกิดเป็นตน้ ทีส่ มบรู ณ์ทีม่ ีลักษณะตรงตามพันธุกรรม และสามารถขยายพนั ธ์ใุ ห้ไดจ้ ำนวนมาก
ในระยะเวลาอันส้ัน ดังนั้นการใช้เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเน้ือเยื่อจึงเป็นแนวทางหน่ึงท่ีมีศักยภาพในการแก้ปัญหา
ขา้ งต้นมากกวา่ แนวทางอน่ื
วิธีการ
1. การฟอกฆา่ เชอื้ ข้อและยอดกัญชาในสภาพปลอดเช้อื
เริ่มจากนำข้อและยอดกัญชานำมาล้างด้วยน้ำสะอาด 2 ครั้งเพื่อล้างเศษดินและสิ่งสกปรกที่ติดมาออก
หลงั จากนั้นนำมาฟอกฆ่าเชื้อด้วยสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร์®) เขม้ ข้น 20 เปอรเ์ ซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที
แล้วนำไปล้างด้วยน้ำท่ีผ่านการน่ึงฆ่าเชื้อแล้วประมาณ 2 ครั้ง คร้ังละ 5 นาที ครบตามเวลานำไปซับด้วยกระดาษท่ี
ผ่านการนึ่งฆ่าเช้ือแล้วเพ่ือเอาน้ำส่วนท่ีเกินออก ในขั้นตอนสุดท้ายย้ายข้อและยอดกัญชาไปเลี้ยงบนอาหารสูตร MS
เปน็ เวลา 2 สัปดาห์ บันทึกผลการทดลองโดยตรวจนับจำนวนข้อและยอดกัญชาท่ีมีชวี ิตรอดจากการฟอกฆา่ เชื้อ โดยนับ
จำนวนชนิ้ ทีไ่ มม่ ีการปนเป้อื นเชื้อแบคทีเรีย หรือ เชื้อรา โดยคำนวณเปน็ เปอรเ์ ซน็ ต์อตั ราการรอดชวี ติ และบันทึกภาพ
2. ศกึ ษาสูตรอาหารทีเ่ หมาะสมในการชักนำให้เกิดยอดจำนวนมากในกัญชา
เร่ิมจากนำปลายยอดจากต้นท่ีเพาะเล้ียงในสภาพปลอดเชื้อ มาเพาะเล้ียงบนอาหารแข็งชักนำให้เกิดยอด
โดยใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตชนิด BA ความเข้มข้น 0.5, 1.0 และ 1.5 mg/l และ TDZ ความเข้มข้น 0.5, 1.0
และ 1.5 mg/l เพาะเล้ยี งนาน 8 สปั ดาห์ ในชว่ งเวลาดงั กลา่ วมีการเปลีย่ นอาหารทกุ ๆ 4 สปั ดาห์ บันทึกผลการทดลอง
โดยตรวจนับจำนวนยอดต่อชิ้น (โดยนับยอดท่ีมีความยาวต้ังแต่ 0.5 เซนติเมตรขึ้นไป) วัดความยาวยอด และ
บันทึกภาพการทดลองน้ใี ช้ 10 ซา้ํ ให้ 1 ซํ้าคือ 1 ขวดเพาะเล้ียง
ยทุ ธศาสตร์งานวิจยั ดา้ นเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรม 29
สรปุ ผลและวจิ ารณ์
1. การฟอกฆ่าเชือ้ ขอ้ และยอดกญั ชาในสภาพปลอดเชอ้ื
หลกั จากฟอกกำจัดเช้อื ชนิ้ ส่วนขอ้ และยอดกัญชาสายพนั ธุไ์ ทยจำนวน 1 สายพันธุ์ และ สายพันธ์ตุ า่ งประเทศ
จำนวน 2 สายพนั ธ์ุ โดยใช้ สารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด์ (ไฮเตอร®์ ) ความเข้มข้น 20 เปอร์เซ็นต์ เป็นเวลา 10 นาที
พบว่าหลังจากผ่านไป 2 สัปดาห์ ช้ินส่วนข้อกัญชาท้ัง 3 สายพันธ์ุ มีอัตราการรอดชีวิตคิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ จาก
ชนิ้ สว่ นขอ้ เร่ิมต้นจำนวน 30 ชิ้น และลักษณะข้อของทัง้ 3 สายพนั ธุ์ ท่ีรอดชีวิตมีลักษณะเป็นสีเขยี ว บางข้อเริ่มมียอด
อ่อนเกิดข้ึนสำหรับชิ้นส่วนยอดกัญชาทั้ง 3 สายพันธ์ุ ให้ผลไปในทางเดียวกันคือ อัตราการรอดชีวิตคิดเป็น 100
เปอร์เซ็นต์ ในทุกสายพันธ์ุ จากช้ินส่วนยอดเริ่มต้นจำนวน 30 ช้ิน และลักษณะยอดท่ีรอดชีวิตมีลักษณะที่สมบูรณ์
สีเขียว และเริม่ มใี บอ่อนเกดิ ข้ึนจำนวน 2-3 ใบ
หลังจากนั้นนำข้อและยอดท่ีรอดชีวิตของกัญชาท้ัง 3 สายพันธุ์ ไปเพาะเล้ียงบนอาหารสูตร MS ท่ีไม่เติม
ฮอร์โมน พบว่าหลังจากนำไปเพาะเลี้ยงนาน 8 สัปดาห์ ข้อและยอดกัญชาสายพันธ์ุไทยมีการเจริญเติบโตช้ากว่าสาย
พนั ธุ์ต่างประเทศ ถึงเร่ิมมีการแตกยอดใหม่เกิดข้ึน (ภาพที่ 1A) สำหรบั กัญชาสายพันธ์ุตา่ งประเทศมีการเจริญเติบโต
ไดด้ ีสเี ขยี วมีการแตกยอดเพมิ่ ข้นึ ในระหว่างการเพาะเล้ียง (ภาพที่ 1B และ C) หลังจากน้ันนำไปตัดแยกยอดแลว้ ย้าย
ไปเพาะเล้ียงบนอาหารสตู ร MS ท่ไี ม่เตมิ ฮอรโ์ มน สำหรบั เพิม่ ปรมิ าณให้เพยี งพอเพื่อนำไปใช้ในการทดลองต่อไป สว่ น
กัญชาสายพันธุ์ไทยมีการเปล่ียนอาหารและเพาะเล้ียงต่อจนอายุครบ 12 สัปดาห์จึงนำไปเพ่ิมปริมาณให้เพียงพอ
สำหรับนำไปใชใ้ นการทดลองตอ่ ไป
A
B
C
ภาพท่ี 1 ลักษณะช้ินส่วนของเน้ือเยื่อกัญชาผ่านการฟอกฆ่าเช้ือ อายุ 8 สัปดาห์ กัญชาพันธ์ุไทย (A) กัญชาพันธุ์
ตา่ งประเทศ พันธุ์ท่ี 1 (B) และพันธุ์ที่ 2 (C) เพาะเลี้ยงในสภาพแสง 55 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที
เปน็ เวลา 16 ชั่วโมงต่อวนั ทอ่ี ุณหภมู ิ 25+2 องศาเซลเซยี ส
2. ศึกษาสูตรอาหารทเ่ี หมาะสมในการชักนำให้เกิดยอดจำนวนมากในกัญชา
หลังจากนำยอดกญั ชาสายพันธุ์ต่างประเทศ พันธ์ุท่ี 2 ไปเพาะเลย้ี งใหเ้ กดิ ยอดจำนวนมาก บนอาหารแข็งสูตร
MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BA และ TDZ ความเข้มข้น 0.5, 1 และ 1.5 mg/l เป็นเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า
ยอดกัญชาท่ีเพาะเลี้ยงบนอาหารทั้ง 6 สูตร เร่ิมเกิดยอดใหม่ขนาดเล็กหลังจากเพาะเล้ียงนาน 2 สัปดาห์ และยอด
ยุทธศาสตรง์ านวิจยั ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรม 30
พฒั นาจนเห็นได้ชดั เจนในสปั ดาห์ท่ี 4 โดยยอดกญั ชาที่เพาะเล้ียงบนอาหารสูตร MS ท่ีเตมิ สารควบคมุ การเจรญิ เติบโต
BA เข้มข้น 0.5 mg/l ให้จำนวนการเกิดยอดมากกว่านำไปเพาะเล้ียงบนอาหารสูตรอื่นๆ (ภาพที่ 2A) แต่อย่างไรก็
ตามยอดที่ได้มีลักษณะที่อ่อนแอมีสีซีดจาง ต่างจากยอดที่ได้จากการเพาะเล้ียงบนอาหาร MS ที่เติมสารควบคุมการ
เจริญเติบโต BA เข้มข้น 1 mg/l และ 1.5 mg/l ท่ียอดใหม่มีสีเขียวและแข็งแรงกว่าแม้ว่าจะมีจำนวนยอดน้อยกว่าก็
ตาม ส่วนยอดกญั ชาทนี่ ำไปเพาะเลย้ี งบนอาหารแข็งสตู ร MS ที่เตมิ สารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต TDZ นัน้ ลกั ษณะยอด
ที่ได้จะไม่สมบูรณ์หงกิ งอ และมแี คลลัสเกิดขึน้ ท่ีส่วนโคนหลังจากนำไปเพาะเลีย้ งบนอาหารสูตร MS ทเ่ี ติมสารควบคุม
การเจริญเติบโต TDZ เข้มข้น 1 และ 1.5 mg/l (ภาพท่ี 2B) นอกจากนี้ยังสังเกตได้ว่ายิ่งใช้ความเข้มข้นของ TDZ
เพิ่มมากขึน้ กจ็ ะเกิดยอดกล่มุ มากข้นึ ลักษณะยอดมสี ีเขยี วแตไ่ ม่ยดื ยาวแยกออกมาชดั เจน
สำหรับสูตรอาหารท่ีสามารถชักนำให้เกิดยอดเฉลี่ยในกัญชาพันธ์ุต่างประเทศ พันธุ์ท่ี 2 มากท่ีสุดจากข้อคือ
สตู ร MS ท่ีเติม BA ความเข้มข้น 0.5 mg/l มีจำนวนยอดเฉลี่ย 4.5 ยอด, TDZ ความเข้มข้น 0.5 mg/l มีจำนวนยอด
เฉล่ีย 3 ยอด, สูตรอาหาร MS ที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต มีจำนวนยอดเฉล่ีย 2.75 ยอด, BA ความเข้มข้น
1 mg/l มีจำนวนยอดเฉล่ีย 2.5 ยอด, TDZ ความเข้มข้น 1 mg/l มีจำนวนยอดเฉลี่ย 2.5 ยอด, TDZ ความเข้มข้น
1.5 mg/l มีจำนวนยอดเฉลี่ย 2.5 ยอด และ BA ความเข้มข้น 1.5 mg/l มีจำนวนยอดเฉล่ีย 2 ยอด ตามลำดับ (ภาพที่ 2)
ดังนัน้ จงึ นำสตู รอาหารท่ีไดม้ าทดสอบชักนำใหเ้ กิดยอดจำนวนมากในกัญชาพันธุ์ตา่ งประเทศเพิ่มอกี 1 พนั ธุ์ คือ พันธุท์ ่ี
(3) เพ่ือเป็นการยืนยันสูตรอาหารท่ีศึกษาได้พบว่า หลังจากนำไปเพาะเลี้ยง 4 สัปดาห์ ยอดกัญชามีสีเขียวมีและเกิด
การแตกยอดเพิ่มมากขึ้นอย่างชัดเจน (ภาพที่ 3B) จึงตัดแยกเป็นยอดเดย่ี วนำไปเพาะเล้ยี งในสตู รอาหาร MS ที่ไม่เติม
สารควบคุมการเจริญเติบโตพบวา่ ยอดมกี ารยืดยาวและเจรญิ เติบโตตามปกติ
0.5 mg/l BA 1 mg/l BA 1.5 mg/l BA
A
0.5 mg/l TDZ 1 mg/l TDZ 1.5 mg/l TDZ
B
ภาพที่ 2 ลักษณะการเกิดยอดหลังจากชักนำให้เกิดยอดจำนวนมากในกัญชาสายพันธุ์ต่างประเทศ พันธ์ุที่ 2
เพาะเล้ียงบนอาหารแข็งสูตร MS ท่ีเติมสารควบคุมการเจริญเติบโต BA ความเข้มข้น 0.5, 1 และ 1.5 mg/l (A)
และอาหารแข็งสูตร MS ที่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต TDZ ความเข้มข้น 0.5, 1 และ 1.5 mg/l (B)
อายุ 4 สัปดาห์ ในสภาพแสง 55 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อวินาที เป็นเวลา 16 ชั่วโมงต่อวัน ท่ีอุณหภูมิ
25+2 องศาเซลเซยี ส ลูกศรสแี ดง แสดงยอดใหม่ท่ีเกิดขนึ้
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ัยดา้ นเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนุรักษพ์ นั ธกุ รรม 31
A
B
ภาพท่ี 3 ลักษณะการเกิดยอดหลังจากชักนำให้เกิดยอดจำนวนมากในกัญชาสายพันธ์ุต่างประเทศ พันธ์ุที่ 3
เพาะเลี้ยงบนอาหารแข็งสตู ร MS ทเ่ี ตมิ สารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต BA ความเข้มขน้ 0.5 mg/l อายุ 4 สัปดาห์ (A)
และการตัดแยกยอดกัญชามาเพาะเลี้ยงเป็นยอดเดี่ยว (B) ในสภาพแสง 55 ไมโครโมลต่อตารางเมตรต่อ
วนิ าที เป็นเวลา 16 ช่ัวโมงต่อวัน ที่อุณหภูมิ 25+2 องศาเซลเซียส องศาเซลเซียส ลูกศรสีแดง แสดง
ยอดใหมท่ ่ีเกิดขนึ้
การนำไปใช้ประโยชน์
ด้านวิชาการ : กรมวิชาการเกษตรนำข้อมูลพ้ืนฐานและองค์ความรู้รวมไปถึงวิธีการท่ีเหมาะสมในการเพิ่ม
ปริมาณยอดกัญชาพันธ์ุดีด้วยเทคนิคการเพาะเล้ียงเน้ือเยื่อ รวมท้ังนำไปไปประยุกต์ใช้ต่อยอดสำหรับเป็นแนวทางใน
การผลิตต้นกล้ากัญชาพันธ์ุดีของกรมวิชาการเกษตรให้ได้จำนวนมากในระยะเวลาอันสั้น เพ่ือให้เพียงพอต่อความ
ต้องการของเกษตรกรท่ีสนใจปลกู กญั ชาในครวั เรือน สำหรบั นำไปใชป้ ระโยชนใ์ นการป้องกนั และรกั ษาโรคต่างๆ ต่อไป
เอกสารอา้ งองิ
Brenneisen R. 2007. Chemistry and analysis of phytocannabinoids and other cannabis constituent.
