๑
เอกสารลาดบั ที่ ๑๐/๒๕๖๐
กลุ่มงานการตรวจราชการ
กลุม่ นิเทศ ติดตาม และประเมินผล
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดสุรินทร์
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก๒
คานา
เอกสารฉบับน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือนาเสนอผลการปฏิบัติงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณี
ปกติ รอบที่ ๒ ประจาปงี บประมาณ ๒๕๖๐ ตอ่ สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค ๑๔ เพ่ือให้ทราบถึงผลการ
ดาเนินการ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของนโยบายท่ีกาหนดไว้ นโยบายของหน่วยงานมีความโดดเด่น
หรือจุดแข็งอย่างไร ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานอย่างไร รวมถึงการค้นหาจุดอ่อน ปัญหา
อุปสรรค ภัยคุกคามในการดาเนินงานเพ่ือให้มีการแก้ไขปรับปรุงนโยบายได้ดีย่ิงข้ึน อีกท้ังการ
ดาเนินการตามข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการของหนว่ ยงานต้นสังกัดด้วย
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ จึงได้จัดทาผลการดาเนินงานตามเครื่องมือการการ
นาเสนอผลการปฏิบัติงานตามนโยบายการตรวจราชการกรณีปกติ รอบท่ี ๒ ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๐
ขอขอบพระคุณผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการสนับสนุนข้อมูลและดาเนินการจัดทาเอกสารจน
สาเรจ็ ลุลว่ งไปด้วยความเรียบรอ้ ย
สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสรุ ินทร์
สารบญั ข๓
คานา ก
สารบญั ข
นโยบายการตรวจราชการ
1
อาชวี ศึกษาเปน็ เลศิ 3
โครงการประชารัฐ 6
การยกระดบั ทักษะภาษาองั กฤษ 10
โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม 19
สะเต็มศึกษา (STEM Education) 23
การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ O-Net 27
โครงการลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้ 29
การพฒั นาครู 32
การพัฒนาโรงเรยี น ICU 34
โครงการเศรษฐกจิ พอเพียง 38
การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็ก 40
การบริหารจดั การขยะและสงิ่ แวดล้อม 45
การปอ้ งกันและลดอุบตั ิเหตุทางทอ้ งถนน 47
การประสานขับเคลอ่ื นนโยบายระดบั พื้นที่ (กศจ.)
ภาคผนวก
สาเนาคาสง่ั สานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสรุ นิ ทร์ ท่ี ๒๓๗/๒๕๖๐
เรื่อง แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนนิ งานรบั การตรวจราชการตามนโยบาย
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๐
๑
ผลการปฏบิ ัตงิ านของศึกษาธิการจังหวัด
ตามนโยบายการตรวจราชการรอบที่ ๒ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐
ของศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สุรนิ ทร์
----------------------------------
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้สรุปผลการวิเคราะห์ผลการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่
การปฏิบัติตามประเด็นนโยบายการตรวจราชการของกระทรวงศึกษาธิการ ของหนว่ ยงาน นาเสนอ
ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะ ตามประเด็นนโยบายท่ีเก่ียวข้องกับภารกิจของ
หนว่ ยงานน้ี โดยสรปุ ดังนี้
๑. อาชีวศกึ ษาเปน็ เลิศ
โครงการสาคัญที่ได้รบั การสนบั สนุนงบประมาณ ไดแ้ ก่
๑. โครงการสง่ เสรมิ สถานศกึ ษาอาชีวศึกษาใหม้ ีความเป็นเลิศเฉพาะทาง (สอศ.)
วตั ถปุ ระสงค์ : เพ่ือพัฒนาและยกระดบั สาขาบางวิชาสู่ความเปน็ เลิศ
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนนิ งานต่อผ้ตู รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลผุ ลตามวัตถุประสงคข์ องนโยบายท่กี าหนดไว้ หรือไม่ อย่างไร
ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ครูต้องมีนวัตกรรม
และส่ือการเรียนการสอนท่ีหลากหลายและทันสมัยเพื่อให้การเรียนการมีประสิทธิภาพ มี
สภาพแวดลอ้ มท่เี ออื้ อานวยต่อการเรียนรู้ มบี รรยากาศทีด่ ี อบอ่นุ ปลอดภยั สามารถกระตนุ้ ให้ผเู้ รียน
อยากเรยี นรู้และเรียนรู้ไดด้ ขี นึ้ และเพอ่ื ส่งเสริมใหม้ ีการผลิตและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
๒. การดาเนนิ การตามนโยบายของหน่วยงานมีความโดดเด่น หรอื จุดแข็งอยา่ งไร และ
ก่อให้เกิดประโยชน์ ในด้านใดบ้าง
2.1 ด้านผลการจัดการศึกษา ผู้สาเร็จการศึกษาเป็นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรมตาม
อัตลักษณ์ของสถานศึกษาคุณธรรม มีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพของ
หลกั สูตรในแต่ละสาขาวิชา สาขางานเป็นทพี่ งึ พอใจเก่ียวกับตลาดแรงงาน
2.2 ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษามีการบริหารจัดการศึกษาตามแนวทาง
สถานศึกษาคุณธรรม และนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด มีการบริหารจัดการทรัพยากรของ
สถานศกึ ษาอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2.3 ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สถานศึกษาจัดการเรียนการ
สอนตามมาตรฐานคุณวฒุ ิอาชีวศึกษาแตล่ ะระดับ ตามหลักสูตรและระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่า
ด้วยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนของแต่หลักสูตร ส่งเสริม สนบั สนุน กากับดูแลให้
ครจู ดั การเรียนการสอนครบถ้วน สมบรู ณแ์ ละตรงความความต้องการของตลาดแรงงาน
2.๔ การกาหนดทิศทางการพัฒนาให้สอดคล้องกับแผนพัฒนากระทรวงศึกษาธิการ
สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา และสถานศกึ ษา
2.๕ พัฒนาระบบการบริหารจัดการเชงิ ระบบ PDCA
๒
๓. การดาเนนิ งานพบ จุดออ่ น ปญั หา อปุ สรรค ภัยคุกคาม ในการดาเนนิ การอยา่ งไร รวมท้ัง
ไดด้ าเนนิ การแก้ไขปัญหาทเ่ี กิดขนึ้ อย่างไร
งบประมาณ จดั ต้ังงบประมาณสนบั สนนุ และขอรบั การสนบั สนนุ จากหน่วยงาน และ
องค์กร
๔. นวตั กรรม ตน้ แบบ หรือแบบอยา่ งท่ดี ี ที่เกิดข้ึน จากการดาเนินการตามนโยบาย
- การพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การเชงิ ระบบ PDCA
- นักเรียนนกั ศึกษามปี ระสบการณจ์ รงิ และสามารถประเมนิ ความรูค้ วามสามารถของ
ตนเองได้
๕. การดาเนินการตามขอ้ เสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรือทปี่ รกึ ษาผตู้ รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่ม)ี
๖. ข้อเสนอของหน่วยงานผู้รับการตรวจ
๖.๑ ขอ้ เสนอ ท่เี ปน็ ความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่ม)ี
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อ่นื ๆ (ถ้ามี)
(ไม่มี)
ภาพประกอบระบุกิจกรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๓
๒. โครงการประชารฐั
โครงการสาคญั ทไี่ ด้รับการสนบั สนุนงบประมาณ (ถ้าม)ี
(ไม่ม)ี
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนนิ งานตอ่ ผู้ตรวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนินการ บรรลผุ ลตามวัตถุประสงค์ของนโยบายทกี่ าหนดไว้ หรอื ไม่ อยา่ งไร
๑.๑ จานวนของสถานศึกษาที่ดาเนินโครงการประชารฐั ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ – ๒๕๖๐
สพป. สรุ นิ ทร์ เขต ๑ ๓๐ โรงเรียน
สพป. สุรนิ ทร์ เขต ๒ ๙ โรงเรยี น
สพป. สรุ ินทร์ เขต ๓ ๑๔ โรงเรียน
สพม. ๓๓ สุรนิ ทร์ ๑๐ โรงเรยี น
รวมจานวนท้งั สิน้ ๖๓ โรงเรียน
๑.๒ สถานศกึ ษาในโครงการประชารฐั ไดร้ บั การพฒั นาบคุ ลากรโรงเรยี นในโครงการฯ
ด้วยนวตั กรรม ดังต่อไปน้ี
- การสอนตามแนวทางโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
- การสอนสะเต็มศึกษา
- โรงเรียนคณุ ธรรมในโรงเรยี นประชารัฐ
- พฒั นาทกั ษะภาษาองั กฤษภายใต้ โครงการประชารัฐ
- พฒั นาครทู ่ีดแู ลระบบสื่อ ICT ของโรงเรยี นประชารฐั
๑.๓ สถานศกึ ษาไดน้ าเสนอแผนพฒั นาโรงเรียนเพื่อขออนุมัตงิ บประมาณ
- โรงเรยี นท่เี สนอต่อ School Sponsor รวมท้งั สิน้ ๒๒โรงเรียน
- โรงเรยี นทเี่ สนอต่อ สพฐ. ซึง่ ยังไมไ่ ด้รับการอนุมตั จิ ดั สรรงบประมาณ รวมทงั้ สน้ิ
๔๑ โรงเรียน
๑.๔ จานวนผบู้ ริหารทไี่ ด้รบั การพัฒนาผนู้ าภายใต้โครงการประชารัฐ จานวน ๔๑ คน
๑.๕ จานวนครูทไี่ ด้รับการพัฒนาผู้นาภายใต้โครงการประชารัฐ จานวน ๔๑ คน
- การสอนตามแนวทางโรงเรยี นสาธติ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั จานวน ๔ โรงเรยี น
- การสอนสะเต็มศกึ ษา
- โรงเรยี นคณุ ธรรมในโรงเรยี นประชารัฐจานวน ๓๒ คน
- พัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษภายใต้ โครงการประชารฐั
- พัฒนาครูที่ดูแลระบบสอ่ื ICT ของโรงเรียนประชารฐั ทุกแห่งทเี่ ข้ารว่ มโครงการ
๑.๖ จานวนงบประมาณและรายชอื่ หน่วยงานสนับสนนุ จากภาคเอกชน ปีการศึกษา
๒๕๕๙ –๒๕๖๐
๑. บริษทั ทรคู อรเ์ ปอร์เรช่ัน สนับสนุน จานวน ๙ แห่ง
๒. ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สนบั สนุน จานวน ๖ แหง่
๓. ธนาคารกรุงเทพ สนบั สนุน จานวน ๖ แหง่
๔. บริษทั ไทยเบฟเวอเรจ สนับสนนุ จานวน ๑ แหง่
๕. สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน จานวน ๔๑ แห่ง
๔
๑.๗ จานวนครู/นกั เรียนทไี่ ด้รบั การพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษ ภายใต้โครงการประชารัฐ ปี
การศกึ ษา ๒๕๕๙ –๒๕๖๐
ครจู านวน ๖๓ โรงเรียนไดร้ บั การพัฒนาทกั ษะภาษาอังกฤษ ภายใตโ้ ครงการประชารัฐ
โดยการนาสอ่ื ทเี่ ป็นแผ่น ซดี รี อม การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
๒. การดาเนนิ การตามนโยบายของหนว่ ยงานมคี วามโดดเด่น หรอื จุดแขง็ อย่างไร และ
ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นด้านใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเดน่ จุดแข็ง ของหน่วยงาน ในการดาเนนิ การตามนโยบาย
- ด้านวสั ดุอุปกรณ์สื่อ ICT การติดต้งั สญั ญาก่อใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ การเรยี นการสอน
- ไดร้ บั งบประมาณสนบั สนุน
- ได้จัดทาสอ่ื VTR ภาพยนตร์ส้ัน
๒.๒ ประโยชนท์ เ่ี กิดข้นึ จากการดาเนินการตามนโยบาย
- ด้านวสั ดุอปุ กรณส์ อ่ื ICTการตดิ ตงั้ สัญญาก่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อการเรยี นการสอน
- ไดร้ ับงบประมาณสนบั สนนุ จากหน่วยงานองคก์ ร บริษัทเอกชน
- ได้รับการพัฒนาดา้ นการใช้สื่อ ICT
- ไดร้ บั การพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนตามแนวทางของสาธิต
มหาวทิ ยาลัยจุฬาลงกรณ์
- ไดร้ บั การพฒั นาการจดั การเรียนการสอนด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตามแนวทาง
ของมลู นิธิยุวสถิรคณุ
- ไดร้ ับการพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษภายใต้ โครงการประชารัฐ๓. การดาเนินงาน
พบ จุดอ่อน ปญั หา อปุ สรรค ภยั คกุ คาม ในการดาเนนิ การอยา่ งไร รวมทงั้ ไดด้ าเนนิ การแก้ไขปญั หาท่ี
เกิดขึน้ อยา่ งไร
๓. การดาเนินงานพบ จุดอ่อน ปญั หา อปุ สรรค ภัยคกุ คาม ในการดาเนินการอยา่ งไร รวมทั้ง
ได้ดาเนินการแกป้ ัญหาทีเ่ กดิ ขึน้ อย่างไร
๓.๑ ปญั หา อปุ สรรค ภยั คกุ คาม จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
- ขาดผู้สง่ เสรมิ สนับสนุนจากบริษัทเอกชน (School Sponsor)
- อุปกรณ์ โทรทศั น์ (TV) เสยี เรว็ ขาดคณุ ภาพในการใชง้ าน
- ต้องจัดทาห้องเซฟิ เวอร์
- ต้องเฝ้าระวังความปลอดภยั จากการดูแลวัสดอุ ุปกรณ์และการลักขโมยงัดแงะ
ห้องเรยี น
๓.๒ การแก้ไขปญั หา อปุ สรรค ภยั คกุ คาม ที่เกดิ ข้ึน
- ศึกษาเอกสาร เขา้ ร่วมประชุมอบรม จัดประชุมหัวหน้าหน่วยงานและผทู้ ีม่ ีส่วน
เก่ยี วขอ้ งทกุ ภาคส่วน ดาเนินการจัดทาระบบควบคุมภายใน เป็นตน้
๕
๓.๓ จากปญั หา อุปสรรค ภัยคุกคาม ท่เี กิดขนึ้ ควรปรบั ปรุงนโยบายอยา่ งไร
- ควรจดั ใหม้ ีบรษิ ทั เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ สนบั สนุน ดูแล ดา้ น
งบประมาณ ใหค้ รบทุกโรงเรียน
- การแจง้ โอนเงนิ งบประมาณลา่ ชา้
- วสั ดุอปุ กรณ์ ส่ือICT เสยี งา่ ย ขาดคุณภาพ
๔. นวัตกรรม ตน้ แบบ หรือแบบอย่างทีด่ ี ท่เี กดิ ข้ึน จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
- โครงการส่งเสรมิ ทกั ษะอาชพี
- โครงการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
- โรงเรียนลาปลายมาศพฒั นา
- โครงการโรงเรียนคณุ ธรรมตามแนวทางของมลู นิธิยวุ สถริ คณุ
๕. การดาเนินการตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรอื ทปี่ รึกษาผู้ตรวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการที่ผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่ม)ี
๖. ขอ้ เสนอของหนว่ ยงานผูร้ ับการตรวจ
๖.๑ ขอ้ เสนอ ทเี่ ปน็ ความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่ม)ี
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อ่ืนๆ (ถ้ามี)
(ไม่ม)ี
ภาพประกอบระบุกิจกรรมและสถานที่ ๒ - ๔ ภาพ
๖
๓. การยกระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษ
โครงการสาคัญท่ีได้รบั การสนบั สนนุ งบประมาณ
การจัดประเมินความสามารถด้านภาษาอังกฤษของครูผู้สอนภาษาอังกฤษตามกรอบ
มาตรฐานสากล Common European Framework of Reference for Languages หรือ CEFR
ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๐
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนินงานต่อผูต้ รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนินการ บรรลุผลตามวตั ถุประสงค์ของนโยบายทก่ี าหนดไว้ หรือไม่ อย่างไร
ผลการดาเนินการตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ ในการยกระดับทักษะภาษาอังกฤษ
สามารถดาเนนิ การตามวัตถปุ ระสงค์ของนโยบาย ดังน้ี
๑.๑ การจัดประเมินความสามารถด้านภาษาอังกฤษของครูผู้สอนภาษาอังกฤษตามกรอบ
มาตรฐานสากล Common European Framework of Reference for Languages หรือ CEFR
ประจาปีงบประมาณ ๒๕๖๐ สามารถดาเนินการบรรลุตามวัตถุประสงค์ท่กี าหนดไว้ ดังน้ี
๑.๑.๑ ดาเนินการจดั ประเมนิ ความสามารถด้านภาษาอังกฤษของครผู ู้สอนภาษาอังกฤษ
ตามกรอบ CEFRจากสถานศึกษาในสงั กดั สพป. สุรินทร์ เขต ๑ - ๓
๑.๑.๒ ดาเนินการพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษที่เข้ารับการประเมินตามกรอบ CEFR
และผ่านการประเมินได้ระดับ B1 ข้ึนไป เข้ารับการอบรมพัฒนาแบบเข้ม Boot Camp ที่ สพฐ.
ดาเนินการอบรมพัฒนาโดยใช้หลักสูตรแบบเข้ม (ศูนย์อบรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย สพป.
