The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pirapong Pridachom, 2023-05-18 13:18:03

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2566

คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง 2566

ข้อ 21 การปฏิบัติตนในการเข้าห้องประชุม 1. นักเรียนทุกคนต้องรับผิดชอบว่าเป็นหน้าที่ของตนที่จะต้องเข้าร่วมการประชุม ทุกครั้งตามวัน เวลา และสถานที่ที่โรงเรียนก�าหนด ผู้ที่ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ จะต้องได้รับอนุญาตจากครูที่ปรึกษา ครูเวรประจ�าวัน ครูประจ�าคณะสี เป็นลายลักษณ์ อักษร 2. เดินเข้าห้องประชุมอย่างมีระเบียบ นั่งประจ�าที่ตามที่ก�าหนดไว้ และอยู่ในอาการ สงบ ส�ารวมตลอดเวลาการประชุม 3. นักเรียนท�าความเคารพเมื่อผู้ให้การอบรมเข้ามา และจะออกจากห้องประชุม โดยหัวหน้านักเรียนจะบอกท�าความเคารพ 4. ไม่ออกและเข้าห้องประชุมในขณะที่มีการประชุมก่อนได้รับอนุญาต ข้อ 22 การปฏิบัติตนในห้องเรียน 1. เข้าและออกจากห้องเรียนโดยพร้อมเพรียงกัน 2. ดูแลความสะอาดและความเรียบร้อยของห้องเรียนก่อนที่จะมีการเรียนการสอน 3. แต่งกายด้วยชุดแต่งกายที่โรงเรียนก�าหนด ในการเรียนแต่ละวิชาในลักษณะที่ เรียบร้อย 4. ท�าความเคารพครูผู้สอน หรือวิทยากร ก่อนและหลังจากสิ้นสุดการเรียนการสอน 5. ให้ความสนใจเฉพาะวิชาที่ก�าลังเรียนอยู่เท่านั้น ไม่น�าวิชาอื่นมาท�าโดยไม่ได้รับ อนุญาต 6. ไต่ถามปัญหา เสนอแนะ หรือให้ข้อคิดเห็น ในขณะมีการเรียนการสอนด้วยความ สุภาพ 7. ในขณะมีการเรียนการสอนนักเรียนควรแสดงออกซึ่งการใฝ ่รู้ ใฝ่เรียนและ มีสัมมาคารวะ 8. ขออนุญาตผู้สอนหรือวิทยากร ก่อนจะท�าการใด ๆ ที่เป็นการขัดจังหวะการเรียน การสอน หรือเมื่อต้องการที่จะแสดงความคิดเห็น หรือลุกไปติดต่อกับเพื่อนในห้อง 9. เมื่อต้องเปลี่ยนห้องเรียนต้องเข้าแถวทั้งไปและกลับด้วยความรวดเร็วและเป็น ระเบียบเรียบร้อย โดยมีหัวหน้าชั้นเรียนเป็นผู้น�าและดูแล 10. ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ และข้อบังคับในการใช้ห้องต่าง ๆ ตามที่โรงเรียน ก�าหนดไว้อย่างเคร่งครัด 11. ห้ามขีดเขียน ข้อความใด ๆ ลงบนโต๊ะเรียน 12. ห้ามน�าอาหารเข้ามารับประทาน ในห้องเรียน 13. ห้ามท�าลายทรัพย์สมบัติของโรงเรียน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 47


ข้อ 23 การขออนุญาตออกนอกห้องเรียน 1. ในระหว่างที่มีชั่วโมงเรียน นักเรียนจะต้องอยู่ในห้องเรียน จะไปอยู่ในที่อื่นใดไม่ได้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากครูผู้สอนในชั่วโมงนั้น ๆ เป็นลายลักษณ์อักษร 2. ไม่อนุญาตให้ออกจากห้องเรียนในคาบเรียนแรกที่เข้าห้องเรียนทั้งในตอนเช้าและ หลังจากพักกลางวัน 3. หากมีความจ�าเป็นต้องออกจากโรงเรียน เช่น ป่วย ให้ขออนุญาตต่อครูผู้สอน ในขณะนั้นเป็นลายลักษณ์อักษร 4. ในกรณีที่ครูไม่อยู่ในห้องเรียนให้นักเรียนอยู่ในห้องเรียนด้วยความสงบเรียบร้อย ไม่ส่งเสียงหรือกระท�าการใด ๆ อันเป็นการรบกวนห้องเรียนใกล้เคียง 5. ในกรณีนักเรียนป่วยต้องมีใบอนุญาตจากครูผู้สอนหรือครูประจ�าชั้นมายื่นต่อ เจ้าหน้าที่พยาบาลเพื่อขอยา หรือนอนพักที่ห้องพยาบาล ข้อ 24 การขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน 1. นักเรียนต้องมีผู้ปกครองมาขออนุญาตด้วยตนเอง โดยกรอกแบบขออนุญาต ที่ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน และไม่สามารถรับนักเรียนของผู้ปกครองท่านอื่นออกไปได้ 2. การลาเป็นสิทธิเฉพาะตัวจะลาแทนกันไม่ได้ ยกเว้นกรณีป่วยหนัก 3. ขั้นตอนการปฏิบัติในการลานักเรียนกรอกข้อความขออนุญาต เสนอฝ่ายบริหาร กิจการนักเรียน 4. ครูฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนอนุญาตและลงทะเบียน เก็บหลักฐานไว้ส่วนหนึ่ง พร้อมหนังสือขออนุญาตจากผู้ปกครอง โดยฉีกให้นักเรียนติดตัวไปส่วนหนึ่ง 5. กรณีที่นักเรียนไปท�าธุระและกลับมาโรงเรียนอีกจะต้องมาติดต่อที่ฝ่ายบริหาร กิจการนักเรียน เพื่อลงทะเบียนเป็นหลักฐาน และมอบเอกสารการอนุญาตคืนฝ่ายบริหาร กิจการนักเรียนพร้อมกับรับใบอนุญาตเข้าห้องเรียน หมวดที่ 6 การลา การขาดเรียน และการขออนุญาตออกนอกบริเวณโรงเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 48


ข้อ 25 การลาหยุดเรียน 1. ต้องยื่นใบลาตามแบบฟอร์มใบลาที่ถูกต้อง หรือแบบที่โรงเรียนก�าหนด 2. การยื่นใบลาป่วยต้องยื่นใบลาป่วยอย่างช้าในวันรุ่งขึ้น ถ้ามีใบรับรองแพทย์ น�ามามอบให้ครูที่ปรึกษาทันทีหลังจากที่หายป่วย และแจ้งฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนทราบ 3. การยื่นใบลากิจต้องยื่นก่อนวันลา หรือฝากใบลามาให้ในวันที่หยุดนั้น กรณี มีความจ�าเป็นต้องแจ้งให้ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนทราบ ข้อ 26 การขาดเรียน 1. ถ้านักเรียนขาดเรียนหรือมาสายให้ครูที่ปรึกษาบันทึกข้อมูลในสมุดบันทึก การมาเรียน ส่งฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนภายในเวลา 09.30 น. เพื่อลงทะเบียนทุกวัน 2. ถ้าขาดเรียนโดยไม่แจ้งให้ทราบหรือไม่จัดส่งใบลาติดต่อกัน 3 วัน ทางโรงเรียน โดยฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน จะมีจดหมายลงทะเบียนหรือโทรศัพท์แจ้งผู้ปกครองทราบ 3. ถ้าขาดเรียนติดต่อกัน 5 วัน โดยไม่แจ้งให้ทราบหรือไม่จัดส่งใบลาโรงเรียน ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน จะมีจดหมายลงทะเบียนเชิญผู้ปกครอง 4. ถ้าขาดเรียนติดต่อกัน 7 วัน โดยไม่แจ้งให้ทราบหรือไม่จัดส่งใบลาโรงเรียน ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน จะมีจดหมายลงทะเบียนเชิญผู้ปกครองอีกครั้ง ข้อ 27 การมาสาย จะตัดคะแนนอัตโนมัติจากระบบโดยหากนักเรียนมาโรงเรียนหลังเวลา 07.50 น. ครบทุก ๆ 7 ครั้ง ถือว่าสาย 1 ครั้ง หากนักเรียนมาโรงเรียนหลังเวลา 08.15 น. เกิน 15 ครั้ง / 1 ภาคเรียน ครั้งที่ 16 เป็นต้นไป จะตัดครั้งละ 5 คะแนน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 49


