The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by surin.inspection, 2019-07-07 12:01:13

ตรวจราชการ1_62

ตรวจราชการ1_62

ห น้ า | ๑

เอกสารลาดบั ท่ี ๑๕/๒๕๖๒
กลุ่มงานสนบั สนนุ การตรวจราชการ
กลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผล

สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดสรุ ินทร์

สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ

ห น้ า | ๑

คานา

กระทรวงศึกษาธิการ กาหนดให้มีแผนการตรวจราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ เพื่อเป็น
กรอบและแนวทางในการปฏิบัติงานตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการในระดับเขตตรวจ
ราชการและจังหวัด และสามารถปฏิบัติการตรวจราชการกับหน่วยงานสนับสนุนการตรวจราชการอย่างมี
ระบบ มีประสิทธิภาพและรายงานผลความก้าวหน้า ความสาเร็จ ปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแ นะต่อ
ปลดั กระทรวงศึกษาธิการและรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ ารต่อไป

ในการนี้ สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสุรินทร์ ได้จัดทาผลการดาเนินงานตามนโยบายของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ รอบท่ี ๑ โดยได้รับการตรวจราชการตามนโยบายจาก
ท่านผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ (นายณรงค์ แผ้วพลสง) ลงพื้นที่จังหวัดสุรินทร์เป็นไปด้วยความ
เรยี บรอ้ ย

สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดสุรินทรข์ อขอบพระคุณ หนว่ ยรับตรวจทกุ สังกัดของจังหวดั สรุ ินทรท์ ไี่ ด้ให้
การต้อนรบั ผตู้ รวจราชการและคณะ พรอ้ มทง้ั อนเุ คราะห์ข้อมูลการตรวจราชการมา ณ โอกาสนี้ด้วย

สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสรุ นิ ทร์
เมษายน ๒๕๖๒

สารบญั ห น้ า | ๑

เร่อื ง หน้า

คานา ๑
สารบญั ๑๔
ผลการตรวจราชการ การตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ๒๒
ของกระทรวงศึกษาธิการ (รอบท่ี ๑) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ ๓๐
สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสรุ ินทร์ ๓๖
๔๐
นโยบายที่ 1 การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
นโยบายที่ 2 การลดความเหล่อื มล้าทางการศกึ ษา
นโยบายท่ี 3 การสรา้ งความเปน็ เลิศและสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน
นโยบายที่ 4 การเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ
นโยบายที่ 5 การบริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการ
ศกึ ษา
นโยบายท่ี 6 การขับเคลื่อนการบูรณาการด้านการศกึ ษาระดับภาค

ภาคผนวก
- หนังสอื ท่ี ศธ ๐๒๐๗/๓๒๕ ลงวันที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒ เร่ือง นโยบายการ
ตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒
- หนังสือสานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ที่ ศธ ๐๒๐๘/๒๕๐๔ ลงวันที่ ๗
กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๒ เรื่อง ประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่ืองนโยบายและ
จดุ เน้นการจัดการศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ ๒๕๖๒
- คาสั่งสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสรุ นิ ทร์ ท่ี ๓๕๑/๒๕๖๒ เรอื่ ง แตง่ ต้งั
คณะกรรมการรับผิดชอบนโยบายการตรวจราชการ และติดตามประเมนิ ผล
การจดั การศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๒

คณะทางาน

แบหบน้ ราต|. ๑62

แบบรายงานการตรวจราชการ และตดิ ตามประเมนิ ผล
การจดั การศึกษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร รอบที่ 1 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัด และหน่วยงานการศึกษาในจังหวัด

ผลการติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาตามประเด็นนโยบายการตรวจราชการ และติดตาม
ประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ในแต่ละประเด็นนโยบายและตัวช้ีวัด ประจาปี

งบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานศึกษาธิการภาค/สานักงานศึกษาธิการจังหวัด/หน่วยงานการศึกษา
ในจังหวัด สรุปได้ดังน้ี

1. นโยบาย : การยกระดับคณุ ภาพการศึกษา
ประเดน็ นโยบายการตรวจราชการฯ :

1.1 หลักสตู ร/การจัดการเรยี นการสอน การวัดและประเมินผลผู้เรยี น
1.1.1) STEM/ STEAM /STREAM
ตัวช้วี ดั : ร้อยละของครูผ้สู อนวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ทไี่ ด้รบั การพฒั นา STEM Education

ผลการดาเนนิ การ

จานวนครูผ้สู อนวิทย์ฯ คณติ ฯ คอมฯ จานวนครูท่ีไดร้ ับการพฒั นาตามโครงการบรู ณาการสะเต็มศกึ ษา ของสสวท.

STEM/STEAM/STREAM
สงั กัด ระดับ ระดับ ระดับ ระดบั ระดับ ระดับ คดิ เปน็ ระดับ คดิ เปน็ ระดบั คดิ เปน็ ระดบั คดิ เปน็ ระดบั คดิ เป็น

ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ปวช. ปวส. ประถม รอ้ ยละ ม.ตน้ รอ้ ยละ ม.ปลาย ร้อยละ ปวช. รอ้ ยละ ปวส. ร้อยละ

(คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน)

สพป. 1,636 612 - - - 556 33.99 172 28.10 - -

สพม. - 436 658 - - - - 57 13.07 59 8.96

สช. - - - - - - - - - - -

สอศ. - - - ๓๗ ๒๑ ๓๗ ๑๐๐ ๒๑ ๑๐๐

สกอ. - - - - - - - - - - -
รวม 1,636 1,048 658 37 21 556 33.99 229 21.85 59 8.97 ๓๗ ๑๐๐ ๒๑ ๑๐๐

สรปุ ผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพืน้ ท่ีตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอย่างไร
- สพป.สุรินทร์ เขต ๑ คัดเลือกศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียนและครูพี่เล้ียงแกนนาสะ

เตม็ ศกึ ษาผู้รบั ผดิ ชอบโครงการขบั เคลื่อน STEM Education เข้ารับการพฒั นาเก่ียวกับการจดั การเรียนรู้ตาม
แนวทางสะเตม็ ศกึ ษา ณ จุดอบรมที่ สสวท.กาหนด

- สพป.สุรินทร์ เขต ๑ จัดทาโครงการของบประมาณสนับสนนุ การขับเคลื่อนสะเตม็ ศึกษา

จาก สสวท. เพอ่ื เป็นหนว่ ยจัดอบรมพัฒนาครูพีเ่ ล้ยี งสะเตม็ ศึกษาด้วยระบบทางไกลให้แก่โรงเรียนศนู ย์ฝึกอบรม
สะเตม็ ศึกษาในสงั กัด สพป.สร.๑,๒,๓ สช, อปท. และ สพม.๓๓

- สสวท. จัดสรรงบประมาณให้เขตพื้นที่ผ่าน สพฐ.เพื่อดาเนินการจัดอบรมพัฒนา ๕ร พี่
เลย้ี งสะเตม็ ศกึ ษาดว้ ยระบบทางไกล

- สพป.สุรินทร์ เขต ๑ แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินงานขับเคล่ือนโครงการขับเคล่ือน

STEM Education

ห น้ า | ๒

- สพป.สุรินทร์ เขต ๑ จดั ประชุมคณะกรรมการดาเนินงานตามโครงการ ขับเคลอ่ื น STEM

Education

- สพป.สุรินทร์ เขต ๑ เป็นศูนย์ฝึกอบรมครูพี่เลี้ยงทางไกลสะเต็มศึกษาดาเนินงานตาม

โครงการ ฯ ให้แก่โรงเรยี นศูนย์ฝึกอบรมสะเตม็ ศึกษาในสังกัด สพป.สร.๑,๒,๓ สช, อปท. และ สพม.๓๓ ตาม

โควตาท่ีกาหนด ดังนี้

ระดับประถมศกึ ษาตอนตน้ วนั ท่ี 17-19 มนี าคม 2561

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ วนั ท่ี 24-26 มนี าคม 2561

ระดับประถมศกึ ษาตอนปลาย วนั ที่ 31 มีนาคม – 2 เมษายน 2561

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย วนั ท่ี 7-9 เมษายน 2561

ลาดบั รหสั โรงเรยี น รายช่อื โรงเรยี น จานวนผเู้ ขา้ อบรม
ศูนย์
ป.1-3 ป.4-6 ม.ต้น ม.ปลาย รวม

1 561 บ้านกาเกาะระโยง 333 0 9
9
2 562 อนุบาลรัตนบุรี 333 0
9
(ม.ตน้ : บ้านหนองบัวบาน2,
6
บา้ นนา้ เขียว1)
6
3 563 สังขะวิทยาคม 333 0 6
00 3 3 6
4 564 สริ ินธร 330 0 9
330
5 565 วาณชิ ย์นุกูล 330 0 20
333
6 566 อนบุ าลทองอุ่น 555 0 80
26 26 20 0
7 567 เทศบาล 2วภิ ัชศกึ ษา 5
8
8 568 เทศบาลท่าตูม

9 - คณะทางาน

รวม

- สพป.สุรนิ ทร์ เขต ๑ ร่วมกับโรงเรยี นบ้านกาเกาะระโยง ซึ่งเปน็ โรงเรียนศูนยฝ์ กึ อบรมครู
ทางไกลสะเต็มศึกษา ของเขตพ้ืนที่ ได้ดาเนินการพัฒนาครูที่สนใจสมัครอบรมครู สะเต็มศึกษาด้วยระบบ
ทางไกล จานวน ๓ รุ่น ๆ ละ 60 คน รวม 1๘0 คน ดงั น้ี ๑)ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น วันที่ 5 - 7 เดือน
พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สถานที่อบรม ห้องประชุมเชียงปุม สพป.สุรินทร์ เขต 1 ๒)ระดับ ประถมศึกษา

ตอนตน้ วันที่ 26 -28 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สถานทอ่ี บรม ห้องประชุมเชียงปมุ สพป.สรุ ินทร์ เขต 1
๓) ระดับ ประถมศึกษาตอนปลาย วันท่ี 19-21 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561 สถานที่อบรม ห้องประชุม
เชยี งปมุ สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1

ห น้ า | ๓

สานกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ ไดก้ าหนดเปา้ หมายการพัฒนาครูผูส้ อน
วิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ STEM Education ในสังกัดเป็นช่วงชั้น 3 ช่วงช้ัน คือ ป.1-3 , ป.4-6 และ ม.1-3 การ
พัฒนาครูผู้สอนวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ STEM Education ในสังกัดเป็นช่วงชั้น 3 ช่วงชั้น คือ ป.1-3, ป.4-6
และม.1-3 และครูผู้สอนวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ มีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา
และบางสานกั งานเขตพน้ื ที่ฯ อยรู่ ะหวา่ งเตรยี มดาเนนิ การจดั อบรม ปีงบประมาณ พ.ศ.2562

สาหรับการพัฒนาตามโครงการบูรณาการสะเต็มศึกษา ของ สสวท. สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๓ มีโรงเรียนศูนย์ฝึกอบรมและให้คาปรึกษาสะเต็มศึกษาประจาจังหวัดสุรินทร์
(โรงเรียนพเ่ี ล้ียงสะเต็มศึกษา) คือ โรงเรียนสิรินธรได้ดาเนินโครงการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรสู้ ะเต็มศึกษา
โดยให้มีการอบรมครูด้วยระบบทางไกลในช่วงเดือนมีนาคม–พฤษภาคมพ.ศ. ๒๕๖๑ แก่ครูวิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีจากโรงเรียนในโครงการขับเคล่ือนโรงเรียนจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ปี ๒๕๕๙
ตามนโยบายการจดั การเรียนการสอนสะเต็มศึกษาในสถานศกึ ษากระทรวงศึกษาธิการ ๑๐ โรง และโรงเรียนใน
โครงการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ “สะเต็มศึกษา : ต้นกล้า Smart Trainer
Team” อกี จานวน ๑๐ โรง รวมท้ังครูผู้สนใจซึง่ รับสญั ญาณมาจาก สสวท. ใน ๒ ช่วง ดงั น้ี ช่วงที่ ๑ วันที่ ๒๘-
๓๐ เมษายน ๒๕๖๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และช่วงที่ ๒ วันท่ี ๕-๗ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น รับเข้าอบรมได้จุดละ ๖๐ คน ปรากฏว่าครูระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสมัครเข้าอบรม
จานวน ๕๙ คน และระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น สมัครเข้าอบรม จานวน ๕๗ คน ครูทุกคนได้ร่วมกิจกรรมครบ
และสอบผ่านตามหลกั สูตร และมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมอยู่ในระดบั มาก

การขับเคล่ือนนโยบายที่ได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือกับเครือข่ายต่างๆ เช่น
โครงการขับเคลื่อนโรงเรียนจดั การเรียนรู้สะเตม็ ศกึ ษา ปี ๒๕๕๙ ตามนโยบายการจัดการเรียนการสอนสะเต็ม
ศกึ ษาในสถานศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ.) โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวิทย์พลังคิดเพื่อ
อนาคต” มรภ.สุรินทร์ ร่วมกับสถาบันคีนันแห่งเอเชีย สถานศึกษาในเครือข่ายการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา
ซง่ึ มหาวิทยาลัยราชภัฏสรุ นิ ทร์ ได้ทาบันทึกข้อตกลงความรว่ มมอื (MOU) กบั สสวท. (โดยวิทยากรทอ้ งถ่ินดา้ น
สะเต็มศึกษา (Local trainers) โครงการพัฒนาศักยภาพครูเพื่อการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ “สะเต็ม
ศึกษา : ต้นกล้า Smart Trainer Team” (สพฐ.)

ผลการนิเทศติดตามทุกโรงเรยี นในสังกัด โดยภาพรวมพบว่า สื่อและนวตั กรรมที่โรงเรียน
ใช้เป็นส่ือหลักคือ เอกสารคู่มือ/ชุดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ที่ออกแบบโดย สพฐ. ซ่ึง สพม.๓๓ ได้ส่งให้กับ
โรงเรยี นในโครงการฯ ส่วนโรงเรียนทั่วไปดาเนินการตามชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ศูนย์พฒั นาสะเต็มศึกษาของ
เขตพื้นท่ีการศึกษาได้อบรมให้ และทุกโรงเรียนได้มีการสืบค้นจากสื่อและแหล่งต่างๆ บนเว็บไซต์ เพ่ือมาใช้
ประยกุ ต์ใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของนักเรยี นแต่ละโรง มีนวัตกรรมการขบั เคลอ่ื นการจัดการเรยี นรสู้ ะเตม็ ศกึ ษาที่
พบคือ โรงเรียนมีกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติจริงและเชื่อมโยงสื่อวัสดุต่างๆในท้องถิ่น/แหล่ง
เรียนรใู้ นท้องถน่ิ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน โดยให้นักเรียนให้คดิ ออกแบบและสร้างช้ินงานที่ประยุกต์
จากวสั ดใุ นท้องถิ่นและมกี ารพัฒนาการสอนท่ีเนน้ การทาควบค่กู ับกจิ กรรมโครงงานในวิชาเรียนและใช้การวจิ ัย
เป็นฐานในการเรียนรู้ ในบางโรงเรียนมีผลงานที่โดดเด่นด้านสะเต็มศึกษา ทั้งผู้บริหาร ครู และนักเรียน
ซง่ึ มีส่ือนวัตกรรมต่างๆ ได้เผยแพร่ชิ้นงานผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ต่างๆ และมีรางวัลในระดับประเทศ เช่น
โรงเรียนสิรินธร โรงเรียนสุรวิทยาคาร โรงเรียนตาเบาวิทยา โรงเรยี นบัวเชดวิทยา โรงเรียนชุมพลวิทยาสรรค์
และโรงเรยี นท่าตูมประชาเสริมวทิ ย์ โรงเรยี นมกี ารจดั กิจกรรมบรู ณาการ STEM ให้กบั นกั เรยี นทกุ ระดบั ชน้ั

ห น้ า | ๔

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพือ่ แก้ปัญหา)
- ตน้ สงั กัดสนบั สนุนงบประมาณในการพฒั นาบคุ ลากรวิทยฯ์ คณิตฯ คอมฯ ในสงั กดั
- ต้นสังกัดมีโครงการสรรหาบุคลากรวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ ในสังกัดให้โรงเรียนท่ีขาด

บุคลากร วิทย์ฯ คณิตฯ
- พฒั นาบุคลากรโดยการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการในการสร้างความรู้ความเข้าใจ

- มโี รงเรยี นต้นแบบการจัดการศกึ ษาตามแนวทางสะเต็มศึกษา
- สานกั งานเขตพืน้ ที่มีโครงการพฒั นาทกั ษะการจดั การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
- ภาวะการนาของผูบ้ ริหารเขตพ้นื ที่การศึกษา ที่ใหค้ วามสาคัญ สร้างความตระหนกั แก่

ผู้บรหิ ารสถานศึกษาทุกโรง และประกาศในเชงิ นโยบาย รวมทั้งมีการกากบั ติดตาม
- การส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาจากเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ได้แก่ การจัดประชุมเชิง

ปฏบิ ัติการการอบรมด้วยระบบทางไกล การนิเทศตดิ ตาม การจัดกิจกรรมแลกเปล่ยี นเรียนร้แู ละวิพากษผ์ ลงาน
การให้รางวลั เชิดชเู กยี รติครูและสถานศึกษา

- มีโรงเรียนท่ีทาหน้าที่พ่ีเล้ียง แกนนาหรือเป็นศูนย์พัฒนา ท่ีมีความเข้มแข็ง ได้แก่

โรงเรียนสริ ินธร โรงเรียนทา่ ตูมประชาเสรมิ วทิ ย์ โรงเรียนจอมพระประชาสรรค์ และโรงเรยี นบวั เชดวิทยา
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้และประดิษฐ์นวัตกรรมที่ได้จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการ

จัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนคิ STEM
- ปรับปรงุ /พฒั นาศูนยก์ ารเรียนรูห้ รอื แหลง่ เรยี นรดู้ า้ น STEM ศึกษาในโรงเรียน
- กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งครกู บั นักเรยี นในเรื่อง STEM ศึกษา

๓. ปัญหา/อุปสรรคที่แก้ไขไม่ไดใ้ นระดบั พนื้ ท่ี และข้อเสนอแนะระดับพืน้ ที่

ปญั หา/อุปสรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พ้นื ที่ ข้อเสนอแนะระดบั พื้นท่ี
๑. ความตอ่ เน่อื งในการต่อยอดเพ่ือขับเคลอ่ื น
ในระดบั โรงเรยี นอยา่ งย่งั ยนื - ควรขับเคลอื่ นด้วยอาศัยข้อมูลเชิงประจกั ษจ์ ากการ
ประเมนิ ผลครู นักเรียนและโรงเรียน
๒. การบริหารและการจดั สรรงบประมาณจาก และสรรหาวธิ กี ารพฒั นาท่ีตอ่ เนื่องเพ่ือความยง่ั ยืน
สพฐ.เกย่ี วกบั การอบรมครดู ้วยระบบทางไกล - ควรจัดทาบนั ทกึ ขอ้ ตกหรอื ความรว่ มมอื (MOU) ระหว่าง
(คา่ ใช้จา่ ยและ ค่าวัสดใุ นการอบรม) กับความ สพม.กบั โรงเรียนและครู
ต้องการของครทู สี่ นใจอกี จานวนมาก
- มอบหมายโรงเรยี นศนู ย์ (พ่เี ล้ียง) จัดอบรมเชงิ
ปฏบิ ตั กิ ารร่วมกบั การชมวีดทิ ัศนต์ น้ ฉบบั จาก สสวท. และ
ในส่วนค่าลงทะเบยี น ขอความร่วมมอื เบกิ จ่ายจาก
โรงเรยี นของครทู ่สี นใจ
- ควรมกี ารพฒั นาบคุ ลากรวิทย์ฯ คณิตฯ คอมฯ ให้ครบ
ทกุ ชน้ั เรยี น