In: Marijuana and the Cannabinoids Forensic Science and Medicine, ed. M. ElSohly (New
York, NY: Humana Press), 17 – 49.
Whiting PF, Wolff S and Deshpande S. 2015. Cannabinoids for Medical Use A Systematic Review And
Meta-analysis. JAMA 2015 Jun 23; 30(313): 2456 – 2473.
ยทุ ธศาสตรง์ านวจิ ยั ด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ กั ษ์พนั ธกุ รรม 32
การวเิ คราะห์ลักษณะทางพันธกุ รรมจากยนี CBDAS สำหรับคัดเลอื กและปรับปรงุ พนั ธุพ์ ืชสกลุ กญั ชา
The Genetic Analysis of CBDAS Gene for Selection and Breeding in Cannabis Sativa L.
อรโุ ณทยั ซาววา1/2 รงุ่ นภา พิทกั ษ์ตันสกลุ 1 ภรณี สวา่ งศรี1 วภิ าวี ช้ันโรจน1์ มัลลิกา แก้ววิเศษ1
สมคดิ ดำนอ้ ย2 ทรงเมท สังฆ์น้อย2 สุรกติ ติ ศรีกุล3
บทคัดย่อ
Cannabidiolic acid synthase (CBDAS) คือ เอ็นไซม์ที่เปลี่ยนกรด cannabigerolic (CBGA) ให้เป็นกรด
cannabidiolic (CBDA) ท่ีเป็นสารตั้งต้นของ cannabidiol (CBD) ซ่ึงใช้ประโยชน์ทางการแพทย์กันอย่างแพร่หลาย
งานวิจัยน้ีจึงได้ศึกษาลักษณะพันธุกรรมพืชสกุลกัญชาจากยีน CBDAS โดยทำการสืบค้นข้อมูลยีนจากฐานข้อมูลมา
ออกแบบไพรเมอร์และเพ่ิมปริมาณดีเอ็นเอในส่วนที่ต้องการ แล้วนำลำดับนิวคลีโอไทด์ท่ีได้วิเคราะห์ด้วยโปรแกรม
MEGA11 พบว่าการเพ่ิมปริมาณดีเอ็นเอในพืชสกุลกัญชาจำนวน 27 ตัวอย่าง ได้ชิ้นส่วนยีน CBDAS ขนาดความยาว
1,165 คู่เบส การวิเคราะห์ลกั ษณะพนั ธกุ รรม พบว่าสามารถแยกกลุ่มพืชสกุลกัญชาได้ 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มแรกเป็นพันธ์ุ
ท่มี สี าร THC สงู ได้แก่ หางกระรอก ฝอยทองภผู ายล หมื่นศรี ดา้ ยแดง และ KD และกลมุ่ ที่ 2 คอื พันธ์ทุ ม่ี ีสาร CBD สูง
ได้แก่ Baox, Cherry, Auto tune, Auto blue’s, Auto blunami และ Early remedy นอกจากน้ียังพบลำดับ
นิวคลีโอไทด์แตกต่างระหว่าง 2 กลุ่มดังกล่าว ในตำแหน่งที่ 285 293 304 312 และ 317 สามารถนำไปศึกษาและ
พฒั นาเปน็ เครอ่ื งหมายดเี อน็ เอในการคดั เลือกและปรบั ปรงุ พันธ์ุพชื สกลุ กญั ชาให้มีสารสำคัญทางการแพทยส์ งู ได้ตอ่ ไป
คำนำ
พืชสกลุ กญั ชา (Cannabis sativa L., 2n = 2x = 20) มกี ารปลูกอยา่ งแพรห่ ลายทั่วโลก สำหรบั ประเทศไทย
พบมีการบันทกึ ทางประวัติศาสตรใ์ นสมัยพระนารายณ์มหาราช (พ.ศ. 2199 -2231) มนุษย์ได้ใช้ประโยชนจ์ ากพืชสกุล
กัญชาจากส่วนต่างๆ เช่น เส้นใย (ผลิตเชือก และเครื่องนุ่งห่ม) ลำต้น (กระดาษ วัสดุก่อสร้าง และพลังงาน) เมล็ด
(เป็นอาหารมีโปรตีนและกรดไขมันที่เป็นประโยชน์) ใบ ราก และช่อดอก (ยา สมุนไพร เภสัชกรรม และโภชนาการ)
เป็นต้น นอกจากนี้พืชสกุลกัญชายังมีกลุ่มสาร cannabinoids ที่มีความสำคัญทางการแพทย์ คือ สาร delta-9-
Tetrahydrocannabinoids (THC) มีฤทธิ์กระตุ้นประสาทก่อให้เกิดอาการมีความสุข ใช้เป็นยาแก้ปวด ต้านอาเจียน
ลดการอักเสบ ต้านออกซิเดชัน และสาร Cannabidiol (CBD) มีฤทธิ์เสพติดทางจิตใจ ใช้ระงับประสาท ระงับอาการ
วิตกกังวล ต้านอาการชัก ซ่ึงมีหลักฐานสำคัญทางการแพทย์ว่าสารกลุ่ม cannabinoids สามารถรักษาอาการปวด
ปลายประสาท อาการปวดจากโรคมะเร็ง และอาการกล้ามเนื้อเกรง็ ได้ (สุรกิตติ และคณะ, 2564) โดยสาร THC และ
CBD มาจากสารต้ังต้นท่ีเป็นกรด เรียกว่า tetrahydrocannabin-olic-acid (THCA) และ cannabidiolic acid
(CBDA) ท่ีสังเคราะห์ มาจากสาร cannabigerolic-acid (CBGA) ด้วยเอ็นไซม์ THCA synthase และ CBDA
synthase (Taura et al., 2007)
1 สำนกั วจิ ยั พฒั นาเทคโนโลยีชีวภาพ กรมวชิ าการเกษตร 33
2 ศูนยบ์ ริหารจดั การพืชกัญชา กญั ชง และกระทอ่ ม แบบเบด็ เสรจ็ กรมวชิ าการเกษตร
3 สำนักผูเ้ ชย่ี วชาญ กรมวิชาการเกษตร
ยุทธศาสตร์งานวิจัยดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรม
การจำแนกพืชสกุลกัญชาด้วย cannabinoid profiles แบ่งออกเป็น 3 แบบ คือ (1) drug-type มีปริมาณ
THC มากกว่า 0.5 เปอร์เซ็นต์ CBD น้อยกวา่ 0.5 เปอรเ์ ซ็นต์ และ THC/CBD มากกว่า 1 (2) intermediate type มี
ปริมาณ THC และ CBD มากกว่าหรือเท่ากับ 0.5 เปอร์เซ็นต์ และ (3) non-drug type หรือ fiber-type มีปริมาณ
THC นอ้ ยกวา่ 0.5 เปอรเ์ ซ็นต์ CBD มากกว่าหรอื เทา่ กับ 0.5 เปอรเ์ ซ็นต์ และมี THC/CBD นอ้ ยกวา่ 1 (De Meijer et
al., 1992) ปัจจุบนั ยนี ทเี่ กี่ยวข้องกบั กระบวนการสรา้ งสาร cannabinoids ในพชื สกุลกัญชา ถกู นำมาใช้เปน็ แนวทาง
ในการประเมินและคัดเลือกสายพันธุ์กัญชา ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาแนวทางการผลิตสารสำคัญหรือการพัฒนาเป็น
เครื่องหมายดีเอ็นเอ (Fulvio et al., 2021) ดังนั้นการวิจัยน้ีจึงได้วิเคราะห์ลักษณะทางพันธุกรรมจากยีน CBDAS ท่ี
เก่ียวข้องกับการสร้างสารสำคัญทางการแพทย์ เพื่อทราบตำแหน่งดีเอ็นเอท่ีสามารถใช้เป็นแนวทางในคัดเลือกและ
ปรบั ปรงุ พันธ์พุ ชื สกลุ กญั ชาตอ่ ไป
วิธกี าร
1. เตรียมตัวอย่างพืชสกุลกัญชาที่มกี ารรับรองหรือวิเคราะห์สาร CBD และ THC แล้ว จำนวน 27 ตัวอยา่ ง จาก
12 สายพันธุ์ ดังน้ี Baox, Cherry, Auto tune, Auto blue’s, Auto blunami, Early remedy, หางกระรอก, ฝอยทองภู
ผายล, หม่นื ศรี, ด้ายแดง และ KD
2. สืบค้นข้อมูลยีน CBDAS (cannabidiolic acid synthase) จากฐานข้อมูล NCBI เฉพาะส่วนแปลรหัส
พนั ธกุ รรม (coding sequence) ใช้เปน็ ต้นแบบในการสืบค้นชน้ิ ส่วนโครโมโซมของพืชสกลุ กัญชาที่มียนี CBDAS ด้วย
โป รแ ก รม nucleotide blast (https://blast. ncbi.nlm.nih.gov/Blast.cgi) ใน ฐ าน ข้ อ มู ล whole-genome
shotgun contigs (wgs)
3. ออกแบบไพรเมอร์และตรวจสอบคุณภาพไพรเมอร์ด้วยโปรแกรม OligoClac (http://biotools.