หมวดที่ 7 การทำาความเคารพ ข้อ 28 การท�าความเคารพในห้องเรียน 1. เมื่อครูเข้าห้องสอนทุกครั้งให้หัวหน้านักเรียนบอกท�าความเคารพ โดยใช้ค�า บอกว่า “นักเรียน” นักเรียนทุกคนต้องอยู่ในลักษณะพร้อมแล้วจึงสั่งต่อว่า “เคารพ” นักเรียน ทุกคนยกมือไหว้พร้อมกับพูดว่า “สวัสดีครับ-สวัสดีค่ะ” เมื่อครูตอบว่า “สวัสดีครับ-สวัสดีค่ะ” นักเรียนจึงเอามือลง 2. การถามตอบในคาบเรียนให้นักเรียนยกมือ เมื่อได้รับอนุญาตจึงยืนขึ้นพูดกับครู ในท่าตรง เมื่อหมดคาบเรียนให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับตอนเข้าสอนนักเรียนทุกคนกล่าวพร้อม กันว่า “ขอบคุณครับ-ขอบคุณค่ะ” 3. เมื่อครูท ่านอื่นเข้ามาในห้อง ขณะที่ไม ่มีครูสอนประจ�าวิชานั้นอยู ่ในห้อง ให้นักเรียนบอกท�าความเคารพเช่นเดียวกัน ข้อ 29 การท�าความเคารพในโอกาสต่าง ๆ 1. เมื่ออยู่ในโรงเรียนพบครูหรือผู้ใหญ่เดินผ่านมา ให้ท�าความเคารพด้วยการ ยืนตรงและยกมือไหว้ พร้อมกับกล่าวว่า “สวัสดีครับ-สวัสดีค่ะ” ถ้าแต่งเครื่องแบบ ลูกเสือ-เนตรนารี ให้ท�าความเคารพโดยวันทยาหัตถ์ 2. เมื่อพบครูนอกบริเวณโรงเรียน ให้ท�าความเคารพด้วยการไหว้ตามความเหมาะสม และทักทายด้วยความสุภาพ 3. ในกรณีที่มีผู้มาตรวจเยี่ยมโรงเรียนมาในห้องเรียน ให้ครูที่ควบคุมห้องขณะนั้น หรือหัวหน้าห้องเรียนเป็นผู้บอกท�าความเคารพ ถ้าอยู่นอกห้องเรียนหรือบริเวณอื่น ๆ ให้หยุดยืนตรงแล้วท�าความเคารพด้วยการไหว้ พร้อมกล่าวค�าว่า “สวัสดีครับ-สวัสดีค่ะ” โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 50


หมวดที่ 8 การปฏิบัติตนทั่วไป ข้อ 30 การใช้ห้องสุขา 1. ไม่มั่วสุม หรือคุยกันเสียงดังบริเวณห้องสุขา หรือท�ากิจกรรมอื่น ๆ ในห้องสุขา 2. ไม่ขีดเขียนตัวหนังสือ รูป หรือข้อความใด ๆ บนฝาผนังห้อง 3. นักเรียนต้องช่วยกันรักษาความสะอาดห้องสุขา ข้อ 31 การซื้ออาหารและการรับประทานอาหาร 1. ให้เรียงตามล�าดับก่อนหลังตามแนวปฏิบัติที่โรงเรียนก�าหนด 2. จะต้องรับประทานอาหารในโรงอาหารเท่านั้น 3. ไม่คุยเสียงดัง หรือคุยข้ามโต๊ะ ไม่พูดคุยเรื่องน่ารังเกียจไม่สุภาพในโรงอาหาร 4. นั่งรับประทานอาหารอย่างสุภาพ ไม่ยืนหรือเดินรับประทาน ไม่ท�าอาหารตก ออกนอกภาชนะ ไม่ทิ้งเศษอาหารบนโต๊ะ หรือพื้นโรงอาหาร 5. เมื่อรับประทานอาหารเรียบร้อยแล้ว ให้เก็บเศษอาหารใส่ภาชนะรองรับตามที่ โรงเรียนก�าหนดและน�าภาชนะไปแลกบัตรประกันภาชนะ โดยให้ปฏิบัติตามระเบียบการใช้ โรงอาหารของโรงเรียนอย่างเคร่งครัด 6. ห้ามน�าภาชนะและอาหารออกนอกโรงอาหารโดยเด็ดขาด ยกเว้นน�้าเปล่า 7. รับประทานอาหาร ในช่วงเวลาพักหรือเวลาที่โรงเรียนก�าหนดเท่านั้น 8. ไม่อนุญาตให้สั่งอาหารจากภายนอกมารับประทาน ข้อ 32 ข้อปฏิบัติเมื่อท�าของหายหรือเก็บของได้ 1. เมื่อนักเรียนท�าของหายให้แจ้งครูเวรประจ�าวัน หรือน�าส่งที่ห้องฝ่ายบริหาร กิจการนักเรียน 2. เมื่อนักเรียนได้รับของคืนแล้ว ให้ไปแสดงความขอบคุณต่อผู้ที่เก็บของได้ 3. เมื่อเก็บของได้ให้นักเรียนน�าไปแจ้งครูฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน เพื่อบันทึก ข้อมูลคนดีลูกสวน และประกาศหาเจ้าของต่อไป โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 51