นครราชสมี า เขต ๑ เป็นเจ้าภาพดาเนินการอบรมพัฒนา)
๑.๒ การใช้ส่ือเสรมิ แอพพลิเคชั่นและเทคโนโลยี ส่งเสริมการสอนและสรา้ งแรงจูงใจในการ
เรียนภาษาอังกฤษ ส่ือเสริมแอพพลิเคชั่น Echo Hybrid , Eng 24 ส่ือเสริมอ่ืนๆ สาหรับฝึกทักษะ
ภาษาอังกฤษนกั เรียนและนกั ศกึ ษาดงั นี้
๑.๒.๑ แจง้ แนวนโยบายการยกระดบั ทกั ษะภาษาอังกฤษ
๑.๒.๒ แจง้ ประชาสัมพันธ์ แนวทางการการใชส้ อื่ เสรมิ แอปพลิเคช่ันต่างๆ
๑.๒.๓ กากบั ติดตาม นเิ ทศการใช้ส่ือแอพพลเิ คชั่นเปน็ สอื่ เสริมการจัดกจิ กรรมการ
เรียนการสอนภาษาองั กฤษของสถานศึกษาในสังกัด
๑.๒.๔ จัดนิทรรศการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ส่ือแอพพลิเคชั่น Echo Hybrid, Eng
24 ,Eng hour ของโรงเรียนต้นแบบ ในกิจกรรม “สวัสดีคุณครู สู่คุณภาพผู้เรียน SMART Model
4.0” ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ สพป. สุรินทร์ เขต ๑
๑.๒.๕ รายงานผลการใช้ส่ือแอปพลิเคช่ันในการสอนภาษาอังกฤษของสถานศึกษาใน
สังกัด
๒. การดาเนนิ การตามนโยบายของหนว่ ยงานมีความโดดเดน่ หรือจุดแขง็ อยา่ งไร และ
กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ในด้านใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเดน่ จดุ แขง็ ของหน่วยงาน ในการดาเนินการตามนโยบาย
๒.๑.๑ การพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษตามกรอบ CEFR สามารถดาเนินการพัฒนา
ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษท่ีสอดคล้องกับระดับความสามารถ โดยการจดั ประเมนิ ความสามารถ จัดกลุ่ม
ครู จัดหลักสูตรการอบรมพัฒนาท่ีเหมาะสมกับกลุ่มครู การอบรมพัฒนาสามารถพัฒนาทักษะ
๗
ความสามารถด้านภาษาองั กฤษ และเทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ ได้อยา่ ง
มปี ระสทิ ธิภาพ
๒.๑.๒ การใช้ส่ือเสริมแอปพลิเคช่ันEcho Hybrid , Eng 24 ,Eng hour เป็นส่ือเสริม
การฝึกทักษะภาษาอังกฤษสาหรับนักเรียน ครูผู้สอน บุคลากรทางการศกึ ษา ผู้ปกครอง และบุคคล
ทว่ั ไป ใชไ้ ดท้ วั่ ถงึ ทุกเวลา สะดวก มีความประหยดั สามารถเรยี นรแู้ ละฝึกฝนทกั ษะกับเจ้าของภาษา
(native speaker) ในหน่วยงานและสถานศกึ ษาในสงั กดั กระทรวงศึกษาธิการในจงั หวดั โรงเรียนใน
สังกัด สพป. สรุ นิ ทร์ เขต ๑,๒,๓ และ สพม. เขต ๓๓ รวมท้ังสถาบนั อาชีวศกึ ษา ศนู ย์การศึกษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.)
๒.๒ ประโยชนท์ ี่เกดิ ขน้ึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
๒.๒.๑ สามารถพัฒนาทักษะด้านภาษา และการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของ
ครูผูส้ อนภาษาองั กฤษโดยใชห้ ลักสูตรการพฒั นาแบบเข้มตามกรอบมาตรฐานสากล CEFR
๒.๒.๒ สามารถพฒั นาครูผสู้ อนภาษาอังกฤษท่ไี มจ่ บวิชาเอกภาษาอังกฤษ
๒.๒.๓ การพัฒนาจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาเพ่ือการส่ือสาร
(Communicative Language Teaching : CLT) สาหรบั ครผู ู้สอนภาษาองั กฤษ
๒.๒.๔ สามารถพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนักเรียน/นักศึกษาและครูผู้สอน
บุคลากรทางการศกึ ษาโดยใชส้ ือ่ แอพพลเิ คช่ัน Echo Hybrid ,Eng 24
๒.๒.๕ สถานศึกษาในสังกัดในสังกัด สพป. สุรินทร์ เขต 1-3 สามารถดาเนินการ
บริหารจดั การเวลาเรียน กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี
1-3 จาก 40 ชวั่ โมงตอ่ ปี เปน็ เวลา 200 ชั่วโมงต่อปี หรือ 1 ชว่ั โมง ต่อสปั ดาห์ เปน็ 5 ชวั่ โมงต่อ
สัปดาห์ และใช้ส่ือเสริม Echo Hybrid, Eng 24 ,Eng hour ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ภาษาองั กฤษ
๒.๒.๖ สามารถยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนภาษาองั กฤษของนักเรยี นให้สูงขึน้ ๓.
การดาเนนิ งานพบ จดุ ออ่ น ปัญหา อปุ สรรค ภัยคุกคาม ในการดาเนนิ การอยา่ งไร รวมทง้ั ได้
ดาเนินการแก้ไขปัญหาทเี่ กดิ ขึ้นอยา่ งไร
๓.๑ ปญั หา อุปสรรค ภยั คุกคาม จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
๓.๑.๑ โรงเรยี นบางแห่งไม่มคี รทู ี่จบวิชาเอกภาษาอังกฤษ
๓.๑.๒ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษขาดทักษะความสามารถด้านภาษาอังกฤษ
๓.๑.๓ ครูขาดทกั ษะการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาองั กฤษ
๓.๑.๔ การใช้ส่อื เสริมแอพพลเิ คชั่นการสอนภาษาองั กฤษไม่สามารถดาเนินการไดอ้ ยา่ ง
ทั่วถึง และไมต่ ่อเน่ือง เน่ืองจากการปัญหาเชื่อมระบบอินเทอร์เน็ต ครูผู้สอน/ผ้บู ริหารโรงเรยี นบาง
แหง่ ไมเ่ ห็นความสาคัญในการใช้สอ่ื เสริมในระดับโรงเรยี น/หอ้ งเรียน
๓.๑.๕ การกากับ ติดตาม นิเทศและประเมินผลการดาเนินงานของหน่วยงานและ
สถานศึกษายังไม่ต่อเนื่อง และการนาผลการกากับ ติดตามไปใช้ในการดาเนินการตามนโยบายยังไม่
ชดั เจน
๓.๑.๖ การจัดอบรมพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษทม่ี ีผลการประเมินตามกรอบ CEFR
ในกลมุ่ ระดบั A0,A1 และ A2 ไมส่ ามารถดาเนนิ การจดั อบรมแบบเขม้ ได้อย่างตอ่ เน่ือง
๘
๓.๑.๗ นักเรียนขาดการใช้ทักษะภาษาอังกฤษในการส่ือสารในชีวิตประจาวัน และใช้
บทสนทนาในสถานการณต์ า่ งทัง้ ในหอ้ งเรยี น โรงเรียน ในบ้าน/ชมุ ชน
๓.๑.๘ ขาดโอกาสในการเรียนรู้และฝึกฝนทักษะภาษากับเจ้าของภาษา (native
speaker)๓.๒ การแก้ไขปัญหา อุปสรรค ภยั คกุ คาม ท่เี กิดขึน้
๓.๒ จากปญั หา อุปสรรค ภัยคุกคาม ทเ่ี กิดขึ้น ควรปรบั ปรงุ นโยบายอย่างไร
๓.๒.๑ พัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษในรูปแบบต่างๆ มีหลักสูตรการอบรมพัฒนาที่
เหมาะสมกบั ระดบั ความสามารถของกลุ่มครผู ูส้ อนจากผลการประเมนิ ตามกรอบ CEFR
๓.๒.๒ สง่ เสริม สนบั สนุนการใชส้ ื่อเสริมแอพพลิเคช่นั ในการสอนภาษาอังกฤษ และฝึก
ทักษะภาษาองั กฤษแกค่ รู นักเรียน/นกั ศกึ ษา
๓.๒.๓ กากับ ติดตาม เร่งรัด นิเทศการจัดกิจกรรมตามนโยบายการกระดับทักษะ
ภาษาองั กฤษของหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกดั การบริหารจัดการเวลาเรียน/การจัดการเรียนรู้/
การวัดและประเมนิ ผล ช้นั ป. 1-3 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการฯ
๓.๒.๔ ดาเนนิ การจัดค่ายภาษาอังกฤษแบบเข้ม (English Camp) สาหรบั นกั เรยี นและ
นักศึกษา
๓.๒.๕ ดาเนินการจัดกจิ กรรมส่งเสริมภาษาองั กฤษแก่ครู นักเรียน/นักศึกษาในรูปแบบ
ต่างๆ เช่น การใช้ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน/โรงเรียน/ในบ้าน/ชุมชน, การใช้ฝึกบทสนทนา
ภาษาอังกฤษในสถานการณต์ ่างๆ , จัดสภาพบริบทส่งเสริมการใช้ภาษาอังกฤษ เช่น English Zone,
English Conner อ่ืนๆ
๓.๒.๖ จดั กจิ กรรมแสดงความสามารถด้านทักษะการพูดภาษาองั กฤษของนกั เรียนและ
นักศึกษาผ่านกิจกรรมท่ีหลากหลาย ประกอบด้วย การแข่งขันพูดภาษาอังกฤษ (Impromptu
Speech) การแข่งขัน English Speech Contest การแข่งขันโต้วาทีภาษาอังกฤษ (English
Debate)การเล่านิทานภาษาอังกฤษ (Story Telling) การแสดงละครสั้นภาษาอังกฤษ (Skit) อื่นๆ
๓.๓ จากปัญหา อปุ สรรค ภัยคกุ คาม ท่เี กิดขึ้น ควรปรับปรุงนโยบายอยา่ งไร
๓.๓.๑ ควรเร่งรดั การจดั สรรงบประมาณสาหรับการพฒั นาทีส่ อดคล้องกับนโยบายการ
ยกระดับความสามารถด้านภาษาองั กฤษ เช่น การพัฒนากล่มุ ครูผูส้ อนภาษาอังกฤษจากผลการสอบ
ตามกรอบ CEFR
๓.๓.๒ ดาเนินการเรง่ รดั การพฒั นาภาษาอังกฤษเพอ่ื เตรียมสู่งานอาชพี สาหรบั นักเรยี น
ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้
๔. นวัตกรรม ตน้ แบบ หรอื แบบอย่างที่ดี ท่เี กดิ ขึ้น จากการดาเนินการตามนโยบาย
๔.๑ โรงเรยี นตน้ แบบการใช้ส่ือเสรมิ แอพพลเิ คชน่ั ในการสอนภาษาอังกฤษ Echo
Hybrid , Eng 24 เช่น โรงเรียนบ้านแสรออ
๔.๒ โรงเรียนตน้ แบบที่ประสบความสาเร็จเปิดสอนหลกั สูตร EP,MEP,IP,EBE และ EIS
- หลักสูตร EP ไดแ้ ก่ โรงเรียนสิรินธร
- หลกั สตู ร EIS ได้แก่ โรงเรยี นอนบุ าลสุรนิ ทร์
๙
๕. การดาเนนิ การตามข้อเสนอแนะของผตู้ รวจราชการ หรอื ท่ปี รกึ ษาผู้ตรวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการที่ผา่ นมา
(ไมม่ )ี
๖. ขอ้ เสนอของหน่วยงานผ้รู ับการตรวจ
๖.๑ ข้อเสนอ ท่ีเป็นความตอ้ งการจาเป็น (needs)
๖.๑.๑ เร่งรดั การบรรจุแต่งตง้ั ครูผู้สอนวชิ าเอกภาษาองั กฤษให้ครบทกุ โรงเรียน
๖.๑.๒ จัดอบรมพัฒนาครูผู้สอนภาษาอังกฤษที่มีผลการสอบตามกรอบ
มาตรฐานสากล CEFR ระดับA0,A1 และ A2 โดยใช้หลักสูตรแบบเข้มตามกลุ่มระดับความสามารถ
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อนื่ ๆ (ถา้ มี)
๖.๒.๑ จดั สรรงบประมาณสาหรบั อบรมพฒั นาครผู ู้สอนภาษาองั กฤษหลักสูตรระยะ
สน้ั ช่วงปิดภาคเรยี น จากสถาบนั สอนภาษาอังกฤษต่างประเทศ เชน่ โรงเรยี นสอนภาษาองั กฤษ
บริตชิ เคานซิล (British Council) สถาบนั AUA Language อื่นๆ
๖.๒.๒ หนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ งร่วมพัฒนาสอื่ เสริมแอพพลิเคช่ันการพัฒนาการเรียนรู้
ภาษาอังกฤษท่ีมีความเหมาะสม สะดวกในการใช้ และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง ปี พ.ศ.
๒๕๕๑
๖.๒.๓ สถาบันอาชวี ศึกษาควรเพิ่มการจัดหลกั สูตรภาษาอังกฤษสาหรับสาขาอาชพี
ต่างๆ เปน็ การพัฒนาทกั ษะภาษาองั กฤษเพ่อื เตรยี มสูง่ านอาชพี
ภาพประกอบระบุกจิ กรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๑๐
๔. โครงการโรงเรียนคณุ ธรรม
ตวั ช้วี ัดโรงเรยี นคุณธรรมของ (มูลนิธยิ วุ สถริ คุณ) ได้แก่
๑. มีกระบวนการพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม จรยิ ธรรมทั้งโรงเรียน
๒. ใช้โครงงานคุณธรรม/กจิ กรรมเปน็ เครื่องมือในการพฒั นา
๓. พฤตกิ รรมทีพ่ งึ ประสงคเ์ พ่ิมข้นึ
๔. พฤตกิ รรมทไี่ มพ่ ึงประสงค์ลดลง
๕. เกดิ กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณธรรมจากทกุ ภาคส่วน
๖. มีองคค์ วามรู้/นวัตกรรม การสร้างเสริมคณุ ธรรมและบูรณาการคุณธรรมเข้ากับ
การจัดการเรยี นรใู้ นชัน้ เรียน
๗. สามารถเปน็ แหลง่ เรียนร้ดู ้านพฒั นาคุณธรรม
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนนิ งานตอ่ ผ้ตู รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนินการของสถานศกึ ษาในขณะน้ี บรรลผุ ลตามตัวชวี้ ดั โรงเรยี นคณุ ธรรม ที่
กาหนดไว้ หรอื ไม่ อย่างไร
ผลการดาเนนิ การของสถานศึกษาโรงเรียนคณุ ธรรมในสงั กดั พน้ื ทีจ่ ังหวัดสรุ ินทร์ มดี ังนี้
จานวนโรงเรยี นท้งั หมดในจังหวัด รวมทัง้ สิน้ ๘๕๗ โรงเรียน และผลการดาเนนิ โครงการ
โรงเรยี นคุณธรรม มโี รงเรยี นเขา้ ร่วมโครงการ รวมทงั้ สิน้ ๖๔๓โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ ๗๕.๐๓
ประกอบดว้ ย
- สังกัด สพฐ. มีโรงเรียน จานวน ๘๓๑ โรงเรยี น เข้าร่วมโครงการ จานวน๖๒๙โรงเรียน
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๗๕.๖๙
- สงั กดั สอศ. มโี รงเรียน จานวน ๘ โรงเรยี น เข้ารว่ มโครงการ จานวน๘โรงเรยี น
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๑๐๐
- สังกดั สช. มีโรงเรยี น จานวน ๑๐ โรงเรยี น เข้ารว่ มโครงการ จานวน ๓ โรงเรียน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๐.๐๐
- สงั กดั อน่ื ๆ มีโรงเรยี น จานวน ๘ โรงเรียน เขา้ ร่วมโครงการ จานวน ๓ โรงเรียน
คดิ เป็นรอ้ ยละ ๓๗.๐๓
- ครูที่ไดร้ บั การพฒั นาเป็นวทิ ยากรแกนนา โรงเรยี นละ ๕ คน จานวน ๓,๒๑๕ คน
- ผบู้ ริหารสถานศกึ ษาทไ่ี ด้รับการพัฒนาเป็นวิทยากรแกนนา จานวนท้งั ส้นิ ๖๔๓ คน
- นักเรยี นทไ่ี ด้รับการพฒั นาเปน็ นักเรียนแกนนา จานวนทั้งสิ้น ๓,๒๑๕ คน
- สถานศึกษาทเ่ี ข้าร่วมโครงการโรงเรียนคณุ ธรรมบางแห่งได้ ดาเนนิ กิจกรรมขยายผลการจัด
กิจกรรมโรงเรยี นคุณธรรม ด้วยโครงงานคณุ ธรรม ไปยังครแู ละนกั เรียนแล้ว
- สถานศึกษาทเี่ ข้าร่วมโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรมบางแหง่ ได้ ดาเนนิ กจิ กรรมศกึ ษาดูงาน
สถานศึกษาตน้ แบบของมูลนิธิยวุ สถิรคุณแล้ว การดาเนินการบรรลตุ ามตวั ชีว้ ดั ๗ ประการ โดยเกิด
จากการสุ่มตรวจราชการของคณะกรรมการ
๑๑
๒. ผลการขับเคล่ือนการดาเนินงานโรงเรียนคณุ ธรรม ในประเด็นตอ่ ไปน้ี
ผลการขบั เคลอ่ื นการดาเนินงานโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรมในภาพรวม ของคณะกรรมการศกึ ษาธกิ าร
จงั หวดั
๑) ผลการขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการโรงเรียนคณุ ธรรมในภาพรวมของคณะกรรมการ
ศึกษาธิการจงั หวัด สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดสุรนิ ทร์ ได้จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาเชงิ พืน้ ที่ ระยะ
๔ ปี(พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๓) คณะกรรมการการจัดการศกึ ษาเชิงพน้ื ทจี่ ังหวังหวัดสุรนิ ทร์ ยทุ ธศาสตร์ที่
๓ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรม และจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาพ้ืนที่ชายแดนจังหวัดสุรินทร์
ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ภายใต้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน และสังคมพหุวัฒนธรรมพ้ืนที่ชายแดน โดยกาหนดทิศ
ทางการส่งเสริมและพัฒนาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในรูปแบบโครงการ/กิจกรรมท่ี
หลากหลายตามบริบทของแต่ละสถานศึกษา เช่น โครงการโรงเรียนคุณธรรมของสานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน โครงการเสรมิ สรา้ งสุขภาวะในสถานศึกษาในพนื้ ทีจ่ ังหวัดสุรินทร์
ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรมตามแนวทางมูลนิธิยุวสถิรคุณ โครงการสถานศึกษาพอเพียง
โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสุจริต เป็นต้น โดยการขับเคล่ือนแบบบูรณาการร่วมกันใน
ลกั ษณะ “ประชารฐั ”
๒) ผลการดาเนินงานโครงการโรงเรียนคณุ ธรรม ๕ ข้อ
- ดา้ นความพอเพียง
- ด้านความกตัญญูรคู้ ุณ
- ความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริตสรา้ งคนดใี ห้กบั ชาติบ้านเมอื ง
- ความรบั ผิดชอบ
- ดา้ นอุดมการณค์ ณุ ธรรม
