The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Chaklis Pimpa, 2022-06-11 11:24:16

รายงานU2T

รายงานU2T

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ

(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

สำนักงานหน่วยปฏิบัติการส่วนหน้ากระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
เพื่อการขับเคลื่อนไทยไปด้วยกัน (อว. ส่วนหน้าจังหวัดชัยนาท)



รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

สารบัญ
1
บทสรุปผู้บริหาร

3บทนำ

รายงานสรุปตัวชี้วัดการดำเนินงาน 5
ระดับตำบลและระดับสถาบันของ 6
โครงการระดับจังหวัด

สรุป TPMAP ก่อนและหลัง

การสังเคราะห์องค์ความรู้ เทคโนโลยี 9
และนวัตกรรม เพื่อข้อเสนอจังหวัด
6 ด้าน

12แนวทางการพัฒนา 9 พื้นที่ต้นแบบ
เพื่อเสนอจังหวัด

ผลการศึกษาผลกระทบเชิง

21เศรษฐกิจและสังคมรายจังหวัด

ของโครงการ U2T ด้วยเครื่องมือ
SROI

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

สารบัญ

21 รายงานผลการวิเคราะห์ THAILAND
COMMUNITY BIG DATA
ข้อเสนอจังหวัดจากการวิเคราะห์ GAP

29 ANALYSIS เพื่อต่อยอดงานการ
พัฒนาจังหวัด

37 เรื่องเล่าความสำเร็จ
39 ภาคผนวก

รายงานผลการดำเนินงาน


11.9% 35.7%
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

21.4%
บทสรุป ผู้บริหาร
คณะทำงานหน่วยปฏิบัติการ อว. ส่วนหน้าจังหวัด

ชัยนาท โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ได้ขับ 31%
เคลื่ อนการดำเนินงานตามนโยบายของกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ใน ตำบลที่ยังไม่สามารถอยู่รอด
การกำกับติดตามโครงการสำคัญของกระทรวง คือ ตำบลที่อยู่รอด
โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล ตำบลมุ่งสู่ความพอเพียง
แบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้ว ตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน
ให้ประเทศ) เพื่อพัฒนาคนในชุมชนให้มีชีวิตความ
เป็นอยู่ที่ดีขึ้น ผ่านการนำองค์ความรู้ของสถาบัน

อุดมศึกษา สนับสนุนนโยบายขับเคลื่อนไทยไปด้วย 0.2
กัน

24.6
โดยมีสถาบันอุดมศึกษาทั้ง 5 แห่ง เข้าร่วมดำเนิน
โครงการ ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา สถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลกรุงเทพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
และมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม รวมทั้งสิ้น 42
ตำบล

เกิดการจ้างงานบัณฑิต ประชาชน และนักศึกษา

รวมทั้งสิ้น 840 คน มีการจัดการโครงการพัฒนา 52.0
ศักยภาพในการพัฒนาทักษะของพนักงาน 4 ด้าน

ได้แก่ Digital Literacy , English Literacy , 8.3
Financial Literacy และ Social Literacy เพื่อให้


ผู้รับการจ้างงานและคนในพื้นที่มีความพร้อมกับการ 15

ประกอบอาชีพและช่วยเหลือตนเอง นอกจากนี้การ ด้านเศรษฐกิจ มูลค่า 197.6 ล้านบาท
ด้านศักยภาพ มูลค่า 56.9 ล้านบาท
ดำเนินการพัฒนาเชิงพื้นที่ของสถาบันอุดมศึกษา มี ด้านการมีส่วนร่วมฯ 31.4 ล้านบาท
กิจกรรมเกิดขึ้นทั้งสิ้น 376 กิจกรรม สามารถ ด้านสุขภาวะ 93.5 ล้านบาท
ด้านสิ่งแวดล้อม 0.6 ล้านบาท
พัฒนาคน พัฒนาชุมชน พัฒนากลุ่มวิสาหกิจชุมชน
379.9 ล้านบาท
ต่อยอดทำให้เกิดรายได้เพิ่มรายได้เศรษฐกิจและการ
เงินมากขึ้น 197.6 ล้านบาท* และมูลค่าผลลัพท์รวม
379.9 ล้านบาท

1

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

บทสรุป ผู้บริหาร 30 ตำบลที่ยังไม่สามารถอยู่รอด
จากการดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจและ 20 ตำบลที่อยู่รอด
สังคมรายตำบล แบบบูรณาการ (มหาวิทยาลัยสู่ 10 ตำบลมุ่งสู่ความพอเพียง
ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) พร้อมทั้งการขับ ตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน
เคลื่ อนการทำงานในรูปแบบคณะทำงานหน่วยปฏิบัติ 0 ก่อน หลัง

การส่วนหน้า กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์

วิจัยและนวัตกรรม เพื่อการขับเคลื่อนไทยไปด้วยกัน

โดยมีการประชุมเพื่ อการขับเคลื่ อนการทำงาน

พร้อมทั้งการลงพื้นที่เพื่อติดตาม ประเมินผล การ
ดำเนินงาน และการจัดกิจกรรมเพื่อในลักษณะการ

ส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาใช้ใน

การบูรณาการการพัฒนาพื้นที่
- ระบบ G-MAP (Geographical Area-based

Mapping)

- ระบบ TPMAP (ระบบบริหารจัดการข้อมูลการ
พัฒนาคนแบบชี้เป้า)

- ระบบ AIT , ระบบรักษ์น้ำ RakNam ,
navanurak , ระบบBigStream , ระบบบริหาร
จัดการปฏิทิน การเพาะปลูกพืช ,
SMART CITY และระบบงานอื่นๆ ที่เป็นนวัตกรรม

พร้อมใช้ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์

วิจัยและนวัตกรรม เพื่อนำมาปรับใช้ในการแก้ไข

ปัญหาของประชาชน และร่วมพัฒนาชุมชนสังคมให้

ดียิ่งขึ้น
สำนักงานหน่วยปฏิบัติการส่วนหน้า กระทรวงการ

อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อ
การขับเคลื่อนไทยไปด้วยกัน (อว.ส่วนหน้าจังหวัด
ชัยนาท) ขอสานต่อภารกิจของกระทรวงเพื่อพัฒนา