ห น้ า | ๕

ปญั หา/อปุ สรรคที่แกไ้ ขไม่ได้ในระดบั พนื้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะระดบั พ้นื ที่

๓. ครไู มไ่ ด้รบั การอบรมเทคนิค STEM ศกึ ษา - จดั อบรมเทคนคิ STEM ใหก้ ับครูผู้สอน

๔. นกั เรียนทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการได้ยิน มี - จัดใหน้ ักเรยี นไดท้ ากจิ กรรมแลกเปล่ยี นเรยี นรู้

ปัญหาและขอ้ จากดั ในการสอื่ สาร ทาให้ความรู้

บางอย่าง หรือการศึกษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง

ต้องใหล้ ่ามภาษามืออธบิ ายเพิ่มเตมิ

๕. นกั เรียนทีม่ ีความบกพร่องทางสตปิ ญั ญา

เรียนรไู้ ดช้ า้ จาเป็นตอ้ งทากิจกรรมทไี่ มย่ ุ่งยาก

ซบั ซอ้ น

๖. การจัดกระบวนการเรียนการสอนสาหรบั ครู

ท่ีเข้ามาทางานใหม่ ยงั ไม่ชานาญภาษามอื

ส่งผลให้ขาดความตอ่ เน่อื งในการสอน ดังน้ัน

สถานศึกษาจงึ ได้จดั การอบรมภาษามือให้กบั ครู

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอื่ เปน็ ข้อสัง่ การของผบู้ ริหารระดับสงู (ถ้ามี)
- เน่ืองจากโรงเรียนส่วนใหญ่ยังขาดแคลนครูผู้สอนท่ีมีความสามารถหรือมคี วามถนดั ดา้ น

การจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา เห็นควรผลิตบุคลากรรองรับการเปลี่ยนแปลง ส่งเสริม สนับสนุนให้โอกาสครู
ได้รับการพฒั นาความรคู้ วามสามารถตามความถนดั และความสนใจ

- งบประมาณ สื่อวัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรม STEM Education มีจานวนจากัด ทา

ให้การดาเนินงาน ไม่ประสบความสาเร็จเท่าที่ควร ควรจดั สรรสื่อ วัสดุอุปกรณ์และงบประมาณสนบั สนุนการ
จัดการเรียนรูส้ ะเตม็ ศึกษาใหโ้ รงเรยี นอยา่ งเหมาะสมตอ่ ไป

- นักเรียนยังขาดทักษะการคดิ วิเคราะห์ แก้ปญั หาและการนาไปใช้สร้างสรรคผ์ ลงานไดไ้ ม่
ดีเท่าท่ีควร ควรจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ จัดกิจกรรม PLC นิเทศ ติดตาม การดาเนินงาน เพ่ือสร้างขวัญ
กาลังใจใหโ้ รงเรยี น ครู นักเรยี นอยา่ งจรงิ จังและต่อเนอ่ื ง

- สง่ เสริมงบประมาณให้เพียงพอในการพฒั นา ส่งเสริมกจิ กรรมสรรค์หานวตั กรรมตน้ แบบ
เพอื่ เปน็ แบบอย่างเผยแพร่ จัดสรรบุคลากรวิทยฯ์ คณติ ฯ คอมฯใหส้ ถานศกึ ษาเพยี งพอ

- ควรเพ่ิมบทบาทการขับเคล่ือนแต่ละหน่วยขับเคล่ือนระดับจังหวัดหรือระดับภาค และ
เพิ่มจานวนในการรับเข้าอบรมด้วยระบบทางไกล แต่ท้ังนี้อาจยังเก่ียวพันกับการบริหารและการจัดสรร
งบประมาณ เพราะมีคา่ ใช้จ่ายและค่าวัสดใุ นการอบรม รวมทง้ั มกี ารติดตามการนาองค์ความรไู้ ปใชใ้ นระดบั ชั้น

เรยี นอยา่ งจริงจัง เพอ่ื คานวณความคมุ้ คา่ ตามหลักต้นทุนผลิต
- หนว่ ยงานต้นสังกัดควรให้ความจรงิ จังในการขับเคลอ่ื น และสรรหาวิธใี นการสร้างความ

เชื่อท่ีจะพัฒนาและขับเคล่ือนท่ีเป็นรูปธรรมของผู้ที่จะสามารถนาการเปลี่ยนแปลงและปฏิบัติในระดับ
สถานศึกษาที่จริงจัง และเสริมขวัญกาลังใจ รวมทั้งควรสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเช่ียวชาญ/
สถาบนั อุดมศึกษามาชว่ ยสนับสนุนการขบั เคล่อื น

- ขอรับการพัฒนาครผู ู้สอนวิชาชพี และสายสามัญในการจดั การเรียนการสอน การวดั และ
ประเมนิ ผลผูเ้ รียน STEM/STEAM/STREAM เพอ่ื พฒั นานวัตกรรมสงิ่ ประดษิ ฐ์ งานสรา้ งสรรค์ สู่เชงิ พาณชิ ย์

- ขอรับการสนับสนุนงบประมาณเพื่อดาเนินการบูรณาการ STEM/STEAM/STREAM สู่
ผู้เรยี น

ห น้ า | ๖

โครงการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารบรู ณาการ STEM Education เพอ่ื สร้างนวัตกรรมสูเ่ ชิงพาณชิ ย์
ประจาปกี ารศึกษา 2561

1.1.2) หลักสตู ร Waldorf/Montessori/High/Scope/BBL/PBL
ตวั ชว้ี ดั : ร้อยละของสถานศึกษาทจ่ี ัดหลักสูตร/การจัดการเรยี นการสอนปฐมวยั
ผลการดาเนินการ

จานวนสถาน จานวนสถานศกึ ษาที่จดั การศึกษาปฐมวยั ที่จดั หลักสูตรเพื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2561
ศกึ ษาทจ่ี ดั Waldorf Montessori High Scope
การศกึ ษา BBL PBL อื่นๆ
ปฐมวยั ทั้งหมด
สงั กัด ดาเนนิ คิด ดาเนิน คดิ ดาเนนิ คดิ ดาเนิน คดิ ดาเนิน คิด ดาเนิน คิดเป็น
(แห่ง) การ เป็น การ เปน็ การ เป็น การ เปน็ การ เปน็ การ ร้อยละ
(แหง่ ) รอ้ ยละ (แหง่ ) ร้อยละ (แหง่ ) ร้อยละ (แหง่ ) รอ้ ยละ (แห่ง) รอ้ ยละ (แห่ง)

สพป. 741 - - 28 3.78 - - 297 40.08 252 34.01 96 12.96

สช. - ----------- -

สกอ. - ----------- -

อปท. - ----------- -

พม. - ----------- -

โสตฯ 1 - - - - - - 1 100 - - - -

รวม 742 - - 28 3.77 - - 298 40.16 252 33.96 96 12.94

ห น้ า | ๗

สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพน้ื ทีต่ ามประเด็นการตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร
- สถานศึกษาในสังกัด สพป.สุรินทร์ เขต ๑ ส่วนใหญ่ได้นาแนวคิดทฤษฎีใหม่ๆ หรือ

นวตั กรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยมาใชจ้ ดั การศกึ ษาปฐมวยั เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา ได้แก่ มอนเทสซอรี
BBL การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวทางบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย จิตศึกษา PBL สนามเด็กเล่น
ตามรอยพระยคุ ลบาท การพฒั นาทกั ษะ EF (Executive Functions) STEM Education เป็นต้น

- การจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป (High Scope) สพป.สุรินทร์ เขต 1 การ
ขับเคลื่อน ตามท่ีหนังสือ ศธ.04010/ว268 จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ขอเชิญ
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาโรงเรยี นต้นแบบการจัดการศึกษาปฐมวยั ตามแนวคิดไฮสโคป(HighScope) โดย
ประกอบด้วย 1) ศึกษานิเทศก์ท่ีรับผิดชอบงานปฐมวัย 2) ผู้อานวยการโรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัดและ
ผอู้ านวยการโรงเรยี นอนุบาลประจาเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา 3) ครอู นุบาลประจาจงั หวัดในชนั้ อนุบาลปที ่ี 2 และช้ัน
อนุบาลปที ี่ 3 จานวน 4 คน และครูหัวหน้าสายชั้น 1 คน รวมทั้งส้ิน 5 คน และครูอนุบาลประจาเขตพื้นท่ี
การศึกษา จานวน 2 คน เข้าร่วมประชมุ 1.) ศกึ ษานิเทศก์ เขา้ ประชุมระหว่างวันท่ี 29-31 มกราคม 2562
2) ผู้อานวยการโรงเรียนอนบุ าลประจาจังหวดั และผูอ้ านวยการโรงเรียนอนุบาลประจาเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา เข้า
ประชมุ วันท่ี 29 –30 เมษายน 2562 3) ครูอนบุ าลประจาจังหวัดในชั้นอนบุ าลปีที่ 2 และชนั้ อนบุ าลปที ี่ 3
จานวน 4 คน และครูหัวหน้าสายชั้น 1 คน รวมท้ังสิ้น 5 คน และครูอนุบาลประจาเขตพื้นที่การศึกษา
จานวน 2 คน เข้าร่วมประชุมวันที่ 23-25 เมษายน 2562 ดังน้ัน ในการดาเนินงานขับเคลื่อนการจัด
การศกึ ษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป(HighScope) อยู่ระหว่างการดาเนนิ งาน

- โรงเรียนสอดแทรกบูรณาการกิจกรรม BBL ในกิจกรรมการเรียนการสอนและจัดแหล่ง
เรียนรู้ BBL เกย่ี วกบั พยญั ชนะภาษาองั กฤษ

- โรงเรียนในสังกัดมีหลักสูตรสถานศึกษาและมีการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษาในระดบั ปฐมวัย

- ผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ตามแนวทาง
สะเต็มศกึ ษา

- อบรมการจัดทาหลกั สูตรสถานศึกษาปฐมวยั
- อบรมการจัดกจิ กรรมที่สอดคลอ้ งกับ 6 กิจกรรมหลกั
- ติดตาม ประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรม ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพ่ือแกป้ ญั หา)

- สง่ เสริมการจดั แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน เช่น สนาม BBL ทาให้นักเรียนได้เรียนรู้ได้
ทัง้ ในและนอกหอ้ งเรยี น

- สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาขับเคลื่อนภารกิจ ภายใต้โครงการการอบรมผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูปฐมวัยผา่ นระบบทางไกล โครงการพัฒนาเด็กปฐมวัย (3-5 ป)ี กิจกรรม : อบรมผู้บรหิ าร
สถานศึกษาและครูปฐมวัยด้วยระบบทางไกล โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2561 (สสวท.)กระทรวงศึกษาธกิ าร

- สร้างความเข้าใจและแนวทางการจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษาปฐมวยั
- สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ได้ดาเนินงานตามแผนงาน
โครงการ ดงั น้ี 1) จัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาหลักสตู รสถานศึกษาปฐมวัยสู่การปฏบิ ตั ิในระดับชน้ั เรียน ใหก้ ับ

ห น้ า | ๘

โรงเรียนในสังกัด 291 โรง คิดเป็นร้อยละ 100 ครูปฐมวัย 450 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ๒) จัดประชุม

ปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่บูรณาการทักษะ EF (Executive Functions) ร่วมกับ
โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด/ โรงเรียนอนุบาลสุรินทร์ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นครูปฐมวัยในสังกัด สพป.
สุรินทร์ เขต 1-2-3 3) จัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีบูรณาการทักษะ EF

(Executive Functions) รว่ มกับโรงเรียนอนบุ าลประจาเขต/ โรงเรียนเมอื งสุรินทร์ โดยมีกลุ่มเปา้ หมายเป็นครู
ปฐมวยั ในสังกัด สพป.สุรินทร์ เขต 1 ครอบคลุม่ ทุกเครอื ข่ายบริหารสถานศึกษาแบบบูรณาการ 4) จัดประชุม

ปฏิบัติการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับปฐมวัยท่ีบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี
และสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวัย (STEM) โดยจัดประชุมเป็น 2 ระยะ เป็นเวลา 5 วัน 5) ได้จัดกิจกรรม
ศึกษาดูงานแหล่งเรยี นรู้ท่ีจัดการศึกษาปฐมวัยท่ีมีผลการปฏิบัติที่เป็นเลิศ ได้แก่ โรงเรียนจิตตเมตต์ ตล่ิงชัน

กรุงเทพมหานคร ซ่ึงจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่บูรณาการนวัตกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัยที่หลากหลาย
6) จัดประชุมปฏบิ ัติตามโครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ใหก้ ับโรงเรยี นทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการฯ รุ่น

ท่ี 8 และอบรมทดแทนให้กับครูผู้เกษียณอายุราชการ หรือย้ายสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้บริหาร
สถานศึกษาและครูปฐมวัย โดยจดั เป็น 2 ระยะ เวลา 3 วัน 7) พัฒนาต่อยอดโรงเรียนทเี่ ขา้ ร่วมโครงการบ้าน
นกั วิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย รุ่นท่ี 1-7 ทุกโรง โดยจัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การ

เรียนรู้ที่วิทยาศาสตร์ที่บูรณาการเรื่อง อากาศ น้าและเทคโนโลยี 8) สร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายครู
ปฐมวัย โดยจัดกิจกรรมนิเทศ ติดตามฯ ด้วยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional

Learning Community : PLC) โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย จานวน
100 โรง

๓. ปญั หา/อุปสรรคทแ่ี ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดับพืน้ ท่ี และข้อเสนอแนะระดบั พืน้ ที่

ปัญหา/อุปสรรคท่แี กไ้ ขไม่ไดใ้ นระดบั พื้นที่ ขอ้ เสนอแนะระดบั พื้นที่

- ส่งเสรมิ สนับสนุนให้สถานศกึ ษาในสังกดั นานวัตกรรมการ
พัฒนาเด็กปฐมวยั หรือแนวคิดทฤษฎีใหม่ ๆ มาบูรณาการ
จดั ประสบการณก์ ารเรียนรู้ใหก้ ว้างขวางย่ิงขน้ึ

- ปี2560 เขตพื้นท่ีมีนโยบายในการกระตุ้น -กระตุน้ ให้ครูและโรงเรยี นจัดการเรียนการสอนใช้

ก าร จั ด ก าร เรี ย น ก าร ส อ น แ บ บ Active กระบวนการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสมกับบริบทของ
Learning ทาให้โรงเรียนหันจัดการเรียนการ โรงเรยี นหรือตามศกั ยภาพและความสนใจของผู้เรยี น

สอบแบบ Active Learning มากกว่า BBLและ
PLB

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอื่ เปน็ ขอ้ สั่งการของผูบ้ รหิ ารระดับสูง (ถา้ มี)
- สนบั สนุนงบประมาณเพือ่ การพัฒนาครูและผ้บู ริหารทั้งเขตพ้นื ท่ี

ห น้ า | ๙

1.1.3) การเรียนรดู้ ว้ ยวิธีการ Active Learning
ตัวชี้วดั : ร้อยละของสถานศกึ ษาท่ีมกี ารพฒั นาการเรียนการสอนดว้ ยวธิ ีการ Active Learning
ผลการดาเนนิ การ

จานวน สถานศึกษาที่จัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการ สถานศกึ ษาท่ีมนี วตั กรรมการจดั เรยี นรผู้ ่าน
สถานศกึ ษา
สังกัด ปฏิบัตจิ ริง(Active Learning) กิจกรรมการปฏิบัติจรงิ (Active Learning)
ท้ังหมด(แห่ง)
จานวน (แห่ง) คดิ เป็นรอ้ ยละ จานวน (แหง่ ) คดิ เป็นรอ้ ยละ

สพป. 451 743 164.75 445 98.67

สพม. 85 85 100 85 100

สช. - - - - -

สอศ. ๘ ๘ 100 ๘ 100

กศน. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐ - -

สกอ. - - - - -

โสตฯ 1 1 100 1 100

รวม 562 854 151.96 539 95.91

สรปุ ผลการดาเนนิ การ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพน้ื ท่ตี ามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เปน็ อย่างไร

- ครูมีเจตคตทิ ่ีดีต่อการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นให้นักเรียนได้ลงมอื ปฏิบัติ มีการพัฒนา

รูปแบบการจัดการเรยี นใหม่ๆ

- สถานศึกษาได้ดาเนินการเรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning โดยได้จัดกิจกรรมให้

นกั ศึกษาไดเ้ รียนรู้กบั แหล่งเรียนรู้ทป่ี ระสบความสาเร็จในพื้นท่ีและพื้นท่ีใกล้เคียง และไดเ้ รยี นร้กู ับปราชญ์และ

ภูมปิ ญั ญา ในกิจกรรมทีส่ ถานศึกษาไดจ้ ัดในแต่ละกิจกรรมโครงการ

- การดาเนินการของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาเพื่อสร้างความเข้าใจแก่ผู้บริหาร

สถานศกึ ษา ครูผสู้ อน ในการปรับปรงุ หลกั สูตรสถานศึกษาใหส้ อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เกณฑ์

การจบการศึกษา และการบริหารจัดการหลักสูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 สถานศึกษาในสังกัดทั้งหมด

จานวน 85 แหง่ สถานศึกษาในสงั กัดทม่ี ีการปรับปรงุ หลกั สตู รสถานศึกษาในกลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง

พ.ศ.2560) ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด เกณฑ์การจบการศึกษา และการบริหารจัดการ

หลกั สูตร ในปีการศึกษา 2561 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 และ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 จานวน 85 แห่ง

คดิ เป็นรอ้ ยละ 100

- กระบวนการดาเนินงาน มีการอบรมเชิงปฏิบัติการการสร้างความเข้าใจ”การนา

มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ัดกล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ และสาระ

ภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม”(ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) สู่การปฏิบัติ

การประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารจัดทากรอบสาระการเรียนรูท้ ้องถนิ่ ท่ีสง่ เสริมอาชีพให้กบั ผูเ้ รยี น การนิเทศติดตามผล

การดาเนินงานจากเชตพ้ืนที่/สหวิทยาเขตลงพื้นที่และการรายงานการนิเทศออนไลน์สถานศึกษาในสังกัด

สามารถปรบั และพัฒนาหลกั สูตรสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เขตพื้นท่ี และสนอง

ตอ่ ผู้เรียนตามบรบิ ทของโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ สถานศึกษาในสังกัดสามารถปรับและพัฒนาหลักสูตร

สถานศกึ ษาให้สอดคลอ้ งกับนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร เขตพ้นื ที่ และสนองต่อผู้เรยี นตามบรบิ ทของโรงเรยี น

สถานศึกษาในสังกัดปรบั และพัฒนากรอบสาระการเรียนร้ทู ้องถิ่นทสี่ ่งเสริมอาชีพใหก้ ับผู้เรียนท่ีตอบสนองต่อ

ความตอ้ งการของผู้เรยี น ตามศกั ยภาพของผู้เรียน

ห น้ า | ๑๐

- ร้อยละ 100 บุคลากรสถานศึกษาในสังกัดมีความรู้ความเข้าใจการจัดการเรียนรู้ผ่าน
กิจกรรมการปฏบิ ตั ิจริง(Active Learning)

- ร้อยละ 100 บุคลากรสถานศึกษาในสังกัดมีความพึงพอใจการจัดการเรียนรู้ผ่าน
กิจกรรมการปฏิบัติจริง(Active Learning)

- สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ได้ดาเนินการให้สถานศึกษา
จัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) สาหรับครผู ู้สอนช้ัน ป.6 และ ม.3 น้ัน ส่งผลให้
ครูมีความรู้ความเข้าใจในการจัดกิจกรรมเพิ่มเวลารู้ด้วยการลงมือทา : Active learning ผู้เข้ารับการอบรม
สามารถปรบั วิธีเปลีย่ นวธิ สี อน ส่งผลใหน้ ักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเพิม่ ข้นึ

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพอ่ื แกป้ ัญหา)

- โรงเรียนจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การปฏิรูปกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ
Active Learning

- ครูนาการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning ไปใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน
- สถานศึกษาได้ประชุมวางแผนการดาเนินงานกิจกรรม/โครงการ ของคณะกรรมการ
สถานศึกษา บุคลากร และจัดทาเป็นแผนการปฏิบัติการประจาปี และมีการรายงานผลการจัดกิจกรรมแต่ละ
กจิ กรรม/โครงการ
- สถานศึกษาในสังกัดสามารถปรับและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ
นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เขตพน้ื ทแ่ี ละสนองต่อผู้เรียนตามบรบิ ทของโรงเรียน
- สถานศึกษาในสังกัดปรับและพัฒนาประกอบสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินที่ส่งเสริมอาชีพ
ใหก้ บั ผู้เรยี นทีต่ อบสนองต่อความต้องการของผ้เู รยี นตามศักยภาพของผู้เรยี น
- มีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้เพื่อพัฒนา 4 H โดยผ่านกิจกรรมรูปแบบ Active
Learning ตามแนวนโยบาย “ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้”โรงเรียนในสังกัด ตามขั้นตอนการศึกษา ดังต่อไปน้ี
ระยะที่ 1 ขนั้ ศกึ ษาสภาพปัญหา ระยะที่ 2 ขั้นพฒั นา ประกอบด้วย 1) ศึกษานโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพ่ิม
เวลารู้” 2) ศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนา 4 H ตามแนวนโยบาย “ลดเวลาเรียน
เพมิ่ เวลารู้” 3) จัดทาโครงการ 4) ขออนมุ ัติโครงการ 5) จดั ทาคมู่ ือนิเทศการจัดกิจกรรมการเรยี นร้เู พื่อพัฒนา
4 H โดยผา่ นกิจกรรมรูปแบบ Active Learning ตามแนวนโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้” ระยะท่ี 3 ข้ัน
นิเทศ ติดตามผล – แต่งต้ังคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ฯโดยศึกษาคู่มือนิเทศการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือ
พัฒนา 4 H โดยผ่านกจิ กรรมรูปแบบ Active Learning ตามแนวนโยบาย “ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้”
- อบรมจัดกิจกรรมเพ่ิมเวลารู้ด้วยการลงมือทา : Active learning สาหรับครูผู้สอน ชั้น
ป.6 และ ม.3 จานวน 294 คน
- ครูสามารถออกแบบการเรียน :Active learning ได้ นักเรียนมีผลงาน/ช้ินงาน เช่น
โครงงาน สิ่งประดิษฐ์ โครงงานทุกสาระเรยี นรู้

ห น้ า | ๑๑

๓. ปญั หา/อปุ สรรคที่แก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพน้ื ท่ี และข้อเสนอแนะระดับพ้นื ท่ี

ปัญหา/อปุ สรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ด้ในระดับพืน้ ที่ ข้อเสนอแนะระดบั พน้ื ที่

- ควรมีกิจกรรมพฒั นานวัตกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อพฒั นา 4H โดยผา่ นกิจกรรมรปู แบบ Active Learning

โรงเรียนขนาดเลก็ ครไู ม่ครบช้ัน ครูตอ้ งสอน แนะนาให้ครูจัดการศึกษาแบบบูรณาการโดยการให้ครู
ควบกันหลายชัน้ ทาให้ไมม่ เี วลาในการจัดทา ศึกษาตัวชี้วัดช้ันปีท่ีครูสอนควบกันและบูรณาการในการ

ส่ือหรือกิจกรรมแบบ Active Learning ได้ สอนแต่ละกลุ่มสาระโดยให้ครูใช้กระบวนการเรยี นการสอน
และครูมีภาระงานอืน่ นอกเหนอื จากการสอน แบบ Active Learning เพ่ือลดภาระในการสอนของครูและ
เป็นจานวนมาก เดก็ เกิดการเรียนรอู้ ยา่ งแทจ้ ริง

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพื่อเป็นข้อส่งั การของผบู้ รหิ ารระดับสูง
- สนบั สนุนงบประมาณเพือ่ การพัฒนาครูและผู้บริหารทั้งเขตพืน้ ที่

สถานศกึ ษามีการพฒั นาการเรียนการสอนดว้ ยวธิ กี าร Active Learning

ห น้ า | ๑๒

1.1.4) ทักษะการพดู อ่าน เขียน
ตวั ชวี้ ดั : ร้อยละของผเู้ รียนมที กั ษะภาษาองั กฤษ
ผลการดาเนินการ

จานวนผู้เรยี นระดับการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน จานวนผู้ผ่านเกณฑ์และประเมนิ ผล

สงั กัด (ป.1 – ม.6) ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2561 ทกั ษะภาษาอังกฤษ
ทเ่ี ขา้ รบั การประเมินผลการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระ ระดบั ดี ขึ้นไป (คน)

ภาษาองั กฤษ (คน) จานวนนักเรยี น คดิ เป็นร้อยละ

สพป. 22,294 12,755 57.21

สพม. * * *

สช. - - -

สกอ. - - -

กศน. ๘๓ 0 0

โสตฯ 203 145 71.43

รวม 22,580 12,900 57.13

* ไม่มกี ารทดสอบ

** รอขอ้ มลู การประเมนิ ผลการศึกษาเม่ือสนิ้ ปีการศกึ ษา 2561 จากระบบ Schoolmis

สรปุ ผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพ้นื ที่ตามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เป็นอย่างไร

วธิ ีการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์
เขต 1 ในปีการศึกษา 2561 ที่ผ่านมา มีดังนี้ 1) โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารสาหรับ

นักเรยี นระดบั ประถมศึกษา (5 minute check in- check out) ก่อนเริม่ เรยี น 5 นาที 2) พั ฒ น า ทั ก ษ ะ
ภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โดยวิทยากรชาวต่างชาติ 3) ประเมินทักษะการ
อา่ น การเขยี นและการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียน ชนั้ ป.1-ม.3 ภาคเรียนละ 1 ครงั้ ดังน้ี ภาคเรยี นท่ี 1

วนั ท่ี 31 สิงหาคม 2561 นักเรยี นเขา้ สอบทัง้ สิน้ 22,294 คน มีผลการประเมินในระดบั ดี-ดมี าก ดงั นี้
การอา่ น จานวน 11,399 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 51.13

การเขยี น จานวน 7,069 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 31.71
การสอื่ สาร จานวน 12,755 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 57.21
- สถานศึกษาได้จัดกิจกรรม/โครงการ ให้กับผู้เรียนผ่านกระบวนการเรียนการสอน

กจิ กรรมสอนเสริม เติมเตม็ ความรู้ และกจิ กรรมยกระดับทักษะภาษาองั กฤษให้กบั ครูผ้สู อน
- ผลการดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ด้าน

ทักษะภาษาอังกฤษของผู้เรียน ได้ดาเนินการพัฒนาผู้เรียนตามวิสัยทัศน์ To be the first มีผลการทดสอบ
ทักษะด้านภาษาอังกฤษของนักเรียนช้ัน ป.1 เพ่ือเป็นพ้ืนฐาน ส่วนในชั้น ป.2- ม.3 ได้มีการนิเทศติดตาม
กจิ กรรมพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษของแตล่ ะโรงเรยี น

- การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษครขู าดทักษะ เพราะครูผู้สอนเป็นครูประจาชั้นที่
จบเอกอ่ืนทไ่ี ม่ใชเ่ อกภาษาอังกฤษ

ห น้ า | ๑๓

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพื่อแกป้ ัญหา)

- โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษทุกระดับชั้น มีการจัดบรรยากาศใน

ช้นั เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน เช่น ป้ายนิเทศ ส่ือการเรียนรู้ ( ใบงาน/ใบกิจรรม/บัตรคา/สื่อวีดี

ทศั น)์

- โรงเรียนจัดห้องเรียน โดยมีส่ือการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เพ่ือให้นครูและนักเรียน

สามารถเข้าใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ภายในห้องประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ ระบบอินเตอรเ์ น็ต

ส่ือการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ สื่อการสอนภาษามืออเมริกัน หนังสือเรียน รวมถึงการจัดบรรยากาศใน

ห้องเรียนใหเ้ อือ้ ตอ่ การเรยี นรู้

- สถานศึกษาได้ดาเนินการจดั กิจกรรม/โครงการ โดยวิธีการสอนเสริมเติมเต็มความร้ใู หก้ ับ
ผู้เรียน โดยได้สรรหาวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในทักษะภาษาอังกฤษ เป็นวิทยากรในการจัดกิจกรรม
ใหก้ ับผู้เรยี น สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นได้รับความรู้เต็มท่ี

- สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีแผนการนิเทศติดตาม และ
โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ โดยบูรณาการร่วมกับทักษะอ่ืนๆ เช่น การคิด การอ่าน และการใช้
เทคโนโลยี เช่น โครงการ ป.1 อ่านออกเขียนได้ ใช้ภาษาอังกฤษเกง่ และโครงการพฒั นาข้อสอบทกุ กลุม่ สาระ
ตามแบบการสอบ O-NET เปน็ ตน้

- กระตุ้นสง่ เสริมให้โรงเรียนใชเ้ ทคโนโลยีในการสอนภาษาอังกฤษ

๓. ปญั หา/อปุ สรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ด้ในระดับพนื้ ท่ี และขอ้ เสนอแนะระดับพื้นท่ี

ปญั หา/อุปสรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ดใ้ นระดบั พื้นที่ ข้อเสนอแนะระดบั พ้นื ที่

ข้ อ จ า กั ด ข อ ง ค ว า ม บ ก พ ร่ อ ง ท า ให้ -
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารไม่บรรลุตาม

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้เทา่ ทคี่ วร

ขาดครูผู้สอนในสาขาภาษาอังกฤษ - ควรเพ่มิ บคุ ลากรครใู ห้ตรงตามสาขาวิชา

- จัดวิทยากรให้ความรอู้ ยา่ งสม่าเสมอ

- - ควรมีการดาเนินการอย่างต่อเน่ือง และมีการส่งต่อข้อมูล

ผูเ้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ เพอ่ื พัฒนาภาษาองั กฤษอยา่ งเต็มท่ี

ขาดเทคโนโลยใี นการรวมรวมข้อมูล สพ ฐ. พั ฒ น าโปรแกรมก ารกรอก ข้อมูลผ่าน ระบบ

อินเทอร์เนต็

การจดั การเรยี นรยู้ ังไม่เตม็ ตามหลกั สตู ร ควรมมี าตรการและตวั ช้วี ัดทเ่ี ป็นรูปธรรม

ห น้ า | ๑๔

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือเป็นข้อสง่ั การของผู้บรหิ ารระดบั สงู (ถา้ ม)ี
- จัดทาโปรแกรมให้โรงเรียนสามารถรายงานผา่ นอินเทอร์เนต็ ท่ีสามารถประมวลผลได้

ในแตล่ ะเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
- ข้อสั่งการของผู้บริหารระดับสูง ต้องมีมาตรการและตัวชี้วัดที่ประสบผลสาเร็จอย่าง

เป็นรปู ธรรม เพือ่ การปฏบิ ัติทีบ่ รรลุผล

1.1.5) การยกระดับความสามารถทางภาษาของครู
ตวั ช้ีวัด : รอ้ ยละของครูทผี่ ่านการทดสอบทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ตามมาตรฐานความสามารถ

ทางภาษาองั กฤษ (CEFR)

ผลการดาเนินการ

จานวนครทู ่ี ครทู ่ผี า่ นการ ครูท่ีผา่ นการ ครูที่ผา่ นการ ครทู ่ีผา่ นการ ครูทผี่ า่ นการ ครูทีผ่ า่ นการ ครทู ผี่ ่านการ
เขา้ รบั การ ทดสอบ
ทดสอบ (CEFR) ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ ทดสอบ

(CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR) (CEFR)
สงั กดั ทักษะการใช้ Below A1 ระดับ A1 ระดบั A2 ระดับ B1 ระดบั B2 ระดบั C1 ระดบั C2
ภาษาอังกฤษ จานว คดิ เป็น จานว คดิ เปน็ จานว คดิ เปน็ จานว คดิ เปน็ จานว คดิ เป็น จานว คดิ เปน็ จานว คดิ เปน็
(CEFR) น(คน) รอ้ ยละ น(คน) รอ้ ยละ น(คน) ร้อยละ น(คน) ร้อยละ น(คน) รอ้ ยละ น(คน) รอ้ ยละ น(คน) รอ้ ยละ

(คน)

สพป. 987 79 8.00 402 40.73 440 44.58 62 6.28 4 0.41 - - - -

สพม. - - - - - - - - - - - - - - -

สกอ. - - - - - - - - - - - - - - -

กศน. - - - - - - - - - - - - - - -

สอศ. ๑๑ ๑ 9.09 ๓ 27.27 ๕ 45.45 2 18.18 - - - - - -

รวม 998 80 8.02 405 40.58 445 44.59 64 6.41 4 0.40 - - - -

สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพนื้ ท่ีตามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เปน็ อยา่ งไร
- สถานศึกษาส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนได้พัฒนาตนเองด้านทักษะภาษาต่างประเทศ

โดยเฉพาะครผู ู้สอนหมวดวิชาภาษาตา่ งประเทศมที กั ษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สาร และสามารถนาองค์
ความรใู้ นการจดั การเรยี นการสอนด้านภาษาอังกฤษ เพ่อื พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ

- สถานศึกษาได้พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษให้กับครูผู้สอนผ่านกิจกรรม/โครงการ
อบรม การใช้ภาษาอังกฤษในการสือ่ สารเบื้องตน้ และไดส้ ่งครูผู้สอนเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาครตู ้นแบบการ
สอนภาษาอังกฤษ Boot Cam

- ไม่มคี รูเข้ารบั การทดสอบในปี การศึกษา 2561 (สพม.๓๓)
- การดาเนินการยกระดับความสามารถทางภาษา ของครูสังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ี

การศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 2 โดยการส่งเสริมให้ครูเข้ารับการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูแกนนา
ภาษาอังกฤษ (Boot Camp) ในรุ่นที่ 11-20 สาหรับผ้ทู ่ีมีผลการทดสอบ CEFR ระดับ A1 - A2 /ผทู้ ่ีจบเอก
ภาษาองั กฤษ และครผู สู้ นใจ ทั้งนีม้ กี ารดาเนินการนเิ ทศ ตดิ ตาม เป็นระยะอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

- ครูที่สอนภาษาอังกฤษเป็นจานวนมากทีไ่ ม่ไดจ้ บเอกภาษาอังกฤษ

ห น้ า | ๑๕

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพ่ือแก้ปัญหา)
- วิธีดาเนินการของ สพป. สุรินทร์ เขต 1 ซ่ึงดาเนินการทดสอบเม่ือปีการศึกษา 2558

ดังน้ี 1) แต่งตั้งกรรมการประเมิน 2) คัดเลือกข้อสอบ 3) ทาสัญญาจ้างกับหน่วยงานประเมิน 4) ช้ีแจง

แนวทางการประเมิน 5) ประชาสัมพันธ์ให้ครสู มัครเขา้ รับการทดสอบ 6) ทดสอบ 7) สรปุ รายงาน
- ครูผู้สอนหมวดวิชาภาษาต่างประเทศได้เข้าร่วมฝึกอบรมพฒั นาทักษะภาษาอังกฤษและ

เข้ารว่ มทดสอบวัดระดบั ทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษ CEFR
- สถานศกึ ษาวางแผนการจัดกิจกรรมโดยให้ครทู ี่ผ่านการอบรมการพัฒนาครูต้นแบบการ

สอนภาษาอังกฤษถา่ ยทอดให้กับครูผสู้ อนของสถานศกึ ษา

- สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2 มีโครงการนิเทศ ติดตาม ตาม
วิสัยทัศน์ To be the first ของสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา โดยมีกิจกรรมการสังเกตช้ันเรียน

และกจิ กรรม PLC Online
- ในการเตรียมครูเข้าสอบ ได้เตรียมการโดยการสารวจให้ครูสมัครใจสอบ มขี ้อมูลติดตาม

และการประสานงานใหส้ ามารถสอบวัดในวันตอ่ มา

๓. ปัญหา/อปุ สรรคทแ่ี กไ้ ขไม่ไดใ้ นระดับพื้นที่ และข้อเสนอแนะระดบั พ้นื ที่

ปญั หา/อุปสรรคทีแ่ ก้ไขไมไ่ ด้ในระดับพนื้ ที่ ขอ้ เสนอแนะระดบั พืน้ ท่ี

ครูผู้สอนสาขาวิชาชีพขาดทักษะการสื่อสาร ควรจัดให้ครูสาขาวิชาชีพเข้ารับการพัฒนาศักยภาพด้าน

ภาษาตา่ งประเทศ ภาษาต่างประเทศให้สามารถส่ือสารได้ และทดสอบวัด

ร ะ ดั บ ทั ก ษ ะ ก าร ใช้ ภ าษ าอั ง ก ฤ ษ ต าม ม าต ร ฐ าน

ความสามารถทางภาษาอังกฤษ CEFR

- ควรมีการนิเทศ ติดตาม การสอนของครูอย่างต่อเน่ือง

และให้ครูแกนนามีส่วนในการนิเทศ ติดตาม ครูท่ียังไม่ได้
เข้ารับการอบรมเพ่ือขยายผลไปในตัว รวมถึงการมีข้อมูล

สารสนเทศเกี่ยวกับครูภาษาองั กฤษเพ่ือใช้ในการพัฒนางาน
ตอ่ ไป

สัญญาณอินเทอรเ์ นต็ ไม่แรงพอ จัดให้ผู้สอนหลายรนุ่

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อเป็นข้อสั่งการของผู้บริหารระดบั สูง (ถ้ามี)
- การผลิตครูของสถาบันอุดมศึกษา ควรเพ่ิมหน่วยกิตการเรียนภาษาอังกฤษในสาขา
วิชาเอกอ่ืนๆ ทไี่ มใ่ ชเ่ อกภาษาองั กฤษเพอ่ื ใหพ้ น้ื ฐานเพยี งพอในการสอนภาษาองั กฤษในระดับประถมศกึ ษา

- การสอบคดั เลือกเพื่อบรรจุครู ควรเพมิ่ ความเขม้ ข้นเน้ือหาวิชาภาษาองั กฤษเพ่ือให้ผูเ้ ข้า
สอบได้ศึกษาภาษาอังกฤษเพ่ิมเตมิ ด้วยตนเองก่อนเข้ามาทางานครู

ห น้ า | ๑๖

เกยี รติบัตรคณุ ครูทผ่ี ่านการทดสอบทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ
ตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR)

ห น้ า | ๑๗

เกยี รติบัตรคณุ ครูทผ่ี ่านการทดสอบทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษ
ตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR)

ห น้ า | ๑๘

1.1.6) ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์

ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรยี นไดร้ ับการพัฒนาทักษะการคดิ วิเคราะห์
ผลการดาเนนิ การ

สังกดั จานวนนกั เรยี น/ นักเรยี น/นักศึกษา นักเรียน/นักศึกษาท่ีผา่ น นกั เรียน/นักศึกษาทมี่ ผี ล
นักศกึ ษา ทัง้ หมด ที่ไม่ผา่ นการประเมนิ ทักษะ การประเมินทักษะ การประเมนิ ทักษะการคิด
สพป. ปีการศกึ ษา 2561
สพม. การคดิ วิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์ วเิ คราะห์ระดับดี หรอื ดีเด่น
สช. (คน)
สอศ. จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ จานวน (คน) รอ้ ยละ
กศน. 49,207 - - 49,207 100 8472 17.22
โสตฯ - - - - -
- - - - - - -
รวม - -
๑๖,๘๗๗ 174 1.03 ๔,๙๘๒ 758
๒,๐๘๐ - - ๑๒๐ 29.52 ๑๕ 4.49
211 - - 211 ๑๐๐ 211 ๑๒
68,375 54,520 100 9,456 100
174 0.25 79.74 13.83