ดา้ นความพอเพียง
สถานศึกษาในจังหวัดสุรินทร์ท่ีเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม ได้ดาเนินการตามกรอบ
การพฒั นาโรงเรียนคุณธรรมโดยใช้กระบวนการโครงงานคุณธรรมตามแนวทางของมูลนธิ ิยุวสถิรคุณ
และเช่ือมโยงโดยการถอดรหัสหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติในวิถีชีวิตประจาวัน
รวมทัง้ การสร้างเครอื ขา่ ยขยายผลการพัฒนาสคู่ รอบครัวและชมุ ชนอยา่ งเป็นรปู ธรรม
บคุ ลากรทางการศกึ ษาของสถานศึกษาในจงั หวดั สรุ ินทรท์ ี่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม
ได้รบั การพัฒนาศกั ยภาพวทิ ยากรแกนนาโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรมตามแนวทางของมูลนธิ ิยวุ สถริ คุณ
ประกอบด้วย ผู้บริหารการศึกษา ศึกษานิเทศก์ ผบู้ ริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา มีการเช่ือมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารงานท้ัง ๔ งาน
คือ การบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณการบริหารงานบุคคล และการบริหารงาน
ทั่วไป ส่งเสริมและพัฒนาใหค้ รผู ู้สอนบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารจดั การเรยี น
การสอน โดยการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทาสารสนเทศอย่างเป็นระบบ นาข้อมูล
สารสนเทศมาใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ และทุกกิจกรรมท้ังในและนอกสถานศึกษาอันเป็นการสร้างนิสัย
ความพอเพียงในวถิ ีชีวิตประจาวนั
๑๒
การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ได้ดาเนินการโดยใช้
โครงงานคุณธรรมเป็นเคร่ืองมือในการจัดการเรียนรู้ และเชื่อมโยงกระบวนการพัฒนาผ่านการคิด
วิเคราะหต์ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เช่น คิดอย่างมเี หตุผล คิดวางแผนอย่างรอบคอบ
และระมัดระวัง การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่พอเหมาะกับโครงงานคุณธรรม ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถ
สร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะในการแก้ปัญหา สามารถเผชิญสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ มี
ทักษะกระบวนการในการทางานกลุ่ม มีทักษะในการส่ือสาร โดยใช้เง่ือนไขความรู้และเงื่อนไข
คณุ ธรรมเปน็ ตน้ ทนุ ในการจดั ทาโครงงานคุณธรรม
ด้านความกตัญญูรู้คุณ
สถานศึกษาในจังหวัดสุรินทร์ทุกระดับ ได้จัดกิจกรรมเก่ียวกับความกตัญญู โดยการจัดทา
โครงการ/กิจกรรมในแผนปฏิบัติราชการประจาปี เช่น วันสาคัญที่เก่ียวกับชาติ ศาสนาและ
พระมหากษัตริย์ เพื่อเป็นการแสดงความกตัญญูต่อสถาบนั หลักของประเทศ เช่น กิจกรรมการปลูก
ต้นไม้ กิจกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมสืบสานประเพณี วัฒนธรรมในท้องถ่ินของ
จงั หวัดสุรินทร์ (พิธีแซนโฎนตา พิธีเซ่นปะกา) โดยการบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้ง
กจิ กรรมพัฒนาผู้เรียน ในรูปแบบของโครงงานคุณธรรม เช่น โครงงานดแู ลผู้สูงอายุ โครงงานรักษ์
สิง่ แวดลอ้ ม โครงงานโรงเรยี นสวยดว้ ยมอื เรา โครงงานวยั เรยี นวัยใส ใสใ่ จสุขภาพช่องปาก เป็นตน้
เพื่อเปน็ การปลูกฝงั ความกตัญญใู ห้กับผู้เรียน
ดา้ นความซือ่ สัตยส์ ุจริตสร้างคนดใี หก้ บั ชาตบิ ้านเมือง
สถานศึกษาในจังหวัดสุรินทร์ทุกระดับได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ในเรื่องการจัดกิจกรรม
สง่ เสริมและปลูกฝังผู้เรียนให้มีความซ่ือสัตย์สุจริต โดยการจดั กิจกรรมที่หลากหลาย เชน่ การจดั คา่ ย
พัฒนาเยาวชนคนดีของแผ่นดินโดยผ่านโครงงานคุณธรรม การอบรมเชิงปฏิบัติการการปลูกฝัง
คา่ นิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ โครงการโรงเรียนวิถพี ทุ ธ โครงการโรงเรียนสุจรติ กจิ กรรม
สภานกั เรียน กิจกรรมเด็กดี กิจกรรมเด็กดีวีสตาร์ กจิ กรรมของหายไดค้ ืน เป็นต้น เพ่ือส่งเสรมิ และ
ปลูกจิตสานึกผเู้ รียนในเร่ืองความซ่ือสัตย์สุจริตนอกจากน้ันได้มีการบูรณาการสอดแทรกในการเรียน
การสอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะในรายวิชาหน้าที่พลเมือง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม พร้อมท้ังมีการฝึกและปลูกฝังผู้เรียนเชื่อมโยงสัมพันธ์กับผู้ปกครอง
และชมุ ชนในวิถีชีวติ ประจาวันอยา่ งเปน็ รูปธรรม
ด้านความรบั ผดิ ชอบ
สถานศกึ ษาในจังหวัดสุรินทรท์ กุ ระดบั ได้จัดกิจกรรมสง่ เสริมและพฒั นาผู้เรียนทีห่ ลากหลาย
ในดา้ นความรับผิดชอบ โดยใช้กิจกรรมในวิถีชีวิตประจาวันทง้ั ในและนอกสถานศึกษา รวมทง้ั บรู ณา
การทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีเน้นย้าซ้าทวนการปลูกฝังคุณธรรมด้านความรับผิดชอบให้กับผู้เรียน
เช่น การแบ่งพื้นที่รับผิดชอบ การทาความสะอาดการทาเวรประจาวันในห้องเรียน กิจกรรมสภา
นักเรียน โครงงานวัยรุ่นวัยใส ใส่ใจสุขภาพช่องปาก โครงงานคุณธรรมเร่ือง “สุขาดี ชีวีสุขสันต์”
โครงงานคุณธรรมเร่ือง “ขยับแขนขา แลว้ มาทาเวร” ฯลฯ
๑๓
ด้านอดุ มการณค์ ณุ ธรรม
จังหวัดสุรินทร์ได้ดาเนินการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
ด้านอุดมการณค์ ุณธรรม โดยเรมิ่ จากผู้บริหารการศกึ ษา และผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ซึง่ เป็นผู้นาองค์กร
ในการขับเคล่ือนเพื่อเป็นแบบอย่างด้านอุดมการณ์คุณธรรม และพัฒนาเชื่อมโยงสู่ครูผู้สอนและ
บุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ ตลอดจนการปลูกฝังให้ผู้เรียนมีอุดมการณ์คุณธรรมผ่านกระบวน
การเรียนรู้โครงงานคุณธรรม เช่น โครงงานคุณธรรม “คนดีศรีพรหมประสาท” โครงงาน “สร้าง
ศรัทธา นาพาเด็กดี ด้วยวิธีสวดมนต์” เป็นต้น ส่งผลให้ผเู้ รียนเกดิ ความศรัทธาในการพัฒนาตนเอง
และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั อยา่ งเป็นรูปธรรม
๓) การมีส่วนรว่ มจากหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งเข้ามามีส่วนรว่ มในการขบั เคล่อื นโครงการ
โรงเรียนคุณธรรม
๓.๑ หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ งเข้ามามีสว่ นรว่ มในการขับเคลือ่ นโครงการโรงเรยี นคุณธรรม
๑) สานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั สรุ ินทร์รว่ มกับสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ ง
ไดจ้ ัดทาแผนพฒั นาการศึกษา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ –๒๕๖๔ และแผนพัฒนาการศึกษา
พน้ื ที่ชายแดนจังหวัดสุรินทร์ ระยะ ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ สร้างสังคมแห่งการ
เรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ภายใต้ภูมิปัญญาท้องถ่นิ และสังคมพหุวฒั นธรรมพื้นท่ี
ชายแดน โดยกาหนดทิศทางการส่งเสริมและพัฒนาไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ในรูปแบบ
โครงการ/กจิ กรรมทห่ี ลากหลายตามบรบิ ทของแตล่ ะสถานศึกษา
๒) ดาเนินการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา และ
นักเรยี นแกนนา ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โรงเรียนคณุ ธรรมด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม
ตามแนวทางมูลนิธิยุวสถิรคุณ โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนสุจริต สถานศึกษาพอเพียง การปลูกฝัง
ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ และกิจกรรมอื่นๆ โดยบูรณาการสอดแทรกเพื่อนาไป
ประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน
๓) ดาเนินการนิเทศ กากับ และติดตามการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม
โดยใช้การนิเทศภายในสถานศึกษา และการนิเทศ กากับ และติดตามโดยหน่วยงานต้นสังกัด เพ่ือ
กากับ และประเมินผลการพัฒนาในการส่งเสริมและพัฒนาในรูปแบบของวิธีการปฏิบัติท่ีดี (Good
Practices) เพ่ือเป็นต้นแบบและแนวทางการดาเนินงานแก่สถานศึกษาอ่ืนอย่างเป็นระบบและ
ตอ่ เน่อื ง
๔) สรุปรายงานผลการพัฒนาและส่งเสริมการขับเคล่ือนโรงเรียนคุณธรรม เพื่อ
สังเคราะห์ปัญหาข้อเสนอแนะ และแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาที่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อการ
พฒั นาในระยะต่อไป
๓.๒ หนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องเขา้ มามีส่วนร่วมในการขับเคลือ่ นโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรม ดงั น้ี
๑) สานักงานจงั หวัดสรุ นิ ทร์
๒) สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสรุ ินทร์
๓) สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาในจังหวัดสรุ นิ ทร์ สรุ นิ ทร์ ๔ เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา
๔) สานักงานการอาชีวศึกษา
๕) สานกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุรนิ ทร์
๑๔
๖) ศนู ยโ์ รงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคณุ (มยส.)
๗) องค์การบริหารส่วนจงั หวดั สรุ ินทร์
๘) สานักงานกองทุนสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ สุขภาพ (สสส.)
๔) ผลการดาเนนิ งานโครงการขยายผลเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ
สถานศึกษาทีเ่ ข้าร่วมโครงการโรงเรยี นคุณธรรมสามารถดาเนินงานตามโครงการขยายผล
เกษตรเพื่ออาหารกลางวันอันเนื่องมาจากพระราชดาริ อย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึนดังนี้ คือ
สถานศึกษาน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน นักเรียน
ได้รับประมานอาหารกลางวนั ทถี่ ูกสุขลักษณะ นักเรยี นมสี ุขภาพกาย สุขภาพจิตดี ทาให้ส่งผลต่อการ
เรียนที่มีประสิทธิภาพที่เพิ่มข้ึน และสถานศึกษามีนวัตกรรม ผลผลิตด้านการเกษตร เพื่ออาหาร
กลางวนั เปน็ แหล่งเรยี นรใู้ ห้สถานศึกษาเครอื ขา่ ยศึกษาดูงาน และชุมชนตน้ แบบตัวอย่าง
๓. การดาเนินการตามนโยบายของหน่วยงานมคี วามโดดเด่น หรือจุดแขง็ อยา่ งไร และ
ก่อให้เกิดประโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
๓.๑ ความโดดเดน่ จดุ แข็ง ของหนว่ ยงานในการดาเนนิ การตามเปา้ หมายสถานศึกษา
ไดร้ บั การพัฒนาและบรรลุ ตามตัวชวี้ ัด ๗ ประการ ดงั น้ี
- มีอุดมการณ์คณุ ธรรมในการพัฒนาในโรงเรียนคุณธรรม
สถานศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรมทุกแห่งมีอุดมการณ์คุณธรรมใน
การพัฒนาในโรงเรียนอยู่ในระดับมาก โดยสามารถดาเนินการจัดทาโครงงานคุณธรรมในระดับ
โรงเรียน ระดับห้องเรียน ที่สอดคล้องกับสภาพปัญหาท่ีตรงตามสภาพจริงของแต่ละบริบทของ
สถานศึกษา และแตล่ ะห้องเรยี น เพ่อื ขบั เคล่อื นตามกระบวนการและขนั้ ตอนของการจัดทาโครงงาน
คุณธรรม สง่ ผลให้เกดิ การปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมบ่งชเ้ี ชงิ บวกอยา่ งแทจ้ ริงและย่ังยนื
- มกี ลไกและเครอื่ งมอื ในการปฏิบัติคณุ ธรรมจริยธรรมร่วมกนั ทง้ั โรงเรียน
สถานศกึ ษาทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรมทกุ แหง่ มกี ลไกและเครื่องมือใน
การปฏบิ ตั คิ ุณธรรมจรยิ ธรรมร่วมกนั ทง้ั โรงเรยี น โดยใช้คมู่ ือการจัดกิจกรรมพัฒนาโรงเรียนคณุ ธรรม
แบง่ ภาระงานในการขบั เคลื่อนท้งั ระดับสถานศกึ ษา ระดบั หอ้ งเรียน เชือ่ มโยงสคู่ รอบครวั และชุมชน
รวมท้งั การนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา และการนเิ ทศ กากับ และติดตามอยา่ งมสี ่วนรว่ ม ในรปู แบบของ
ทมี นเิ ทศอาสา ทมี วทิ ยากรแกนนา ทีม Roving Team จากเขตตรวจราชการที่ ๑๔เพือ่ กากบั ติดตาม
การดาเนินงานโครงการโรงเรยี นคุณธรรมอยา่ งเปน็ ระบบ และตอ่ เนอื่ ง
- มพี ฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์ มีคุณธรรมจริยธรรม ความพอเพียง ความกตญั ญู
ความซือ่ สัตย์สจุ ริต อดทนและเสยี สละในโรงเรยี นเพิม่ ขึ้น
ผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา ครู และผู้เรียนในสถานศกึ ษาทุกแหง่ ที่เข้ารว่ มโครงการ
โรงเรียนคณุ ธรรมมีพฤตกิ รรมพึงประสงค์ มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ความพอเพียง ความกตญั ญู ความ
ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต อดทน และเสยี สละ ในโรงเรียนเพ่มิ ขึ้น สอดคล้องกบั คุณธรรมอตั ลักษณท์ ่ีสถานศกึ ษา
กาหนด
๑๕
- พฤตกิ รรมทีไ่ มพ่ งึ ประสงคล์ ดลง
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เรียนในสถานศึกษาทุกแห่งท่ีเข้าร่วมโครงการ
โรงเรียนคุณธรรมมีพฤตกิ รรมทีไ่ มพ่ ึงประสงค์ลดลง เชน่ การมาโรงเรียนสาย การทิง้ ขยะไมถ่ ูกท่ี การ
แตง่ กายไม่ถกู ระเบียบของสถานศึกษา การไม่ปฏบิ ตั ิตามข้อตกลงของโรงเรียน เป็นต้น
- มกี ระบวนการมีส่วนรว่ ม และสร้างความรับผิดชอบจากผู้เก่ียวขอ้ งในโรงเรยี น
ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้เรียนในสถานศึกษาทุกแห่งที่เข้าร่วมโครงการ
โรงเรียนคุณธรรมมีส่วนร่วม และสร้างเครือข่ายความรับผิดชอบจากผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียน ตาม
บทบาทและหน้าทที่ ่ีไดร้ ับมอบหมายท้ังในระดับโรงเรียน และระดบั ห้องเรียนในทุกขั้นตอน ท้งั ในข้ัน
การวางแผน การดาเนินการ การประเมินผล และการสรุปรายงานผล โดยการมีสว่ นร่วมทงั้ บุคลากร
ภายในสถานศกึ ษา ชุมชนและหนว่ ยงานอนื่ ที่เกีย่ วข้อง
- มีองค์ความรู้ นวัตกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรม และบูรณาการไวใ้ นช้ันเรยี น
สถานศึกษาทุกแห่งที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรมมีองค์ความรู้ นวัตกรรม
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม มีแผนการเรียนรแู้ ละโครงงานคุณธรรมท่เี สรมิ สร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม
ท่ีสอดคล้องกับบริบทของแต่ละห้องเรียนในแต่ละระดับชั้น ส่งผลให้สามารถนาไปใช้ในการส่งเสริม
และพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรมอยา่ งมีประสิทธผิ ล
- เปน็ แหลง่ เรียนรดู้ ้านคุณธรรม จริยธรรม
มีสถานศึกษาท่ีเป็นตน้ แบบ ท่ีเข้ารว่ มโครงการโรงเรยี นคณุ ธรรมกับมูลนิธิยวุ สถิ