ชุมชนสังคม และชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนชาว

จังหวัดชัยนาท ให้ดียิ่งขึ้นต่อไป

2

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

บทนำ

ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัดชัยนาท โดยตำบลที่มีการดำเนินการโครงการ U2T ใน
จังหวัดชัยนาท เมืองแห่งชัยชนะ สันนิษฐาน ปีงบประมาณ 2564 ในพื้นที่จังหวัดชัยนาท
มีทั้งสิ้น 42 ตำบล โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเข้า
ว่าคงจะสร้างขึ้นในสมัย พญาเลอไท ครองกรุง ร่วมทำงานในพื้นที่จังหวัดชัยนาท จำนวน 5
สุโขทัย ระหว่าง พ.ศ. 1860–1879 เมืองแห่งนี้
จึงได้ชื่อว่า เมืองแพรกหรือเมืองสรรค์ ลักษณะ สถาบัน ประกอบด้วย สถาบันเทคโนโลยี
ภูมิประเทศ โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม จิตรลดา รับผิดชอบ 1 ตำบล สถาบันบัณฑิต
ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดนครสวรรค์และอุทัยธานี พัฒนบริหารศาสตร์ รับผิดชอบ 29 ตำบล
ทิศใต้ ติดกับจังหวัดสิงห์บุรีและสุพรรณบุรี
ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดนครสวรรค์และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ รับ
สิงห์บุรี ผิดชอบ 3 ตำบล มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดอุทัยธานี รับผิดชอบ 1 ตำบล และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
ลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่สูง ที่ราบ ที่ราบลุ่ม จันทรเกษม รับผิดชอบ 8 ตำบล
และมีพื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้น มีภูเขาสลับเป็นบาง
ช่วง โดยมีลักษณะที่สูงจากทิศตะวันตกและทิศ สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา (1 ตำบล)
เหนือลาดสู่ที่ราบส่วนใหญ่ตอนกลางและตอนใต้ ตำบลกุดจอก อำเภอหนองมะโมง
ของจังหวัด ซึ่งเกิดจากการ ทับถมของตะกอน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (29 ตำบล)
ริมแม่น้ำเป็นเวลานานจนตื้นเขินกลายเป็นที่ราบ ตำบลกะบกเตี้ย ตำบลเขาแก้ว ตำบลเขาท่าพระ ตำบลคุ้งสำเภา ตำบลชัยนาท ตำบลดง
มีแม่น้ำไหลผ่านทั้ง 3 สาย คือ แม่น้ำเจ้าพระยา คอน ตำบลดอนกำ ตำบลท่าชัย ตำบลนางลือ ตำบลเนินขาม ตำบลในเมือง ตำบล
แม่น้ำท่าจีน และแม่น้ำน้อย บ่อแร่ ตำบลบางขุด ตำบลบางหลวง ตำบลบ้านกล้วย ตำบลมะขามเฒ่า ตำบลไร่
พัฒนา ตำบลวังหมัน ตำบลวัดโคก ตำบลวัดสิงห์ ตำบลศิลาดาน ตำบลสุขเดือนห้า
จังหวัดชัยนาท แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ตำบลเสือโฮก ตำบลหนองขุ่น ตำบลหนองน้อย ตำบลหนองบัว ตำบลห้วยกรดพัฒนา
8 อำเภอ ประกอบด้วย อำเภอเมืองชัยนาท ตำบลหาดท่าเสา และตำบลอู่ตะเภา
อำเภอมโนรมย์ อำเภอสรรพยา อำเภอวัดสิงห์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (3 ตำบล)
อำเภอหนองมะโมง อำเภอสรรคบุรี อำเภอหันคา ตำบลหางน้ำสาคร ตำบลวังตะเคียน ตำบลวังไก่เถื่อน
และอำเภอเนินขาม มีตำบลทั้งหมด 53 ตำบล มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี (1 ตำบล)
ตำบลธรรมมูล อำเภอเมืองชัยนาท
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม (8 ตำบล)
ตำบลแพรกศรีราชา ตำบลห้วยกรด ตำบลเที่ยงแท้ ตำบลโพงาม ตำบลตลุก ตำบล
ห้วยงู ตำบลบ้านเซี่ยน และตำบลท่าฉนวน

3

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

บทนำ วัฒนธรรมและประเพณี

คำขวัญประจำจังหวัด: หลวงปู่ศุขลือชา งานมหกรรมหุ่นฟางนก การนำฟางข้าวที่ไม่ได้ใช้ทำประโยชน์ มา
ประดิษฐ์เป็นรูปนกขนาดใหญ่หลายชนิด โดยนก แต่ละชนิด นำมา
เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้ม ติดตั้งบนรถแต่ละคัน ซึ่งตกแต่งไว้อย่างสวยงามเป็นรูปขบวน
หลังจากการ ประกวดหุ่นฟางนกทั้งหมดจะนำมาตั้งแสดงที่บริเวณ
โอดกขาวแตงกวา สนามหน้าศาลากลางจังหวัด กำหนดจัดงานประมาณต้นเดือน
ตราประจำจังหวัด: รูปพระธรรมจักร กุมภาพันธ์ของทุกปี นอกจากนี้ ในบริเวณงานจะมีการออกร้าน
จำหน่ายสินค้าพื้นเมือง และผลิตผลทางการเกษตร
รองรับด้วยพญาครุฑ เบื้องหลังเป็นแม่น้ำ งานส้มโอชัยนาท ชัยนาทเป็นจังหวัดที่สามารถปลูกส้มโอทุกพันธุ์
ได้ผลดี ส้มโอสายพันธุ์ที่มีชื่อเสียงของจังหวัดชัยนาทคือ ส้มโอ
และภูเขา ซึ่งหมายถึงสัญลักษณ์รูปพระ พันธุ์ขาวแตงกวา ซึ่งมีลักษณะพิเศษดังนี้คือ ผลกลม ผิวเรียบ
เปลือกบาง รสหวานกรอบอมเปรี้ยวนิด ๆ ไม่มีรสขม ปัจจุบัน
ธรรมจักรที่ประดิษฐานอยู่ ณ วิหารวัดธร จังหวัดเร่งส่งเสริมให้เกษตรกรชาวสวนปลูกกันเป็นอาชีพและจัด
งานส้มโอชัยนาทเป็นประจำทุกปี
รมามูลวรวิหาร ตั้งอยู่บนไหล่เขาธรรมามูล
ธงประจำจังหวัด: เป็นรูปตราประจำจังหวัด
บนพื้นสีบานเย็น (magenta) ซึ่งเป็นสี

ประจำจังหวัด
ต้นไม้ประจำจังหวัด: มะตูม (Aegle
marmelos)

ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกชัยพฤกษ์
(Cassia javanica)

สัตว์น้ำประจำจังหวัด: ปลาแดง
(Phalacronotus bleekeri)

สำนักงานหน่วยปฏิบัติการส่วนหน้ากระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อการ
ขับเคลื่อนไทยไปด้วยกัน (อว. ส่วนหน้าจังหวัดชัยนาท)
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท
อาคารแม่ทองคำ เมฆโต ชั้น 2 หมู่ 8 ถนนสุพรรณบุรี-ชัยนาท
ตำบลแพรกศรีราชา อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท 17140
โทร 0 5648 244 4 ต่อ 112
ระบบ VOIP: 02-942-5800 , 02-942-6800 ต่อ 1236