nubic.northwestern.edu/OligoCalc.html)
4. สกัดดเี อ็นเอจากตัวอย่างใบพืชสกุลกญั ชาตามรายงานของอรุโณทยั และคณะ (2552)
5. เพิ่มปริมาณชน้ิ ส่วนยีน CBDAS ด้วยวิธีพีซอี าร์ ดังน้ี ดีเอ็นเอต้นแบบ (50 นาโนกรัม/ไมโครลิตร) 2 ไมโครลิตร,
10x PCR buffer 2 ไมโครลิตร, 25 mM MgCl2 2 ไมโครลิตร, 2mM dNTP 2 ไมโครลิตร, ไพรเมอร์ (5 uM) อย่าง
ละ 2 ไมโครลิตร, Taq DNA polymerase (0.5 unit) 0.15 ไมโครลิตร ในปฏิกิริยาทั้งหมด 25 ไมโครลิตร โดยตั้ง
โปรแกรมการทำงานของเคร่ือง themal cycle, Gene Amp 9700 ดังนี้ 95 องศาเซลเซียส 3 นาที จำนวน 1 รอบ
ตามด้วย 94 องศาเซลเซียส 1 นาที 55 องศาเซลเซียส 1 นาที และ 72 องศาเซลเซียส 1 นาที จำนวน 35 รอบ
จากนั้นต้ังท่ี 72 องศาเซลเซียส 7 นาที 1 รอบ ทำการตรวจสอบผลผลิตพีซีอาร์ด้วยวิธีอิเล็คโทรโฟรีซีส
(electropholesis) แล้วบันทึกแถบดีเอ็นเอด้วยชุดถ่ายภาพ (UV Transilluminators, BIORAD) จากน้ันทำช้ินส่วน
พซี ีอาร์ให้บริสุทธ์ิ (PCR purification) ด้วยชดุ PureLink® PCR Purification Kit
6. วิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ด้วยวิธี Barcode Taq sequence แล้ววิเคราะห์ความความสัมพันธ์
ทางพนั ธุกรรมด้วยโปรแกรม MEGA11 ตามรายงานของ Kumar et.al., 2018 และสรา้ งแผนผังพันธุกรรมดว้ ย
วิธี Maximum Likelihood ทคี่ า่ Boot strap จำนวน 1,000 ซำ้
ยุทธศาสตรง์ านวิจัยดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรกั ษพ์ นั ธุกรรม 34
สรุปผลและวิจารณ์
การสืบค้นข้อมูลยีน CBDAS จากฐานข้อมูล NCBI ได้นำข้อมูลยีน Cannabis sativa cultivar Carmen
cannabidiolic acid synthase หมายเลข GenBank: KJ469374.1 ในส่วนของการแปลรหัส (CDS) เป็นต้นแบบ
การค้นหาชิ้นส่วนจีโนมของกัญชาจากฐานข้อมูล whole-genome shotgun contigs (wgs) พบยีน CBDAS บน
ชิ้นส่วนจีโนม Cannabis sativa subsp. indica cultivar LA Confidential contig 27387 หมายเลข GenBank:
LKUA01020408.1 จึงได้นำลำดับนิวคลีโอไทด์มาออกแบบไพรเมอร์ให้คร่อมชิ้นส่วนยีนเฉพาะส่วนของการแปลรหัส
ชิ้นที่ยาวที่สุดได้คไู่ พรเมอร์ คือ CBDASF และ CBDASR เมื่อนำมาเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอตัวอย่างพืชสกุลกญั ชา จำนวน
27 ตัวอย่าง ดว้ ยวิธพี ีซอี าร์ พบชิ้นสว่ นยีน CBDAS มขี นาด 1,165 คูเ่ บส (ภาพท่ี 1)
ภาพที่ 1 ผลผลิตพีซีอาร์ท่ีเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอ ด้วยไพรเมอร์ CBDASF + CBDASR ขนาดความยาว 1,165 คู่เบส
ปรมิ าณ 4 ไมโครลิตร บนเจลอะกาโรสความเขม้ ขน้ 1 เปอร์เซน็ ต์
ATACACAATCTTAGATTCACCTCTGACACAACCCCAAAACCACTTGTTATCGTCACTCCTTCACATGTCTCTCATATCCAAGGCACTATTCTAT
GCTCCAAGAAAGTTGGTTTGCAGATTCGAACTCGAAGCGGTGGCCATGATGCTGAGGGTTTGTCCTACATATCTCAAGTCCCATTTGCTATAGT
AGACTTGAGAAACATGCATTCAATCAAAATAGATATTCATAGCCAAACTGCATGGGTTGAAGCCGGAGCTACCCTTGGAGAAGTTTATTATTGG
ATCAATGAGATGAATGAGAATTTTAGTTTTCCTGGTGGGTATTGCCCTACTGTTGGCGTAGGTGGACACTTTAGTGGAGGAGGCTATGGAGCAT
TGATGCGAAATTATGGCCTTGCGGCTGATAATATCATTGATGCACACTTAGTCAATGTTGATGGAAAAGTTCTAGATCGAAAATCCATGGGAGA
AGATCTATTTTGGGCTATACGTGGTGGAGGAGGAGAAAACTTTGGAATCATTGCAGCATGGAAAATTAGACTGGTTGCTGTCCCAAAGTCTACT
ATGTTTAGTGTTAAAAAGATCATGGAGATACATGGGCTTGTCAAGTTATTTAACAAATGGCAAAATATTGCTTACAAGTATGACAAAGATTTAA
TGCTCACGACTCACTTCAGAACTAGGAATATTACAGATAATCATGGGAAGAATAAGACTACAGTACATGGTTACTTCTCTTCCATTTTTCTTGG
TGGAGTGGATAGTCTAGTTGACTTGATGAACAAGAGCTTTCCTGAGTTGGGTATTAAAAAAACTGATTGCAAAGAATTGAGCTGGATTGATACA
ACCATCTTCTACAGTGGTGTTGTAAATTACAACACTGCTAATTTTAAAAAGGAAATTTTGCTTGATAGATCAGCTGGGCAGAACGGTGCTTTCA
AGATTAAGTTAGACTATGTTAAGAAACTAATACCTGAAACTGCAATGGTCAAAATTTTGGAAAAATTATATGAAGAAGAGGTAGGAGTTGGGAT
GTATGTGTTGTACCCTTACGGTGGTATAATGGATGAGATTTCAGAATCAGCAATTCCATTCCCTCATCGAGCTGGAATAATGTATGAACTATGG
TACATATGTAGCTGGGAGAAGCA
ภาพที่ 2 ลำดับนวิ คลโี อไทดข์ องชนิ้ สว่ นยนี CBDAS ทวี่ ิเคราะห์ดว้ ยวธิ ี Barcode Taq sequence
ผลผลิตพีซีอาร์ที่ได้ถูกนำไปวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ด้วยวิธี Barcode Taq sequence (ภาพที่ 2) แล้ว
นำมาวเิ คราะห์ลักษณะพนั ธุกรรมจากยีน CBDAS โดยใช้โปรแกรม MEGA11 พบสามารถแยกกลุ่มพันธุ์พืชสกุลกญั ชา
ได้ 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มแรกเป็นพันธุ์ท่ีมีสาร THC สูง ได้แก่ หางกระรอก ฝอยทองภูผายล หม่ืนศรี ด้ายแดง และ KD
และกลุ่มที่ 2 คือ พันธ์ุที่มีสาร CBD สูง ได้แก่ Baox, Cherry, Auto tune, Auto blue’s, Auto blunami และ
Early remedy (ภาพที่ 3A) การจัดกลุ่มแผนผังพันธุกรรม (phylogenetic tree) ที่ได้จากยีน CBDAS สามารถแยก
ระหว่างกลุ่มสาร THC สูง ท่ีเป็นสายพันธ์ุกัญชา (marijuana) ในประเทศไทย และกลุ่มสาร CBD สูง ท่ีเป็นสายพันธุ์
กัญชง (hemp) นำเข้าจากตา่ งประเทศ ตามข้อมูลพฤกษเคมี (chemotype) ท่ีแยกพชื ทง้ั สองกลุม่ เช่นกัน
ยทุ ธศาสตรง์ านวจิ ยั ด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนรุ ักษพ์ นั ธุกรรม 35
นอกจากนี้การวิเคราะหลำดับนิวคลีโอไทด์ระหว่างพืชสกุลกัญชาท้ัง 2 กลุ่มยังพบลำดับนิวคลีโอไทด์ต่าง
(polymorphism) ระหว่างกลุ่มทีม่ สี าร THC สูง และ CBD สงู ในตำแหน่งท่ี 285 293 304 312 และ 317 (ภาพท่ี 3B)
สามารถนำไปศึกษาและพัฒนาเป็นเครื่องหมายดีเอ็นเอในการคัดเลือกและปรบั ปรุงพันธุ์พืชสกุลกัญชาให้มีสารสำคัญ
ทางการแพทย์สงู ได้ตอ่ ไป
ภาพที่ 3 ผลการวเิ คราะห์ลำดับนวิ คลีโอไทดข์ องยีน CBDAS ในพชื สกลุ กัญชา (A) แผนผังพนั ธกุ รรม (phylogenetic tree)
และ (B) ลำดับนิวคลีโอไทด์ต่าง (polymorphism) ระหว่างกลุ่มสาร CBD สูง และกลุ่มสาร THC สูง
โดยใชโ้ ปรแกรม MEGA11
การนำไปใชป้ ระโยชน์
1. ไพรเมอร์ท่ีได้จากการทดลองสามารถนำไปต่อยอดในการศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช
สกุลกัญชาโดยใช้เป็นตำแหน่งดีเอ็นเอบาร์โค้ดมาตรฐานได้ จึงจะนำไปตีพิมพ์เป็นเอกสารวิชาการเพื่อทำการเผยแพร่
ต่อไป
ข้อมลู ลำดบั นวิ คลโี อไทดต์ า่ งระหว่างกลมุ่ สาร THC สงู และ CBD สูง สามารถนำไปศกึ ษาและพัฒนาเป็นเคร่อื งหมายดี
เอ็นเอสำหรบั คัดเลอื กและปรับปรุงสายพันธ์กุ ัญชาตอ่ ไป
ยุทธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรม 36
เอกสารอา้ งองิ
สุรกิตติ ศรีกุล สมคิด ดำน้อย สญชัย ขวัญเกื้อ และ ทรงเมท สังข์น้อย. 2564. คู่มือสำหรับเกษตรกร: การผลิตพืช
สกุลกัญชา (Cannabis sativa L.) เพื่อประโยชน์ทางการแพทย์และอุตสาหกรรม. สำนักผู้เช่ียวชาญ
กรมวิชาการเกษตร. 151 หน้า.
อรโุ ณทัย ซาววา, สุภาวดี ง้อเหรียญ, อัญชลี ศรีสุวรรณ, ประพิศ วองเทียม และหทัยรัตน์ อุไรรงค์. 2552. การศึกษา
ความหลากหลายของพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทยโดยใช้เทคนิค SCAR (Sequence Characterized
Amplified Region). รายงานผลงานวิจัยประจำปี 2551-2552 สำนักวิจัยพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพ
กรมวชิ าการเกษตร. หน้า 96 – 118.