รคุณ จานวน ๗ แห่งของจงั หวัดสรุ ินทรท์ ่ีเปน็ ตน้ แบบคุณธรรม ดงั นี้ คอื
๑. โรงเรียนสตรวี ิทยาสมาคม อาเภอสังขะ
๒. โรงเรยี นบ้านโจรก อาเภอกาบเชิง
๓. โรงเรียนบา้ นหนองคนั นา อาเภอพนมดงรัก
๔. โรงเรยี นบ้านโอทะลัน อาเภอบวั เชด
๕. โรงเรยี นบ้านอาปึล อาเภอพนมดงรัก
๖. โรงเรยี นกาบเชิงมติ รภาพท่ี ๑๙๐ อาเภอกาบเชงิ
๗. วทิ ยาลยั การอาชีพศีขรภมู ิ อาเภอศขี รภมู ิ
๓.๒ ประโยชน์ท่เี กดิ ข้ึน จากการดาเนินการตามนโยบาย
- สถานศกึ ษาได้รบั การพัฒนาตามรูปแบบของศนู ยโ์ รงเรียนคุณธรรม มลู นธิ ิยวุ สถิรคณุ
- ผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาได้รับการพฒั นาตามแนวทางของมูลนิธยิ ุวสถิ
รคณุ
- นักเรียนได้รับการพัฒนาให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ “อยู่อย่างพอเพียง” ได้
ดาเนินการโดยใช้โครงงานคุณธรรมเป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้ และเช่ือมโยงกระบวนการ
พัฒนาผ่านการคิดวิเคราะห์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น คิดอย่างมีเหตุผล คิด
วางแผนอย่างรอบคอบและระมัดระวัง การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ที่พอเหมาะกับโครงงานคุณธรรม
ส่งผลให้ผู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีทักษะในการแก้ปัญหา สามารถเผชิญ
๑๖
สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นได้ มีทักษะกระบวนการในการทางานกลุ่ม มีทักษะในการสื่อสาร โดยใช้
เงื่อนไขความรูแ้ ละเง่อื นไขคุณธรรมเปน็ ตน้ ทุนในการจัดทาโครงงานคุณธรรม
๔. การดาเนินงานพบ จุดออ่ น ปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ในการดาเนินการอยา่ งไร รวมท้งั
ได้ดาเนนิ การแกไ้ ขปัญหาที่เกดิ ข้ึนอยา่ งไร
๔.๑ ปัญหา อปุ สรรค ภัยคกุ คาม จากการดาเนินการตามนโยบาย
พบวา่ จากการดาเนนิ โครงการโรงเรียนคุณธรรมมาได้ระยะหนึ่ง ไดพ้ บปัญหา อุปสรรค ภัย
คกุ คาม จากการดาเนินการตามนโยบาย ดงั น้ี คือ พบว่าขาดการมสี ่วนรว่ มระหวา่ งหนว่ ยงานบางแหง่
ยงั ไม่ทราบและไม่เขา้ ใจนโยบาย/โครงการโรงเรียนคุณธรรมว่าเป็นอย่างไร เขา้ ใจว่า การเขา้ โครงการ
โรงเรียนคุณธรรมเป็นเพราะโรงเรียนไม่มีคุณธรรมจึงถูกให้เข้าร่วมโครงการ แต่จริง ๆแล้วเ ป็น
โครงการท่ีให้เข้าร่วมโดยความสมัครใจ เป็นโครงการท่ี “ช่วยสร้างคนดีให้แก่บ้านเมือง” โครงการ
โรงเรยี นคณุ ธรรมขาดการประชาสมั พันธ์ และขาดความตอ่ เน่ืองของนโยบาย/โครงการและพบว่า เกิด
แรงตอ่ ตา้ นจากผทู้ ี่ไม่เห็นดว้ ยและมคี วามคิดเหน็ ท่ไี มต่ รงกนั ความขดั แยง้ ทางศาสนา เปน็ ตน้
๔.๒ การแก้ไขปัญหาอุปสรรค ภัยคกุ คามท่ีเกิดขึน้
การแก้ไขปัญหาอุปสรรค ภัยคุกคามที่เกิดขึ้น ได้ดาเนินการสร้างความตระหนักให้ผู้ท่ีมีส่วน
เกี่ยวข้องเกดิ ความรู้ความเข้าใจในนโยบาย และโครงการ ดาเนินการประชาสัมพนั ธ์ให้ทุกหน่วยงาน
และผทู้ ีม่ ีสว่ นเกี่ยวข้องทราบและเหน็ ความสาคญั ชว่ ยกันขบั เคล่ือนโครงการ และนโยบายสาคัญนี้ให้
ยง่ั ยืนและบรรลุผลตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ และเป็นไปตามตวั ชว้ี ัด ของโครงการ
๔.๓ จากปญั หา อปุ สรรค ภัยคุกคาม ท่ีเกิดขึน้ ควรปรับปรุงนโยบายอย่างไร
จากปัญหา อุปสรรค ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้น ควรปรับปรุงนโยบาย โดยการประกาศเป็น
นโยบายที่สาคญั และให้สถานศกึ ษาทุกแห่งเข้ารว่ มโครงการ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ และสถานศึกษาทกุ แห่ง
ตอ้ งไดร้ ับการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง มีการนิเทศ ติดตามผลการดาเนินงาน มีรายงานผลการดาเนินงาน
เป็นระยะๆ หน่วยงานทุกหน่วยงานบุคลากรทุกภาคส่วนต้องมีความตระหนักรับรู้รับทราบการ
ดาเนินงานตามนโยบาย โรงเรียนคุณธรรม ควรส่งเสริมสนับสนุนงบประมาณให้แก่สถานศึกษาทุก
แหง่ ในการขับเคลื่อนนโยบายโรงเรียนคุณธรรม ตอ้ งช่วยกัน “สร้างคนดีใหแ้ ก่บา้ นเมอื ง”
๕. นวตั กรรม ต้นแบบ หรอื แบบอย่างท่ีดี ท่ีเกดิ ขึ้น จากการดาเนินการตามนโยบาย
นักเรียนตน้ แบบคณุ ธรรม ผู้บริหารตน้ แบบคณุ ธรรม โรงเรียนต้นแบบคุณธรรม ผปู้ กครอง
ต้นแบบคุณธรรม ชุมชน หน่วยงานต้นแบบคุณธรรม สถานศึกษาพอเพียง สถานศึกษาศูนย์
เศรษฐกจิ พอเพียง และหมู่บา้ นพอเพยี ง
๖. การดาเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจราชการ หรือทีป่ รึกษาผตู้ รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการที่ผ่านมา (ถ้าม)ี
๑๗
ข้อเสนอแนะของผ้ตู รวจราชการสานกั นายกรฐั มนตรี ระดับเขตพืน้ ทีม่ ี ๒ ข้อ ดงั นี้
๑) จังหวัดในเขตตรวจราชการที่ ๑๔ มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม ตาม
นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ (ร้อยละ ๓๕ ของโรงเรียนท้ังหมด) อย่างไรก็ตาม โรงเรียนทย่ี ังไม่
เข้าร่วมโครงการในปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ขอให้มีการดาเนินการเพิ่มเติมใหค้ รอบคลุมทุกโรงเรียน และ
ขอให้มกี ารดาเนนิ การอย่างตอ่ เนอื่ ง เพือ่ ให้เหน็ ผลเป็นรูปธรรมทช่ี ดั เจน
๒) สถานศึกษาส่วนใหญ่มีกิจกรรมในการดาเนินการท่ีเกิดจากส่วนราชการ ซ่ึงผลการ
ดาเนินการจะมีการปฏิบัติเฉพาะในโรงเรียน แต่เมื่อนักเรียนกลับบ้าน กลับสู่ชุมชน จะมีการปฏิบัติ
น้อยลง เพื่อให้การดาเนินการสร้างคุณธรรมมีผลในทางปฏิบัติมากขึ้น ขอให้ทุกจังหวัด โดย
ศกึ ษาธิการจังหวัด เขตพืน้ ที่การศกึ ษา ประสานโรงเรยี นให้ได้มีการปรับปรงุ วธิ คี ิด วิธกี ารดาเนินการ
โดยให้ทุกภาคส่วน เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ได้เข้า
ร่วมตั้งแต่กระบวนการคิดและการนาไปสู่การมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ ตลอดจนร่วมในการติดตาม
ประเมินผล
หลังจากได้รับผลการดาเนินการตามข้อสังเกต และข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการสานัก
นายกรฐั มนตรใี นการตรวจราชการ คร้ังท่ี ๑ สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์ไดด้ าเนินการดังนี้
ขอ้ ๑ โรงเรียนท่ียังไม่เข้ารว่ มโครงการในปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ขอให้มีการดาเนินการเพ่ิมเติม
ให้ครอบคลุมทุกโรงเรยี น และขอใหม้ กี ารดาเนนิ การอย่างตอ่ เนอื่ ง เพอ่ื ใหเ้ หน็ ผลเป็นรปู ธรรมท่ีชดั เจน
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้ดาเนินการ นิเทศ ติดตามระยะท่ี ๑ โดยการสร้าง
ประสานสมั พันธก์ ับหน่วยงานและสถานศกึ ษา เพอ่ื การสรา้ งแรงจูงใจ , ความตระหนักในการสร้างคน
ดีให้แก่บ้านเมืองการนิเทศ ติดตาม ความพร้อมของสถานศึกษาตามภูมิสังคมและบริบทของ
สถานศึกษาประชาสัมพันธ์ให้มีการดาเนินการเพิ่มเติมให้ครอบคลุมทุกโรงเรียน และให้มีการ
ดาเนินการอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้เห็นผลเป็นรูปธรรมท่ีชัดเจน พบว่าสถานศึกษาสมัครใจเข้าร่วม
โครงการเพ่มิ จากระยะท่ี ๑ รอ้ ยละ ๓๕ เปน็ รอ้ ยละ ๗๕.๐๐ ของโรงเรยี นท้งั หมด
ขอ้ ๒ ขอให้ทกุ จังหวัด โดยศึกษาธิการจังหวดั เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา ประสานโรงเรียน ใหไ้ ด้มี
การปรับปรุงวธิ คี ิด วิธีการดาเนนิ การ โดยให้ทุกภาคส่วน เช่น ผู้ปกครอง ชุมชน องคก์ รปกครองสว่ น
ท้องถ่ิน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ได้เข้าร่วมต้ังแต่กระบวนการคิดและการนาไปสู่การมีส่วนร่วมในการ
ปฏบิ ตั ิ ตลอดจน รว่ มในการตดิ ตามประเมนิ ผล
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ได้ดาเนินการระดมความคิดจากผู้บริหารสถานศึกษา
คณะครูและผูป้ กครองในการแก้ไขปัญหาเดก็ นักเรียนที่มคี ุณลักษณะไม่พึงประสงค์โดยการจดั ทาแผน
หรอื วธิ ีการท่ีจะแกป้ ัญหา โดยใช้ “นวัตกรรมครหู มู่บ้าน” คอื ใหผ้ ู้นาท้องถิ่นปราชญช์ าวบา้ นช่วยดูแล
แนะนา ตักเตอื น เสนอแนะ แกไขคณุ ลกั ษณะไม่พึงประสงคข์ องนกั เรยี นและเยาวชนในท้องถน่ิ น้ันๆ
ภาพประกอบระบุกจิ กรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๑๘
การพฒั นานกั เรยี นแกนนา กิจกรรม “คา่ ยยวุ ชนคนคุณธรรม”
ผลการดาเนินงานโครงการขยายผลเกษตรเพื่ออาหารกลางวันอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ
๕. สะเต็มศึกษา (STEM Education)
โครงการสาคัญทไี่ ด้รบั การสนบั สนุนงบประมาณ ได้แก่
๑๙
๑. โครงการขับเคล่ือนการจัดการเรยี นรสู้ ะเต็มศกึ ษา (STEM Education) (สสวท./สพฐ.)
วตั ถปุ ระสงค์
๑) เพื่อเร่งรัดพัฒนาคุณภาพการศึกษาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์
ในสถานศกึ ษาของสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
๒) เพื่อพัฒนาศักยภาพศึกษานิเทศก์ และผู้บริหารสถานศึกษาให้มีศักยภาพในการ
บริหา ร จัดก าร ก าร นิเ ทศ ก ากั บ ติดตา มสถา น ศึก ษ าที่จัด ก าร เ รียน รู้ สะ เต็ มศึก ษ า
(STEM Education)
๓) เพื่อพัฒนาศักยภาพครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ให้มี
ศกั ยภาพในการจัดการเรียนรู้สะเตม็ ศกึ ษา
๔) เพอื่ พัฒนานวตั กรรมส่อื การเรยี นรู้ กิจกรรมท่ดี ้านการจดั การเรียนรู้สะเต็มศกึ ษา
(STEM Education)
๒. โครงการขบั เคลอ่ื นการจัดการเรยี นรสู้ ะเต็มศกึ ษา (STEM Education) (สป./สช)
วัตถุประสงค์ :เพ่อื ส่งเสริมโรงเรียนเอกชนในการพัฒนารปู แบบกระบวนการเรียนรตู้ าม
แนวทางสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education)
ประเด็นนาเสนอผลการดาเนนิ งานตอ่ ผ้ตู รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนินการ บรรลผุ ลตามวัตถุประสงคข์ องนโยบายที่กาหนดไว้ หรอื ไม่ อย่างไร
ผลการดาเนินการโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา(STeM Education)
บรรลุผลตามวตั ถุประสงค์ของนโยบาย ทั้งในส่วนของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
และส่วนของสังกดั สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เพราะมีการดาเนินการโครงการและกิจกรรม
ดงั น้ี
1. ในระดับเขตพ้ืนที่/สานักงาน จะมีโครงการขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
(STEM Education) มีการจัดสรรสนับสนุนงบประมาณให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อนาไป
พัฒนานวัตกรรม ส่ือการเรียนรู้ กิจกรรมที่ด้านการจัดการเรยี นรู้สะเต็มศึกษา(STEM Education),มี
การสร้างตระหนักแกผ่ ู้บริหาร ครู รวมทง้ั มีการนิเทศ ตดิ ตามทเ่ี ปน็ การส่งเสริมการออกแบบกิจกรรม
การเรียนร้ทู มี่ ลี กั ษณะการบูรณาการอีกดว้ ย
2. ในระดับสถานศึกษา โรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ STEM education ทุกโรง มีการ
รวมกลุ่มเพ่อื พัฒนาครูดว้ ยการอบรมทางไกลโครงการบรู ณาการสะเตม็ ศึกษา โรงเรียนทเ่ี ป็นศูนยก์ าร
อบรม เช่น โรงเรียนท่าตูมประชาเสริมวิทย์, โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ และโรงเรียนอนุบาลทอง
อุ่น
3. ในระดับชั้นเรียน มีการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการ STEM
Education โดยเนน้ ให้มีนวตั กรรมใหม่ๆ หรือช้ินงานท่เี กิดข้นึ หลังจากจดั กจิ กรรม
๒. การดาเนินการตามนโยบายของหน่วยงานมคี วามโดดเด่น หรือจุดแขง็ อย่างไร และ
ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเด่น จุดแข็ง ของหนว่ ยงาน ในการดาเนินการตามนโยบาย
๒๐
1. มีการจัดทาโครงการขับเคลื่อนสะเต็มศึกษา(STEM Education) บรรจุไว้ใน
แผนพฒั นาของสานกั งานเขตพน้ื ที่
2. มีการบรู ณาการโครงการขับเคลอ่ื นสะเต็มศึกษา(STEM Education) กบั โครงการ
อ่นื เช่น มีการประกวดนวัตกรรมจากขยะ โดยผ่านกระบวนการสะเต็มศึกษา,บรู ณาการกับโครงการ
ลดเวลาเรยี นเพม่ิ เวลารเู้ ป็นต้น
3. ครูผู้สอนในกล่มุ วิชา STEM Education เป็นผูท้ ี่มีความมุง่ มั่นจะพฒั นาการศกึ ษา
ครมู กี ารพฒั นาตนเองอยู่เสมอโดยการเขา้ อบรมกบั หน่วยงานตา่ งๆ
4. เกดิ นวัตกรรมหรอื การปฏิบตั ิทเี่ ป็นเลิศข้นึ หลงั จากจดั กจิ กรรม STEM Education
๒.๒ ประโยชน์ท่เี กดิ ขน้ึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
1. ระดบั เขตพน้ื ที/่ สานกั งาน ระดบั นโยบายเห็นความสาคญั ถึงการพฒั นาการเรียนรู้
เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ทักษะท่สี าคัญในศตวรรษที่ 21
2. ครูมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง มีการเขา้ กลุ่มเพ่ือพฒั นาการเรียนการสอน
STEM Education มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูต่างพ้ืนท่ี เพื่อนาสิ่งดีๆท่ีเกิดจากการแลกเปลี่ยน
เรียนรู้มาพัฒนางานการสอนของตนเองให้ดขี น้ี ซงึ่ สอดคล้องกบั นโยบาย PLC ในปจั จบุ ัน
3. ผู้เรียนมีทักษะท่ีสาคัญในศตวรรษท่ี 21 มากขึ้น เช่น ทักษะการคิดวิเคราะห์
ทกั ษะการส่อื สาร ทักความร่วมมือ ทักความคิดสร้างสรรค์ เปน็ ต้น ซ่ึงลว้ นแลว้ แต่เป็นทกั ษะทส่ี าคัญ
ต้องเกดิ กบั ผ้เู รยี น
4. ครู นักเรียน เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างย่ังยืน มีทักษะการคิดที่มี
เหตผุ ล มีการวางแผน มีระบบ ระเบยี บ ตรวจสอบได้ ทางานร่วมกับคนอ่ืนอยา่ งมีความสุข
๓. การดาเนินงานพบ จุดออ่ น ปัญหา อปุ สรรค ภัยคุกคาม ในการดาเนนิ การอยา่ งไร รวมทงั้
ไดด้ าเนินการแก้ไขปญั หาท่เี กดิ ข้ึนอย่างไร
๓.๑ ปัญหา อปุ สรรค ภัยคุกคาม จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
- ปัญหาเรอ่ื งหนงั สือราชการการดาเนินงานตามนโยบายส่งถึงเขตพืน้ ท่ี
- ปญั หาศนู ยอ์ บรมไม่เพยี งพอตอ่ ความต้องการเข้าอบรมของครู
๓.๒ การแก้ไขปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ท่ีเกดิ ขึน้
- ปัญหาเรื่องความชดั เจนของหนังสือราชการการดาเนินงานตามนโยบายส่งถึงเขต
พน้ื ที่ มีการแก้ไข ปัญหาโดยการประสานไปยังศูนยฝ์ ึกอบรม หนว่ ยงานอนื่ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนร้เู พ่ือ
นาขอ้ สรุปทด่ี มี าพฒั นางาน
-ปัญหาศูนย์อบรมไม่เพียงพอต่อความต้องการเข้าอบรมของครู มีการแก้ไขปัญหา