สรปุ ผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพนื้ ท่ีตามประเดน็ การตรวจ ติดตาม เปน็ อยา่ งไร
- การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา

สรุ ินทร์ เขต 1 ได้ดาเนนิ การผ่านกระบวนการพฒั นาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระและ ทุก
ระดับชั้น ต้ังแต่ระดับปฐมวัย ถึงระดับขั้นพ้ืนฐาน (ประถมศึกษาปีที่ 1-ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6) ดังนี้ ระดับ

ปฐมวัย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรปฐมวัย 2560 โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย โครงการ
มอนเตสซอริ EF (Executive functions) และอนื่ ๆ ระดบั ขั้นพ้นื ฐาน ได้แก่ การจดั การเรียนรูท้ ่เี น้นผ้เู รยี นเป็น
สาคญั สง่ เสริมทักษะในศตวรรษที่ 21 ตามหลักสูตรแกนกลางฯ 2551 และมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

ฉบั บ ป รับ ป รุง พ .ศ. 2560 เช่น Active Learning, STEM Education, ห ลัก สูตรต้าน ทุ จริต (Anti-
Corruption Education), BBL, PBL ลดเวลาเรียน เพ่ิมเวลารู้ และอืน่ ๆ

- นกั เรียนมผี ลการประเมนิ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ระดับดี
- สถานศึกษาในสังกัด สอศ. มี อยู่ ๘ แห่ง และ มีเพียง 3 แห่ง ท่ีรายงานข้อมูลผลการ
วเิ คราะห์มาให้ และอีก ๕ แห่ง ไมด่ าเนนิ การแจ้งผลการวิเคราะห์ให้ทราบ จงึ ทาใหไ้ มส่ ามารถประมวลผลลัพธ์

ออกมาสมบรู ณ์ได้
- สถานศึกษาได้พัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ให้กับผู้เรียนผ่านกิจกรรม/โครงการ ผ่าน

กจิ กรรมการการประกวดโครงงาน โดยใหผ้ ้เู รยี นรว่ มกนั จัดทาโครงงานนวตั กรรมการกาจัดขยะ
- สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ได้จัดทาโครงการเพ่ือพัฒนา

ทักษะการคิดวิเคราะห์ ตามนโยบาย To be the first เช่น ประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนช้ัน

ป.1 ประเมินความสามารถข้ันพื้นฐานระดับชาติ (NT) ค่ายพัฒนาทักษะยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ระดบั ชาติ O-NET ทั้ง 15 เครอื ข่าย และกิจกรรมอนื่ ๆ

- ครูยังขาดทักษะในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์หรือกิจกรรม
Active Learning ที่จะส่งเสรมิ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ให้ผู้เรยี นในระดับทีส่ งู ขึน้

ห น้ า | ๑๙

*** หมายเหตุ การรายงานข้อมูลที่เป็นเชิงปริมาณในช่วงระยะเวลาน้ีข้อมูลจะยังไม่เรียบร้อยท้ังนี้โรงเรียน
ยงั ไม่เสร็จส้นิ กระบวนการวดั และประเมนิ ผลในระดบั สถานศึกษา

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพอื่ แกป้ ัญหา)

- โรงเรียนได้ดาเนินการโครงการพัฒนาความเป็นเลิศด้านการจัดการเรียนรู้ในวิชา
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ด้วยเทคนิค STEM โดยมีกิจกรรมท่ีหลากหลายดังนี้ 1) จัดกิจกรรมการเรียนรู้
และประดิษฐ์นวัตกรรมที่ได้จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิค STEM 2)
ปรับปรุง/พัฒนาศนู ยก์ ารเรียนรหู้ รอื แหล่งเรียนรู้ดา้ น STEM ศึกษาในโรงเรยี น 3) กจิ กรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหวา่ งครูกบั นกั เรยี นในเรอ่ื ง STEM ศกึ ษา

- โรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหลากหลาย เช่น กิจกรรมการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียน กจิ กรรมวันวิทยาศาสตร์ กจิ กรรมวนั ภาษาไทย กิจกรรมวันสุนทรภู่ กจิ กรรมอบรม Youth Can Do

- สถานศึกษาได้ให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ผ่านกิจกรรมโครงงาน โดยให้

ครผู ู้สอนคอยกากบั ติดตามใหค้ าปรกึ ษาในการจัดกิจกรรม

- การส่งเสริมสนับสนุนให้โรงเรียนได้ลงมือปฏิบัติตามนโยบาย TO Be The First

ด้านคณุ ภาพ คณุ ธรรม คณุ ประโยชน์

- โครงการพฒั นาทกั ษะการเรยี นร้เู พ่ือพัฒนาการคดิ วเิ คราะห์ของผู้เรียน

๓. ปญั หา/อุปสรรคท่ีแกไ้ ขไม่ไดใ้ นระดบั พ้ืนท่ี และข้อเสนอแนะระดับพนื้ ท่ี

ปญั หา/อุปสรรคทีแ่ ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดบั พน้ื ที่ ข้อเสนอแนะระดบั พ้ืนที่

- การใช้ผลเปรียบเทียบระหว่างปีของผลการทดสอบ เป็น
สารสนเทศและจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพ

- ประชากรวัยเรียนบางส่วนขาดความพร้อม - สง่ เสริมการจัดกจิ กรรมาครูพ่อ – ครแู ม่

และการดแู ลตอ่ ยอดจากครอบครัว

- ครยู งั ขาดทกั ษะในการออกแบบการเรยี นรู้ - พฒั นาครูในการออกแบบการเรยี นรู้

- การจัดการเรียนรูข้ องครูขาดความต่อเน่อื ง - ควรมีมาตรการและตัวชีว้ ัดท่ีเปน็ รูปธรรม

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพอื่ เป็นข้อสั่งการของผู้บริหารระดบั สงู (ถ้าม)ี
- ขอ้ ส่งั การของผู้บริหารระดับสงู ต้องมมี าตรการและตวั ช้วี ัดท่ีประสบผลสาเร็จอย่างเป็น
รูปธรรม ไม่เพยี งแคร่ อผลการประเมนิ ท่เี ปน็ ตัวเลข (ซ่ึงไม่เที่ยง)

ห น้ า | ๒๐

1.1.7) การฝกึ อบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือก้าวสูอ่ าชพี (EchoVe)

ตัวชว้ี ัด : ร้อยละของผู้ใช้บริการศูนยพ์ ฒั นาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือก้าวสอู่ าชพี (EchoVE)
ผลการดาเนนิ การ

ผใู้ ชบ้ ริการศนู ย์พฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษเพอื่ กา้ วสู่อาชพี (EchoVE)

สังกัด ครู นกั เรียน/นักศกึ ษา

จานวน (คน) คดิ เปน็ รอ้ ยละ จานวน (คน) คดิ เปน็ ร้อยละ

อศจ. ๖๐ ๑๐๐- ๒,๕๐๐ ๑๐๐

สรุปผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพื้นท่ตี ามประเด็นการตรวจ ติดตาม เป็นอยา่ งไร
- สถานศึกษาได้ตระหนักถึงความสาคัญในการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ และส่งเสริม

สนับสนุนใหค้ รู บุคลากร และนักเรียน นกั ศึกษาไดจ้ ัดกิจกรรมโครงการทีพ่ ัฒนาทกั ษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อ

การสื่อสาร และสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจาวัน และในงานอาชพี ได้

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพอื่ แกป้ ญั หา)

- สถานศึกษาจัดโครงการฝึกอบรมทักษะภาษาอังกฤษเพื่อก้าวสู่อาชีพ สาหรับนักเรียน

และนกั ศึกษา จานวน 2 รนุ่
- สถานศึกษาส่งครูเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่ือก้าวสู่อาชีพ

สาหรบั ครู อาจารย์ ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
- ดาเนินการขยายผลให้ความรู้และประชาสัมพันธ์ในการคาบกิจกรรม ชมรมและในชั้น

เรยี นเพ่ือใหน้ กั เรียน นักศกึ ษาไดเ้ ข้าฝกึ พัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ EchoVE ได้ดว้ ยตนเองและนาไปประยกุ ตใ์ ช้

ในชวี ิตประจาวนั ได้
๓. ปัญหา/อุปสรรคทแี่ ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดับพ้นื ท่ี และข้อเสนอแนะระดับพน้ื ที่

ปัญหา/อุปสรรคทแี่ ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดบั พนื้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ท่ี

- -
- -

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพอื่ เป็นขอ้ ส่ังการของผ้บู ริหารระดบั สงู (ถา้ ม)ี

ห น้ า | ๒๑

การฝึกอบรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพ่อื กา้ วสู่อาชีพใหก้ ับนักเรียน นักศกึ ษาในสงั กัด

ประเดน็ นโยบายการตรวจราชการฯ :
1.2 การจดั การศึกษาเพื่อการสรา้ งความเปน็ พลเมือง (civic education)

ตัวช้ีวัด : ร้อยละของสถานศึกษาที่พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนสอน ให้สอดคล้องกับทักษะ
การเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21

ผลการดาเนินการ

จานวนสถานศึกษา จานวนสถานศกึ ษาทพี่ ัฒนาหลกั สูตรการจัดการเรยี นสอน จานวน คดิ เป็น
ทง้ั หมด (แหง่ ) รวมทง้ั สิน้ รอ้ ยละ
สงั กัด ใหส้ อดคล้องกับทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ดาเนนิ การ (แหง่ ) คิดเป็นร้อยละ

สพป. 743 743 100 743 100

สพม. 85 85 100 85 100

กศน. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐ ๑๗ ๑๐๐

สช. - - - --

สอศ. ๘ ๘ 100 ๘ 100

สกอ. - - - --

โสตฯ 1 1 100 1 100

รวม 854 854 100 854 100

สรปุ ผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพืน้ ทีต่ ามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เป็นอยา่ งไร
- โรงเรียนพัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนสอน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ใน

ศตวรรษท่ี 21

- สถานศึกษาได้พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ใน

ศตวรรษที่ ๒๑ โดยให้ครูผู้สอนนาแอปพริเคชั่น ไลน์ เฟชบุ๊ค มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน รวมถึงสื่อ

การสอนท่เี ป็นมัลตมิ เี ดยี ช่วยใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ได้ทุกท่ี ทกุ เวลา

- การดาเนินการของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๓ เพื่อสร้างความ

เข้าใจแก่ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ในการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐานการ

ห น้ า | ๒๒

เรยี นรู้ ตัวช้ีวัด เกณฑ์การจบการศึกษา และการบรหิ ารจดั การหลกั สูตร ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560 สถานศกึ ษา

ในสังกัดท้ังหมด จานวน 85 แห่ง สถานศึกษาในสังกัดที่มีการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาในกลุ่มสาระการ

เรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ

วัฒนธรรม (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ.2560) ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด เกณฑ์การจบการศึกษา

และการบรหิ ารจัดการหลักสูตร ในปีการศึกษา 2561 ช้ันประถมศกึ ษา ปที ี่ 1 และ 4 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 1

และ 4 จานวน 85 แหง่ คิดเปน็ ร้อยละ 100

- กระบวนการดาเนินงาน จัดอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการสร้างความเข้าใจ”การนามาตรฐาน
การเรยี นรแู้ ละตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ และสาระภูมศิ าสตร์
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม”(ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) สู่การปฏิบัติ จัดประชุมเชิง
ปฏิบตั ิการจัดทากรอบสาระการเรยี นรู้ท้องถนิ่ ที่ส่งเสริมอาชีพให้กับผู้เรียน การนิเทศติดตามผลการดาเนินงาน
จากเชตพื้นที่/ สหวิทยาเขต ลงพื้นท่ีและการรายงานการนิเทศออนไลน์สถานศึกษาในสังกัดสามารถปรับและ
พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ เขตพื้นที่ และสนองต่อผู้เรียนตาม
บริบทของโรงเรียน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ สถานศึกษาในสังกัดสามารถปรับและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้
สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร เขตพ้ืนท่ี และสนองต่อผู้เรยี นตามบริบทของโรงเรียนสถานศึกษาใน
สงั กัดปรับและพัฒนากรอบสาระการเรียนรู้ท้องถ่ินที่ส่งเสริมอาชีพให้กับผู้เรียนที่ตอบสนองต่อความต้องการ
ของผ้เู รียน ตามศกั ยภาพของผู้เรยี น

- สถานศึกษาในสงั กดั มีการกระบวนการพฒั นาหลักสตู รการจดั การเรียนสอนให้สอดคลอ้ งกบั
ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และนาผลการจดั การศกึ ษามาแลกเปล่ียนเรียนรู้ในระดบั เครือข่าย/ชมรม

- สถานศึกษาได้จดั กิจกรรม/โครงการ ให้กบั ครผู ู้สอนเกีย่ วกับการจัดทาสื่อการเรยี นการสอน
ผ่านมัลติมีเดยี เป็นประจาอยา่ งตอ่ เน่ือง

- การจัดหลักสูตรสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม โครงสร้างรายวชิ า การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การจัดกิจกรรมบทบาทสมมุติ

- การสรปุ ผลการจัดกจิ กรรม

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพอื่ แก้ปัญหา)

- พฒั นาหลักสูตรการจดั การเรียนสอน ให้สอดคล้องกับทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ได้ดาเนินการผา่ นกระบวนการพัฒนาหลักสูตร
และการจัดการเรยี นรู้ในทุกกลุ่มสาระและทกุ ระดบั ช้ัน ตง้ั แต่ระดับปฐมวัย ถงึ ระดับข้ันพนื้ ฐาน (ประถมศกึ ษาปี
ที่ 1-ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6) โดยดาเนินควบคู่ไปกับการพัฒนาทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ (1.1.6) ดังน้ี

ระดับปฐมวัย ได้แก่ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรปฐมวัย 2560 โครงการบ้าน
นักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย โครงการมอนเตสซอริ EF (Executive functions) และอ่ืน ๆ

ระดบั ขนั้ พนื้ ฐาน ไดแ้ ก่ การจดั การเรียนร้ทู ี่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ สง่ เสรมิ ทกั ษะในศตวรรษ
ที่ 21 ตามหลักสูตรแกนกลางฯ 2551 และมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ช้ีวัด ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560

เช่น Active Learning, STEM Education, หลัก สูตรต้าน ทุจริต (Anti-Corruption
Education), BBL, PBL ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ และอ่ืน ๆ

- หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรยี นเปิดสอนรายวชิ าเพิ่มเตมิ รายวชิ า หนา้ ทพี่ ลเมอื ง

ห น้ า | ๒๓

- โรงเรียนจัดโครงการ/กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การ

ทกั ษะการเรียนรูใ้ นศตวรรษสู่การปฏิบัติ เช่น การจัดทาใบความรู้และละเตรียมแหลงสาระความรูใหนักเรียน
สืบคน รวบรวมความรูจากแหลง่ เรยี นรดู้ า้ นอาชีพ

- สถานศึกษาได้จัดกิจกรรม/โครงการ ให้กับครูผู้สอนเก่ียวกับการจัดทาส่ือการเรียนการ

สอนผา่ นมัลติมีเดยี เป็นประจาอย่างต่อเนือ่ ง
- สถานศึกษาในสังกัดสามารถปรับและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับ

นโยบายกระทรวงศกึ ษาธิการ เขตพืน้ ท่ี และสนองตอ่ ผ้เู รยี นตามบริบทของโรงเรียน
- สถานศึกษาในสังกัดปรับและพัฒนาประกอบสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นที่ส่งเสริมอาชีพ

ให้กบั ผู้เรียนทีต่ อบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน ตามศักยภาพของผู้เรยี น

- จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแนวทาง Active Learning สอดคลอ้ ง นโยบาย
“ลดเวลาเรียน เพ่มิ เวลารู้”

- พัฒนาการจัดการเรียนรู้สศู่ ตวรรษที่ 21 โดยใช้กระบวนการ STEM Education
- พัฒนาการจัดกิจกรรมทักษะการคิดวิเคราะห์ คิดแก้ปัญหา และคิดสร้างสรรค์จากการ
เรียนรูผ้ ่านกจิ กรรมปฏิบตั ิจรงิ (Active Learning)

- การสร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในหน้าที่ของ"พลเมือง" ในระบอบ
ประชาธิปไตย ในขณะที่ระบอบประชาธิปไตยเจ้าของอานาจสูงสุดคือประชาชน ดังน้ัน ประชาชนซึ่งเป็น

เจ้าของอานาจจึงกาหนดชีวิตตนเองได้"ประชาชน" ในระบอบประชาธิปไตย จึงแตกต่างหลากหลายได้ เมื่อ
แตกต่างหลากหลายได้ จึงตอ้ งเคารพซ่ึงกันและกัน และใชก้ ติกาในการแก้ปัญหาจึงจะสามารถอย่รู ว่ มกนั และ
ปกครองกันตามวิถที างประชาธปิ ไตยได้ ใช้สิทธิเสรภี าพโดยควบคกู่ ับความรับผิดชอบ เคารพสิทธิเสรภี าพของ

ผู้อื่น เคารพความแตกตา่ ง เคารพหลกั ความเสมอภาค เคารพกติกา ไม่แกป้ ัญหาด้วยความรุนแรง ตระหนกั ว่า
ตนเองเป็นส่วนหน่ึงของสังคม ร่วมรับผิดชอบต่อสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรับผิดชอบหรือร่วมขับเคลื่อน

สังคมและแก้ปญั หาสงั คมในระดบั ต่างๆ ตง้ั แต่ในครอบครัว ชุมชนจนถึงระดบั ประเทศ

๓. ปัญหา/อปุ สรรคทแี่ ก้ไขไมไ่ ด้ในระดับพ้ืนที่ และขอ้ เสนอแนะระดบั พนื้ ท่ี

ปญั หา/อปุ สรรคที่แก้ไขไม่ได้ในระดับพน้ื ท่ี ข้อเสนอแนะระดับพืน้ ท่ี

- เพิ่มกระบวนการจัดทาข้อมูลสารสนเทศเพื่อประกอบการวาง
ด า เนิ น งา น ด้ า น ก า รพั ฒ น า ห ลั ก สู ต ร ก า รจั ด ก า รเรีย น ส อ น
- ใหส้ อดคลอ้ งกับทักษะการเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21

การจัดการเรยี นรู้ของครูขาดความต่อเนอื่ ง - การจัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวฒั นธรรมทีส่ มบูรณ์
- การจัดทาหลักสูตรกลุ่มสาระที่มีการบูรณาการหน้าที่
พลเมอื งทุกกลุ่มสาระ
- สร้างความตระหนักให้ครูดาเนินการจัดกิจกรรมอย่าง
ตอ่ เนอื่ ง
ควรมมี าตรการและตัวชีว้ ัดทเ่ี ป็นรปู ธรรม

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือเปน็ ข้อสง่ั การของผ้บู รหิ ารระดับสูง (ถา้ ม)ี
ข้อส่ังการของผู้บริหารระดับสูง ต้องมีมาตรการและตัวช้ีวัดที่ประสบผลสาเร็จอย่างเป็น

รูปธรรม

ห น้ า | ๒๔

จัดกิจกรรมจติ อาสาเพือ่ เฉลิมพระเกยี รติสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
และกจิ กรรมลานบุญลานธรรม ทาบญุ ตกั บาตร

ประเดน็ นโยบายการตรวจราชการฯ :
1.3 การพฒั นามาตรฐานการศึกษาและกระบวนการคณุ ภาพการศกึ ษา

ตวั ช้ีวัด : ร้อยละของสถานศกึ ษาที่ผ่านการประเมนิ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ผลการดาเนนิ การ

สถานศกึ ษาทง้ั หมด สถานศกึ ษาท่ผี ่านการประเมนิ มาตรฐานการประกันคุณภาพภายใน

สังกดั / (จาแนกตามระดบั การศกึ ษา) สถานศกึ ษา
ระดับ
ปฐมวัย การศกึ ษา อาชีว อดุ มศกึ ษา ปฐมวยั การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา
(แหง่ ) (แห่ง) จานวน คดิ เป็น จานวน คิดเปน็
ข้นั พ้ืนฐาน ศกึ ษา จานวน คิดเปน็ (แหง่ ) ร้อยละ (แห่ง) รอ้ ยละ จานวน คิดเปน็
(แห่ง) (แห่ง) (แหง่ ) รอ้ ยละ (แหง่ ) ร้อยละ