Taura F., S. Sirikantaramas, Y. Shoyama, K. Yoshikai, Y. Shoyama and S. Morimoto. 2007.
Cannabidiolic-acid synthase, the chemotype-determining enzyme in the fiber-type Cannabis
sativa. FEBS Letters Vol. 581, 16, Pages 2929 – 2934.
De Meijer, E. P. M., van der Kamp, H. J., and van F. A. Eeuwijk. 1992. Characterisation of Cannabis
accessions with regard to cannabinoid content in relation to other plant characters.
Euphytica, 62(3), 187 – 200.
Kumar S., G. Stecher, M. Li, C. Knyaz and K. Tamura. 2018. MEGA X: Molecular Evolutionary Genetics
Analysis across Computing Platforms. Mol Biol Evol 1;35(6), Pages 1547 – 1549.
Fulvio F., R. Paris, M. Montanari, C. Citti, V. Cilento, L. Bassolino, A. Moschella, I. Alberti, N. Pecchioni,
G. Cannazza and G. Mandolino. 2021. Analysis of Sequence Variability and Transcriptional
Profile of Cannabinoid synthase Genes in Cannabis sativa L. Chemotypes with a Focus
on Cannabichromenic acid synthase. Plants. 2021; 10(9) : 1857.
ยทุ ธศาสตร์งานวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรักษ์พนั ธกุ รรม 37
ความหลากหลายของพืชสมุนไพรพน้ื บา้ นภูทบั เบิกและแนวโนม้ การใช้ประโยชน์
Diversity of Traditional Herbal Medicines on Phu Thap Berk and Trends in Use
อภิญญา วงศเ์ ปี้ย 1, ชลลดา สามพันพวง 1, กัญญาภรณ์ พิพิธแสงจนั ทร์ 1, วนิ ัย สมประสงค์ 2 และ สมชาย บุญประดบั 3
บทคัดยอ่
พ้นื ที่ภูทับเบิกเป็นพ้ืนที่ท่ีมคี วามอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรชีวภาพสูงอีกแห่งหนึ่งของประเทศไทย มีการนำ
พืชสมุนไพรจากป่ามาใช้ประโยชน์ตามภูมิปัญญาท้องถิ่น อย่างไรก็ตามการศึกษาพืชสมุนไพรพื้นบ้านที่เชื่อมโยง
กับพฤกษเคมีและคณุ ค่าของพชื สมนุ ไพรยงั มนี อ้ ย งานวิจยั น้ีจงึ สำรวจความหลากหลายของพชื สมุนไพรพนื้ บา้ นในภทู บั
เบิกเพ่ือวิเคราะห์พฤกษเคมี คุณค่าทางโภชนาการ รวมถึงสืบค้นฤทธิท์ างชีวภาพท่ีสอดคล้องกับการใช้ประโยชน์ เมื่อ
วิเคราะห์พฤกษเคมีของพืชสมุนไพรจำนวน 12 ชนิดพืช ได้แก่ กระชายดำ กระชายม่วง เปราะหอม ว่านดักแด้ ว่าน
เพชรกลับ ว่านชักมดลูกตัวผู้ ว่านชักมดลูกตัวเมีย ว่านเอ็นเหลือง ว่านมหาเมฆ ไพลเหลือง ไพลดำ และโสมขาว พืช
วงศ์ขงิ ทั้งหมดยกเว้นโสมขาวมพี ฤกษเคมที ี่เป็นองคป์ ระกอบหลักในนำ้ มนั หอมระเหยทัง้ หมด 38 ชนิด โดยส่วนใหญจ่ ดั
อยู่ในกลุ่มของโมโนเทอร์พีน เซสควิเทอร์พีน และมีฤทธ์ิทางชีวภาพในการต้านอนุมูลอิสระ ต้านจุลินทรีย์ ต้านการ
อักเสบ ต้านมะเร็ง และยับย้ังการเจริญของเนื้องอก พฤกษเคมีในสารสกัดหยาบท่ีพบคือเมทอกซีฟลาโวนในกระชาย
ดำและกระชายมว่ ง อาซาราลดีไฮด์ในเปราะหอมและว่านเพชรกลับ สว่ นโสมขาวสามารถตรวจวัดแอลคาลอยด์รวมได้
สำหรับการประเมินคณุ คา่ ทางโภชนาการของพชื สมุนไพรในตำรับตนุ๋ ไก่ดำ 7 ชนิด ไดแ้ ก่ ผกั แพวแดง ผักสองหน้า ว่าน
ท้องใบม่วง ก้ามปูหลุด ผักเป็ดแดง จิงจูฉ่าย และเก๊กฮวย พบว่าพืชสมุนไพรเหล่าน้ีอุดมไปด้วยสารอาหารโดยเฉพาะ
คารโ์ บไฮเดรตและเส้นใย แร่ธาตุ (แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม เหลก็ ทองแดง และสงั กะสี) วิตามิน (เบตา้ แค
โรทีน วิตามินบี 1, 3, 5, 6, 9, 12 วิตามินซี และวิตามินอี) งานวิจัยนี้ได้ให้ข้อมูลพฤกษเคมีและคุณค่าทางโภชนาการ
ของพืชสมนุ ไพรซึง่ สามารถต่อยอดสกู่ ารใชป้ ระโยชน์เชิงเภสัชและเกษตรย่งั ยนื ของชุมชนในภูทบั เบกิ
คำนำ
งานวิจัยน้ีเป็นส่วนหน่ึงของกิจกรรมการสำรวจและศึกษาพืชสมุนไพรพ้ืนบ้านบนพ้ืนที่สูงภูทับเบิก ภายใต้
โครงการพัฒนาระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนบนพ้ืนที่สูงเขาหัวโล้นภูทับเบิก (ทับเบิกโมเดล) ของกรมวิชาการเกษตร
พื้นที่ภูทับเบิกครอบคลุมอาณาเขต 3 จังหวัดได้แก่ พิษณุโลก เพชรบูรณ์ และเลย จากลักษณะภูมิประเทศที่เป็น
เทือกเขาสูงและที่ราบสูงอันเป็นส่วนหน่ึงของเทือกเขาเพชรบูรณ์ ซ่ึงเป็นแหล่งกำเนิดป่าต้นน้ำท่ีอุดมไปด้วยความ
หลากหลายทางชีวภาพ จึงทำให้ชุมชนท้องถ่ินรวมถึงกลุ่มชาติพันธุ์มีการนำพืชสมุนไพรจากป่ามาใช้ประโยชน์ท้ัง
อาหารสุขภาพและยารักษาโรค รวมถึงเพาะปลูกเพื่อจำหน่ายเชิงการค้ากันอย่างแพร่หลาย จากข้อมูลบัญชีรายการ
1 สำนกั วจิ ัยพัฒนาเทคโนโลยชี วี ภาพ กรมวิชาการเกษตร ต.รังสติ อ.ธญั บุรี จ.ปทมุ ธานี 12110 38
2 สำนกั คมุ้ ครองพนั ธพ์ุ ืช กรมวขิ าการเกษตร แขวงลาดยาว เขตจตจุ ักร กรุงเทพมหานคร 10900
3 สำนกั ผเู้ ชีย่ วชาญ กรมวิชาการเกษตร แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900
ยุทธศาสตร์งานวจิ ัยด้านเทคโนโลยีชวี ภาพและการอนุรกั ษ์พนั ธกุ รรม
ทรพั ยากรชวี ภาพพืชสมนุ ไพรของจังหวดั เลย พษิ ณุโลก และเพชรบรู ณ์ ท่จี ดั ทำโดยสำนักงานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐาน
ชีวภาพ (2561) สามารถรวบรวมข้อมูลพืชสมุนไพรจากปราชญ์ชุมชนได้จำนวน 85 วงศ์ รวมท้ังหมด 353 ชนิด โดย
ส่วนใหญ่เป็นพืชในวงศ์ถ่ัวและวงศ์กะเพรา นอกจากน้ียังพบพืชในวงศ์ขิงหลายชนิด ได้แก่ กระชาย กระทือ ขิง ขม้ิน
เปราะหอม ไพล และวา่ นชักมดลกู เป็นต้น ซ่ึงพืชในวงศ์นี้นิยม อย่างไรก็ตามยังไม่มกี ารรวบรวมข้อมลู พฤกษเคมีของ
พืชสมุนไพร พืชบางชนิดยังไมม่ ีการศึกษาพฤกษเคมเี พ่ือค้นหาสารออกฤทธ์ิท่ีเชื่อมโยงกับสรรพคณุ ของพชื งานวจิ ัยน้ี
ต้องการศึกษาพฤกษเคมีในพืชสมุนไพรและรวบรวมข้อมูลพฤกษเคมีท่ีโดดเด่น รวมถึงสืบค้นฤทธ์ิทางชีวภาพที่
สอดคลอ้ งกบั การใช้ประโยชน์
นอกจากน้ี พืชสมุนไพรในตำรับตุ๋นไก่ดำนับเป็นกลุ่มสมุนไพรท่ีควรค่าแก่การศึกษาสรรพคุณเชิงสุขภาพ ตุ๋น
ไกด่ ำหรอื ไก่ตม้ สมุนไพรม้งเป็นเมนูอาหารเพอ่ื สขุ ภาพท่เี ชอื่ ว่ามสี รรพคณุ บำรงุ ร่างกาย บำรงุ กำลงั บำรุงกล้ามเน้ือและ
เส้นเอ็น บำรุงโลหิต บรรเทาอาการปวดเม่ือยเนื้อตัว ปวดหลังและปวดเอว ซึ่งสรรพคุณดังกล่าวเป็นผลมาจากพืช
สมุนไพรท่ีเป็นส่วนประกอบในเมนูอาหาร แม้ว่าจะมีการศึกษาคุณค่าทางโภชนาการและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในพืช
สมุนไพรในตำรับตุ๋นไก่ดำบางชนิดแต่หลายชนิดยังไม่มีการวิจัย พืชส่วนใหญ่มีช่ือตามภาษากลุ่มชาติพันธ์ุและยังไม่มี
การระบุช่ือวิทยาศาสตร์ งานวิจัยน้ีจึงได้คัดเลือกพืชสมุนไพรในตำรับตุ๋นไก่ดำบางชนิดที่พบเป็นส่วนประกอบในทุก
ตำรับเพอ่ื ศกึ ษาคณุ ค่าทางโภชนาการและฤทธ์ติ ้านอนมุ ูลอิสระ
วธิ ีการ
การวิเคราะห์พฤกษเคมีในน้ำมันหอมระเหยของพืชสมุนไพร : ห่ันเหง้าหรือรากของพืชสมุนไพรเป็นช้ินเล็ก
อบแห้งแลว้ บดละเอียด จากนั้นสกัดน้ำมันหอมระเหยดว้ ยวิธีต้มกลน่ั (hydrodistillation) แล้ววิเคราะห์องค์ประกอบ
ในน้ำมันหอมระเหยด้วยเครื่อง GC-MS (Agilent Technologies Model 6890 N) โดยใช้คอลัมน์ HP-5MS ใช้ฮีเลียม
เป็นแก๊สตัวพา (11.01 psi, flow 1.2 mL/min) ตรวจวัดด้วยเครื่อง MSD (scan mode, 40-400 amu) และวิเคราะห์