4

ร า ย ง า น ส รุ ป ตั ว ชี้ วั ด ก า ร
ดำ เ นิ น ง า น ร ะ ดั บ ตำ บ ล แ ล ะ

ร ะ ดั บ ส ถ า บั น อุ ด ม ศึ ก ษ า

โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้ า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ )

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ร า ย ง า น ส รุ ป กิ จ ก ร ร ม ทั้ ง 4 2 ตำ บ ล

การประเมินศักยภาพตำบล ตามเป้าหมาย 16 ด้าน เพื่ อให้เกิดกิจกรรมการยกระดับ
เศรษฐกิจและสังคมแบบบูรณาการ และฟื้ นฟูเศรษฐกิจในพื้ นที่ที่มีความครบคลุมใน
ประเด็นการพัฒนาตำบล

กิจกรรมการพัฒนาจังหวัด ภาพรวมของการ ก่อน และหลัง การดำเนินโครงการ

พัฒนาเชิงพื้ นที่ของสถาบันอุ ดมศึกษาที่มีการ ตำบลที่ยังไม่สามารถอยู่รอด
ตำบลที่อยู่รอด
ดำเนินการในพื้ นที่จังหวัดชัยนาท ประกอบด้วย ตำบลมุ่งสู่ความพอเพียง
ตำบลมุ่งสู่ความยั่งยืน
กิจกรรมทั้งหมด
30
การพัฒนาสัมมาชีพและสร้างอาชีพใหม่ (การยกระดับ
สินค้า OTOP/อาชีพอื่ นๆ) 20
การสร้างและพัฒนา Creative Economy (การยก
ระดับการท่องเที่ยว) 10
การนำองค์ความรู้ไปช่วยบริการชุมชน (Health
Care/เทคโนโลยีด้านต่างๆ) 0 หลัง
การส่งเสริมด้านสิ่งแวดล้อม/Circular Economy ก่อน
( ก า ร เ พิ่ ม ร า ย ไ ด้ ห มุ น เ วี ย น ใ ห้ แ ก่ ชุ ม ช น )
อื่ นๆ

“เมืองเกษตรมาตรฐาน ย่านท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
มุ่งสู่สิ่งแวดล้อมสมดุลและสังคมเป็นสุข”

6

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ T P M A P พื้ น ที่ 4 2 ตำ บ ล

การประเมินศักยภาพของตำบลก่อนและหลังดำเนินโครงการ โดยใช้ข้อมูลจาก TPMAP
ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and
Analytics Platform)

ระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เป้า (Thai ก่อนการดำเนินโครงการ
Poverty Map and Analytics Platform) หลังการดำเนินโครงการ

ให้สามารถครอบคลุมปัญหาที่กว้างขึ้น เช่น เด็ก
แรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพที่
อยู่อาศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิม
ในการชี้เป้าความยากจนไว้ด้วย TPMAP จึง
ส า ม า ร ถ ใ ช้ ร ะ บุ ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น ใ น ร ะ ดั บ บุ ค ค ล
ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ
เพื่ อการพัฒนาชุมชนและสังคม ได้ตรงประเด็น
ตามความมุ่งหมายของโครงการยกระดับ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)
จากการดำเนินงานภาพรวมของสถาบัน
อุ ดมศึกษา 5 สถาบันพบว่ามีผลจากดำเนินงานดี
ขึ้นทุกด้าน โดยเฉพาะด้านการศึกษาและด้านการ
เข้าถึงบริการรัฐ พร้อมทั้งด้านความเป็นอยู่ของ
ประชาชนชาวจังหวัดชัยนาท

“เมืองเกษตรมาตรฐาน ย่านท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
มุ่งสู่สิ่งแวดล้อมสมดุลและสังคมเป็นสุข”

7

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ T P M A P พื้ น ที่ 4 2 ตำ บ ล

การประเมินศักยภาพของตำบลก่อนและหลังดำเนินโครงการ โดยใช้ข้อมูลจาก TPMAP
ระบบบริหารจัดการข้อมูลการพัฒนาคนแบบชี้เป้า (Thai People Map and
Analytics Platform)

ระบบบริหารจัดการข้อมูลคนจนแบบชี้เป้า (Thai ก่อนการดำเนินโครงการ
Poverty Map and Analytics Platform) หลังการดำเนินโครงการ

ให้สามารถครอบคลุมปัญหาที่กว้างขึ้น เช่น เด็ก
แรกเกิด การศึกษา ผู้สูงอายุ การพัฒนาสภาพที่
อยู่อาศัย โดยยังคงความสามารถของระบบเดิม
ในการชี้เป้าความยากจนไว้ด้วย TPMAP จึง
ส า ม า ร ถ ใ ช้ ร ะ บุ ปั ญ ห า ค ว า ม ย า ก จ น ใ น ร ะ ดั บ บุ ค ค ล
ครัวเรือน ชุมชน ท้องถิ่น/ท้องที่ จังหวัด ประเทศ
เพื่ อการพัฒนาชุมชนและสังคม ได้ตรงประเด็น
ตามความมุ่งหมายของโครงการยกระดับ
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)
จากการดำเนินงานภาพรวมของสถาบัน
อุ ดมศึกษา 5 สถาบันพบว่ามีผลจากดำเนินงานดี
ขึ้นทุกด้าน โดยเฉพาะด้านการศึกษาและด้านการ
เข้าถึงบริการรัฐ พร้อมทั้งด้านความเป็นอยู่ของ
ประชาชนชาวจังหวัดชัยนาท

“เมืองเกษตรมาตรฐาน ย่านท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้
มุ่งสู่สิ่งแวดล้อมสมดุลและสังคมเป็นสุข”

8

ก า ร สั ง เ ค ร า ะ ห์ อ ง ค์ ค ว า ม รู้
เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม
เ พื่ อ เ ป็ น ข้ อ เ ส น อ จั ง ห วั ด 6 ด้ า น

โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้ า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ )

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

การเชื่อมโยงโจทย์เพื่อการวิจัยของโครงการ U2T

กับแผนวิจัยระดับสถาบันอุดมศึกษาและปัญหาระดับจังหวัด

จากการดำเนินโครงการ U2T (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) การดำเนินงานของสถาบัน
อุดมศึกษาที่ขับเคลื่อนกระบวนการทำงานเชิงพื้นที่ พบว่าสามารถนำไปสู่การเชื่อมโยงโจทย์วิจัยตาม
ประเด็นต่างๆ ดังนี้