โดย ใหค้ รบู างทา่ นทไี่ มอ่ ยู่ในโรงเรียนโครงการไมใ่ หเ้ ข้าร่วมอบรม
๓.๓ จากปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ที่เกิดขึน้ ควรปรบั ปรงุ นโยบายอย่างไร
- กอ่ นอบรมพัฒนาครูหรือดาเนนิ การการทเี่ ป็นนโยบาย ควรจดั ประชมุ ศกึ ษานิเทศก์
เพ่อื มอบนโยบายกอ่ นเพอ่ื สรา้ งความเข้าใจระหวา่ งผูม้ อบนโยบายกบั ผปู้ ฏบิ ัติ
- ควรมีโรงเรยี นท่เี ป็นศูนย์ฝกึ อบรม สะเต็มศึกษาในจงั หวัดสรุ ินทร์เพมิ่ ขน้ึ ประมาณ
3-6 โรงเรียน เพ่ือแกป้ ัญหาการรองรับความตอ้ งการการพฒั นาของครู
๔. นวตั กรรม ต้นแบบ หรอื แบบอยา่ งท่ีดี ทเี่ กิดขึ้น จากการดาเนินการตามนโยบาย
๒๑
รายงานการจัดกิจกรรมสะเตม็ ศกึ ษาในโรงเรยี นบา้ นหนองบวั บาน (บัวบานวทิ ยาคม) ปี
การศึกษา 2559
1. ชอ่ื กจิ กรรม น้านมขา้ วโพดเพิ่มเวลารู้
2. วิธีการ / กิจกรรมท่ดี าเนนิ การไปแลว้
กจิ กรรมนา้ นมขา้ วโพดเพิ่มเวลารู้น้เี ปน็ กจิ กรรมท่บี ูรณาการระหวา่ งกจิ กรรม STEM กับ
กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ โดยมวี ธิ ีการหรอื ข้ันตอนในการดาเนนิ กิจกรรมดังน้ี
- จัดกลุ่มนักเรียนกลุ่มละประมาณ 10-15 คนโดยวิธใี ห้นักเรียนเลือกสมัครว่าจะอยู่ในกลุ่ม
ครูที่ปรกึ ษาคนใด
- ครูและนักเรียนในกลุ่มร่วมพูดคุยสร้างปฏิสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดความคุ้นเคยและความ
อบอุ่นทจี่ ะไดร้ ว่ มกิจกรรมกันตลอดไป
- ครูและนักเรียนร่วมกันคิดเสนอกิจกรรมที่จะรว่ มกนั ทาในกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้
โดยครูเป็นผู้อธิบายหรือให้แนวทางเก่ียวกับกิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้ว่าเปน็ อย่างไรจากนั้นให้
นักเรยี นชว่ ยกนั วเิ คราะหว์ า่ เราจะทากิจกรรมอะไรโดยวเิ คราะห์หรือคานงึ เกี่ยวกับเร่อื งต่อไปนี้
- เปน็ กิจกรรมท่ีนักเรยี นมคี วามสนใจร่วมกัน
- เปน็ กิจกรรมทน่ี กั เรยี นรว่ มกนั ปฏบิ ัติในชว่ั โมงลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้
- เปน็ กิจกรรมทไ่ี ม่ย่งุ ยากและใช้เวลาจนเกนิ ไปสามารถหาวัสดอุ ปุ กรณท์ ่ีมีอยูใ่ นท้องถนิ่ ได้
- เปน็ กิจกรรมที่จะสร้างผลงานหรือเพ่มิ รายไดใ้ ห้กบั นกั เรยี นได้
- จากนัน้ เม่ือนกั เรยี นไดก้ จิ กรรมดังกล่าวทจี่ ะร่วมกันทาแล้วครูไดอ้ ธิบายหรอื ให้ความรูว้ ่า
กจิ กรรมน้ีเปน็ กจิ กรรมทจ่ี ะบูรณาการเขา้ กบั การจัดกจิ กรรมสะเตม็ ศึกษา จากนน้ั ครใู หค้ วามรเู้ กี่ยวกับ
สะเต็มศกึ ษาคืออะไรเปน็ อยา่ งไรแกน่ ักเรยี นพอสังเขป
- ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั กาหนดหรอื วางแผนกิจกรรมทาเป็นปฏิทินกิจกรรม (น้านมขา้ วโพด
เพ่มิ เวลาร)ู้
- ครูวิเคราะหห์ ลักสตู ร STEM ของกจิ กรรมนั้นวา่ เชอ่ื มโยงแต่ละวชิ า (STEM)ทจ่ี ะเกิดจาก
การปฏบิ ตั ิกจิ กรรมน้ันอยา่ งไร
- นักเรียนลงมือปฏิบตั ิกิจกรรมตามปฏิทนิ ท่ีกาหนดไวต้ รงกับมาตรฐานหรือตัวชีว้ ัดใดในวิชา
วทิ ยาศาตร์ (S) วิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี (T) วิศวกรรมศาสตร์ (E) และวชิ าคณิตศาสตร์ (M)
เชื่อมโยงกับกิจกรรมท้ังเน้ือหาและทักษะ และในระหว่างปฏิบัติกิจกรรมมีปัญหาหรืออุปสรรคใดก็
ร่วมกันคิดและแกไ้ ข ทา้ ยช่วั โมงครแู ละนักเรยี นรว่ มกันสรุปเก่ียวกับผลการปฏิบตั ิหรอื ปัญหาทีพ่ บใน
แต่ละวนั บนั ทกึ และร่วมกันคิดหาแนวทางแก้ไขตอ่ ไป
- นักเรยี นร่วมกนั จัดแสดงผลงาน
3. ปญั หา/อุปสรรค
จากการจัดกจิ กรรมสะเต็มศกึ ษาในโรงเรียนบ้านหนองบัวบานในปีการศึกษา 2559 น้ี
พบว่า
๒๒
1. ครสู ่วนมากยังไม่มีความร้คู วามเขา้ ใจในการจดั กจิ กรรมสะเตม็ ศึกษา
2. ครยู ังขาดทักษะในการเชื่อมโยงกิจกรรมกับมาตรฐานและตัวช้วี ัดใน 4 วชิ าหลกั
3. ขาดความตอ่ เน่ืองของกิจกรรมเพราะบางทมี กี จิ กรรมเรง่ ด่วนท่ีทางโรงเรียนต้องรีบ
ดาเนินการ
4. ครแู ละนกั เรยี นยังขาดทักษะในกระบวนการแก้ปัญหาจากการดาเนินกจิ กรรม
4.ขอ้ เสนอแนะ
1. จดั อบรมให้ความรคู้ รูเกี่ยวกับแนวทางการจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษา
2. ใหค้ รูได้ไปศกึ ษาดูงานจากโรงเรียนต้นแบบหรือครตู น้ แบบท่ีจัดกจิ กรรมสะเต็มศึกษา
ผ้รู ายงาน นางสาวสมรักษา เพง็ งาม ตาแหน่งครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพิเศษโรงเรยี น
บ้านหนองบวั บาน
๕. การดาเนินการตามข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการ หรือที่ปรกึ ษาผ้ตู รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการที่ผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่มี)
๖. ข้อเสนอของหนว่ ยงานผู้รับการตรวจ
๖.๑ ข้อเสนอ ทเี่ ป็นความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่ม)ี
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะ อนื่ ๆ (ถา้ ม)ี
(ไมม่ ี)
ภาพประกอบระบกุ ิจกรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๖. การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ O-NET
โครงการสาคญั ทไ่ี ด้รบั การสนับสนนุ งบประมาณ (ถา้ มี)
๒๓
โครงการสวัสดีคุณครูวันเปิดเทอมทุกภาคเรียนโดย ผอ.เขต ประชุมช้ีแจงให้นโยบายกับ
คณุ ครูทุกคนเพื่อสรา้ งความเข้าใจ ของสานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนนิ งานตอ่ ผู้ตรวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนินการ บรรลุผลตามวัตถุประสงคข์ องนโยบายที่กาหนดไว้ หรือไม่ อย่างไร
จากการดาเนินงานกิจกรรมดังกล่าวของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สุรินทร์ เขต 1 ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิการเรียนคะแนน O-NET ปีการศึกษา 2559 มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า
ระดบั ประเทศเป็นปที ่ี 5 ติดตอ่ กนั
๒. การดาเนินการตามนโยบายของหน่วยงานมีความโดดเด่น หรือจุดแข็งอย่างไร และ
ก่อให้เกิดประประโยชนใ์ นด้านใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเด่น จดุ แข็ง ของหนว่ ยงาน ในการดาเนินการตามนโยบาย
- การดาเนินงานของสานักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 1 มี
กิจกรรมทม่ี ลี ักษณะเดน่ ดงั นี้
1. มกี ารประชุมปฏิบตั กิ ารวเิ คราะหผ์ ลการสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558 ทัง้ ใน
ภาพของเขตพน้ื ที่ และรายโรงเรยี น
- นาผลการนาผลการสอบ O-NET จากประกาศของ สทศ. ในรายวิชา รายสาระการ
เรยี นรู้เปรยี บเทยี บกบั ผลการสอบของโรงเรยี นตามสงั กดั ตามขนาด
- โรงเรียนรู้ เขา้ ใจจุดควรพัฒนาและวเิ คราะห์หาสาเหตุวา่ เกดิ จากกระบวนการเรียน
การสอน การวดั ประเมนิ ผลหรือจากตวั นักเรียนเอง
- โรงเรียนนามาวางแผนแก้ไขอยา่ งเปน็ ระบบตามสาเหตุของปญั หา
2. กาหนดเป้าหมายของการพัฒนา โดยการประชุมปฏบิ ัติการจัดทากลยทุ ธก์ าร
ทางานของเขตพืน้ ที่ ตามรูปแบบ SMART Model ดงั น้ี
- SMART Student
- SMART Teacher
- SMART Director
- SMART SRN 1
3. ทา MOU กับโรงเรียนทกุ โรง ให้นาแนวการดาเนนิ งานตามรูปแบบ SMART
Model ไปใช้ในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
4. โครงการสวสั ดคี ุณครูวันเปิดเทอมทกุ ภาคเรียนโดย ผอ.เขต ประชมุ ชี้แจง ให้
นโยบายกบั คณุ ครูทกุ คนเพอ่ื สร้างความเข้าใจ
5. รูเ้ ทา่ ทันการสอบ O-NET โดยการประชาสัมพนั ธ์ประชุมปฏิบตั กิ ารทาความ
เข้าใจแก่ครผู ู้ทเี่ กี่ยวขอ้ งเพอ่ื ส่งตอ่ ไปยังนกั เรียน
- รูปแบบ/โครงสรา้ งขอ้ สอบ
- วธิ กี ารทาแบบทดสอบเขยี นตอบ
- เกณฑ์การให้คะแนน
6. นิเทศ ติดตาม ใหข้ วญั กาลังใจ
- เยย่ี มช้ันเรยี น
๒๔
- ค่ายทกั ษะทางวชิ าการ
- กจิ กรรมการสอนเสริม
๒.๒ ประโยชน์ที่เกดิ ขน้ึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
ทาให้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนคะแนน O-NET ปีการศึกษา 2559 ของ
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 มีค่าเฉล่ียสูงกว่าระดับประเทศเป็นปีที่ 5
ตดิ ตอ่ กนั
๓. การดาเนินงานพบ จุดออ่ น ปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ในการดาเนนิ การอย่างไร รวมทง้ั
ได้ดาเนนิ การแกไ้ ขปัญหาทเ่ี กิดข้ึนอยา่ งไร
๓.๑ ปญั หา อุปสรรค ภยั คุกคาม จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
1. ขาดแคลนครูทม่ี ีความรคู้ วามสามารถ ความถนัด ไมค่ รอบคลมุ 5 สาระหลกั ใน
การสอบ O-NET
2. นักเรียนยงั ขาดทกั ษะและกระบวนการคดิ วเิ คราะห์ขนั้ สงู
3. กจิ กรรมนอกหลักสูตรมากไปทาให้เบียดบงั เวลาในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ของ
นักเรยี น
๓.๒ การแก้ไขปญั หา อุปสรรค ภยั คกุ คาม ท่ีเกิดข้ึน
1. ขาดแคลนครูทม่ี ีความรู้ความสามารถ ความถนัด ไม่ครอบคลุม 5 สาระหลักใน
การสอบ O-NETแกโ้ ดย หมุนเวยี นครเู กง่ ในกลุ่มโรงเรียนให้มาช่วยสอน หรอื จดั โครงการค่ายวชิ าการ
ให้นักเรยี น
2. นักเรยี นยังขาดทกั ษะและกระบวนการคิดวเิ คราะหข์ นั้ สงู แกไ้ ขโดย ปรบั กระบวน
ทัศน์การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนทเี่ น้นทักษะการคิดวเิ คราะห์
3. กจิ กรรมนอกหลักสตู รมากไปทาให้เบยี ดบังเวลาในการจดั กิจกรรมการเรียนร้ขู อง
นกั เรยี นแก้ไขโดยสอนซ่อมเสริม บูรณาการกบั รายวชิ าอื่น
๓.๓ จากปญั หา อปุ สรรค ภยั คุกคาม ทเ่ี กิดข้ึน ควรปรับปรุงนโยบายอยา่ งไร
1. ให้โอกาสครูได้มกี ารพัฒนาความรู้ความสามารถตามความถนดั และความสนใจ
2. จัดเครือข่ายทางวชิ าการครอบคลุมตามสาระการเรยี นรู้ ให้ครูได้มีเวทีเรยี นรู้ทาง
วชิ าการ
3. ดาเนนิ การระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียนอย่างเข้มแขง็ ตอ่ เนอ่ื ง
4. วางแผน จัดปฏิทินการทางานให้กิจกรรมต่างๆ เสร็จสิ้นในภาคเรียนท่ี 1 หรือ
วันหยดุ สว่ นในภาคเรยี นท่ี 2 เปน็ การเตรยี มความพร้อมในการสอบ O-NET
๔. นวัตกรรม ตน้ แบบ หรือแบบอย่างทีด่ ี ทเี่ กิดขึ้น จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
แบบอย่างท่ีดีท่ีเกิดข้ึนตามนโยบายของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์
เขต 1 ดังน้ี
- กาหนดเป้าหมายของการพฒั นา โดยการประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารจดั ทากลยุทธก์ ารทางานของ
เขตพื้นท่ี ตามรูปแบบ SMART Model ดงั นี้
- SMART Student
- SMART Teacher
๒๕
- SMART Director
- SMART SRN 1
๕. การดาเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรอื ทปี่ รกึ ษาผู้ตรวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการที่ผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่ม)ี
๖. ข้อเสนอของหนว่ ยงานผรู้ บั การตรวจ
๖.๑ ขอ้ เสนอ ทเี่ ปน็ ความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่ม)ี
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อน่ื ๆ (ถา้ ม)ี
(ไมม่ ี)
ภาพประกอบระบกุ จิ กรรม และสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
ตามท่ีสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 กาหนดจัดกิจกรรมสวัสดี
คุณครู สู่คุณภาพผู้เรยี น “SMART Model” ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2559 ระดบั เครอื ขา่ ยฯ โดย
กาหนดจัดกิจกรรมให้ครบท้ัง 16 เครือข่ายฯ ซ่ึงในวันที่ 9 พฤศจิกายน 2559 นายกฤตพล ชุติกุล
กีรติ ผอ.สพป.สุรินทร์ เขต1 ได้นาทีมรอง ผอ.สพป.สุรินทร์ เขต 1 ผอ.กลุ่ม และทีมศึกษานิเทศก์
พรอ้ มท้ังประธานเครือข่ายฯ ออกพบปะเพื่อนครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ผู้แทนชุมชน
ถ้องถิ่น ตามโครงการกิจกรรมสวัสดีคุณครู สู่คุณภาพผู้เรียน “SMART Model 4.0” ภาคเช้าไปท่ี
เครือข่ายฯ เมืองสุรินทร์ 4 ณ ห้องประชุมโรงเรียนอนุบาลสุรินทร์ ภาคบ่าย เครือข่ายฯ ลาดวน ณ
หอประชุมโรงเรียนวัดทักษิณวารี วัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อนิเทศ ติดตาม การดาเนินงานการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามรูปแบบ “SMART Model” ของโรงเรียนในสังกัด เพื่อแจ้งนโยบายท่ี
สาคัญให้ผู้เกี่ยวข้องได้นาไปสกู่ ารปฏิบัติในระดับเครือข่ายฯ โรงเรียนและห้องเรียน เพื่อจัดกิจกรรม
แลกเปลยี่ นเรียนรเู้ ก่ียวกับผลการจดั การศึกษาของโรงเรยี นทุกแห่ง รวมถึงเพอ่ื ใหแ้ ต่ละเครือขา่ ยฯ ได้
นาเสนอกลยุทธ์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของเครือข่ายฯ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559
การนี้ นายกฤตพล ชุติกุลกีรติ ผอ.สพป.สุรินทร์ เขต1 ได้แจ้งแนวนโยบายการขับเคลื่อนการพัฒนา
ประเทศไทย Thailand 4.0 และนโยบายสาคัญของกระทรวงศึกษาธกิ าร (ศธ.) 11 ข้อ ที่สาคัญการ
จัดกจิ กรรมครัง้ นี้ ถอื เป็นการให้กาลงั ใจเพอ่ื นครูในสังกัดอดี ้วย ภาพรวมได้รบั ความร่วมมืออย่างดจี าก
ผู้บริหาร คณะครูและผุ้เก่ียวข้องทุกฝ่าย ที่จะร่วมกันพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้เป็นคนดี คนเก่ง มี
ความสุข ในการเรยี นรแู้ ละการดาเนินชีวติ
////// ประเสริฐ ปัตถวัลย์ และทีม ปชส. สพป.สร.1 รายงานจากเวบ็ ไซต์
http://www.obec.go.th/news/75587
๒๖
๗. โครงการลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้
โครงการสาคญั ทไ่ี ด้รับการสนบั สนุนงบประมาณ ไดแ้ ก่
๑. โครงการขบั เคลอ่ื นนโยบายลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารู้
๒๗
วัตถปุ ระสงค์: เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้โรงเรยี นเอกชนสามารถจัดกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารูท้ ี่จัด
หลักสตู รสถานศกึ ษาและครอบคลุม Head Heart Hand Health (สป./สช)
๒. โครงการ การเรียนการสอน การคดิ วเิ คราะห์รปู แบบ Active Learning (ลดเวลาเรยี น
เพ่ิมเวลารู)้
วตั ถปุ ระสงค์ : การจัดคา่ ยเพิม่ เวลา คดั เลอื กสื่อการเรียนรู้ "หน่วยการเรียนรู้ Active
Learning และจัดทาแนวทางการดาเนินงานและเกณฑก์ ารตรวจคดั เลือกสือ่ การเรียนรู(้ สพฐ.)