สพป. 742 743 742 100 743 100

สพม. 85 85 100

สช. - - ----

สอศ. ๘ ๘ 100

สกอ. - - - ---- --

กศน. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐ --

โสตฯ 1 1 1 100 1 100

รวม 743 846 ๘ - 743 100 846 100 ๘ 100 - -

ห น้ า | ๒๕

สรปุ ผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพื้นท่ีตามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เปน็ อย่างไร
- โรงเรียนได้ดาเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดาเนินโครงการ/กิจกรรม

สถานศึกษาต้องสร้างระบบการทางานที่เขม้ แข็งเนน้ การมสี ว่ นรว่ ม ตามกาหนดมาตรฐานการศกึ ษา และมกี าร
ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษา

- สถานศึกษาในสังกดั ได้ดาเนนิ การประเมนิ ผลและตรวจสอบการประเมินคุณภาพภายใน
สถานศึกษาตามมาตรฐานการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และผ่านการประเมินทุกประเด็นการประเมนิ

- สถานศึกษาได้จัดทาแผนการปฏิบัติงานประจาปี และได้จัดทาการรายงานการประเมิน
ตนเองของสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี ทาให้สถานทราบถึงข้อมูลแนวทางในการวางแผนการดาเนินงานในปี
ถดั ไป

- ผลการดาเนินงานของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาในการพัฒนามาตรฐานการศึกษา
และกระบวนการคุณภาพการศึกษา สถานศกึ ษาในสงั กัดทุกแห่งมีระบบการประกนั คุณภาพภายในที่เข้มแข็ง มี
การประเมินคุณภาพภายในท่ีมีประสิทธิภาพ ได้รับการติดตามตรวจสอบคุณภาพจากต้นสังกัด และมีความ
พรอ้ มรบั การประเมินคุณภาพภายนอก

- วางแผนพัฒนาการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา โดยใช้ฐานข้อมูลจากผล
การประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษาใน การประเมินผลโดยหน่วยงานต้นสังกัด และการประเมินคุณภาพ
ภายนอกในรอบปีที่ผ่านมา แล้วจัดทาแผนพัฒนาการประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด โดย
แยกเป็นกลมุ่ โรงเรียนทีเ่ ป็นต้นแบบและเป็นแบบอยา่ งท่ีดี กลุ่มโรงเรียนทีต้องสนับสนนุ ส่งเสรมิ นิเทศ กากับ
ดแู ล และ กลุม่ โรงเรียนทต่ี อ้ งแทรกแซง สนับสนนุ นิเทศ กากบั ตดิ ตามอยา่ งต่อเน่ือง

- จัดทาและเสนอโครงการ “พัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยระบบประกันคุณภาพ
การศึกษาด้วยระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑

- แต่งต้งั คณะกรรมการดาเนนิ ระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ระดบั เขตพน้ื ทีก่ ารศึกษา
- ศึกษาคู่มือ แนวทางการดาเนินงาน การประกนั คณุ ภาพการศึกษาตามกฎกระทรวงตาม
กฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
- ดาเนินงานตาม “โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยระบบประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษา” โดยดาเนินกิจกรรมดังนี้ ๑) การประชุมและอบรมปฏิบัติการร่วมพัฒนาเครื่องมือประเมิน
คุณภาพภายในสถานศึกษาและเครื่องมือติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาโดยหน่วยงาน ต้น
สงั กัด ๒) การประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาและตดิ ตามตรวจสอบ คณุ ภาพการศกึ ษาโดยหน่วยงานตน้ สังกัดโดยมี
เป้าหมาย ร้อยละ 100 ๓) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา กาหนดปฏิทินการนิเทศ ติดตามการดาเนินงาน
ประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาทุกโรง ภาคเรยี นละ ๑ คร้ัง
- โรงเรยี นมกี ารตดิ ตามตรวจสอบจากคณะกรรมการทโี รงเรยี นแตง่ ตง้ั ภาคเรียนละ 1 คร้ัง
- โรงเรียนมีการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา จาก
คณะกรรมการและผ้ทู รงวฒุ ิท่ีได้รับการแตง่ ต้ังจาก สพฐ. และ สพป.สุรินทร์ เขต ๓ ปีการศึกษาละ ๑ ครัง้
- โรงเรยี นสง่ ผลการประเมินการปฏิบัตงิ านประจาปี ทกุ ปกี ารศกึ ษา
- สพป. สุรินทร์ เขต ๓ แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาทุกโรงเรียนใน
สังกัด เพื่อสรปุ เปน็ คา่ คะแนน ประเมินจากเขตพ้ืนท่ี ในการรบั การประเมนิ จาก สมศ.

ห น้ า | ๒๖

- สพป.สุรินทร์ เขต ๓ ได้นาผลการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษามาสังเคราะห์
ข้อมูล เพ่ือทราบปัญหาในการดาเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา นาเสนอให้ผู้บริหาร
โรงเรียนทราบเพ่อื วางแผนและพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพอ่ื แก้ปัญหา)

- กาหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
- จดั ทาแผนสถานศึกษาทมี่ ุ่งเนน้ คณุ ภาพการศกึ ษา (แผนกลยทุ ธ/์ แผนยทุ ธศาสตร)์
- จัดทาระบบบริหารและสารสนเทศ
- ดาเนินการตามแผนพัฒนาสถานศึกษาในการดาเนินโครงการ/กิจกรรมสถานศึกษาต้อง
สร้างระบบ การทางานท่ีเข้มแข็งเน้นการมสี ่วนรว่ ม และวงจรการพัฒนาคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle)
หรือที่รูจ้ ักกนั วา่ วงจร PDCA
- ตรวจสอบ และทบทวนคุณภาพการศึกษาโดยการดาเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วย
การสนบั สนุนให้ครู ผู้ปกครองและชุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ ม
- ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานท่ีกาหนด เพื่อรองรับการ
ประเมนิ คุณภาพภายนอก
- จัดทารายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี (SAR) และสรุปรายงานประจาปี โดยความ
เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พ้นื ฐานเสนอตอ่ หน่วยงานต้นสังกดั และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน
- จดั การประชุมวางแผน และทาเครือ่ งมือประกอบการประเมินในแตล่ ะดา้ น
- แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินมาตรฐานการศกึ ษาภายในสถานศึกษา
- แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนินงานประกันคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา
- ดาเนินการประเมนิ ตามขัน้ ตอนและเขา้ รบั การประเมลิ ตามระยะเวลาท่กี าหนด
- สถานศึกษาได้สร้างความการรับรู้ให้ผู้เก่ียวข้อง บุคลากร และจัดทาเป็นแผนงาน
โครงการในการปฏิบัติอย่างชดั เจน จนทาใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านบรรลุผลสาเรจ็ ตามแผนงาน/โครงการ
- ประชุม/อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้รับผิดชอบงาน
ประกันคุณภาพการศึกษาในเรื่อง กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ และรูปแบบและ
แนวทางการประเมินคุณภาพภายในแนวใหม่ มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามกฎกระทรวงการประกัน
คณุ ภาพภายใน พ.ศ.๒๕๖๑ แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบส่ีตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ และการประเมินตนเองและการจัดทารายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self-assessment) 2.2 การประชุมช้ีแจง เพ่ือส่ือสาร สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการประกัน
คุณภาพภายในของสถานศึกษาแนวทางใหมใ่ ห้แกผ่ ้บู ริหารสถานศึกษาในการประชุมประจาเดอื น
- แจ้งเป็นหนังสือราชการแนวทางการดาเนินการประเมินคุณภาพภายในแนวใหม่เพ่ือให้
เกิดความเข้าใจสามารถดาเนินการให้เป็นไปตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.๒๕๖๑ และ
เปน็ ไปในแนวทางท่ถี ูกต้องสอดคลอ้ งกัน
- จัดปฏิทินการดาเนนิ งานเพอ่ื การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และแจ้งส่อื สาร
ทาความเข้าใจเพ่ือให้สถานศกึ ษาดาเนนิ การใหส้ อดคลอ้ งกบั ปฏิทนิ
- การสื่อสาร สร้างความรู้ ความเขา้ ใจผ่านไลนก์ ล่มุ ประกนั คุณภาพ สพม.๓๓
- การออกนิเทศ ติดตามการดาเนนิ งานตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียน
ประชารัฐ จานวน ๑๐ โรงเรียน

ห น้ า | ๒๗

- การนิเทศ ตดิ ตามการประกันคณุ ภาพการศึกษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑ โรงเรียนใน

สังกดั โดยให้โรงเรยี นรายงานตามแบบนเิ ทศ ติดตาม ฯ ของสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
- ในการขับเคล่ือนงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา พบว่าโรงเรียนดาเนินงานได้ประสบ

ผลสาเร็จ ผู้เรียนสามารถอ่านออกเขียนได้ สื่อสารและคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น ผู้เรียนมี

ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร ได้อยา่ งเหมาะสม ปลอดภยั และมีเจตคติท่ดี ี
- การนิเทศ กากับ ติดตาม เป็นพี่เลยี้ งใหก้ บั โรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง สม่าเสมอ

๓. ปญั หา/อปุ สรรคท่แี ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดบั พน้ื ท่ี และข้อเสนอแนะระดับพืน้ ที่

ปัญหา/อปุ สรรคท่แี กไ้ ขไม่ได้ในระดบั พ้ืนที่ ข้อเสนอแนะระดบั พ้นื ท่ี

- สร้างแนวทางการพัฒนาคุณภาพภายในสถานศึกษา
โดยเฉพาะความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์

สพป.สุรินทร์ เขต ๑ ไม่สามารถดาเนินการ ในปีการศึกษา ๒๕๖๒ อยากให้มีการจัดอบรมให้ความรู้

นิเทศ เกี่ยวกับการดาเนินการประเมินคุณภาพภายใน และการ

ประกันคุณภาพภายนอกของ สมศ ตามกฎกระทรวงและ
ประกาศใหม่ ให้กับผู้รับผิดชอบงานประกันคุณภาพของ

โรงเรยี นในสงั กดั ทุกโรงเรียน

กากับ ติดตาม การประเมินคุณภาพภายใน -

และการประกันคุณภาพภายนอก ของสมศ.
ได้ทันปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ แต่มีการอบรมการ

จัดทามาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
พร้อมท้ังการต้ังค่าเป้าหมาย ของสถานศึกษา

โดยมีการขยายผลไปยังทุกโรงเรียน และ

ดาเนินการทาเอกสารแนวทางการประเมิน

คุณภาพภายในให้เป็นคู่มือในการดาเนินการ

ประเมินคุณภาพภายใน พร้อมท้ังการจัดทา
SAR ของโรงเรียน

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื เปน็ ข้อสัง่ การของผบู้ รหิ ารระดบั สูง (ถา้ ม)ี

- ควรมีศูนย์นิเทศ กากับ ติดตาม ในระดับพ้ืนที่ หรอื เครือข่าย เพื่อสรา้ งความเข้มแข็งของ
ระบบคณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา

- ควรจัดทาระบบรายงานการข้อมูล รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี (SAR) ในรูปของ

การรายงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์
- โรงเรียนควรสร้างทีมงาน เพ่ือประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาในการประกันภายใน

ของโรงเรียน ให้พร้อมกับการประเมินภายนอก เพ่ือส่งเสริมให้โรงเรียนพัฒนาระบบการพัฒนาภายใน
ให้เขม้ แข็งไปด้วย

ห น้ า | ๒๘

การประเมนิ ผลและตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา ประจาปีการศกึ ษา 2561
2. นโยบาย : การลดความเหล่ือมล้าทางการศกึ ษา
ประเดน็ นโยบายการตรวจราชการฯ :
2.1 การเข้าถงึ บริการทางการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพในทกุ ระดบั การศกึ ษา

2.1.1) การจดั การศึกษาปฐมวยั
ตัวชว้ี ัดท่ี 1 : สัดสว่ นนักเรียนปฐมวยั (อนบุ าล 3-5) ต่อประชากรกลุ่มอายุ 3-5 ปี
* ตัวช้ีวัดที่ 1 ส่วนกลางเป็นผู้นาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการและติดตาม
ประเมนิ ผล ซึง่ หนว่ ยงานระดับภาคและจังหวดั เปน็ ผู้ใชข้ ้อมลู ในระบบเพ่ือการวเิ คราะหแ์ ละรายงาน
ตัวชีว้ ัดที่ 2 : ร้อยละของผูเ้ รียนระดับปฐมวัยไดร้ บั การพัฒนาร่างกาย จติ ใจ วนิ ัย อารมณ์ สงั คม

และสติปญั ญา และมีความพร้อมทีจ่ ะเขา้ รับการศึกษา

ห น้ า | ๒๙

ผลการดาเนินการ

สถานศึกษา จานวนนกั เรียนระดับปฐมวัย จานวนนักเรยี นระดับปฐมวยั (อายุ 3-5 ปี) คดิ เป็น
สงั กดั อายุ 3-5 ปี (คน) ไดร้ ับการพฒั นาร่างกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ์ สงั คม ร้อยละ

สพป. 29,296 และสตปิ ัญญา และมีความพรอ้ มที่จะเขา้ รบั 100
สศศ. ๖๕ การศกึ ษาในระดบั ท่สี ูงข้ึน (คน) ๑๐๐
สกอ. -
สช. - 29,296 -
อปท. - ๖๕ -
อืน่ ๆ 8 - -
รวม - 100
29,369 - 100
8

29,369

สรุปผลการดาเนินการ

๑. สภาพผลการดาเนินการในพื้นทตี่ ามประเดน็ การตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร
สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 1 ได้ดาเนินการพฒั นาโรงเรียนในสังกัด มีผลการดาเนนิ งาน ดงั นี้
1) โรงเรียนในสังกัดสพป.สรุ ินทร์ เขต 1 มหี ลักสูตรสถานศึกษาระดบั ปฐมวยั พร้อมใชใ้ นปี

การศึกษา 2561 จานวน 291 โรง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100
3) ครูปฐมวัยในสังกัดสพป.สุรินทร์ เขต 1 มีความรู้ความเข้าใจสามารถพัฒนาการจัด

ประสบการณ์การเรยี นรทู้ บ่ี ูรณาการทกั ษะ EF (Executive Functions)
4) ครูปฐมวัยในสังกัดสพป.สุรินทร์ เขต 1 มีความรู้ความสามารถพัฒนาการจัด

ประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีบูรณาการนวตั กรรมการพฒั นาเดก็ ปฐมวัยไดอ้ ย่างหลากหลาย ไดแ้ ก่

๕) ผู้บริหารและครูปฐมวัย มีความรู้ความเข้าใจจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับ
ปฐมวัยทบี่ ูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเตม็ ศกึ ษา (STEM) ในระดับปฐมวัย

๕) โรงเรียนในสังกัดสพป.สุรินทร์ เขต 1 มีความสาเร็จในการขับเคลื่อนโครงการบ้าน
นักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย สามารถส่งผลงานประเมินรับตราพระราชทาน จากมูลนิธิสมเด็จพระเทพ
รตั นราชสุดาฯ จานวน 42 โรง คดิ เป็นร้อยละ 100 ของโรงเรียนท่ีส่งประเมิน

๕) โรงเรียนในสังกัดสพป.สุรินทร์ เขต 1 ท่ีเข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ประเทศไทย มีความรู้ความเขา้ ใจทลี่ ึกซึ้งในกระบวนการเรียนรู้จากการได้รับการพฒั นาจากสพป.สุรนิ ทร์ เขต

1 อยา่ งต่อเนื่อง ไดแ้ ก่ การพัฒนาต่อยอด และการสรา้ งชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ างวชิ าชพี (PLC)
- โรงเรียนดูแลปรับปรุง ซ่อมแซม ตกแต่ง บารุงรักษาอาคารเรียนอยู่ในสภาพเรียบร้อย

และใชก้ ารได้ดี ใหม้ กี ารใชง้ านอยา่ งปลอดภัยและคมุ้ ค่า

- ร้อยละของผู้เรียนระดับปฐมวัยได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคม และ
สติปัญญา และมีความพรอ้ มที่จะเขา้ รับการศึกษา

- จัดกิจกรรมการเรยี นรู้สง่ เสริมพฒั นาการ 4 ด้าน
- ออกแบบการเรยี นรู้
- มีการประเมนิ ผลพฒั นาการเรียนรู้ตามสภาพจริง

ห น้ า | ๓๐

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพือ่ แก้ปญั หา)

1) สพป.สุรินทร์ เขต 1 ได้ดาเนินการจัดประชุมสร้างความเข้าใจเรื่องการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย รว่ มกับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานด้วยระบบทางไกล VDO
Conference โดยทาหนังสือแจ้งโรงเรียนดาเนินการจัดประชุมบุคลากรที่เก่ียวข้องทุกฝ่าย และรายงานผล
มายงั สพป.สุรนิ ทร์ เขต ๑

๒) สพป.สุรินทร์ เขต 1 จัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยสู่การ
ปฏิบัติในระดับชั้นเรยี น ให้กับโรงเรียนในสังกัด 291 โรง คิดเป็นร้อยละ 100 กลุม่ เป้าหมายเป็นครปู ฐมวัย
450 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100

3) สพป.สุรินทร์ เขต 1 รว่ มกบั โรงเรียนอนุบาลประจาจังหวัด/ โรงเรียนอนุบาลสรุ ินทร์
ได้จัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ีบูรณาการทักษะ EF (Executive Functions)
โดยมีกลุ่มเป้าหมายเปน็ ครูปฐมวยั ในสังกดั สพป.สุรินทร์ เขต 1-2-3

4) สพป.สุรินทร์ เขต 1 ร่วมกับโรงเรียนอนุบาลประจาเขต/ โรงเรียนเมอื งสุรินทร์ ได้จัด
ประชุมปฏิบตั ิการพฒั นาการจัดประสบการณ์การเรียนรทู้ ี่บูรณาการทักษะ EF (Executive Functions) โดยมี
กลุ่มเป้าหมายเป็นครูปฐมวัยในสังกัด สพป.สุรินทร์ เขต 1 ท่ีครอบคลุ่มทุกเครือข่ายบริหารสถานศึกษาแบบ
บรู ณาการ

๕) สพป.สุรินทร์ เขต 1 จัดประชุมปฏิบัติการการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ในระดับ
ปฐมวัยท่ีบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวัย (STEM) โดยจัด
ประชมุ เป็น 2 ระยะ เป็นเวลา 5 วัน

๖) สพป.สุรินทร์ เขต 1 ได้จดั กจิ กรรมศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้ที่จัดการศึกษาปฐมวัยที่
มผี ลการปฏิบตั ทิ ี่เปน็ เลิศ ได้แก่ โรงเรียนจติ ตเมตต์ ตล่ิงชนั กรงุ เทพมหานคร ซง่ึ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี
บรู ณาการนวัตกรรมการพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ท่หี ลากหลาย

7) สพป.สุรินทร์ เขต 1 ได้จัดประชุมปฏิบัติตามโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย
ประเทศไทย ให้กับโรงเรยี นที่เข้าร่วมโครงการฯ รุ่นท่ี 8 และอบรมทดแทนให้กับครูผูเ้ กษียณอายุราชการ หรือ
ย้ายสถานศึกษา กลมุ่ เปา้ หมายเปน็ ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษาและครูปฐมวยั โดยจดั เป็น 2 ระยะ เวลา 3 วนั