ชนิดองค์ประกอบในน้ำมันหอมระเหยเทียบกับฐานข้อมูล Wiley 11th และ National Institute of Standards and
Technology (NIST 2014 และ 2017) จากนั้นจงึ คำนวณเปอร์เซ็นตอ์ งค์ประกอบท่พี บในน้ำมนั หอมระเหยและสืบค้น
ฤทธิท์ างชวี ภาพ
การวิเคราะห์พฤกษเคมีในสารสกัดหยาบจากพืชสมุนไพรพ้ืนบ้าน : สกัดพฤกษเคมีจากพืชอบแห้งด้วยเอทา
นอล ระเหยตวั ทำละลายภายใต้สุญญากาศ แล้วละลายกลับก่อนนำไปวิเคราะห์ชนิดและปริมาณพฤกษเคมดี ้วยเทคนิค
HPLC โดยกระชายดำและกระชายม่วงใช้เมทอกซีฟลาโวน 3 ชนิด คือ 5,7-dimethoxyflavone (DMF), 4',5,7-
trimethoxy flavone (TMF) และ 3,5,7,4'-tetradimethoxyflavone (TTMF) เป็นสารมาตรฐาน ส่วนเปราะหอม
และว่านเพชรกลับใช้ asaraldehyde เป็นสารมาตรฐาน สำหรับการตรวจวัดแอลคาลอยด์ในโสมขาวจะใช้วิธี UV-
Visible spectroscopy โดยใช้ atropine เป็นสารมาตรฐาน จากนนั้ คำนวณหาปริมาณพฤกษเคมีแต่ละชนดิ เทยี บกับ
น้ำหนักแห้ง
การวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการในพืชสมุนไพรตำรับตุ๋นไก่ดำ : ล้างพืชให้สะอาด ห่ันเป็นช้ินเล็กแล้ว
บดละเอียด จากนั้นนำไปวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการโดยแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สารอาหารหลัก
ได้แก่ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต เส้นใย และพลังงาน โดยใช้วิธีมาตรฐานของ AOAC Official Method (AOAC,
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ยั ด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรม 39
2019), 2) การวิเคราะห์วิตามิน ได้แก่ เบต้าแคโรทีน วิตามินบี 1, 3, 5, 6, 9, 12 วิตามินซี และวิตามินอี โดยใช้วิธี
HPLC, colorimetric หรือวิธีจุลชีววิทยา, 3) การวิเคราะห์แร่ธาตุ ได้แก่ แคลเซียม เหล็ก แมกนีเซียม โพแทสเซียม
ทองแดง และสงั กะสี โดยใชว้ ิธี AAS หรอื ICP-OES, และ 4)
สรุปผลและวิจารณ์
จากการสำรวจความหลากหลายของพืชสมุนพ้ืนบ้านในพ้ืนที่ 3 จงั หวดั ภูทับเบกิ ได้แก่ พิษณุโลก เพชรบูรณ์
และเลย ทมี่ ีการใช้ประโยชน์ในชุมชนกลุ่มชาตพิ ันธุ์และนยิ มปลกู จำหน่ายเพือ่ การค้า สามารถจัดกลุ่มพืชสมนุ ไพรตาม
การใชป้ ระโยชน์ได้ 3 กลุ่ม ได้แก่ 1) พชื สมุนไพรวงศข์ ิงจำนวน 11 ชนิด 2) พืชสมุนไพรวงศ์พระจันทร์ครง่ึ ซกี 1 ชนิด
และ 3) พืชสมุนไพรในตำรับตุ๋นไก่ดำ 12 ชนิด (ภาพที่ 1) เมื่อวิเคราะห์พฤกษเคมีในน้ำมันหอมระเหยและสารสกัด
หยาบ ประเมินคุณค่าทางโภชนาการ และสืบค้นฤทธ์ิทางชีวภาพของพืชสมุนไพร สามารถสรุปผลการศึกษาพืช
สมุนไพรในแตล่ ะกลุม่ และแนวทางการนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ดงั น้ี
ภาพที่ 1 พชื สมุนไพรพื้นบา้ นวงศ์ขิง วงศ์พระจันทร์ครง่ึ ซกี และสมนุ ไพรในตำรบั ตนุ๋ ไก่ดำเกบ็ รวบรวมจากพ้นื ทภี่ ูทบั เบกิ
1) พืชสมุนไพรวงศ์ขิงจำนวน 11 ชนิด
โดยส่วนใหญ่แล้วชุมชนภูทับเบิกนิยมนำพืชในวงศ์ขิงไปใช้ในการรักษาโรคและบรรเทาอาการเจ็บป่วย
ตา่ งๆ เมอ่ื วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบทางเคมีในน้ำมนั หอมระเหยทส่ี กัดจากเหง้าของพืชวงศข์ ิงทั้ง 11 ชนิด พบพฤกษเคมีท่ี
เป็นองค์ประกอบหลักท้ังหมด 38 ชนิด โดยส่วนใหญ่เป็นกลุ่มโมโนเทอร์พีนและเซสควิเทอร์พีน ซึ่งมีฤทธิ์ต้านอนุมูล
อสิ ระ ต้านจุลนิ ทรีย์ ต้านการอักเสบ ตา้ นมะเร็ง และยับย้ังการเจริญของเน้ืองอก เป็นต้น จากผลวิเคราะห์พฤกษเคมี
และสืบคน้ ฤทธิท์ างชวี ภาพของพชื สมุนไพร (ตารางที่ 1) ทำใหเ้ หน็ ถึงแนวโนม้ การใชป้ ระโยชนท์ ีส่ อดคลอ้ งกับสรรพคุณ
ของพืช เช่น กระชายดำซึ่งมเี มทอกซีฟลาโวนเป็นสารออกฤทธิ์สำคญั โดยพบ 2.02-6.56 มลิ ลิกรมั ตอ่ 100 กรัมนำ้ หนัก
แห้ง สารดังกล่าวมีฤทธิ์ชีวภาพท่ีโดดเด่นในการต้านการอักเสบและเพ่ิมสมรรภาพทางเพศ (Chen et al., 2018)
ดังน้ันแนวโน้มการใช้ประโยชน์ส่วนใหญ่จะเป็นด้านเภสัชบำบัดโดยผลิตเป็นเจลต้านการอักเสบ อาหารเสริมบำรุ ง
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ัยดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนรุ ักษพ์ นั ธุกรรม 40
สุขภาพและสมรรถภาพ เป็นต้น สำหรับเปราะหอมมีสารในกลุ่มเอสเทอร์ของกรดซินนามิก 2 ชนิดในปริมาณสูงถึง
95.0-95.8% ขององค์ประกอบท้ังหมดที่พบในน้ำมันหอมระเหย ซ่ึงสารออกฤทธิ์ท้ัง 2 ชนิดสามารถต้านการอักเสบ
บรรเทาปวด ขยายหลอดเลือด ระงับประสาทช่วยให้ผ่อนคลาย ปกป้องผิวถูกทำลายจากแสงแดด และช่วยให้ผิวขาว
ขึ้น เป็นต้น (Wang et al., 2021) จึงมีแนวโน้มการใช้ประโยชน์ด้านเภสัชบำบัดและเสริมความงามโดยพัฒนา
เวชภัณฑ์ยาช่วยกระตุ้นการนอนหลับ บรรเทาอาการอักเสบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์บำรุงผิวพรรณ เป็นต้น จากข้อมูล
วิจัยที่ได้แสดงให้เห็นถึงศักยภาพของพืชวงศ์ขิงซึ่งจะช่วยส่งเสริมการใช้ประโยชน์พืชสมุนไพรตามภูมิปัญญาท้องถ่ิน
และเป็นข้อมูลที่ใชต้ ่อยอดในการศึกษาสรรพคุณของพืชสมนุ ไพรเพ่อื การใช้ประโยชน์เชงิ เภสชั และพาณิชย์
ตารางท่ี 1 ขอ้ มลู พฤกษเคมแี ละฤทธ์ิทางชวี ภาพของพชื สมุนไพรพน้ื บ้านภูทบั เบิกจำนวน 12 ชนิด
พืชสมุนไพร ชื่อวทิ ยาศาสตร์ สารออกฤทธิ์ท่ีโดดเด่น ฤทธ์ิทางชีวภาพ
1. กระชายดำ K. parviflora germacrene D, α-copaene, ตา้ นอนมุ ลู อสิ ระ ตา้ นจลุ ินทรยี ์ ตา้ น
2. กระชายมว่ ง borneol, linalool, β-pinene การอักเสบ ยับยง้ั การเจรญิ เนือ้ งอก
methoxyflavones
3. เปราะหอม K. galanga ต้านการอกั เสบ ปกป้องประสาท
ethyl-p-methoxycinnamate ต้านมะเร็ง เพ่ิมสมรรถภาพทางเพศ
4. ว่านดกั แด้ S. cf. involucratus ethyl cinnamate ตา้ นการอักเสบ บรรเทาปวด
5. ว่านเพชรกลับ B. thorelii stahlianthusone ปกป้องผิวถูกทำลายจากแสงแดด
elemicin ป้องกนั การเกดิ ไบโอฟิลม์
6. วา่ นชักมดลูกตัวผู้ C. cf. xanthorrhiza asaraldehyde ตา้ นจุลินทรยี ์ ตา้ นมะเรง็ ตา้ นภมู แิ พ้
xanthorrhizol ตา้ น HIV-1 ตา้ นอาการภูมแิ พ้
7. วา่ นชักมดลูกตวั เมยี Curcuma sp. ต้านอนมุ ลู อสิ ระ ตา้ นการอักเสบ
8. ว่านเอน็ เหลือง Curcuma sp. curzerenone ปกป้องตับ ลดระดับนำ้ ตาลในเลอื ด
9. ว่านมหาเมฆ C. aeruginosa β-elemenone ต้านจลุ ินทรยี ์ ตา้ นมะเรง็ บรรเทา
ปวด เป็นพิษต่อลูกนำ้ ยุง และฆ่าเช้ือ
โปรโตซัวลิชมาเนยี
10. ไพลเหลอื ง Z. montanum (E)-1-(3,4-dimethoxy phenyl) ตา้ นการอกั เสบ ลดอาการปวดบวม
11. ไพลดำ Z. ottensii butadiene ต้านมะเร็ง
zerumbone ตา้ นอนุมลู อสิ ระ ตา้ นการอกั เสบ
12. โสมขาว C. javanica ต้านมะเร็ง บรรเทาอาการปวด ลด
flavonoids, alkaloids การสญู เสยี มวลกระดกู
ตา้ นอนมุ ูลอสิ ระ รกั ษาโรคเบาหวาน
กระตุน้ ระบบภมู ิคุ้มกนั
2) พชื สมุนไพรวงศพ์ ระจันทร์ครงึ่ ซกี 1 ชนิด
โสมขาว เป็นพืชสมุนไพรวงศ์พระจันทร์คร่ึงซีกท่ีนิยมใช้เป็นอาหารบำรุงสุขภาพในชุมชนภูทับเบิก ทั้ง
รับประทานแบบรากสดและเป็นส่วนประกอบในอาหาร นอกจากแอลคาลอยด์รวมท่ีวิเคราะห์ได้ (0.39-0.51 กรัมต่อ
ยุทธศาสตร์งานวจิ ยั ด้านเทคโนโลยชี วี ภาพและการอนรุ กั ษ์พนั ธุกรรม 41