ประเด็นวิจัย โจทย์การวิจัย แผนการวิจัยและนวัตกรรม ประเด็นปัญหาจังหวัด

การเกษตร การพัฒนานวัตกรรมเพื่อ ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปัญหาต้นทุนการผลิตของ
เกษตรกร
การเกษตรอัจฉริยะ การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการสร้าง ปัญหาการควบคุมคุณภาพ
ของผลผลิต/ผลิตภัณฑ์
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ (การ ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ปัญหาภัยแล้ง/การบริหาร
จัดการน้ำอย่างยั่งยื่น
แปรรูป,บรรจุภัณฑ์และการตลาด) ประเด็นวิจัยและนวัตกรรม

การเกษตรสมัยใหม่ (Modern

agriculture)

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมเพื่อ
ส่งเสริมการผลิตอย่างสร้างสรรค์/การท่อง

เที่ยว

การท่องเที่ยวที่แข่งขันได้ มั่งคงและยั่งยืน
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) (3)

การพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อเพิ่ม ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปัญหาการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์ มูลค่า กระบวนการผลิตโดยใช้ แลละการควบคุมคุณภาพ
วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี การ การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการสร้าง ของสินค้าที่สามารถตอบ
แปรรูป การถนอมอาหาร สนองความต้องการของผู้
ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ บริโภค
ยกระดับผลิตภัณฑ์และ ต้นแบบสายพันธุ์พืช
มาตรฐานการผลิตอาหาร และ ประเด็นวิจัยและนวัตกรรม เศรษฐกิจลักษณะพิเศษ
การถนอมอาหาร การเกษตรสมัยใหม่ (Modern
agriculture) (เช่น ทนแล้ง รสชาติดี เก็บรักษาได้
ยาวนาน เหมาะกับการขนส่ง มีสาร
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมเพื่อ มูลค่าสูง)
ส่งเสริมการผลิตอย่างสร้างสรรค์/การท่อง
เที่ยว
การท่องเที่ยวที่แข่งขันได้ มั่งคงและยั่งยืน
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) (3)

การส่งเสริมการตลาดและ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปัญหาการประชาสัมพันธ์และ
พัฒนาระบบโลจิสติกส์อัจฉริยะ การพัฒนาระบบโลจิสติกส์
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา อัจฉริยะ (Smart logistics)
และกลุ่มลูกค้าที่หลากหลาย
การตลาดและระบบ สังคมและสิ่งแวดล้อม
โลจิสติกส์อัจฉริยะ
ประเด็นวิจัยและนวัตกรรม
(Smart เกษตรกร 4.0
การบริหารจัดการน้ำการเปลี่ยนแปลงสภาพ
logistics) ภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม
ศักยภาพของชุมชนและสมาชิกชุมชน

การพัฒนาการท่องเที่ยว 3 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปัญหาการประชาสัมพันธ์และ
ช่วงวัย สร้างมาตรฐานธุรกิจ ด้านการท่องเที่ยว
ทางการท่องเที่ยวและส่งเสริม การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการสร้าง
การท่องเที่ยว การท่องเที่ยววิถีใหม่
ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ

ประเด็นวิจัยและนวัตกรรม
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมเพื่อ
ส่งเสริมการผลิตอย่างสร้างสรรค์/การท่อง
เที่ยว
การท่องเที่ยวที่แข่งขันได้ มั่งคงและยั่งยืน

10

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

การเชื่อมโยงโจทย์เพื่อการวิจัยของโครงการ U2T

กับแผนวิจัยระดับสถาบันอุดมศึกษาและปัญหาระดับจังหวัด

จากการดำเนินโครงการ U2T (มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ) การดำเนินงานของสถาบัน
อุดมศึกษาที่ขับเคลื่อนกระบวนการทำงานเชิงพื้นที่ พบว่าสามารถนำไปสู่การเชื่อมโยงโจทย์วิจัยตาม
ประเด็นต่างๆ ดังนี้

ประเด็นวิจัย โจทย์การวิจัย แผนการวิจัยและนวัตกรรม ประเด็นปัญหาจังหวัด

ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปัญหาการขาดแคนน้ำเพื่อ
ด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี การเกษตร
นำไปสู่เมืองนวัตกรรมบนฐาน การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา
สิ่งแวดล้อม การเกษตร
สังคมและสิ่งแวดล้อม

ประเด็นวิจัยและนวัตกรรม
เกษตรกร 4.0
การบริหารจัดการน้ำการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ และสิ่งแวดล้อม
ผังเมืองและการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ศักยภาพของชุมชนและสมาชิกชุมชน
การลดก๊าซเรือนกระจกและส่งเสริมการเติบโต
ที่ปล่อยคาร์บอนต่ำ

สุขภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของ ยุทธศาสตร์ที่ 2 ปัญหาการขจัดปัยหาความ
ประชาชน (การแก้ไขปัญหารายได้ ยากจนภาคประชาชน
ของประชาชน) การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนา ปัญหาด้านคุณภาพชีวิต
ความเป็นอยู่ของประชาชน
คุณภาพชีวิต สังคมและสิ่งแวดล้อม โครงสร้างพื้นฐาน
(คมนาคม)
ประเด็นวิจัยและนวัตกรรม
การป้องกันและเสริมสร้างสุขภาพ
ระบบสวัสดิการสังคม
ระบบบริการสุขภาพ

11

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

แพรกศรีราชา

พัฒนานวัตกรรมเพื่อการเกษตรอัจฉริยะ

นวัตกรรมการผลิตภัณฑ์และการส่งเสริมการตลาด
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าและนวัตกรรม
ส่งเสริมการพัฒนาภูมิปัญญาด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ การผลิตสินค้าเกษตรอาหารปลอดภัยตามมาตรฐานการผลิต GAP
การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (การตลาดเชิงวัฒนธรรม ,ถนน
วัฒนธรรม)
นวัตกรรมการผลิตภัณฑ์ (กระบอกอัดแรงดันไข่เค็ม)

การท่องเที่ยวรูปแบบวิถีใหม่ การตลาดออนไลน์ การใช้งานโซเซียลมีเดีย

การทำคอนเทนต์ การสื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์

นวัตกรรม นวัตกรรมการผลิตภัณฑ์ชุมชน และการลดต้นทุนการผลิต
กระบอกอัดแรงดันไข่เค็ม
การจัดการท่องเที่ยวเส้นทางเชิงประวัติศาสตร์
การท่องเที่ยวรูปแบบวิถีใหม่

นวัตกรรมการผลิตและลดเวลา (กระบอกอันแรงดันไข่เค็ม)
การผลิตภัณฑ์และการอนุรักษ์ส่งเสริมภูมิปัญญา (ขนมข้าวเหนียวหน้า
ควายลุย)

เทคโนโลยี

อาจารย์อรินทร์ศักดิ์ รัตนะวงษ์ 12
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