๘) สพป.สุรนิ ทร์ เชต 1 พัฒนาต่อยอดโรงเรยี นท่ีเข้าร่วมโครงการบ้านนักวทิ ยาศาสตร์
น้อย ประเทศไทย รุ่นท่ี 1-7 ทุกโรง โดยจัดประชุมปฏิบัติการพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ท่ี
วิทยาศาสตร์ทบี่ ูรณาการเร่ือง อากาศ นา้ และเทคโนโลยี
7) สพป.สุรินทร์ เชต 1 จัดกิจกรรมนิเทศ ติดตามฯ ด้วยการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
(Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศ
ไทย จานวน 100 โรง PLC

๙) สพป.สุรินทร์ เชต 1 ได้จัดประชุมปฏิบัติการประเมินพัฒนาการนักเรียนท่ีจบ
หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ประจาปีการศึกษา 2561 ให้กับโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายการ

ห น้ า | ๓๑

ประเมินของ สพฐ. แจ้งโรงเรียนในสังกัดทุกโรงดาเนินการประเมินและรายงานสพป.สุรินทร์ เขต 1 โดย
เผยแพรเ่ ครอื่ งมือการประเมนิ ให้ทุกโรง

- โรงเรียนมีแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในระดับปฐมวัย ตามการจัดการศึกษา

ตามแนวสองภาษา วอลดอร์ฟ ซึงเป็นแนวทางการจัดการศึกษาท่ีมีครูหูหนวกซึ่งเป็นเจ้าของภาษาเป็นผู้

ถ่ายทอดความรู้และจัดกิจกรรมร่วมกับครูปกติ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีพฤติกรรมท่ีพึงประสงค์ รวมถึงการการ

ปลกู ฝังคุณธรรมจรยิ ธรรมไดอ้ ย่างดียงิ่

- สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ อบรมปฏบิ ตั ิการ
- ศกึ ษาดงู าน ศึกษาดงู านโรงเรียนต้นแบบ
- กิจกรรม PLC ทบทวนหาแนวทางแก้ไข
- มกี ารบูรณาการการเรยี นรทู้ ส่ี ่งเสริมพฒั นาการ 4 ด้าน และการประเมินพฒั นาการ

๓. ปญั หา/อุปสรรคท่ีแกไ้ ขไม่ไดใ้ นระดบั พื้นท่ี และขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ท่ี

ปัญหา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไม่ไดใ้ นระดบั พื้นท่ี ขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ที่

- -
- -

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือเปน็ ขอ้ สัง่ การของผูบ้ ริหารระดับสงู (ถ้ามี)
- สนบั สนนุ งบประมาณเพอื่ พฒั นาครู
- ส่งเสริมให้มีการนานวัตกรรมต่างๆ เพื่อการพัฒนาเด็กปฐมวัย มาบูรณาการใช้ในทุก

โรงเรียน

2.1.2) โครงการสร้างเครือขา่ ยดจิ ิทลั ชมุ ชนระดับตาบล

ตัวช้ีวัดที่ 1 : ครู กศน. ที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาเป็นวิทยากรแกนนาตามหลักสูตร
แกนกลาง เพ่ือการขยายผลเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั

ผลการดาเนนิ การ

ประเภทของครู จานวนครู กศน. ครทู ไี่ ดร้ ับการพฒั นาเปน็ วทิ ยากรแกนนา
ที่เป็นกลมุ่ เป้าหมาย(คน) ตามหลกั สตู รแกนกลางของสานักงาน กศน.

จานวนผู้เขา้ อบรม ร้อยละ

ครู ก. ๒ ๒ ๑๐๐

ครู ข. ๑๗ ๑๗ ๑๐๐

ครู ค. ๑๕๙ ๑๕๙ ๑๐๐

รวม ๑๗๘ ๑๗๘ ๑๐๐

ตัวชี้วดั ที่ 2 : ประชาชนทเ่ี ปน็ กลุ่มเปา้ หมายได้รับการถา่ ยทอดความรู้ด้านเศรษฐกิจดจิ ิทัลจากวทิ ยากร

แกนนา กศน. หลกั สูตร Digital Literacy และหลกั สตู รการค้าออนไลน์

ผลการดาเนินการ

จานวน หลกั สูตร Digital Literacy หลักสูตร การค้าออนไลน์ รวม 2 หลักสตู ร

ห น้ า | ๓๒

หนว่ ยงาน ประชาชน เป้าหมาย จานวน คิดเปน็ เปา้ หมาย จานวน คิดเปน็ จานว คิดเป็น

กลมุ่ เปา้ หมาย (คน) ผู้เขา้ อบรม ร้อยละ (คน) ผเู้ ข้าอบรม รอ้ ยละ นรวม ร้อยละ

ทั้งหมด (คน)

กศน. ๔,๗๗๐ ๒,๓๘๕ ๑๐๐ ๒,๓๘๕ ๑๐๐ ๔,๗๗๐ ๑๐๐ ๔,๗๗๐ ๒,๓๘๕

สรุปผลการดาเนนิ การ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพ้ืนทตี่ ามประเด็นการตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร
- สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมให้กับผู้เข้ารับการอบรม โดยสถานศึกษาได้คัดเลือก

กลุ่มเป้าหมายท่ีประสบความสาเร็จในการประกอบอาชีพที่สามารถรวมกันเป็นกลุ่ม เข้ารับการอบรมตาม
หลักสตู ร

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพื่อแกป้ ัญหา)

- สถานศึกษาได้ดาเนินการจัดโครงการอบรมเสร็จสิ้นแล้ว ให้ครูผู้รับผิดชอบแต่ละตาบล
ติดตามการดาเนินงานหลังการอบรมอยา่ งใกลช้ ดิ

- มีการสรุปผลการดาเนินงานและให้ผู้เข้ารับการอบรมเข้าร่วมกลุ่ม OOCC ตาบลและ

OOCC อาเภอ ใหน้ าผลิตภณั ฑข์ องตนเองและในชมุ ชนมาโพสต์ขายใน OOCC ตาบล และ OOCC อาเภอ

๓. ปญั หา/อุปสรรคทแ่ี ก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพนื้ ที่ และข้อเสนอแนะระดับพ้ืนที่

ปัญหา/อปุ สรรคทีแ่ ก้ไขไมไ่ ด้ในระดบั พ้นื ที่ ข้อเสนอแนะระดบั พ้นื ท่ี

- -
- -

4. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ เป็นข้อส่ังการของผู้บรหิ ารระดบั สูง (ถ้ามี)

2.1.3) การจดั การศกึ ษาในกลุ่มเด็กตกหลน่ จากระบบการศึกษา
ตัวช้ีวัด : ร้อยละนกั เรียนตกหลน่ และนกั เรียนออกกลางคนั
* ตัวชี้วัดนี้ ส่วนกลางเป็นผู้นาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการและติดตาม
ประเมนิ ผล ซ่ึงหนว่ ยงานระดบั ภาคและจังหวดั เปน็ ผ้ใู ชข้ อ้ มลู ในระบบเพอื่ การวเิ คราะห์และรายงาน

สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพ้นื ทตี่ ามประเด็นการตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร
- สถานศึกษาได้ร่วมกับภาคีเครือข่าย และได้สารวจข้อมูลนักเรียนตกหล่นและนักเรียน

ออกกลางคนั และนาข้อมลู ท่ไี ดม้ าวางแผน ในการดงึ ผเู้ รียนที่อยูน่ อกระบบการศึกษาเขา้ มาเรียนในสถานศึกษา
ของ กศน.

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพื่อแก้ปญั หา)

- สถานศกึ ษาไดข้ อความรว่ มมือจากสถานในสังกดั สพฐ. ในการใหข้ ้อมูล นกั เรียน และนา

ขอ้ มูลท่ีไดม้ าวางแผนการดาเนินงาน

๓. ปญั หา/อุปสรรคที่แก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพนื้ ที่ และขอ้ เสนอแนะระดับพ้ืนท่ี

ห น้ า | ๓๓

ปญั หา/อปุ สรรคที่แกไ้ ขไม่ไดใ้ นระดบั พื้นท่ี ขอ้ เสนอแนะระดับพืน้ ที่

นักศกึ ษาไมไ่ ดเ้ ขา้ รับการศกึ ษาตามทตี่ อ้ งการ จัดกระบวนการเรียนรสู้ ูก่ ลุ่มเป้าหมายให้สอดคล้องต่อความ

ตอ้ งการ

4. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพือ่ เปน็ ขอ้ ส่ังการของผู้บริหารระดบั สงู (ถา้ ม)ี
ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :
2.2 โครงสรา้ งพ้ืนฐาน และสงิ่ อานวยความสะดวกในการเรียนรู้ และการเข้าถงึ องคค์ วามรู้

2.2.1) การเรยี นรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครอ่ื งมอื การเรียนรู้
ตัวชวี้ ดั : ระดับการเขา้ ถึงอนิ เตอร์เนต็ ของนักเรยี นจากเครอื ข่ายชอ่ งสญั ญาณความเร็วสงู ของโรงเรียน
* ตัวชี้วัดน้ี ส่วนกลางเป็นผู้นาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเพ่ือการตรวจราชการและติดตาม
ประเมนิ ผล ซึ่งหน่วยงานระดับภาคและจงั หวัดเป็นผู้ใชข้ อ้ มลู ในระบบเพอ่ื การวิเคราะหแ์ ละรายงาน

สรุปผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพืน้ ทีต่ ามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เป็นอย่างไร
- สถานศึกษามีศูนยก์ ารเรียนรู้ ICT ทไ่ี ว้บริการใหก้ ับครู ผ้เู รียน และผู้สนใจ ในการค้นคว้า

หาความรู้
- โรงเรยี นทุกโรงเรยี นในสงั กัด สพป.สร.๓ จานวน 233 โรงเรียน มีอนิ เตอรเ์ น็ตใชง้ าน
- โรงเรยี นทุกโรงเรียนสามารถตอ่ เชื่อมอินเทอร์เน็ตใช้บริการกับคอมพวิ เตอร์ของโรงเรียน

เพอ่ื ใช้เปน็ เครอื่ งมือจัดการเรียนการสอนได้

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพ่ือแก้ปญั หา)
- สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ ศูนย์ ICT อย่างต่อเน่ือง ให้กับ

ผูเ้ รยี น

- หนังสือสั่งการ โรงเรียนรายงานสภาพปัญหาที่เกิดข้ึนให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา
ทราบ และสานักงานเขตพนื้ พน้ื การศึกษาชว่ ยเหลอื และประสานงานกบั ผู้ใหบ้ ริการ (ISP)

๓. ปญั หา/อุปสรรคทีแ่ ก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพนื้ ท่ี และข้อเสนอแนะระดับพน้ื ท่ี

ปัญหา/อปุ สรรคทแ่ี กไ้ ขไมไ่ ดใ้ นระดับพนื้ ท่ี ข้อเสนอแนะระดบั พน้ื ที่

บางโรงเรียนสัญญาณอินเทอร์เน็ตไม่เร็วพอ หน่วยงานส่วนกลางประสานงานกับผู้ให้บริการหลัก (TOT)

ตอ่ การใช้งาน CAT, 3BB โดยการปรบั ปรุงเปน็ รายกรณี

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื เปน็ ข้อสง่ั การของผู้บรหิ ารระดับสงู (ถา้ ม)ี

ห น้ า | ๓๔

2.2.2) DLTV/DLIT
ตัวชว้ี ดั : รอ้ ยละสถานศกึ ษาที่ได้รับการจัดสรรDLTV/DLIT มีการจดั การเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองผ่านระบบ
ผลการดาเนินการ

จานวน จานวน จานวนสถานศึกษาที่ได้รับการจัดสรร รวมทั้งสนิ้

สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา และมีการจดั การเรียนรู้เพอื่ ให้พฒั นาตนเองผา่ น (1)+(2) รอ้ ยละ

ทงั้ หมด ท่ไี ด้รับการ ระบบ DLTV/DLIT (แห่ง)

หนว่ ย (แห่ง) จดั สรร (แห่ง)

งาน DLTV รอ้ ยละ DLIT ร้อยละ
(แห่ง) (1) (แหง่ ) (2)

สพป. 745 575 296 51.48 443 77.04 739 99.19

สพม. 85 85 - - 85 100 85 100

โสตฯ 1 1 1 100 - - 1 100

รวม 831 661 297 44.93 528 79.88 825 99.28

สรปุ ผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพืน้ ท่ตี ามประเดน็ การตรวจ ติดตาม เป็นอยา่ งไร

- ครูและนักเรียนโรงเรียนโสตศึกษาจังหวัดสุรินทร์ได้จัดการเรียนรู้เพ่ือให้พัฒนาตนเอง
ผ่านระบบ DLTV ในชั้นเรยี น จานวน 30 หอ้ งเรยี น

- โรงเรียนในสังกัด สพม.33 จานวน 85 โรงเรียนได้รับจัดสรรระบบ DLIT ครบทุก

โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนผ่านส่ือ DLIT อย่างเป็นระบบ นักเรียนในสังกัดสามารถเรียนรู้ได้ทาให้ลด
ความเลอื่ มลา้ ทางการศึกษาในเขตพื้นทไี่ ด้เป็นอยา่ งดี

- ในการดาเนินงานขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาผู้เรียนผ่านระบบ DLTV/DLIT
ของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาในเรื่อง
การบริหารจัดการ ได้แก่ การติดต้ังอุปกรณ์ / การปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น แสงสว่าง

ระดับเสียงที่พอเหมาะ และสถานที่โดยรวม /คุณภาพสัญญาณการรับชม ทั้งนี้มีการบูรณาการร่วมกับ
ศึกษานิเทศก์ โดยดาเนินการจัดส่งข้อมูลดังกล่าวเพ่ือประกอบการวางแผนนิเทศ ติดตาม การดาเนินงาน

ด้านDLTV/DLIT ของโรงเรียนในสังกัด ในส่วนของกระบวนการจัดการเรียนการสอนผ่านระบบ DLTV/DLIT
เพือ่ พฒั นางานดา้ นการศึกษารว่ มกนั

- เครื่องรบั สญั ญาณระบบ Digital บางโรงเรยี นยงั ไม่ครบ

- หลายโรงเรียนจัดการเรยี นแบบคละชนั้ หลายโรงเรียนครูไม่ครบชน้ั

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพื่อแก้ปัญหา)

2.1 โครงการ/กิจกรรมพัฒนาทักษะกระบวนการจัดการเรียนรู้ผ่านระบบ VDO

Conference
2.2 โครงการ/กิจกรรม ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษา

ทางไกลผ่านดาวเทียม ( DLTV )

ห น้ า | ๓๕

- นกั เรยี นไดใ้ ชส้ ่ือและเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอน ได้ศึกษาหาความรูเ้ พม่ิ ผา่ น

ระบบ DLTV

- ต้ังคาส่ังคณะกรรมการดาเนินการตามโครงการขับเคลือ่ นการจัดการศึกษาทางไกลผ่าน

ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLIT)

- ดาเนนิ การอบรมพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษาการผลิตสื่อตน้ แบบ DLIT

- ดาเนินการอบรมปฏบิ ตั กิ ารการใช้ DLIT ทั้งในระบบ ONLINE และระบบ OFFLINE

- ประกวดผลงานที่เป็นเลศิ ด้านจดั การเรียนการสอนโดยการใชส้ อื่ DLIT

- สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต ๒ ดาเนินงานพัฒนาคุณภาพการ
จดั การเรียนรเู้ พื่อพฒั นาผูเ้ รยี นผ่านระบบ DLTV/DLIT ดงั น้ี

1. การจัดโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการส่อื สารเพ่ือการศกึ ษา โดยมีวัตถุประสงคเ์ พื่อพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกล
ผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ และสามารถจัดการเรียนรู้ให้เกดิ ประสิทธิภาพ

2. จัดตั้งศนู ยบ์ ารุงรกั ษาและช่วยเหลอื ดา้ นเทคโนโลยีทางการศกึ ษา ดงั นี้

ศนู ย์ซ่อมบารุงฯ สพป.สร.2 ศูนยซ์ ่อมบารุงฯย่อย ร.ร.บ้านดู่ : ดแู ล ร.ร.ในเขต อ.รตั นบรุ ี /สนมโนน
นารายณ์
เป็นศูนย์แม่ข่าย ดูแลภาพรวม
ร.ร.ในสังกดั ทัง้ 5 อาเภอ ศูนยซ์ อ่ มบารุงฯย่อย ร.ร.อนุบาลชุมพลบรุ ี : ดูแล ร.ร.ในเขต อ.ชุมพลบุรี

ศูนย์ซ่อมบารงุ ฯยอ่ ย ร.ร.ทา่ ตูมสนิทราษฎรฯ์ : ดูแล ร.ร.ในเขต อ.ท่าตูม

- สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ บษุราี ประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 จัดโครงการนเิ ทศ ติดตาม
การศกึ ษาทางไกล โดยกลุ่มนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศกึ ษา

- การนาเสนอคลิป วดี โี อ โรงเรยี นทีม่ ีจดุ เดน่ ในการใช้ DLTV
- โรงเรียนรายงานปัญหาให้สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทราบเพื่อหาแนวทางแก้ไข
ปญั หาร่วมกัน เช่น อปุ กรณร์ ับสัญญาณ
๓. ปัญหา/อปุ สรรคที่แก้ไขไม่ไดใ้ นระดบั พ้ืนที่ และข้อเสนอแนะระดบั พน้ื ที่

ปัญหา/อุปสรรคทแี่ กไ้ ขไม่ไดใ้ นระดบั พ้ืนท่ี ขอ้ เสนอแนะระดบั พื้นที่
ความเรว็ ของอินเตอรเนต็ ค่อนข้างชา้
-
-
มุ่งเน้นการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ เพ่ือต่อยอดและ
1.ครไู ม่ครบชน้ั พัฒนางานเทคโนโลยีทางการศึกษา ภายใต้แนวทางสร้าง +
2.ขาดแคลนงบประมาณในการซ่อมบารงุ ซอ่ ม + พัฒนา
อปุ กรณ์ DLTV/DLIT 1.จดั สรรตาแหน่งครูให้ครบช้นั โดยเฉพาะโรงเรียนขนาด
3.นกั เรียนเรยี นแบบคละชน้ั ไมม่ สี มาธิในการ เลก็
เรยี น 2.สว่ นกลางควรจดั สรรงบประมาณใหเ้ พียงพอในแต่ละปี
4.ได้รับการจดั สรรอุปกรณ์ DLIT ยังไม่ครบ 3.อยากใหส้ ่วนกลางจัดสรร TV ขนาดจอภาพ 50 น้วิ ข้ึนไป
ชัน้ เรยี น ให้ครบทกุ หอ้ งเรียน

ห น้ า | ๓๖

ปัญหา/อปุ สรรคทีแ่ ก้ไขไม่ไดใ้ นระดับพ้นื ที่ ขอ้ เสนอแนะระดบั พ้นื ท่ี

- สนับสนุนงบประมาณสาหรับซ่อมบารุง - ครูขาดทักษะทางด้านเทคโนโลยี

อปุ กรณอ์ ยา่ งตอ่ เนือ่ งทุกปี

- สนับสนุนระบบคอมพิวเตอร์และระบบ -เคร่ืองคอมพวิ เตอรแ์ ละอปุ กรณ์ไมเ่ พียงพอ/ ทมี่ อี ยู่ชารดุ

เครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ น็ตความเร็วสงู ให้เพียงพอ - ระบบไฟฟ้าภายในโรงเรียนไมเ่ พยี งพอส่งผลต่อการจัดการ
เรียนการสอน

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพอ่ื เปน็ ข้อสง่ั การของผู้บริหารระดบั สูง (ถา้ ม)ี
- การจัดสรรงบประมาณเพ่ือพัฒนาระบบเทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา

2.2.3) ETV

ตัวชีว้ ัด : ร้อยละผูเ้ รยี นมีการเรยี นรผู้ า่ นระบบ ETV
ผลการดาเนินการ

หน่วยงาน จานวนผู้เรียนตามเปา้ หมาย ผเู้ รียนมีการเรยี นรผู้ ่านระบบ ETV
กศน. (คน)
จานวนผู้เรยี น (คน) คิดเป็นรอ้ ยละ
๒๐,๗๔๙
๒๐,๗๔๙ ๑๐๐