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนินงานต่อผูต้ รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลผุ ลตามวัตถุประสงคข์ องนโยบายที่กาหนดไว้ หรือไม่ อยา่ งไร
ผลการดาเนนิ งานบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ ผูเ้ รยี นเรียนรอู้ ยา่ งมีความสขุ ได้ลงมอื ปฏิบตั จิ รงิ
๒. การดาเนนิ การตามนโยบายของหน่วยงานมีความโดดเดน่ หรอื จุดแขง็ อย่างไร และ
กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นด้านใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเดน่ จุดแข็ง ของหน่วยงาน ในการดาเนนิ การตามนโยบาย
ครูไดร้ ่วมกันวางแผนการจัดกิจกรรม โดยการสารวจความต้องการของผูเ้ รียน ทาให้
มกี ิจกรรมท่ีหลากหลาย ตรงกับความสนใจของนักเรียนและสามารถจัดกิจกรรมได้ครอบคลุม Head
Heart Hand Health
๒.๒ ประโยชน์ทีเ่ กดิ ข้นึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
ผู้เรยี นได้เรียนรทู้ ้ัง 4H ผา่ นกิจกรรมทีห่ ลากหลาย
๓. การดาเนนิ งานพบ จุดออ่ น ปัญหา อปุ สรรค ภัยคุกคาม ในการดาเนนิ การอยา่ งไร รวมทั้ง
ได้ดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หาทเี่ กิดข้ึนอยา่ งไร
๓.๑ ปญั หา อปุ สรรค ภยั คกุ คาม จากการดาเนินการตามนโยบาย
ปัญหาด้านเวลากระทบกับการจัดการเรยี นการสอนในรายวชิ าเพ่ิมเติม เชน่
ภาษาอังกฤษและภาษาจนี ที่ต้องเรียนกับครูต่างชาติ
๓.๒ การแกไ้ ขปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ทีเ่ กิดขนึ้
จดั บรู ณาการเขา้ กบั 4H และจัดเปน็ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพ่ิมเวลารู้
๓.๓ จากปัญหา อปุ สรรค ภยั คกุ คาม ทเ่ี กดิ ข้ึน ควรปรับปรงุ นโยบายอย่างไร
(ไมม่ )ี
๔. นวตั กรรม ตน้ แบบ หรอื แบบอยา่ งทด่ี ี ที่เกิดขึ้น จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
ผู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ผา่ นการลงมอื ปฏิบัตจิ ริงในสิ่งทีส่ นใจอย่างมคี วามสขุ
๕. การดาเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรอื ทป่ี รกึ ษาผ้ตู รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่มี)
๖. ข้อเสนอของหนว่ ยงานผ้รู บั การตรวจ
๖.๑ ข้อเสนอ ทเ่ี ป็นความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่มี)
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อื่นๆ (ถา้ ม)ี
๒๘
(ไมม่ ี)
ภาพประกอบ ระบุกจิ กรรมและสถานที่ ๒ - ๔ ภาพ
โรงเรียนอนบุ าลทองอนุ่ อ.ท่าตมู จ.สุรนิ ทร์ จัดกจิ กรรม ดินเกิดจากอะไรไดส้ ารวจและสังเกต
ลักษณะของดิน จะพบเศษหินเล็กๆและซากพืชซากสัตว์บางชนิด เนื่องจากดินเกิดจากการสลายตัว
และผุพงั ของหินและแร่เป็นขนาดเล็กๆ ทาให้เกิดองค์ประกอบสว่ นท่ีเปน็ อนินทรียวัตถุ โดยนักเรียน
ช้นั ป.4
กิจกรรม Matching foods เป็นการให้นักเรียนเรียนรู้คาศัพท์เร่ือง foods (อาหาร) โดยให้
เล่นเกมส์จับคู่ภาพอาหารกับบัตรคาศัพท์ให้ถูกต้อง เด็กๆได้ทั้งความสนุกสนานและความรู้จาก
flashcards ทากจิ กรรมโดย นกั เรียนช้ัน ป.3
๘. การพัฒนาครู
โครงการสาคัญทีไ่ ด้รบั การสนับสนุนงบประมาณ ไดแ้ ก่
๑. โครงการพฒั นาคณุ ภาพครโู รงเรยี นเอกชน (สป./สช)
๒๙
วัตถุประสงค์: เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรยี นการสอนของครูโรงเรียนเอกชนให้
สามารถเป็นผูส้ นับสนนุ การเรยี นรผู้ ู้กระตนุ้ แรงจูงใจผู้สรา้ งแรงบนั ดาลใจผู้ให้คาปรึกษาและชี้แนะ
๒. โครงการพฒั นาทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสาร (สป./สช)
วตั ถุประสงค์: เพ่ือพฒั นาครูสอนภาษาองั กฤษโรงเรียนเอกชนใหม้ ีความสามารถด้านการ
จัดการสอนตามกรอบอา้ งอิงความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนนิ งานต่อผ้ตู รวจราชการกระทรวง
โครงการพัฒนาคุณภาพผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียน เอกชนจงั หวัด
สรุ ินทร์ ปงี บประมาณ ๒๕๖๐
- หลกั สตู ร “การพัฒนากาลงั คนให้เทา่ ทนั การปฎิรูปการศึกษาและการจดั การเรยี นรูแ้ บบ
STEM Education สอนอยา่ งไรใหเ้ ป็น Active Learning ตามมาตรฐานสากล ”
- หลกั สตู ร “การพฒั นากาลงั คนใหเ้ ท่าทันการปฎิรูปการศึกษาและการเตรยี มรับการตรวจ
ติดตามประเมินผลการจดั การศกึ ษาของโรงเรียนนอกระบบ”
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลุผลตามวตั ถุประสงคข์ องนโยบายท่กี าหนดไว้ หรอื ไม่ อยา่ งไร
ผบู้ รหิ าร ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาโรงเรยี นเอกชนในจงั หวัดสุรินทร์
- มีความรคู้ วามเข้าใจในเร่ือง STEM Education
- สามารถจดั การเรยี นรแู้ บบบูรณาการ และจดั การเรยี นรแู้ บบ STEM Education
ให้เปน็ Active Learning ตามมาตรฐานสากล ได้
- ผ้เู ข้ารบั การอบรมไดพ้ ัฒนาศักยภาพให้เทา่ ทนั การเปลยี่ นแปลงสอดรบั กบั การ
ปฏริ ูปการศึกษา และสามารถรบั การตรวจตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการศึกษาไดอ้ ย่างมีคุณภาพ
๒. การดาเนินการตามนโยบายของหนว่ ยงานมีความโดดเด่น หรือจุดแขง็ อยา่ งไร และ
ก่อใหเ้ กิดประโยชนใ์ นด้านใดบ้าง
๒.๑ จดั อบรมในพืน้ ทท่ี าใหป้ ระหยัดงบประมาณ และสามารถพฒั นาบุคลากรไดอ้ ย่าง
ท่ัวถงึ ครอบคลมุ ทกุ โรงเรยี นและ เกนิ กว่าเป้าหมายท่ี สช กาหนด
๒.๒ ผู้บรหิ าร ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาโรงเรียนเอกชนในจงั หวัดสุรินทร์ ได้รับการ
พฒั นาเพือ่ เพม่ิ ศกั ยภาพ ของตนเองใหเ้ ทา่ ทนั การเปล่ยี นแปลง สอดรบั การนโยบายการจัดการศึกษา
ของหน่วยงานตน้ สังกัด และนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร ร้เู ท่าทันการเปลี่ยนแปลงในนโยบายการ
จดั การศกึ ษาของประเทศ
๓. การดาเนนิ งานพบ จุดอ่อน ปญั หา อุปสรรค ภัยคุกคาม ในการดาเนินการอยา่ งไร รวมท้งั
ได้ดาเนินการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างไร
๓.๑ ปญั หา อปุ สรรค ภยั คกุ คาม จากการดาเนินการตามนโยบาย
๓๐
- งบประมาณท่ีจดั สรรมาเพอ่ื ดาเนนิ งานตามโครงการมีไม่เพยี งพอ โรงเรยี นมคี วาม
ต้องการพัฒนาบุคลากรตามโครงการมีจานวนมาก เน่อื งจากครูโรงเรยี นเอกชนมีโอกาสในการพฒั นา
ตนเองนอ้ ย เพราะถ้า สช. เปน็ ผดู้ าเนินการพฒั นาในส่วนกลางค่าใช้จ่ายท่ีจะสง่ บุคลากรไปพัฒนาสูง
มาก ทาใหท้ าใหโ้ รงเรียนเอกชนจะไม่ค่อยสง่ บุคลากรไปพฒั นา เพ่ือควบคุมค่าใช้จ่ายของโรงเรียน
และหลักสูตรที่จาเป็นต้องพัฒนาบุคลากรตามนโยบายมีจานวนหลายเรื่อง และจาเป็นต้องให้
บคุ ลากรในโรงเรียนเอกชนได้
๓.๒ การแก้ไขปัญหา อปุ สรรค ภัยคกุ คาม ทเ่ี กิดขน้ึ
- ประสานการดาเนินการกับกลุ่มนิเทศฯ ของเขตพ้ืนท่ี ในกรณีท่ีเห็นว่ามีการจัด
อบรมและพัฒนาครูในสังกัดในเรอ่ื งท่ีจาเป็น จะขอความอนุเคราะห์ ให้บุคลากรโรงเรียนเอกชนได้
เขา้ รับการพัฒนาดว้ ย
- ประสานและสร้างเครือข่ายการพัฒนาการศึกษาให้โรงเรียนเอกชนได้ร่วมกับ
โรงเรยี นรฐั บาล ในพ้ืนทีใ่ กลเ้ คยี ง แลกเปล่ยี นเรียนรู้ พึ่งพาอาศยั ซึ่งกันและกนั
- ขอความร่วมมือ ให้โรงเรียนเอกชนได้ร่วมกัน ช่วยเหลือ ดูแลกันและกันใน
ระหว่างโรงเรยี นเอกชน ในรูปแบบโรงเรยี นพ่โี รงเรียนนอ้ ง
- ขอความอนุเคราะห์ ให้บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ทั้งจากภาครัฐและ
เอกชน ให้ช่วยเหลือดูแลหรือให้คาแนะนาโรงเรียนเอกชนในหลากหลายดา้ น
๓.๓ จากปัญหา อุปสรรค ภยั คกุ คาม ที่เกดิ ขน้ึ ควรปรับปรุงนโยบายอยา่ งไร
- ไม่ควรแบ่งแยกสังกัด สพฐ. สช. สพม. ฯลฯ ควรปรบั ปรงุ ใหก้ ารพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาให้ได้รับการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกัน ตามประเภทและระดับการศึกษา เพราะโรงเรียน
เอกชนก็เปน็ ส่วนหนึ่งท่ีชว่ ยรฐั จัดการศกึ ษาใหก้ ับประชาชนคนไทย ซง่ึ สมควรได้รับสิทธิในการได้รับ
การศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน รวมทั้งต้องถือว่าโรงเรียนเอกชนเป็นผู้ช่วยรัฐประหยัดงบประมาณใน
การจดั การศึกษาให้กับคนไทย ช่วยสรา้ ง งานสร้างอาชีพสาหรับครู และบุคลากรทางการศึกษาใน
โรงเรียนเอกชน ซง่ึ มีจานวนไมน่ อ้ ย
๔. นวัตกรรม ต้นแบบ หรือแบบอยา่ งทดี่ ี ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการดาเนินการตามนโยบาย
- โรงเรียนเอกชนได้รับการพัฒนาและได้ดาเนินการตามนโยบายการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ไดร้ ับรู้รบั ทิศทางในการจดั การศึกษา และความต้องการในการพัฒนาการศึกษา
ของประเทศ สอดคล้อง สอดรับกับความต้องการในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และแผนการ
พฒั นาในภาพรวมของประเทศชาติ
- เกิดเป็นต้นแบบความร่วมมือในการพัฒนาการศึกษา ร่วมใช้ ร่วมแชร์ ทรัพยากรที่
สนบั สนนุ การจดั การศึกษาร่วมกนั ระหว่างโรงเรยี น บุคลากร ฯลฯ
- มุง่ สร้างการแข่งขันในการบริหารจัดการศึกษาท่ีดี สอดคล้อง ตรงตามนโยบายในการ
พัฒนาการศึกษา ของชาติ เสริมสร้างประสิทธิภาพในการบริหารจัดการศึกษาในโรงเรียนเอกชนใช้
คณุ ภาพการศึกษานามาซง่ึ ผลตอบแทน การแขง่ ขันในเชงิ คณุ ภาพ ผลท่ไี ดจ้ ะสู่ผู้เรียนโดยตรง
๕. การดาเนินการตามขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจราชการ หรือทปี่ รึกษาผู้ตรวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผ่านมา (ถ้ามี)
(ไม่ม)ี
๓๑
๖. ข้อเสนอของหนว่ ยงานผูร้ บั การตรวจ
๖.๑ ขอ้ เสนอ ทเี่ ปน็ ความต้องการจาเปน็ (needs)
(ไม่ม)ี
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะ อ่นื ๆ (ถ้ามี)
(ไมม่ ี)
ภาพประกอบระบุกิจกรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๙. การพฒั นาโรงเรยี น ICU
โครงการสาคัญทไ่ี ด้รบั การสนับสนุนงบประมาณ ได้แก่
๓๒
โครงการยกระดบั คุณภาพสถานศกึ ษาทีต่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื และพฒั นาเป็นพเิ ศษอยา่ ง
เร่งด่วน (ICU) (สพฐ.)