ข้อ 33 การปฏิบัติตนในการใช้อาคารเรียน 1. ใช้โต๊ะเก้าอี้ โดยไม ่นั่งโยกเก้าอี้ ไม ่เคลื่อนโต๊ะเก้าอี้ออกจากแถวที่จัดไว้ อย่างเรียบร้อยแล้ว 2. ไม่นั่งบนโต๊ะ ขอบหน้าต่าง หรือที่อันไม่เหมาะสม 3. รักษาความสะอาดของโต๊ะ เก้าอี้ และพื้นห้องเรียน ด้วยการไม่ทิ้งเศษกระดาษ และเศษวัสดุ หรือถ่มน�้าลาย สั่งน�้ามูกลงบนพื้น ไม่เขียนหรือแกะสลักข้อความ หรือรูปใด ๆ ลงบนโต๊ะ เก้าอี้ ฝาผนังห้อง พื้นห้อง ประตู หน้าต่าง 4. ไม่นั่งตามขอบระเบียง ไม่นอนพักผ่อนหรือวิ่งเล่นบริเวณระเบียงกันสาด 5. ไม่น�าโต๊ะ เก้าอี้ หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ในห้องเรียนออกจากห้องเรียน 6. ปิดไฟ ปิดพัดลม ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งหลังจากใช้ห้องเสร็จแล้ว 7. ไม่เปิด หรือเล่นเครื่องดับเพลิงโดยเด็ดขาด 8. ไม่ขึ้นไปบนชั้นดาดฟ้า โดยไม่ได้รับอนุญาต 9. ปฏิบัติตามกฎ และระเบียบของการใช้ห้องและอาคาร ตามที่โรงเรียนก�าหนด ไว้อย่างเคร่งครัด ข้อ 34 การปฏิบัติตนในการใช้สนามและบริเวณโรงเรียน 1. ใช้สนามตามวันและเวลาที่โรงเรียนก�าหนด 2. ไม่ใช้สนามในเวลาที่สนามเปียก 3. ไม่เล่นในบริเวณที่โรงเรียนจัดไว้เป็นเขตหวงห้าม 4. ไม่เดินลัดสนาม 5. ไม่นอนเล่นบริเวณม้าหินอ่อน โต๊ะไม้ซุ้มแปดเหลี่ยม และไม่นั่งโดยเอาเท้าเหยียบ หรือยืนบนโต๊ะ 6. ไม่ท�าลายดอกไม้และต้นไม้ที่จัดปลูกไว้ในบริเวณโรงเรียน 7. ไม่ทิ้งเศษกระดาษ เศษวัสดุ เศษอาหาร ภาชนะต่าง ๆ ที่ท�าให้บริเวณโรงเรียน สกปรก 8. เมื่อพบเศษกระดาษ เศษวัสดุตกบนพื้นให้เก็บทิ้งลงภาชนะรองรับ 9. ไม่ส่งเสียงดัง ตะโกน หรือแสดงอาการไม่สุภาพใด ๆ ในบริเวณโรงเรียน 10. ไม่ขีดเขียนข้อความใด ๆ บนโต๊ะหรือเก้าอี้ที่ทางโรงเรียนจัดไว้ให้นั่ง 11. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับในการใช้สนาม และบริเวณโรงเรียน ตามที่โรงเรียนก�าหนด โดยเคร่งครัด คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 52


ข้อ. 35 การปฏิบัติตนในการใช้ลิฟต์ 1. กดปุ่มหน้าชั้นเฉพาะทิศทางที่จะขึ้นหรือลงเท่านั้นโดยกดให้ไฟติดเพียงครั้งเดียว 2. เมื่อเข้าลิฟต์แล้วให้รีบเดินเข้าไปด้านในและพยายามยืนโดยการกระจายน�้าหนัก และไม่ยืนขวางประตู 3. กดปุ่มภายในลิฟต์เฉพาะชั้นที่ต้องการจะไปเท่านั้น 4. ระหว่างที่โดยสารอยู่ในลิฟต์ ห้ามเล่น ผลัก กระโดด กระแทก หรือยืนพิง บานประตูลิฟต์ 5. ห้ามขีดเขียน ปิด แปะ แผ่นภาพ หรือสิ่งพิมพ์ใดๆ บนผนังลิฟต์ 6. ห้ามเล่นฉีดน�้าบริเวณหน้าลิฟต์และในตู้ลิฟต์ เพราะอาจจะเกิดไฟฟ้าลัดวงจรได้ กรณีเกิดเหตุ ฉุกเฉิน ลิฟต์ค้างให้กดปุ่ม “EMERGENCY CALL” เพื่อติดต่อ ครูให้ความช่วยเหลือ 7. ห้ามใช้ลิฟต์ในระหว่างการปรับปรุงซ่อมแซม 8. ห้ามใช้ลิฟต์ในขณะเกิดไฟไหม้ 9. หากพบอุปกรณ์ช�ารุด ไฟสัญญาณต่าง ๆ ไม่ท�างาน หรือพบเห็นสิ่งผิดปกติ ให้รีบแจ้งครูทันที 10. ควรหลีกเหลี่ยงการใช้ลิฟต์ในขณะที่เกิดพายุฟ้าคะนอง หรือฝนตกหนัก หรือ ขณะเกิดแผ่นดินไหว เพราะลิฟต์อาจค้างได้ ข้อ 36 ให้รองผู้อ�านวยการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนรักษาการให้เป็นไปตาม ระเบียบนี้ ข้อ 37 ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2566 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 เมษายน 2566 (นายชาลี วัฒนเขจร) ผู้อ�านวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 53


ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน พ.ศ. 2566 ..................................................................... เนื่องจากโรงเรียนมีความประสงค์ที่จะปลูกฝังอบรมนักเรียนให้อยู่ในระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถที่จะด�ารงชีวิตในโรงเรียน ครอบครัวและในสังคม ได้อย่าง มีความสุขและเป็นประชากรที่มีคุณภาพของชาติ จึงได้ก�าหนดระเบียบปฏิบัติตน ส�าหรับ นักเรียนดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ว่าด้วย การลงโทษนักเรียน พ.ศ. 2566 ตั้งแต่วันใช้ระเบียบนี้ให้ยกเลิกระเบียบหรือหลักปฏิบัติอื่นใดที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ ข้อ 2 นักเรียนที่ประพฤติขัดต่อระเบียบต่อไปนี้ถือว่ามีความผิด 2.1 ลักษณะความผิดประเภทที่ 1 2.1.1 การแต่งกาย 2.1.2 การไว้ทรงผม 2.1.3 การมาโรงเรียนและเข้าเรียนสาย 2.1.4 การขาดเรียนในระหว่างชั่วโมง 2.1.5 การหนีโรงเรียน 2.1.6 การออกนอกบริเวณโรงเรียนโดยไม่ได้รับอนุญาต 2.1.7 การหลีกเลี่ยงพิธีการหน้าเสาธง 2.1.8 การขาดเรียน 2.1.9 มีพฤติกรรมหรือการแสดงออกไม่เหมาะสมกับการเป็นนักเรียน 2.1.10 การใช้เครื่องประดับที่ไม่มีความจ�าเป็น 2.1.11 การน�ายานพาหนะเข้ามาภายในบริเวณโรงเรียน โดยไม่ได้รับ อนุญาต 2.1.12 แต่งกายไม่เหมาะสมเข้ามาในวันหยุดราชการ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 54


2.1.13 ไม่ร่วมกิจกรรมของโรงเรียนโดยไม่มีเหตุผลสมควร 2.1.14 ส่งเสียงอึกทึกก่อความร�าคาญ 2.1.15 การใช้วาจาหยาบคาย 2.1.16 การมั่วสุมในบริเวณโรงเรียน 2.2 ลักษณะความผิดประเภทที่ 2 2.2.1 การทะเลาะวิวาท หรือการกระท�าอันก่อให้เกิดความ แตกความสามัคคี 2.2.2 การสูบบุหรี่ เสพของมึนเมา และสิ่งเสพติดให้โทษ 2.2.3 การเล่นการพนัน 2.2.4 การพกอาวุธ หรือน�าอาวุธมาโรงเรียน หรือพกติดตัว 2.2.5 การกระท�าอันน�ามาซึ่งความเสื่อมเสียของโรงเรียน การก ่อ ความไม่สงบที่ท�าให้เกิดความสับสน และวุ่นวายในโรงเรียน 2.2.6 ชู้สาว 2.2.7 การบีบบังคับ หรือขู่เข็ญเพื่อนนักเรียนด้วยกัน เพื่อประสงค์ทรัพย์ หรือเจตนาอื่น ๆ ที่ไม่ได้รับการยินยอม 2.2.8 การปลอมตนเพื่อแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองหรือผู้อื่น 2.2.9 การขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของครูที่ปฏิบัติหน้าที่โดยชอบ 2.2.10 ท�าลายทรัพย์สินของเพื่อนนักเรียน ครู บุคคลอื่น และของโรงเรียน 2.2.11 น�าหนังสือหรือสิ่งลามกอนาจารเข้ามาในโรงเรียน 2.2.12 เที่ยวเร่ร่อนและมั่วสุมในที่สาธารณะ หรือในสถานเริงรมย์ 2.3 ลักษณะความผิดประเภทที่ 3 2.3.1 การลักทรัพย์ 2.3.2 การก้าวร้าวยุยงให้เกิดความเสื่อมเสียต่อครู โดยวาจาหรือขีดเขียน 2.3.3 ประทุษร้าย ท�าร้ายเพื่อนนักเรียน ครูหรือนักเรียน ข้อ 3 การลงโทษ มี 3 ขั้นตอน ดังนี้ 3.1 ว่ากล่าวตักเตือน 3.2 ท�าทัณฑ์บน 3.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 3.4 ท�ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 55