สรปุ ผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพน้ื ทต่ี ามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เป็นอยา่ งไร
- สถานศึกษาได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านระบบโทรทัศน์เพื่อการศึกษา ETV ใน

วิชาบังคับ วิชา วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ โดยมอบหมายให้ครจู ัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนโดยนาสอื่ การเรยี นการสอนท่ีออกอากาศทางโทรทัศน์ ETV มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพอ่ื แก้ปญั หา)

- สถานศึกษามอบหมายให้ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยนาสื่อการศึกษาทาง ETV

มาใชใ้ นกระบวนการเรียนการสอน และให้มกี ารนเิ ทศตดิ ตามการจดั กจิ กรรมอยา่ งต่อเนื่อง

๓. ปญั หา/อุปสรรคทแ่ี กไ้ ขไม่ได้ในระดับพ้นื ท่ี และข้อเสนอแนะระดับพน้ื ที่

ปัญหา/อุปสรรคที่แก้ไขไม่ได้ในระดบั พื้นที่ ข้อเสนอแนะระดบั พ้นื ท่ี

- -
- -

4. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบายเพือ่ เป็นขอ้ ส่งั การของผูบ้ ริหารระดบั สูง (ถา้ มี)

ห น้ า | ๓๗

2.2.4) การแก้ปัญหาครูขาด ครไู ม่ครบชนั้ ครูไม่ครบวิชา
ตัวชี้วัด : สัดส่วนนักเรียนต่อครูผู้สอนท่ีเป็นข้าราชการ พนักงานราชการ ครูอัตราจ้าง สังกัด
กระทรวงศกึ ษาธิการ

* ตัวชี้วัดนี้ ส่วนกลางเป็นผู้นาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเพ่ือการตรวจราชการและติดตาม
ประเมนิ ผล ซ่ึงหน่วยงานระดับภาคและจังหวัดเปน็ ผใู้ ชข้ อ้ มูลในระบบเพือ่ การวเิ คราะห์และรายงาน

สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพนื้ ทีต่ ามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เป็นอยา่ งไร
สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 มีจานวนโรงเรียนในสังกัด

จานวน 233 โรง เปิดสอนระดับประถมศึกษา จานวน 152 โรง และระดับขยายโอกาสทางการศึกษา
จานวน 81 โรง จานวนโรงเรียนท่ีมีนักเรียน 1-120 คน จานวน 61 โรง จานวนโรงเรียนท่ีมีนักเรียน
1 - 250 คน จานวน 160 โรง และจานวนโรงเรยี นท่มี นี กั เรยี น 250 คนข้นึ ไป จานวน 73 โรง

การเปรยี บเทียบขอ้ มูลการบรหิ ารอตั รากาลงั ของสานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ณ วันที่
10 มิถนุ ายน 2561 และปจั จบุ นั มีดังน้ี

ขอ้ มลู ณ วันท่ี โรงเรยี นเกินเกณฑ์ โรงเรยี นขาดเกณฑ์ โรงเรียนพอดเี กณฑ์ โรงเรยี นมีครไู ม่ครบชั้น
10 ม.ิ ย. 61 66 39 128 53

ปจั จบุ ัน 31 11 191 53

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพ่อื แก้ปัญหา)

การแก้ไขปัญหาครูขาด ครูไม่ครบช้ันไม่ครบสาระการเรียนรู้ สานักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาได้มีการพิจารณาเกล่ียอัตรากาลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา การจัดสรรอัตรากาลัง
ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างช่ัวคราวตามหลักเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนด ในส่วนของโรงเรียน
ขนาดเล็กมีการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกล DLTV เพ่ือลดปัญหาการขาดครู หรอื ครูไม่ครบชัน้ ไม่ครบสาระ
การเรยี นรู้ ตลอดจนให้ผู้มีประสบการณห์ รอื ทกั ษะในชมุ ชนช่วยฝึกและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนรว่ มกับ
โรงเรยี น เป็นการสง่ เสริมให้มสี ่วนรว่ มในการจดั การศึกษา

สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ได้ดาเนินการจัดทาแผนงาน
โครงการ/กิจกรรมรองรับเพื่อแก้ปัญหาดังต่อไปน้ี การทาแผนอัตรากาลังประจาปี (ข้อมูล 10 มิถุนายน
2561) และจัดทาขอ้ มลู ประกอบการวางแผนอัตรากาลัง 10 ปี (2561-2570) สาหรับสถานศึกษาในสงั กัด

๓. ปัญหา/อุปสรรคที่แกไ้ ขไม่ได้ในระดบั พ้ืนที่ และข้อเสนอแนะระดบั พ้ืนที่

ปญั หา/อปุ สรรคท่แี กไ้ ขไม่ได้ในระดบั พื้นที่ ข้อเสนอแนะระดบั พ้นื ท่ี

1.ไม่สามารถจดั สรรอตั ราครใู ห้โรงเรียนขนาด 1. ก.ค.ศ.ควรมีการปรับปรุงเกณฑ์อัตรากาลังให้เป็นไปใน
เล็ก ให้ครคู รบชนั้ และครคู รบวิชาได้ สภาพ ความเป็นจริง เพื่อช่วยแก้ปัญ หาการบริหาร
เนอ่ื งจากขอ้ จากัดในเร่ืองเกณฑ์อัตรากาลังที่ อัตรากาลังในโรงเรียนขนาดเล็ก หรือกาหนดมาตรการใน
ก.ค.ศ.กาหนด การแก้ปัญหาให้เป็นรูปธรรม ชัดเจน สามารถแก้ไขความ
ขาดแคลนครไู ด้

ห น้ า | ๓๘

ปัญหา/อปุ สรรคที่แกไ้ ขไม่ได้ในระดบั พืน้ ท่ี ข้อเสนอแนะระดับพื้นที่

2.พนกั งานราชการ ท่ีได้รับการจดั สรรอตั รา 2. ควรจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมกับอัตราที่ได้รับ
แต่ไมม่ งี บประมาณจัดสรร ทาให้การบริหาร จดั สรรเพอื่ เป็นแนวทางแก้ปัญหาให้กับโรงเรียนขนาดเลก็ ท่ี
อัตรากาลังพนกั งานราชการไม่มีประสิทธิภาพ ครูไม่ครบช้นั หรือไม่ครบวชิ าเอกตอ่ ไป
ไมส่ ามารถนาอตั รามาแกป้ ัญหาโรงเรยี นทมี่ ี
ครูไม่ครบชัน้ หรอื ครูไม่ครบวชิ าได้

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื เปน็ ข้อสัง่ การของผูบ้ รหิ ารระดบั สงู (ถ้าม)ี
- ควรมกี ารกาหนดหลักเกณฑ์วิธีการในการแก้ไขปัญหาความขาดแคลนครูในโรงเรียน

ขนาดเลก็ ให้เปน็ รูปธรรม สามารถนามาแก้ไขปัญหาได้

3. นโยบาย : การสร้างความเป็นเลศิ และสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั
ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :
3.1 การเพ่ิมศักยภาพผู้สาเร็จการศึกษาให้สอดคล้องกับกลไกการขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศ
นโยบายประเทศไทย 4.0 และความสามารถในการแข่งขนั

3.1.1) ห้องเรยี นอาชพี ในโรงเรียนมธั ยม
ตัวช้ีวัด : รอ้ ยละของสถานศกึ ษา/สถาบนั อุดมศึกษาที่จัดการเรียนการสอนทีบ่ รู ณาการกับการทางาน
ผลการดาเนนิ การ

หน่วยงาน สถานศึกษา/ สถานศกึ ษา/สถาบันอุดมศึกษาทจ่ี ัดการเรียน คดิ เป็นรอ้ ยละ
สถาบนั อุดมศกึ ษาทงั้ หมด การสอนแบบบูรณาการการทางาน (แห่ง)
สพม. 100
สช. (แหง่ ) 85 -
สอศ. 85 -
โสตฯ - ๘ ๑๐๐
สกอ. ๘ ๑ ๑๐๐
- ในกากบั -
- รัฐ ๑ - -
- เอกชน - - -
- วชช. - -
- - -
รวม - 9๔ -
- 100
-
๙๔

สรปุ ผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพน้ื ทต่ี ามประเดน็ การตรวจ ติดตาม เปน็ อย่างไร

- จัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จานวน 4 โรงเรียนได้แก่
สาโรงทาบวิทยาคม สนมวิทยาคาร บุแกรงวิทยาคม และพนมดงรักวทิ ยา ในสาขาวิชาโลหะการ คอมพิวเตอร์
ธรุ กิจ สาขาการบญั ชี และสาขาเกษตร

- โครงการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิภาคี) จานวน
24 โรงเรียน

ห น้ า | ๓๙

- โครงการจัดการเรียนหลักสูตรระยะสั้นโดยจัดทาข้อตกลงความร่วมมือกับสถาบัน
อาชวี ศึกษา จานวน 61 โรงเรยี น

- โรงเรียนจัดโครงสร้างหลักสูตร โดยจัดรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
และเทคโนโลยี รายวชิ า อาชพี ตามกลุ่มสนใจ ในระดบั มัธยมศึกษาปีที่ 1-6

- โรงเรียนจัดการเรียนการสอนแบบทวิศึกษา ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 สาขา
คอมพิวเตอร์ ซง่ึ นักเรยี นมโี อกาสไดอ้ อกฝึกงานยงั หนว่ ยงานต่างๆ

- โรงเรียนจัดห้องเรียนอาชีพให้เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนการสอน จานวน 16
หอ้ งเรยี น และแหลง่ เรียนรู้ดา้ นอาชีพ 6 แหง่

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพ่ือแก้ปญั หา)
- สรา้ งกลไกของระบบแนะแนวทางการศกึ ษาเพื่อสง่ เสริมกระบวนการเรียนรู้องิ สมรรถนะ

และเตรยี มความพร้อมสู่การประกอบสัมมาอาชีพ

- พัฒนารายวิชาทีส่ ง่ เสริมการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ
- ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดหลักสูตรทักษะอาชีพควบคู่กับวิชาสามัญ เช่น ทวิศึกษา และ

หลกั สตู รระยะสนั้
- สง่ เสริม สนบั สนนุ ให้สถานศึกษาจดั การเรียนร้แู ก่ผู้เรียนตามความสนใจ ในทักษะอาชีพ

ท่ีตนเองถนัด เพ่ือเตรยี มความพร้อมกอ่ นเขา้ สู่ตลาดแรงงาน และการพฒั นาประเทศ

- จัดการเรยี นการสอนงานอาชพี จัดเจน นักเรียนไดล้ งมือปฏบิ ัติจริง มกี ารนาเสนอผลงาน
ด้านอาชีพเพอ่ื การมงี านทา ผา่ นโครงการสรา้ งงาน สรา้ งอาชีพ ครั้งท่ี 2

๓. ปัญหา/อุปสรรคทแ่ี กไ้ ขไมไ่ ด้ในระดับพื้นท่ี และขอ้ เสนอแนะระดับพ้นื ที่

ปัญหา/อปุ สรรคท่แี ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดับพืน้ ที่ ขอ้ เสนอแนะระดับพ้ืนที่

1. ปัญหาด้านเศรษฐกิจของครอบครัว ท่ี 1. ส่งเสรมิ ใหโ้ รงเรยี นในสังกัดจดั การศึกษาหลกั สูตร
ต้องการอพยพย้ายถิ่นฐานเพื่อไปประกอบ ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพ (ปวช.)

อาชีพของพ่อ แม่ ทาให้นักเรยี นต้องอาศัยอยู่
กับปยู่ ่าตายาย ญาติพีน่ อ้ ง หรอื ผปู้ กครอง

2. เป็นพ้ืนที่ชายแดน/ความม่ันคง/เส้นทางยา 2. พัฒนาสาขาวิชาให้เกิดความหลากหลายเพิ่มขึ้น เป็น
เสพติดจากประเทศเพ่ือนบ้าน และจังหวัด การประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินทางเข้ามาศึกษาต่อใน

ข้างเคียง มีส่วนทาให้นักเรียนบางรายเข้าไป จังหวัด หรือในอาเภอ โดยเน้นการศึกษาเพื่อการประกอบ
เกี่ยวข้องกับกระบวนการดังกล่าว อาจส่งผล อาชีพ

ถึงการมแี นวโน้มอตั ราการออกกลางคนั

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพ่อื เป็นขอ้ ส่งั การของผู้บริหารระดับสูง (ถา้ มี)

ห น้ า | ๔๐

3.1.2) การยกระดับมาตรฐานอาชีวศึกษาทวิภาคี (Dual Vocational Education/DVE/
สหกจิ ศึกษา (Work Integrated Learning/WIL)

ตวั ช้ีวดั : รอ้ ยละสถานศกึ ษาท่จี ดั การศึกษาทวภิ าค/ี สหกจิ ศึกษา
* ตัวช้ีวัดนี้ ส่วนกลางเป็นผู้นาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเพ่ือการตรวจราชการและติดตาม
ประเมนิ ผล ซึง่ หนว่ ยงานระดบั ภาคและจังหวดั เป็นผใู้ ช้ขอ้ มูลในระบบเพื่อการวเิ คราะห์และรายงาน

สรปุ ผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพ้ืนท่ีตามประเด็นการตรวจ ติดตาม เปน็ อยา่ งไร
- สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาเพ่ิมข้ึนปีละ

3-4 แห่ง
- สถานศึกษามีเครือข่ายความร่วมมือในการจัดการศึกษาโดยการระดมทรัพยากรทาง

การศกึ ษาจากสถานประกอบการ หนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และองค์กรอนื่ ๆ

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพือ่ แก้ปัญหา)

- แสวงหาความร่วมมอื ในการจดั การอาชีวศกึ ษา
- สารวจความพร้อมของสถานประกอบการ

- สรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือ/ประสานงานเพอ่ื การจัดทาความร่วมมือ
- จัดทารายละเอียดในบันทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ

๓. ปัญหา/อปุ สรรคที่แกไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พื้นที่ และข้อเสนอแนะระดบั พน้ื ท่ี

ปญั หา/อปุ สรรคท่แี กไ้ ขไมไ่ ด้ในระดบั พนื้ ท่ี ขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ท่ี

--

--

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่ือเปน็ ข้อสั่งการของผ้บู ริหารระดับสงู (ถ้ามี)

สถานศกึ ษาเข้ารว่ มพธิ ลี งนามบนั ทกึ ความมอื ดา้ นการศกึ ษาระบบทวิภาคี

ระหวา่ งโรงแรมแมนดารินโอเรยี นเตล็ และวทิ ยาลัยอาชีวศึกษาสุรินทร์
วนั ที่ ๒๐ สงิ หาคม ๒๕๖๑

ณ ห้องแมก่ ลอง โรงแรมแมนดารนิ โอเรียนเต็ล กรุงเทพมหานคร

ห น้ า | ๔๑

สถานศึกษาเข้าร่วมพธิ ีมอบหนังสือรับรองการฝึกงานนักเรียนทวภิ าคี ร่นุ ที่ 45-46
วนั ที่ 22 กมุ ภาพันธ์ 2562

3.1.3) การสรา้ งทกั ษะการเปน็ ผปู้ ระกอบการ (SMEs) 4.0/Start Up

ตวั ชว้ี ดั : รอ้ ยละจานวนสถานศกึ ษาท่ีมีการสร้างทกั ษะการเป็นผปู้ ระกอบการ

ผลการดาเนินการ

จานวนสถานศึกษา จานวนนักเรยี น/นักศึกษา

สถานศกึ ษา ท่มี ีการสร้างทกั ษะ คดิ เปน็ ทัง้ หมด ที่ไดร้ ับการสรา้ งทักษะการ คดิ เปน็
สังกดั สอศ. ทั้งหมด การเปน็ ผปู้ ระกอบการ ร้อยละ เป็นผู้ประกอบการ (คน) ร้อยละ

(แหง่ ) 98.12
-
รัฐบาล ๘ ๘ ๑๐๐ ๔,๔๗๙ ๔,๓๙๕
98.12
เอกชน - - -- -

รวม ๘ ๘ ๑๐๐ ๔,๔๗๙ ๔,๓๙๕

สรุปผลการดาเนนิ การ
๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพนื้ ทต่ี ามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เปน็ อยา่ งไร

-
๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม

อยา่ งไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรบั เพอื่ แก้ปัญหา)
-
๓. ปัญหา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไม่ได้ในระดับพืน้ ที่ และข้อเสนอแนะระดับพืน้ ท่ี

ปัญหา/อปุ สรรคทแ่ี กไ้ ขไม่ได้ในระดบั พ้นื ท่ี ข้อเสนอแนะระดบั พนื้ ท่ี

- -
- -

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพอ่ื เป็นข้อสั่งการของผู้บริหารระดับสูง (ถา้ มี)

ห น้ า | ๔๒

การอบรมหลักสตู รการเป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจเริ่มตน้ ให้กบั นักเรยี น
ระดบั อาชีวศึกษาจังหวดั สรุ นิ ทร์ ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑

การอบรมหลักสตู รการเปน็ ผู้ประกอบการวสิ าหกิจเรมิ่ ต้นให้กับนกั เรียน
ระดับอาชวี ศกึ ษา ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๑

ประเด็นนโยบายการตรวจราชการฯ :
3.2 หลกั สตู รการผลติ กาลังคนทต่ี อบสนองความตอ้ งการของสถานประกอบการ

3.2.1) อาชีวะ 4.0/หลกั สตู รอาชวี ะ Premium 10 อตุ สาหกรรมเปา้ หมาย
ตวั ช้วี ัด : รอ้ ยละของผู้สาเร็จการศึกษามสี มรรถนะเปน็ ทพ่ี ึงพอใจของสถานประกอบการ
ผลการดาเนินการ

จานวนผู้สาเรจ็ การศกึ ษาระดับอาชวี ศึกษาทง้ั หมด จานวนผสู้ าเรจ็ จานวนผู้สาเร็จการศกึ ษาระดับ
การศกึ ษาระดบั อาชีวศึกษาท่มี งี านทา
สถาน ึศกษาสัง ักด สอศ. ผู้สาเร็จการศึกษาทไี่ มอ่ ยู่ใน ผสู้ าเร็จการศกึ ษาใน รวม อาชวี ศกึ ษาท่มี ี
หลักสตู รอาชีวะ Premium 10 งานทา (คน) มีสมรรถนะเปน็ ที่พึงพอใจ
หลกั สตู รอาชวี ะPremium ของสถานประกอบการ (คน)
อตุ สาหกรรมเป้าหมาย(คน) 10 อตุ สาหกรรมเป้าหมาย

(คน)

ปวช. ปวส.