ห้วยงู

พัฒนานวัตกรรมเพื่อการเกษตรอัจฉริยะ

การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตรและเทคโนโนโลยีการเกษตร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าสู่มาตรฐานสากล
ส่งเสริมการสื่อสารทางการตลาดด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์

สร้างมาตรฐานและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวชุมชนสร้างสรรค์

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ การทำการเกษตรปลอดภัยตามมาตรฐานการผลิต GAP
การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (การจัดตลาดเชิงวัฒนธรรม)
รูปแบบการทำนาตีตาราง (การลดต้นทุน)

การท่องเที่ยวรูปแบบวิถีใหม่ การตลาดออนไลน์ การใช้งานโซเซียลมีเดีย

การทำคอนเทนต์ การสื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์

นวัตกรรม ซิงค์นาโนเพื่อการเกษตร การใช้เทคโนโลยีและวิศวกรรมทางการเกษตร
นวัตกรรมการผลิตปุ๋ยของชุมชน(ปุ๋ยคอกอัดเม็ด)

การออกแบบกระบวนการการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามต้นทุนและ
ศักยภาพของชุมชน (ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผลประโยชน์)

เทคโนโลยี ซิงค์นาโนเพื่อการเกษตร การใช้เทคโนโลยีและวิศวกรรมทางการเกษตร
นวัตกรรมการผลิตปุ๋ยของชุมชน(ปุ๋ยคอกอัดเม็ด)

การออกแบบกระบวนการการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามต้นทุนและ
ศักยภาพของชุมชน (ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผลประโยชน์)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิชิต ธิอิน 13
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

สุขเดือนห้า

นวัตกรรมอาหาร การแปรรูปอาหารของวิสาหกิจชุมชน

พัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
พัฒนาตลาดออนไลน์เพื่อการจำหน่ายผลิตภัณฑ์
แลกเปลี่ยนเรียนรู้พัฒนาสถานที่จำหน่ายสินค้าหรือตลาดชุมชน

ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ในยุคดิจิทัล

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ การพัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ชุมชน ร่วมกับผู้ประกอบการ ที่มีศักยภาพ
ในการพัฒนา ร่วมกับผู้ประกอบการในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ทั้งด้านการ
วางแผนปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ตราสินค้า และบรรจุภัณฑ์ให้ตรงกับความ
ต้องการของตลาดมากขึ้น รวมถึงการปรับปรุงช่องทางการจำหน่ายสินค้า
เดิมให้มีประสิทธิภาพ โดยการปรับปรุงรูปแบบแฟลตฟอร์มจำหน่ายสินค้า
และการขยายช่องทางการจำหน่ายสินค้าสู่แฟลตฟอร์มต่าง ๆ

นวัตกรรม ตะกร้าเชือกมัดฟาง ข้าวปลอดสารพิษ ไซรัปอ้อย กล้วยตาก
การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวตำบล
สินค้าเพื่อสุขภาพ ภายใต้แบรนด์ “เสวยสุข” ประกอบด้วย 4 ผลิตภัณฑ์

ได้แก่ น้ำมันนวดสมุนไพร ยาหม่องสมุนไพร เทียนหอม และสบู่หอม

การผลิตและการบรรจุสินค้า การจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สินค้า และการจัด

ทำเพจจำหน่ายสินค้าผ่านช่องทางออนไลน์

กล้วย อ้อย สมุนไพร ที่สามารถนำมาเพิ่มมูลค่า
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรที่มีศักยภาพในการพัฒนาเป็นท่องเที่ยว

เทคโนโลยี

14

รองศาสตราจารย์ ดร.อาวีวรรณ ปัญญาโกเมศ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

เนินขาม

ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ การสร้างอาชีพใหม่ การยกระดับสินค้า OTOP

วางแผนการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจจากผลิตภัณฑ์ชุมชน
ส่งเสริมการยกระดับฝีมือ และสร้างโอกาสในการประกอบสัมมาชีพ
ส่งเสริมการสร้างรายได้จาการประกอบสัมมาชีพของคนในชุมชน

พึ่งพาตนเองได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ ส่งเสริมการพัฒนาทักษะ การสร้างอาชีพใหม่ การยกระดับสินค้า OTOP
การวางแผนการเริ่มต้นดำเนินธุรกิจจากผลิตภัณฑ์ชุมชน
ส่งเสริมการยกระดับฝีมือชุมชน
สร้างโอกาสในการประกอบสัมมาชีพ
ผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัตถุดิบที่มีในชุมชน สู่สินค้าโอทอปของชุมชน

การทำแหนมเห็ดหน่อไม้รวก
การทำน้ำยาล้างจานสูตรสมุนไพร
การทำเสื้อพิมพ์ลายจากวัสดุธรรมชาติ

นวัตกรรม

ารนำผลิตภัณฑ์ที่มีในชุมชน
ผลิตภัณฑ์ใหม่จากวัตถุดิบที่มีในชุมชน สู่สินค้าโอทอปของชุมชน

เทคโนโลยี

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 15

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

เขาท่าพระ

การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าสู่มาตรฐานสากลอย่าง
ครบวงรร

การแปรรูปสินค้าและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (การจัดตลาดวัฒนธรรม)

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ การทำการเกษตรปลอดภัยตามมาตรฐานการผลิต GAP

การทำการแปรรูปสินค้าและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (การจัดตลาดเชิงวัฒนธรรม)

การจัดการตลาดเชิงวัฒนธรรม
การแปรรูปสินค้าและพืชผลผลิตทางการเกษตร

นวัตกรรม

เทคโนโลยีส่งเสริมการท่องเที่ยวเช่น เพจ FACEBOOK, WEBPAGE
APPLICATION, INSTAGRAM, PLATFROM ONLINE

เทคโนโลยี

16

ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.แตงอ่อน มั่นใจตน
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

ห้วยกรดพัฒนา

การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่า
การพัฒนาเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ์จากตาลโตนด
ส่งเสริมการสื่อสารทางการตลาดด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์
สร้างมาตรฐานและส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยววิถีใหม่

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ การทำการเกษตรปลอดภัยตามมาตรฐานการผลิต GAP
การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (การจัดตลาดเชิงวัฒนธรรม)

การแปรรูปสินค้าและผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร

การทำไฮครีมจากน้ำตาลโตนด

การแปรรูปและการถนอมอาหาร

นวัตกรรม

เทคโนโลยีส่งเสริมการท่องเที่ยวเช่น เพจFACEBOOK, WEBPAGE
APPLICATION, INSTAGRAM, PLATFROM ONLINE

เทคโนโลยี

17

อาจารย์ ดร.จรรยา กลัดล้อม และคณาจารย์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

ธรรมามูล

พัฒนาเกษตรอาหาร ผักปลอดภัย
การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตร /ผลิตภัณฑ์อาหารชุมชน