วัตถปุ ระสงค์ : เพื่อพฒั นาและชว่ ยเหลือโรงเรียนทปี่ ระสบวกิ ฤตทางการศกึ ษาใหม้ ีความ
พรอ้ มในการจัดการเรยี นการสอนและแก้ไขปัญหาตามสภาพปัญหาและความ ตอ้ งการของโรงเรียน
ประเด็นนาเสนอผลการดาเนินงานต่อผตู้ รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลผุ ลตามวตั ถุประสงค์ของนโยบายทีก่ าหนดไว้ หรือไม่ อยา่ งไร
- การพฒั นาโรงเรียนใหม้ ีการจดั การศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ
- ผลสัมฤทธิ์ของโรงเรยี นเพ่มิ สงู ขึ้น
๒. การดาเนินการตามนโยบายของหนว่ ยงานมคี วามโดดเด่น หรอื จุดแขง็ อย่างไร และ
ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเดน่ จุดแข็ง ของหน่วยงาน ในการดาเนินการตามนโยบาย
- การประชุมอบรมโดยใชก้ ระบวนการ PLC
๒.๒ ประโยชนท์ ่ีเกดิ ขึน้ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
- จากการใช้กระบวนการ PLC ส่งผลให้ผู้บริหารและครู มีแนวความคิดร่วมกันใน
การแกไ้ ขปัญหา ใหเ้ ป็นไปในทิศทางเดียวกัน
- เกดิ ความเขา้ ใจรว่ มกนั สง่ ผลให้เกดิ การพฒั นาคุณภาพการศึกษา
๓. การดาเนนิ งานพบ จุดอ่อน ปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ในการดาเนินการอยา่ งไร รวมทง้ั
ได้ดาเนนิ การแก้ไขปัญหาทีเ่ กิดขึน้ อยา่ งไร
๓.๑ ปญั หา อปุ สรรค ภัยคกุ คาม จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
- โรงเรียนมีความขาดแคลน ส่ือวัสดอุ ุปกรณก์ ารเรียนการสอน อาคารเรยี น รวมถึง
ครุภณั ฑท์ ่ีมคี วามจาเปน็
- การขาดแคลนครูและต้องการขอรับการสนับสนุนด้านครู มีวิชาเอกที่โรงเรียน
ตอ้ งการ
๓.๒ การแกไ้ ขปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ทีเ่ กดิ ข้ึน
แจง้ โรงเรยี นในสังกดั ประเมนิ ตนเองว่าเป็นโรงเรยี น ICU หรอื ไม่ หากประเมิน
ตนเองแล้วตอ้ งระบุดว้ ยว่า เป็นโรงเรียน ICU ประเภทใด ความรุนแรงระดับใด
๓.๓ จากปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ท่เี กิดขน้ึ ควรปรับปรงุ นโยบายอยา่ งไร
โรงเรียนรอการชว่ ยเหลือ เหน็ ควรรบี ดาเนนิ การชว่ ยเหลือ พฒั นาอย่างเร่งด่วน
๔. นวตั กรรม ต้นแบบ หรือแบบอยา่ งทด่ี ี ทีเ่ กดิ ขึ้น จากการดาเนินการตามนโยบาย
- การจดั กลุ่มโรงเรียนทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการเป็นโรงเรียน ICU
- การใช้กระบวนการ PLC โดยการระเบิดจากข้างใน ทัง้ ครแู ละผูบ้ รหิ าร
๕. การดาเนินการตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรอื ท่ีปรึกษาผ้ตู รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่มี)
๓๓
๖. ข้อเสนอของหน่วยงานผูร้ บั การตรวจ
๖.๑ ขอ้ เสนอ ที่เปน็ ความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่ม)ี
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อ่นื ๆ (ถา้ มี)
(ไม่ม)ี
ภาพประกอบระบกุ จิ กรรมและสถานที่ ๒ - ๔ ภาพ
๑๐. โครงการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
จุดมุง่ หมายหลัก
๓๔
๑. คนทกุ ช่วงวยั มจี ิตสานึกรกั ษ์สง่ิ แวดล้อมมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและนาแนวคิดตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั ิ
๒. หลักสตู รแหลง่ เรยี นรแู้ ละสอ่ื การเรียนรู้ทีส่ ่งเสรมิ คุณภาพชีวิตที่เปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อม
คณุ ธรรมจริยธรรมและการนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิ
โครงการสาคัญทีไ่ ด้รับการสนบั สนนุ งบประมาณ (ถ้ามี)
หน่วยงานทางการศึกษาในจังหวัดสุรินทร์ได้รับงบประมาณสนับสนุนในการขับเคล่ือน
โครงการต่างๆที่บูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คุณธรรม และจรยิ ธรรมเพ่ือสง่ เสริม
คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม เช่นโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
(ศาสตรพ์ ระราชา) ,โครงการโรงเรียนคุณธรรมสพฐ., โครงการส่งเสริมโรงเรยี นสร้างเสริมสขุ ภาวะด้วย
โครงงานคุณธรรมตามแนวทางมูลนิธิยุวสถิรคุณและโครงการการจัดการขยะและส่ิงแวดล้อมซึ่ง
โครงการดังกล่าวสามารถเช่ือมโยงเข้ากับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม ส่งเสริม
คุณธร รม และ จริ ยธ รร ม และก าร นาแนว คิดหลั ก ปรั ชญ าขอ งเศร ษฐกิจพ อเพีย งสู่ ก าร ปฏิ บัติ ใน
สถานศึกษา ได้อยา่ งกลมกลืนและเปน็ รปู ธรรมทช่ี ัดเจน เช่นโครงงานคณุ ธรรม อาหารดิน อาหารกาย
อาหารใจ ทุกคนสดใส โลกได้สมดุล ของโรงเรียนบ้านสดอ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๑ เป็นต้น
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนินงานตอ่ ผตู้ รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลุผลตาม จุดมุ่งหมาย/เปา้ หมาย ของนโยบายทกี่ าหนดไว้ หรือไม่
อย่างไร
๑.๑ ระดับหนว่ ยงานมีการดาเนินการขับเคลื่อนโดยการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารผ่านผบู้ ริหาร
สถานศึกษา คุณครูแกนนาเพ่ือต่อยอดลงสู่นักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษาเชื่อมโยงสู่ทุกช่วงวัยได้
อย่างเปน็ รูปธรรม บรรลุตามจุดม่งุ หมายทีก่ าหนดไว้
๑.๒ ระดับสถานศึกษามีการดาเนินกิจกรรมนาสู่นักเรียนนักศึกษาเพ่ือปฏิบัติการใน
สถานศึกษาและนอกสถานศึกษา เชน่ ในชุมชนและ ท่ีวดั โดยใช้กจิ กรรมโครงงานคุณธรรมที่เนน้ การ
สรา้ งเสริมการมสี ุขภาวะโดยการปรับบริบทท่สี ง่ ผลต่อการมีสุขภาวะทดี่ ี และโครงการรวมทั้งโครงงาน
การบริหารจัดการขยะท่สี อดคล้องกบั การอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มและบรู ณาการใชใ้ นครอบครวั และชมุ ชน
อย่างเป็นรูปธรรมเพ่ือสร้างจิตสานึกท่ีดีในทุกช่วงวยั ๒. การดาเนินการตามนโยบายของหน่วยงานมี
ความโดดเด่น หรือจุดแขง็ อยา่ งไร และกอ่ ให้เกิดประโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเดน่ จดุ แขง็ ของหนว่ ยงาน ในการดาเนินการตามนโยบาย
๑) มีรปู แบบการพัฒนาท่ีชัดเจนเป็นรูปธรรม สามารถบูรณาการได้หลายโครงการ
และกิจกรรม ตอบโจทย์ได้หลายประเดน็ เช่น โครงงานคุณธรรมตามแนวทางมูลนิธิยวุ สถริ คุณ, การ
ฝกึ คิดจาก ๙ สู่การปฏบิ ัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกับการจัดทาโครงงานคุณธรรมและ
กจิ กรรมอื่นในกิจวัตรประจาวันที่โรงเรียนและที่บ้านรวมท้ังในชุมชนโครงการส่งเสริมโรงเรียนสร้าง
เสริมสุขภาวะดว้ ยโครงงานคุณธรรมตามแนวทางมูลนธิ ิยุวสถิรคณุ และโครงการโรงเรียนวิถีพทุ ธ เป็น
ตน้
๒.๒ ประโยชน์ทเี่ กดิ ข้นึ จากการดาเนินการตามนโยบาย
๓๕
๑) หน่วยงานและสถานศึกษาได้แนวทางการพัฒนาจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อมมี
คุณธรรมจริยธรรมและนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติและสามารถ
พฒั นาองคร์ วมของชีวิตและตอบโจทย์การพฒั นาได้หลายประเด็น เช่น ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม, ดา้ น
การสร้างจิตสานึกรักษ์ส่ิงแวดล้อม, ด้านการฝึกคิดจาก ๙ คาสู่การปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง, ด้านการใชป้ ญั หาเป็นฐานในการพฒั นา ดา้ นการสร้างเสริมสุขภาวะและโครงการ
โรงเรียนวิถีพุทธ เปน็ ตน้
๓. การดาเนนิ งานพบ จดุ อ่อน ปัญหา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ในการดาเนนิ การอยา่ งไร รวมท้ัง
ไดด้ าเนินการแก้ไขปัญหาที่เกดิ ขน้ึ อยา่ งไร
๓.๑ ปัญหา อุปสรรค ภยั คกุ คาม จากการดาเนินการตามนโยบาย
๑) ขาดการเชือ่ มโยงกบั ผ้นู าชุมชนอย่างจริงจงั ในการสร้างจติ สานึกรักษส์ ่งิ แวดลอ้ ม
ให้กับผปู้ กครองนกั เรียนและประชาชนในชุมชน
๒) สถานศกึ ษาหรอื ครผู ูส้ อนควรบรู ณาการการสร้างจติ สานกึ ในการจัดการเรียนการ
สอนในกิจวัตรประจาวันทโ่ี รงเรยี นโยการเนน้ ย้าซ้าทวนบ่อยๆเพ่ือสรา้ งนสิ ัยในการมจี ติ สานกึ ในการใช้
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้คุ้มค่าเกิดประโยชน์สูงสุด เช่น น้าด่ืม น้าใช้ วัสดุอุปกรณ์ต่างๆในการ
เรยี น เป็นต้น
๓.๒ การแก้ไขปญั หา อุปสรรค ภัยคกุ คาม ทเี่ กิดขนึ้
๑) กาหนดเปน็ กฎหมายที่ชดั เจนเครง่ ครัดให้ทุกครอบครวั เน้นการสรา้ งจิตสานึกใน
การใชท้ รพั ยากรท่มี ีอยูอ่ ย่างจากัดใหค้ มุ้ ค่าเกิดประโยชน์สูงสุดและหมนุ เวียนใชใ้ ห้ครบวงจร
๒) ให้องค์ความรถู้ ึงผลกระทบท่ีเกดิ จากการไม่อนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อมและใช้สิง่ แวดลอ้ ม
ทีไ่ ม่รู้คุณค่าแก่ทุกช่วงวยั ในชมุ ชน
๓) สร้างภูมิคุ้มกันจากการใช้การคิดสู่การปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อปรับสมดุลด้านมิติสิ่งแวดล้อม เช่ือมโยงกับมิติด้านวัตถุหรือเศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม ให้กับผู้นาชุมชน ผู้ปกครองในการปลูกฝังและสร้างนิสัยที่ดีในการสร้างจิตสานึกรักษ์
สิ่งแวดลอ้ มให้แก่ลกู หลานของตนเอง
๓.๓ จากปัญหา อปุ สรรค ภัยคกุ คาม ที่เกิดขึน้ ควรปรบั ปรงุ นโยบายอย่างไร
๑) กาหนดเป็นกฎหมายที่ชัดเจนเคร่งครัดให้ทุกครอบครัวเน้นการสร้างจิตสานึกใน
การใชท้ รพั ยากรทม่ี ีอยูอ่ ย่างจากัดใหค้ มุ้ ค่าเกิดประโยชนส์ ูงสดุ และหมุนเวยี นใช้ให้ครบวงจร
๒) กาหนดตัวชี้วัดในสถานศึกษาและเชื่อมโยงสู่ชุมชนและครอบครัวอย่างจริงจังใน
การประเมินทง้ั นักเรยี น ครอบครวั และชุมชน
๓) ประสานความร่วมมือกับทุกหน่วยงาน กระทรวง ทบวงกรม ร่วมมือกันลงสู่
ชมุ ชนในทกุ มติ เิ พ่ือสรา้ งความเข้มแขง็ ในการสร้างจติ สานกึ รกั ษ์ส่งิ แวดล้อมใหก้ บั ทุกชมุ ชน
๔. นวตั กรรม ตน้ แบบ หรอื แบบอยา่ งที่ดี ทเี่ กิดขึ้น จากการดาเนินการตามนโยบาย
๓๖
โครงงานคุณธรรม อาหารดิน อาหารกาย อาหารใจ ทุกคนสดใส โลกได้สมดุลโดยใช้
การคดิ จาก ๙ คาสู่การปฏบิ ตั ติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรยี นบ้านสดอ
๕. การดาเนินการตามข้อเสนอแนะของผูต้ รวจราชการ หรือท่ปี รึกษาผูต้ รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผ่านมา (ถ้ามี)
(ไมม่ )ี
ฃ๖. ขอ้ เสนอของหนว่ ยงานผู้รบั การตรวจ
๖.๑ ข้อเสนอ ทีเ่ ป็นความต้องการจาเปน็ (needs)
ควรกาหนดเปน็ แนวทางหรือมาตรการท่เี ชือ่ มโยงบรู ณาการในหลายหน่วยงาน
หรือกระทรวง ทบวง กรม เป็นแนวปฏิบัติลงสู่ชุมชน โดยใช้สถานศึกษาเป็นฐานในการปลูกฝังและ
สรา้ งจิตสานกึ รักษส์ งิ่ แวดล้อม พร้อมทัง้ กาหนดตัวช้ีวดั ท่ีชัดเจนท้ังผู้เรียน ครอบครัวและชุมชน
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะ อืน่ ๆ (ถ้าม)ี
(ไม่ม)ี
ภาพประกอบระบกุ จิ กรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
กิจกรรมการอบรมวิทยากรแกนนาโครงการเสริมสร้างสุขภาวะในสถานศกึ ษาด้วยโครงงาน
คุณธรรมตามแนวทางมูลนิธิยุวสถิรคุณ วันท่ี 6 – 7 พฤษภาคม 2560ณ ห้องประชุมราชาวดี
โรงแรมสวนป่ารีสอร์ท
ขยายผลสสู่ ถานศกึ ษาในสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 1 จานวน
294 โรงเรยี นๆละ 2 คน (ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและคณุ ครูแกนนา) วนั ที่ 11 – 12 พฤษภาคม
2560 ณ หอ้ งรมิ ธารา โรงแรมสวนปา่ รสี อรท์ จ.สรุ นิ ทร์
๓๗
นาสู่สถานศึกษาโดยบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยอบรมปฏิบัติการ
ถอดรหัสหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การจัดทาโครงงานคุณธรร มของนักเรียนและการ
บริหารงานทั้ง 4 งานและการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนวันท่ี 27 พฤษภาคม 2560 ณ
หอ้ งริมธารา โรงแรมสวนปา่ รีสอรท์ จ.สุรนิ ทร์
นาสู่การจัดทาโครงงานคุณธรรมที่ร่วมอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมและสู่สุขภาวะแบบองค์รวมเพ่ือ
ความสมดุลของคนพืชและสัตว์และสรรพสิ่งในโลกน้ี ภาพกิจกรรม โครงงานคุณธรรม อาหารดิน
อาหารกาย อาหารใจ ทุกคนสดใส โลกได้สมดุลจากโรงเรียนบ้านสดอสพป.สุรินทร์ เขต 1 อาหาร
ดนิ เพือ่ สร้างจิตสานึกรักษส์ ่ิงแวดล้อม ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๓๘
๑๑. การบริหารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก
โครงการสาคญั ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ (ถ้าม)ี
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนนิ งานต่อผู้ตรวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของนโยบายที่กาหนดไว้ หรือไม่ อย่างไร
ได้ดาเนินการขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเน่ืองและเป็นระบบ ด้วยกิจกรรม
สวัสดีคุณครู สู่วัฒนธรรมคุณภาพ รูปแบบ “SMART Model” และ “ยกพลข้ึนบก” เป็นการ
ขับเคลอื่ นนโยบายและกลยุทธ์การพฒั นาสู่การปฏิบตั ิให้เป็นรปู ธรรมทุกระดับ ทั้งระดับโรงเรยี นและ
ห้องเรยี น
๒. การดาเนินการตามนโยบายของหนว่ ยงานมีความโดดเด่น หรอื จุดแขง็ อยา่ งไร และ
กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นด้านใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเดน่ จดุ แข็ง ของหน่วยงาน ในการดาเนนิ การตามนโยบาย
- ผู้บริหารระดับสูง ประชุมชี้แจงนโยบาย ฯ ใหค้ รู ผปู้ กครอง ชมุ ชน และผูม้ ีส่วนได้
ส่วนเสีย ได้รับทราบแนวการดาเนินการตามนโยบายฯ ในโรงเรยี นขนาดเลก็ ท่มี ีนักเรียนต่ากว่า 120
คนลงมาจะดาเนินการควบรวมนักเรยี นทม่ี ีนักเรียนต่ากว่า 40 คนลงมา
- เปดิ โอกาส ใหผ้ ู้ปกครอง ชุมชน ผู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย แสดงความคิดเห็นว่าเหน็ ด้วย
กบั โรงเรียนประถมศกึ ษาดใี กลบ้ ้าน (แมเ่ หล็ก) ที่ เลอื กไวห้ รือไม่
- หลงั จากการแสดงความคิดเห็นของผ้ปู กครอง ชุมชน และผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี แล้ว
ไดส้ อบถามความสมคั รใจของผปู้ กครองนักเรียน ชุมชนเพ่อื ขอให้เลอื ก ร.ร.ประถมศึกษาดใี กล้บา้ น
(แมเ่ หลก็ )
๒.๒ ประโยชน์ทีเ่ กดิ ขึ้นจากการดาเนนิ การตามนโยบาย
1. สรา้ งความเข้าใจ ผปู้ กครองและชมุ ชนพึงพอใจ
2. เลอื กโรงเรยี นแมเ่ หลก็ ท่ีมีระยะทางห่างจากโรงเรยี นขนาดเลก็ ไมเ่ กนิ 6 กม.
3. พัฒนาโรงเรียนดใี กล้บ้าน(โรงเรียนแม่เหลก็ ) โดยการพฒั นาทางกายภาพและ
ความพร้อมในด้านตา่ งๆ โดยใชง้ บกระตนุ้ เศรษฐกิจและเงินอุดหนนุ
4. สร้างศรทั ธาให้ผู้ปกครองและนกั เรยี นเกดิ ความเชื่อมนั่ เพือ่ เป็นการดึงดดู
นักเรยี น
5. เกลีย่ อัตรากาลังบคุ ลากรใหโ้ รงเรียนดีใกล้บ้านมีอัตรากาลงั ครู และบุคลากร
สนบั สนุนอยา่ งเพยี งพอ
6. สง่ิ กอ่ สร้างท่เี กดิ จากการยบุ รวมโรงเรยี นขนาดเลก็ ให้ชุมชน และหนว่ ยงานใน
พน้ื ท่ีวางแผนใชป้ ระโยชน์ร่วมกัน
๓. การดาเนินงานพบ จดุ ออ่ น ปญั หา อปุ สรรค ภัยคุกคาม ในการดาเนนิ การอยา่ งไร รวมทง้ั
ไดด้ าเนินการแก้ไขปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ อยา่ งไร
๓.1 ชมุ ชน และผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย แสดงความร้สู ึกหวงแหน สถานท่ซี ึ่งตอ่ ไปจะเปน็ ท่ีรก
ร้างในอนาคต
๓.2 เกิดการตอ่ ต้าน จากชมุ ชน ทไ่ี ม่ยินยอมใหบ้ ตุ ร หลานไปเรียนใน ร.ร.แม่เหล็ก
๓๙
๓.3 ผตู้ อ่ ต้าน อาจมบี ุตร หลาน ทไี่ ด้รบั การจ้าง จาก ร.ร.ขนาดเลก็ ฯ เพ่อื ให้มาช่วยดแู ล
นกั เรยี น
๓.4 มกี ารสง่ ครู ผู้บริหาร ไปปฏิบัตหิ นา้ ท่ใี น ร.ร.ขนาดเล็กท่มี เี ด็กต่ากว่า 120 คน
๓.5 มีการเสนอของบประมาณ ให้แก่ ร.ร.ขนาดเล็ก ฯ
๔. นวัตกรรม ตน้ แบบ หรอื แบบอย่างทด่ี ี ที่เกิดข้ึน จากการดาเนินการตามนโยบาย
(ไม่ม)ี
๕. การดาเนนิ การตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรอื ทีป่ รกึ ษาผ้ตู รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่ม)ี
๖. ขอ้ เสนอของหนว่ ยงานผ้รู ับการตรวจ
๖.๑ ขอ้ เสนอ ท่เี ปน็ ความต้องการจาเปน็ (needs)
(ไม่มี)
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะ อื่นๆ (ถ้ามี)
(ไม่ม)ี
ภาพประกอบระบกุ จิ กรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๔๐
๑๒. การบรหิ ารจัดการขยะและสิง่ แวดล้อม
โครงการสาคญั ท่ไี ด้รับการสนบั สนนุ งบประมาณ ไดแ้ ก่
๑. โครงการสรา้ งจิตสานึกการจัดการขยะพลังงานและความหลากหลายทางชวี ภาพ
และธนาคารขยะ(สพฐ.)
วตั ถุประสงค์
๑.เพ่ือสร้างจิตสานึกในการลดปริมาณขยะในสถานศึกษาเฉล่ีย ๑กิโลกรัม ต่อ ๑วัน
ในสถานศกึ ษา
๒. เพื่อสร้างองค์ความรู้และจิตสานึกการนาขยะมาใช้ประโยชน์ในสถานศึกษา
ตามหลัก ๓Rs
๓. เพ่อื พฒั นาส่ือการเรียนรู้ แหลง่ เรียนร้เู พ่ือเพมิ่ ศกั ยภาพในการจัดการขยะและนาขยะมาใช้
ประโยชน์ในสถานศกึ ษา
๔. เพ่ือนาความรู้มาประยุกตใ์ ช้ในการต่อยอดโครงการการสร้างวินัยด้านการบริหารจัดการ
ขยะ ๓๐,๐๐๐โรงเรยี น ทงั้ ในระดบั ประถมศึกษา และระดับมัธยมศกึ ษา
๕. เพือ่ ตอ่ ยอดโครงการโรงเรยี นสงิ่ แวดลอ้ มศกึ ษาเพือ่ การพัฒนาทย่ี งั่ ยนื (Eco-School) ตาม
มาตราที่ ๓๑ในการเตรียมรองรับตามนโยบายปฏิรูปด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและ
ทรพั ยากรธรรมชาติ (ในระดับที่ตา่ กว่าอุดมศกึ ษา)ตามกรอบของอาเซียน
๖. เพอื่ ส่งเสรมิ องคค์ วามรดู้ ้านสง่ิ แวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาทีย่ ่ังยนื ดา้ นการลดใชพ้ ลงั งาน
การจัดการขยะ ท่ีถกู ตอ้ งให้กบั ศกึ ษานเิ ทศกค์ รผู ้บู รหิ าร และนักเรียน
๗. เพ่ือส่งเสริมเจตคติที่ดีในการปรับเปล่ียนและสร้างวินัยด้านการลดใช้พลังงานท่ีถูกต้อง
ใหก้ ับศกึ ษานิเทศก์ ครูผ้บู รหิ ารบุคลกรทางการศกึ ษา และนกั เรียน
๘. เพอ่ื ให้เกิดทักษะการเรียนรู้นาสูก่ ารปฏิบัติและสร้างนวัตกรรมแห่งการเรียนรู้ด้านการลด
ใชพ้ ลงั งาน การจดั การขยะและอนุรกั ษ์ความหลากหลายทางชวี ภาพ ให้เกดิ ข้นึ ในสถานศกึ ษา
๙.เพ่ือส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินการวิจัยด้านส่ิงแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ย่ั งยืน
ใหก้ ับครศู กึ ษานเิ ทศกแ์ ละนกั เรียน
๑๐. เพื่อกากับติดตามผลสาเร็จของการดาเนินงานของโรงเรียนด้านการลดใช้พลังงาน
การจัดการขยะและอนรุ ักษค์ วามหลากหลายทางชวี ภาพ
๒. โครงการบรหิ ารจัดการขยะมลู ฝอยโดยการมีส่วนรว่ มของชุมชน(กศน.)