100 กรัมน้ำหนักแห้ง) จากการสืบค้นข้อมูลโสมขาวยังประกอบด้วยพฤกษเคมีในกลุ่มอื่นๆ เช่น ฟลาโวนอยด์ ซาโปนิน
พอลิแซคคาไรด์ และไฟโตสเตียรอยด์ ซึง่ ทำให้โสมขาวมีสรรพคุณหลากหลาย มรี ายงานวิจัยวา่ สารสกดั จากรากโสมขาว
สามารถลดภาวะอินซูลินในเลือดสงู และลดการเกดิ ออกซเิ ดชันของไขมัน (lipid peroxidation) ในหนูทดลอง (Chen et
al., 2013) ซ่ึงสามารถพัฒนาเวชภัณฑย์ าสำหรับรักษาโรคเบาหวาน และพฒั นาผลิตภณั ฑอ์ าหารบำรุงสุขภาพได้
3) พชื สมนุ ไพรในตำรบั ต๋นุ ไก่ดำ 12 ชนิด
ได้คัดเลือกพืชสมุนไพรในตำรับตุ๋นไก่ดำ 7 ชนิดซ่ึงเป็นส่วนประกอบในสูตรไก่ต้มสมุนไพรของชาวม้งทุก
สตู ร ได้แก่ ผักแพวแดง ผักสองหน้า ว่านท้องใบม่วง กา้ มปูหลุด ผักเป็ดแดง จิงจูฉ่าย และเก๊กฮวย มาประเมินคุณค่า
ทางโภชนาการซง่ึ พบวา่ พชื สมุนไพรเหลา่ นอ้ี ดุ มไปด้วยสารอาหารโดยเฉพาะคาร์โบไฮเดรต (3.64-12.81 กรัม) และเสน้
ใย (3.36-9.45 กรัม) แร่ธาตุโดยเฉพาะแคลเซียม (109-148 มิลลิกรัม) แมกนีเซียม (25-53 มิลลิกรัม) และ
โพแทสเซียม (322-611 มิลลิกรมั ) และวิตามินต่างๆ (เบตา้ แคโรทีน วิตามินบี 1, 3, 5, 6, 9, 12 วิตามินซี และวิตามิน
อี) โดยส่วนใหญ่พบวิตามินซีในปริมาณสูงกว่าวิตามินอ่ืนๆ (2.69-4.21 มิลลิกรัม) ข้อมูลที่ได้จะช่วยเพิ่มคุณค่าและ
มลู คา่ ของอาหารสุขภาพของชุมชนชาตพิ ันธุ์ม้งในพ้ืนท่ีภูทับเบิก โดยชุมชนภูทับเบิกนิยมบริโภคเมนตู ุ๋นไก่ดำที่ผสมท้ัง
ไก่และพชื สมุนไพร ซ่ึงสามารถนำมาแปรรูปเปน็ นำ้ ซุปสกดั จากการตุ๋นไก่ดำกับพืชสมุนไพรได้
การนำไปใชป้ ระโยชน์
องค์ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยน้ี สามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการคัดเลือกพืชและแหล่งพันธ์ุที่เหมาะสมเพ่ือ
นำไปส่งเสริมการปลูกเชิงพาณิชย์บนพื้นที่สูงภูทับเบิก และใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้นเพื่อประเมินแนวทางการพัฒนา
ผลิตภัณฑ์จากเมนูตุ๋นไก่ดำและจากพืชสมุนไพรแต่ละชนิดเพ่ือเพ่ิมมูลค่าพืชสมุนไพร นอกจากน้ี ควรถ่ายทอดองค์
ความรู้กลับคืนสู่ชุมชนเพ่ือให้กลุ่มชาติพันธ์ุตระหนักถึงคุณค่าของพืชสมุนไพรในท้องถ่ินของตน เพิ่มพูนความรู้ใน
สรรพคณุ ของพืชสมุนไพรท่สี บื ทอดกนั มา เพ่อื นำไปสูก่ ารใชป้ ระโยชน์ได้อยา่ งหลากหลาย และสรา้ งความภาคภูมใิ จใน
ศักยภาพของพืชสมุนไพรทอ้ งถ่นิ และเมนูเพ่ือสุขภาพอนั เปน็ อัตลักษณ์ของกลุ่มชาตพิ นั ธุ์
เอกสารอา้ งอิง
สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน). 2561. บัญชีรายการทรัพยากรชีวภาพพืชสมุนไพร เลย
พิษณุโลก เพชรบรู ณ์. สำนักงานพฒั นาเศรษฐกจิ จากฐานชีวภาพ (องคก์ ารมหาชน) กรงุ เทพฯ. 393 หนา้ .
Chen, D.; H. Li; W. Li; S. Feng and D. Deng. 2018. Kaempferia parviflora and its methoxyflavones :
chemistry and biological activities. Evid-Based Complement. Alternat. Med. 2018:4057456.
Chen, K-N.; W-H. Peng; C-W. Hou; C-Y. Chen; H-H. Chen; C-H. Kuo and M. Korivi. 2013. Codonopsis
javanica root extracts attenuate hyperinsulinemia and lipid peroxidation in fructose-fed
insulin resistant rats. J. Food Drug Anal. 21:347-355.
Wang, S-Y., H. Zhao, H-T. Xu, X-D. Han, Y-S. Wu, F-F. Xu, X-B. Yang, U. Göransson and B. Liu. 2021.
Kaempferia galanga L.: Progresses in phytochemistry, pharmacology, toxicology and
ethnomedicinal uses. Frontiers in Pharmacology 12: 675350.
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ัยดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรักษ์พนั ธกุ รรม 42
การพฒั นาเทคโนโลยกี ารเพมิ่ ผลผลติ เห็ดร่างแหสายพันธไุ์ ทยและเหด็ หลนิ จือ
ดว้ ยการประยุกต์ใชไ้ บโอชารจ์ ากก้อนเชอื้ เหด็ เกา่
Development of productivity technology of Bamboo mushroom Thai strain and
Lingzhi mushroom using by spent mushroom substrate derived-biochar
วราพร ไชยมา1 อนสุ รณ์ วฒั นกุล1 และ จิตรา กติ ตโิ มรากุล1
บทคดั ย่อ
เห็ดร่างแหสายพันธ์ไุ ทย (Phallus atrovolvatus) และเห็ดหลนิ จือ (Ganoderma lucidum) จัดเป็นเหด็ ที่
มีสรรพคุณทางยาสูงและมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ ประเทศไทยได้มีการเพาะเลี้ยงเห็ดท้ังสองชนิดเพ่ือนำมาใช้
ประโยชน์ท้ังเป็นอาหารและเป็นยา อีกท้ังยังมีการพัฒนามาเป็นอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ และใช้ประโยชน์ทาง
การแพทย์อย่างแพรห่ ลาย แต่ในขบวนการผลิตตั้งแตก่ ารผลิตแม่เชื้อเห็ดบริสทุ ธ์ิ เช้อื ขยาย ตลอดจนการผลิตดอกเห็ด
ท้ังสองชนิดบางสายพันธ์ุยังประสบปัญหาหลายๆ ด้าน อาทิเช่น เส้นใยเจริญช้า ผลผลิตต่ำและไม่ได้คุณภาพ เป็นต้น
งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตเห็ดทั้งสองชนิด ด้วยการประยุกต์ใช้ไบโอชาร์
จากก้อนเช้ือเห็ดเก่า โดยเริ่มจากนำก้อนเช้ือเห็ดเก่าสกุลนางรม 3 ชนิด คือเห็ดภูฐาน เห็ดนางรมฮังการี และเห็ด
เป๋าฮ้ือ มาผลติ เป็นไบโอชาร์ดว้ ยเทคโนโลยไี พโรไลซสิ จากนน้ั นำมาทดสอบประสิทธิภาพในการผลติ แมเ่ ชื้อเห็ดรา่ งแห
สายพันธ์ุ DOA-Ph1 ด้วยการผสมลงในอาหาร PDA ที่ระดับความเข้มข้นต่างๆ ผลการศึกษาพบว่า เส้นใยในอาหาร
PDA + ไบโอชาร์จากก้อนเชื้อเห็ดเก่า 0.1% เจริญได้ดีท่ีสุด มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากกรรมวิธี
ควบคุม มขี นาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางเฉลี่ย 80.83 มม. ส่วนการศึกษาสตู รอาหารท่ีเหมาะสมในการผลติ เชื้อขยายข้ันที่ 1
พบว่าเชื้อเห็ดในกรรมวธิ ีที่ 5 (ข้าวฟ่าง + ไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเหด็ เก่า 0.4 %) และกรรมวิธีที่ 4 (ข้าวฟ่าง+ไบโอชาร์
จากก้อนเชือ้ เห็ดเก่า 0.3 %) เจริญไดด้ ีเร็วกว่ากรรมวิธอี นื่ ๆ โดยเส้นใยเหด็ เจริญเต็มขวดภายใน 11.17 และ 11.25 วัน
ตามลำดับ และผลในการผลิตเชือ้ ขยายขั้นท่ี 2 พบว่า เส้นใยเห็ดรา่ งแหในกรรมวิธที ่ี 6 (ขีเ้ ลอ่ื ย+รำ+ไบโอชารจ์ ากกอ้ น
เชื้อเห็ดเก่า อัตรา 100 : 2 : 40 โดยน้ำหนัก) เจริญได้ดีที่สุด เจริญเต็มก้อนใช้เวลาเฉลี่ย 18.05 วัน มีอัตราการเจริญ
ของเส้นใยต่อวันเฉล่ีย 550.96 มม.ต่อวัน การทดสอบกับเห็ดหลินจือ 3 ไอโซเลท (GA025 GA026 และ GA027)
พบว่า ในอาหาร PDA + ไบโอชาร์จากกอ้ นเช้ือเห็ดเก่า 0.1% เส้นใยเห็ดหลินจือ GA025 และ GA027 เจรญิ ไดด้ ีที่สุด
โดยมีเส้นผ่านศูนย์กลางเฉลี่ย 89.18 และ 89.68 มม. ตามลำดับ ในขณะที่การศึกษาสูตรเช้ือขยาย พบว่า ข้าวฟ่าง +
ไบโอชาร์จากกอ้ นเช้ือเห็ดเก่า 0.1% เส้นใยเห็ดหลินจือ GA025 และ GA026 สามารถเจริญคลุมข้าวฟ่างเฉลี่ย 8.1 และ
7.05 วัน ตามลำดับ ผลการจากวิเคราะห์ข้อมูลผลผลิตดอกเห็ดร่างแห พบว่าทุกกรรมวิธีให้ผลผลิตสูงกว่ากรรมวิธี
เปรยี บเทยี บ โดยเฉพาะในกรรมวิธที ่ี 4 (ฟางขา้ ว : ไบโอชาร์ อัตราส่วน 100 : 5 โดยนำ้ หนกั ) ให้ผลผลิต และมคี า่ B.E.