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าและนวัตกรรม
ส่งเสริมการสื่อสารทางการตลาดด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวชุมชนสร้างสรรค์

กระบวนการแก้ปัญหา

การจัดทำเครื่องจักรสาน
การสร้างแหล่งการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์
การผลิตผลผลิตทางการเกษตร

องค์ความรู้

การตลาดออนไลน์ การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการสร้างคุณค่าทางวัฒนธรรม

นวัตกรรม

เทคโนโลยี ซิงค์นาโนเพื่อการเกษตร การใช้เทคโนโลยีและวิศวกรรมทางการเกษตร

การออกแบบกระบวนการการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามต้นทุนและ
ศักยภาพของชุมชน (ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผลประโยชน์)

อาจารย์สนธยา สุขอิ่ม 18
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

กุดจอก

การพัฒนาระบบน้ำโดยการใช้เทคโนโลยีบาดาล
การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตร /ผลิตภัณฑ์อาหารชุมชน
การบริหารจัดการน้ำและการจัดการน้ำอย่างยั่งยื่น

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ นวัตกรรมพลังงานแสงอาทิตย์
ระบบน้ำบาลดาลและเทคโนโลยีชีวภาพ
การจัดการบริหารจัดการน้ำ
ศูนย์การเรียนรู้และศูนย์ซ่อมสร้างเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์

ศูนย์การเรียนรู้และศูนย์ซ่อมสร้างเทคโนโลยีพลังงานแสงอาทิตย์ชุมชน
พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อการบริหารจัดการน้ำบาดาล

นวัตกรรม

เทคโนโลยี ซิงค์นาโนเพื่อการเกษตร การใช้เทคโนโลยีและวิศวกรรมทางการเกษตร
นวัตกรรมการพลังงานแสงอาทิตย์
วิศวชลประทานและการบริหารจัดการน้ำอย่างยั่งยื่น

รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา กอเจริญ 19
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ตำบล

วังตะเคียน

พัฒนานวัตกรรมเพื่อการเกษตรอัจฉริยะ

การพัฒนาผลิตภาพทางการเกษตรและเทคโนโนโลยีการเกษตร
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นเพื่อเพิ่มมูลค่าและนวัตกรรม
ส่งเสริมการสื่อสารทางการตลาดด้วยแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวชุมชนสร้างสรรค์

กระบวนการแก้ปัญหา

องค์ความรู้ การทำการเกษตรปลอดภัยตามมาตรฐานการผลิต GAP
การจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (การจัดตลาดเชิงวัฒนธรรม)

การท่องเที่ยวรูปแบบวิถีใหม่ การตลาดออนไลน์ การใช้งานโซเซียลมีเดีย

การทำคอนเทนต์ การสื่อประชาสัมพันธ์ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ซิงค์นาโนเพื่อการเกษตร

การออกแบบกระบวนการการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวตามต้นทุนและ
ศักยภาพของชุมชน (ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผลประโยชน์)

นวัตกรรม

ซิงค์นาโนเพื่อการเกษตร การใช้เทคโนโลยีและวิศวกรรมทางการเกษตร
การถนอมอาหารและการแปรรูปอาหาร

เทคโนโลยี

อาจารย์รุ่งทิวา วงศ์ไพศาลฤทธิ์ 20
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า เ ชิ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย จั ง ห วั ด ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ

SOCIAL RETURN ON INVESTMENT
(SROI)

โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้ า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ )

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

SROI จังหวัดชัยนาท

8.36X

0.2
มูลค่ารวม


379.9 ล้าน 24.6

หากลงทุน 1 บาทจะได้รับผลตอบแทน

52.0
จากการลงทุนครั้งนี้ 8.36 บาท


ด้านเศรษฐกิจ มูลค่า 197.6 ล้านบาท 8.3
ด้านศักยภาพ มูลค่า 56.9 ล้านบาท
ด้านการมีส่วนร่วมฯ 31.4 ล้านบาท

ด้านสุขภาวะ 93.5 ล้านบาท 15
ด้านสิ่งแวดล้อม 0.6 ล้านบาท

สัดส่วนของผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างกลุ่ม
ผู้ได้รับประโยชน์กับกลุ่มผู้ดำเนินโครงการ

ผู้ได้รับประโยชน์ ผู้ดำเนินโครงการหลัก

56.1% เศรษฐกิจ 12.4% เศรษฐกิจ 100% IMPACT ที่เกิดขึ้น
347.5 ล้านบาท

13% ศักยภาพ 40% ศักยภาพ

100% IMPACT ที่เกิดขึ้น
21.8 ล้านบาท
4.4% การมีส่วนร่วม 39% การมีส่วนร่วม

26.4% สุขภาวะ 8.6% สุขภาวะ

0.2% สิ่งแวดล้อม 0% สิ่งแวดล้อม

22

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

23

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

24

THAILAND COMMUNITY

BIG DATA

โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้ า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ )



รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

ข้ อ มู ล ย้ า ย ถิ่ น ฐ า น จ า ก C O V I D - 1 9

ส่วนใหญ่สำเร็จการการศึกษา

ปริญญาตรี

แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ใ น จั ง ห วั ด ชั ย น า ท ย้ า ย ก ลั บ ม า จ า ก 44.4%
ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร
แหล่งท่องเที่ยว ย้านมาพร้อม
47คน
ครอบครัว
จั ง ห วั ด ป ทุ ม ธ า นี อั น ดั บ 2 71.6%
33 คน

แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว เชิงธรรมชาติ THAILAND
COMMUNITY
341 รองลงมาคือประวัติศาสตร์
และวัฒนธรรม BIG DATA
ค ร อ บ ค ลุ ม 8 อำ เ ภ อ

อ า ห า ร ป ร ะ จำ ถิ่ น แ ล ะ อ า ห า ร ถิ่ น

อาหารถิ่น

ร้ า น อ า ห า ร แกงบอน

917 รองลงมาคือ แจ๋วหม้อ ,

ค ร อ บ ค ลุ ม 8 อำ เ ภ อ แกงปลาร้าหัวตาล

พื้ น ที่ ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก ข อ ง เ ก ษ ต ร ก ร เ ก ษ ต ร ก ร แ ล ะ ก า ร เ พ า ะ ป ลู ก

รายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือน เพาะปลูก

พื้ น ที่ : ค รั ว เ รื อ น 107,470.13 บาท เกษตรกร/ คน ข้าวเจ้า 89.67%

26.97 3702 รองลงมาคือ เพาะปลูกพืช 3.96%
ค ร อ บ ค ลุ ม 8 อำ เ ภ อ เลี้ยงสัตว์ 2.79 %
ค ร อ บ ค ลุ ม 8 อำ เ ภ อ

เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ เ ค รื่ อ ง ทุ่ น แ ร ง

เพาะปลูกและเทคโนโลยี

รถเกี่ยวข้าว

ไ ม่ ใ ช้ ร ะ บ บ ห รื อ รองลงมาคือ รถไถ
เ ท ค โ น โ ล ยี / ค น เครื่องสูบน้ำ , เครื่องพ่นยา ,
โดรนพ่นยา
1780
ค ร อ บ ค ลุ ม 8 อำ เ ภ อ

27

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

THAILAND
COMMUNITY

BIG DATA

ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ภูมิปัญญาท้องถิ่น

ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น 34.5 %
ดั่ ง เ ดิ ม
นวัตกรรมที่คิดขึ้นมาใหม่
51.62%

13.86 %

ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น

เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ภู มิ ปั ญ ญ า

สวยงาม ง า น หั ต ถ ก ร ร ม

ภู มิ ปั ญ ญ
า ท้ อ ง ถิ่ น

ภู มิ ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ภู มิ ปั ญ ญ า

50.29%



ข้ อ มู ล แ ห ล่ ง น้ำ สำ คั ญ

ความต้องการที่สำคัญ

เขื่อน

แ ห ล่ ง น้ำ สำ คั ญ 31.26%

เ จ้ า พ ร ะ ย า ความต้องการแหล่งน้ำ
แ ม่ น้ำ ท่ า จี น , แ ม่ น้ำ น้ อ ย
ประปาบาดาล

71.6%

28

ข้ อ เ ส น อ จั ง ห วั ด จ า ก ก า ร
วิ เ ค ร า ะ ห์

GAP ANALYSIS

โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้ า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ )

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

A A1 พื้นที่ท่องเที่ยว เชิงนิเวศ เชิงเกษตร เชิงประวัติศาสตร์และวัฒธรรม

สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
การส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน (เช่น ตลาดน้ำ,การท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชนบ้านเขาราวเทียน
ทอง, การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ) จุดเช็ดอินของแต่ละสถานที่ เส้นทางการท่องเที่ยวหรือเส้นทาง
เสริมบุญ การท่องเที่ยวสวนส้มโอ ที่พักแบบโฮมสเตย์ กิจกรรมอนุรักษ์ และการท่องเที่ยวเชิง
นิเวศ ที่ไม่ทำลายสิ่งแวดล้อมชุมชน เพิ่มจำนวนนักท่องเที่ยว การทำการตลาด แปลงข้อมูลเชิง
พื้นที่ให้เป็นดิจิทัล ทำ VIRTUAL CITY เพิ่มจำนวนป่าไม้และพื้นที่สีเขียว

สถานะปัจจุบัน
มีการประชาสัมพันธ์การการท่องเที่ยว การจัดรายการส่งเสริมการท่องเที่ยว มีแผนที่การท่องเที่ยว
จุดเช็คอินมีน้อยยังไม่สมบูรณ์ มีสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ชุมชน วิถีชีวิต วัฒนธรรม โบราณ
สถานทรงคุณค่าเชิงประวัติศาสตร์ และมีเอกลักษณ์สำคัญ อาหารถิ่นมีความโดดเด่น

GAP
จากการวิเคราะห์ GAP พบว่ามีความต้องการคือ สถานที่ท่องเที่ยวต้องมีที่จอดรถอย่างเพียงพอ
เพื่อรองรับความต้องการของนักท่องเที่ยว พร้อมทั้งมีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้พิการ และ
อนุญาตให้นำสัตว์เลี้ยงเข้าได้

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ ระดับความสำคัญ
โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ สัมผัสอ้อมกอดเมืองสโลว์ไลฟ์
ชัยนาท H

A2 พัฒนาพื้นที่ทางสังคมเพื่อการเรียนรู้
สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
ชุมชนมีศูนย์การเรียนรู้ที่สามารถใช้เป็นพื้นที่ของคนภายในตำบลและนอกตำบล ด้านการพัฒนา
ทักษะการพัฒนาอาชีพเสริม วัฒนธรรม ภูมิปัญญา ประเพณี เทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาคุณภาพ

ชีวิต
สถานะปัจจุบัน

บางตำบลได้รับการพัฒนาการพัฒนาพื้นที่เพื่อแหล่งการเรียนรู้
GAP

ขาดศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบลเพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับความสำคัญ

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ M
โครงการแหล่งเรียนรู้ประจำตำบล สร้างงาน สร้างอาชีพ

30

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

A A3 พื้นที่ทางเกษตร

สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
การส่งเสริมการทำเกษตรกรรม (การทำนา) แบบลดต้นทุนการผลิต โดยเฉพาะการลดการใช้สาร
เคมีในภาคเกษตร พร้อมทั้งการส่งเสริมให้เกษตรกรหันมาทำนาแบบอินทรีย์ หรือแบบผสมผสาน
ลดต้นทุนการผลิต การพักภาระหนี้ของเกษตรกร ส่งเสริมคุณภาพของเม็ดพันธุ์ข้าวที่ดีให้กับ
เกษตรกร พืชที่เหมาะสมกับพื้นที่

สถานะปัจจุบัน
มีการใช้ต้นทุนการผลิตที่สูงของเกษตรกร (ชาวนา) การขาดแคนน้ำสำหรับการเกษตรกรรมหรือ
การเพาะปลูกชนิดอื่ น

GAP
จากการวิเคราะห์ GAP พบว่ามีความต้องการคือ ต้องการระบบบริหารจัดการน้ำที่ใช้อย่างเพียงพอ
ตลอดทั้งปี และการแปรรูปอาหารสำหรับอาชีพเสริม

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ
โครงการการทำนาลดต้นทุน , โครงการนาแปลงใหญ่ , โครงการส่งเสริมการเพาะปลูกตามโมเดล
"โคก หนอง นา โมเดล"

ระดับความสำคัญ

H

A4 การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัด
สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
ชุมชนและเกษตร ต้องส่งเสริมให้มีการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดชัยนาท คือ ส้มโอขาว
แตงกวา เพื่อเป็นอาชีพเสริมให้แก่เกษตรกรในช่วงมิได้ทำนา

สถานะปัจจุบัน
เกษตรกรมีบางส่วนที่สนใจหันมาเพาะปลูกส้มโอขาวแตงกวา แต่ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนทัศนคติ

ของการทำเกษตรกรรมแบบเดิมๆ ได้
GAP

ขควรส่งเสริมผลผลิตจากส้มโอขาวแตงกวาให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้นเพื่อจะได้รับ ระดับความสำคัญ