วัตถปุ ระสงค์: เพอื่ ส่งเสริมการมสี ว่ นนกั ศกึ ษา ประชาชน หน่วยงานร่วมของนกั ศกึ ษา
ประชาชน หน่วยงานเครือข่ายในการจดั การขยะมูลฝอย
๔๑
ประเด็นนาเสนอผลการดาเนินงานต่อผู้ตรวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนินการ บรรลุผลตามวตั ถุประสงคข์ องนโยบายที่กาหนดไว้ หรอื ไม่ อยา่ งไร
ผลการดาเนินการ บรรลุผลตามวตั ถุประสงคข์ องนโยบายทก่ี าหนดไว้
๒. การดาเนนิ การตามนโยบายของหนว่ ยงานมีความโดดเด่น หรือจุดแขง็ อยา่ งไร และ
กอ่ ให้เกิดประโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเด่น จดุ แขง็ ของหนว่ ยงาน ในการดาเนนิ การตามนโยบาย
1) ความรู้ความสามารถของครูผู้รับผิดชอบโครงการด้านการจัดการขยะโดยใช้
กระบวนการ ๓R โดยเฉพาะการรีไซเคิลครูผู้สอนมีความพยายาม มุ่งมัน่ ในการสร้างมูลค่าเพิ่มจาก
ขยะ สร้างสรรค์ผลงานท่ีหลากหลายสวยงามท้ังของเล่น ของใช้ ของตกแต่ง สามารถนาไปใช้
ประโยชนใ์ นการดารงชวี ิตได้
๒) นักเรียนมีความสนใจและกระตือรือร้น เรยี นรู้และปฏิบัติอย่างมคี วามสุข สนุก
กบั การเรยี น
๓) สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาทุกเขตมีการพัฒนาสถานศึกษาให้เปน็ แหล่งเรียนรู้
เรอ่ื งการบรหิ ารจัดการขยะในสถานศกึ ษา ดังน้ี
สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๑ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นบา้ นเมอื งที
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต ๒ ได้แก่ โรงเรียนบ้านหนองกา
สานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต ๓ ได้แก่ โรงเรียนบ้านสระทอง
สานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต ๓๓ ได้แก่ โรงเรียนแตลศิริวิทยา
๔) ผลการคัดเลือกโรงเรียนท่ีมีผลงานดีเด่นเป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการโรงเรียน
ปลอดขยะ ( Zero Waste School) เขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษาละ ๕๐ โรงเรียน
๒.๒ ประโยชน์ทเี่ กดิ ข้นึ จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
ดา้ นความรู้
๑) นักเรยี นมีความรเู้ ร่ืองการคัดแยกขยะ ๔ ประเภท ได้แก่ ขยะอินทรยี ์ ขยะ
ทั่วไป ขยะรไี ซเคิล และขยะอันตราย
๒) นกั เรยี นมีความรูเ้ รอื่ งการจัดการขยะโดยใชก้ ระบวรการ ๓R และธนาคารขยะรี
ไซเคลิ
ด้านทกั ษะกระบวนการ
๑) นักเรียนไดเ้ รียนรูโ้ ดยการปฏบิ ัติทาใหเ้ กดิ ทกั ษะกระบวนการคิดแก้ปญั หา
๒) สามารถนาขยะมาสร้างมลู คา่ เพิม่ ได้
ดา้ นเจตคติ
๑) สามารถสรา้ งจติ สานกึ ในการรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มในโรงเรียนและชมุ ชนแก่นักเรียน
และคนในชมุ ชนไดเ้ ป็นอยา่ งดี
๒) ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นมคี วามประหยัดอดออม ใช้ส่ิงของอยา่ งคุ้มค่า
ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนจากการดาเนนิ โครงการ
สถานศกึ ษาทีเ่ ขา้ ร่วมมีความสะอาด เปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยไม่มีขยะรกรงุ รงั
๔๒
๔. นวตั กรรม ตน้ แบบ หรือแบบอย่างที่ดี ที่เกิดข้ึน จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
จากการดาเนินการตามโครงการสร้างจิตสานักการจัดการขยะ พลังงานและความหลากหลาย
ทางชีวภาพและธนาคารขยะได้ค้นพบนวัตกรรมการจัดการขยะด้วยวิธีการสร้างระบบนิเวศให้สมดุล
นัน่ คือ การใชไ้ สเ้ ดอื นดนิ กาจดั ขยะและมูลไสเ้ ดือนดนิ กเ็ ปน็ ปุ๋ยในการบารงุ ดนิ
๕. การดาเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผตู้ รวจราชการ หรือที่ปรึกษาผตู้ รวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผ่านมา (ถ้ามี)
(ไม่มี)
๖. ขอ้ เสนอของหน่วยงานผูร้ บั การตรวจ
๖.๑ ข้อเสนอ ที่เป็นความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
ควรสรา้ งความเขา้ ใจในการนาขยะรีไซเคิลเพื่อนามาออกแบบใช้ประโยชนใ์ หม่โดย
ใชก้ ระบวนการสะเตม็ ศึกษา ( STEM education ) เพอ่ื พัฒนาทกั ษะการคิดใหเ้ กดิ ข้นึ แกผ่ ู้เรยี น
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อ่ืนๆ (ถ้ามี)
(ไม่มี)
ภาพประกอบระบกุ จิ กรรมและสถานที่ ๒ - ๔ ภาพ
๔๓
๒. โครงการบริหารจัดการขยะมลู ฝอยโดยการมีส่วนรว่ มของชุมชน (กศน.)
วตั ถุประสงค์ : เพือ่ สง่ เสริมการมีสว่ นนกั ศกึ ษา ประชาชน หน่วยงานรว่ มของนักศกึ ษา
ประชาชน หน่วยงานเครือข่ายในการจดั การขยะมูลฝอย
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนนิ งานต่อผู้ตรวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลผุ ลตามวตั ถุประสงค์ของนโยบายทก่ี าหนดไว้ หรือไม่ อย่างไร
ผลการดาเนนิ การ บรรลผุ ลตามวตั ถุประสงคข์ องนโยบายทก่ี าหนดไว้
๒. การดาเนนิ การตามนโยบายของหน่วยงานมีความโดดเด่น หรอื จุดแข็งอยา่ งไร และ
กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นดา้ นใดบ้าง
๒.๑ ความโดดเดน่ จดุ แข็ง ของหนว่ ยงาน ในการดาเนนิ การตามนโยบาย
1) การจัดอบรมสรา้ งศกั ยภาพการบรหิ ารจัดการและสรา้ งจติ สานึกในการกาจดั ขยะ
มลู ฝอยให้แกป่ ระชาชนในตาบล ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
๒) การมีส่วนร่วมของนกั ศกึ ษา ประชาชน หน่วยงานเครอื ข่าย ในการจัดการแยก
ขยะมลู ฝอย
๓) มีการจัดตัง้ กลุ่มในชมุ ชน เพอื่ ให้ความรู้และฟน้ื ฟูส่ิงแวดลอ้ ม
๔) ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจในวสั ดุแต่ละประเภท การคดั แยกวสั ดุ การนา
วัสดกุ ลับมาใช้ใหม่ ซึง่ จะส่งผลให้เกิดการจัดการวัสดุในชมุ ชน สามารถลดปรมิ าณขยะมูลฝอยได้อย่าง
เปน็ รูปธรรม
๔. นวัตกรรม ตน้ แบบ หรือแบบอย่างทีด่ ี ที่เกดิ ข้ึน จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
Road Map จานวน ๔ ข้นั ตอน ได้แก่ การแก้ไขปัญหาขยะเกา่ ขยะมูลฝอยทีเ่ กิดข้ึนใหม่
วางระเบียบมาตรการรองรบั การบริหาจดั การขยะมลู ฝอยและของเสยี อันตราย และการสร้างวนิ ัยของ
คนในชาติ การสง่ เสรมิ ให้เกิดกลไกในการคัดแยกขยะ ของชุมชนต่าง ๆ
๕. การดาเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรอื ทป่ี รึกษาผู้ตรวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการที่ผา่ นมา (ถ้ามี)
(ไม่มี)
๖. ข้อเสนอของหนว่ ยงานผูร้ ับการตรวจ
๖.๑ ขอ้ เสนอ ที่เปน็ ความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่มี)
๖.๒ ขอ้ เสนอแนะ อื่นๆ (ถ้าม)ี
(ไม่ม)ี
๔๔
ภาพประกอบระบุกจิ กรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๔๕
๑๓. การป้องกนั และลดอบุ ัติเหตทุ างทอ้ งถนน
โครงการสาคญั ทไ่ี ด้รบั การสนบั สนุนงบประมาณ (ถ้ามี)
ไม่มงี บประมาณสนบั สนนุ
ประเด็นนาเสนอผลการดาเนนิ งานตอ่ ผตู้ รวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนินการ บรรลุผลตามวตั ถุประสงคข์ องนโยบายท่กี าหนดไว้ หรือไม่ อยา่ งไร
ผลการดาเนินการบรรลุวตั ถุประสงคใ์ นระดบั พอใช้
๒. การดาเนินการตามนโยบายของหนว่ ยงานมคี วามโดดเดน่ หรือจุดแขง็ อยา่ งไร และ
ก่อให้เกดิ ประโยชน์ ในด้านใดบา้ ง
๒.๑ ความโดดเดน่ จุดแข็ง ของหน่วยงาน ในการดาเนนิ การตามนโยบาย
หน่วยงานในสังกัดมีมาตรการรักษาความปลอดภยั เพ่ือป้องกันการเกิดอบุ ัตเิ หตุ เช่น
มาตรการการสถานศึกษาสวมหมวกกันน็อค100% การจัดทาป้ายจราจรทั้ง ป้ายเตือนและป้าย
บังคับติดไว้ในบริเวณที่มองเห็นง่าย มีการสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนในการรักษาความ
ปลอดภัยแก่นักเรียน นักศึกษาในการข้ามถนน เช่น ตารวจจราจร อปพร.ประจาหมู่บ้าน ซึ่ง
กอ่ ให้เกิดความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมร่วมกัน
๒.๒ ประโยชนท์ ่ีเกิดขึ้นจากการดาเนนิ การตามนโยบาย
สถิตกิ ารเกิดอุบัติเหตุลดลง นกั เรยี น นักศึกษามีความรู้และทักษะในการใช้รถใช้
ถนน สามารถนามาใช้ในการดารงชวี ติ ประจาวนั ได้
๓. การดาเนนิ งานพบ จุดออ่ น ปัญหา อุปสรรค ภัยคุกคาม ในการดาเนินการอยา่ งไร รวมทั้ง
ได้ดาเนนิ การแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กิดขึ้นอยา่ งไร
๓.๑ ปญั หา อปุ สรรค ภยั คุกคาม จากการดาเนินการตามนโยบาย
- ปัญหานักเรียนมีความรู้ด้านการใช้รถใช้ถนนตามกฎจราจรแต่ไม่ปฏิบัติตามกฎ
จราจร
- ขาดวินัยในการขบั ขี่รถบนทอ้ งถนนทาใหเ้ กดิ อุบัติเหตุ
๓.๒ การแกไ้ ขปัญหา อุปสรรค ภยั คกุ คาม ท่ีเกิดขึ้น
ผบู้ รหิ ารทุกระดบั จะต้องร่วมกนั ดาเนนิ การแบบเอาจรงิ เอาจงั กับนกั เรยี นทไ่ี มข่ าด
วนิ ยั ในการใช้รถใช้ถนนตามกฎจราจร
๔. นวัตกรรม ต้นแบบ หรือแบบอย่างท่ดี ี ท่ีเกิดขึ้น จากการดาเนนิ การตามนโยบาย
การจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษาเรอื่ ง ความปลอดภัยทางถนน ในกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ุข
ศึกษาและพลศกึ ษา สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชวี ติ ในระดบั ประถมศึกษา และระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น เพ่ือใช้จัดการเรยี นการสอนใหน้ ักเรียนมีความรแู้ ละทักษะในการใช้รถใชถ้ นนตามกฎจราจร
๕. การดาเนินการตามข้อเสนอแนะของผู้ตรวจราชการ หรือที่ปรึกษาผู้ตรวจราชการภาค
ประชาชนในรอบการตรวจราชการท่ีผ่านมา (ถา้ มี)
(ไม่ม)ี
๖. ข้อเสนอของหน่วยงานผรู้ ับการตรวจ
๔๖
๖.๑ ข้อเสนอ ที่เป็นความตอ้ งการจาเปน็ (needs)
(ไม่มี)
๖.๒ ข้อเสนอแนะ อน่ื ๆ (ถ้าม)ี
(ไม่มี)
ภาพประกอบระบกุ จิ กรรมและสถานท่ี ๒ - ๔ ภาพ
๑๔. การประสานขับเคล่อื นนโยบายระดับพน้ื ที่ (กศจ.)
๔๗
โครงการสาคญั ทไี่ ด้รับการสนบั สนุนงบประมาณ ไดแ้ ก่
โครงการสง่ เสรมิ สนบั สนุนการพัฒนาระบบราชการโครงสร้างสว่ นราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ
และสานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร(สป.)
วตั ถุประสงค์
๑. เพ่ือทบทวนบทบาท ภารกิจของสว่ นราชการในสงั กัดกระทรวงศกึ ษาธิการและ สานักงาน
ปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการใหม้ ีขนาดทเ่ี หมาะสมเกิดความคุ้มค่าต่อภารกจิ ภาครัฐ
๒. เพ่ือให้ได้ข้อมูลสาหรับส่วนราชการในการจัดลาดับความสาคัญในการปฏิบัติภารกิจหลัก
ภารกจิ รองและภารกิจทเ่ี หมาะสม
๓. เพื่อให้คณะทางานและบุคลากรมีความรู้เก่ียวกับการพัฒนาระบบราชการ/การปรับ
โครงสรา้ งและสามารถนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ไิ ด้
ประเดน็ นาเสนอผลการดาเนินงานต่อผู้ตรวจราชการกระทรวง
๑. ผลการดาเนนิ การ บรรลุผลตามวตั ถุประสงคข์ องนโยบายที่กาหนดไว้ หรอื ไม่ อย่างไร
การขบั เคลื่อนนโยบายและยทุ ธศาสตร์ ในระดับพ้ืนที่จังหวัด (Area Based) เพื่อให้สามารถ
ตอบสนองสภาพปัญหาและรองรับการขับเคล่ือนนโยบายของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ
สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้ดาเนินการจัดประชุมระดมความคิดเห็นจากทุกภาคส่วน
ประกอบด้วย ผู้แทนส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ผู้แทนจากหน่วยงานทางการศึกษา ผู้ทรงคุณวฒุ ิ และ
ตวั แทนจากท้องถ่ิน จัดทาแผนงาน/โครงการขบั เคลื่อนนโยบายตามยุทธศาสตร์กระทรวงศกึ ษาธิการ
และตามประเดน็ ยุทธศาสตรก์ ารศกึ ษาจงั หวดั สรุ นิ ทร์ ดังนี้
1. ประเดน็ ยุทธศาสตร์ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนสมู่ าตรฐานสากล
เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นทุกระดับไดร้ บั การศึกษาที่มีคุณภาพ และไดม้ าตรฐาน เป็นคนเกง่ ดี มี
ความสขุ พลานามยั ดี มีทักษะชวี ิต และมีงานทา ดารงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการ/กจิ กรรมขบั เคลอ่ื นนโยบายและยทุ ธศาสตร์ท่ีสาคัญ ประกอบด้วย
1) โครงการพฒั นาเยาวชนสู่ความเป็นเลิศ เพื่อพฒั นาความรู้ ความสมารถและความ
ประพฤติของเด็กและเยาวชนในจังหวัดสุรินทร์ ให้สาเร็จบรรลุผลตามท่ีคาดหวังใน
ด้านการศึกษาต่อระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายและสาขาวิชาทีต่ ้องการศึกษา และตอบสนองนโยบาย
รฐั บาลด้านการจัดการศกึ ษา
2) ส่งเสริมสนับสนุนความสามารถทางวิชาการนักเรียนผ่านกระบวนการแข่งขันทาง
วิชาการ ระดับนานาชาติ เพื่อเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกสังกัด ได้พัฒนาความสามารถอย่างเต็มตาม
ศักยภาพ มีเจตคติท่ีดี มีความสนใจในการเป็นนักคณิตศาสตร์และนักวิทยาศาสตร์ และยกระดับ
ความสามารถศักยภาพของผู้เรียนใหก้ ้าวสมู่ าตรฐานสากล
3) การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ด้านการอ่านออก เขียน
ได้ ส่กู ารคดิ เก่ง คดิ เป็น ในระดบั สถานศึกษา เพอ่ื ให้นักเรียนมคี วามสามารถดา้ นอ่านหนังสอื ออก การ
เขยี นหนังสอื เปน็ และด้านการคดิ คานวณ
4) ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมการปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมหลักของคนไทย
12 ประการ ระดับสถานศึกษา เพื่อให้เด็กและเยาวชน ตระหนักรู้เรอ่ื งแบบแผนและขนบธรรมเนียม