สูงสุดคือ 2,598.75 กรัมต่อตะกร้า และ 12.98 % ตามลำดับ และในส่วนของเห็ดหลินจือ พบว่า กรรมวิธีท่ี 4 (ขี้เล่ือย :
รำ : ดีเกลือ : ปูนขาว : ไบโอชาร์จากกอ้ นเช้อื เห็ดเก่า อัตราสว่ น 100 : 1.5 : 0.2 : 1: 3 โดยน้ำหนกั ) ใหผ้ ลผลิต และมี
ค่า B.E. สูงสุดคือ 28.038 กรัมต่อถุง และ 8.25 % ตามลำดับ จากการศึกษาคร้ังน้ีแสดงให้เห็นว่าไบโอชาร์จากก้อนเช้ือ
เห็ดเก่าสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดกระบวนการผลิตเห็ด เพื่อเพิ่มคุณภาพ ปริมาณ และลดระยะเวลาการผลิต
เห็ดทั้งสองชนดิ อกี ท้ังยังเปน็ การใชป้ ระโยชนจ์ ากวสั ดุเหลือใชท้ างการเกษตรใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุดอีกด้วย
1 สำนักวจิ ัยพฒั นาเทคโนโลยชี ีวภาพ กรมวิชาการเกษตร 43
ยุทธศาสตรง์ านวิจัยด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนุรกั ษพ์ นั ธกุ รรม
คำนำ
ในกระบวนการผลิตเห็ด วัสดุหลักท่ีนำมาใช้เพาะเห็ดส่วนใหญ่เป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากพืช อาทิ
เช่น ฟางข้าว ข้ีเลื่อย เนื่องจากเห็ดสามารถใช้ประโยชน์จากลิกนิน เซลลูโลส และเฮมิเซลลูโลส นำไปใช้เป็นแหล่ง
คาร์บอน ส่งผลให้ผลิตผลดอกเห็ดท่ีมีคุณค่าทางโภชนาการสูง และมีสรรพคุณทางยาท่ีดีเยี่ยม อย่างไรก็ตามการผลิต
เห็ดที่เพ่ิมขึ้นหลายเท่า ก่อให้เกิดปริมาณของวัสดุเพาะหลังการเพาะ (spent mushroom substrate, SMS) หรือ
ก้อนเชื้อเหด็ เก่า ซ่ึงเป็นเศษวัสดุเหลอื ท้ิง เพ่ิมข้นึ เป็นเงาตามตัวหลังการเก็บเกี่ยวดอกเห็ด โดยคำนวณได้จากการผลิต
เห็ดสดหนึ่งกิโลกรัมทำให้มีก้อนเช้ือเห็ดเก่าประมาณห้ากิโลกรัม นั่นหมายความว่าจะมีก้อนเช้ือเห็ดเก่า ล้านตันต่อปี
ซ่ึงเป็นปริมาณมหาศาล จึงจำเป็นต้องมีการศึกษาหาวิธีการจัดการท่ีดีและเหมาะสม โดยทั่วไปอาจมีการนำไปใช้
ประโยชน์บ้าง เชน่ การนำมาใช้ผสมวัสดุปลูกพืช หรือเป็นปยุ๋ เพ่ือส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช อย่างไรกต็ ามยังไม่มี
ข้อมูลทางวิชาการเพยี งพอ โครงการวจิ ยั นจี้ งึ มุง่ เนน้ ทจี่ ะศกึ ษาประสิทธิภาพการนำก้อนเชอื้ เหด็ เกา่ มาเปน็ วตั ถตุ ้ังตน้ ใน
การผลิตไบโอชาร์ (biochar) เพื่อมาใช้เป็นสารปรับปรุงในสูตรอาหารสำหรับเพาะเห็ดที่มีศักยภาพเปลี่ยนแปลง
คุณสมบัติของโครงสร้างของวัสดุเพาะเห็ด เช่น เพ่ิมความจุในการอุ้มน้ำ และปรับค่าความเป็นกรด-ด่างให้เหมาะสม
ช่วยส่งเสรมิ และลดระยะเวลาการเจริญการเจริญของเส้นใยในวัสดุเพาะ ซึ่งสง่ ผลต่อคณุ ภาพ และปริมาณผลผลิตเห็ด
อีกด้วย จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกใหม่ในการผลิตเห็ด ซ่ึงเห็ดท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี คือ เห็ดร่างแหสายพันธ์ุไทย
(P. atrovolvatus) และเห็ดหลินจอื (G. lucidum) จัดเป็นเห็ดในกลุ่มทีม่ ีสรรพคุณทางยาสูง มีรายงานการศกึ ษาทาง
คลินิกพบว่า เห็ดหลินจือมีผลกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันในผู้ป่วยมะเร็งปอด ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่ และผู้ป่วยมะเร็งข้ัน
ลุกลาม นอกจากนี้ยังพบว่าเห็ดหลินจือมีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยามากมาย เช่น ฤทธ์ิป้องกันเส้นประสาทเส่ือม ฤทธิ์ลด
น้ำตาลใน ฤทธิ์ลดไขมันในเลือด และฤทธิ์ต้านการอักเสบ (Gao et al., 2003) เป็นต้น ส่วนเห็ดร่างแหปัจจุบันได้รับ
ความนิยมมากขึ้นในอุตสาหกรรมการผลิตเห็ดของไทย มีรายงานพบว่า สารสกัดจากเห็ดร่างแหมีฤทธ์ิปรับสมดุล
ภูมิคุ้มกัน โดยได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ โดยสามารถบรรเทาความรนุ แรงโรคลำไส้อักเสบในหนู
ทดลองได้ และสามารถลดการอักเสบในหนูที่มีภาวะลำไส้อักเสบลำไส้ และดัชนี การอักเสบต่างๆ มีค่าลดลง
(Chaiyama et al., 2020) อีกท้ังยังมีฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระสูง และต่อต้านการเกิดเนื้องอกอีกด้วย ข้อมูลดังกล่าวเป็น
ขอ้ มูลพ้ืนฐานและองค์ความรเู้ พอื่ การนำไปประยกุ ตใ์ ช้ในดา้ นต่างๆ เชน่ อตุ สาหกรรมอาหาร ยา และการแพทยต์ ่อไป
นอกจากนี้ พบวา่ ไบโอชาร์ สามารถให้ประโยชน์ไดห้ ลายอย่างในเวลาเดยี วกัน คอื 1) ช่วยปรบั ปรงุ ดิน 2) ลด
ก๊าซเรือนกระจก 3) การจัดการของเสียจากวัสดุเหลือทิ้งและเพ่ิมมูลค่าให้กับวัสดุน้ัน และ 4) การแก้ปัญหาความ
ยากจน เช่น ชว่ ยลดปริมาณการใชส้ ารเคมีและเพ่ิมรายได้จากการเพ่ิมผลผลิตการเกษตร โครงการวจิ ัยน้ีจึงมุ่งเนน้ การ
พัฒนา ปรับปรุงการผลิตเห็ด ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ช่วยให้การผลิตเห็ดปลอดภัยมีประสิทธิภาพสูง ทำให้เกิดมูลค่า
ทางเศรษฐกิจด้วยการเพาะเห็ด ซ่ึงเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีความมั่นคง มั่งคั่ง แล ะยั่งยืน
มีรายไดเ้ พิม่ ขึ้น ชมุ ชนมีความเข้มแข็ง มคี ณุ ภาพชีวติ ทด่ี ขี ้ึน
วิธีการ
การดาํ เนนิ งานของโครงการวิจยั การพฒั นาเทคโนโลยีการเพมิ่ ผลผลติ เห็ดร่างแหสายพนั ธ์ุไทยและเห็ดหลนิ จอื
ด้วยการประยุกต์ใช้ไบโอชาร์จากก้อนเชื้อเห็ดเก่า ประกอบด้วย 4 การทดลอง ได้แก่ การทดลองท่ี 1 เร่ือง
ประสิทธิภาพการผลติ ไบโอชาร์จากก้อนเชื้อเห็ดเกา่ สกุลนางรม (SMSP) การทดลองที่ 2 เรอื่ งการประยกุ ต์ใช้ไบโอชาร์
ยุทธศาสตรง์ านวิจัยดา้ นเทคโนโลยชี วี ภาพและการอนรุ ักษพ์ นั ธกุ รรม 44
จากก้อนเชื้อเห็ดเก่าสกุลนางรม (SMSP) เพ่ือพัฒนาวิธีการผลิตแม่เช้ือบริสุทธ์ิและเช้ือขยายของเห็ดร่างแหสายพันธ์ุ
ไทย (DOA-P1) และเหด็ หลินจอื การทดลองที่ 3 เรื่องการประยกุ ตใ์ ชไ้ บโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ดเก่าในผลิตเห็ดร่างแห
สายพันธุ์ไทย (DOA-Ph1) และ การทดลองที่ 4 เรื่องการประยุกต์ใช้ไบโอชาร์จากก้อนเชื้อเห็ดเก่าในผลิตเห็ดหลินจือ
โดยมีผงั งานวจิ ัยโดยยอ่ ดังนี้
สรุปผลและวิจารณ์
1. คัดเลือกก้อนเช้ือเห็ดเก่าสกุลนางรมท่ีมีปริมาณการผลิตมาก และกลายเป็นวัสดุเหลือทิ้งมากท่ีสุดมา 3
ชนิด คือ ก้อนเชื้อเห็ดเก่าเห็ดนางฟ้าภูฐาน นางรมฮังการี และเห็ดเป๋าฮื้อ มาทำการผลิตเป็นไบโอชาร์ด้วยเทคนิค
pyrolysis จากนั้นนำมาศึกษาคุณสมบัติทง้ั ทางกายภาพและองค์ประกอบทางเคมี ผลการศึกษาผลผลติ ภัณฑ์ไบโอชาร์
จากก้อนเช้ือเห็ดเก่าเห็ดสกุลนางรม พบว่า ไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ดเก่าเห็ดเป๋าฮื้อ (Mushchar-PC) ให้เปอร์เซ็นต์
ผลผลิตสงู สุดคือ 25 % รองลงมาคอื ไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ดเก่าเห็ดภูฐาน (Mushchar-PO) และไบโอชาร์จากกอ้ น
เช้ือเห็ดเก่าเห็ดนางรมฮังการี (Mushchar-PH) ซึ่งให้ผลผลิตที่เท่ากันอยู่ที่ 20% และผลจากการศึกษาองค์ประกอบ
ทางเคมีไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ดเก่า พบวา่ ไบโอชาร์จากก้อนเชอ้ื เห็ดเก่าเห็ดเป๋าฮื้อ มีปริมาณธาตุอาหารสูงกว่าชนิด
อื่นๆ โดยเฉพาะปริมาณฟอสฟอรัสท่ีเป็นประโยชน์ (P2O5) สูงถึง 2.46 % รองลงมาเป็น ไนโตรเจน 0.94%
อินทรียวัตถุ 0.83% อินทรีย์คาร์บอน 0.50% และโพแทสเซียม 0.18% ตามลำดับ ส่วนผลการวิเคราะห์ขนาดรูพรุน
ไบโอชาร์จากกอ้ นเชื้อเห็ดเกา่ ทั้ง 3 ตัวอยา่ ง มขี นาดรูพรนุ (pore sizes) เฉล่ียแตกต่างกัน โดยพบวา่ ใน Mushchar-PO
มีขนาดรูพรุนเฉลี่ย 8.034 นาโนเมตร ส่วน Mushchar-PH มีขนาดรูพรุนเฉลี่ย 8.072 นาโนเมตร และใน Mushchar-PC
มขี นาดรูพรุนเฉลี่ยอยู่ที่ 7.377 นาโนเมตร ตามลำดับ และผลจากการวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบด้วยเทคนิค Energy
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ัยดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรักษ์พนั ธกุ รรม 45
Dispersive X-ray Spectroscopy (EDS) ของไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ดเก่าท้ัง 3 ชนิดพบการกระจายตัวของแร่ธาตุ
สำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเจริญของเส้นใยเห็ดและดอกเห็ดมากมายหลายชนิด อาทิเช่น N, Ca, Si, K, Mg และ P รวม
ไปถึง C อีกด้วย โดยพบว่าใน Mushchar-PC มีปริมาณคาร์บอนสูงสุด คือ 71.4% รองลองมาคือ Mushchar-PH