ข้อ 4 นักเรียนที่ประพฤติผิดตามระเบียบข้อที่ 2 จะได้รับโทษลักษณะต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 4.1 ว่ากล่าวตักเตือน 4.2 ท�าทัณฑ์บน 4.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 4.4 ท�ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 5 ขั้นตอนในการลงโทษนักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบ ประเภท 1 จะได้ รับโทษ ตามข้อที่ 1 โดยมีขั้นตอนดังนี้ 5.1 ว่ากล่าวตักเตือน 5.2 ท�าทัณฑ์บน 5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 5.4 ท�ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 6 นักเรียนที่ประพฤติผิดระเบียบ ประเภทที่ 2 จะได้รับโทษตาม ข้อที่ 4 ตามความหนักเบาแห่งความผิด ดังนี้ 6.1 ความผิดตามข้อ 2.2 จะได้รับโทษตั้งแต่ข้อ 5.2 ถึง 5.4 ตามความเหมาะสม 6.2 ความผิดตามข้อ 2.3 จะได้รับโทษตั้งแต่ข้อ 5.3 ถึง 5.4 ตามความเหมาะสม ข้อ 7 การพิจารณาเมื่อนักเรียนกระท�าความผิดถึงแม้ว่าจะเป็นความผิด ครั้งแรกก็ตาม แต่เป็นความผิดร้ายแรงที่จงใจกระท�า หรือในกรณีที่มีการกระท�าผิด ร้ายแรงนอกเหนือจากที่กล่าวไว้ในระเบียบนี้ คณะกรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน มีอ�านาจพิจารณาการลงโทษตามข้อ 5.1-5.4 แนวปฏิบัติในการตัดคะแนนความประพฤติของนักเรียน เพื่อให้การควบคุมดูแลความประพฤติของนักเรียนด�าเนินไปด้วยความเรียบร้อย และ มีประสิทธิภาพ จึงได้ก�าหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับคะแนนความประพฤติของนักเรียนไว้ ดังนี้ 1. ให้นักเรียนทุกคนมีคะแนนความประพฤติคนละ 100 คะแนน ในแต่ละระดับชั้น ตลอดปีการศึกษา 2. ค่าของคะแนนในระดับความผิดต่างๆ ก�าหนดไว้ดังนี้ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 56


ข้อ 8 มาตรการลงโทษ รายการ รายการลงโทษ ตัดคะแนน ความประพฤติ 1. แต่งกายผิดระเบียบข้อบังคับของโรงเรียน เช่น - สวมเครื่องประดับ จ�านวนเครื่องประดับมากชิ้น เกินกว่าที่โรงเรียนก�าหนด เช่น ต่างหูใส่เกินข้างละรู - ท�าสีผม - ผมซอย ผลิตภัณฑ์จัดแต่งทรงผม - ไว้เล็บยาวมาก ตกแต่งเล็บ ว่ากล่าวตักเตือน - กระโปรงสั้น , กระโปรงแคบ แจ้งผู้ปกครอง - กางเกงสั้น ตัด 5 คะแนน - รองเท้า-ถุงเท้าผิดระเบียบ , ใส่รองเท้าทับส้น - ดึงเสื้อออกนอกกางเกง ตัดคะแนนความประพฤติ - นักเรียนหญิงไม่ใส่เสื้อซับใน หากผิดบ่อยครั้ง - นักเรียนชายใส่ต่างหู ตัดคะแนนความประพฤติ 2. กระเป๋าผิดระเบียบ, ครั้งละ 10 คะแนน 3. มาสาย, ขาดเรียน (ไม่ลา) 4. ไม่ร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง, กิจกรรมของโรงเรียน 5. เล่นบนอาคาร 6. รับประทานอาหารนอกเขตโรงอาหาร 7. รับประทานอาหารก่อนเวลา 8. ไม่สนใจเรียน 9. ไม่รักษาความสะอาด 1. พกพาสื่อลามกอนาจารหรือมีไว้ครอบครอง ว่ากล่าวตักเตือน เพื่อแลกเปลี่ยน จ�าหน่าย จ่ายแจก แจ้งผู้ปกครอง ท�าทัณฑ์บน ตัดคะแนนความประพฤติ 10 คะแนน 1. ปลอมแปลงเอกสาร ว่ากล่าวตักเตือน 2. ท�าลายทรัพย์สินของโรงเรียน แจ้งผู้ปกครอง 3. ทะเลาะวิวาท ท�าทัณฑ์บน 4. หนีโรงเรียน ความผิดตามข้อ 3 ต้องชดใช้ 5. เข้าสถานที่ต้องห้าม ความเสียหาย 6. ก่อให้แตกความสามัคคี ตัดคะแนนความประพฤติ 7. รังแก / ข่มขู่ / รีดไถ 20 คะแนน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 57


รายการ รายการลงโทษ ตัดคะแนน ความประพฤติ 1. ก้าวร้าวต่อครู และบุคลากร 2. ซื้อ / จ�าหน่าย / แลกเปลี่ยน / สูบบุหรี่ พกพาบุหรี่, พกพาอาวุธ แจ้งผู้ปกครอง 3. ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ท�าทัณฑ์บน 4. ลักทรัพย์ ตัดคะแนนความประพฤติ 5. เล่นการพนัน 30 คะแนน 6. น�าพาบุคคลภายนอกมาก่อความไม่สงบ ภายในโรงเรียน 7. มีพฤติกรรมในท�านองชู้สาว 1. กระท�าอนาจาร / ล่วงละเมิดทางเพศ แจ้งผู้ปกครอง 2. ซื้อ / จ�าหน่าย / เสพสารเสพติด / ท�าทัณฑ์บน แลกเปลี่ยน / มีไว้ครอบครองสิ่งเสพติด ตัด 100 คะแนน ชนิดรุนแรง เช่น ยาบ้า กัญชา ยาไอซ์ ท�ากิจกรรมเพื่อให้ 3. ท�าร้ายผู้อื่นด้วยอาวุธหรือเครื่องมือที่เสมือน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อาวุธร้ายแรง เช่น สนับมือ มีด อาวุธปืน แนวปฏิบัติในการลงโทษนักเรียนที่ถูกตัดคะแนน 1. ในกรณีเป็นความผิดสถานเบา หรือเป็นความผิดครั้งแรก การแก้ไขในเบื้องต้น ให้ครูทุกคนมีหน้าที่ตักเตือน อบรม และพิจารณาโทษนักเรียนแล้วแต่กรณี หากเห็นว่า นักเรียนสมควรได้รับโทษถึงถูกตัดคะแนนความประพฤติให้รายงานต่อคณะกรรมการฝ่าย บริหารกิจการนักเรียน • การพิจารณาตัดคะแนนความประพฤติให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการฝ่าย บริหารกิจการนักเรียน • ในการตัดคะแนนให้คณะกรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนแจ้งหัวหน้าระดับ และครูที่ปรึกษาและรายงานให้ผู้ปกครองทราบทุกครั้ง • เมื่อนักเรียนถูกตัดคะแนนถึง 30 คะแนน ให้คณะกรรมการฝ ่ายบริหาร กิจการนักเรียนแจ้งครูที่ปรึกษาประสานผู้ปกครอง ปรับปรุง แก้ไขปัญหาและ พัฒนาส่งเสริมนักเรียน • เมื่อถูกตัดคะแนนถึง 60 คะแนน ให้คณะกรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน เชิญผู้ปกครอง มารับทราบพฤติกรรม และท�ากิจกรรมปรับปรุงพฤติกรรม คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 58