ปวช. ปวส. ปวช. ปวส. ปวช. ปวส. คน ร้อยละ คน รอ้ ย
ละ

รัฐบาล ๔,๕๔๐ ๑,๔๐๗ ๓๓๙ ๒๓๓ ๕๗๒ ๓,๖๕๐ ๙๒๐ ๓,๔๕๐ 94.52 ๙๒๐ 100

เอกชน - -- - - - - - - --

รวม ๔,๕๔๐ ๑,๔๐๗ ๓๓๙ ๒๓๓ ๕๗๒ ๓,๖๕๐ ๙๒๐ ๓,๔๕๐ 94.52 ๙๒๐ 100

ห น้ า | ๔๓

สรปุ ผลการดาเนินการ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพน้ื ทต่ี ามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เปน็ อยา่ งไร
- สถานศกึ ษาจดั การศึกษา ตามหลักสูตรปกติ
- สถานศึกษาบางแหง่ อยู่ในระหวา่ งดาเนนิ การจดั การศกึ ษาหลกั สตู รอาชวี ะ Premium

๒. วิธีการ/ปัจจัยท่ีสามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรบั เพอื่ แก้ปัญหา)

- สถานศึกษาประชุมชี้แจงหลกั สตู รอาชีวะ Premium10 อตุ สาหกรรมเป้าหมายครทู ราบ

๓. ปญั หา/อปุ สรรคท่ีแก้ไขไมไ่ ด้ในระดบั พืน้ ท่ี และขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ท่ี

ปญั หา/อุปสรรคที่แก้ไขไมไ่ ด้ในระดบั พ้นื ที่ ขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ท่ี

- เผยแพ ร่หลักสูตรอาชีวะ 4.0 และหลักสูตรอาชีวะ

Premium 10 อตุ สาหกรรม

4. ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบายเพ่อื เป็นขอ้ ส่ังการของผบู้ รหิ ารระดบั สงู (ถา้ ม)ี

4. นโยบาย : การเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจัดการ
ประเดน็ นโยบายการตรวจราชการฯ :

4.1 การเพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการ
4.1.1) โครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคณุ ภาพ

ตัวช้ีวัด : ร้อยละของสถานศึกษาได้เตรียมความพร้อมของครูเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าร่วม
โครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคุณภาพ

ผลการดาเนินการ

จานวน โรงเรียนทม่ี คี รูครบ โรงเรียนที่มีครูครบ โรงเรียนทมี่ คี รูครบวิชาชีพ โรงเรยี นท่มี ีความ
โรงเรยี น ชั้น วิชาเอก
ทั้งหมด หรอื วิชาเฉพาะดา้ นที่จัด พร้อมของครู

สังกดั 65 การเรยี นการสอน ครบทัง้ 3 ด้าน
43
สพป ๑ 51 จานวน คิดเป็น จานวน คิดเปน็ จานวน คดิ เป็น จานวน คดิ เป็น
สพป ๒ 159 0 รอ้ ยละ 0 รอ้ ยละ ร้อยละ รอ้ ยละ
สพป ๓
รวม 0 0 00 00

43 100 43 100 00 00

51 100 35 68.63 00 00

94 59.1๒ 78 49.06 00 00

สรุปผลการดาเนินการ
๑. สภาพผลการดาเนินการในพ้ืนท่ตี ามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม เปน็ อยา่ งไร
ได้ดาเนนิ การเตรียมการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล ในประเดน็ การเตรยี มความ

พรอ้ มของครู ท้งั 3 รายการดังกลา่ ว จานวน 2 ครัง้ ดังน้ี
- ครั้งที่ 1 วนั ท่ี 5 กุมภาพนั ธ์ 2562 ณ โรงเรยี นหนองโตง “สุรวิทยาคม” สพป.สรุ ินทร์

เขต 1 ได้ประชุมระดับเขตพืน้ ที่ เพ่อื ชีแ้ จงผู้บริหารโรงเรียนคุณภาพประจาตาบลทุกโรงเรียน รวม 65

ห น้ า | ๔๔

โรงเรยี น จัดทาแผนพฒั นาคุณภาพประจาตาบล ท้ัง 10 ข้อ ซงึ่ รวมท้งั ประเด็นในการตดิ ตามความพรอ้ มของ
ครู ทงั้ 3 รายการนดี้ ้วย

- ครง้ั ท่ี 2 วนั ท่ี 28 มนี าคม 2562 ณ โรงแรมชลพฤกษร์ ีสอร์ท จังหวดั นครนายก
ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบลทุกโรงเรียน รวม 65 โรงเรยี น ไปเขา้ ร่วมประชุมระดับภาค เพือ่ รบั ฟงั
คาช้แี จงแนวทางการจดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพประจาตาบล ท้ัง 10 ขอ้ และจัดทาแนวทางการขบั เคล่อื นทกุ
ประเดน็ ซง่ึ รวมท้งั ประเดน็ ในการตดิ ตามความพรอ้ มของครู ท้งั 3 รายการนดี้ ้วย

- สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 มีโรงเรียนในสังกัดจานวน 218
โรงเรียน มีโรงเรียนท่ีไดัรับการคัดเลือกเข้าร่วมโครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ จานวน 43 โรงเรียน เป็น
โรงเรียนที่มีคุณสมบัติเป็นไปตามท่ี สพฐ.กาหนด สามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการ
ตรวจติดตามใน 3 ประเด็น คือ โรงเรียนท่ีมีครูครบชั้น โรงเรียนท่ีมีครูครบวิชาเอก และโรงเรียนที่มีครูครบวิชาชีพ
หรือวิชาเฉพาะด้านที่จัดการเรียนการสอน พบว่าประเด็นโรงเรียนที่มีครูครบวิชาชีพหรือวิชาเฉพาะด้าน
ท่ีจัดการเรียนการสอนมีปัญหามากที่สุด รองลงมคือโรงเรียนที่มีครูครบวิชาเอก และมีปัญหาน้อยที่สุด
คือ โรงเรียนทม่ี ีครคู รบช้นั

- สภาพการดาเนินการของโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ของ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 มีจานวน 51 โรงเรียน พบว่า 1) โรงเรียนท่ีมีความพร้อมในการดาเนินการโรงเรียน
คุณภาพประจาตาบล จากผลการประเมินระยะที่ 1 พบว่า โรงเรียนมีความพร้อมมากที่สุด จานวน 12 โรงเรียน
คิดเป็นร้อยละ 23.53 และโรงเรียนท่ีมีความพร้อมในระดับปานกลาง มีจานวน 39 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ
76.47 2) โรงเรียนได้จัดทาแผนปฏิบัติการโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ครบทุกโรงเรียน 3) โรงเรียนคุณภาพ
ประจาตาบล กาลังปฏิบัตกิ ารวางแผน ประชุม ปรกึ ษาหารือกับคณะกรรมการสถานศึกษา คณะครูและผู้ปกครองใน
การปฏิบัติการและทากิจกรรมตามที่ไดว้ างแผนเอาไว้

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบา้ ง (แผนงานโครงการ/กิจกรรมรองรับเพอื่ แกป้ ญั หา)

โรงเรียนคุณภาพประจาตาบลทุกโรงเรียนในสังกัด สพป.สุรินทร์ เขต 1 รวม 65
โรงเรียน ได้ดาเนนิ การดังนี้

2.1 โรงเรยี นได้จดั ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพประจาตาบล ทั้ง 10 ขอ้
2.2 โรงเรียนขอความอนุเคราะห์ครูตรงวิชาเอกจากโรงเรียนในตาบล มาช่วยเหลือให้
คาแนะนา แนวทางการจัดการเรยี นการสอนในโรงเรียนทเ่ี ข้าร่วมโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล
2.3 โรงเรยี นใช้งบส่วนตัว จ้างครูรายเดอื นใหค้ รบทกุ ระดบั ชน้ั ตามกาลังของตนเอง
2.4 โรงเรียนใช้งบส่วนตัว จ้างครูวิชาชีพ/ทักษะเฉพาะด้าน เป็นรายเดือนตามกาลังของ
ตนเอง
- สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนคุณภาพประจาตาบล จานวน 2 ครั้ง เพื่อ
ปรบั ปรงุ หลักสูตรสถานศึกษา จัดทาแผนพัฒนาโรงเรียนและระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน ซึ่งกไ็ ด้รับความสนใจ
จากโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ใน สพป.สรุ นิ ทร์ เขต 2 เปน็ อย่างมาก
- กาหนดปฏิทินวางแผนการนิเทศ ติดตาม โครงการโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล ของ
สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทรเ์ ขต 3

ห น้ า | ๔๕

- ประเมินความพร้อมของการดาเนินกิจกรรมโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบลระยะ

ที่ 1 และระยะที่ 2 พรอ้ มทงั้ วเิ คราะห์จดุ เด่น จดุ ด้อย และแนวทางในการดแู ลช่วยเหลอื ในระดบั สานกั งานเขต
พื้นที่การศึกษาให้กบั โรงเรยี นทีม่ ีความพร้อมในระดบั ปานกลาง

- ปจั จัยท่ที าให้การดาเนินการโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล สามารถดาเนินกิจกรรมต่างๆ

ที่ได้วางแผนเอาไว้ให้สาเร็จนั้น มีปัจจัยที่สาคัญ คือ หน่วยงานต่างๆ เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล อาเภอ
เทศบาล จังหวัด และหน่วยงานอ่ืนๆที่ได้ทาสนธิสัญญาร่วมกัน ต้องรบั ทราบการดาเนินกิจกรรมของโรงเรียน

คุณภาพประจาตาบลของแต่ละโรงเรียนที่อยู่ในเขตบริการ ซ่ึงสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สรุ ินทร์เขต 3 ไดด้ าเนนิ การทาหนังสอื ราชการ แจง้ ให้กบั หน่วยงานดงั กลา่ วทราบแล้ว

๓. ปญั หา/อุปสรรคท่แี ก้ไขไม่ได้ในระดบั พื้นที่ และขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ที่

ปัญหา/อุปสรรคท่ีแกไ้ ขไม่ได้ในระดบั พื้นที่ ขอ้ เสนอแนะระดับพนื้ ท่ี

งบประมาณและอตั รากาลัง การจัดหาครูให้ครบท้ัง 3 ประเด็น และการสร้างเครือข่าย
ในระดับเขตพน้ื ท่ีกับหนว่ ยงานภายนอก

1.หน่วยงานราชการอื่นๆไม่ได้ทราบถึงแนว 1.ทาหนังสือเชิญประชุมกับหน่วยงานราชการอื่นๆท่ี

ทางการดาเนินการของโรงเรียนคุณภาพ เก่ียวข้อง เพ่ือ ความเข้าใจ ช้ีแจงแนวทางการดาเนิน

ประจาตาบล กิจกรรมของโครงการโรงเรียนคุณภาพประจาตาบล และ

แนวทางในการให้ความชว่ ยเหลือตา่ งๆ

2.การดาเนินกิจกรรมต่างๆของโครงการ 2.ให้องค์กรบริหารสว่ นตาบล สนับสนุนงบประมาณในการ

โร ง เรี ย น คุ ณ ภ าพ ป ร ะ จ าต าบ ล ไม่ มี ดาเนนิ กจิ กรรมของโครงการ
งบประมาณในการสนับสนุน

3.มีการประเมินจาก สพฐ. บอ่ ยครง้ั 3.แจ้งหลักเกณฑ์การประเมินที่ชัดเจน ระบุปฏิทินการ
ประเมินล่วงหนา้ เพื่อใหโ้ รงเรียนทราบ

4.แนวทางในการดาเนินการยังไม่ชดั เจน 4.ประชุมวางแผนการปฏิบัติการในระดับสานักงานเขต
พน้ื ที่การศกึ ษาฯ

5.ครูและบุคลากรอื่นๆยังไม่เข้าใจถึงแนว 5.จดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ัติการโครงการโรงเรียนคณุ ภาพประจา

ทางการดาเนินการโครงการโรงเรียนคุณภาพ ตาบลให้กบั คณะครแู ละบุคลากรทีเ่ กี่ยวขอ้ งทราบ
ประจาตาบล

๖. โรงเรยี นมีครูไมค่ รบชน้ั ๖. จัดสรรครูให้ครบทุกระดับชั้นทกุ โรงเรยี น

๗. โรงเรียนไม่มคี รูตรงวชิ าเอก ๗. จัดสรรครูตรงวชิ าเอกให้ครบทุกโรงเรยี น

๘. โรงเรียนไม่มคี รูวิชาชีพ/ทักษะเฉพาะดา้ น ๘. จัดสรรครูวิชาชีพ/ทักษะเฉพาะดา้ นใหค้ รบทกุ โรงเรียน

4. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพอ่ื เป็นข้อสงั่ การของผบู้ รหิ ารระดบั สูง (ถา้ ม)ี

4.1 จดั สรรครใู ห้ครบทุกระดบั ชั้นทุกโรงเรยี น
4.2 จดั สรรครตู รงวชิ าเอกใหค้ รบทุกโรงเรยี น
4.3 จดั สรรครูวชิ าชีพ/ทกั ษะเฉพาะด้านให้ครบทุกโรงเรยี น

ห น้ า | ๔๖

4.1.2) การบรหิ ารจัดการทรัพยากร เพอื่ การศึกษา
ตัวชว้ี ัดท่ี 1 อตั ราส่วนนักเรยี นตอ่ ห้อง
ตวั ชว้ี ัดท่ี 2 อัตราส่วนนกั เรียนตอ่ ครู
* ตัวชี้วัด 1 และ ๒ ส่วนกลางเป็นผู้นาเข้าข้อมูลในระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจราชการและ

ติดตามประเมินผล ซงึ่ หน่วยงานระดับภาคและจงั หวัดเป็นผู้ใช้ข้อมูลในระบบเพอื่ การวิเคราะหแ์ ละรายงาน

ตวั ชวี้ ดั ที่ 3 อัตราสว่ นจานวนเครอ่ื งคอมพวิ เตอรต์ อ่ จานวนนักเรียน
ผลการดาเนนิ การ

จานวนคอมพวิ เตอร์ นักเรียนทง้ั หมดในระดับชัน้ นักเรยี นทงั้ หมดในระดบั ช้นั นกั เรียนทง้ั หมด

ในสถานศึกษาท่ีใช้ใน มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ ในระดบั ปวส.

สงั กัด การเรียนการสอน ปวช.

สาหรบั นกั เรยี น จานวน อัตราส่วน จานวน อตั ราส่วน จานวน อัตราสว่ น
ช้ันมธั ยมศกึ ษาหรอื (คน) นร : คอมฯ (คน) นร : คอมฯ (คน) นร : คอมฯ
เทียบเท่า

สพป. 2,635 12,425 - 176 6:01

สพม. 6,332 28,982 8:01 22,817 8:01 ๕,๑๕๗ ๓:๐๑
โสตฯ 15 62 1:04 43 1:02 - -
สช. - ----
สอศ.(รัฐบาล) ๑๑,๗๒๐ ๒:๐๑ ๕,๑๕๗ ๓:๐๑
สอศ.(เอกชน) ๑๖,๘๗๗ --
รวม -
41,469 ๑:๐๑ 34,756 ๑:๐๑
25,859

สรุปผลการดาเนนิ การ

๑. สภาพผลการดาเนนิ การในพื้นทีต่ ามประเดน็ การตรวจ ตดิ ตาม เปน็ อย่างไร
- การจัดหาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพ่ือใช้ในการจัดการเรยี นการสอน ในโรงเรียนสังกัดสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2ได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สพฐ.เป็นหลักแต่ยังไม่เพียงพอต่อ

ความต้องการ ในด้านการบริหารจัดการทรัพยากรทางการศึกษาถือว่ายังขาดแคลน (อัตราส่วนนักเรียนต่อจานวน
คอมพิวเตอร์ 5 คนต่อเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ 1 เครือ่ ง)

- จานวนคอมพิวเตอร์ยังไม่เพียงพอในการจัดการเรียนการสอนขาดแคลนงบประมาณในการ
ซ่อมบารุง- นักเรียนในสังกัด สพม.33 ได้ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียน ทาให้เกิดทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และการ
เรยี นรผู้ า่ นระบบสอ่ื ออนไลน์ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

๒. วิธีการ/ปัจจัยที่สามารถดาเนินการให้บรรลุผลสาเร็จตามประเด็นการตรวจ ติดตาม
อย่างไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพือ่ แกป้ ัญหา)

- วิธีการที่ดาเนินการเพ่ือการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อการศึกษา (คอมพิวเตอร์)
ของสานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ได้แก่ 1) สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา : มีศูนย์
ซอ่ มบารุง เพื่อสนับสนุนดูแลรกั ษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด และสารวจข้อมูล

ความขาดแคลนคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา เพ่ือเสนอต่อผู้บริหารทราบและหาแนวทางการบริหารจัดการ
ทรัพยากรทางการศกึ ษาให้เหมาะสม 2) โรงเรียน : ระดมทรพั ยก์ ร เพ่อื จัดหาเครื่องคอมพวิ เตอรใ์ ห้เพียงพอต่อ

การจดั การเรยี นการสอน โดยขอความรว่ มมือจากชุมชนหรือองค์กรภายนอก

ห น้ า | ๔๗

- สว่ นกลางควรจดั สรรเคร่อื งคอมพิวเตอร์เพอื่ การเรียนการสอนให้เพียงพอกบั นักเรียน
เพอื่ ให้นักเรยี นไดศ้ ึกษาคน้ คว้าข้อมลู สาหรับการเรยี นการสอนไดอ้ ยา่ งเตม็ ที่

- ตั้งคาส่ังคณะกรรมการดาเนินการตามโครงการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาทางไกล
ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLIT)

- ดาเนนิ การอบรมพฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาการผลติ สือ่ ตน้ แบบ DLIT
- ดาเนนิ การอบรมปฏิบัติการการใช้ DLIT ทัง้ ในระบบ ONLINE และระบบ OFFLINE
- ประกวดผลงานท่ีเปน็ เลิศดา้ นจดั การเรยี นการสอนโดยการใชส้ ื่อ DLIT
- โรงเรยี นส่งเสริมครูบคุ ลากรและนักเรยี นใชค้ อมพิวเตอร์ในการจัดการเรียนการสอน
- นกั เรียนสามารถสบื ค้นขอ้ มลู จากแหลง่ เรียนรู้ห้องคอมพิวเตอร์

๓. ปัญหา/อุปสรรคที่แก้ไขไม่ได้ในระดบั พ้นื ท่ี และขอ้ เสนอแนะระดบั พื้นท่ี

ปญั หา/อปุ สรรคทแี่ ก้ไขไมไ่ ดใ้ นระดับพน้ื ที่ ขอ้ เสนอแนะระดบั พนื้ ที่

ครูในวิชาเอกคอมพิวเตอร์ไมเ่ พยี งพอตอ่ จัดสรรอตั รากาลงั ครูท่ีตรงตามเอก
การจดั การเรยี นการสอนวิชาคอมพิวเตอร์

สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามีข้อจากัดด้าน ส่วนกลางควรจัดสรรงบประมาณระบบคอมพิวเตอร์เป็น

งบประมาณทจ่ี ะดแู ลโรงเรียน กอ้ นรายเขตพน้ื ท่ีไม่วา่ จะเป็นครุภัณฑ์ใหม่หรืองบประมาณ
ใน ก า ร ซ่ อ ม บ า รุ ง เพ่ื อ ใ ห้ เข ต พื้ น ที่ ก า ร ศึ ก ษ า จั ด ส ร ร ใ ห้

โรงเรยี นตามสภาพปัญหา

ระบบคอมพิวเตอร์มีไม่เพียงพอสาหรับ ควรจัดสรรคอมพวิ เตอร์ให้โรงเรยี นในสังกดั เพ่ิมตามจานวน

นกั เรยี น นักเรียน

เคร่ืองคอมพิวเตอร์มีสภาพชารุดจากการใช้

งาน

เคร่ืองคอมพิวเตอร์ไมเ่ พียงพอตอ่ การใชง้ าน

4. ข้อเสนอแนะเชงิ นโยบายเพอ่ื เปน็ ข้อส่งั การของผ้บู รหิ ารระดบั สูง (ถ้าม)ี

4.1.3) Partnership School

ตัวชว้ี ัด : รอ้ ยละของโรงเรยี นที่เขา้ ร่วมโครงการ Partnership School
ผลการดาเนินการ

โรงเรยี นทีเ่ ข้าร่วมโครงการ โรงเรยี นทไ่ี ม่มี School Partner
แตไ่ ดร้ ับการสนบั สนุนจาก
จานวนโรงเรยี น Partnership School รุ่นท่ี 1 หนว่ ยงานภาคเอกชน

สังกัด ทัง้ หมด มกี ารทาแผนรว่ มกับ ไดร้ บั ความร่วมมอื / จานวน คิดเป็น
(แหง่ ) (แห่ง) ร้อยละ
ภาคเอกชน สนับสนุนจากภาคเอกชน
--
จานวน คดิ เป็น จานวน คิดเป็น --
--
(แหง่ ) รอ้ ยละ (แหง่ ) รอ้ ยละ --

สพป. 1 1 100 1 100

สพม. - - - - -

โสตฯ 1 1 100 3 100

รวม 2 2 100 4 200


Click to View FlipBook Version