ราคาที่เหมาะสมกับระยะเวลาการเพาะปลูก L

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ

โครงการส่งเสริมการเพาะปลูกส้มโอพืชเศรษฐกิจจังหวัดชัยนาท 31

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

B ข้อมูลเชิงธุรกิจ

B1 การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน อาหาร สินค้าอุปโภค

สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
การส่งเสริมธุรกิจ STATUP เพื่อการขยายผลจากการพัฒนาตามความต้องการและตรงกับความ
ต้องการของลูกค้า การพัฒนาคุณภาพของสินค้า เช่นวิธีการพัฒนาคุณภาพอาหาร หรือการถนอม
อาหารที่ได้รับมาตรฐาน GAP เป็นต้น

สถานะปัจจุบัน
มีการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของสินค้า และพัฒนากระบวนการด้านถนอมอาหารแต่ยังไม่
กระจายอย่างทั่วถึง และยังไม่ได้รับการรับรองมาตรฐานสินค้าอาหารปลอดภัย

GAP
จากการวิเคราะห์ GAP พบว่ามีความต้องการคือ การพัฒนาธุรกิจ STATUP โดยเพิ่มเงิน
ทุนหมุนเวียนในระบบเพื่อพัฒนาผู้ประกอบการ โดยเฉพาะกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ
โครงการพัฒนาระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยใช้นวัตกรรมทางการผลิตและการออกแบบ
เพื่อส่งเสริมและการรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย

ระดับความสำคัญ

H

B2 พัฒนาผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน
สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับการรับรองยกระดับทั้งในด้านภาพลักษณ์และมาตรฐานการบรรจุ
สินค้าชุมชน

สถานะปัจจุบัน ระดับความสำคัญ
ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ยังไม่รับการรับรอง ไม่โดนใจผู้บริโภคและบรรจุภัณฑ์
GAP M
ขาดศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบลเพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้
32
วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ
โครงการแหล่งเรียนรู้ประจำตำบล สร้างงาน สร้างอาชีพ

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

B B3 การยกระดับวิสาหกิจชุมชน

B3 พัฒนาผลิตภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ชุมชน
สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
อัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้รับการรับรองยกระดับทั้งในด้านภาพลักษณ์และมาตรฐานการบรรจุ
สินค้าชุมชน

สถานะปัจจุบัน ระดับความสำคัญ
ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้ยังไม่รับการรับรอง ไม่โดนใจผู้บริโภคและบรรจุภัณฑ์
GAP M
ขาดศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบลเพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ
โครงการแหล่งเรียนรู้ประจำตำบล สร้างงาน สร้างอาชีพ

33

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

C ข้อมูลเชิงประชากร
C1 ผู้นำชุมชน

สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
ผู้นำชุมชนต้นแบบมีการแบ่งปันความรู้ด้านการบริหารจัดการชุมชน

สถานะปัจจุบัน
มีผู้อนำชุมชนยังขาดเครือข่ายและผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการในการให้คำปรึกษา

GAP ระดับความสำคัญ
ขาดเครือข่ายในการแบ่งปันประสบการณ์ในการบริหารจัดการชุมชน
H
วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ
โครงการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของผู้นำชุมชน

C2 ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
ชุมชนมีศูนย์การเรียนรู้ต้องการศูนย์เรียนรู้ที่มีแหล่งการเรียนและการนำไปปรับใช้ในการในชีวิต
ประจำวัน

สถานะปัจจุบัน
แต่ละตำบลมีปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่น แต่ยังขาดขาดระบบในการรวบรวมข้อมูลและ
จัดตั้งศูนย์การจัดการเรียนรู้ชุมชน ขาดการดำเนินงานที่ชัดเจน
GAP

ขาดศูนย์การเรียนรู้ประจำตำบลเพื่อพัฒนาเป็นศูนย์การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระดับความสำคัญ

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ M
โครงการแหล่งเรียนรู้ประจำตำบล สร้างงาน สร้างอาชีพ

34

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

C A3 พัฒนาแรงงานฝีมือในชุมชน

สถานะที่ต้องการผลการวิเคราะห์
แรงงานฝีมือดี และได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงาน

สถานะปัจจุบัน
ขาดแรงงานฝีมือ,มีการย้ายถิ่นจากสถานะการณ์โควิค-19

GAP

จากการวิเคราะห์ GAP พบว่ามีความต้องการคือ ต้องได้รับการพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อให้สามารถ

ทำงานในสาขาที่หลากหลาย ระดับความสำคัญ

วีธีการที่นำไปสู่เป้าหมายความสำเร็จ H
โครงการส่งเสริมศักยภาพฝีมือแรงงานสู่การเป็นแรงงานมืออาชีพ

35



เ รื่ อ ง เ ล่ า ค ว า ม สำ เ ร็ จ

โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้ า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ )

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

เรื่องเล่าความสำเร็จของการดำเนินโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบล

38

ภาคผนวก

โ ค ร ง ก า ร ย ก ร ะ ดั บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ
สั ง ค ม ร า ย ตำ บ ล แ บ บ บู ร ณ า ก า ร

( ม ห า วิ ท ย า ลั ย สู่ ตำ บ ล ส ร้ า ง ร า ก แ ก้ ว ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ )

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

UNIVERSITY SYSTEM INTEGRATOR

ขอบคุณสำหรับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง
ในความพยายามต่าง ๆ ที่มีส่วนร่วมในพัฒนา
จังหวัดชัยนาท

มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา

40

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการยกระดับเศรษฐกิจและสังคมรายตำบล แบบบูรณาการ
(มหาวิทยาลัยสู่ตำบล สร้างรากแก้วให้ประเทศ)

รายนามคณะทำงานหน่วยปฏิบัติการ อว. ส่วนหน้าจังหวัดชัยนาท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอนก เทียนบูชา ประธานคณะทำงาน
ผู้ช่วยศาสตรารย์ ดร.สายชล ชุดเจือจีน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฑัชวงษ์ จุลสวัสดิ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารารัตน์ อานันทะสุวงค์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บัวรอง ฉิ่วเฉลิมวงศ์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สถาพร ถาวรอธิวาสน์
อาจารย์ ดร.วินัย ตะปะสา
อาจารย์ ดร.ปรียานุช ธรรมปิยา
อาจารย์ ดร.จรรยา กลัดล้อม
อาจารย์ ดร.วิจิตร จารุโณประถัมภ์
เลขานุการคณะทำงาน

อาจารย์จีรประภา สาระประจวบ

อาจารย์ธีรพงษ์ พร้อมพอชื่นบุญ

อาจารย์ชนะชัย โยธา

อาจารย์อรินทร์ศักดิ์ รัตนะวงษ์ ผู้ช่วยเลขานุการคณะทำงาน

อาจารย์สุภาพร คำปลิว ผู้ช่วยเลขานุการคณะทำงาน

41




Click to View FlipBook Version