(61.75%) และ Mushchar-PO (60.60%) ตามลำดับ ไบโอชาร์มีปริมาณอินทรียวัตถุสูง ทำให้เกิดความจุในการ
แลกเปลี่ยนประจุบวกสูง จึงสามารถดูดยึดธาตุอาหารที่เป็นประจุบวก เช่น K+ Ca2+ และ Mg2+ เป็นต้น รวมไปถึง
ไบโอชาร์มีรูพรุนอยู่สูง ซ่ึงรูพรุนนี้แสดงให้เห็นถึงความสามารถการดูดซับ และความสามารถดูดยึดประจุบวกได้มาก
เช่นกัน และรูพรุนในไบโอชาร์ยังเป็นท่ีอยู่ของน้ำ อากาศ และจุลินทรีย์ท่ีมีประโยชน์ ส่งผลต่อกิจกรรมการย่อยสลาย
จึงทำให้มีควบคุมการปลดปล่อยธาตุอาหาร เช่น ไนโตรเจนได้ดีย่งิ ขึ้น ดังน้ันในวัสดเุ พาะท่ีมีการเติมไบโอชารจ์ ึงมธี าตุ
อาหารเพม่ิ ข้นึ ทำใหว้ สั ดุเพาะมีความอุดมสมบูรณเ์ พิ่มขึ้น (Batista et al., 2018)
2. ต่อมานำมาศึกษาการประยุกต์ใช้ไบโอชาร์จากก้อนเชื้อเห็ดเก่าสกุลนางรมเพ่ือพัฒนาวิธีการผลิตแม่เชื้อ
บริสุทธิ์และเชื้อขยายของเห็ดร่างแหสายพันธุ์ไทย (DOA-P1) และเห็ดหลินจือ พบว่า ในเห็ดร่างแหสายพันธุ์ DOA-
Ph1 การเตมิ ไบโอชารจ์ ากกอ้ นเช้ือเห็ดเกา่ 0.1% ในอาหาร PDA สามารถส่งเสรมิ ให้เส้นใยเหด็ เจริญไดด้ ที ี่สดุ มคี วาม
แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจากกรรมวิธีควบคุม มีขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางเฉลี่ย 80.83 มม. ส่วนการศกึ ษาสูตร
อาหารท่ีเหมาะสมในการผลิตเชื้อขยายขั้นท่ี 1 พบว่า เชื้อเห็ดในกรรมวิธีที่ 5 (ข้าวฟ่าง + ไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ด
เกา่ 0.4 %) และกรรมวิธีท่ี 4 (ข้าวฟ่าง+ไบโอชาร์จากก้อนเชื้อเห็ดเกา่ 0.3 %) เจริญไดด้ ีเรว็ กว่ากรรมวิธอี ื่นๆ โดยเส้น
ใยเห็ดเจริญเต็มขวดภายใน 11.17 และ 11.25 วัน ตามลำดับ ขณะที่ การศึกษาในเห็ดหลินจือ พบว่าเส้นใยของเห็ด
หลินจือท้ัง 3 ไอโซเลท สามารถเจริญได้ดีในอาหารวุ้น PDA + DOA Mushchar 0.1% เมื่อบ่มเลี้ยงที่อุณหภูมิ 30 -
32 องศาเซลเซียส ระยะเวลา 5 – 6 วัน เส้นใยเห็ดสามารถเจริญเต็มผิวหน้าอาหารเล้ียงเช้ือ สำหรับการผลิตแม่เชื้อ
ขยาย เมื่อทดสอบผสม DOA Mushchar ลงในข้าวฟ่าง พบว่า กรรมวิธีที่ 3 ซึ่งประกอบด้วย ข้าวฟ่าง + DOA
Mushchar 0.1% อัตราการเจริญต่อวันของเส้นใย ระยะเวลาที่เช้ือเจริญคลุมเมล็ดข้าวฟ่าง และความหนาแน่นของ
เสน้ ใยเห็ดหลินจือท้ัง 3 ไอโซเลท มคี วามแตกตา่ งอยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ิจากกรรมวิธคี วบคุม
3. ศึกษาการประยุกต์ใช้ไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ดเก่าในการผลิตเห็ดร่างแหสายพันธ์ุ DOA-Ph1 โดยใช้
ต้ังแต่การผลิตเช้ือขยายขั้นที่ 2 พบว่า น้ำหนัก) พบว่า เส้นใยเห็ดร่างแหในกรรมวิธีท่ี 6 (ข้ีเลื่อย+รำ+ไบโอชาร์ อัตรา
100 : 2 : 40 โดยน้ำหนัก) เจริญได้ดีท่ีสุด โดยเส้นใยสามารถเจริญเต็มก้อนใช้เวลาเฉล่ีย 18.05 วัน มีอัตราการเจริญ
ของเส้นใยต่อวนั เฉล่ีย 550.96 มลิ ลิเมตรต่อวัน รองลงมา คอื กรรมวธิ ที ี่ 5 (ข้ีเล่ือย+รำ+ไบโอชาร์ อัตรา 100 : 2 : 30
โดยน้ำหนัก) เส้นใยเจริญเต็มก้อนใช้เวลาเฉล่ีย 18.15 วัน มีอัตราการเจริญของเส้นใยต่อวันเฉล่ีย 544.20 มิลลิเมตร
ต่อวัน ซึ่งมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญเม่ือเปรียบเทียบกับกรรมวิธีควบคุมทั้งสองกรรมวิธี (สูตรไม่เติม
Mushchar-PC) เส้นใยจากกรรมวิธีควบคุมใช้เวลานานถึง 34.45 วัน เส้นใยจึงจะเดินเต็มก้อนวัสดุเพาะ (อัตราการ
เจรญิ ของเสน้ ใยเฉล่ีย 290.28 มิลลิเมตรต่อวัน) และผลการจากวิเคราะห์ข้อมูลการใหผ้ ลผลิตดอกเห็ดร่างแห พบว่าทุก
กรรมวิธีใหผ้ ลผลิตสูงกว่ากรรมวธิ เี ปรยี บเทยี บ โดยเฉพาะในกรรมวธิ ีที่ 4 (ฟางข้าว : ไบโอชาร์ อตั ราส่วน 100 : 5 โดย
นำ้ หนกั ) ให้ผลผลิต และมีค่า B.E. สูงสดุ คอื 2,598.75 กรัมต่อตะกร้า และ 12.98 % ตามลำดบั คิดเป็น 1.5 เท่า เมื่อ
เทยี บกับกรรมวิธคี วบคุม แสดงให้ว่าการมีแหล่งเก็บรกั ษาปริมาณธาตุอาหาร และน้ำท่ีใหญก่ วา่ ด้วยการเติมไบโอชาร์
เปรียบเสมือนการเพ่ิมปริมาณธาตุอาหาร และน้ำ ที่มีประโยชน์พร้อมปลดปล่อยส่งผ่านเครือข่ายรูพรุนขนาดเล็ก
ปริมาณมหาศาล สง่ ผลให้เหด็ รา่ งแหสามารถดูดซบั และนำไปสร้างดอกเหด็ ได้อย่างเพยี งพอ และมีประสิทธิภาพ และ
ยทุ ธศาสตร์งานวจิ ยั ด้านเทคโนโลยชี ีวภาพและการอนรุ กั ษพ์ นั ธกุ รรม 46
คุณสมบัติสำคัญอีกหน่ึงประการของการมีรูพรุนสูงใน ไบโอชาร์ คือ ความสามารถในการอุ้มน้ำ ซ่ึงจะช่วยรักษา
ความช้ืนให้เหมาะสมในระยะการสร้างดอกเห็ด เนื่องจากเห็ดร่างแหในระยะไข่ (egg stage) เป็นระยะต้องการ
ความช้ืนสูง หากขาดน้ำหรือความชื้นไม่พียงพอ จะส่งผลให้ระยะไข่เกิดการฝ่อ และเหี่ยวไป จนไม่สามารถเจรญิ ดอก
เหด็ ท่ีสมบรู ณ์ในทสี่ ดุ (Yang et al., 2013) การศึกษาคร้ังนี้ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การเตมิ Mushchar-PC ในวัสดุเพาะเหด็ มี
ผลต่อการช่วยส่งเสริมการเจริญท้ังเส้นใย และเพิ่มปริมาณผลผลิตเห็ดร่างแหสายพันธ์ุ DOA-Ph1 ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ
4. ศึกษาการประยุกต์ใช้ไบโอชาร์จากก้อนเช้ือเห็ดเก่าในการผลิตดอกเห็ดหลินจือ พบว่าเช้ือเห็ดหลินจือใน
ทกุ กรรมวิธีมคี วามแตกตา่ งทางสถติ ิอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกบั กรรมวิธีควบคุม (สูตรไม่เติม Mushchar-PC)
โดยพบว่ากรรมวิธีที่ 2 (ขี้เลื่อย : รำ : ดีเกลือ : ปูนขาว : ไบโอชาร์ (100 : 1.5 : 0.2 : 1 :10 โดยน้ำหนัก) เส้นใยเห็ด
หลินจือ เจริญได้ดีที่สุด เพียง 21.5 วัน เส้นใยเห็ดสามารถเจริญเต็มก้อนวัสดุเพาะ และมีอัตราการเจริญของเส้นใย
เฉลี่ยเรว็ ที่สุด คือ 581.40 มลิ ลิเมตรต่อวนั และผลการศกึ ษาการให้ผลผลิต พบวา่ ทุกกรรมวธิ ีให้ผลผลติ สงู กว่ากรรมวิธี
เปรียบเทียบ คอื กรรมวิธีทไ่ี ม่มกี ารมีการเติมไบโอชาร์จากก้อนเชื้อเห็ดเก่า โดยเฉพาะในกรรมวธิ ีท่ี 4 (ข้เี ลื่อย : รำ : ดีเกลือ
: ปูนขาว : ไบโอชาร์จากก้อนเชอ้ื เห็ดเก่า อัตราส่วน 100: 1.5: 0.2: 1: 3 โดยน้ำหนัก) พบว่าให้ผลผลิต และมีคา่ B.E.
สูงสุดคือ 28.038 กรัมต่อถุง และ 8.25 % ตามลำดับ แต่เมื่อประเมินอัตราการปนเป้ือน พบว่า ในกรรมวิธีท่ี 1 (ควบคุม)
พบอัตราการปนเปื้อนสงู สุด คือ 3.31 เปอร์เซน็ ต์ สว่ นในกรรมวิธที ี่ 2, 3 และ 4 มีอัตราการปนเป้ือน 2.50, 2.18 และ
2.20 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ขณะท่ีกรรมวิธีที่ 5,6 และ 7 ไม่พบการปนเป้ือน ซ่ึงเหมาะสมต่อการนำมาการปรับปรุง
พฒั นาสูตรอาหารให้เหมาะสมกับการผลติ เห็ดแต่ละชนดิ ยังเปน็ เรื่องหลักทีค่ วรให้ความสำคัญในกระบวนการผลิตเห็ด
ให้ได้คุณภาพ ตรงกับความต้องการของตลาด และผู้บริโภค อีกท้ังยังต้องคำนึง ต้นทุนการผลิตให้ส่งผลให้ได้
ผลตอบแทนทีค่ มุ้ ทนุ คุ้มค่ามากที่สุด การนำหลักการ zero waste มาใชใ้ นระบบการผลิตเห็ดอยา่ งเป็นรปู ธรรม
เอกสารอา้ งอิง
Batista, E.M., Shultz, J., Matos, T.T., Fornari, M.R., Ferreira, T.M., Szpoganicz, B., de Freitas, R.A. and
Mangrich, A.S., 2018. Effect of surface and porosity of biochar on water holding capacity
aiming indirectly at preservation of the Amazon biome. Scientific Reports, 8(1), pp.1-9.
Chaiyama, V., Keawsompong, S., LeBlanc, J.G., de LeBlanc, A.D.M., Chatel, J.M. and Chanput, W.,
2020. Action modes of the immune modulating activities of crude mushroom
polysaccharide from Phallus atrovolvatus. Bioactive Carbohydrates and Dietary Fibre, 23,
p.100216.
Gao, Y., Gao, H., Chan, E., Tang, W., Xu, A., Yang, H., Huang, M., Lan, J., Li, X., Duan, W. and Xu, C.,
2005. Antitumor activity and underlying mechanisms of ganopoly, the refined
polysaccharides extracted from Ganoderma lucidum, in mice. Immunological
investigations, 34(2), pp.171-198.
Yang, Z.L. and Feng, B., 2013. What is the Chinese “Lingzhi”?–a taxonomic mini-review. Mycology, 4(1),
pp.1 – 4.
ยุทธศาสตร์งานวจิ ยั ดา้ นเทคโนโลยีชีวภาพและการอนุรักษพ์ นั ธุกรรม 47