• เมื่อถูกตัดคะแนนถึง 80 คะแนน ให้คณะกรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน เชิญผู้ปกครองมารับทราบพฤติกรรม และท�าทัณฑ์บน • เมื่อถูกตัดคะแนนถึง 100 คะแนน ให้อยู ่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการ ฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนและ ฝ่ายบริหารโรงเรียนวินิจฉัยเป็นที่สิ้นสุด การด�าเนินการ • ครูบันทึกรายงานแจ้งความผิดระเบียบของนักเรียน ส่งฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน • คณะกรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย พิจารณา สอบสวนนักเรียนตามความเหมาะสมและด�าเนินการตัดคะแนนความประพฤติพร้อมแจ้ง ครูที่ปรึกษา หัวหน้าระดับและผู้ปกครองทราบ หมายเหตุ • นักเรียนที่ผิดระเบียบของโรงเรียนจะถูกบันทึกความผิดระเบียบลงในทะเบียน ประวัตินักเรียน • เมื่อสิ้นภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ให้พิจารณาการพัฒนาคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของนักเรียนจากกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามที่โรงเรียนก�าหนด • กรณีนักเรียนท�าความผิดแล้วมีการปรับปรุง แก้ไขพฤติกรรมให้ดีขึ้น หรือท�าความดี อื่น ๆ ให้คณะกรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนลดคะแนนความผิดที่ได้ท�าไว้ตามสมควร เพื่อเป็นขวัญก�าลังใจแก่นักเรียนให้กระท�าความดีต่อไป • ในกรณีที่นักเรียนท�าความดีให้ประกาศชมเชย หรือให้รางวัลนักเรียนแล้วแต่กรณี • การลงโทษด้วยวิธีอื่น ๆ ควบคู่กับการตัดคะแนนนั้นอยู่ในดุลยพินิจของคณะ กรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียน • นักเรียนที่ท�าความผิดอื่น ๆ นอกเหนือจากระเบียบของโรงเรียน ต้องถูกลงโทษ ตามที่คณะกรรมการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนเห็นสมควร ข้อ 9 ให้รองผู้อ�านวยการฝ่ายบริหารกิจการนักเรียนรักษาการให้เป็นไป ตามระเบียบนี้ ข้อ 10 ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2566 เป็นต้นไป ประกาศ ณ วันที่ 12 เมษายน 2566 (นายชาลี วัฒนเขจร) ผู้อ�านวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 59


กฎกระทรวง ก�าหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 64 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 อันเป็นกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจ�ากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 31 มาตรา 34 มาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 39 มาตรา 48 และมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระท�าได้โดยอาศัย อ�านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออกกฎกระทรวงไว้ ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 นักเรียนและนักศึกษาต้องไม่ประพฤติตน ดังต่อไปนี้ (1) หนีเรียนหรือออกนอกสถานศึกษาโดยไม่ได้รับอนุญาตในช่วงเวลาเรียน (2) เล่นการพนัน จัดให้มีการเล่นการพนัน หรือมั่วสุมในวงการพนัน (3) พกพาอาวุธหรือวัตถุระเบิด (4) ซื้อ จ�าหน่าย แลกเปลี่ยน เสพสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ สิ่งมึนเมา บุหรี่ หรือ ยาเสพติด (5) ลักทรัพย์ กรรโชกทรัพย์ ข่มขู่ หรือบังคับขืนใจเพื่อเอาทรัพย์บุคคลอื่น (6) ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ท�าร้ายร่างกายผู้อื่น เตรียมการหรือกระท�าการใด ๆ อันน่าจะ ก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อย หรือขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน (7) แสดงพฤติกรรมทางชู้สาวซึ่งไม่เหมาะสมในที่สาธารณะ (8) เกี่ยวข้องกับการค้าประเวณี (9) ออกนอกสถานที่พักเวลากลางคืน เพื่อเที่ยวเตร ่หรือรวมกลุ ่ม อันเป็นการสร้าง ความเดือดร้อนให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น ข้อ 2 ให้โรงเรียนหรือสถานศึกษาก�าหนดระเบียบว่าด้วยความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษา ได้เท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎกระทรวงนี้ ให้ไว้ ณ วันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2548 จาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 60


ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา พ.ศ. 2548 อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้วยการลงโทษนักเรียนและ นักศึกษาไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการลงโทษนักเรียน และนักศึกษา พ.ศ. 2548” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว ่าด้วยการลงโทษนักเรียนหรือ นักศึกษา พ.ศ. 2543 ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา” หมายความว ่า ครูใหญ ่ อาจารย์ใหญ ่ ผู้อ�านวยการ อธิการบดี หรือหัวหน้าของโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือต�าแหน่งที่เรียกชื่อ อย่างอื่นของโรงเรียนหรือสถานศึกษานั้น “กระท�าความผิด” หมายความว่า การที่นักเรียนหรือนักศึกษาประพฤติฝ่าฝืนระเบียบ ข้อบังคับของสถานศึกษา หรือของกระทรวงศึกษาธิการ หรือกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤติ ของนักเรียนและนักศึกษา “การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�าความผิด โดยมีความมุ่งหมายเพื่อการอบรมสั่งสอน ข้อ 5 โทษที่จะลงโทษแก่นักเรียนหรือนักศึกษาที่กระท�าความผิด มี 4 สถาน ดังนี้ 5.1 ว่ากล่าวตักเตือน 5.2 ท�าทัณฑ์บน 5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ 5.4 ท�ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ข้อ 6 ห้ามลงโทษนักเรียน และนักศึกษาด้วยวิธีรุนแรง หรือแบบกลั่นแกล้ง หรือ ลงโทษด้วยความโกรธ หรือด้วยความพยาบาท โดยให้ค�านึงถึงอายุของนักเรียน หรือนักศึกษา และความร้ายแรงของพฤติการณ์ประกอบการลงโทษด้วย การลงโทษนักเรียน หรือนักศึกษาให้เป็นไป เพื่อเจตนาที่จะแก้นิสัยและความประพฤติ ไม่ดีของนักเรียน หรือนักศึกษาให้รู้ส�านึกในความผิด และกลับประพฤติตนในทางที่ดีต่อไป คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 61


ให้ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษา หรือผู้ที่ผู้บริหารโรงเรียนหรือสถานศึกษามอบหมาย เป็นผู้มีอ�านาจในการลงโทษนักเรียน นักศึกษา ข้อ 7 การว่ากล่าวตักเตือนใช้ในกรณีนักเรียน หรือนักศึกษากระท�าความผิด ไม่ร้ายแรง ข้อ 8 การท�าทัณฑ์บนใช้ในกรณีนักเรียนหรือนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสม กับ สภาพนักเรียนหรือนักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้วยความประพฤตินักเรียน และนักศึกษา หรือ ได้รับโทษว่ากล่าวตักเตือนแล้ว แต่ยังไม่เข็ดหลาบ การท�าทัณฑ์บนให้ท�าเป็นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรือผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบ ความผิดและรับรองการท�าทัณฑ์บนไว้ด้วย ข้อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติ ให้เป็นไปตามระเบียบปฏิบัติว่าด้วยการ ตัด คะแนนความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษาก�าหนด และให้ท�าบันทึกข้อมูล ไว้เป็นหลักฐาน ข้อ 10 ท�ากิจกรรมเพื่อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ในกรณีที่นักเรียน และนักศึกษา กระท�าความผิดที่สมควร ต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดกิจกรรมให้เป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการก�าหนด ข้อ 11 ให้ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ และ ให้มี อ�านาจตีความและวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548 อดิศัย โพธารามิก (นายอดิศัย โพธารามิก) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 62


ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ว่าด้วยการไว้ทรงผมของนักเรียน พ.ศ. 2566 โดยที่เป็นการเห็นสมควรก�าหนดข้อปฏิบัติและข้อห้ามปฏิบัติในการไว้ทรงผมของนักเรียน เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการด�าเนินงานของสถานศึกษา และอาศัยอ�านาจของกฎหมายเฉพาะ มาตรา 39 (1) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และมติที่ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2566 จึงวางระเบียบไว้ดังนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ว่าด้วยเรื่องทรงผม ของนักเรียน พ.ศ. 2566” ข้อ 2 ระเบียบนี้มีผลบังคับใช้นับตั้งแต่วันประกาศเป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกบรรดา ระเบียบ ข้อบังคับ หรือค�าสั่งอื่นใดในส่วนที่ก�าหนดไว้แล้ว ในระเบียบนี้ หรือซึ่งขัดแย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ในระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายถึง โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต “นักเรียน” หมายถึง บุคคลที่ก�าลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต “คณะกรรมการ” หมายถึง คณะกรรมการพิจารณาระเบียบทรงผมนักเรียน ข้อ 5 นักเรียนต้องปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไว้ทรงผม ดังนี้ 5.1 นักเรียนชาย จะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาว ด้านข้าง ด้านหลัง ต้องไม่เกินตีนผม ด้านหน้าและกลางศีรษะ ให้เป็นไปตามความเหมาะสม ไม่มัดรวบ มีความเรียบร้อยและไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียน กรณีไว้ผมสั้นให้ไว้ทรงนักเรียน 5.2 นักเรียนหญิง จะไว้ผมสั้นหรือผมยาวก็ได้ กรณีไว้ผมยาวให้เป็นไปตามความเหมาะสม มีความเรียบร้อย ผมด้านหน้าไม่เป็น อุปสรรคต่อการเรียน และรวบผม ติดโบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต สีตามระดับชั้น ที่ก�าหนดให้เรียบร้อย กรณีไว้ผมสั้น ห้ามซอยหรือสไลด์ผม คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 63


5.2.1 การรวบมัดผมให้ตึงไว้ระดับกึ่งกลางใบหูสองข้างกลางศีรษะด้าน หลัง จนถึงระดับท้ายทอย โดยรวบตึง ไม่ปล่อยผมให้ตกลงมาระแก้มทั้งสองข้าง ให้ใช้ยางรัด ผมและกิ๊บติดผมสีด�ารวบก่อนเข้ามาในบริเวณโรงเรียนและเมื่ออยู่ในชุดนักเรียนไม่ให้ปล่อยผม 5.2.2 การถักเปียให้ถักเปียไม่เกิน 2 กลุ่ม และเป็นการทักเปียจากด้าน หลังลงมาท้ายทอย ข้อ 6 ห้ามนักเรียนปฏิบัติตนเกี่ยวกับการไว้ทรงผม ดังนี้ 6.1 ย้อมหรือฉีดสีผมให้ผิดไปจากเดิม ซอยหรือสไลด์ผม 6.2 ไว้หนวดหรือไว้เครา 6.3 การกระท�าอื่นใดซึ่งไม่เหมาะสมกับสภาพการเป็นนักเรียน เช่น การตัดแต่ง ทรงผมเป็นรูปทรง สัญลักษณ์หรือเป็นลวดลาย ท�ารูปทรงคิ้วที่มีรอยบาก ข้อ 7 นักเรียนที่มีเหตุผลจ�าเป็น ให้คณะกรรมการตามข้อ 8 เป็นผู้พิจารณาและน�าเสนอ ผู้อ�านวยการโรงเรียนเพื่ออนุญาต โดยให้ยึดถือหลักความเหมาะสมในการพัฒนาบุคลิกภาพ ที่ดีของนักเรียน สนับสนุน ส่งเสริม ก�ากับ ดูแล ให้นักเรียนสามารถเลือกทรงผมให้เข้ากับ บุคลิกภาพ และความมั่นใจของตนเอง รวมถึงการรักษาสุขอนามัยที่ดีให้เหมาะสมกับความเป็น นักเรียน ข้อ 8 ให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้งก�ากับ ดูแลให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ให้มี อ�านาจพิจารณาตีความวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ และน�าเสนอผู้อ�านวยการ โรงเรียนเพื่อพิจารณา ให้ไว้ ณ วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2566 (นายชาลี วัฒนเขจร) ผู้อ�านวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 64


การแต่งกาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น (ชาย) การแต่งกายของนักเรียน ส.ก.ร. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ชุดนักเรียนชาย ม.ต้น คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 65


การแต่งกาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น (หญิง) การแต่งกายของนักเรียน ส.ก.ร. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ชุดนักเรียนหญิง ม.ต้น คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 66


การแต่งกาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย (ชาย) การแต่งกายของนักเรียน ส.ก.ร. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ชุดนักเรียนชาย ม.ปลาย คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 67


การแต่งกายของนักเรียน ส.ก.ร. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL การแต่งกาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย (หญิง) ชุดนักเรียนหญิง ม.ปลาย คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 68


การแต่งกายของนักเรียน ส.ก.ร. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL ชุดนักศึกษาวิชาทหาร (รด.) ชุดเครื่องแบบ ลูกเสือ - เนตรนารี ชุดพลศึกษา คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 69


ระเบียบการไว้ทรงผมของนักเรียน ส.ก.ร. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 70


ฝ่ายบริหาร วิชาการ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 71


การพัฒนาหลักสูตรเพื่อยกระดับผู้เรียนเข้าสู่มาตรฐานสากลมีศักยภาพเป็นพลโลก โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ด�าเนินการดังนี้ 1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาอังกฤษ เน้นให้ผู้เรียนสามารถสื่อสารได้ 1.1 นักเรียนเรียนภาษาอังกฤษกับเจ้าของภาษาทุกระดับชั้น 1.2 เปิดรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมวิชา ฟัง-พูด / อ่าน-เขียน ทุกระดับชั้นใน กลุ่มการเรียนปกติและรายวิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมวิชา ฟัง-พูด / อ่าน-เขียน ในกลุ่มการ เรียน EP (English program) และกลุ่มการเรียน GEP (Gifted education program) 2. จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษในกลุ่มการเรียน EP ( English program) ทุกระดับชั้น ไม่น้อยกว่า 18 คาบ/สัปดาห์ 3. เปิดรายวิชา ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาอังกฤษ, ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และ ภาษาจีน, ภาษาญี่ปุ่น, คอมพิวเตอร์, โครงงานวิทยาศาสตร์, เสริมทักษะอาชีพ ในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย 4. จัดรายวิชาเพิ่มเติมมาตรฐานสากลให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS : Independent Study) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 4.1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 1) การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation : IS1) จ�านวน 1.0 หน่วยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 2) การสื่อสารและการน�าเสนอ (Communication and Presentation : IS2) จ�านวน 1.0 หน่วยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ (Global Education and Social Service Activity : IS3) จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนน�าสิ่งที่เรียนรู้ หรือประสบการณ์จากรายวิชาเพิ่มเติม IS1 และ IS2 มาบริการสังคมและน�าเสนอ ต่อชุมชนในงานเปิดลานวิชาการบ้านสวนฯ รังสิต โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต สู่มาตรฐานสากล ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 72


4.2 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 1) การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation : IS1) จ�านวน 1.0 หน่วยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 2) การสื่อสารและการน�าเสนอ (Communication and Presentation : IS2) จ�านวน 1.0 หน่วยกิต ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ (Global Education and Social Service Activity : IS3) จัดในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนน�าสิ่งที่เรียนรู้ หรือประสบการณ์จากรายวิชาเพิ่มเติม IS1 และ IS2 มาบริการสังคมและน�าเสนอต่อชุมชน ในงานเปิดลานวิชาการบ้านสวนฯ รังสิต คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 73


กรอบโครงสร้างเวลาเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ปีการศึกษา 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ส.ก.ร. (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต SUANKULARBWITTAYALAI RANGSIT SCHOOL กรอบโครงสร้างเวลาเรียน โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ปีการศึกษา 2566 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. นก. ชม. ภาษาไทย 3 120 3 120 3 120 6 240 คณิตศาสตร์ 3 120 3 120 3 120 6 240 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 160 4 160 4 160 7 280 สังคมศึกษาฯ 3 120 3 120 3 120 6 240 ประวัติศาสตร์ 1 40 1 40 1 40 2 80 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 80 2 80 2 80 3 120 ศิลปะ 2 80 2 80 2 80 3 120 การงานอาชีพ 1 40 1 40 1 40 2 80 ภาษาต่างประเทศ 3 120 3 120 3 120 6 240 รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) 22 880 22 880 22 880 41 1,640 รายวิชาเพิ่มเติม ปีละไม่น้อยกว่า 200 ชม. ไม่น้อยกว่า 1,600 ชม. หน้าที่พลเมือง (เพิ่มเติม) 1 1 1 2 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้(IS1) จัดในชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 1 จัดในชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 การสื่อสารและการนำเสนอ (IS2) จัดในชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2 จัดในชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 2 การนำองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (IS3) จัดในชั้น ม.2 ภาคเรียนที่ 2 จัดในชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้สวนกุหลาบศึกษา บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้และจัดในชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และจัดในชั่วโมงกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สาระการเรียนรู้ต้านทุจริต บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ บูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1 1 1 0 360 - กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 120 - กิจกรรมนักเรียน ลูกเสือ เนตรนารี/นักศึกษาวิชาทหาร กิจกรรมชุมนุม 40 30 40 30 40 30 120 - กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 10 10 10 120 รวมเวลาเรียนทั้งหมด ไม่น้อยกว่า 1,200 ชม./ปี รวม 3 ปี ไม่น้อยกว่า 3,600 ชม.กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้เรียน เพิ่ม เวลา รู้ เวลา เรียน เพิ่ม เวลา รู้ ลด เวลา เรียน เพิ่ม เวลา รู้ คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 74


คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 75


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ กลุ่มการเรียน EP (English Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.101-102, ม.201-202, ม.301-302) ส.ก.ร. โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ กลุ่มการเรียน EP English Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.101-102, ม.201-202, ม.301-302) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 3 3 9 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ภาษาต่างประเทศ 3 3 3 9 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 รวม 11 11 11 33 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 33 33 99 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 76


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของ สสวท. และ สอวน. กลุ่มการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.103-106, ม.203-206) ส.ก.ร. โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของ สสวท. และ สอวน. กลุ่มการเรียน GEP Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.103-106, ม.203-206) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 3 3 9 ภาษาไทย 0.5 1 - 1.5 ภาษาต่างประเทศ 1 1 1 3 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 เลือกเสรี 2 2 2 6 รวม 9.5 10 9 28.5 • รายวิชาเพิ่มพูนประสบการณ์ คณิตศาสตร์ - 1 1 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 - 1 2 รวม 1 1 2 4 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32.5 33 33 98.5 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ กลุ่มการเรียน EP English Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.101 102, ม.201 202, ม.301 302) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 3 3 9 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ภาษาต่างประเทศ 3 3 3 9 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 รวม 11 11 11 33 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 33 33 99 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 77


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของ สสวท. และ สอวน. กลุ่มการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.303-306) ส.ก.ร. โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ตามแนวทางของ สสวท. และ สอวน. กลุ่มการเรียน GEP Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.303-306) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 3 3 9 ภาษาไทย 0.5 1 - 1.5 ภาษาต่างประเทศ (จีน-ญี่ปุ่น-อังกฤษ) 3 3 3 9 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 รวม 9.5 10 9 28.5 • รายวิชาเพิ่มพูนประสบการณ์ คณิตศาสตร์ - 1 1 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 - 1 2 รวม 1 1 2 4 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32.5 33 33 98.5 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 78


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.107-ม.112, ม.207-212) ส.ก.ร. แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.107-ม.112, ม.207-212) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 3 3 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 1 3 7 ภาษาไทย 1 - - 1 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) - 2 - 2 การงานอาชีพ - 1 1 2 เลือกเสรี 2 1 1 4 รวม 11 11 11 33 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 33 33 99 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 79


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.307-309) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.307-309) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 3 3 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 1 3 7 ภาษาไทย 1 - - 1 ภาษาต่างประเทศ (จีน-ญี่ปุ่น-อังกฤษ) 4 4 4 12 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) - 2 - 2 รวม 11 11 11 33 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 33 33 99 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 80


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.310-312) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.310-312) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 3 3 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 1 3 7 ภาษาไทย 1 - - 1 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 การงานอาชีพ - 1 1 2 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) - 2 - 2 เลือกเสรี - 1 1 2 รวม 9 11 11 31 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31 33 33 97 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 81


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนทั่วไป ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.113-114, ม.213-214) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนทั่วไป ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.113-114, ม.213-214) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 - - 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 1 2 6 ภาษาไทย 1 - 1 2 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - - 1 1 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 การงานอาชีพ - 2 1 3 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) - 2 - 2 เลือกเสรี 2 2 2 4 รวม 11 10 10 31 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 33 32 32 97 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 82


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนทั่วไป ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.313-314) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนทั่วไป ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.313-314) กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.1 ม.2 ม.3 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 3 3 3 9 คณิตศาสตร์ 3 3 3 9 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - วิทยาศาสตร์ 3 3 3 9 - เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1 1 1 3 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - สังคมศึกษา 2 2 2 6 - ประวัติศาสตร์ 1 1 1 3 - พระพุทธศาสนา 1 1 1 3 ศิลปะ - ทัศนศิลป์ 1 0.5 0.5 2 - ดนตรี 0.5 0.5 1 2 - นาฏศิลป์ 0.5 1 0.5 2 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 1 1 3 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 3 3 3 9 รวม 22 22 22 66 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 2 - - 2 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3 1 2 6 ภาษาไทย 1 - 1 2 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - - 1 1 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 การงานอาชีพ - 2 1 3 เลือกเสรี - 2 2 4 หน้าที่พลเมือง 1 1 1 3 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) - 2 - 2 รวม 9 10 10 29 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมชุมนุมและกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31 32 32 95 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 83


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ กลุ่มการเรียน EP (English Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.401-402, ม.501-502, ม.601-602) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษ กลุ่มการเรียน ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ม ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4.5 2.5 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 14.5 12.5 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 9.5 8 24.5 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ภาษาต่างประเทศ 4 4 4 12 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 17.5 20.5 18.5 56.5 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32 33 32.5 97.5 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 84


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ กลุ่มการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.403-404, ม.503-505) ส.ก.ร. แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ กลุ่มการเรียน ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 - - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 17 10 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 12 10 27 ภาษาต่างประเทศ 3 3 3 9 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 เลือกเสรี 2 2 1 5 รวม 14.5 22 18.5 55 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31.5 32 32.5 96 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 85


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ กลุ่มการเรียน GEP (Gifted Education Program) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.603-605) ส.ก.ร. แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ กลุ่มการเรียน ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 - - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 17 10 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 12 10 27 ภาษาต่างประเทศ 3 3 3 9 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 เลือกเสรี 2 2 1 5 รวม 14.5 22 18.5 55 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31.5 32 32.5 96 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 86


แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 1 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 16 11 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 12 10 29 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 เลือกเสรี 2 2 1 5 รวม 15.5 21 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31.5 32 31.5 95 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.405-409, ม.506-509) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 87


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.606-607) ส.ก.ร. แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 1 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 16 11 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 12 10 29 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 เลือกเสรี 2 2 1 5 รวม 15.5 21 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 31.5 32 31.5 95 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 88


แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 1 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 16 11 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 12 10 29 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 การงานอาชีพ 1 - - 1 เลือกเสรี - 2 1 3 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 14.5 21 17.5 53 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 30.5 32 31.5 94 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.608-609) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 89


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนภาษาอังกฤษ - คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.410-412, ม.510-512, ม.610-612) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียนภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ม ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 1 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 16 11 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 4 4 4 12 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 3 4 7 ภาษาต่างประเทศ 5 5 5 15 การงานอาชีพ 1 2 1 4 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - 1 - 1 เลือกเสรี - 2 1 3 เสริมทักษะอาชีพ 2 - - 2 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) 2 - - 2 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 16.5 20 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32.5 31 31.5 95 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 90


คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียน ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ม ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.5 1.5 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 15.5 11.5 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย - 2 2 4 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 3 4 7 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 4 5 2 11 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาญี่ปุ่น) 9 9 9 27 การงานอาชีพ 1 - - 1 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) 2 - - 2 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 16.5 20 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32 31.5 31.5 95 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียน ภาษาอังกฤษ - ภาษาญี่ปุ่น ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.413, ม.513, ม.613) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 91


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียน ภาษาอังกฤษ - ภาษาจีน ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.414, ม.514, ม.614) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนหน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนปกติ กลุ่มการเรียน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ม ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 2 2 2 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.5 1.5 - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 15.5 11.5 14 41 • รายวิชาเพิ่มเติม ภาษาไทย - 2 2 4 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 3 4 7 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 4 4 2 10 ภาษาต่างประเทศ (ภาษาจีน) 9 9 9 27 การงานอาชีพ 1 - - 1 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม - 1 - 1 การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS) 2 - - 2 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 16.5 20 17.5 54 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 32 31.5 31.5 95 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 92


แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย โครงการ วมว มธ สกร ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 3 3 - 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7.5 - - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 18.5 11 12 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 3 3 2 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 14.5 13.5 33 ภาษาต่างประเทศ 2 1 - 3 เลือกเสรี - 1 2 3 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 10.5 20.5 18 49 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ พบผู้เชี่ยวชาญ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 29 31.5 30 90.5 โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก�ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว. มธ.-สกร) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.415-416, ม.515-516) ส.ก.ร. คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 93


โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการก�ากับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว. มธ.-สกร) ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.615-616) ส.ก.ร. แก้ไขคู่มือนักเรียน หน้า โครงสร้างหลักสูตรห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย โครงการ วมว มธ สกร ปีการศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ม กลุ่มสาระการเรียนรู้/กิจกรรม จำนวนหน่วยกิต ม.4 ม.5 ม.6 รวม • รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย 2 2 2 6 คณิตศาสตร์ 3 3 - 6 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7 - - 7 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 2 2 6 ประวัติศาสตร์ - - 2 2 ศิลปะ 1 1 1 3 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1 1 3 การงานอาชีพ - - 2 2 ภาษาต่างประเทศ 2 2 2 6 รวม 18 11 12 41 • รายวิชาเพิ่มเติม คณิตศาสตร์ 3 3 2 8 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 14.5 13.5 33 ภาษาต่างประเทศ 2 - - 2 เลือกเสรี (ภาษาอังกฤษ/ภาษาญี่ปุ่น) - 2 2 4 หน้าที่พลเมือง 0.5 1 0.5 2 รวม 10.5 20.5 18 49 • กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ พบผู้เชี่ยวชาญ รวมหน่วยกิตทั้งหมด 28.5 31.5 30 90 คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 94


ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) --------------------------------------------------------------------- โดยที่ได้ประกาศใช้หลักสูตรโรงเรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 ตามค�าสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สพฐ 293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จึงเป็นการสมควรที่ก�าหนดระเบียบ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ว่าด้วยการวัดและ ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ ปรับปรุง พ.ศ. 2560) เพื่อให้สามารถด�าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับ ค�าสั่งดังกล่าว ฉะนั้น อาศัยอ�านาจตามความในมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556 และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร และงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยความเห็นชอบของคณะ กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้ ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ว่าด้วยการ วัดและประเมินผล การเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)” ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกระเบียบ ข้อบังคับ ที่ขัดแย้งกับระเบียบนี้ให้ใช้ระเบียบนี้แทน ข้อ 4 ระเบียบนี้ให้ใช้ควบคู่กับหลักสูตรโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ข้อ 5 ให้ผู้อ�านวยการสถานศึกษา รักษาการให้เป็นไปตามระเบียบนี้ “โรงเรียน” หมายความว่า “โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” “ผู้อ�านวยการ” หมายความว่า “ผู้อ�านวยการโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” “ครู” หมายความว่า “ครูโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” “บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า “บุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน สวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต” คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 95


“ผู้ปกครอง” หมายความว่า “บิดามารดา ผู้ใช้อ�านาจปกครองตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ รวมทั้งบุคคลซึ่งรับนักเรียนไว้ในความปกครอง แทนบิดามารดา” หมวด 1 หลักการด�าเนินการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อ 6 การประเมินผลการเรียน ให้เป็นไปตามหลักการด�าเนินการต่อไปนี้ 6.1 สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม 6.2 การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนและ ตัดสินผลการเรียน 6.3 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัดตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ก�าหนดในหลักสูตรสถานศึกษา และจัดให้มีการ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตลอดจนกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียน 6.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการจัดการเรียน การสอน ต้องด�าเนินการด้วยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถวัดและประเมิน ผลผู้เรียนได้อย่างรอบด้านทั้งด้านความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ เหมาะสมกับสิ่งที่ต้องการวัด ธรรมชาติวิชา และระดับชั้น ของผู้เรียน โดยตั้งอยู่บนพื้น ฐานของความเที่ยงตรง ยุติธรรมและเชื่อถือได้ 6.5 การประเมินผู้เรียนพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการ เรียนการสอนตามความเหมาะสมของ แต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา 6.6 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ 6.7 ให้มีการเทียบโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษาและระหว่างรูปแบบการ ศึกษาต่าง ๆ 6.8 ให้สถานศึกษาจัดท�าและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา เพื่อเป็นหลักฐาน การประเมินผลการเรียนรู้ รายงานผลการเรียนแสดงวุฒิการศึกษาและรับรองผลการเรียน ของผู้เรียน หมวด 2 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อ 7 สถานศึกษาต้องด�าเนินการวัดและประเมินผลให้ครบองค์ประกอบทั้ง 4 ด้าน คือ กลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง Student Handbook โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รังสิต Suankularbwittayalai Rangsit School 96


Click to View FlipBook Version